The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำหรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-20 01:31:13

การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำหรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ

การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำหรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ

Keywords: วิทยาศาสตร์การกีฬา,ว่ายน้ำ

การเตะเท้าลักษณะปลาโลมาเมอื่ อยู่ในทา่ นอนคว่ำ� หรือนอนหงาย �
(prone and supine body positions)

การเตะเท้าลักษณะปลาโลมาใต้น้ำ�ในท่านอนคว่ำ� หรือนอนหงาย ทำ�ให้เกิดการเคลื่อนที่ของ
ร่างกายไปข้างหน้าเหมือนกัน การทำ�ให้เกิด body streamline ที่สมบูรณ์ได้นาน ขึ้นอยู่กับลักษณะ
การ streamline ที่แตกต่างกัน
การเตะเทา้ ลักษณะปลาโลมาทีใ่ ต้นำ้ �และระดบั ผวิ นำ้ � �
(kicking underwater vs surface kicking)

การเตะเทา้ ลกั ษณะปลาโลมาทร่ี ะดบั ผวิ น�ำ้ ท�ำ ใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นตวั ไปขา้ งหนา้ นอ้ ยกวา่ การเตะเทา้
ลักษณะปลาโลมาใต้น้ำ� เนื่องจาก surface turbulence ที่เกิดจากฟองอากาศที่ผิวน้ำ� (air bubble)
กระทบกบั สน้ เทา้ และการไหลของอากาศเปน็ วงกลม (circular flow) ทีเ่ กดิ ขึน้ ระหวา่ งกลา้ มเนือ้ นอ่ ง
กับผิวน้ำ� ส่วนการเตะเท้าใต้น้ำ� การไหลของอากาศเป็นวงกลมจะไม่กระทบกับร่างกาย

รูปที่ 38 turbulence เมื่อเตะเท้าแบบปลาโลมาที่ระดับใกล้ผิวน้ำ�

รูปที่ 39 ความลึกที่เหมาะสมจะช่วยลดแรงต้านทานจากน้ำ� (drag) เมื่อเตะเท้าแบบปลาโลมา
100 การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำ�หรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ�

มีผู้วิจัยพบว่า ความลึกของร่างกายนักว่ายน้ำ�จากผิวน้ำ� ควรประมาณ 0.5–0.6 เมตร เมื่อ
เตะเท้าใต้น้ำ� ถ้าความลึกของสระด้านกลับตัวน้อยกว่าที่ FINA กำ�หนด สำ�หรับการแข่งขันระดับ
championship (เช่น สระลึก 1.35 เมตร เป็นระยะอย่างน้อย 6 เมตรจากขอบสระ) จะเกิด
ผลกระทบตอ่ การเตะขาใตน้ �ำ้ ของนกั วา่ ยน�ำ้ ได้ ผฝู้ กึ สอนควรตระหนกั ถงึ ความปลอดภยั เมอ่ื นกั วา่ ยน�ำ้
มีการเตะเท้าใต้น้ำ�ในสระฝึกซ้อมที่ปลายสระด้านกลับตัวน้ำ�ตื้น ซึ่งเมื่อร่างกายนักว่ายน้ำ�อยู่ใต้น้ำ�
ที่ระดับความลึกที่เหมาะสมจะช่วยลดแรงต้านทานจากน้ำ� (drag) ที่เกิดขึ้น

การออกตวั จากขอบสระ (coming off the wall)

นักว่ายน้ำ�ควรรักษาความเร็วขณะว่ายน้ำ�เข้าสู่ขอบสระก่อนกลับตัว สิ่งสำ�คัญที่ต้องคำ�นึงถึง
สำ�หรับการกลับตัว คือ แนวลำ�ตัวขณะที่เท้ายันขอบสระก่อนถีบตัว ทิศทางของร่างกายนักว่ายน้ำ�
ที่พุ่งออกจากขอบสระ จะเป็นทิศทางเดียวกันกับทิศทางของแรงที่เกิดขึ้นจากเท้ายันถีบตัวออก
จากขอบสระ เมื่อถีบตัวออกจากขอบสระ ให้รักษาลักษณะร่างกายในท่า streamline ให้นานที่สุด
หลังจากกลับตัว เริ่มเตะเท้าใต้น้ำ� เมื่อความเร็วที่ส่งตัวออกมาเท่ากับหรือมากกว่าความเร็วในการ
แข่งขัน (race pace)

รูปที่ 40 การถีบตัวออกจากขอบสระเพื่อให้เคลื่อนตัวในความลึกที่เหมาะสมสำ�หรับ
การเตะเท้าใต้น้ำ�

การเคลื่อนไหวร่างกายในการว่ายน้ำ� 101

Active and passive drag ทเี่ กดิ ขึน้ เมอ่ื หยดุ การ gliding และเริ่มการเตะเท้า
Passive drag เป็นปริมาณแรงต้านการเคลื่อนไหวจากน้ำ�ทั้งหมดที่เกิดขึ้นขณะร่างกายอยู่

ในท่านิ่ง (static position) หรือขณะทำ� streamline glide หลังจากออกจากจุดเริ่มต้นหรือกลับตัว
ปัจจัยที่ทำ�ให้เกิดแรงต้านทานจากน้ำ�มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับ มุมที่เกิดขึ้นระหว่างลำ�ตัวนักว่ายน้ำ�
กับระดับผิวน้ำ� รูปร่างขณะว่ายน้ำ� (body shape = streamline position) และการไหลของน้ำ�ผ่าน
หรืออยู่รอบๆ พื้นที่ผิวของร่างกาย ซึ่งปัจจัยทั้งหมดนี้จะทำ�ให้เกิดการชะลอความเร็วของร่างกาย
ขณะว่ายน้ำ�ไปข้างหน้า (decelerate) ความเร็วของการพุ่งตัวไปข้างหน้า หลังจากกลับตัว เกิดจาก
แรงกล้ามเนื้อขาและการส่งต่อแรงไปตามข้อต่อของร่างกาย (kinetics of joint action) และรูปร่าง
และท่าทางของร่างกาย

ความเร็วในการเคลื่อนตัวไปข้างหน้าหลังจากกลับตัว เกิดจากแรงกล้ามเนื้อขา แรงที่เกิดขึ้น
ที่ข้อต่อขาแต่ละข้อต่อ รูปร่างและท่าทางของร่างกายเมื่อกลับตัว ส่วนความเร็วในการเคลื่อนตัว
ไปข้างหน้าเมื่อออกจากจุดเริ่มต้นเกิดจาก มุมของลำ�ตัวขณะกระโดดลงสู่น้ำ� (angle of entry) และ
การลงสู่น้ำ�โดยเกิดการกระจายของน้ำ�น้อย คล้ายกับการเข้าสู่รูเล็กๆในน้ำ� (clean the entry)

Active drag เกิดขึ้นเมื่อเริ่มเตะขาสู่การว่ายน้ำ�ท่าต่างๆ เป็นแรงต้านทานจากน้ำ�เมื่อมีการ
เคลื่อนไหวข้อต่อต่างๆของร่างกายรวมกับ passive drag จึงมีค่ามากกว่า passive drag

นักว่ายน้ำ�จะต้องพิจารณาตัดสินใจองค์ประกอบ 2 ประเด็น คือ ทำ�อย่างไรที่จะทำ�ให้ passive
glide position ไปได้นาน ซึ่งขึ้นอยู่กับ ความเร็วเริ่มต้น และความเร็วสูงสุดของการเตะเท้าแบบ
ปลาโลมาใต้น้ำ�ของแต่ละบุคคล และเมื่อไหร่ที่นักว่ายน้ำ�จะหยุดการเตะเท้าแบบปลาโลมาและเริ่ม
การว่ายน้ำ�ท่าผีเสื้อ หรือ กรรเชียง หรือฟรีสไตล์ ด้วยความเร็วเต็มที่ ซึ่งมีการจำ�กัดระยะทางที่
วา่ ยน�ำ้ ตามกฎของการวา่ ยน�ำ้ สว่ นใหญน่ กั วา่ ยน�ำ้ สามารถรสู้ กึ ไดว้ า่ ความเรว็ ในการวา่ ยน�ำ้ ลดลงขณะ
เตะเทา้ แบบปลาโลมาใตน้ �ำ้ และควรทจ่ี ะเรม่ิ การเตะเทา้ วา่ ยน�ำ้ ตามทา่ การวา่ ยน�ำ้ แตล่ ะทา่ นกั วา่ ยน�ำ้
ควรมีการฝึกท่า streamline การเตะเท้าแบบปลาโลมาเร็วๆ และทักษะการเปลี่ยนจากการเตะเท้า
แบบปลาโลมาเป็นการเตะเท้าที่ผิวน้ำ�
คำ�แนะนำ�สำ�หรบั การฝกึ เตะเทา้ แบบปลาโลมา

วิธีการฝึกหลากหลายสำ�หรับพัฒนาเทคนิค ความแข็งแรง กำ�ลังกล้ามเนื้อ และความอดทน
ของระบบไหลเวียนเลือดและหายใจ เพื่อที่จะคงความเร็วในการเตะเท้าแบบปลาโลมา นอกจากนี้
ใช้ fin แบบเดี่ยวหรือคู่ในการฝึกเตะเท้า การฝึก drill เตะเท้าเร็วที่ความลึกของน้ำ�คงที่ และการฝึก
sprint sets ของการเตะเท้าใต้น้ำ� เป็นต้น

102 การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำ�หรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ�

4

การประยกุ ต์ใช้
เทคโนโลยีในกฬี าว่ายน้ำ�

(New Technology in Swimming)

ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วในทุกๆด้าน เพื่อ
ทำ�ให้มนุษย์ดำ�รงชีวิตได้อย่างสะดวกสบาย มีความสุข และในทางกีฬา
เทคโนโลยีมีบทบาทในด้านต่างๆ ดังนี้

• พัฒนาเทคนิคการเล่นกีฬา (improve technique)
• การติดตามความหนักของการฝึกซ้อม (monitor training load)
• การวัดศักยภาพทางการกีฬา (measure performance)
• การวิเคราะห์ศักยภาพทางการกีฬา (analyze performance)
ในทีน่ ีจ้ ะกลา่ วถงึ การใชเ้ ทคโนโลยกี บั กฬี าวา่ ยน้�ำ ในดา้ นตา่ งๆ ไดแ้ ก่
การพัฒนาเทคนิคว่ายน้ำ� การติดตามความหนักของการฝึกซ้อม การวัด
และวิเคราะห์ศักยภาพทางการกีฬา เป็นต้น

104 การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำ�หรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ�

1 การพัฒนาเทคนิควา่ ยนำ้ �

สามารถทำ�ได้โดยใช้ระบบกล้องถ่ายภาพขณะนักกีฬาว่ายน้ำ� โดยเป็นกล้องที่ตั้งเหนือน้ำ�
หรือวางใต้น้ำ�ในสระ ซึ่งผู้ฝึกสอนนำ�ภาพที่บันทึกจากกล้องทั้ง 2 ระบบให้นักกีฬาดูได้ทันที
จะเปน็ การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั (feedback) ทีผ่ ูฝ้ กึ สอนชีใ้ หเ้ หน็ ทา่ ทางการวา่ ยน้ำ�ของนกั กฬี าแตล่ ะคน
มีจุดใดที่ไม่ถูกต้องตามหลักการการเคลื่อนไหวร่างกายตามแนวทางชีวกลศาสตร์ เมื่อนักกีฬา
มองเห็นท่าทางการว่ายน้ำ�ของตนเองและได้รับคำ�แนะนำ�จากผู้ฝึกสอน จะทำ�ให้นักกีฬาเกิด
จินตนาการการเคลื่อนไหวร่างกาย และปรับท่าทางการว่ายน้ำ�ตามที่ผู้ฝึกสอนแนะนำ� หากนักกีฬา
ไม่สามารถทำ�ได้ ก็ต้องถ่ายภาพซ้ำ�และวิเคราะห์ต่อเนื่องถึงสาเหตุที่ทำ�ไม่ได้ ซึ่งอาจจะเกิดจาก
สมรรถภาพทางกายไม่เพียงพอที่ทำ�ให้เกิดประสิทธิภาพของการว่ายน้ำ�ได้อย่างเต็มที่ เช่น ความ
อ่อนตัวน้อย ความแข็งแรงหรือความอดทนของกล้ามเนื้อไม่เพียงพอ ความอดทนของระบบหายใจ
และไหลเวียนเลือด เป็นต้น กล้องถ่ายภาพ แบ่งตามลักษณะการบันทึกเป็น 2 ระบบ ได้แก่
1.1 ระบบกลอ้ งถา่ ยภาพวิดีโอ (video camera)

โดยทั่วไปกล้องถ่ายภาพวิดีโอมีความเร็วในการบันทึกภาพ (frame rate) ประมาณ 25-30 ภาพ
ต่อวินาที (frame/second) แต่หากจะใช้กล้องบันทึกภาพการเคลื่อนไหวในขณะเล่นกีฬา ควรเป็น
กล้องที่มีความเรว็ สูงในการบนั ทกึ ภาพ เพราะในการเลน่ กีฬามีการเคลือ่ นไหวรา่ งกาย หรืออปุ กรณ์
กีฬาอย่างรวดเร็ว หากใช้กล้องถ่ายภาพที่มีความเร็วน้อยในการบันทึกภาพ จะเห็นภาพเบลอ ไม่ชัด
หรือมองไม่เห็นภาพ ดังนั้น ควรเลือกกล้องถ่ายภาพที่มีความเร็วในการบันทึกภาพมากกว่าปกติ
เช่น 60 หรือตั้งแต่ 100 ภาพ/วินาที การบันทึกการตีกอล์ฟ การเตะฟุตบอล อาจใช้ความเร็วในการ
บันทึกภาพตั้งแต่ 500 ภาพ/วินาที เป็นต้น

กล้องถ่ายภาพวิดีโอทุกเครื่องหมายการค้า
สามารถใช้บันทึกการเล่นกีฬาบนพื้น เช่น Sony,
Nikon, Canon, Olympus, Pentex และ GoPro
เป็นต้น ส่วนกล้องที่ถ่ายภาพวิดีโอใต้น้ำ� ได้แก่ กล้อง
เครื่องหมายการค้า GoPro underwater camera
ความเร็วในการบันทึกภาพ 30, 60, 100 และ 120
ภาพ/วินาที เป็นต้น กล้อง GoPro สามารถถ่ายภาพ
วิดีโอกิจกรรมกีฬาต่างๆ เช่น การแข่งรถจักรยาน
แข่งเรือ เรือคายัค ใช้ในกองทัพ การปีนเขา ล่าสัตว์
ตกปลา การเล่นกระดานโต้คลื่น(surf) ดำ�น้ำ� สกี
สเก๊ต snowmobiling wakeboarding snowboarding
เป็นต้น สามารถดูรายละเอียดที่ http://gopro.com

รูปที่ 41 กล้อง GoPro และภาพที่ถ่ายจากกล้อง GoPro
อ้างอิง : http://gopro.com

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกีฬาว่ายน้ำ� 105

1.2 ระบบกลอ้ งบนั ทึกการสะท้อนแสง (optical camera)
สว่ นใหญร่ ะบบกลอ้ งบนั ทกึ การสะทอ้ นแสงใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มลู การวจิ ยั หรอื การท�ำ ภาพเคลอ่ื นไหว

(animation) เช่น ภาพยนตร์ เกม เป็นต้น โดยเป็นอุปกรณ์เฉพาะด้านที่มีราคาแพง และมีเจ้าหน้าที่
เทคนคิ เปน็ ผูบ้ นั ทกึ ภาพ การบนั ทกึ ภาพท�ำ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และตอ้ งตดิ ตวั บอกต�ำ แหนง่ (marker)
ซึ่งกล้องจะบันทึกแสงสะท้อนจากตัวติดบอกตำ�แหน่ง ภาพที่บันทึกจากระบบกล้องบันทึกการ
สะท้อนแสง จะแตกต่างจากระบบกล้องถ่ายภาพวิดีโอ คือ ภาพที่บันทึกจะเห็นเฉพาะตัวติดบอก
ตำ�แหน่งหรือโครงร่างกายตามตัวติดบอกตำ�แหน่ง (stick figure) หรือโครงร่างกาย 3 มิติ ไม่เห็นเป็น
ภาพตัวคน หรืออุปกรณ์กีฬา โดยใช้โปรแกรมเฉพาะกับระบบกล้องในการวิเคราะห์ข้อมูล หรือทำ�
เป็นโครงร่างกาย เช่น โปรแกรม visual 3D เป็นต้น ระบบกล้องบันทึกการสะท้อนแสง ได้แก่ กล้อง
เครื่องหมายการค้า Qualisys, BTS, Motion Analysis, Wilcon เป็นต้น ความเร็วในการบันทึกภาพ
ตัง้ แต่ 0-1,000 ภาพ/วนิ าที ระบบกลอ้ งบนั ทกึ การสะทอ้ นแสงทกุ เครือ่ งหมายการคา้ สามารถบนั ทกึ
ภาพบนบก แต่กล้องที่บันทึกภาพใต้น้ำ� ได้แก่ กล้องเครื่องหมายการค้า Qualisys เป็นต้น

รูปที่ 42 การติดตัวบอกตำ�แหน่งที่ร่างกายและการตั้งกล้องบันทึกการสะท้อนแสงที่สระว่ายน้ำ�
106 การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำ�หรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ�

ตารางที่ 13 การเปรยี บเทยี บคณุ ลกั ษณะระบบกลอ้ งถา่ ยภาพวดิ โี อกบั ระบบกลอ้ งบนั ทกึ การสะทอ้ นแสง

คุณลักษณะ กล้องถ่ายภาพวิดีโอ กล้องบันทึกการสะท้อนแสง
ราคา ปานกลาง - สูง สูงมาก
เจ้าหน้าที่เทคนิค ไม่ใช้ ใช้
ตัวติดบอกตำ�แหน่ง ไม่จำ�เป็นต้องใช้ จำ�เป็นต้องใช้
สถานที่ ส่วนใหญ่ใช้นอกห้องปฏิบัติการ ส่วนใหญ่ใช้ในห้องปฏิบัติการ
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมที่เสียหรือไม่เสียค่า ใช้โปรแกรมเฉพาะที่มาพร้อมกล้อง
ใช้จ่ายในการใช้
ความแม่นยำ�ของข้อมูล แม่นยำ�ปานกลาง แม่นยำ�สูง

2 การตดิ ตามความหนกั ของการฝกึ ซ้อม (monitor training load)

มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อติดตามความหนักของการฝึกซ้อมทั้งแบบความหนักปัจจุบันขณะ
ซ้อม (live) และติดตามย้อนหลัง (retrospective) ระบบติดตามความหนักของการฝึกซ้อม มี 2 แบบ
คือ

แบบเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการใช้ เชน่ Smartabase, Athletic Logic, Visual Coaching Pro เปน็ ตน้
แบบไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการใช้ เชน่ Dropbox, Google Drive เปน็ บรกิ ารฝากไฟลข์ อ้ มลู ทาง
อินเตอร์เน็ต ซึ่งสามารถจัดเก็บและแบ่งปันข้อมูลร่วมกับคนอื่นได้ โดยไม่ต้องแนบไฟล์ไปกับอีเมล์
เป็น cloud storage
นักกีฬาว่ายน้ำ�แต่ละคนทำ�การบันทึกข้อมูลของตนเองในโปรแกรม excel แล้วนำ�ส่งทาง
อินเตอร์เน็ตที่ Dropbox บันทึกข้อมูลทุกวัน ผู้ฝึกสอนประเมินผลทุกสัปดาห์ ทำ�ให้เห็นการ
เปลี่ยนแปลงของนักกีฬา สำ�หรับเตรียมวางแผนการฝึกซ้อมในช่วงระยะเวลาต่อไป (next session)

ตารางที่ 14 การบนั ทกึ ขอ้ มลู ของนกั กฬี าแตล่ ะคนในโปรแกรม excel

วันที่ อตั ราการเตน้ ของ น้ำ�หนักตัว ระดับแรงจูงใจต่อการ อาการเจ็บกล้ามเนื้อ
หวั ใจตอนเชา้ : ตอนเช้า ฝึกซ้อม (motivation) (muscle soreness)
วดั ขณะนอนอยบู่ นเตยี ง (กิโลกรัม) ระดับ 1–10 ระดับ 1–10
(ครั้งต่อนาที) (น้อยที่สุดถึงมากที่สุด) (น้อยที่สุดถึงมากที่สุด)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกีฬาว่ายน้ำ� 107

นอกจากนี้ นักกีฬาบันทึกความรู้สึก ระดับความเหนื่อยต่อการฝึกซ้อม ในโปรแกรม excel แล้ว
นำ�ส่งทางอินเตอร์เน็ตที่ Google Drive เป็นการให้ความรู้กับนักกีฬา

ตารางที่ 15 การบนั ทกึ ความรสู้ กึ คณุ ภาพการนอน อารมณ์ ระดบั ความเหนอ่ื ยตอ่ การฝกึ ซอ้ ม
ในโปรแกรม excel

เวลา วันที่ โปรแกรม ความรู้สึกต่อ วิธีการสร้างแรงจูงใจ ความรู้สึกเมื่อ
ฝึกซ้อม การฝึกซ้อม เมื่อฝึกซ้อมหนัก ทำ�ตามวิธีการ
(session) (How hard (How motivated were สร้างแรงจูงใจ
was the you during the session (How did it go?)
session?) to train hard?)

คุณภาพ อารมณ์ ระดับความ ระดับความ ระดับความ
การนอน (mood) เหนื่อยเมื่อ เหนื่อยเมื่อ เหนื่อยเมื่อ
เวลา ชื่อ วันที่ (sleep ฝึกซ้อมช่วงเช้า ฝึกซ้อมช่วงเย็น เขา้ ฝกึ ทห่ี อ้ งยมิ
(AM swim (PM swim (Gym RPE)
quality) session RPE) session RPE)

3 การวัดศกั ยภาพทางการกฬี า (Measure Performance)

นักชีวกลศาสตร์จะทำ�การวัดศักยภาพทางการว่ายน้ำ�ของนักกีฬา โดยบันทึกวิดีโอการแข่งขัน
ว่ายน้ำ� (race analysis) จากนั้นวิเคราะห์ศักยภาพการว่ายน้ำ�ของนักกีฬา ใช้เวลาประมาณ 10 นาที
แล้วนำ�ภาพวิดีโอเปิดให้ผู้ฝึกสอน และนักกีฬาดู เป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับ และข้อมูลที่เป็นเชิง
ปริมาณ เช่น splits, stroke rates, stroke counts, start and turn time และ velocities and
distance per stroke เป็นต้น

108 การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำ�หรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ�

4 การวิเคราะหศ์ กั ยภาพทางการกฬี า (analyze performance)

ประเทศออสเตรเลยี มศี นู ยก์ ลางฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (database) ของนกั กฬี าระดบั ชาติ และมี
วิธีการทดสอบที่เป็นพื้นฐาน มีการเปรียบเทียบศักยภาพทางการกีฬาจากการแข่งขันรายการต่างๆ
ภายใน 5 ปี โดยสามารถใชโ้ ปรแกรมวเิ คราะหก์ ารเคลื่อนไหวจากภาพวิดโี อที่ไมเ่ สยี คา่ ใช้จ่ายในการ
ใช้ เช่น โปรแกรม Kinovea เป็นต้น โดยทำ�การดาวน์โหลดและติดตั้งโปรแกรมในเครื่องคอมพิวเตอร์
ไดท้ ี่ www.kinovea.org โปรแกรมนสี้ ามารถดภู าพวดิ โี อ 2 ภาพพรอ้ มกนั ได้ ท�ำ ใหเ้ หน็ การเปรยี บเทยี บ
ท่าทางการว่ายน้ำ�ระหว่างนักกีฬา 2 คน หรือนักกีฬาคนเดียวกัน ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมฝึก
และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณของการเคลื่อนไหวร่างกายในการว่ายน้ำ� เช่น stroke rates, stroke
counts, start and turn time และ velocities and distance per stroke เป็นต้น นำ�ผลที่ได้จาก
Kinovea ใส่ใน Dropbox เพื่อให้นักกีฬาเปิดดู เรียนรู้

นอกจากนี้ สามารถติดตั้ง Application ที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การใช้งานของแต่ละบุคคล
ลงใน iPad หรือ iPhone เช่น

LifeProof Case
SwimPro Ipad App
เป็นโปรแกรมวิเคราะห์ภาพวิดีโอ (video analysis) ซึ่งผู้ฝึกสอนสามารถนำ�ภาพวิดีโอที่บันทึก
ขณะแข่งขัน มาวิเคราะห์การเคลื่อนไหวร่างกาย (analyze) ด้วยโปรแกรมนี้ในโทรศัพท์มือถือ โดย
ฉายภาพช้าๆ (slow motion) หรือฉายย้อนกลับ (rewind) หรือทำ�การวิเคราะห์มุม ความเร็ว เวลา
ในการว่ายน้ำ� รายละเอียดดูได้ที่ http://swimmingcam.com/swimpro-demo.php

รูปที่ 43 website swimpro
อ้างอิง : http://www.swimmingcam.com/demo.php

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกีฬาว่ายน้ำ� 109

Ubersense เป็นโปรแกรมวิเคราะห์ภาพวิดีโอ (video analysis) ซึ่งผู้ฝึกสอนสามารถนำ�ภาพ
วิดีโอที่บันทึกขณะแข่งขัน มาวิเคราะห์การเคลื่อนไหวร่างกาย (analyze) ด้วยโปรแกรมนี้ในโทรศัพท์
มือถือ หรือเปรียบเทียบกับนักกีฬาที่มีความสามารถสูง (compare) หรือปรับปรุงการเคลื่อนไหว
ร่างกาย (improve) โดยดู drill จากผู้ฝึกสอนมืออาชพี และแบง่ ปนั วิดโี อ (share) ซึ่งจะได้รับคำ�แนะนำ�
จากผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้ผู้ฝึกสอนทำ�การแนะนำ�ในประเด็นที่สำ�คัญแก่นักกีฬาได้ทันที ทำ�ให้นักกีฬา
ปรับแก้ไขตัวเองได้รวดเร็วต่อการแข่งขันครั้งต่อไป ดูรายละเอียดได้ที่ http://www.ubersense.com

การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ การปรับปรุง

รูปที่ 44 การใช้โปรแกรม Ubersense
อ้างอิง : http://www.ubersense.com

SwimCoach Pro
ดูรายละเอียดได้ที่ http://swimcoach-pro.software.informer.com

รูปที่ 45 website swimcoach
อ้างอิง : http://www.freeware-archiv.de/
LogoComSwimCoach-Schwimmen.htm
110 การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำ�หรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ�

การวางแผนและติดตามการฝกึ ซอ้ ม

สามารถใช้ software ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการใช้ เช่น visual coaching pro เป็นต้น โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ visual coaching pro ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อให้ผู้ฝึกสอนสามารถวางแผนและติดตามการ
ฝกึ ซอ้ มของนกั กฬี าไดส้ ะดวก และครอบคลมุ องคป์ ระกอบทีเ่ กีย่ วขอ้ ง กบั การฝกึ ซอ้ ม ดรู ายละเอยี ด
ได้ที่ http://www.visualcoaching.com

รูปที่ 46 โปรแกรม visual coaching pro
อ้างอิง : http://www.visualcoaching.com

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในกีฬาว่ายน้ำ� 111

การปรับปรุงเทคนิคการว่ายน้ำ� โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ภาพวิดีโอ ซึ่งสามารถติดตั้งโปรแกรม
ในเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (PC) หรือคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop) หรือติดตั้งโปรแกรมใน
iPad หรือ iPhone

โปรแกรมที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่
• Kinovea เป็นโปรแกรมที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการใช้
• Dartfish เป็นโปรแกรมที่เสียค่าใช้จ่ายในการใช้และมีโปรแกรมตัวอย่าง (Demo) ให้

ทดลองใช้ 30 วัน
โปรแกรมที่ใช้กับ iPad หรือ iPhone ได้แก่ UberSense, Swim Coach Pro เป็นต้น
นอกจากนี้ ผูฝ้ กึ สอนสามารถน�ำ ขอ้ มลู ทีน่ กั กฬี าบนั ทกึ ในแบบบนั ทกึ และสง่ มาที่ Google Drive
หรือ dropbox ซึ่งเป็นการแชร์ข้อมูลออนไลน์ไว้ที่ส่วนกลาง แล้วนำ�มาวิเคราะห์ เพื่อการวางแผน
และติดตามการฝึกซ้อมได้

สรุป การน�ำ ความรูด้ า้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี ามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการฝกึ นกั กฬี าวา่ ยน้�ำ เปน็ เรือ่ ง
ที่ต้องพิจารณาให้รอบด้านในทุกศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ที่จะส่งเสริม พัฒนาให้นักว่ายน้ำ�
มีศักยภาพในการว่ายน้ำ�ได้สูงสุดและเป็นระยะเวลานาน ผู้ฝึกสอน นักกีฬาและ
ผปู้ กครองตอ้ งมคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั กระบวนการและองคค์ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า และเปดิ ใจ
ยอมรับที่จะนำ�วิธีการเหล่านี้มาปรับประยุกต์ใช้ในการวางแผนโปรแกรมฝึกซ้อมให้เหมาะสมกับ
สมรรถภาพนกั กฬี าแตล่ ะคน ตลอดจนตอ้ งศกึ ษา และแลกเปลีย่ นประสบการณก์ บั ผูฝ้ กึ สอนคนอืน่ ๆ
อย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้มีความรู้ที่ทันสมัย ก้าวหน้าต่อไป

112 การประยุกต์วิทยาศาสตร์การกีฬาสำ�หรับฝึกนักกีฬาว่ายน้ำ�

ภาคผนวก

แบบบันทึกลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายในการว่ายน้ำ� แบบบันทึกทั้ง 4 แบบ
อ้างอิงจากเอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติเรื่อง International
workshop on swimming science biomechanical and physiological contribution to
swimming performance; views on the sport scientist and coaching perspective
for swimming development. วันที่ 10-13 กันยายน 2556 ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย

แบบบันทึกลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายในการว่ายน้ำ�ท่าฟรีสไตล์
ชื่อนักว่ายน้ำ�...............................................................................................................................
วันที่ประเมิน...............................................................................................................................
ผู้ประเมิน.....................................................................................................................................

yes no comments
BODY POSITION
Low hips
Lateral hips movement
Incorrect longitudinal rotation

SEGMENTS POSITION AND TRAJECTORY
Head
Head incorrect position
Upper Limbs (UL)
Hands incorrect position (entry)
Excessive lateral or central (entry)
UL extended (entry)
Hands incorrect position/orientation (downsweep)
Short path (downsweep)
Dropped elbow (downsweep)
Incorrect trajectory (downsweep)
Hands incorrect position/ orientation (insweep)
Short (or inexistent) path (insweep)
Incorrect trajectory (insweep)
Asymmetric trajectory (insweep)
Hands incorrect position/ orientation (upsweep)
Short path (upsweep)
Hands incorrect position/orientation (recovery)
Low and lateral trajectory (recovery)
Lower Limbs (LL)
Insufficient dorsal extension
Knees excessively flexed
Incorrect amplitude
SYNCHRONIZATION
How many LL actions per UL cycle: 6 4 2
Between UL and LL: alternated Semi-overlapped overlapped
BREATHING
Head incorrect position/orientation

แบบบันทึกลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายในการว่ายน้ำ�ท่ากรรเชียง
ชื่อนักว่ายน้ำ�...............................................................................................................................
วันที่ประเมิน...............................................................................................................................
ผู้ประเมิน.....................................................................................................................................

BODY POSITION yes no comments

Dropped hips
Lateral hips movement
Incorrect longitudinal rotation
SEGMENTS POSITION AND TRAJECTORY
Head
Head incorrect position
Upper Limbs (UL)
Hands incorrect position (entry)
Excessive lateral or central (entry)
UL extended (entry)
Hands incorrect position/orientation (1st downsweep)
Short path (1st downsweep)
Dropped elbow (1st downsweep)
Incorrect trajectory (1st downsweep)
Hands incorrect position/ orientation (1st upsweep)
Short (or inexistent) path (1st upsweep)
Incorrect trajectory (1st upsweep)
Asymmetric trajectory (1st upsweep)
Hands incorrect position/orientation (2nd downsweep)
Short (or inexistent) path (2nd downsweep)
Number of propulsive phases: 3 4
Hands incorrect position/orientation (recovery)
Low and lateral trajectory (recovery)
Lower Limbs (LL)
Insufficient dorsal extension
Knees excessively flexed
Hips excessively flexed
Incorrect amplitude
SYNCHRONIZATION
How many LL actions per UL cycle: 6 42
Between UL and LL: alternated Semi-overlapped overlapped

แบบบันทึกลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายในการว่ายน้ำ�ท่ากบ
ชื่อนักว่ายน้ำ�...............................................................................................................................
วันที่ประเมิน...............................................................................................................................
ผู้ประเมิน.....................................................................................................................................

BODY POSITION yes no comments
Incorrect hip positioning
Appropriated undulation
SEGMENTS POSITION AND TRAJECTORY

Head
Head incorrect position or depth
Upper Limbs (UL)
Hands incorrect position/orientation (outsweep+downsweep)
Incorrect path(s) (outsweep+downsweep)
Dropped elbow (downsweep)
Hands incorrect position/orientation (insweep)
Excessive anterior-posterior trajectory (insweep)
Incomplete path (insweep)
Slow movement (insweep)
Asymmetric trajectory (insweep)
With the UL apart (recovery)
Incomplete path (recovery)
Lower Limbs (LL)
Feet incorrect position/orientation (outsweep+downsweep)
Low profundity orientation (outsweep+downsweep)
Incomplete path (insweep)
Feet in contact at the final (insweep)
Asymmetric trajectory (insweep)
Hips exaggerated flexion (recovery)
With hips external rotation (recovery)
SYNCHRONIZATION
Between UL and LL: Continuous Discontinuous Overlapped
BREATHING
Early or delayed head emersion
Delayed head immersion

แบบบันทึกลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายในการว่ายน้ำ�ท่าผีเสื้อ
ชื่อนักว่ายน้ำ�...............................................................................................................................
วันที่ประเมิน...............................................................................................................................
ผู้ประเมิน.....................................................................................................................................

yes no comments
BODY POSITION
Appropriated undulation

SEGMENTS POSITION AND TRAJECTORY
Head
incorrect position
Upper Limbs (UL)
Excessively lateral or central (entry)
Excessively resistive (entry)
Hands incorrect position/orientation (outsweep)
Short path outsweep downsweep
Dropped elbow
Hands incorrect position/orientation (insweep)
Excessive lateral trajectory (insweep)
Incorrect arm/forearm angle (insweep)
Asymmetric trajectory (insweep)
Hands incorrect position/orientation (upsweep)
Short path (upsweep)
In contact with water surface (recovery)
Asymmetric trajectory (recovery)
Lower Limbs (LL)
Insufficient dorsal extension
Knees excessively apart
Incorrect amplitude
Asymmetric trajectory
SYNCHRONIZATION
1st LL down movement coincident of the UL entry
2nd LL down movement coincident of the UL exit
Two LL action per UL cycle
BREATHING
Excessive frequency

REFERENCE เอกสารอา้ งองิ

Fernandas R, Aleixo I, Soares S and Vilas-Boas JP. Anaerobic critical velocity: a new tool for
young swimmers training advice. Physical activity and children: new research. 211-223.
2008. Beauliev NP (ed) ในเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ เรื่อง
International workshop on swimming science biomechanical and physiological contribution
to swimming performance; views on the sport scientist and coaching perspective for
swimming development. 10-13 กันยายน 2556 ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย.
Neiva HP, Fernandes RJ and Vilas–Boas JP. Anaerobic critical velocity in four swimming techniques.
Int J Sports Med. 2011; 32: 195–198. ในเอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ
เรื่อง International workshop on swimming science biomechanical and physiological
contribution to swimming performance; views on the sport scientist and coaching
perspective for swimming development. 10-13 กันยายน 2556 ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย.
Kable A. Swimming physiology–energy systems and applications. เอกสารประกอบการอบรมเชิง
ปฏบิ ตั กิ ารนานาชาตเิ รอ่ื ง Swimming sport science SE Asia conference 2014. 26–27 เมษายน
2557 ณ โรงเรยี นนานาชาตริ ว่ มฤด.ี
Kable A. New technology in swimming. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ
เรื่อง Swimming sport science SE Asia conference 2014. วันที่ 26–27 เมษายน 2557
ณ โรงเรียนนานาชาติร่วมฤดี.
Kable A. Swimming coaching: a physiotherapists approach. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติ
การนานาชาตเิ รอ่ื ง Swimming sport science SE Asia conference 2014. 26–27 เมษายน 2557
ณ โรงเรียนนานาชาติร่วมฤดี.
ธนาวิชญ์ โถสกุล. เอกสารประกอบการบรรยายอบรมผู้ฝึกสอนว่ายน้ำ�.
Sanders RH. How do asymmetries affect swimming performance? J Swimming Res. 21:1. 2013.
Richards R and Goldsmith W. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
Conference on Thailand swimming sports science workshop. สมาคมวา่ ยน�ำ้ แหง่ ประเทศไทย.
7-9 พฤษภาคม 2553 ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย.
Atkinson JD. Age group and youth swimming test sets. ใน Richards R and Goldsmith W.
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์การกีฬา Conference on Thailand
swimming sports science workshop. สมาคมว่ายน้ำ�แห่งประเทศไทย. 7-9 พฤษภาคม 2553
ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย.

Savage B and Pyne David. Test protocols: a summary of tests for Australian swimming coaches.
Swimming Australia. 2009. ในเอกสารประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า
Conference on Thailand swimming sports science workshop. Richards R and Goldsmith W.
สมาคมว่ายน้ำ�แห่งประเทศไทย. 7-9 พฤษภาคม 2553 ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย.
Pyne D, Maw G and Goldsmith W. Protocols for the physiological assessment of swimmers.
ในเอกสารประกอบการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า Conference on Thailand
swimming sports science workshop. Richards R and Goldsmith W. สมาคมว่ายน้ำ�แห่ง
ประเทศไทย. 7-9 พฤษภาคม 2553 ณ การกีฬาแห่งประเทศไทย.
Bixler BS. Resistance and propulsion. pp.59-99. In Stager JM and Tanner DA (edi). Swimming;
handbook of sports medicine and science. An IOC Medical Commission Publication.
2nd edi. Victoria; Blackwell Science Ltd. 2005.
McArdle WD, Katch FI and Katch VL. Essentials of exercise physiology. 3rd edi. Lippincott
Williams and Wilkins; PA. 2006.
Trigger ball. Available from: http://www.anatomybarn.com/product-category/therapy-products/
trigger-ball-hard. [cited 2014, 20 May].
Foam roller. Available from: http://www.sportstek.net/foam_rollers.htm และ http://sdsd.heb.com/
2014/03/13944. [cited 2014, 20 May].
GoPro. Available from: http://gopro.com. [cited 2014, 20 May].
Swimpro. Available from: http://swimmingcam.com/swimpro-demo.php. [cited 2014, 20 May].
Ubersense. Available from: http://www.ubersense.com. [cited 2014, 20 May].
Swimcoach. Available from: http://www.freeware-archiv.de/LogoComSwimCoach-Schwimmen.
htm. [cited 2014, 20 May].
Visualcoaching. Available from: http://www.visualcoaching.com. [cited 2014, 20 May].
ATP-PC. Available from : https://thebodyengineer.wordpress.com/tag/adenosine-triphosphate.
[cited 2014, 20 May].
Glycolytic. Available from : http://www.sparknotes.com/biology/cellrespiration/glycolysis/section3.
rhtml. [cited 2014, 20 May].
สำ�นักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา. การยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบ Dynamic Stretching สำ�หรับ
นักกีฬา. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด; กรุงเทพฯ. 2556.
Sokolovas G. Energy zones in swimming. Available from : https://www.teamunify.com/nekfb/__
doc__/212442_2_Energy%20Zones%20in%20Swimming.pdf. [cited 2014, 7 Aug].




Click to View FlipBook Version