The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านกระบวนการทำงานและสร้างความเข้มแข็ง ของพื้นที่ผ่านภาวะการนำร่วม และการหนุนเสริม การทำงานในการยกระดับการขับเคลื่อนสังคมด้วยเครื่องมือและนวัตกรรม รวมถึงการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง โดยมีพื้นที่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 4 พื้นที่ ทำงานขับเคลื่อน 4 โครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาแกนนำหลักสูตรนักเปลี่ยนแปลงสังคมสู่พังงาแห่งความสุข, โครงการสร้างผู้นำแห่งอนาคตจังหวัดเชียงราย, โครงการพัฒนาแกนนำขับเคลื่อนงาน วัฒนธรรมตำบลโคกสลุงเพื่อต้นแบบการจัดการชุมชนอย่างยั่งยืน จังหวัดลพบุรี และ โครงการขอนแก่นนิวสปิริต จังหวัดขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-11-29 02:46:01

จุดนัดพบบนเส้นขนาน

การถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านกระบวนการทำงานและสร้างความเข้มแข็ง ของพื้นที่ผ่านภาวะการนำร่วม และการหนุนเสริม การทำงานในการยกระดับการขับเคลื่อนสังคมด้วยเครื่องมือและนวัตกรรม รวมถึงการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง โดยมีพื้นที่กลุ่มเป้าหมายจำนวน 4 พื้นที่ ทำงานขับเคลื่อน 4 โครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาแกนนำหลักสูตรนักเปลี่ยนแปลงสังคมสู่พังงาแห่งความสุข, โครงการสร้างผู้นำแห่งอนาคตจังหวัดเชียงราย, โครงการพัฒนาแกนนำขับเคลื่อนงาน วัฒนธรรมตำบลโคกสลุงเพื่อต้นแบบการจัดการชุมชนอย่างยั่งยืน จังหวัดลพบุรี และ โครงการขอนแก่นนิวสปิริต จังหวัดขอนแก่น

Keywords: การจัดการชุมชน,จังหวัดขอนแก่น

เอกสารอ้างอิง
เถลงิ ศก โสมทพิ ย.์ (2555). บทพินจิ หนังสอื : the Fifth Discipline. วารสารศึกษา
ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร, 14 (2), 129-133.
ภูธร ภูมะธน. (2541). รายงานการศกึ ษาเรอื่ ง มรดกวัฒนธรรมไทยเบ้งิ  
ล่มุ แม่น้ำ� ป่าสักในเขตทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากการสรา้ งเขือ่ นป่าสัก. ลพบุร:ี  
ศูนยศ์ ลิ ปวฒั นธรรม สถาบนั ราชภัฏเทพสตรี
MGRonline. (2560). ปิดเปน็ ทางการ “มลู นิธเิ พือ่ นชา้ ง” ออกหนังสอื ยตุ ทิ กุ
อย่างหลงั ขาดทนุ . สบื คน้ จาก https://mgronline.com/onli
nesection/detail/9600000026604
Voicetv. (2016). ปิดมูลนธิ ชิ ่วยเหลอื เหยอื่ รุนแรงในครอบครัว LGBTQ ของ
อังกฤษ. สืบค้นจาก https://www.voicetv.co.th/read/379821
Kotler, Philip and Sarkar, Christian. (2017). “Finally, Brand Activism!”
Retrieved from http://www.marketingjournal.org/finally
-brand-activism-philip-kotler-and-christian-sarkar/
Shikh, Ayesha. (2017) The era of brand activism. Retrieved from
https:// aurora.dawn.com/news/1142389

การเดนิ ทางคร้งั ใหม่ของชาวไทยเบิ้งบา้ นโคกสลงุ 251

252 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

สูพ่ งั งาแห่งความสขุ :
เพราะจดุ หมาย

ไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง

กติ ติ คงตกุ

253

สู่พังงาแห่งความสุข:
เพราะจุดหมายไปถึงได้หลายเส้นทาง

กติ ติ คงตกุ

ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกนับตั้งแต่การปฏิวัติเทคโนโลยี
สารสนเทศช่วงปลายศตวรรษที่ 20 จนเกิดยุคสมัยที่เรียกขานกันว่า “โลกา
ภิวัตน์” หรือ “เศรษฐกิจไร้พรมแดน” สืบเน่ืองจากความเจริญก้าวหน้าด้าน
โทรคมนาคมขนส่งและการเปิดเสรีด้านการเงินและการลงทุนท่ัวโลก แนวทาง
ด�ำเนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยจ์ �ำนวนมากถกู ขบั เคลอื่ นดว้ ยระบบทนุ นยิ มซง่ึ มอี ดุ มการณ์
หลักคือการมุ่งแสวงหาผลก�ำไรอาศัยกลไกการตลาดที่ให้ความส�ำคัญกับการ
บริหารจัดการปัจจัยการผลิต เป้าหมายคือท�ำอย่างไรให้เกิดต้นทุนต่�ำท่ีสุดเพื่อ
รายได้สูงสุดจะติดตามมา การส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมบริโภคนิยมแผ่ขยายไป
ในวงกว้าง ทรัพยากรธรรมชาติจ�ำนวนมหาศาลถูกน�ำมาแปรเปลี่ยนเป็นสินค้า
ท่ีต้องมีราคา กระทั่งมนุษย์ผู้เป็นเสมือนฟันเฟืองชิ้นส�ำคัญของระบบก็มิได้เป็น
เพยี งแคผ่ บู้ รโิ ภคแตย่ งั ท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ แรงงานการผลติ ทม่ี รี าคาคา่ งวดเชน่ เดยี วกนั
แมร้ ะบบทนุ นยิ มจะพสิ จู นใ์ หเ้ หน็ แลว้ วา่ เปน็ ระบบเศรษฐกจิ ท่ี “เลวรา้ ย
น้อยที่สุด” และมีประสิทธิภาพท่ีสุดแล้วในบรรดาระบบท้ังหมดท่ีใช้การได้จริง
นอกต�ำรา (สฤณี อาชวานนั ทกลุ , 2553) แต่การท่ีทุนนยิ มมองวา่ คนเป็นสว่ น
หนึ่งของการผลิตนั้นท�ำให้ศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ถูกลดทอนลงมา
เทา่ กบั ปจั จยั การผลติ อยา่ งอน่ื นนั่ หมายความวา่ คณุ ภาพของคนขนึ้ อยกู่ บั ความ
สามารถในการผลิตเป็นหลัก เช่นเดียวกับการท่ีระบบนี้มองว่าคนคือลูกค้าหรือ
ผู้บริโภค วิธีสร้างก�ำไรจึงเป็นการส่งเสริมให้คนรู้สึกว่าตัวเอง “พร่อง” จึงต้อง

254 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

เตมิ เตม็ อย่ตู ลอดเวลาแมจ้ ะไมจ่ �ำเป็นกต็ าม (ชาย โพธสิ ิตา และคณะ, 2553)
ปรากฏการณน์ สี้ น่ั คลอนทศั นะในแงก่ ารตง้ั ค�ำถามเกย่ี วกบั คณุ คา่ ทเ่ี ราควรยดึ ถอื
ในฐานะมนษุ ยค์ นหนงึ่ การละเลยองคป์ ระกอบสว่ นอน่ื ของชวี ติ ทรี่ ายลอ้ มอยรู่ อบ
ตวั เกดิ ขน้ึ ตามมาไมข่ าดสาย อาทิ การดแู ลใหโ้ อกาสผยู้ ากไร้ การค�ำนงึ ถงึ ปญั หา
ส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยู่อย่างจ�ำกัด กระท่ังการต้ังค�ำถามว่า
อะไรคือเป้าหมายทแี่ ท้ของการมลี มหายใจอยู่
ตลาดการคา้ เสรปี รากฏขนึ้ ขา้ มพรมแดนรฐั ชาตทิ ว่ั โลกตอบโจทยค์ วาม
ต้องการข้ันพื้นฐานของมนุษย์เกี่ยวกับอิสระในการเลือกบริโภควัตถุสิ่งของตาม
ปรารถนา อยา่ งไรกต็ ามอกี มมุ หนงึ่ ของการพฒั นาลกั ษณะนก้ี ลบั น�ำมาซง่ึ ปญั หา
ความเหลอื่ มลำ�้ ทางสงั คมมากยงิ่ ขนึ้ ดว้ ย ตน้ เหตจุ ากการกระจายทรพั ยส์ นิ (ทนุ )
ทส่ี �ำคัญอยา่ งทด่ี ินมิไดต้ งั้ อยบู่ นความเทา่ เทยี มกันอยา่ งแทจ้ ริง ชอ่ งวา่ งระหว่าง
คนรวยกบั คนจนจงึ ถกู ถา่ งใหห้ า่ งออกไปเรอ่ื ยๆ จ�ำนวนคนจนเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็
ท�ำให้รัฐต้องจัดตั้งกองทุนรูปแบบต่างๆ ขึ้นมามากมายเพื่อขจัดปัญหาน้ี แต่ก็
ไม่อาจบรรเทาความได้เปรียบเสียเปรียบระหว่างชนช้ันลงไปได้ ความสัมพันธ์
ระหว่างผู้คนถูกบีบให้เกิดการแข่งขันกันอย่างรุนแรง การพ่ึงพาเกื้อกูลต่อกันมี
น้อยลง เม่ือสายสัมพันธ์ถูกกัดเซาะให้เปราะบางอีกท้ังกาลเวลาล่วงเลยผ่านไป
ย่อมส่งผลให้ชุมชนในระบบทุนนิยมโดยเฉพาะเขตชนบทอ่อนแอลง เพราะไม่
อาจแข่งขนั กับกล่มุ ทุนผ้ถู อื ครองปัจจยั การผลิตจ�ำนวนมหาศาลได้
ความอ่อนด้อยสมรรถนะในการปฏิบัติงานของภาครัฐบั่นทอนความ
ยุติธรรมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งผลให้ภาคประชาสังคม (civil so-
ciety) เกิดการรวมตัวกันข้ึนเพ่ือขันอาสาเป็นทางเลือกหนึ่งส�ำหรับแก้ปัญหา
ด้วยการพยายามผลักดันให้ชาวบ้านได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมก�ำหนดทิศทาง
ความเปลย่ี นแปลงของประเทศอยา่ งจรงิ จงั มากกวา่ ทเี่ ปน็ อยู่ ความเคลอ่ื นไหวใน
ภาคประชาสังคมจงึ ไดร้ บั การขนานนามวา่ เป็น “พลังทสี่ าม” หรอื “ขบวนการ
เคลื่อนไหวรูปแบบใหม่” ซ่ึงหมายถึงการเคลื่อนไหวทางสังคมท่ีเกิดขึ้นโดย

สู่พงั งาแหง่ ความสุข: เพราะจดุ หมายไปถึงไดห้ ลายเสน้ ทาง 255

ประชาชน ไดแ้ ก่ องคก์ รพฒั นาเอกชน กลมุ่ ประชาสงั คม เครอื ขา่ ยองคก์ รชมุ ชน
ทตี่ อ้ งการเรยี กรอ้ งอ�ำนาจการจดั การสงั คมทอี่ ยใู่ นการควบคมุ ของ 2 ภาคคอื ภาค
รฐั และภาคธรุ กจิ มายาวนาน อยา่ งไรกต็ ามเปา้ หมายของการเคลอ่ื นไหวมไิ ดอ้ ยทู่ ี่
การยึดอ�ำนาจรัฐ หากแตม่ ่งุ ไปทีก่ ารสรา้ งความรว่ มมือระหวา่ งพลเมอื ง ภาครฐั
และภาคธุรกิจอื่นๆ ในการแก้ปญั หาสงั คมรว่ มกนั (อนชุ าติ พวงส�ำลี และคณะ,
2545)
สถานการณ์โลกด�ำเนินไปตามครรลองการต่อรองระหว่างข้ัวความคิด
ของกลุ่มคนแต่ละชนชั้นเป็นเรื่องที่ผู้เขียนให้ความสนใจ เฉพาะอย่างย่ิงเมื่อมี
โอกาสไดร้ ่วมงานกบั โครงการผู้น�ำแหง่ อนาคต (Leadership for the Future)
เม่ือ พ.ศ.2559 ในฐานะนกั วิจัยเขา้ ไปศกึ ษากระบวนการพัฒนาและสรา้ งความ
เข้มแข็งของพ้ืนที่ผ่านภาวะการน�ำร่วมของมูลนิธิบ้านครูน�้ำ1 ท�ำให้เห็นวิธีการ
ท�ำงานสรา้ งเครอื ขา่ ยของคนกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนง่ึ ทพ่ี ยายามลดชอ่ งวา่ งสรา้ งความ
เท่าเทียมระหว่างมนุษย์ ผลท่ีได้นอกเหนือจากวิธีการน�ำร่วมภายในองค์กรยงั
ท�ำใหเ้ หน็ ความไมล่ งรอยกนั ของอดุ มการณท์ นุ นยิ มและแนวคดิ เรอ่ื งสทิ ธมิ นษุ ยชน
หลายประการ ประเด็นเร่ืองความย่ังยืนคือสิ่งที่ผู้เขียนเกิดค�ำถามขึ้นภายในใจ
ว่าการสานต่องานขององค์กรภาคประชาสังคมที่ไม่มุ่งแสวงหาผลก�ำไรอย่าง
หนว่ ยงานภาคธุรกจิ อืน่ ๆ จะด�ำเนนิ ตอ่ ไปได้อย่างไรในยคุ ทุนนิยมปจั จุบนั
ผูเ้ ขยี นร่วมท�ำงานกับโครงการผนู้ �ำฯ อีกครั้งคราวน้ีด้วยความสนใจใคร่
เรยี นรผู้ ลลพั ธท์ จี่ ะเกดิ ขนึ้ จากแผนงานทตี่ อ้ งการตอ่ ยอดพฒั นาผนู้ �ำใหม้ ศี กั ยภาพ
ในการสร้างความเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน โดยเป้าหมายของแผนงานปี 2560
คือรว่ มกนั ออกแบบการเรียนรเู้ พ่ือสร้างสรรค์เครอ่ื งมือใหม่ๆ ส�ำหรับหนนุ เสรมิ
การท�ำงานแก่องค์กรภาคประชาสังคมที่มีศักยภาพเหมาะสมและเป็นเครือ

1 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากหนังสือ ใจคน ชุมชน การเปลี่ยนแปลง: บทเรียนการน�ำร่วมจากผู้ขับ
เคลื่อนสังคม

256 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

ข่ายพันธมิตรร่วมงานกันมารวมทั้งหมด 4 พื้นที่คือ มูลนิธิบ้านครูน้�ำ จังหวัด
เชียงราย ชุมชนวัฒนธรรมไทยเบิ้ง โคกสลุง จังหวัดลพบุรี ขอนแก่นนิว
สปิริต จังหวัดขอนแก่น และสภาพลเมืองพังงาแห่งความสุข จังหวัดพังงา
โครงการผู้น�ำฯ เลือกที่จะท้าทายข้ัวความคิดท่ีให้ความส�ำคัญเร่ือง “คุณค่า”
และ “มูลคา่ ” แตกต่างกนั โดยทดลองน�ำเอาองคค์ วามรเู้ ชงิ ธรุ กจิ เก่ียวกบั การ
ประกอบการสังคม (social entrepreneurship) มาใช้เป็นฐานสรา้ งพ้นื ท่ตี รง
กลางปะทะสังสรรค์กันระหว่างทุนนิยมกับมนุษยนิยมว่าจะสามารถเกิดข้ึนได้
อยา่ งสมดลุ หรือไมอ่ ยา่ งไร ดว้ ยความเชือ่ ทวี่ ่าน่ีคือการค้นหาวิธีการปรับตวั และ
ท�ำความเขา้ ใจแนวทางบรหิ ารองคก์ รอนั หลากหลาย เพอื่ ใหผ้ ทู้ �ำงานภาคประชา
สงั คมสามารถยืนหยัดอย่ไู ดอ้ ยา่ งม่นั คงต่อไป
“สู่พังงาแห่งความสุข: เพราะจุดหมายไปถึงได้หลายเส้นทาง” คือ
บทสรุปการท�ำงานร่วมกันของทีมงาน 5 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) School of
Changemakers (SoC) ท�ำหนา้ ทใี่ หค้ �ำปรกึ ษาและคน้ หาเครอื่ งมอื จากแนวคดิ
การประกอบการสังคมมาใช้กับพ้ืนท่ีเป้าหมายทั้ง 4 แห่ง 2) อาสาสมัครจาก
ภาคธรุ กจิ (intrapreneur) ผู้ออกแบบและน�ำแนวคดิ การประกอบการสังคม
ท่ีเห็นว่าเหมาะสมไปใช้ในพื้นที่เป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง มีบทบาทเสมือน
“โคช้ ” ร่วมท�ำงานกบั คนในชุมชนอยา่ งใกลช้ ิด 3) ทมี สื่อสารสนเทศ คอยเติม
เตม็ เทคนคิ การใชส้ อ่ื และพฒั นากระบวนการสอื่ สารเพอื่ สรา้ งภาพลกั ษณท์ ชี่ ดั เจน
ใหแ้ กอ่ งคก์ ร 4) สภาพลเมอื งพงั งาแหง่ ความสขุ เจา้ ของพนื้ ทแ่ี ลกเปลยี่ นเรยี น
รผู้ ลู้ งมอื น�ำองคค์ วามรูก้ ารประกอบการสังคมไปใช้งานในชุมชน และ 5) ทีมนกั
วจิ ยั ท�ำหนา้ ทถ่ี อดบทเรยี นกระบวนการพฒั นาศกั ยภาพและความเปลย่ี นแปลง
ท่เี กดิ ขึ้นจากการหนนุ เสริมของโครงการผนู้ �ำฯ ซ่งึ ถกู ออกแบบไวต้ ง้ั แต่ตน้
ผเู้ ขยี นไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ ตวั แทนนกั วจิ ยั รว่ มปฏบิ ตั งิ านในเขตพนื้ ท่ี
จังหวดั พงั งาเปน็ หลัก ตลอดระยะเวลากว่า 7 เดือนท่ไี ดร้ ่วมกจิ กรรม 2 ลกั ษณะ
คอื การประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารเพม่ิ เตมิ องค์ความรกู้ ารประกอบการสงั คมและน�ำ

สู่พังงาแหง่ ความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ได้หลายเส้นทาง 257

เอาองคค์ วามร้นู ้ันไปใช้ท�ำงานในบริบทพ้นื ทจ่ี ริง บทบาทของผเู้ ขียนคือการเฝา้
สังเกตการณ์กิจกรรมท่ีเกิดข้ึนควบคู่กับวิเคราะห์ความเปล่ียนแปลงทางความ
คดิ /ความรสู้ กึ ของตวั แทนทมี งานสภาพลเมอื งฯ อยา่ งไรกต็ ามดว้ ยธรรมชาตกิ าร
ท�ำงานร่วมกับ คุณยุรนันท์ ย้มิ สาระ (ทอม) อาสาสมคั รจากภาคธรุ กิจซง่ึ เน้น
เปิดพ้ืนท่ีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับทีมในทุกข้ันตอนด�ำเนินงานส่งผลให้วิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลงานวิจัยชิ้นน้ีเป็นการเข้าไปสังเกตแบบมีส่วนร่วม (participant
observation) ควบคกู่ บั การสมั ภาษณ์เชงิ ลึก (in-depth interview) เป็นหลกั
ชว่ ยใหผ้ เู้ ขยี นเขา้ ใจกระบวนการพฒั นาศกั ยภาพ บทบาทของผนู้ �ำในพน้ื ที่ รวมทง้ั
ผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ ในฐานะลกู ทมี (คนใน) ผคู้ อยใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในประเดน็ ที่
พอจะสามารถกระท�ำไดร้ วมทงั้ มจี งั หวะถอยออกมาดคู วามเปลย่ี นแปลงในฐานะ
คนนอกไปในคราวเดียวกนั
จุดเริ่มต้นทางความคิดท้ังคล้อยตามและต่อต้านกระบวนการท�ำงาน
เพื่อหวงั ผลเชงิ ธรุ กจิ เน่ืองด้วยความเชอ่ื เดมิ ของตวั แทนสภาพลเมอื งฯ ท่ีมองวา่
“หากใช้ประเด็นการเงนิ น�ำหน้าเปา้ หมายการพฒั นามนษุ ย์ จุดเร่ิมตน้ ของความ
ตกต่�ำแตกแยกก็ก�ำลังจะเกิดขึ้นตามมา” ต่อเมื่อเปิดใจใช้เวลาเจาะลึกท�ำความ
เข้าใจแนวคิดการประกอบการสังคมอยา่ งถถ่ี ว้ นกลับเกดิ ความเปลยี่ นแปลงบาง
ประการท่ีสะท้อนให้เห็นว่าความรู้เชิงธุรกิจไม่ใช่อุปสรรคในการพัฒนาชุมชน
ที่ตนรักให้สามารถดูแลจัดการตนเองได้ แต่อาจเป็นวิถีทางเลือกหน่ึงท่ีจะช่วย
ย่นย่อระยะทางสู่หมุดหมายที่เคยวางไว้ให้หดสั้นลงมาบ้าง และเพราะหน่ึงจุด
หมายอาจไปถงึ ไดห้ ลายเสน้ ทาง การรว่ มมอื กนั ของทมี งานหลากฝา่ ยหลายความ
คิดผู้ต้องการถางทางสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคประชาสังคม ผลของความ
เปลยี่ นแปลงมติ ติ า่ งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ คอื สง่ิ ทผี่ เู้ ขยี นอยากเชญิ ชวนใหผ้ อู้ า่ นไดม้ าส�ำรวจ
รว่ มกันผา่ นตัวหนังสอื บรรทดั ถดั ไปตอ่ จากน้ี

258 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

สภาพลเมืองพังงาแห่งความสุข

เมอื งพังงา

...ล่องใต้ไปตามเสียงเพลง กล่อมบรรเลงเปน็ เพลงเร้าใจ มนต์รกั
จากแควน้ แดนถน่ิ แหง่ กลน่ิ บหุ งามาลยั เมอื งใตใ้ ครเยอื นเหมอื น
ท่องวมิ าน...

เพลงบางเพลงเราอาจเคยไดย้ ินไดฟ้ ังซำ�้ แลว้ ซ�ำ้ เลา่ หลายๆ รอบ แต่ละ
รอบอาจน�ำพาเราสู่ห้วงอารมณ์แตกต่างกันตามจังหวะชีวิตจะเอื้อให้ภาพความ
ทรงจ�ำได้มีโอกาสพบปะกับใจความของบทเพลงท่ีล่องลอยเข้าสู่จิตใจ ส�ำหรับ
ผู้เขียนไม่มีช่วงเวลาไหนอีกแล้วที่เพลงล่องใต้2จะท�ำหน้าท่ีของมันได้ทรงพลัง
เทา่ กบั ครง้ั นท้ี ไี่ ดก้ ลบั มาเยอื นเมอื งพงั งาอกี ครงั้ หลงั เวลาผา่ นลว่ งเลยไปกวา่ สบิ ปี
ผู้เขียนอดใจไม่ไหวที่จะหยิบโทรศัพท์มือถือขึ้นมาโหลดเพลงล่องใต้
เปิดคลอบรรยากาศขณะขับรถออกเดินทางจากสนามบินนานาชาติภูเก็ต มุ่ง
หน้าสู่อ�ำเภอตะก่ัวป่า จังหวัดพังงา ภาพความสุนทรีย์ย้อนกลับมาอีกคร้ังเมื่อ
รถว่ิงผ่านสะพานสารสิน กระจกรถถูกลดลงด้วยความปรารถนาจะได้สัมผัส
ลมทะเลประสมกับไอแดดยามเช้า ท้องฟ้าเป็นสีฟ้าเข้มตัดกับยอดทิวสนโอนไป
เอนมาราวกบั ก�ำลงั โบกมือทกั ทายผู้มาเยือน ระหวา่ งทางพบภูเขาหินปูนลูกโดด
เอกลกั ษณข์ องภมู ทิ ศั นฝ์ ง่ั ทะเลอนั ดามนั ซง่ึ เกดิ ขนึ้ จากการยบุ ตวั ของแผน่ ดนิ สลบั
กับป้ายบอกเส้นทางเชิญชวนแวะชมถ�ำ้ ต่างๆ เป็นระยะ ต้นยางพาราและปาลม์

2 เพลงล่องใต้ ประพันธ์ค�ำร้องและท�ำนองโดย ครูพยงค์ มุกดา ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง
(เพลงลูกทงุ่ เพลงไทยสากล) ปี 2534

สพู่ งั งาแห่งความสขุ : เพราะจดุ หมายไปถึงไดห้ ลายเสน้ ทาง 259

น�้ำมันเรียงรายตามข้างทางบ่งบอกถึงการประกอบอาชีพหลักของชาวพังงานั่น
คือเกษตรกรรมซ่ึงยงั คงด�ำรงอยูเ่ ชน่ เดยี วกับอีกหลายจงั หวดั ในเขตพน้ื ท่ภี าคใต้
กอ่ นเขา้ สเู่ ขตอ�ำเภอตะกว่ั ปา่ เหน็ วดั มสั ยดิ และศาลเจา้ สลบั กนั ไป ชวน
ให้เข้าใจแบบแผนวัฒนธรรมท่ีก่อตัวข้ึนมาจากผู้คนหลากเช้ือชาติหลายศาสนา
ที่เข้ามาอาศัยอยู่รวมกัน โดยเฉพาะชาวไทยพุทธ ไทยมุสลิม มลายู อาหรับ
เพอนารากัน รวมถึงกลุ่มชาวจีนฮกเก้ียน ส่งผลให้จังหวัดพังงามีประเพณี
หลากหลายตามไปด้วย ชาวพังงาขึ้นชื่อในเร่ืองความเป็นคนมีน้�ำใจ รักสงบ
อัธยาศยั ไมตรีดี และดว้ ยความทเ่ี ป็นจงั หวัดขนาดเลก็ (มพี ้ืนที่ 4,170 ตร.กม.)
ผคู้ นทอี่ าศยั อยใู่ นละแวกเดยี วกนั จงึ มคี วามสมั พนั ธก์ นั แบบพน่ี อ้ งคอยชว่ ยเหลอื
ซงึ่ กนั และกนั อยา่ งไรกต็ ามแมข้ นาดจะไมใ่ หญโ่ ตแตก่ ลบั มที ร่ี าบตามชายฝง่ั ทะเล
ยาวถงึ 237.5 กโิ ลเมตร มเี กาะแกง่ อกี ประมาณ 105 เกาะ ทเ่ี ปน็ สถานทที่ อ่ งเทย่ี ว
ส�ำคัญมีช่ือเสียงถือเป็นเพชรเม็ดงามแห่งท้องทะเลอันดามันได้แก่ เกาะยาว
หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน เปน็ ต้น
ไม่น่าแปลกใจเลยหากจะพบว่าผลส�ำรวจเกี่ยวกับจังหวัดท่ีผู้คนมีดัชนี
ความสขุ มากทส่ี ดุ ของประเทศไทยแตล่ ะปจี ะมชี อื่ จงั หวดั พงั งาตดิ อนั ดบั ตน้ ๆ อยู่
เสมอ โดยเฉพาะ พ.ศ. 2552 และ 2553 จงั หวัดพังงาถกู บนั ทึกว่าเปน็ จังหวดั ท่ี
ประชากรมคี วามสขุ มากทสี่ ดุ จากการศกึ ษาของสถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม
มหาวิทยาลยั มหดิ ล พ.ศ.2556 ท�ำให้ทราบวา่ ปจั จยั และสาเหตุของความสขุ เกดิ
ขึน้ จากองค์ประกอบส�ำคญั ดงั น้ี (รศรินทร์ เกรย์ และคณะ, 2556)
1. การมีสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเท่ียวที่
สวยงาม เน่ืองจากมีสภาพภูมิศาสตร์ตั้งอยู่ใกล้กับทะเลฝั่งอันดามัน ความ
งดงามของสง่ิ แวดลอ้ มท�ำใหบ้ คุ คลทไี่ ดอ้ าศยั อยรู่ สู้ กึ มคี วามสขุ เพราะสามารถไป
ท่องเที่ยวเพ่ือผ่อนคลายความเครียดได้โดยไม่ต้องเดินทางไกล นอกจากน้ียังมี
โอกาสได้ใชเ้ วลาร่วมกันกับครอบครวั ในการพกั ผอ่ นดว้ ย
2. การมีวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีเป็นเอกลักษณ์ เช่น ภาษาและการ

260 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

แตง่ กาย การอนรุ กั ษส์ ถาปตั ยกรรมเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ งานถอื ศลี กนิ ผกั งานสารท
เดือนสิบ หรืองานประเพณีอ่ืนๆ ซึ่งเป็นท่ีรู้จักทั่วโลก ท�ำให้บุคคลมีความรู้สึก
ภาคภูมิใจและมคี วามสขุ
3. การมีปฏิสมั พันธ์อนั ดขี องคนในชมุ ชน เป็นความสุขท่เี กดิ ในระดับ
ชุมชนและสังคม การท่ีบุคคลได้รับความช่วยเหลือ การได้พูดคุยปรึกษาหารือ
ระหว่างเพ่ือนหรือเพื่อนบ้านและการมีปฏิสัมพันธ์อันดีกับคนในชุมชนเดียวกัน
ท�ำใหบ้ ุคคลมคี วามสขุ และอบอนุ่ ทั้งยังท�ำใหร้ ู้สึกว่าตนเองมีความปลอดภยั จาก
การอยอู่ าศัยในชุมชนอกี ดว้ ย
4. ความมั่นคงของอาชีพและรายได้ เป็นสาเหตุหลักท�ำให้ตนเอง
และครอบครัวมีความเป็นอยทู่ ี่ดี สามารถเข้าถงึ ความสะดวกสบายต่างๆ ทง้ั ยัง
สามารถสง่ เสียบตุ รหลานใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาทดี่ ีเพอื่ อนาคต
สังคมวงกว้างรับรู้กันว่าเมืองพังงาคือเมืองแห่งความสุข นักท่องเท่ียว
ทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งชาตติ า่ งเฝา้ รอโอกาสไดม้ าสมั ผสั บรรยากาศเมอื งโบราณ
ท่ามกลางหุบเขาและท้องทะเลแห่งนี้ แต่ส�ำหรับคนพังงาบางกลุ่มหาได้คิด
เช่นนั้นไม่ พวกเขาถวิลหาเมืองพังงาเมืองเดิมท่ีผู้คนมีความสุขมากกว่าทุกวัน
น้ี นับตั้งแต่ปัญหายาเสพติดแพร่กระจายเข้ามาท�ำให้ความปลอดภัยในชีวิต
และทรัพย์สินลดลง การประกอบสัมมาอาชีพใช้ชีวิตอย่างพอเพียงท่ามกลาง
ทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ไม่อาจด�ำรงอยู่ได้เพราะขาดการดูแลรักษา
อย่างจริงจัง การท่องเท่ียวซ่ึงดูจะเป็นจุดแข็งคอยสร้างรายได้แก่คนในจังหวัด
แทจ้ รงิ กลบั เปน็ เพยี งภาพลวงตาเนอ่ื งจากระบบบรหิ ารจดั การของภาคธรุ กจิ ซง่ึ
ยึดเอาจังหวัดภูเก็ตและกระบ่ีเป็นฐานที่ม่ันได้ออกแบบแพคเกจท่องเท่ียวแบบ
ส�ำเรจ็ รูป ท�ำใหพ้ ืน้ ทจี่ ังหวดั พังงากลายเป็นเพยี งจุดทัวร์ศนู ยเ์ หรยี ญ เนอื่ งจาก
คนในชุมชนไม่มีส่วนได้รับผลประโยชน์ใดๆ จากนักท่องเท่ียวเพราะบริษัททัวร์
จัดแจงซื้อขายท่ีพัก อาหาร สินค้าท่ีระลึกไว้เรียบร้อยหมดแล้วต้ังแต่ต้น ทั้งยัง
มีปัญหาทางสังคม อาทิ ความไม่ม่ันคงในทดี่ นิ ท�ำกินและทอี่ ยู่อาศยั การตกเปน็

สพู่ ังงาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ได้หลายเสน้ ทาง 261

คนชายขอบการพฒั นาของกลมุ่ ชาตพิ นั ธช์ุ าวเล และความไมเ่ ปน็ ธรรมอนื่ ๆ ท�ำให้
พวกเขาต้องลุกขึ้นมาต่อสู้เรียกร้องให้เกิดการเมืองภาคประชาชนเพื่อสร้างธร
รมาภิบาลการบริหารผ่านการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนมากยิ่งขึ้น เครือข่าย
ภาคประชาสงั คมทเี่ รยี กตวั เองวา่ “สภาพลเมอื งพงั งาแหง่ ความสขุ ” จงึ เกดิ ขนึ้
พรอ้ มกบั ความเปลี่ยนแปลงตามมาอกี มากมาย

เริม่ ต้นจากสภาผูน้ �ำชุมชน

ในทีส่ ุดผเู้ ขยี นกเ็ ดนิ ทางมาถึงสวนอนสุ รณ์สึนามิ บ้านนำ้� เค็ม ตัง้ อยู่ ณ
ต�ำบลบ้านน้�ำเค็ม อ�ำเภอตะก่ัวป่า จังหวัดพังงา จุดนัดพบปะพูดคุยกับกลุ่มผู้
รว่ มกอ่ ตงั้ สภาพลเมอื งฯ อนสุ รณส์ ถานแหง่ นมี้ ลี กั ษณะเปน็ ชอ่ งทางเดนิ ระหวา่ ง
ก�ำแพงดินสองข้าง ด้านหน่ึงเป็นก�ำแพงคอนกรีตเรียบโค้งคล้ายกับคลื่นขนาด
ใหญ่ ใช้หินขัดสีด�ำทาบไว้ด้านนอกให้ความรู้สึกทึบทะมึนราวกับคลื่นก�ำลัง
ถาโถมเขา้ มา ตรงกลางถกู แทรกดว้ ยชอ่ งว่างรูปส่เี หลี่ยมผืนผา้ เผยให้เหน็ สภาพ
เรือประมงล�ำเก่าท่ีได้รับความเสียหายถูกคลื่นสึนามิซัดข้ึนมาเกยฝั่งบ้านน�้ำเค็ม
อีกด้านหนง่ึ ของชอ่ งทางเดนิ ปดู ว้ ยอิฐสลับกระเบ้ืองเซรามิกปิดทบั ดว้ ยปา้ ยทอง
เหลอื งแสดงรายชอื่ ผเู้ สยี ชวี ติ ทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งชาตจิ ากเหตกุ ารณส์ นึ ามิ ณ
บริเวณนีก้ ว่า 1,400 ราย ชวนใหห้ ดห่กู บั ความสญู เสยี ที่เกิดขน้ึ แก่ชาวพังงาได้
เป็นเท่าทวคี ูณจากท่ีเคยไดร้ บั รู้มาก่อนหนา้ นี้
คุณไมตรี จงไกรจกั ร์ (พไ่ี มตร)ี นัง่ อย่ตู รงโตะ๊ หินออ่ นใกล้กบั อนุสรณ์
สถานสึนามิ บ้านน้�ำเค็ม ผู้เขียนเดินเข้าไปแนะน�ำตัวเองพร้อมกล่าวค�ำทักทาย
สกั ครูหนง่ึ คุณประยรู จงไกรจกั ร์ (พี่เลก็ ) คณุ ทรงวฒุ ิ อนิ ทรสวัสดิ์ (นายกวฒุ )ิ
ก็เข้ามาสมทบ การล้อมวงเล่าเรื่องราวที่มาท่ีไปสภาพลเมืองฯ ด�ำเนินไปอย่าง
ออกรสออกชาติเปน็ เวลาราว 3 ชั่วโมง บทสนทนาจบลงพร้อมกบั ค�ำแนะน�ำให้

262 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

ผู้เขยี นเดินทางตอ่ ไปยังอ�ำเภอเมอื ง จังหวัดพังงา เพ่อื สืบคน้ ข้อมูลเพม่ิ เติมจาก
คณุ สมใจ ชมขวญั (พสี่ มใจ) คณุ ช�ำนาญ พงึ่ ถน่ิ (พชี่ �ำนาญ) และ คณุ อาณฐั พงศ์
ประสานพนั ธ์ (บงั หล)ี บคุ คลอกี กลมุ่ หนงึ่ ทที่ �ำงานคลกุ คลกี บั เครอื ขา่ ยประชาสงั คม
แหง่ นมี้ ายาวนาน สง่ิ ทผ่ี เู้ ขยี นไดร้ บั รเู้ บอ้ื งตน้ คอื เสน้ ทางการกอ่ ตวั ของสภาพลเมอื งฯ
นั้นเกิดขนึ้ อย่างชัดเจนนับต้งั แต่ พ.ศ. 2540 เปน็ ตน้ มา
แรกเริ่มเดิมทีจังหวัดพังงามีสภาผู้น�ำชุมชนเป็นพื้นท่ีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ของผู้น�ำและตัวแทนกลมุ่ องคก์ รชมุ ชนต่างๆ เช่น ก�ำนนั ผใู้ หญบ่ ้าน ปราชญ์ชาว
บา้ น กลมุ่ ออมทรพั ย์ เปน็ ตน้ สภาดงั กลา่ วท�ำหนา้ ทวี่ างแผนก�ำหนดทศิ ทางพฒั นา
ชมุ ชนแตย่ งั คงเปน็ การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั อยา่ งหลวมๆ คอื เนน้ จดั กจิ กรรมในพนื้ ที่
ความดแู ลของผนู้ �ำตามประเดน็ งาน เชน่ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ การสง่
เสริมและพฒั นาด้านเศรษฐกจิ การเงนิ การส่งเสรมิ บทบาทสตรี เป็นต้น จวบจน
พ.ศ. 2540 การเข้ามาของคณะท�ำงานกองทนุ เพือ่ การลงทุนทางสังคม (Social
Investment Fund: SIF) มเี ปา้ หมายเพอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพชมุ ชน สรา้ งทนุ ทาง
สงั คม มงุ่ ชว่ ยเหลอื กลมุ่ คนวา่ งงาน กลมุ่ คนยากจนและดอ้ ยโอกาส เสรมิ สรา้ งการ
พึง่ ตนเองและความเขม้ แข็งแก่ชุมชน หวังผลให้เกิดประชาคมและธรรมาภบิ าล
SIF พยายามสง่ เสรมิ การท�ำงานของ NGOs โดยการสนบั สนนุ งบประมาณจดั ท�ำ
โครงการสูพ่ ้นื ทแี่ บบ “ยงิ ตรง” ชว่ ยใหผ้ ้นู �ำชุมชนท�ำงานได้สะดวก รวดเรว็ เกิด
การตนื่ ตวั ระดบั เวทชี มุ ชน ขอ้ ก�ำหนดเกย่ี วกบั วธิ กี ารจดั การงบประมาณทกี่ �ำหนด
ไวผ้ ลกั ดนั ใหช้ มุ ชนตอ้ งเปดิ เผยขอ้ มลู การใชจ้ า่ ยงบประมาณและสรา้ งการมสี ว่ น
รว่ มของสมาชิก นับเปน็ กระบวนการสร้างการเรยี นร้กู ารบริหารจัดการกระจาย
ผลประโยชนแ์ ละรจู้ กั การท�ำงานรว่ มกนั ในลกั ษณะประชาคมทมี่ แี บบแผนวธิ คี ดิ
วิธที �ำงานและประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่ีแตกต่างกนั (วธิ าน นยั นานนท์, 2552)
คณุ ก�ำธร ขนั ธรรม (พน่ี อ้ ย) เลา่ ใหฟ้ งั วา่ ความคาดหวงั ประการหนง่ึ ของ SIF คอื

สู่พงั งาแหง่ ความสุข: เพราะจดุ หมายไปถงึ ได้หลายเสน้ ทาง 263

สง่ เสรมิ ใหแ้ กนน�ำทกุ พน้ื ทเ่ี ชอื่ มรอ้ ยรวมตวั กนั ปฏบิ ตั งิ านในรปู แบบคณะท�ำงาน
จังหวัด ผลตามมาคือการรวมตัวกันลักษณะเครือข่ายองค์กรชุมชนขับเคล่ือน
งานพัฒนาสงั คมรว่ มกับหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกจิ
ย่างเขา้ สู่ พ.ศ. 2543-2546 เครือขา่ ยองคก์ รชุมชนเติบโตข้นึ ในฐานะ
เครื่องมือแก้ไขความเดือดร้อนของชาวบ้านทั้งจากการถูกกลุ่มนายทุนเข้ามา
ตักตวงทรัพยากรธรรมชาติไปใช้สร้างผลประโยชน์แก่ตนเองโดยไม่ค�ำนึงถึงผล
กระทบดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม การไดร้ บั ความไมเ่ ปน็ ธรรมจากพอ่ คา้ คนกลางผกู้ �ำหนด
ราคาผลติ ผลทางการเกษตร การตอ้ งสญู เสยี ทด่ี นิ ท�ำกนิ และทพ่ี กั อาศยั เนอ่ื งจาก
รัฐบาลออกกฎหมายโดยไม่ค�ำนึงถึงสภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้านผู้ใช้ชีวิตใน
พนื้ ทก่ี อ่ นหนา้ นน้ั เครอื ขา่ ยองคก์ รชมุ ชนจงึ เนน้ ด�ำเนนิ งานผา่ นการปลกุ จติ ส�ำนกึ
ร่วมเพื่อสรา้ งอาสาสมคั รมาท�ำงานขับเคล่อื นแก้ปัญหาประเดน็ รอ้ นเฉพาะหนา้
เกดิ การจดั ต้งั กองทุนผนู้ �ำชุมชน กลมุ่ ออมทรพั ย์เพอื่ การผลติ กองทุนสวสั ดกิ าร
ชุมชน และแผนแม่บทชุมชนเพื่อประสานการท�ำงานข้ามเขตพื้นทีใ่ น 8 อ�ำเภอ
ของจังหวัดพงั งา
อยา่ งไรกต็ ามหากมองความสมั พนั ธแ์ ตล่ ะกลมุ่ เครอื ขา่ ยองคก์ รชมุ ชนใน
เชิงลึกกลับไม่ได้เป็นไปอย่างราบรื่นนัก ภาคประชาสังคมจังหวัดพังงาช่วงเวลา
นนั้ ยงั ปรากฏความลกั ลน่ั เกยี่ วกบั บทบาทผนู้ �ำและเปา้ หมายทถี่ กู ก�ำหนดขนึ้ รว่ ม
กนั คณุ ชาตรี มูลสาร (พี่จ)้ี อธบิ ายดว้ ยค�ำส้นั ๆ วา่ ยังคงเปน็ การท�ำงานแบบ
“แท่ง” คือไม่ได้ผสานเป็นเน้ือเดียวกัน ภายใต้ความร่วมมือยังมีการแข่งขันกัน
อยู่ในทีไม่ว่าจะเป็นการแย่งเสนอโครงการขออนุมัติงบประมาณโดยมุ่งเฉพาะ
ประเดน็ ปญั หาทผ่ี นู้ �ำแตล่ ะกลมุ่ ดแู ลอยเู่ พอื่ ใหเ้ กดิ ผลงานทโี่ ดดเดน่ กวา่ กลมุ่ งาน
อน่ื การถกู ตตี ราวา่ เปน็ พวกมอ็ บ (mob) ชมุ นมุ เรยี กรอ้ งสงิ่ ตอ้ งการแตไ่ มอ่ าจน�ำ
เสนอทางแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นรปู ธรรมได้ ปัจจัยเหลา่ น้ีคือสาเหตคุ วามไม่ลงรอย

264 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

คอยจ�ำกดั ความเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั ทงั้ ภายในเครอื ขา่ ยองคก์ รชมุ ชนเองและ
กบั หน่วยงานภาครฐั ภาคธุรกจิ ไมใ่ ห้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง
การซ้อนทับกันระหว่างบทบาทนักการเมืองท้องถ่ินกับการท�ำหน้าที่
อาสาสมคั รของกลุ่มแกนน�ำเป็นอกี หนงึ่ อุปสรรคสร้างความคลางแคลงใจตอ่ กนั
ว่างานที่ท�ำอยู่น้ันเป็นไปเพ่ือสร้างความเจริญให้กับชุมชนหรือเพ่ือฐานคะแนน
เสียงกันแน่ ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐก็ค่อนข้างฉาบฉวยเน่ืองจาก
โครงการซึ่งไดร้ บั ทนุ มาใช้ท�ำงานในพนื้ ทีม่ งุ่ เปา้ หมายระยะส้ันเพยี งเพอื่ ให้ได้รบั
ผลประเมินที่ดีส�ำหรับต่อยอดความก้าวหน้าทางต�ำแหน่งหน้าที่ข้าราชการผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียกับโครงการ ความขัดแย้งเร่ืองผลประโยชน์จึงเป็นส่ิงท่ีไม่อาจ
หลีกเลี่ยงและคอยฉุดรั้งการพัฒนาอย่างยั่งยืนไม่ให้แตกหน่อต่อยอดออกไปได้
กระท่งั ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตคิ รั้งใหญอ่ บุ ัติข้นึ ปรชั ญาการท�ำงานเพอ่ื สังคมของ
เครอื ข่ายองค์กรชมุ ชนจงั หวดั พงั งาก็เปล่ียนแปลงไป

“สนึ ามิ” คลืน่ แหง่ โอกาสและความเปลยี่ นแปลง

ผู้เขียนเริ่มเข้าใจถึงสาเหตุท่ีพี่ไมตรีนัดหมายมาพูดคุยเก่ียวกับประวัติ
ความเป็นมาสภาพลเมอื งฯ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิ บา้ นนำ้� เค็ม มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ
เพราะหลงั จบบทสนทนาแรกจากท่ีแห่งนน้ั แม้จะมโี อกาสพบปะผู้ให้ข้อมูลมาก
หนา้ หลายตาตามสถานทท่ี เ่ี ปลย่ี นแปลงไป แตค่ วามรสู้ กึ ทกุ ขท์ นจากการสญู เสยี
ทุกส่ิงทุกอย่างในชีวิตซ่ึงถูกส่ือสารผ่านงานสถาปัตยกรรมอนุสรณ์สถานสึนามิฯ
ยงั คงทาบทบั อยใู่ นความทรงจ�ำและยำ้� เตอื นใหเ้ ขา้ ใจวา่ สภาพลเมอื งฯ มไิ ดเ้ กดิ
ขน้ึ และถกู ขบั เคลอ่ื นดว้ ยเปา้ หมายการพฒั นาภาคประชาสงั คมใหเ้ ขม้ แขง็ เทา่ นน้ั

สู่พงั งาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ไดห้ ลายเส้นทาง 265

แตเ่ บอ้ื งลกึ ของการรวมตวั กนั อยา่ งเหนยี วแนน่ นเี้ กดิ ขน้ึ ไดเ้ พราะปจั จยั ส�ำคญั คอื
“ความเจบ็ ปวดรว่ ม”
แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดียใกล้ด้านตะวันตกตอนเหนือเกาะ
สมุ าตราระดบั 9.1-9.3 โมเมนต์แมกนิจูด กอ่ ให้เกิดคล่นื ยักษ์สึนามิพดั เข้าถล่ม
รมิ ชายฝง่ั ทะเลอนั ดามนั ของประเทศไทยเมอื่ วนั ที่ 26 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 ชาว
พงั งาได้รับผลกระทบครอบคลมุ 66 หมบู่ า้ น 18 ต�ำบล ใน 6 อ�ำเภอ ประชาชน
ได้รับความเดอื ดรอ้ นจ�ำนวน 19,509 คน 4,394 ครอบครัว มีผู้เสยี ชวี ติ เฉพาะ
พ้ืนทีน่ จ้ี �ำนวน 4,225 คน และบาดเจ็บอกี 5,597 คน (พิมลพรรณ อิศรภักด,ี
มปป.) ความช่วยเหลือเบื้องต้นไหลหล่ังมาจากทั่วสารทิศ ข้าวของเคร่ืองใช้ถูก
น�ำมา กองรวมกนั รอใหใ้ ครสกั คนลกุ ขนึ้ มาจดั การกระจายสผู่ เู้ ดอื ดรอ้ นอยา่ งเทา่
เทยี มกลบั กลายเปน็ อปุ สรรคทไ่ี มอ่ าจกา้ วขา้ ม เหตเุ พราะการรวมกลมุ่ ทเี่ ขม้ แขง็
แต่เพื่อดูแลผลประโยชน์ของพรรคพวกคอยท�ำลายความสามัคคีของคนพังงา
อยา่ งไม่รเู้ น้ือรตู้ วั ตา่ งกลุ่มตา่ งต้องการช่วยเหลอื พวกพ้อง การคานอ�ำนาจเพือ่
อา้ งสทิ ธคิ รอบครองสง่ิ ของน�ำมาซง่ึ เหตขุ นุ่ ขอ้ งหมองใจอยา่ งไมอ่ าจหลกี เลย่ี ง ยง่ิ
เนน่ิ นานยงิ่ กดดนั ยง่ิ ทกุ ขท์ รมาน แมช้ ว่ งเวลานน้ั จะมเี ครอื ขา่ ยองคก์ รชมุ ชนเปน็
สื่อกลางท�ำงานร่วมกับภาครัฐใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภยั แตใ่ นสถานการณ์
ฉุกเฉินกลับท�ำให้พวกเขาเรียนรู้ว่าการรวมกลุ่มกันอย่างหลวมๆ ท�ำงานแบบ
ตัวใครตัวมันไม่ใช่ทางออกของการแก้ปัญหาแต่การสลายทิฐิถอยมามองมิติการ
พัฒนาจงั หวดั พงั งาทงั้ ระบบแลว้ วางเปา้ หมายผสานประโยชนส์ ่ชู มุ ชนอย่างเปน็
องค์รวมตา่ งหากคอื หนทางเยยี วยาความทกุ ข์ยากทเ่ี กดิ ขนึ้ ได้

266 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

“หลังคล่ืนสึนามิผ่านพ้นไปพวกเราเข้าไปส�ำรวจความเสียหาย
พบศพเรยี งรายเต็มไปหมด มหี ลายศพทย่ี ังอ่นุ ๆ อยู่ แสดงว่าเขา
เพิง่ เสียชีวติ เหตุการณ์น้ีท�ำใหร้ ไู้ ดท้ นั ทวี ่าตอนท่เี รามัวแตห่ วาด
กลัว คิดถึงแต่ตัวเอง ยังมีคนอีกหลายคนรอความช่วยเหลืออยู่
หากเรามีความสามัคคี มีระบบจัดการภัยพิบัติที่ดี คนพังงาจะ
สญู เสียน้อยกวา่ น้ี”

(ประยรู จงไกรจักร.์ สัมภาษณ์, 14 มกราคม 2561)

เหตุการณ์ความสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่คือจุดเร่ิมต้นการหันหน้าเข้าหากัน
อย่างจริงจังของแกนน�ำเครือข่ายองค์กรชุมชน การได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขช่วยเปิด
บานหน้าต่างของจิตใจที่เคยปิดสนิทให้ค่อยๆ แง้มออกมา ให้หลัง พ.ศ.2547
ผลของการสลายเส้นแบ่งทางความคิดแยกงานออกเป็นกลุ่มประเด็นเร่ิมเกิดผล
เครือข่ายองค์กรชุมชนร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ข้อมูล/หลักการด�ำเนินงานด้วย
สายตาทม่ี องคนหลดุ จากกรอบยดึ ตดิ เชงิ พนื้ ที่ แตเ่ ปดิ ใจใหก้ วา้ งเพอื่ สมั ผสั เพอ่ื น
มนุษย์ผู้ร่วมชะตากรรมจากผลของการกระท�ำร่วมกัน ความเห็นอกเห็นใจเริ่ม
พอกพนู ความเคารพซ่ึงกันและกันค่อยๆ ผลบิ านทลี ะนอ้ ย วิสยั ทศั น์การเข้าถงึ
ปัญหาทางสังคมของจงั หวัดพงั งาเปล่ยี นแปลงไปจากใช้ “อตั ตา” สู่ “อนัตตา”
การแสวงหาทางออกจากปญั หาดว้ ยวธิ เี ชอื่ มโยงผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ อยา่ งเปน็
ระบบจงึ ค่อยๆ กอ่ ตวั นบั แต่น้ัน
พ.ศ.2551 เม่ือเกิดพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน3การรวมกลุ่มกัน

3 สภาองคก์ รชมุ ชน คอื เวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พอื่ ก�ำหนดแนวทางการพฒั นาชมุ ชนของคนในชมุ ชนทอ้ งถนิ่
โดยคนในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ และเพอื่ คนในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ซงึ่ เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรดู้ งั กลา่ วประกอบดว้ ย ตวั แทน
ของสถาบันในชุมชน ตัวแทนของกลมุ่ องคก์ รชุมชน ผู้น�ำชมุ ชนทไี่ มเ่ ป็นทางการ เชน่ ผู้รภู้ ูมปิ ญั ญา ปราชญ์
ชาวบา้ น และผนู้ �ำทางการ ไดแ้ ก่ ก�ำนนั ผใู้ หญบ่ า้ นในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เขา้ มารว่ มใชเ้ วทพี ดู คยุ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หา
ของชุมชนทอ้ งถิ่นร่วมกัน (สภาองคก์ รชุมชน, 2550)

สู่พงั งาแหง่ ความสุข: เพราะจุดหมายไปถงึ ได้หลายเสน้ ทาง 267

ท�ำงานแบบประชาคมหรือเครือข่ายองค์กรชุมชนถูกยกระดับข้ึนเป็นเครือข่าย
สภาองคก์ รชมุ ชน พ.ศ. 2554 มกี ารประสานการท�ำงานของกลมุ่ เครอื ขา่ ยอยา่ ง
เขม้ ขน้ เปน็ ทม่ี าของการออกแบบยทุ ธศาสตรร์ ะดบั จงั หวดั อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ทมี
งานภาคประชาสังคมกลายเป็นพลังท่ีสามท�ำงานร่วมกับภาครัฐและภาคธุรกิจ
เพอื่ เปา้ หมายรว่ มคอื มงุ่ หนา้ สู่ “พงั งาแหง่ ความสขุ ” การรวมตวั รว่ มแรงรว่ มใจ
ด�ำเนนิ งานพฒั นาชมุ ชนดว้ ยสายสมั พนั ธอ์ นั แนน่ เหนยี วเรม่ิ สมั ฤทธผิ์ ล พ.ศ. 2555
เกิดเวทีสมชั ชาพงั งาแห่งความสขุ ครั้งท่ี 1 มผี เู้ ขา้ รว่ มกว่า 800 คน เม่อื ก้าว
เขา้ สู่ พ.ศ. 2556 ไดร้ บั การสนบั สนุนงบประมาณจากผวู้ า่ ราชการจงั หวัดพงั งา
เป็นระยะเวลา 2 ปีจดั ท�ำโครงการรฐั ร่วมราษฎร์ เดินหนา้ พฒั นาสพู่ งั งาแห่ง
ความสุข ถือเป็นจุดเริ่มต้นกระบวนการศึกษาเหตุแห่งความทุกข์ของคนพังงา
เพื่อวางแผนสร้างความสุขให้เกิดขึ้นแบบจับต้องได้ครอบคลุมพ้ืนท่ีทั้งจังหวัด
อยา่ งเปน็ ระบบ กระทงั่ พ.ศ. 2559 เกดิ “ยทุ ธศาสตรพ์ งั งาแหง่ ความสขุ ” ภาย
ใตค้ วามรว่ มมือขององค์กรภาคีเครอื ขา่ ยจ�ำนวน 47 องคก์ ร จากเครอื ขา่ ยสภา
องค์กรชุมชน นักวิชาการ ปราชญ์ชาวบ้าน หอการค้าจังหวัดพังงา หน่วยงาน
ภาครฐั และเอกชนร่วมกันขบั เคล่อื นงาน

“เวทีสมัชชาพังงาแห่งความสุขเป็นการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์
เพ่ือสื่อสารให้ทุกภาคส่วนเห็นว่าชาวบ้านผู้อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีมี
ความเปน็ อันหน่ึงอันเดียวกัน พวกเขามปี ระสบการณแ์ ละความ
คิดมาเสนอเพื่อใช้เป็นแนวทางพัฒนาชุมชนท้ังจังหวัดให้ดีขึ้น
คนท�ำงานจิตอาสาจ�ำนวนมากคือเสียงท่ีผู้มีอ�ำนาจบริหาร
ท้ังหน่วยงานภาครัฐภาคธุรกิจควรต้องรับฟังและร่วมกันหา
ทางทำ� ใหเ้ สยี งเรยี กรอ้ งของประชาชนเปน็ สว่ นหนงึ่ ของนโยบาย
พัฒนาจงั หวัด”

(ไมตรี จงไกรจักร์. สมั ภาษณ,์ 11 พฤศจกิ ายน 2560)

268 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

10 ยทุ ธศาสตรพ์ ังงาแหง่ ความสุข

“เขาคือเรอื เราคือทา่ เมื่อเขามาแลว้ เขาก็ต้องจากไป คงเหลือ
แต่พวกเราคนพังงานี่แหละท่ีต้องอยู่ใช้ชีวิตกันต่อจะทอดท้ิงกัน
ไปไหนไม่ได”้

(ก�ำธร ขนั ธรรม. สัมภาษณ์, 1 ธันวาคม 2560)

ค�ำพูดของพ่ีน้อยหนึ่งในแกนน�ำสภาพลเมืองฯ สะท้อนให้เห็นแนวคิด
เร่ืองชุมชนจัดการตนเองได้เป็นอย่างดี อาจเป็นเพราะประสบการณ์ความเจ็บ
ปวดร่วมจากคล่ืนสึนามิคอยย้�ำเตือนอยู่เสมอว่าตนคือท่ีพึ่งแห่งตนไม่มีใครจะ
ช่วยเหลือดูแลตัวเราได้ดีไปกว่าตัวเองอีกแล้ว “เรือ” ในท่ีน้ีคือค�ำเปรียบเปรย
ขา้ ราชการผู้มอี �ำนาจบรหิ ารจังหวัดตามระเบยี บขอ้ กฎหมายโดยตรง เมื่อเขา้ มา
ปฏบิ ตั งิ านแลว้ วนั หนงึ่ เขากต็ อ้ งเกษยี ณอายหุ รอื ไมก่ ถ็ กู โยกยา้ ยไปยงั ภมู ภิ าคอน่ื
รวมถงึ องคก์ รเอกชนผเู้ ขา้ มาแสวงหาผลประโยชนจ์ ากพน้ื ทซี่ ง่ึ อาจจะไมใ่ ชบ่ า้ นที่
พวกเขาต้องหวงแหนรกั ษา สว่ น “ทา่ ” จอดเรือน้ันไมอ่ าจโยกย้ายไปไหนได้จ�ำ
ต้องคงอยู่อย่างเดิมไม่ว่าเรือล�ำแล้วล�ำเล่าจะแล่นผ่านไปสักก่ีมากน้อย เปรียบ
เหมือนกับคนในชุมชนที่ต้องใช้ชีวิตอยู่อย่างถาวรและอาจจะต้องตายบนผืนดิน
พังงาสกั วนั หน่ึง
10 ยุทธศาสตร์พังงาแห่งความสุขถูกก�ำหนดขึ้นและกลายเป็น
“ธรรมนูญพังงาแห่งความสุข” ส�ำหรับน�ำเสนอต่อหน่วยงานภาครัฐและภาค
ธรุ กจิ ไดร้ บั ทราบวา่ ภาคประชาสงั คมตอ้ งการใหบ้ า้ นเกดิ เมอื งนอนของเขาพฒั นา
ไปในทศิ ทางใด ทกุ ยทุ ธศาสตร์มไิ ด้เกิดข้นึ มาอย่างเลอ่ื นลอยหากแตล่ ะประเดน็
ถูกศึกษาวิจัยโดยคนในชุมชนภายใต้โครงการรัฐร่วมราษฎร์เดินหน้าพัฒนาสู่
พังงาแห่งความสุข พร้อมกับสังเคราะห์ออกมาว่าพวกเขามีข้อทุกข์กายทุกข์ใจ

สู่พังงาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง 269

จากปัญหาใดบ้าง ก่อนจะน�ำเอาข้อมูลที่ได้มาจัดท�ำแผนพัฒนาต�ำบลขจัดให้
ทุกขน์ ้ันหมดสิ้นไป อาจกล่าวไดอ้ กี ทางหนง่ึ ว่ายทุ ธศาสตรพ์ งั งาแหง่ ความสุขคือ
นโยบายสรา้ งต�ำบลแหง่ ความสขุ ทค่ี นในชมุ ชนมสี ว่ นก�ำหนดแผนงานพฒั นาถนิ่
ท่อี ยูด่ ้วยตัวเอง สว่ นเปา้ หมายที่เรียกวา่ ความสุขนน้ั จะเกดิ ขน้ึ ได้ก็ตอ่ เมื่อชุมชน
สามารถจัดการดูแลตนเองไดอ้ ยา่ งย่ังยืนน่นั เอง
เวทีสมัชชาพังงาแห่งความสุขถูกจัดเป็นประจ�ำทุกปี คร้ังล่าสุดเกิดข้ึน
เมอ่ื วันที่ 17 ตลุ าคม พ.ศ. 2560 (คร้งั ที่ 4) ณ อาคารศนู ยศ์ กึ ษาวิจยั ศิลปกรรม
วฒั นธรรมและประเพณแี หง่ อนั ดามนั มชี าวพงั งาทว่ั ทงั้ จงั หวดั เขา้ รว่ มกวา่ 2,000
คน บรรยากาศภายในงานอบอุ่นเป็นกนั เอง กลุ่มชาติพนั ธุช์ าวเลร่วมกันขบั รอ้ ง
บทเพลงดว้ ยภาษาพน้ื ถนิ่ อยา่ งสนกุ สนาน มกี ารประกอบอาหารใสป่ น่ิ โตเดนิ ทาง
มาจากบา้ นเพอื่ ลอ้ มวงแบง่ ปนั กนั รบั ประทานราวกบั เปน็ ครอบครวั ใหญ่ ลกู เดก็
เล็กแดงวิ่งเล่นกันไปมาตามร้านรวงวางขายสินค้าของดีประจ�ำหมู่บ้าน เสื้อยืด
สกรีนลวดลายรูปเขาตะปูพร้อมข้อความ “ท่ีนี่...พังงาแห่งความสุข” ถูกน�ำมา
สวมใสเ่ ดนิ ขวกั ไขวเ่ ตม็ พน้ื ทศ่ี นู ยป์ ระชมุ ฯ เปน็ การแสดงออกเชงิ สญั ลกั ษณอ์ ยา่ ง
หนง่ึ วา่ เวทสี มชั ชาแหง่ นม้ี เี ครอื ขา่ ยกวา้ งขวางและเขม้ แขง็ มากเพยี งใด เหตกุ ารณ์
ส�ำคัญภายในงานคือการแถลงยุทธศาสตร์พังงาแห่งความสุข 10 ประการต่อผู้
ว่าราชการจังหวัด พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อน�ำไปปรับปรุงยุทธศาสตร์
ใหด้ ียิ่งขน้ึ จากนกั วิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัย หอการค้าจังหวัดพังงา รวมท้ัง
ตัวแทนจากหน่วยงานภาครัฐ จากน้ันจึงปักธงก้าวเข้าสู่เป้าหมายร่วมเพื่อสร้าง
ความเปล่ียนแปลง 10 เรอ่ื งรว่ มกัน คอื
1) สรา้ งเศรษฐกจิ ทย่ี งั่ ยนื กระจายรายไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรมทง้ั การทอ่ งเทยี่ ว
เกษตร ประมง อตุ สาหกรรมเชอ่ื มโยงกัน
2) ส่งเสรมิ การศึกษาตลอดชีวิตและการศกึ ษาตามวิถวี ัฒนธรรม
3) สง่ เสรมิ ความมัน่ คงในทด่ี นิ และทอี่ ยูอ่ าศยั อยา่ งม่ันคงเป็นธรรม
4) สง่ เสริมการฟนื้ ฟู อนุรกั ษ์ การใชป้ ระโยชน์ จากทรพั ยากรธรรมชาติ

270 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

และสงิ่ แวดลอ้ มอย่างยั่งยืนโดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน
5) ส่งเสรมิ ฟื้นฟูจารีต ประเพณี วัฒนธรรม ตามความหลากหลายกลุ่ม
ชาตพิ นั ธุ์และอัตลักษณ์คนพงั งา
6) พงั งาเมอื งปลอดภยั ในชวี ติ ทรัพย์สนิ และปลอดภยั เมื่อภยั มา
7) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อลดอบายมุข สร้าง
ครอบครัวแห่งความสขุ อย่างยั่งยนื
8) สง่ เสรมิ ระบบการจดั สวสั ดกิ ารชมุ ชนสสู่ วสั ดกิ ารสงั คมโดยความรว่ ม
มอื 4 ฝ่าย คอื ชุมชน ท้องถน่ิ รัฐ และเอกชน
9) สง่ เสรมิ ระบบปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั และสรา้ ง
ความเปน็ ธรรม เท่าเทียมในระบบการดูแลสขุ ภาพอยา่ งมสี ว่ นร่วม
10) ส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง ประชาธิปไตยชุมชนเพื่อการสร้าง
ธรรมาภิบาลในการบรหิ ารโดยการมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ น
แผนยทุ ธศาสตรข์ า้ งตน้ ชว่ ยพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ประชาชนหลายมติ ิ เชน่
เกดิ สภาองค์กรชุมชน 44 พื้นที่ สวัสดกิ ารองคก์ รชุมชน 50 กองทนุ ระบบการ
จดั การภยั พบิ ตั ิ 14 พนื้ ที่ แกป้ ญั หาทด่ี นิ ท�ำกนิ 15 พน้ื ที่ วางระบบสหกรณช์ มุ ชน
หนนุ เสรมิ การกยู้ มื เงนิ ดอกเบย้ี ตำ่� เพอื่ สรา้ งบา้ นมนั่ คง 7 พนื้ ที่ สรา้ งกจิ กรรมดแู ล
ผสู้ งู อายุ 51 พน้ื ท่ี สง่ เสรมิ อาชพี และปกปอ้ งสทิ ธกิ ลมุ่ ชาตพิ นั ธช์ุ าวเล 25 หมบู่ า้ น
เปน็ ตน้ ผลงานเหลา่ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ วา่ เครอื ขา่ ยสมชั ชาพงั งาแหง่ ความสขุ ตอ้ งท�ำ
หนา้ ทดี่ แู ลโครงการมากมายซง่ึ มคี วามหลากหลายทง้ั ในแงก่ ลมุ่ เปา้ หมายและวธิ ี
ด�ำเนินงาน การก่อตั้ง “ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชนจังหวัดพังงา”
ต้ังอยู่ในเขตอ�ำเภอเมืองเพื่อใช้เป็นที่ประชุมติดต่อประสานงานอย่างเป็นระบบ

สพู่ งั งาแหง่ ความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ได้หลายเส้นทาง 271

จึงกลายเป็นพัฒนาการส�ำคัญยกระดับเครือข่ายข้ึนเป็น “สภาพลเมืองพังงา
แห่งความสุข”4 ในเวลาตอ่ มา
อาจกล่าวได้ว่าสภาพลเมืองฯ คือผลผลิตของการขับเคลื่อนโครงการ
พังงาแห่งความสุข เป็นการพยายามสร้างพื้นท่ีกลางของคนทุกกลุ่มให้ได้มีเวที
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ เวทจี ดั ท�ำข้อเสนอเชงิ นโยบาย น�ำไปสกู่ ารสรา้ งความร่วมมือ
ในการพฒั นาจงั หวดั พงั งาในทกุ ประเดน็ อยา่ งมสี ว่ นรว่ มเปน็ ส�ำคญั (ไมตรี จงไกร
จกั ร์, 2557) หากมองในแง่พัฒนาการจะพบวา่ ตลอดเสน้ ทางความเปลยี่ นแปลง
ท่ีเกิดข้ึนมีปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการคอยขับเคล่ือนเครือข่ายภาคประชาสังคม
จังหวัดพังงาสู่ความส�ำเร็จและถือเป็น “ต้นทุน” เอ้ือให้การทดลองท�ำงานด้วย
กรอบคิดการประกอบการสังคมด�ำเนนิ ไปได้ประกอบด้วย
ประการแรก ความรกั และหวงแหนถ่นิ ที่อยู่ เป็น “ส�ำนกึ ทางสังคม”
(social consciousness)5 ของคนในพนื้ ที่ น�ำมาซงึ่ การรว่ มแรงรว่ มใจตอ่ สฝู้ า่ ฟนั
อปุ สรรคอยา่ งไมย่ อ่ ทอ้ ส�ำนกึ ทวี่ า่ นมี้ ไิ ดจ้ �ำกดั แคค่ วามรกั ในปติ ภุ มู ิ (patriotism)
หรอื ดนิ แดนทเ่ี ปน็ ผใู้ หก้ �ำเนดิ แตค่ รอบคลมุ ไปถงึ การหวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติ

4 แนวคดิ ของสภาพลเมอื งมพี นื้ ฐานมาจากแนวคดิ ประชาธปิ ไตยทางตรงทต่ี อ้ งการใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ น
รว่ มก�ำหนดนโยบายและความเปน็ ไปของสงั คมการเมอื งของตน โดยเนน้ เปดิ พนื้ ทต่ี งั้ แตร่ ะดบั ชมุ ชน ต�ำบล
ไปจนถงึ ระดบั ชาติ ใหพ้ ลเมอื งทกุ คนทตี่ อ้ งการจะแสดงความคดิ เหน็ และมสี ว่ นรว่ มในการก�ำหนดนโยบาย
และความเปน็ ไปของพลเมอื งดว้ ยตนเอง ท�ำใหป้ ระชาชนมสี ทิ ธใิ นการเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั การตนเอง
ในระดบั พน้ื ที่เพ่ิมมากขึ้น (ธนยั เกตวงกต, 2558)
5 ส�ำนกึ ทางสังคม (social consciousness) คอื การท่บี ุคคลตระหนกั วา่ ตนเองเปน็ ส่วนหนึ่งของสังคม รู้
ร้อนรู้หนาวต่อประเดน็ ตา่ งๆ ทางสงั คม และรสู้ กึ วา่ ตนเองมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อปรากฏการณ์ท่ดี �ำเนิน
ไปในสังคมทั้งมิติการเมือง เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยส�ำนึกทางสังคมจะเป็นตัวก�ำหนดการกระท�ำ
ของบคุ คล (ฐิตกิ าญจน์ อศั ตรกลุ , 2560)

272 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม

เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และวฒั นธรรมทแี่ สดงให้เห็นวา่ ชาวพงั งามคี วามแตกต่าง
จากคนกลมุ่ อ่นื อยา่ งไร
ประการที่สอง “ความเจบ็ ปวดรว่ ม” เป็นบทเรียนจากคลืน่ ยกั ษ์สนึ ามิ
สะทอ้ นให้เหน็ ความล้มเหลวอันเกิดจากความเห็นแก่ตวั ประสบการณแ์ สนเลว
ร้ายที่สัมผัสได้ร่วมกันน�ำมาซึ่งความเข้าอกเข้าใจและเคารพกันมากขึ้น กลาย
เป็นเงื่อนไขสร้างความตระหนักถึงผลเสียของการแตกสามัคคีท่ีไม่มีใครอยาก
ย้อนกลับไปเปน็ ดงั เดิมอกี
ประการสดุ ทา้ ย “สร้างการมีสว่ นร่วม” คอื ทางออกที่เกดิ ข้นึ จากการ
เรยี นรเู้ พอื่ แกป้ ญั หาชมุ ชนมาอยา่ งยาวนาน การถอื ก�ำเนดิ ขนึ้ ของสภาพลเมอื งฯ
คือผลสัมฤทธิ์ของความพยายามเปิดพ้ืนท่ีให้ประชาชนเข้ามามีส่วนก�ำหนด
นโยบาย เขา้ ถงึ สทิ ธใิ นการจดั การตนเอง อยา่ งไรกต็ ามบทบาทการท�ำหนา้ ทขี่ อง
สภาพลเมอื งฯ ไม่อาจหลีกเลีย่ งการตอ้ งต่อสแู้ ยง่ ชิงพนื้ ท่ี อ�ำนาจและทรัพยากร
จากหนว่ ยงานหรอื องคก์ รเดมิ ทด่ี �ำรงอยกู่ อ่ น ดว้ ยเหตนุ ท้ี กั ษะการประนปี ระนอม
อย่างเข้าใจความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ 3 ส่วนท่ีคอยค�้ำยันโครงสร้างทาง
สังคมทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคม ให้สามารถท�ำหน้าท่ีของ
ตนเองไดต้ ามบททต่ี อ้ งเลน่ จงึ เปน็ เครอ่ื งมอื อนั ลำ�้ คา่ คอยประคบั ประคองใหพ้ ลงั
ประชาชนเขม้ แขง็ พอที่จะตอ่ รองกบั ผคู้ รองอ�ำนาจในสังคมทุนนยิ มได้

ส่พู ังงาแห่งความสขุ : เพราะจดุ หมายไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง 273

คิดแบบผ้ปู ระกอบการสังคม

เริม่ ต้นชวนคดิ

การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “เวทพี ฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยดว้ ยเครอ่ื งมอื
สนับสนุนความย่ังยืนการขับเคล่ือนทางสังคม” คือกิจกรรมหลักรูปแบบหนึ่งที่
โครงการผู้น�ำฯ ร่วมมือกับทีมงาน School of Changemakers (SoC)
ตระเตรยี มไว้ใหค้ นท�ำงานภาคประชาสังคมทงั้ 4 พ้ืนทเี่ ดนิ ทางมาเรียนร้แู นวคดิ
การประกอบการสงั คมรว่ มกนั ณ กรงุ เทพมหานคร คณุ พรจรรย์ ไกรวตั นสุ สรณ์
(พี่นุ้ย) หัวเรือใหญ่ของทีมงาน SoC ค่อยๆ สร้างสนามการเรียนรู้ด้วยการตั้ง
ค�ำถามควบคู่กับน�ำเสนอทางออกของปัญหาการบริหารองค์กรประเด็นต่างๆ
ตามมุมมองผูป้ ระกอบการสังคมอย่างค่อยเป็นคอ่ ยไป
พี่นุ้ยกล่าวเสมอว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีน้ีล้วนเป็นคนมีความสามารถ
มีพลังกายพลังใจเข้มแข็งเห็นได้จากผลงานที่ปรากฏอย่างยาวนาน ดังน้ันพื้นท่ี
การเรียนรู้ท่ีถูกจัดสรรขึ้นจึงไม่ได้ต้ังอยู่บนความต้องการเปล่ียนแปลงกรอบคิด
หรือวิธีการท�ำงานเดิมอย่างส้ินเชิง แต่พยายามน�ำเสนอทางเลือกจากอีก
กระบวนทัศน์หนึ่งซึ่งให้ความส�ำคัญกับการผสมผสานความสามารถเชิงธุรกิจ
เขา้ กบั การท�ำงานเพอ่ื สว่ นรวม ความคาดหวงั คอื สรา้ งโมเดลบรหิ ารดา้ นการเงนิ
ส�ำหรบั องคก์ รภาคประชาสงั คมใหส้ ามารถด�ำรงอยทู่ า่ มกลางกระแสทนุ นยิ มและ
กลไกการตลาดอย่างไม่อาจหลีกเล่ียง ด้วยเช่ือว่าหากผู้เข้าร่วมอบรมเปิดใจรับ
และทบทวนเหตุการณ์ผ่านมาอย่างจริงจังควบคู่กับประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้ไป
ทดลองปรบั วธิ คี ดิ จากทเ่ี คยมงุ่ หาแหลง่ ทนุ แบบใหเ้ ปลา่ (grant) เพยี งอยา่ งเดยี ว
สกู่ ารออกแบบแผนงานเชงิ รกุ ขยายโอกาสสรา้ งรายไดด้ ว้ ยตนเองหนทางสคู่ วาม
ยัง่ ยืนกจ็ ะเกิดขนึ้
เวทีพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยฯ ถกู จดั ข้นึ 3 ครั้ง (ครัง้ ละ 3 วัน 2 คนื )

274 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ระหวา่ งวนั ท่ี 10-12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 15-17 มกราคม และ 1-3 มีนาคม
พ.ศ. 2561 นนั่ เทา่ กบั วา่ หลงั เสรจ็ สน้ิ การอบรมแตล่ ะครงั้ องคค์ วามรแู้ ละไอเดยี
ทเ่ี กดิ เปน็ โครงการตา่ งๆ จะถูกน�ำไปใชใ้ นพ้นื ท่จี ริงกว่า 1 เดือน กอ่ นจะน�ำเอา
ขอ้ คน้ พบ อปุ สรรค หรอื ประเดน็ นอกเหนอื อนื่ ๆ มาแลกเปลย่ี นกนั เพอ่ื วเิ คราะห์
แนวทางการพฒั นา ผเู้ ขยี นเหน็ วา่ การก�ำหนดชว่ งเวลาด�ำเนนิ โครงการลกั ษณะนี้
เปน็ ประโยชนต์ อ่ การเสรมิ องคค์ วามรใู้ หส้ อดรบั กบั สถานการณเ์ พราะชว่ ยใหผ้ นู้ �ำ
ไอเดยี ไปใชแ้ ละทมี SoC ไดป้ ระเมนิ รว่ มกนั จนระบไุ ดว้ า่ ภาพความส�ำเรจ็ ทอี่ ยาก
ใหเ้ กดิ ขน้ึ ทงั้ ระยะสน้ั และระยะยาวของแตล่ ะพน้ื ทค่ี อื อะไร เครอ่ื งมอื /ทฤษฎกี าร
ประกอบการสงั คมแบบไหนจะถกู น�ำมายอ่ ยเปน็ กจิ กรรมการเรยี นรบู้ า้ ง การคดั
เลือกเนื้อหาส�ำหรับใช้อบรมเชิงปฏิบัติการทุกคร้ังจึงมีความยืดหยุ่นและเอ้ือต่อ
เปา้ หมายพัฒนาโมเดลการท�ำงานซึ่งมรี ะยะเวลาจ�ำกัดเพยี ง 7 เดอื นเท่านั้น
การสร้างกลยุทธ์เพ่ือการขับเคลื่อนสังคม (strategy for change
workshop) ถูกก�ำหนดเป็นหัวข้อเรียนรู้แรก โดยน�ำเอาทฤษฎีการสร้างความ
เปลย่ี นแปลง (Theory of Change: ToC) และหว่ งโซผ่ ลลพั ธ์ (Impact Value
Chain: IVC) มาเปน็ ตัวชโู รง เม่ือไดก้ ลยุทธแ์ ละเป้าหมายทีมงาน SoC จัดอบรม
ครงั้ ทสี่ องหวั ขอ้ การคดิ และวางแผนการเงนิ แบบผปู้ ระกอบการสงั คม (finance
matter for social entrepreneurs) ใชอ้ งคค์ วามร้เู รือ่ งการค�ำนวณต้นทุนใน
การสร้างผลกระทบทางสงั คมต่อหนว่ ย (impact unit cost) เป็นแกนด�ำเนิน
กิจกรรม ส่วนครั้งสุดท้ายเพิ่มเติมแนวคิดการจัดการและพัฒนาทีมในช่วง
เปลย่ี นผา่ น (preparing team for transition) ใหพ้ รอ้ มกา้ วสกู่ ารเป็นองคก์ ร
ท่ีสามารถพ่ึงพาตนเองได้และเลือกเอากระบวนการคิดชั่วโมงท�ำงาน (man-
hour) มาตง้ั ค�ำถามเกี่ยวกบั ความคุ้มคา่ ระหวา่ งเวลาทีถ่ กู ใช้ไปกับผลลพั ธ์ทเี่ กดิ
ขึ้นในแต่ละวัน ชักชวนให้แต่ละองค์กรเห็นความส�ำคัญของการบริหารจัดการ
เวลา (time management) รวมทั้งการสร้างองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ (learning

สู่พังงาแหง่ ความสุข: เพราะจดุ หมายไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง 275

organization) โดยมุ่งพัฒนาทมี งานต้นทางการยกระดบั องค์กร6
การจดั ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการทงั้ 3 ครงั้ คอื การชักชวนใหต้ ัวแทนองคก์ ร
ภาคประชาสังคมล้อมวงเข้ามาแลกเปลี่ยนปรัชญาการท�ำงานซึ่งน�ำมาทั้งความ
ส�ำเรจ็ และลม้ เหลว ผลลพั ธท์ ไ่ี ดไ้ มใ่ ชแ่ คเ่ ปดิ มมุ มองการพฒั นาผา่ นประเดน็ ปญั หา
อนั หลากหลายแตย่ งั เปน็ การเตมิ เชอ้ื ไฟแหง่ ศรทั ธาใหก้ นั และกนั ในขณะเดยี วกนั
กเ็ ชอื้ เชญิ ใหพ้ วกเขาไดท้ ดลองคดิ แบบผปู้ ระกอบการสงั คม มองหากลวธิ บี รหิ าร
จดั การดา้ นการเงนิ ดว้ ยมติ กิ ารมงุ่ แสวงหารายไดไ้ วใ้ ชด้ แู ลองคก์ รอยา่ งเปน็ ระบบ
ซึ่งดูจะเป็นส่ิงที่ขัดกับภาพลักษณ์คนท�ำงาน NGOs ผู้ถูกมองว่าต้องเป็นคนดีมี
อุดมการณ์ ท�ำงานหนักโดยไม่หวังผลตอบแทนและต้องหลีกเลี่ยงจากค�ำกล่าว
หาที่อาจไม่เป็นธรรมนักว่าเป็นพวกม็อบรับจ้างหากินจากความเดือดร้อน
ของผู้คน อย่างไรก็ตามทุกๆ จังหวะการเก็บเก่ียวองค์ความรู้และใคร่ครวญ
สถานการณ์ของปญั หา ต้นทนุ ที่มี รวมถงึ ความเชีย่ วชาญเฉพาะท่จี ะสามารถน�ำ
มาสร้างเปน็ รายไดแ้ กอ่ งคก์ รและคนในชุมชนของสภาพลเมอื งฯ ท�ำให้โครงการ
สถาบันพัฒนาการเรียนรู้พังงาแห่งความสุขถูกก�ำหนดข้ึนหวังให้เป็นเคร่ืองมือ
สานตอ่ แผนยทุ ธศาสตรพ์ งั งาแหง่ ความสขุ 10 ประการทถ่ี กู วางไวก้ อ่ นหนา้ อยา่ ง
ระมดั ระวงั เพอื่ ใหจ้ ติ วญิ ญาณคนท�ำงานภาคประชาสงั คมยงั คงด�ำรงอยแู่ มจ้ �ำเปน็
ต้องปรบั ตัวเขา้ กับกระแสทนุ นิยมใหไ้ ดก้ ็ตาม


ทีมโต๊ะพังงา

พนื้ ทโี่ ลง่ ภายในหอ้ งประชมุ ปรากฏโตะ๊ ทรงกลมถกู จดั แบง่ ออกเปน็ กลมุ่
พรอ้ มรองรบั ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมไดก้ ลมุ่ ละ 6-7 คน ทน่ี งั่ ถกู จดั สรรดว้ ยหลกั การงา่ ยๆ

6 รายละเอียดเน้อื หาสาระและกระบวนการฝึกอบรมสามารถอา่ นเพ่ิมเตมิ ได้ในบทน�ำของหนังสอื เลม่ นี้

276 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

คือแตล่ ะกลุ่มจะประกอบด้วยภาคประชาสงั คม อาสาสมคั รจากภาคธรุ กจิ และ
นกั วจิ ยั ทง้ั หมดลว้ นเปน็ คนท�ำงานในพนื้ ทเ่ี ดยี วกนั ตามทไ่ี ดต้ กลงไวต้ งั้ แตเ่ รม่ิ ตน้
โครงการ นนั่ ท�ำให้เพอ่ื นรว่ มโต๊ะของผเู้ ขยี นซ่ึงถกู เรียกชอ่ื สน้ั ๆ ว่า “โตะ๊ พังงา”
ประกอบดว้ ย พไี่ มตรี พ่นี ้อย พ่ีจ้ี สามสหายจากสภาพลเมอื งฯ และ ทอม โคช้
ของพ้ืนที่นี้ นอกจากนั้นยังมีทีมงาน SoC อีกหลายท่านแวะเวียนมาตั้งค�ำถาม
ใหค้ �ำอธบิ ายตามความเหมาะสมของเนอ้ื หาสาระการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแตล่ ะ
ครั้ง
ผ้เู ขียนใช้ค�ำว่า “สามสหาย” เรียกตวั แทนสภาพลเมืองฯ เน่ืองจากค�ำ
ดังกล่าวสามารถสะท้อนความสัมพันธ์ของพ่ีๆ กลุ่มนี้ที่ไม่ได้เป็นแค่เพื่อนร่วม
งานกันมานานแต่ทุกคนยังเป็นเพื่อนท่ีดีต่อกันนอกเหนือเวลางานด้วย พี่ไมตรี
(อายุ 44 ปี) หนุ่มใหญ่หน้าตาคมเข้มตามแบบฉบับคนปักษ์ใต้ เกิดที่จังหวัด
นครศรธี รรมราชแตค่ รอบครวั ยา้ ยมาตง้ั รกราก ณ จงั หวดั พงั งาตง้ั แตเ่ ดก็ อดตี เคย
เป็นนักการเมืองทอ้ งถ่ินแห่งต�ำบลบ้านนำ้� เค็ม เมอ่ื เกิดเหตุการณส์ นึ ามทิ �ำใหไ้ ด้
เรยี นรวู้ า่ เปา้ หมายพฒั นาสงั คมอยา่ งยงั่ ยนื ควรเรมิ่ ตน้ จากฐานลา่ งพรี ะมดิ นนั่ คอื
ท�ำใหค้ นในชมุ ชนมคี วามพรอ้ มดแู ลถนิ่ ทอ่ี ยขู่ องตนเอง ไมใ่ ชก่ ารใชเ้ ฉพาะอ�ำนาจ
เบ้ืองบนซ่ึงบางคร้ังไม่ได้เข้าใจแก่นของปัญหามาก�ำหนดนโยบายที่ไม่อาจสร้าง
ความเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีให้เกิดขึ้นได้จึงผันตัวเองสู่การท�ำงานภาคประชา
สงั คมแทน พไี่ มตรเี ปน็ ทร่ี จู้ กั กนั วงกวา้ งในฐานะนกั ตอ่ สเู้ รยี กรอ้ งความเปน็ ธรรม
นกั คดิ วเิ คราะห/์ วพิ ากษส์ งั คมหาตวั จบั ยาก ท�ำหนา้ ทด่ี แู ลแผนงาน นโยบาย รวม
ทง้ั เปน็ ก�ำลังส�ำคญั ในการจดั หาทุนมาใช้ขบั เคล่ือนงานของสภาพลเมอื งฯ
พ่ีนอ้ ย (อายุ 57 ป)ี อดีตผจู้ ัดการโรงแรมกอ่ นผนั ตัวเองมาประกอบธกุ จิ
ส่วนตัว เกิดและเติบโตทจี่ ังหวดั เชยี งใหม่ แต่ดว้ ยบุพเพสันนวิ าสน�ำพาใหก้ ลาย
เปน็ “เขยพังงา” กวา่ ครึง่ ชีวติ จงึ ผกู พนั อยู่กบั เมอื งแหง่ ความสุขน้ี ค�ำพดู ภาษา
ใตป้ นส�ำเนยี งเหนอื ไมเ่ หมอื นใครดจู ะสะทอ้ นตวั ตนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี พนี่ อ้ ยเปน็ คน
อารมณ์ดี พดู จาสภุ าพนมุ่ นวล ใจเย็นและละเอยี ดรอบคอบเปน็ ที่สดุ ท�ำหนา้ ที่

สพู่ งั งาแห่งความสุข: เพราะจุดหมายไปถึงได้หลายเสน้ ทาง 277

ประสานงาน เจรจาต่อรองสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาค
ธรุ กจิ คอยดแู ลความเรยี บรอ้ ยของกจิ กรรมทส่ี ภาพลเมืองฯ จัดขน้ึ ทง้ั หมด
พจี่ ้ี (อายุ 40 ป)ี หญิงสาวเพยี งคนเดยี วของกลุม่ พน้ื เพเปน็ ชาวจงั หวดั
ตรงั ชนื่ ชอบวชิ าคณติ ศาสตรเ์ พราะหลงไหลในความชดั เจนของมนั เชน่ เดยี วกบั
บุคลิกตรงไปตรงมา ม่ันใจในตนเอง พูดจาฉะฉานเสียงดังฟังชัด เมื่อได้ใช้เวลา
ท�ำงานรว่ มกนั ย่งิ เขา้ ใจว่าการคดิ อย่างเปน็ ระบบ ลงมือท�ำทันที คือคณุ สมบัตสิ ่ง
ผลให้พี่จ้ีกลายเป็นก�ำลังส�ำคัญด้านการบริหารจัดการงบประมาณโครงการของ
สภาพลเมอื งฯ วา่ กนั วา่ เพราะการไดร้ บั ความยอมรบั นบั ถอื จากคนในชมุ ชนของ
เธอผนู้ คี้ อื ปจั จยั ส�ำคญั ท�ำใหเ้ วทสี มชั ชาพงั งาแหง่ ความสขุ ทง้ั 4 ครงั้ ประสบความ
ส�ำเร็จอย่างงดงาม
ทอม (อายุ 36 ปี) หนุ่มตี๋ร่างเล็กแต่งกายเรียบร้อย บุคลิกสุภาพ
นอบน้อม เป็นนักฟังและจับประเด็นที่เก่งฉกาจ แม้จะพูดน้อยแต่ทุกคร้ังที่ค�ำ
พูดผ่านจากปากก็มักน�ำไปสู่การก้าวไปข้างหน้าของงานท่ีก�ำลังดูแลอยู่เสมอ
จากอดีตนักเรียนอาชีวะผู้มุ่งมั่นอยากเป็นช่างไฟฟ้าแต่กลับค้นพบว่าสังคมการ
เรียนรู้และอาชีพดังกล่าวไม่เหมาะกับตัวเอง พร้อมกับเร่ิมค้นพบความต้องการ
ส่วนลึกว่าอยากเป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงการศึกษาไทยให้ดีย่ิงขึ้น จึง
สมคั รเขา้ เรยี นคณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชมงคลธญั บรุ ี เมอ่ื ส�ำเรจ็ การศกึ ษา
กน็ �ำทกั ษะองคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั กระบวนการพฒั นามนษุ ยผ์ ลกั ดนั ตวั เองสเู่ สน้ ทาง
อาชพี การให้ค�ำปรึกษาเพื่อพฒั นาองคก์ ร ปจั จบุ ันท�ำงานบรษิ ัท Professional
Training Service (PTS) ทอมรักงานอาสาสมัครมาต้ังแตส่ มยั เรียนหนังสอื และ
หาโอกาสเขา้ ไปเปน็ สว่ นหนง่ึ อยเู่ สมอ เมอื่ ทราบขา่ วประกาศรบั สมคั รคนรนุ่ ใหม่
ผู้มีใจอยากช่วยเหลือสังคมเข้าร่วมท�ำหน้าที่หนุนเสริมการท�ำงานของ NGOs
เขากไ็ ม่รีรอทจี่ ะยืน่ ใบสมคั รมาให้ SoC พิจารณาด้วยเชอ่ื วา่ ทกั ษะทเ่ี ขามีจะท�ำ
ประโยชนใ์ หก้ ับสว่ นรวมไดบ้ า้ ง

278 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม

“งานประจ�ำที่ผมท�ำเป็นการขายวิธีการ ขายเครื่องมือ ขาย
อาจารย์ แต่เราไม่ได้เป็นคนท�ำเอง ไม่ได้เป็นคนสร้างอะไรขึ้น
เอง เราเป็นแค่ส่ือน�ำส่ิงหนึ่งมาเจออีกสิ่งหนึ่งเพ่ือให้เกิดส่ิงท่ีดี
ข้นึ ไม่ได้ท�ำอะไรใหม่ แต่โจทยข์ อง SoC ชกั ชวนให้ไดล้ งมือทำ�
เองจรงิ ๆ มนั คงชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจวธิ กี าร ขน้ั ตอนและผลลพั ธท์ จ่ี ะเกดิ
ขึ้นว่าหน้าตาจะประมาณไหน ตอนนี้ผมเหมือนคนที่มีหลักการ
ความรู้ แตก่ ารลงมอื ปฏิบัติยังนอ้ ย งาน intrapeneur ในพนื้ ท่ี
จงึ มคี วามน่าสนใจ”

(ยรุ นนั ท์ ยม้ิ สาระ. สัมภาษณ์, 28 เมษายน 2561)
ค�ำถามส�ำคญั ท่ผี ้เู ขียนกลา่ วกับทมี โต๊ะพังงาว่า “คาดหวังอะไรจากการ
เขา้ รว่ มงานกบั โครงการผนู้ ำ� ฯ ครง้ั น”ี้ ค�ำตอบทไี่ ดร้ บั แตกตา่ งกนั ในรายละเอยี ด
แตท่ กุ คนมจี ดุ รว่ มส�ำคญั คอื อยากเรยี นรกู้ ลยทุ ธก์ ารท�ำงานแบบใหมแ่ ละน�ำไป
ทดลองใชจ้ รงิ พๆี่ สภาพลเมอื งฯ กลา่ ววา่ พวกเขาไมท่ ราบรายละเอยี ดใดๆ เกย่ี ว
กบั การประกอบการสงั คมเลยแมแ้ ตน่ อ้ ยและไมเ่ คยคาดคดิ วา่ จะตอ้ งมานงั่ เรยี น
ร้เู รื่องราวเหล่าน้ดี ้วย เพราะดูเปน็ สง่ิ ไกลตัวไม่อาจน�ำมาใชก้ ับงานท่กี �ำลังท�ำอยู่
ได้ แต่เป็นเพราะสายสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างโครงการผู้น�ำฯ กับพี่ไมตรี
นับตั้งแต่เคยร่วมงานกันในเวทีเครือข่ายภาวะการน�ำเพ่ือการขับเคลื่อนสังคม
(social facilitator) รนุ่ ที่ 1 แลว้ เหน็ วา่ ได้รับประโยชน์ในแง่การพัฒนาสภาวะ
ภายในและขยายเครือข่ายคนท�ำงานภาคประชาสังคม เม่ือถูกทาบทามอีกครั้ง
ก็ยินดีเข้าร่วมพร้อมกับชักชวนทีมงานมาด้วย โดยเล็งเห็นว่ากิจกรรมการเรียน
รคู้ ราวนน้ี า่ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเปลย่ี นแปลงในพนื้ ทไี่ ดจ้ รงิ มากกวา่ ครง้ั กอ่ นทเ่ี นน้
พฒั นาระดับปจั เจกเสียเป็นส่วนใหญ่
ส่วนทอมเองก็ชัดเจนว่าอยากรู้จักกลุ่มคนท�ำงาน NGOs ให้มากข้ึน
กว่าเกา่ เขายอมรับตามตรงว่าไม่เข้าใจหลักคิดของคนท�ำงานบริหารองค์กรโดย
ไม่ค�ำนึงถึงการหารายได้เพื่อดูแลตัวเอง มันจะเป็นไปได้อย่างไรท่ีจะสร้างสรรค์

สพู่ งั งาแห่งความสุข: เพราะจดุ หมายไปถงึ ไดห้ ลายเส้นทาง 279

ประโยชนเ์ พอื่ สว่ นรวมแตก่ ลบั ตอ้ งสญู เสยี ความสะดวกสบายสว่ นตวั ไปมากมาย
เหตผุ ลอีกประการคืออยากก้าวออกมาจากพ้ืนทีป่ ลอดภัย (comfort zone) ท่ี
ตวั เองยดึ ถอื ไว้ เพอ่ื ออกเดนิ ทางเปดิ โลกทศั นท์ ดลองท�ำสงิ่ ใหมด่ บู า้ ง และแนน่ อน
ว่าจากค�ำตอบของทีมโต๊ะพังงา ส�ำนึกทางสังคมและสายตาที่มองหาโอกาส
พัฒนาตนเองอยเู่ สมอคอื ความท้าทายผลักดนั ใหท้ กุ คนไดใ้ ช้ชีวิตเพ่อื สร้างความ
เปล่ยี นแปลงบางอย่างรว่ มกนั

ภาพบรรยากาศวงสนทนาประเดน็ การสรา้ งกลยทุ ธ์ฯ ของทมี โตะ๊ พงั งาประกอบด้วย
(จากซ้ายไปขวา) พี่ไมตรี พนี่ ้อย พจี่ ้ี ผู้เขียน และทอม
(ท่ีมาของภาพ: โครงการผนู้ �ำแห่งอนาคต)

280 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

ความยัง่ ยนื คอื เปา้ หมาย

พจี่ ี:้ พลี่ ากเส้นไปใหส้ ุดกระดาษเลย อย่าไปจ�ำกัดแค่ พ.ศ. 2600 เพราะ
องคก์ รน้ีจะไม่มที สี่ นิ้ สดุ
พน่ี อ้ ย: อนิ ฟินิตี้เลยใช่มัย้ ไอ้เรากต็ ามใจอยู่แลว้ เอาปากกามา!!
พี่จี้: ดร.ไมค์ (พ่ไี มตรี) ตอนน้ีไมอ่ ยทู่ ีโ่ ตะ๊ กใ็ สใ่ ห้แกไปเลย เพราะแกตอ้ งท�ำ
จนตายอยู่แลว้
พี่นอ้ ย: ของเธอก็ลากไปให้สดุ สว่ นของพ่ีตอนน้ี 50 กวา่ แล้วกค็ งท�ำไปเร่ือยๆ
ถา้ อยถู่ ึงพ.ศ. 2600 นะ
พีจ่ ี้: น่ตี กลงเราก�ำลังถกเถียงกนั อย่ใู ชม่ ้ัยวา่ ใครจะตายก่อนกัน...
(บทสนทนาบางส่วนขณะอบรมหัวข้อการสร้างกลยุทธ์เพื่อการขับเคลื่อนสังคม
ชาตรี มลู สาร และ ก�ำธร ขนั ธรรม , 10 พฤศจกิ ายน 2560)
เสียงพี่จ้ีตะโกนบอกพี่น้อยให้ลากเส้นบนกระดาษแผนผังล�ำดับ
เหตกุ ารณ์ขณะเขยี น timeline mapping ซง่ึ ระบุจดุ เรมิ่ ตน้ และสน้ิ สุดเอาไวท้ ี่
พ.ศ. 2520-2600 เมือ่ ได้ทราบค�ำถามจากพ่ีนุ้ยว่า “อยากให้สภาพลเมืองพังงา
แห่งความสุขท�ำงานต่อไปอีกนานแค่ไหนและตัวเองจะท�ำงานอยู่ในองค์กรน้ีอีก
ก่ีปี” บทสนทนาเต็มไปด้วยความขบขันหยอกล้อกันไปมาตามประสาคนสนิท
ชดิ เชอื้ จบลงอยา่ งรวดเรว็ พรอ้ มกบั ไดข้ อ้ มลู ปรากฏบนหนา้ กระดาษวา่ สภาพลเมอื งฯ
เร่มิ ต้นก่อตัวตั้งแต่ พ.ศ. 2540 และมันจะไม่มวี นั ส้นิ สดุ แม้ตวั พ่ีไมตรี พีน่ ้อย พจี่ ี้
จะยังคงมีชีวติ อยู่หรอื ไม่ก็ตาม
พน่ี ยุ้ เดนิ ส�ำรวจค�ำตอบของทกุ กลมุ่ กลา่ วสรปุ ใหฟ้ งั วา่ ทกุ คนในทอ่ี บรม
อยากให้องค์กรอยู่ต่อไปยืนยาวและไม่มีใครเลยที่ระบุว่าตัวเองจะมีชีวิตอยู่เกิน
องค์กร น�ำไปสู่การตั้งค�ำถามลึกลงไปอีกช้ันหน่ึงว่าช่วงที่ยังมีแรงกายแรงใจเรา

สู่พังงาแหง่ ความสุข: เพราะจดุ หมายไปถงึ ได้หลายเส้นทาง 281

จะสามารถท�ำอะไรเพ่ือให้สิ่งท่ีหวังเป็นจริงได้ แน่นอนว่าแผนงานท่ีคิดจะท�ำก็
คอื “กลยทุ ธ”์ (strategy) ทเี่ ลอื กแลว้ วา่ ด/ี เหมาะสมกบั องคก์ รมากทส่ี ดุ กลยทุ ธ์
ไม่ใช่ค�ำใหญ่โตเข้าใจยากแต่จ�ำเป็นต้องตอบโจทย์ที่เฉพาะเจาะจง ชัดเจน ไม่
เลื่อนลอย ส่ิงส�ำคัญที่ทุกคนพึงตระหนักคือจะวางแผนกลยุทธ์ไปเพ่ืออะไรและ
กลยทุ ธม์ คี วามส�ำคัญหรือจ�ำเป็นเร่งดว่ นตอ่ องค์กรอย่างไร
การได้กลับไปใคร่ครวญวันเกษียณอายุอย่างจริงจังรวมถึงทบทวน
กลยุทธ์ขององค์กรผ่านค�ำถามท่ีเรียบง่ายแต่ชวนมองอนาคตบนความเป็นจริง
ท�ำใหท้ มี โต๊ะพงั งาแบง่ ปันข้อมลู ประวตั ิการด�ำเนินงานตลอดระยะเวลา 20 ปีที่
ผา่ นมา ดว้ ยภารกิจอันหลากหลายครอบคลมุ ประเด็นปญั หาทง้ั จงั หวัดการระบุ
ความจ�ำเปน็ เรง่ ดว่ นจงึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ยดายนกั อยา่ งไรกต็ ามหากจะตอบค�ำถามวา่
ต้องวางกลยทุ ธ์ไปเพอ่ื อะไรกจ็ ะพบส่งิ ถกู พูดถึง 3 เรื่อง คือ 1) เพือ่ สร้างความ
ยงั่ ยนื ใหอ้ งคก์ ร โดยการพฒั นาคนรนุ่ ใหมใ่ หม้ ศี กั ยภาพมากพอทจี่ ะคดิ วเิ คราะห์
ประเดน็ ปญั หาของชมุ ชนไดอ้ ยา่ งถอ่ งแท้ สามารถน�ำเสนอทางออกอยา่ งสมเหตุ
สมผลและปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ 2) เพอื่ สรา้ งความเชอ่ื มน่ั แกอ่ งคก์ รซงึ่ เปน็ ปจั จยั ใหผ้ คู้ น
ทุกภาคส่วนอยากเขา้ มาท�ำงานด้วย ตัวแทนสภาพลเมอื งฯ เชอ่ื ว่าความรว่ มมือ
จากทุกฝ่ายเท่าน้ันจะสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมท้ังระบบได้ 3)
เพ่ือเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างโดยผลักดันให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมก�ำหนด
นโยบายเสนอใหภ้ าครฐั น�ำไปใชแ้ กป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งตรงจดุ ความเปลย่ี นแปลงระดบั
นคี้ อื เครอื่ งยนื ยนั เรอ่ื งชมุ ชนจดั การตนเองเปา้ หมายหลกั ของการสรา้ งยทุ ธศาสตร์
พังงาแหง่ ความสขุ ขน้ึ มา
เมื่อร่วมพิจารณาประเด็นเร่งด่วนท่ีองค์กรควรรีบลงมือท�ำบทสรุป
ท่ีได้คือการสร้างความยั่งยืนมีความจ�ำเป็นมากท่ีสุด เสียงท้ังหมดเห็นตรงกัน
ว่าหากองค์กรย่ังยืนภาพลักษณ์ความน่าเชื่อถือตลอดจนเป้าหมายสร้างความ
เปลย่ี นแปลงเชงิ โครงสร้างก็จะตามมาเอง แมจ้ ะมยี ุทธศาสตร์ 10 ประการคอย
ก�ำหนดขอบข่ายการท�ำงานอยา่ งกว้างๆ ไวเ้ รยี บรอ้ ยแลว้ แตป่ ระสบการณ์ท้งั ดี

282 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

และรา้ ยสอนใหร้ วู้ า่ “คน” คอื ปจั จยั สคู่ วามยงั่ ยนื ทตี่ อ้ งใหค้ วามส�ำคญั เปน็ ล�ำดบั
แรก แม้จะสามารถรวมตัวกันได้จ�ำนวนมาก แบ่งบทบาทหน้าที่กันตามความ
เหมาะสม แต่หากคนท�ำงานไร้ทักษะ ขาดความรกั ในองคก์ ร ไม่สามารถท�ำงาน
เปน็ ทีมได้ ตอ่ ให้มกี ลยุทธด์ เี ย่ยี มปานใดผลสมั ฤทธกิ์ ไ็ ม่อาจเกดิ ขึ้นมาได้
เปา้ หมายพฒั นาคนจงึ เปน็ โจทยห์ ลกั เบอื้ งหลงั การขบั เคลอื่ นสงั คมทส่ี ภา
พลเมอื งฯ ด�ำเนนิ การมาตลอดนบั ตง้ั แตเ่ กดิ เวทสี มชั ชาพงั งาแหง่ ความสขุ เหน็ ได้
จากการจดั สรรงบประมาณทไี่ ดร้ บั มาจากแหลง่ ทนุ นอกจากใชท้ �ำโครงการพฒั นา
ชุมชนแลว้ ส่วนหนึ่งจะถูกน�ำมาจดั กจิ กรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ เสรมิ ทักษะการ
ท�ำงานเป็นทีมอยู่เสมอ ผู้เขียนมีโอกาสเข้าสังเกตการณ์การประชุมเชิงปฏิบัติ
การเพื่อเตรียมความพร้อมคนท�ำงานของสภาพลเมืองฯ ซ่ึงถูกจัดขึ้นอย่างน้อย
3 ครงั้ ภายในระยะเวลา 4 เดอื นนับตงั้ แต่มกราคมถงึ เมษายน พ.ศ. 2561 ได้แก่
1) การอบรมหลักสูตรนักเปล่ียนแปลงสังคมสู่พังงาแห่งความสุข ส�ำหรับแกน
น�ำทีมยุทธศาสตร์จังหวัด มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมได้ทบทวนและ
หยง่ั รคู้ วามส�ำคญั ของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตนเองกบั คนในครอบครวั และเพอื่ น
ร่วมงาน 2) การอบรมการใช้สื่อแก่เครอื ขา่ ยสภาพลเมืองฯ ไดพ้ ัฒนาทักษะการ
สอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรคเ์ หมาะสมกบั ปจั จบุ นั สามารถดงึ จดุ เดน่ ของชมุ ชนตนเอง
ออกมาน�ำเสนอไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจ และ 3) การอบรมหลกั สตู รวิทยากรมืออาชีพ
พัฒนาทักษะวิทยากรจัดการท่องเท่ียวเพ่ือการเรียนรู้ภายในชุมชน กิจกรรม
เหลา่ นส้ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ แนวทางการยกระดบั องคก์ รโดยมงุ่ พฒั นาคนทส่ี ภาพลเมอื งฯ
ลงมือท�ำมาก่อนหน้าไดเ้ รยี นร้แู นวคิดองคก์ รแห่งการเรียนรู้ (learning organi-
zation) ในเวทพี ัฒนาศกั ยภาพฯ เสียด้วยซำ�้
แนวคดิ องคก์ รแห่งการเรียนรขู้ อง ปีเตอร์ เซงเก เช่อื วา่ ธรุ กจิ จะประสบ
ความส�ำเรจ็ ไมส่ ามารถพง่ึ พาความรคู้ วามสามารถของคนเพยี งคนเดยี ว แตอ่ งคก์ ร
จะต้องส่งเสริมให้ทุกคนเรียนรู้ไปด้วยกันโดยให้ความส�ำคัญกับองค์ประกอบ
5 ประการ คือ การคิดเชิงระบบ (systems thinking) เป็นเครอื่ งมอื ท�ำความ

สพู่ งั งาแหง่ ความสุข: เพราะจุดหมายไปถึงได้หลายเสน้ ทาง 283

เขา้ ใจเหตผุ ลและความสมั พนั ธข์ องสงิ่ ทกี่ �ำลงั ท�ำวา่ จะสง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ อน่ื ตอ่ ไป
อยา่ งไร จ�ำเปน็ ตอ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ขหรอื ไมห่ ากแผนงานไมเ่ ปน็ ไปตามทอี่ อกแบบไว้
ความช�ำนาญส่วนบุคคล (personal mastery) เกิดจากการยอมรับว่าแต่ละ
คนมีความสามารถแตกต่างกัน การท�ำงานที่ดีจึงเกิดจากการน�ำร่วมโดยค�ำนึง
ถงึ ความเชย่ี วชาญรายบคุ คล วธิ ีคดิ ขององคก์ ร (mental models) คอื สร้าง
วฒั นธรรมของทมี โดยการตรวจสอบวธิ คี ดิ ของปจั เจกทงั้ หมดแลว้ ระบคุ ณุ คา่ รว่ ม
เพอ่ื ก�ำหนดวถิ ปี ฏบิ ตั อิ งคก์ รขน้ึ มา การสรา้ งวสิ ยั ทศั น/์ เปา้ หมายรว่ ม (shared
vision) ทตี่ อ้ งเกดิ ขน้ึ จากการพฒั นาดว้ ยกนั ทงั้ หมด ไมไ่ ดม้ ที มี่ าจากใครคนใดคน
หนงึ่ และควรมกี ารปรบั ปรงุ ใหท้ นั สถานการณอ์ ยเู่ สมอ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั เปน็ ทมี
(team learning) คอื ทกุ คนรบู้ ทบาทหนา้ ทข่ี องตนเอง มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งาน
ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและองคก์ รควรมสี ภาพแวดลอ้ มทสี่ ง่ เสรมิ ใหท้ มี เกดิ การเรยี นรู้
รว่ มกนั ความเขา้ ใจเน้ือหาทฤษฎแี ละเหน็ ตวั อยา่ งกรณศี กึ ษาองค์กรทีป่ ระสบ
ความส�ำเร็จจากการเร่ิมต้นพัฒนาคนอย่างจริงจังซึ่งทีม SoC น�ำมาบอกเล่าให้
ฟงั สง่ ผลใหต้ วั แทนสภาพลเมืองฯ เกดิ ความเชื่อมัน่ ในแนวทางพัฒนาคนรุน่ ใหม่
ท่ีก�ำลังด�ำเนินอยู่ มองเห็นจุดที่ยังขาดตกบกพร่องเรื่องการสร้างความช�ำนาญ
สว่ นบคุ คลเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทกั ษะการถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นอยา่ งเปน็ ระบบ
เข้าใจง่ายแก่ผู้สนใจใคร่เรียนรู้ ตลอดจนวิธีการคิดเชิงระบบที่ค่อนข้างมีความ
ซับซ้อนและต้องการผู้เช่ียวชาญเข้าไปเพ่ิมเติมให้ เนื่องจากปัจจุบันยังให้ความ
ส�ำคัญการสร้างความเข้าใจในวิสัยทัศน์ร่วมและการท�ำงานเป็นทีมเสียเป็นส่วน
ใหญ่

284 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม

“ค�ำว่าคนรุ่นใหม่ส�ำหรับเราไม่ได้หมายถึงคนที่อายุน้อย แต่มัน
คอื คนหนา้ ตาใหมๆ่ ทเี่ ขา้ มาทำ� งานรว่ มกบั เราเพมิ่ มากขน้ึ เรอื่ ยๆ
จะเห็นว่าผู้เข้าร่วมอบรมแต่ละคร้งั คละกันท้งั เพศและวัย เราจะ
ออกแบบคัดเลือกเน้ือหาที่ช่วยพัฒนาองค์กรได้แล้วมาดูกันว่า
เหมาะกับคนกลมุ่ ไหน จากน้ันก็ประชาสมั พันธโ์ ดยมีโควต้าระบุ
วา่ แตล่ ะตำ� บลสามารถสง่ ผเู้ ขา้ รว่ มไดค้ ราวละกคี่ น เขากจ็ ะจดั สง่
รายชื่อผ้สู นใจมาให้เราเอง”

(ก�ำธร ขนั ธรรม. สัมภาษณ,์ 11 พฤศจิกายน 2560)

ภาพบรรยากาศการอบรมหลักสูตรนักเปล่ียนแปลงสงั คมส่พู งั งาแหง่ ความสุข (ซา้ ย) และการเปน็
วทิ ยากรมืออาชพี (ขวา)

(ทีม่ าของภาพ: ปณั ฑิตา จนั ทร์อร่าม)

สู่พังงาแห่งความสุข: เพราะจดุ หมายไปถงึ ไดห้ ลายเสน้ ทาง 285

จดุ ทีย่ ืนอยู่และเสน้ ทางทจี่ ะไป

กระดาษ Post-it แสดงผลงานผา่ นมานบั ร้อยแผน่ ถกู น�ำมาเรยี งต่อกัน
ตามเส้นแบ่งเวลาแต่ละปีคือผลพวงการทบทวนตัวเองเพื่อน�ำไปใช้เป็นข้อมูล
ออกแบบกลยุทธ์ ความเปลี่ยนแปลงตลอดเส้นทางท่ีสภาพลเมืองฯ สร้างผล
กระทบทางสงั คม (Social Impact) ปรากฏออกมามากมายหลายประเดน็ อาทิ
ด้านเศรษฐกิจ พัฒนากลุ่มอาชีพเกษตกรชาวสวนยางให้มีรายได้เพ่ิมข้ึนจาก
การออกแบบกลไกต่อรองราคายางกับพ่อค้าคนกลางด้วยวิธีการประมูล การ
ให้บรกิ ารเปน็ ท่ปี รกึ ษาทางการเงินแกส่ มาชิกกองทุนสวัสดิการชุมชน ด้านการ
ศึกษา จัดกิจกรรมเพ่มิ เตมิ องค์ความรแู้ ก่ชาวพังงาเพือ่ ใชข้ บั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์
พังงาแห่งความสุขและผู้สนใจใคร่เรียนรู้กระบวนการท�ำงานของสภาพลเมืองฯ
ผา่ นการฝกึ อบรมหลกั สตู รตา่ งๆ ดา้ นความมนั่ คงในทดี่ นิ ท�ำกนิ และทอ่ี ยอู่ าศยั
มีจ�ำนวนผู้ยากไร้ได้รบั การชว่ ยเหลือดแู ลซ่อมแซมบา้ นเรอื น 132 ครัวเรือน เกิด
แผนงานเชิงนโยบายใช้ต่อรองเรียกร้องความเป็นธรรมจากภาครัฐกรณีจัดสรร
พื้นทท่ี �ำกนิ เปน็ พืน้ ทปี่ ระกอบธุรกิจอยา่ งเข้าใจผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี มากข้นึ ด้าน
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร เกิดต�ำบลสามารถแยกขยะเองได้พร้อมท้ังน�ำขยะ
เหลา่ นนั้ เขา้ สกู่ ระบวนการผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ส์ �ำหรบั ใชใ้ นการเกษตรกรรมของชมุ ชน
ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เกิดเครือข่ายชุมชนเตรียมพร้อม
รับมือภัยพิบัติ 14 พ้ืนท่ีท่ัวจังหวัดพังงา พร้อมให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
พิบตั ิทางธรรมชาติทกุ รูปแบบ ด้านสวสั ดิการชุมชน มีจ�ำนวนสมาชิกไดร้ บั ให้
เงนิ สนับสนนุ ดแู ลกรณีคนในครอบครัว เกิด แก่ ตาย 28,000 ราย ด้านการสง่
เสริมสุขภาพชมุ ชนและคณุ ภาพชีวิตผูส้ งู อายุ เกดิ ต�ำบลปลกู ผกั ปลอดสารพษิ
ในครัวเรือนไว้บริโภคเอง ส่วนท่ีเหลือเกินความต้องการก็น�ำไปขายและแปรรูป
เปน็ ปน่ิ โตเพอ่ื สขุ ภาพ สรา้ งโรงเรยี นเกษยี ณวยั จดั การเรยี นการสอนหนงั สอื ตาม
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) ชว่ ยใหผ้ สู้ งู อายุ

286 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

มกี จิ กรรมท�ำรว่ มกนั ลดความตงึ เครยี ดของครอบครวั รายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยเหลา่
นีถ้ กู น�ำไปจัดระเบยี บใหม่ตามทฤษฎี Theory of Change (ToC) ช่วยแสดงมิติ
สมั พนั ธข์ องงานทก่ี �ำลงั ขบั เคลอื่ นกบั วสิ ยั ทศั นท์ ถ่ี กู วางเอาไวล้ ว่ งหนา้ เออื้ ใหเ้ หน็
กลุ่มเป้าหมาย สถานการณ์ปัญหา ภาพความส�ำเร็จท่ีองค์กรต้องการให้เกิดข้ึน
และกจิ กรรมทคี่ วรท�ำต่อไปในอนาคต

ตารางแสดงขอ้ สรปุ จากการวิเคราะหด์ ว้ ย Theory of Change ของทมี โต๊ะพงั งา
สพู่ ังงาแหง่ ความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ได้หลายเสน้ ทาง 287

พนี่ อ้ ยและพจ่ี แ้ี สดงทศั นะวา่ สภาพลเมอื งฯ ตอ้ งดแู ลงานขอบขา่ ยกวา้ ง
ขวางจนแทบไมเ่ คยมเี วลาถอยออกมาดภู าพรวมนกั เมอื่ ไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู องคก์ ร
ด้วย ToC ก็ช่วยให้เข้าใจว่านับต้ังแต่เกิดเครือข่ายสภาองค์กรชุมชน สมัชชา
พังงาแหง่ ความสุข จนกลายเปน็ สภาพลเมอื งพงั งาแหง่ ความสุข ประเด็นปญั หา
ระดบั ชมุ ชนทง้ั จงั หวดั ถกู สงั เคราะหใ์ หมก่ ลายเปน็ ยทุ ธศาสตรพ์ งั งาแหง่ ความสขุ
นโยบาย งบประมาณ การบรหิ ารจดั การจากทเ่ี คยแยกออกเปน็ ส่วนๆ กถ็ ูกรวม
ศนู ยเ์ ขา้ ด้วยกันส�ำหรับด�ำเนนิ กจิ กรรมหลกั 3 อย่าง คอื 1) พัฒนาคน 2) สรา้ ง
เครอื ข่ายความร่วมมือกับภาครัฐและภาคธรุ กจิ 3) จดั หางบประมาณกระจายสู่
ชุมชนอย่างเหมาะสม โดยกิจกรรมทั้งหมดมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกันคือผลักดันให้
ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง นอกจากนั้นยังพบว่าแผนงานระยะยาวหลายประการ
ไม่อาจส�ำเร็จลุล่วงสืบเนื่องจากอุปสรรคส�ำคัญคือองค์กรไม่สามารถสร้างราย
ได้ด้วยตนเองต้องพ่ึงพิงงบประมาณแบบปีต่อปีจากหน่วยงานอ่ืนซึ่งไม่อาจล่วง
รไู้ ด้วา่ จะถกู ระงับลงเมอ่ื ไหร่
เมอื่ เกดิ การรวมศนู ยบ์ รหิ ารงานเปน็ หนง่ึ เดยี วความซำ้� ซอ้ นของบทบาท
หน้าท่ีก็เกิดขึ้นเพราะคนท�ำงานแต่ละยุทธศาสตร์ต้องรับผิดชอบงานส่วนกลาง
กนั เอง ปญั หาขาดคนท�ำงานแบบเตม็ เวลา (full time) จงึ ถกู หยบิ ยกขน้ึ มาปรกึ ษา
หารอื กนั แมจ้ ะมอี าสาสมคั รเขา้ รว่ มนบั รอ้ ยคนแตก่ ลบั ไมม่ คี นดแู ลประสานงาน
ทถ่ี ูกผูกรวมเขา้ ด้วยกนั ท้งั หมดอยา่ งเต็มตวั เลย สาเหตุหลกั คอื องคก์ รไมอ่ าจน�ำ
เงนิ ทนุ ซงึ่ มที ม่ี าเพยี งชอ่ งทางเดยี วคอื งบประมาณด�ำเนนิ โครงการจากหนว่ ยงาน
ภาครฐั เชน่ สถาบนั พฒั นาองคก์ รชมุ ชน (พอช.) ส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มาจ่ายเป็นเงินเดือนให้ได้ รายได้ลักษณะน้ีจะถูกใช้
เป็นค่าเดินทางและค่าตอบแทนที่มอบให้กันเป็นครั้งคราวเมื่อต้องลงไปท�ำงาน
ในพ้ืนที่ ปจั จบุ นั ทีมงานท้ังหมดลว้ นมีอาชีพหลักของตนเองแลว้ ใชเ้ วลาวา่ งผลดั
เปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้ามาช่วยงานส่วนกลางตามความสะดวก เช่นจัดเตรียม
เอกสารการประชุม ตอบจดหมายราชการ จดั ตารางนัดหมายกิจกรรม เป็นตน้

288 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสังคม

สถานการณ์เช่นนี้ส่งผลให้สภาพลเมืองฯ ขาดแรงดึงดูดใจส�ำหรับคนรุ่นใหม่ไฟ
แรงที่คิดอยากท�ำงานเพื่อสังคมอย่างจริงจังขนาดยึดเป็นอาชีพเนื่องจากมองไม่
เห็นโอกาสสร้างความก้าวหน้าให้แก่ตนเองและครอบครัว การขาดศักยภาพใน
การหารายได้เข้าองค์กรจึงกลายเป็นสิ่งที่ต้องขบคิดหาทางแก้ ด้วยความเชื่อท่ี
วา่ หากท�ำใหค้ นพรอ้ มทมุ่ เทเวลาใหก้ บั งานภาคประชาสงั คมเตม็ ทแ่ี ลว้ ยงั ด�ำเนนิ
ชวี ติ อยา่ งปกตสิ ขุ ได้ วสิ ยั ทศั นพ์ งั งาแหง่ ความสขุ กจ็ ะถกู สานตอ่ อยา่ งยงั่ ยนื เหนอื
สงิ่ อน่ื ใดยงั เปน็ การสรา้ งอาชพี ใหก้ บั ลกู หลานไดก้ ลบั มาพฒั นาบา้ นเกดิ เมอื งนอน
อีกด้วย

“เราท�ำงานกันหลายประเด็นก็จริง แต่พอคล่ีออกมาทั้งหมดก็
เห็นได้ชัดว่าบทบาทหลักของสภาพลเมืองฯ คือเป็นผู้ประสาน
งาน เป็นการอ�ำนวยความสะดวกและสร้างพ้ืนที่ท�ำงานร่วมกัน
แต่กลายเป็นว่าเราไม่มีคนท�ำหน้าท่ีนี้แบบเต็มเวลาเลยทั้งๆ ท่ี
มนั ควรตอ้ งมี พเ่ี ชอื่ วา่ มเี ดก็ รนุ่ ใหมอ่ ยากกลบั บา้ นมาทำ� งานแบบ
นเ้ี ยอะ แต่ก็เข้ามาท�ำไมไ่ ด้เพราะเขาต้องท�ำมาหากิน ต้องมรี าย
ได้ ใหม้ าท�ำทั้งวนั โดยไมม่ ีคา่ ตอบแทนก็ไม่ไหว”

(ชาตรี มลู สาร. สมั ภาษณ์, 11 พฤศจกิ ายน 2560)

เม่ือไม่สามารถหารายได้มาดูแลองค์กรการด�ำเนินงานตามวิสัยทัศน์ก็
กระทบกระเทือนตามไปด้วย พี่ไมตรีอธิบายว่าสภาพลเมืองฯ มีงานต้องท�ำต่อ
เนอื่ งหลายอยา่ งแตไ่ มอ่ าจเกดิ ขน้ึ ไดเ้ พราะถกู ระงบั ทนุ เมอื่ นโยบายหรอื ผบู้ รหิ าร
ภาครัฐเปล่ียน บางสถานการณเ์ ล็งเหน็ วา่ ควรด�ำเนนิ การแก้ปญั หาดว้ ยแผนงาน
ท่ีออกแบบขึ้นเอง โครงการเหล่านั้นก็ต้องเป็นหมันเพราะไม่มีผู้สนใจให้ทุนซึ่ง
สะท้อนให้เห็นว่าองค์กรยังต้องท�ำงานตามวัตถุประสงค์หน่วยงานอื่นท่ีอาจไม่
ได้น�ำไปสู่เป้าหมายแท้จริงของตนเอง หากสามารถหารายได้มาบริหารจัดการ
ตนเองไดก้ จ็ ะช่วยใหเ้ กดิ อสิ ระในการท�ำงานเพิม่ มากขึน้ ด้วย

สพู่ ังงาแห่งความสุข: เพราะจดุ หมายไปถึงได้หลายเสน้ ทาง 289

“เราไม่มีทุนบริหารส�ำนักงานเลยไม่ว่าจะเป็นค่าเช่าสถานท่ี
ค่าแรงคนที่จะมาท�ำงานแบบเต็มเวลา พอไม่มีส�ำนักงานหน่วย
งานอื่นต้องการติดต่อกับเราก็ล�ำบากท�ำให้สถานะขององค์กรดู
ด้อยลงไปด้วย ย่ิงตอนนี้เรามีโครงการเยอะแต่ไม่มีคนประสาน
งานเคลียร์เอกสารเบื้องต้น กลายเป็นชาตรีต้องมาจัดการเรื่อง
น้ีทั้งที่มีงานยุทธศาสตร์อ่ืนต้องท�ำ เวลางานอาสาเลยไปเบียด
เวลางานหลักและเวลาครอบครวั ถา้ เรามคี นดแู ลเรื่องน้ีโดยตรง
ก็จะทำ� งานไดส้ ะดวกขนึ้ มาก”

(ไมตรี จงไกรจกั ร.์ สัมภาษณ์, 12 พฤศจกิ ายน 2560)
สถาบันพัฒนาการเรียนรู้พังงาแห่งความสขุ


ผลการวิเคราะห์ข้อมูลองค์กรที่ได้จาก ToC สะท้อนให้เห็นสถานะ
ปัจจุบัน จุดอ่อน จุดแข็งขององค์กรโดยเฉพาะปัญหาการขาดศักยภาพในการ
สร้างรายได้ด้วยตัวเองดูจะเป็นสิ่งที่ทีมโต๊ะพังงากังวลใจและเลือกหาทางแก้ไข
ด้วยแนวคิดการประกอบการสังคม ข้อค้นพบทั้งหมดถูกน�ำมาพิจารณาต่อด้วย
ทฤษฎหี ่วงโซ่ผลลัพธ์ (Impact Value Chain หรือ IVC) พน่ี ยุ้ สรา้ งประเด็น
การเรียนรู้ในจังหวะนี้ด้วยค�ำถามว่า “วิธีการท�ำงานที่ผ่านมาจะน�ำพาเราสู่เป้า
หมายไดห้ รอื ไมแ่ ละในระยะยาววสิ ยั ทศั นท์ เี่ ราวางไวจ้ ะเกดิ ขน้ึ ไดจ้ รงิ หรอื ” พรอ้ ม
ท้ังยกตัวอย่างผู้ประกอบการสังคมกรณีหนึ่งข้ึนมาแจกแจงที่มา/แรงบันดาล
ใจ วิธีวางแผนและกระบวนการท�ำงานโดยละเอียดต้ังแต่อดีตกระทั่งปัจจุบัน
วเิ คราะหใ์ หเ้ หน็ ว่าวสิ ัยทศั น์/เปา้ หมายจะสัมฤทธผิ์ ลได้จ�ำเป็นตอ้ งอาศัยผลผลติ
(output) กิจกรรม (activity) ปจั จัยน�ำเข้า (input) อะไรบา้ งเพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์
(outcome) ทตี่ อ้ งการ หลงั จากนนั้ จงึ ชกั ชวนสกดั ขอ้ มลู วงใน (insight) สง่ิ ทเ่ี ปน็
ความเชย่ี วชาญขององคก์ ร (expertise) ทนุ หรอื ทรพั ยส์ นิ (asset) ทอ่ี งคก์ รมเี พอื่

290 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม

สรา้ งกลยุทธแ์ ละแผนงานเร่งด่วนออกมา
การสกดั (extraction) สง่ิ ทอ่ี งคก์ รท�ำอยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ เวลานานเกดิ ผล
งานโดดเดน่ ชดั เจนท�ำใหพ้ บวา่ ตน้ ทนุ ส�ำคญั ทส่ี ภาพลเมอื งฯ มแี บง่ ออกไดเ้ ปน็ 3
อยา่ ง คอื 1) เครอื ขา่ ยทเ่ี ขม้ แขง็ เพราะสายสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งภาคประชาสงั คม
ภาครฐั และภาคธุรกิจ 2) ทรัพยากรธรรมชาตทิ อี่ ดุ มสมบรู ณเ์ ปน็ ทร่ี ู้จกั ระดบั
นานาชาติเหมาะสมกับการจัดการท่องเท่ียว และ 3) องค์ความรู้ฉบับชุมชน
อันมีท่ีมาจากความเข้าใจประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและรู้จักถ่ินที่อยู่ของตนเอง
เปน็ อยา่ งดี ชดุ ความรลู้ กั ษณะนม้ี คี วามแตกตา่ งไม่เหมอื นใครเพราะเกิดขน้ึ จาก
ประสบการณต์ รงของคนในพน้ื ท่ี เมอื่ น�ำมาพนิ จิ ความสมั พนั ธก์ บั ความเชยี่ วชาญ
ดา้ นการฝึกอบรมให้ความรแู้ กส่ งั คม แผนงานกอ่ ตั้ง “สถาบันพฒั นาการเรยี นรู้
พงั งาแหง่ ความสุข” จงึ กลายเป็นบทสรปุ สุดทา้ ยซ่ึงถกู กล่นั ออกมาเปน็ กลยุทธ์
เพื่อก้าวเทา้ ส่คู วามย่ังยนื

สพู่ ังงาแห่งความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ได้หลายเสน้ ทาง 291

ตารางแสดงขอ้ สรุปการสกัดข้อมูลวงใน
ความเชีย่ วชาญขององคก์ ร และทนุ หรือทรพั ย์สนิ ของทีมโต๊ะพงั งา
292 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม

สถาบนั พฒั นาการเรยี นรพู้ งั งาแหง่ ความสขุ คอื การตอ่ ยอดแผนงานเดมิ ที่
ถกู ออกแบบไวภ้ ายใตช้ อ่ื มหาวทิ ยาลยั พงั งาแหง่ ความสขุ โดยคาดหวงั วา่ จะชว่ ย
ยกระดบั การจดั การอบรมใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนและแกป้ ญั หาทวั รศ์ นู ยเ์ หรยี ญ
ด้วยการเพมิ่ ช่องทางกระจายรายได้จากการทอ่ งเทย่ี วสูช่ ุมชนไดม้ ากยง่ิ ขน้ึ สภา
พลเมอื งฯ ไดร้ บั การยอมรบั ทว่ั ประเทศวา่ เปน็ ตวั อยา่ งเครอื ขา่ ยภาคประชาสงั คม
ท่ีเข้มแข็ง งานพัฒนาชุมชนตามประเด็นยุทธศาสตร์ต่างๆ กลายเป็นแรงดึงดูด
หนว่ ยงานภาครฐั ทง้ั ภายในและภายนอกจงั หวดั ปลี ะมากกวา่ รอ้ ยคณะตดิ ตอ่ ขอดู
งานเพอื่ น�ำไปเปน็ ตน้ แบบพฒั นาพน้ื ทตี่ วั เองอยเู่ สมอ อยา่ งไรกต็ ามดว้ ยกลไกการ
ด�ำเนนิ งานขาดระบบการจดั การทดี่ บี า้ งกเ็ ปน็ การดแู ลผเู้ ขา้ มาขอศกึ ษาหาความรู้
แบบ “เพอ่ื นฝงู /คนรจู้ กั ” บา้ งกเ็ ปน็ แค่ “ทางผา่ น” ส�ำหรบั การเดนิ ทางตอ่ ไปยงั
สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วทางธรรมชาตขิ องคณะศกึ ษาดงู าน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ คอื ความไมเ่ ปน็
มอื อาชพี ดา้ นการฝกึ อบรมและบรหิ ารจดั การรายไดท้ งั้ จากสายตาผมู้ าเยอื นและ
คนในชมุ ชนดว้ ยกนั เอง
ในฐานะคนรจู้ กั ผลตอบแทนทไี่ ดร้ บั กลบั กลายเปน็ ของทรี่ ะลกึ มากมาย
ถกู วางกองไวใ้ นตกู้ ระจก การสละเวลางานและรายไดท้ พี่ งึ มจี ากอาชพี หลกั มาท�ำ
หนา้ ทว่ี ทิ ยากรจงึ กอ่ ความยงุ่ ยากแกป่ ราชญช์ มุ ชนมากกวา่ สรา้ งผลประโยชนใ์ ห้
หน่วยงานราชการบางกลุ่มไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับการศึกษาดูงานอย่างจริงจัง
เพียงเพราะขาดความเช่ือม่ันต้นทางองค์ความรู้ที่ไม่ได้ยืนอยู่บนหลักวิชาการ
ชดั เจน ความไมต่ รงตอ่ เวลาหรอื เขา้ มาแคพ่ อเปน็ พธิ เี พอ่ื เปา้ หมายการทอ่ งเทย่ี ว
พักผ่อนท�ำให้คนในชุมชนเสียเวลาคอยท่าโดยใช่เหตุ ซ้�ำร้ายบางกรณีติดต่อ
ประสานงานกันคลาดเคลื่อนกลายเป็นทีมงานสภาพลเมืองฯ ต้องควักทุนส่วน
ตวั เลย้ี งรบั รองแขกผมู้ าเยอื นสรา้ งความเดอื ดรอ้ นตอ่ คนท�ำงานเพอ่ื สว่ นรวมไมร่ ู้
จบ
การค้นพบว่าทุนท่ีตนมีสามารถน�ำมาต่อยอดเป็นการท่องเท่ียวเพ่ือ
การเรียนรู้ได้หากพัฒนาองค์ความรู้ท่ดี อี ยู่แลว้ ใหก้ ลายเป็นหลกั สูตรท่ีได้รับการ

สพู่ งั งาแหง่ ความสุข: เพราะจดุ หมายไปถึงได้หลายเส้นทาง 293

ยอมรับในเชิงวิชาการ พร้อมกับออกแบบแพคเกจท่องเที่ยวที่มีรายละเอียด
เวลา สถานที่ และอัตราค่าบริการเป็นธรรมชัดเจน ปรับปรุงจุดอ่อนเร่ืองการ
ประชาสมั พนั ธใ์ หเ้ ขา้ ถงึ กลมุ่ ผบู้ รโิ ภคไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การขาดงบประมาณ
ดูแลส�ำนักงานและพัฒนาศักยภาพวิทยากรน�ำเที่ยว รวมท้ังแก้โจทย์ส�ำคัญที่
ว่าจะท�ำอย่างไรให้คนในชุมชนรับรู้ศักยภาพที่ตนมีแล้วน�ำออกมาใช้ได้อย่าง
เต็มประสิทธิภาพพร้อมลุกขึ้นมาจัดการการท่องเที่ยวเพ่ือการเรียนรู้ด้วยตัวเอง
ผลลพั ธท์ เ่ี กดิ ขนึ้ อาจไมใ่ ชแ่ ค่กระจายรายไดส้ ชู่ มุ ชนแตย่ งั สร้างรายไดแ้ กส่ ภาพล
เมอื งฯ ไดอ้ ีกดว้ ย

“เราพยายามหาทางออกจากปัญหาข้อจ�ำกัดแหล่งทุนมานาน
แลว้ บางครงั้ มนั กเ็ หนอ่ื ยทจี่ ะตอ้ งรบี เรง่ เขยี นโครงการหาเงนิ มา
ท�ำงานให้ไดแ้ ต่ละปี เคยมีความคดิ จะทำ� มหาวิทยาลยั พงั งาแห่ง
ความสขุ เพอ่ื สรา้ งรายไดส้ ชู่ มุ ชนเพราะมคี นมาดงู านกบั ชาวบา้ น
เยอะ แตช่ าวบา้ นก็ไมเ่ คยไดร้ บั ผลตอบแทนใดๆ เป็นชิน้ เปน็ อนั
จนปัจจุบันก็ยังไม่ได้ด�ำเนินการเพราะยังไม่รู้ว่าจะต้องท�ำยังไง
เรายงั ไมม่ ีเคร่ืองมือไปสจู่ ดุ นนั้ ”

(ไมตรี จงไกรจักร์. สมั ภาษณ์, 12 พฤศจกิ ายน 2560)

294 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสงั คม

ตารางแสดงข้อสรปุ ทไี่ ดจ้ ากการวิเคราะห์ดว้ ยทฤษฎี
Impact Value Chain ของทมี โต๊ะพงั งา

สูพ่ งั งาแห่งความสขุ : เพราะจดุ หมายไปถงึ ไดห้ ลายเส้นทาง 295

ลงมือท�ำแบบพังงาแห่งความสขุ

ชุมชนคือต้นทาง

หลังจากเข้าใจประวตั ิความเปน็ มา สถานะปจั จบุ นั รวมทัง้ กลยทุ ธก์ าร
ท�ำงานเพอ่ื สรา้ งสถาบนั พฒั นาการเรยี นรฯู้ อยา่ งชดั เจนแลว้ ทอมไมร่ รี อทจ่ี ะนดั
หมายผเู้ ขยี นมาหารอื กนั วา่ จะเรม่ิ ตน้ ท�ำงานตอ่ ไปอยา่ งไร เจตจ�ำนงของเขาชดั เจน
ว่าแม้จะมีหน้าที่เป็นโค้ชคอยให้ค�ำแนะน�ำโดยตรงแต่ก็ไม่ต้องการให้แผนงาน
เกดิ ข้ึนจากเขาและทีม SoC เพยี งฝา่ ยเดียว ด้วยเชือ่ ว่าคนในย่อมมคี วามเข้าใจ
พน้ื ท่ี มองเห็นโอกาส อุปสรรคและความเส่ียงไดร้ อบดา้ นกว่าคนนอก เชน่ เดียว
กบั ตวั แทนสภาพลเมอื งฯ ทแี่ สดงความปรารถนาชดั เจนวา่ ตอ้ งการใหช้ าวบา้ นมี
สว่ นรว่ มวางรากฐานสถาบนั พฒั นาการเรยี นรแู้ หง่ นใี้ หม้ ากทส่ี ดุ หลกั การพฒั นา
โปรแกรมการทอ่ งเที่ยวเพือ่ การเรยี นรจู้ งึ เกิดข้นึ บนขอ้ ตกลงรว่ มกันวา่ “ชุมชน
คือต้นทางของความคิด” กล่าวอีกนัยหนึ่งมันคือการด�ำเนินงานที่เน้นการมี
ส่วนร่วมอย่างจริงจังระหว่างอาสาสมัครภาคธุรกิจกับคนในชุมชนซ่ึงมีขั้นตอน
แบ่งออกได้ 4 ระยะคือ 1) คดั เลือกและส�ำรวจพนื้ ที่ 2) จดั ท�ำหลกั สูตรการทอ่ ง
เทย่ี วเพอ่ื การเรยี นรู้ 3) เตรยี มคนท�ำงาน และ 4) ทดลองใชโ้ ปรแกรมท่องเทย่ี ว
ผลผลิตสดุ ท้ายของแผนงานทั้ง 4 ระยะคอื เกิดหลกั สตู รการท่องเทีย่ วเพอ่ื การ
เรยี นรทู้ มี่ คี วามนา่ เชอ่ื ถอื ในเชงิ วชิ าการและแพคเกจการทอ่ งเทยี่ วทผี่ า่ นการคดิ
ค�ำนวณรายรบั รายจา่ ยอยา่ งเปน็ ระบบตามหลกั การประกอบการสงั คม สามารถ
น�ำไปใชร้ ะดมทนุ เขา้ สชู่ มุ ชนและสภาพลเมืองฯ ได้ปลี ะไม่ตำ่� กวา่ 1.7 ลา้ นบาท
รายไดท้ ั้งหมดจะถกู น�ำไปใชบ้ รหิ ารจัดการส�ำนักงาน สร้างทีมขบั เคลื่อนสถาบัน
พฒั นาการเรยี นรฯู้ ทวั่ พน้ื ทจ่ี งั หวดั พงั งาจ�ำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ 455 คนภายในระยะ
เวลา 10 ปี ตวั เลขเหลา่ นถี้ อื เปน็ ความทา้ ทายและแรงบนั ดาลใจชน้ั ดขี องทมี โตะ๊
พังงา

296 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม

จงั หวดั พงั งามแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วอดุ มสมบรู ณ์ หลายพนื้ ทมี่ ผี นู้ �ำชมุ ชนมาก
ความสามารถเหมาะส�ำหรับน�ำมาเป็นส่วนสร้างสรรค์องค์ความรู้สู่สังคมของ
สถาบันพัฒนาการเรียนรู้ฯ แต่ด้วยระยะเวลาจ�ำกัดพี่ไมตรี พ่ีน้อย และพ่ีจ้ี จึง
ปรึกษาหารือกันเพื่อคัดเลือกพื้นท่ีน�ำร่องใช้เป็นจุดเริ่มต้นพัฒนาหลักสูตรซ่ึงมี
เกณฑก์ ารพจิ ารณา คอื 1) ตอ้ งเปน็ พน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสมส�ำหรบั การศกึ ษาดงู านคอื มี
กจิ กกรรมโดดเดน่ และผนู้ �ำชมุ ชนพรอ้ มถา่ ยทอดประสบการณอ์ งคค์ วามรโู้ ดยตรง
2) มสี ถานทท่ี อ่ งเทย่ี วดงึ ดดู ใจ เดนิ ทางสะดวกพกั ผอ่ นสบาย สรา้ งรายไดส้ ชู่ มุ ชน
อยา่ งแทจ้ ริง และ 3) มีแนวโนม้ ว่าคนในชมุ ชนจะถกู พฒั นาใหก้ ลายเปน็ ผู้ดแู ล
จัดการท่องเท่ียวทั้งระบบได้ด้วยตนเองเพ่ือเตรียมการต่อยอดผลลัพธ์ท่ีงอกเงย
ให้ขยายส่พู ื้นที่อืน่ ๆ เมื่อทมี งานโครงการผู้น�ำฯ ถอนตัวออกไป ทา้ ยทส่ี ดุ ก็ได้
ต�ำบลเครอื ขา่ ย 7 แหง่ ท่ีเหน็ วา่ มีคุณสมบตั ิครบถว้ นคอื ต�ำบลโคกเจริญ ต�ำบล
มะรุ่ย จากอ�ำเภอทบั ปดุ ต�ำบลรมณยี ์ จากอ�ำเภอกะปง ต�ำบลบางมว่ ง จาก
อ�ำเภอตะกว่ั ป่า ต�ำบลทุ่งมะพรา้ ว จากอ�ำเภอทา้ ยเหมือง ต�ำบลเกาะยาวน้อย
จากอ�ำเภอเกาะยาว และ ต�ำบลเกาะปนั หยี จากอ�ำเภอเมอื ง
ทอมลงพ้ืนท่ีเก็บรวบรวมข้อมูลร่วมกับเครือข่ายสภาพลเมืองฯ และผู้
เขียนโดยมีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1) ท�ำความรู้จักผู้น�ำหรือปราชญ์ชาว
บา้ นผู้เปน็ จดุ ดงึ ดดู ให้เกิดการศกึ ษาดูงานประเดน็ ต่างๆ ข้ึนในชุมชน 2) ศกึ ษา
กิจกรรมศึกษาดูงานแต่ละประเด็นเพ่ือวิเคราะห์รูปแบบกระบวนการถ่ายทอด
องคค์ วามรู้ 3) เยยี่ มชมสถานทท่ี อ่ งเทย่ี ววา่ มจี ดุ ดงึ ดดู ใจนกั ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งไรบา้ ง
และ 4) สรา้ งความเข้าใจแนวทางการท�ำงานของสถาบนั พฒั นาการเรยี นรฯู้ แก่
คนในพน้ื ทก่ี อ่ นน�ำขอ้ มลู ทงั้ หมดมาจดั หมวดหมจู่ นไดข้ อ้ สรปุ โดยสงั เขปตามพนื้ ที่
ต่างๆ ดังต่อไปน้ี

ส่พู งั งาแห่งความสุข: เพราะจุดหมายไปถึงไดห้ ลายเส้นทาง 297

ตารางแสดงข้อมลู ชมุ ชนต�ำบลโคกเจริญ อ�ำเภอทับปดุ
298 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม

ตารางแสดงขอ้ มูลชุมชนต�ำบลมะรุ่ย อ�ำเภอทับปุด
สูพ่ งั งาแหง่ ความสขุ : เพราะจุดหมายไปถงึ ไดห้ ลายเส้นทาง 299

ตารางแสดงข้อมลู ชุมชนต�ำบลรมณีย์ อ�ำเภอกะปง
300 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม


Click to View FlipBook Version