The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกณฑ์มาตรฐานสำหรับการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสียอันตรายภาคอุตสาหกรรม

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wastewp.56, 2022-09-06 11:37:28

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีทั่วไป และหลักเกณฑ์มาตรฐาน AI

เกณฑ์มาตรฐานสำหรับการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสียอันตรายภาคอุตสาหกรรม

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Keywords: เกณฑ์,ของเสีย,กรมโรงงาน

หลกั เกณฑม าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที วั่ ไป

และหลักเกณฑมาตรฐานเฉพาะสาํ หรบั การเขา สรู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ

โครงการพฒั นาและยกระดับผปู ระกอบการจดั การ

ของเสยี อนั ตรายภาคอุตสาหกรรม

กองบรหิ ารจดั การกากอตุ สาหกรรม
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม

คำนำ

การขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมภายในประเทศ ทำให้มีการเพ่ิมข้ึนท้ังจำนวนโรงงานและ
ประเภทอุตสาหกรรมที่หลากหลายกิจการ เป็นผลให้โรงงานที่รับจัดการกากอุตสาหกรรมซึ่งเป็นอุตสาหกรรม
ขั้นสุดท้ายในการจัดการกากของเสียได้มีการขยายตัวเพ่ิมขึ้นทั้งในส่วนจำนวนโรงงานและความหลากหลาย
ของกิจการ ประกอบกับความรู้และเทคโนโลยีในการจัดการกับของเสียจากภาคอุตสาหกรรมได้มีการพัฒนา
มากข้ึน โดยมุ่งไปสู่การนำกากของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ ให้มากท่ีสุดและพยายามให้มี
กากของเสียท่ีถูกส่งไปบำบัด กำจัดน้อยที่สุด ในปัจจุบันมีจำนวนโรงงานที่รับจัดการกับกากอุตสาหกรรม
มากกว่า 3,000 โรงงาน และมีหลายประเภทกิจการหรือวิธีจัดการกับกากอุตสาหกรรม เพ่ือให้สอดคล้อง
กบั ปริมาณกากของเสียที่เกิดมากข้ึน

การประกอบกิจการของโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม ถือเป็นกิจการอุตสาหกรรมท่ีสำคัญซ่ึงภาครัฐ
ควรให้การส่งเสริมและสนับสนุน เนื่องจากช่วยให้กากของเสียที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมได้รับการจัดการ
อยา่ งเหมาะสมตามหลักการทางวชิ าการ ก่อให้เกดิ ผลกระทบต่อสิง่ แวดลอ้ มน้อยที่สุด อยา่ งไรก็ตาม หากโรงงาน
อุตสาหกรรมขาดวิธีการปฏิบัติงานท่ีถูกต้องหรือไม่มีมาตรฐานที่ดี จะมีโอกาสสูงมากท่ีกากของเสียซ่ึงโรงงาน
รับเข้ามาดำเนินการ และมลพิษท่ีเกิดจากกระบวนการดำเนินการของโรงงานเอง จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดลอ้ มและคณุ ภาพชวี ติ รวมถงึ ความปลอดภัยตอ่ ชวี ิตและทรัพยส์ ินของประชาชนอีกด้วย

ดังน้ัน กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงต้องการยกระดับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมที่มีการประกอบ
กจิ การในปัจจุบัน ดว้ ยการส่งเสรมิ สนับสนุนทางวิชาการให้โรงงานมีมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดี เพื่อลดโอกาส
ท่ีโรงงานหรือการประกอบกิจการของโรงงานจะเป็นสาเหตุในการก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบสิ่งแวดล้อม
และคุณภาพชีวิต รวมถึงความปลอดภัยต่อคุณภาพชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ในการน้ี กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม จึงได้จัดทำ “หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีท่ัวไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ
สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI) เพื่อให้โรงงานอุตสาหกรรมที่ให้บริการรับบำบัด/กำจัด
สิ่งปฏิกูลหรอื วสั ดุทีไ่ มใ่ ช้แลว้ นำไปใช้เปน็ แนวทางในการปฏิบตั งิ านภารกจิ ตา่ งๆ ต่อไป

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
สงิ หาคม 2565

สารบัญ

มาของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ 1
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

องคป์ ระกอบและโครงสรา้ งของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี 3
สำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม
3
2.1 คำจำกดั ความของหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดี 3
2.2 องคป์ ระกอบของหลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทด่ี ี 3
2.3 ประเภทของหลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดี
2.4 ขอบเขตของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีดที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ 6

สำหรบั การเขา้ ส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) 7
2.5 ระดบั ความสำคญั ของข้อกำหนดการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ี 10
2.6 การนำหลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดไี ปประยกุ ต์ใชใ้ นโรงงาน

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ 12
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั โรงงานคดั แยกสงิ่ ปฏกิ ลู
หรอื วสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ทไ่ี มเ่ ปน็ ของเสยี อนั ตราย

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ 34
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั โรงงานรบั รไี ซเคลิ
และบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้

สารบัญรปู

1 โครงสร้างของหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ี 5
6
2 เขตบเขตของหลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีท่วั ไป 9
และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะสำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)
11
3 เปรยี บเทียบขอ้ กำหนดวิธกี ารปฏบิ ัตงิ านในสว่ นท่ี 1 การประเมินการรับสิ่งปฏิกลู
หรอื วสั ดุทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ข้นั ตน้ ระหวา่ งโรงงานคดั แยกสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุที่ไม่ใชแ้ ลว้ ทีไ่ มเ่ ปน็ ของ
เสยี อันตรายกบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจัดสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ่ีไม่ใช้แลว้

4 ข้นั ตอนการนำหลกั เกณฑ์มาตรฐานวธิ ีการปฏบิ ัติงานทด่ี ีไปใช้
เพอื่ การยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของโรงงาน

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ดี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม ii

ทม่ี าของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

ในปีนี้กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีนโยบายท่ีจะ เกณฑ์การตรวจประเมินสำหรับโรงงานท่ียื่นขอ
ผลักดันโรงงานที่เคยเข้าร่วมโครงการแล้วแต่ยัง การรับรองเพื่อเข้าสู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI)
ไม่ได้เข้าสู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ และโรงงาน จะถูกพัฒนามาจากเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ที่ยังไม่เคยเข้าร่วมโครงการให้มีการพัฒ นา ที่ดีทั่วไปท้ัง 2 ประเภทเกณฑ์ คือ เกณฑ์มาตรฐาน
ปรับปรุงการดำเนินงานให้ได้มาตรฐานท่ีดีจนเข้าสู่ การปฏิบัติงานท่ีดีสำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูล
ระบบการให้อนุญาตอัตโนมัติได้ จึงกำหนดกรอบ หรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย และ
แนวทางการจัดทำระบบการตรวจประเมินสำหรับ เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีสำหรับโรงงาน
การให้การรับรองผู้บำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ รีไซเคิล และบำบัด/กำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่
ท่ี ไ ม่ ใ ช้ แ ล้ ว ไ ว้ ใ น ข้ อ ก ำ ห น ด ง า น โ ค ร ง ก า ร ใ น ใช้แล้ว ซึ่งได้มีการนำไปใช้เป็นเครื่องมือสำหรับ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพ่ือจะนำไปใช้ในการ การตรวจประเมินแก่โรงงาน โดยที่เกณฑ์มาตรฐาน
พฒั นาเป็นเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ การปฏิบัติงานที่ดีท่ัวไปท่ีได้มีการทำการทบทวน
ระบบอนุญาตอัตโนมัติในปีถัดไป แต่เน่ืองจาก ปรับปรุงแล้วจะมีความสัมพันธ์กันตั้งแต่ขั้นตอน
กรอบแนวทางในปีที่ผ่านมายังไม่มีการประกาศใช้ การปฏิบัติงานทั้ง 10 ส่วน และประเภทกิจกรรม
เพ่ือตรวจประเมินให้การรับรองแก่โรงงานที่รับ ของโรงงานที่เข้าร่วมโครงการซึ่งต้องมีชนิดและ
จัดการกากอุตสาหกรรมสำหรับการขออนุญาต ประเภทของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และ
อัตโนมัติภายใต้หลักเกณฑ์และข้อกำหนดของ วิธีการกำจัดให้เป็นไปตามประกาศกรมโรงงาน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม ในปีน้ีจึงได้ทำการทบทวน อุตสาหกรรม เร่ือง การกำหนดชนิดและประเภท
กรอบแนวทางเดิมที่ได้มีการจัดทำไว้ร่วมกับการ ของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว และวิธีการกำจัด
ทบทวนเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีท้ัง 2 สำหรับการขออนุญาต และการอนุญาตให้นำ
ประเภทเกณฑ์ คอื เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงาน สงิ่ ปฏิกูลหรอื วัสดุที่ไม่ใชแ้ ล้วออกนอกบริเวณโรงงาน
ท่ีดีสำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ แบบอัตโนมัติผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2561
ใช้แล้วท่ีไม่เป็นของเสียอันตราย และเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้ ข้อกำหนดในเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับ
การปฏิบัติงานที่ดีสำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และ การเข้าสู่ระบบอนุญาตอัตโนมัตทิ ่ีจะใช้นำร่องในการ
บำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีไม่เป็น ตรวจประเมินโรงงานในปีน้ี จะมุ่งเน้นข้อกำหนด
ของเสียอันตราย (เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงาน ที่เป็นข้อบังคับทางกฎหมาย ข้อกำหนดท่ีมีระดับ
ที่ดีท่ัวไป) เพื่อนำไปพัฒนาเป็นแนวทางในการ นัยสำคัญสูง (ระดับ 3 และระดับ 2) และข้อกำหนด
จัดทำเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ เพ่ิมเติมเฉพาะ AI ซ่ึงเป็นข้อกำหนดท่ีโรงงานจะต้อง
ระบบอนุญาตอัตโนมัติเพ่ือนำร่องสำหรับการตรวจ ปฏิบัติให้สอดคล้องท้ังหมด จึงจะสามารถเข้าสู่
ประเมินโรงงานท่ีต้องการเข้าสู่ระบบการอนุญาต ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI) ได้
อัตโนมตั ิ (AI) ในปนี ้ี

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทีด่ ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 1

อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะฯ ซ่ึงจะถูกนำใช้เป็นเครื่องมือในการกลั่นกรองโรงงานท่ีมี
มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีในระดับท่ีเทียบเท่ากับคุณสมบัติผู้ขอรับการรับรองเพ่ือเข้าสู่ระบบการอนุญาต
อัตโนมัติ (AI) ท่ีกรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด จึงมีแนวทางในการพัฒนาข้อกำหนดที่เป็นเกณฑ์มาตรฐาน
เฉพาะสำหรับการเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI) ดังน้ี

เป็นข้อกำหนดท่ีพัฒนามาจากเกณฑ์ท่ีเป็น เป็นข้อกำหนดเฉพาะท่ีเพ่ิมเติมสำหรับ AI
ข้อกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีท้ัง 2 เพื่อให้ครอบคลุมเกณ ฑ์ข้อกำหนดของ
ประเภทเกณฑ์ ได้แก่ เกณฑ์มาตรฐานการ อตุ สาหกรรมสีเขียว ระดบั ท่ี 3
ปฏิบัติงานสำหรับโรงงานคัดแยกส่ิงปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย 42
และเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานสำหรับ
โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสง่ิ ปฏิกูล เป็นข้อกำหนดท่ีพัฒนาจากข้อกำหนดฯ ที่มี
ระดับความสำคญั ระดบั 3 และระดบั 2 ได้แก่
31หรือวัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ ข้อกำหนดฯ ที่เป็นกฎหมายอื่นๆ ซึ่งไม่ใช่
ข้อบังคบั ตามกฎหมายในขอ้ 3) และข้อกำหนดฯ
เป็นข้อกำหนดท่ีพัฒนาจากข้อกำหนดฯ ที่เป็น ท่ีไม่เป็นข้อกฎหมาย แต่หากไม่ปฏิบัติอาจมี
ข้อบังคับตามกฎหมายภายใต้พระราชบัญญัติ ผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของบุคคล
โรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติโรงงาน ภายนอก
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติ
วตั ถอุ ันตราย พ.ศ. 2535

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 2

องค์ประกอบและโครงสรา้ งของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี
สำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม

2.1 คำจำกดั ความของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีทั่วไป ดังนั้นหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดี

และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ ทั่วไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการ

ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI) ได้จัดทำขึ้นสำหรับ เข้าสู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI) จึงประกอบด้วย

โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม ประกอบด้วย หลายข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานเพ่ือให้ครอบคลุม

ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานในข้ันตอนต่างๆ ของ ในทุกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีความเส่ียงต่อการ

การประกอบกิจการโรงงาน ซ่ึงโรงงานควรนำไป เกิดอันตราย หรือเส่ียงต่อการก่อให้เกิดผลกระทบ

ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อยกระดับ ในด้านต่างๆ โดยท่ีข้อกำหนดบางส่วนอาจเป็นข้อ

การปฏิบัติงานให้มีมาตรฐานท่ีดีข้ึนทั้งในด้านการ กฎหมายท่ีโรงงานต้องปฏิบัติอยู่แล้ว และส่วนท่ีเป็น

ปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง การลดผลกระทบ หลกั ปฏิบตั ิที่ดีสำหรับการปฏิบัติงาน

ต่อสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ของพนักงานและประชาชน รวมถึงการสร้าง

ความสัมพันธ์ท่ีดีต่อสังคมและชุมชน โดยการลด

โอกาสท่ีโรงงานจะก่อให้เกิดผลกระทบในด้าน

ตา่ งๆ เหล่านใี้ ห้เหลอื น้อยทีส่ ดุ

2.2 องคป์ ระกอบของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี
หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีสำหรับการให้บริการบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ประกอบด้วย ข้อกำหนดในการตกลงรับเข้ามาดำเนินการในโรงงาน การขนส่ง รับและเก็บกักก่อนนำเข้าสู่
กระบวนการต่อไป การคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว การรีไซเคิล การบำบัด/กำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ
ทไ่ี ม่ใช้แลว้ จนกระทั่งการบำบัด กำจัดมลพษิ ที่เกดิ จากการจดั การกากอุตสาหกรรม โดยครอบคลุมทุกประเภท
กิจการจัดการกากอุตสาหกรรมที่มีการดำเนินงานในเชิงอุตสาหกรรมที่ขึ้นทะเบียนโรงงานในลำดับประเภทท่ี
101, 105 และ 106 รวมถงึ โรงงานลำดบั ประเภทอ่นื ๆ ที่มกี ารรบั กากอุตสาหกรรมเข้ามาเปน็ วตั ถุดิบ

2.3 ประเภทของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ี
หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีท่ัวไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ

การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) สำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมในประเทศไทย จำแนกออกเป็น 2 ประเภท
ไดแ้ ก่

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 3

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี สี ำหรบั โรงงานคดั แยกสงิ่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้
ท่ไี มเ่ ปน็ ของเสียอนั ตราย
ครอบคลุมลักษณะกิจการของโรงงานซึ่งเป็นการรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานอุตสาหกรรม
มาทำการคัดแยกเป็นวัสดุประเภทต่างๆ เพ่ือใช้ประโยชน์ต่อ โรงงานประเภทนี้ถือเป็นกลุ่มท่ีมีจำนวนมากที่สุด
ของโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมในประเทศไทยในปัจจุบัน โดยส่วนใหญ่เป็นโรงงานขนาดเล็ก ลักษณะของ
การประกอบกิจการจะใช้แรงงานคนในการคัดแยกส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วด้วยวิธีการท่ไี ม่ซับซ้อนและไม่มี
การแปรรูปหรือผ่านกระบวนการทางอุตสาหกรรมเป็นผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ อีกท้ังส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
ทีเ่ กดิ จากกระบวนการคัดแยกมปี รมิ าณไม่มาก และไม่ใชส่ ิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดุท่ไี มใ่ ช้แล้วท่เี ปน็ อนั ตราย
หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ สี ำหรับโรงงานรับรไี ซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏิกูล
หรอื วัสดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้
ครอบคลุมลักษณะกิจการของโรงงานซ่ึงเป็นโรงงานรับบำบัดน้ำเสียรวมสำหรับน้ำเสียจากโรงงาน
อุตสาหกรรม โรงงานกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วโดยวิธีการฝังกลบ โรงงานท่ีรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่
ใช้แล้วเข้ามาเผาในเตาเผา และโรงงานท่ีรับรีไซเคิลส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วทุกประเภท ซึ่งรวมถึงโรงงาน
บดย่อยช้ินส่วนอุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า และช้ินส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยโรงงานอุตสาหกรรมในกลุ่มนี้
จะรับเอาส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ท้ังที่เป็นของเสียอันตรายและไม่เป็นของเสียอันตรายเข้ามาดำเนินการ
กระบวนการท่ีใช้จัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจะมีความยุ่งยากซับซ้อนข้ึน และมีการใช้งานเคร่ืองจักร
ค่อนข้างมาก หลายข้ันตอน การปฏิบัติงานจึงมีความเส่ียงในการก่อให้เกิดอันตรายหรือส่งผลกระทบที่รุนแรง
หากมวี ธิ ีการปฏิบัติงานท่ไี ม่เหมาะสม
ทัง้ นี้ โครงสร้างของหลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ี แสดงดงั รปู ที่ 1

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานที่ดีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 4

ข้ันตอนหลกั หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ขสี ้นัำหตรอบั
คดั แยกสงิ่ ปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ ทไ่ี มเ่ ปน็ ของ
การตกลงรับสงิ่ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดุท่ี สว่ นที่ 1 การประเมนิ การรับสิ่งปฏิกูลหรือวสั ดุทไี่ ม่ใช
ไมใ่ ชแ้ ลว้ เขา้ มาดำเนนิ การในโรงงาน
สว่ นที่ 2 การขนสง่ สงิ่ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ กรณโี ร
การขนส่งสงิ่ ปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใชแ้ ล้ว และขนสง่ หรอื เปน็ ผู้แต่งตง้ั ตวั แทน
มายังโรงงาน
ส่วนท่ี 3 การรับสิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้วเข้ามาไว
การรบั และเกบ็ กกั สิ่งปฏิกลู ส่วนที่ 4 การจัดเกบ็ ส่ิงปฏิกลู หรอื วัสดทุ ่ีไมใ่ ช้แล้วไวใ้ นพ
หรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ กอ่ นนำไป
เพือ่ รอนำเขา้ สกู่ ระบวนการคดั แยก
เขา้ กระบวนการ

การคดั แยก รีไซเคลิ สว่ นที่ 5 การคัดแยกสิ่งปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ไี่ มใ่ ช้แลว้
และบำบดั /กำจดั สว่ นที่ 6 การลดขนาดหรอื บีบอัดวัสดุทคี่ ัดแยกแลว้
ส่วนที่ 7 การจดั เกบ็ วสั ดุทค่ี ดั แยกแลว้ เพื่อรอส่งไปใหแ้
การบำบดั /กำจดั มลพษิ ประโยชน์
ทเ่ี กดิ จากการจดั การของเสีย
ส่วนที่ 8 ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณปู การอ่นื ๆ ใ
สว่ นท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภ

ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
ส่วนท่ี 10 การสื่อสารต่อสาธารณะและความรบั ผดิ ชอบ

หมายเหตุ : * ขอ้ กำหนดวิธกี ารปฏบิ ตั ิงานทีด่ สี ำหรับกระบวนการรบั บำบดั นำ้ เสยี รวมสำหรบั น้ำเสยี จากโรงงานอ

 รปู ที่ 1 โครงสรา้ งของหลักเกณ

อบนโหรลงงกั าน หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ สี ำหรบั โรงงาน
งเสยี อนั ตราย รบั รไี ซเคลิ และบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้
ชแ้ ลว้ ขั้นต้น ส่วนที่ 1 การประเมินการรับส่ิงปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ขนั้ ต้น

รงงานเปน็ ผรู้ วบรวม สว่ นท่ี 2 การขนสง่ สงิ่ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ กรณโี รงงานเป็นผรู้ วบรวม
ว้ในบริเวณโรงงาน และขนสง่ หรือเปน็ ผู้แต่งตง้ั ตวั แทน
พน้ื ที่เกบ็ กาก
สว่ นท่ี 3 การรบั สิ่งปฏิกูลหรือวสั ดทุ ่ีไม่ใชแ้ ล้วเขา้ มาไว้ในบรเิ วณโรงงาน
แกผ่ ู้ทจี่ ะนำไปใช้ ส่วนที่ 4 การจัดเกบ็ สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุทีไ่ มใ่ ชแ้ ล้วไวใ้ นพนื้ ท่เี กบ็ กาก
เพอื่ รอนำเขา้ สกู่ ระบวนการรไี ซเคลิ และบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏิกลู
หรอื วสั ดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ลว้

ส่วนที่ 5 การกำจัดส่งิ ปฏิกูลหรอื วสั ดุที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ โดยวิธกี ารฝังกลบ
สว่ นท่ี 6 การบำบัด/กำจดั สิง่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ โดยการเผาในเตาเผา
สว่ นท่ี 7 การรีไซเคิลสิง่ ปฏิกูลหรือวสั ดุท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้

ในโรงงาน สว่ นท่ี 8* ระบบบำบดั มลพษิ และสาธารณปู การอน่ื ๆ ในโรงงาน
ภัย และการจัดการ สว่ นท่ี 9 การจดั การดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจดั การ

บต่อสังคม ด้านสงิ่ แวดล้อม
สว่ นท่ี 10 การส่ือสารตอ่ สาธารณะและความรับผิดชอบตอ่ สังคม

อุตสาหกรรม ขอ้ กำหนดท่ี 8.5 จะรวมอยู่ในข้อกำหนดวิธีการปฏิบตั งิ านทด่ี สี ำหรับระบบบำบดั มลพษิ ของโรงงาน

ณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานที่ดี 

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 5

2.4 ขอบเขตของหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)
การประกอบกิจการของแต่ละประเภทโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม เป็นการนำกากของเสียจากโรงงาน

ผู้ก่อกำเนิดมาดำเนินการคัดแยก รีไซเคิล และบำบัด กำจัดในโรงงาน โดยในภาพรวมของการประกอบกิจการ
โรงงานจำแนกออกเป็น 5 ขั้นตอนหลัก เรม่ิ ตั้งแต่

(1) การตกลงรบั กากของเสียเข้ามาดำเนนิ การในโรงงาน
(2) การขนส่งกากของเสียมายังโรงงาน
(3) การรบั และเก็บกกั กากของเสียก่อนนำไปผา่ นกระบวนการตา่ งๆ
(4) การคดั แยก รไี ซเคิล และบำบัด กำจัดกากอตุ สาหกรรม
(5) การบำบัด กำจัดมลพิษและติดตาม ตรวจสอบผลกระทบจากการดำเนนิ งานของโรงงาน

แสดงดงั รปู ที่ 2

ของเสยี
จากโรงงาน
ผกู้ ่อกำเนิด

การควบคุม ป้องกันและตรวจติดตามผลกระทบจากกระบวนการของโรงงาน ตรวจสอบลักษณะ ขนสง่ มายังโรงงานผรู้ ับ ตรวจสอบรับสิง่ ปฏกิ ูลหรือ
่ีทอาจ ีมผล ่ตอสุขภาพอนา ัมยและความปลอด ัภยของพนักงาน และประชาชน ั่ทวไป ของเสยี ในเบือ้ งต้น และ บำบดั กำจดั วสั ดุที่ไม่ใช้แล้วและเก็บกกั
การตกลงรับของเสยี รอนำเข้าสู่กระบวนการ

กระบวนการคดั แยก รีไซเคิล และบำบัด/กำจดั ส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดุท่ีไมใ่ ช้แล้ว

บำบัด กำจดั ของเสียหรอื มลพิษที่เกดิ จากการจัดการสิ่งปฏกิ ลู หรอื วัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ลว้

 รปู ที่ 2 เขตบเขตของหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดีทั่วไป
และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI) 

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ีดีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 6

2.5 ระดบั ความสำคญั ของขอ้ กำหนดการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ี ภายนอกก็จะแตกต่างกันมากระหว่างกากของเสีย
ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีทั่วไป และ ที่เป็นอันตรายกับกากของเสียท่ีไม่เป็นอันตราย
นอกจากนี้ กากของเสียแต่ละประเภทยังมีกฎหมาย
หลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ ควบคุมแตกต่างกันด้วย โดยในการปฏิบัติงานกับ
การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) ที่เสนอแนะไว้ในแต่ละ กากของเสียท่ีเป็นอันตรายจะมีกฎหมายควบคุม
ขั้นตอนหรือกิจกรรมการปฏิบัติงานของโรงงาน มากกว่า
จัดการกากอุตสาหกรรมท้ัง 4 ประเภทนั้น จะมี
ข้อกำหนดของแต่ละประเภทเกณฑ์แตกต่างกัน ดังน้ัน ในแต่ละข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงาน
กล่าวคือ เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีทั่วไป ท่ีเสนอแนะไว้จึงได้ระบุความสำคัญซ่ึงโรงงาน
สำหรับโรงงานคัดแยกส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ควรนำไปปฏิบัติเพื่อให้โรงงานที่ต้องการท่ีจะมี
ท่ีไม่เป็นของเสียอันตราย มีจำนวนข้อกำหนด 113 มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีได้ใช้ประกอบการ
ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานทด่ี ีทวั่ ไปสำหรับ วางแผนปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานของโรงงาน
โรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือ โดยหากเป็นวิธีปฏิบัติซ่ึงกฎหมายควบคุมหรือ
วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว มีจำนวนข้อกำหนด 325 ข้อ กำหนดให้ต้องปฏิบัติอยู่แล้วโดยเฉพาะกฎหมาย
ส่วนเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.
การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) สำหรับโรงงานคัดแยก 2535 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับท่ี 3)
ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีไม่เป็นของเสีย พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษา
อันตราย มีจำนวนข้อกำหนด 91 ข้อ และเกณฑ์ คุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2535 รวมถึงกฎหมาย
มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนุญาต อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลบังคับใช้เฉพาะกับ
อัตโนมัติ (AI) สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/ กิจการโรงงาน จะถือว่าเป็นข้อกำหนดที่มีระดับ
กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว มีจำนวน ค ว า ม ส ำ คั ญ สู ง สุ ด ที่ โรงงาน จะต้ อ งป ฏิ บั ติ อย่ าง
ข้อกำหนด 236 ข้อ ซ่ึงจะช่วยลดโอกาสที่การ ครบถ้วนและสม่ำเสมอ ในขณะท่ีบางข้อกำหนด
ปฏิบัติงานในกิจกรรมนั้นๆ อาจจะก่อให้เกิด แม้จะไม่เป็นข้อกฎหมายท่ีต้องปฏิบัติ แต่หากไม่
ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมหรืออาชีวอนามัยและ ปฏิบัติตามข้อกำหนดที่เสนอแนะนั้นๆ แล้ว
ความปลอดภัยของประชาชน ซึ่งข้อกำหนดวิธีการ การปฏิบัติงานของโรงงานจะมีความเสี่ยงในการ
ป ฏิ บั ติ ง า น ใน ก ร ณี ก า ก ข อ ง เสี ย ท่ี เป็ น อั น ต ร า ย ก่อให้เกิดอุบัติเหตุหรือเกิดผลกระทบในระดับท่ีมี
กับของเสียที่ไม่เป็นอันตรายแตกต่างกัน เน่ืองจาก ความรุนแรงแตกต่างกัน จึงได้จัดให้ข้อกำหนด
ของเสียแต่ละประเภทมีโอกาสท่ีจะก่อให้เกิด วธิ กี ารปฏบิ ัติงานนน้ั ๆ มีระดบั ความสำคญั แตกต่าง
ผลกระทบแตกต่างกัน อีกทั้งระดับของผลกระทบ กนั ด้วย โดยได้จำแนกออกเป็น 3 ระดบั ดงั นี้
ท่ีเกิดข้ึนหากเกิดกรณี ของเสียรั่วไหลออกสู่

คำจำกัดความของระดับความสำคัญของข้อกำหนดวิธีปฏิบัติงานท่ีดีทั่วไป และข้อกำหนดวิธีการ
ปฏิบตั ิงานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 7

ระดบั ความสำคัญ สญั ลกั ษณ์ ความหมาย
ของข้อกำหนด *
AI เป็นข้อกำหนดขั้นพ้ืนฐานที่เป็นข้อกำหนดทางกฎหมายท่ีโรงงานต้องปฏิบัติให้
ข้อบงั คับ 3 ครบถ้วนจึงจะมสี ิทธ์เิ ขา้ รับการจดั ระดบั มาตรฐานวธิ กี ารปฏิบัติงานท่ีดี
เปน็ ขอ้ กำหนดวิธีการปฏิบัตงิ านเฉพาะสำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอัตโนมตั ิ (AI)
เกณฑฯ์ เฉพาะ 2 เป็นหลักปฏิบัติข้ันพื้นฐานที่โรงงานต้องดำเนินการ มิเช่นนั้นจะมีโอกาสสูงมาก
มาก 1 ท่ีการปฏิบัติงานในข้ันตอนน้ันๆ ของโรงงานจะเกิดอันตรายหรือส่งผลกระทบ
ในด้านตา่ งๆ
ปานกลาง เป็นหลักปฏิบัติท่ีโรงงานควรจะต้องดำเนินการ เนื่องจากมีโอกาสท่ีจะเกิดอันตราย
หรือสง่ ผลกระทบในด้านตา่ งๆ หากไมป่ ฏิบตั ิ
นอ้ ย เป็นหลักปฏิบัติท่ีโรงงานควรดำเนินการ เพื่อลดโอกาสในการเกิดอันตราย
หรือส่งผลกระทบจากการปฏบิ ัตงิ านซง่ึ ไมร่ นุ แรง

ทงั้ น้ี ในการแสดงระดับความสำคัญของแต่ละ นอกจากนี้ ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงาน
ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานในเกณฑ์มาตรฐาน ในส่วนที่ 1 ถึงส่วนที่ 4 ของโรงงานทั้ง 2 ประเภท
การปฏิบัติงานที่ดีทั่วไป และเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ กิจการ มีบางส่วนท่ีเหมือนและแตกต่างกัน
สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI) เน่ืองจากประเภทและชนิดกากของเสียท่ีเกี่ยวข้อง
สำหรับแต่ละประเภทกิจการของโรงงาน จะใช้ กับโรงงานในแต่ละประเภทกิจการมีความแตกต่าง
สัญลักษณ์ “*” สำหรับข้อกำหนดข้ันพื้นฐาน กัน รวมถึงแนวทางและวัตถุประสงค์ในการรับ
ที ่เ ป ็น ข ้อ ก ำ ห น ด ท า ง ก ฎ ห ม า ย ที ่โ ร ง ง า น ต ้อ ง กากของเสียเข้ามาในโรงงานก็แตกต่างกันด้วย
ปฏิบัติให้ครบถ้วน ใช้อักษรย่อ “AI” สำหรับ ดั งตั วอ ย่างเป รียบ เที ยบ ข้ อ ก ำห น ด วิธีก าร
ข้ อ ก ำ ห น ด เฉ พ า ะ ส ำ ห รั บ ก า ร เข้ า สู่ ร ะ บ บ ก า ร ปฏิบัติงานระหว่างโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือ
อนุญาตอัตโนมัติ (AI) และใช้ตัวเลข 3, 2 และ 1 วัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ไี มเ่ ป็นของเสยี อันตรายกบั โรงงาน
สำหรับข้อกำหนดที่มีระดับความสำคัญระดับมาก รับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรอื วัสดุทไ่ี ม่
ปานกลาง และน้อย ตามลำดับ ใชแ้ ลว้ ดังรปู ท่ี 3

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านที่ดีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 8

โรงงานคัดแยกสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ทไ่ี ม่เป็นของเสยี อนั ตราย

ขอ้ กำหนดวิธกี ารปฏิบัตงิ าน ระดบั เกณฑ์
เกณฑท์ ว่ั ไป เกณฑ์เฉพาะ

โรงงานมีการแจ้งเป็นหนังสือให้ลูกค้าทราบถึงประเภทกิจการที่ได้รับอนุญาตและประเภท ข้อบังคับ AI

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีสามารถรับดำเนินการได้ พร้อมแนบสำเนาใบอนุญาตประกอบ *e

กิจการโรงงาน

มีการรับเฉพาะส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีได้รับอนุญาตตามเงื่อนไขการประกอบกิจการ ขอ้ บังคับ AI

โรงงานท่ีกำหนดไว้ในใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงานเทา่ นนั้ *e

โรงงานต้องมีการตรวจสอบเพื่อยืนยันว่าเป็นประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่โรงงาน 3 AI

สามารถรบั มาคัดแยกในโรงงานไดก้ ่อนตกลงให้บรกิ าร

โรงงานรบั รไี ซเคิล และบำบดั /กำจัดสงิ่ ปฏิกลู หรือวัสดุท่ีไม่ใช้แลว้

ข้อกำหนดวิธีการปฏบิ ตั ิงาน ระดบั ความสำคญั
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

โรงงานมีการแจ้งเป็นหนังสือให้ลูกค้าทราบถึงประเภทกิจการท่ีได้รับอนุญาต ข้อบงั คบั ขอ้ บงั คบั AI

และประเภทส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่สามารถรับดำเนินการได้ พร้อมแนบ *k *k

สำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

มีการรับบำบัด กำจัดเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ได้รับอนุญาต ขอ้ บงั คบั ขอ้ บงั คับ AI

ตามเงื่อนไขการประกอบกิจการโรงงานท่ีกำหนดไว้ในใบอนุญาตประกอบกิจการ *k *k

โรงงานเท่านั้น

โรงงานได้รับเอกสารข้อมูลส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทุกชนิดท่ีทำการบำบัด 2 3 AI

จากลูกค้า เช่น ชื่อ กระบวนการเฉพาะท่ีก่อให้เกิด ปริมาณท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น

ต่อปี สถานะ (ของแข็ง ของเหลว ตะกอน) ผลวิเคราะห์ทางเคมี ความเป็นอันตราย

และวิธกี ารเกบ็ เปน็ ตน้

มีการตรวจสอบวิเคราะห์คุณสมบัติสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเพ่ือยืนยันว่า 2 3 AI

เป็นประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่โรงงานสามารถรับมาบำบัดกำจัด

ในโรงงานได้ก่อนตกลงให้บรกิ าร

มีการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วให้สอดคล้องกับขีดความสามารถ 3 3 AI

ในการจดั การสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ไี ม่ใชแ้ ลว้

หมายเหตุ : * : เป็นข้อกำหนดด้านกฎหมายออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 โรงงานต้องมีการดำเนินการ
ให้ครบถ้วนกอ่ นเขา้ รับการประเมินระดบั มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ีของโรงงานผรู้ บั บำบดั กำจัดกากอตุ สาหกรรม

*e, *k : เปน็ รายชอ่ื กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับขอ้ กำหนดวธิ กี ารปฏิบัติงานนนั้ ๆ

 รปู ที่ 3 เปรยี บเทยี บขอ้ กำหนดวธิ กี ารปฏิบัตงิ านในสว่ นท่ี 1 การประเมนิ การรบั สิ่งปฏิกลู
หรอื วสั ดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ ขน้ั ตน้ ระหวา่ งโรงงานคดั แยกสง่ิ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ ท่ไี ม่เป็นของเสยี อนั ตราย

กบั โรงงานรบั รไี ซเคลิ และบำบดั /กำจัดสง่ิ ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ล้ว 

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีดีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 9

2.6 การนำหลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ไี ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นโรงงาน
เพื่อลดโอกาสท่ีการปฏิบัติงานในขั้นตอนต่างๆ ของโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมจะก่อให้เกิดอันตรายหรือ

ผลกระทบใดๆ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย รวมถึงความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน
ของประชาชนให้เหลอื น้อยท่ีสดุ ซึ่งหากเกิดปัญหาขึ้นก็จะสามารถควบคุมใหอ้ ย่ใู นระดับที่ไมร่ ุนแรงและไม่ลุกลาม
โรงงานควรมีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานท้ังหมดท่ีเกี่ยวข้องกับลักษณะ
การประกอบกิจการของโรงงานตามที่ระบุไว้ในหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดี โดยแนวทางหรือเป้าหมาย
ของการดำเนนิ การเพื่อยกระดับมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของโรงงาน ควรปฏบิ ัติดังน้ี

พิจารณาว่าลักษณะการประกอบกิจการของโรงงาน เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดี
ในส่วนใดบ้าง (เกณฑ์มาตรฐานฯ สำหรับแต่ละประเภท แบ่งเป็น 10 ส่วน) ทั้งนี้ ในส่วนที่เป็นระบบ
บำบัดมลพษิ และสาธารณปู การตา่ งๆ ในโรงงานอาจแตกตา่ งกันไป

ตรวจสอบว่าในแต่ละส่วนของเกณฑ์มาตรฐานฯ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการของโรงงาน
มีข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานใดบ้างท่ีเกี่ยวข้องกับลักษณะการประกอบกิจการของโรงงาน เนื่องจาก
บางข้อกำหนดเป็นวิธีปฏิบัติเฉพาะกับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วบางชนิดหรือบางประเภท ซ่ึงเส่ียง
ต่อการก่อให้เกิดอันตรายในบางสภาวการณ์ ข้อกำหนดน้ันๆ จึงไม่ได้เก่ียวข้องกับโรงงานทุกแห่ง เช่น
โรงงานที่ไม่ได้รับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นสารไวไฟหรือตัวทำละลายใช้แล้วเข้ามาดำเนินการ
ในโรงงานก็จะไม่เก่ียวข้องกับข้อกำหนดที่ว่า “บริเวณท่ีจัดเก็บสารไวไฟหรือตัวทำละลายต้องไม่มี
แหล่งกำเนิดประกายไฟ หรือความร้อนเพื่อป้องกันการลุกไหม้หรือการระเบิด และทำป้ายเตือนอันตราย
ตดิ ไวใ้ นตำแหนง่ ท่เี ห็นไดช้ ัดเจน” เปน็ ตน้

นำข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีทั้งหมดท่ีเกี่ยวข้องกับโรงงาน ไปตรวจสอบเปรียบเทียบกับ
การปฏิบัติงานของโรงงานในแต่ละข้ันตอนว่าโรงงานและพนักงานของโรงงานได้มีการปฏิบัติงาน
ตามขอ้ กำหนดเหล่านน้ั อยา่ งครบถ้วนและสมำ่ เสมอหรือไม่

รวบรวมข้อกำหนดท่ีโรงงานไม่ได้ปฏิบัติหรือมีการปฏิบัติเพียงบางส่วน และไม่สม่ำเสมอ เพ่ือกำหนด
เป็นภารกิจเป้าหมายที่จะต้องดำเนินการ เพ่ือยกระดับวิธีการปฏิบัติงานของโรงงานให้มีมาตรฐาน
ในระดบั ที่ดีขึน้

จัดลำดับภารกิจที่จะต้องดำเนินการ โดยพิจารณาจากระดับความสำคัญของแต่ละข้อกำหนดซึ่งยัง
ไม่ไดป้ ฏิบตั ิ หรือปฏบิ ัติยังไม่ครบถ้วนและไม่สมำ่ เสมอ ซ่ึงโรงงานควรเลือกดำเนินการในข้อกำหนดท่ีมี
ระดับความสำคญั มากไปหาระดับความสำคญั น้อย

จัดทำแนวทางการดำเนินงานสำหรับแต่ละภารกิจท่ีกำหนดไว้ตามส่วนที่ 4 และปฏิบัติตามแนวทาง
ที่กำหนดไว้ และหลังการดำเนินงานในแต่ละภารกิจควรตรวจสอบเปรียบเทียบวิธีการปฏิบัติงาน
ของโรงงานกับข้อกำหนดที่ระบุไว้ในเกณฑ์มาตรฐานฯ อีกครั้ง ทั้งนี้ ภายหลังการดำเนินงานในแต่ละ
ภารกจิ แล้ว โรงงานและพนกั งานควรต้องมกี ารปฏิบัติทส่ี อดคลอ้ งกบั ข้อกำหนดนน้ั ๆ

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทดี่ ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 10

สำหรับแผนผังสรุปข้ันตอนการนำเกณฑ์มาตรฐานฯ ไปใช้เพื่อการยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ของโรงงานท่ีกลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ ดงั รปู ท่ี 4

ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบตั งิ านทกุ ข้อในทุกส่วนทร่ี ะบไุ ว้ในเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานทด่ี ี
กลั่นกรองคัดเลือกเฉพาะข้อกำหนดวธิ ีการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ีทเ่ี ก่ยี วข้องกับโรงงาน
ขอ้ กำหนดวิธีการปฏิบตั ิงานเฉพาะสว่ นที่เก่ียวข้องกับโรงงาน
ตรวจประเมิน/เปรยี บเทียบกบั วิธีปฏิบัติงานของโรงงาน

ข้อกำหนดที่โรงงานปฏิบัติ ข้อกำหนดที่โรงงานปฏิบตั ิ ขอ้ กำหนดท่ีโรงงาน
ครบถว้ นและสมำ่ เสมอ เพยี งบางส่วนหรือไมส่ ม่ำเสมอ ยังไม่ไดป้ ฏิบตั ิ

ดำเนนิ การต่อและ กำหนดเปา้ หมายและภารกจิ ทีต่ ้องดำเนินการ
ปรบั ปรุงใหด้ ีขนึ้ เพื่อยกระดับมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของโรงงาน

จดั ลำดับภารกิจทต่ี ้องดำเนนิ การโดยพจิ ารณา
จากระดับความสำคัญของแต่ละข้อกำหนด

ลงมือปฏิบตั ิภารกจิ ตามลำดบั ความสำคัญท่ีกำหนด

ตรวจสอบเปรยี บเทยี บวธิ กี ารปฏิบัตงิ านของโรงงาน
กับข้อกำหนดท่ีระบไุ วใ้ นเกณฑ์มาตรฐานฯ

ทบทวนและปรบั ปรงุ ไม่ใช่ โรงงานปฏิบัติครบถ้วน
แนวทางปฏบิ ัติภารกจิ และสม่ำเสมอ

ใช่
ดำเนินการต่อและปรับปรุงใหด้ ีขึ้น

 รปู ที่ 4 ขน้ั ตอนการนำหลักเกณฑ์มาตรฐานวธิ ีการปฏิบตั งิ านทด่ี ีไปใช้
เพอื่ การยกระดบั มาตรฐานการปฏิบัติงานของโรงงาน 

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ีดีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 11

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานทด่ี ที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI) สำหรบั โรงงานคดั แยกสง่ิ ปฏิกลู
หรอื วสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ทไี่ มเ่ ปน็ ของเสยี อนั ตราย

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีท่ัวไปสำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีไม่เป็น
ของเสียอันตราย มีข้อกำหนดจำนวนท้ังส้ิน 113 ข้อ และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ
การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) มีข้อกำหนดจำนวนท้ังส้ิน 91 ข้อ ตามลำดับ ซึ่งจะประกอบด้วยข้อกำหนดวิธีการ
ปฏิบัตงิ าน 10 สว่ น (ข้นั ตอนการประกอบกจิ กรรม) ดังน้ี

สว่ นที่ 1 การประเมินการรบั สง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุทไ่ี ม่ใช้แล้วข้นั ต้น
ส่วนที่ 2
การขนสง่ สิ่งปฏกิ ูลหรอื วสั ดุทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ กรณโี รงงานเป็นผู้รวบรวมและขนสง่
ส่วนที่ 3 หรอื เปน็ ผ้แู ต่งต้ังตวั แทน
ส่วนที่ 4 การรบั สง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ เข้ามาไวใ้ นบริเวณโรงงาน

สว่ นที่ 5 การจดั เก็บสิง่ ปฏิกูลหรอื วสั ดุที่ไมใ่ ชแ้ ล้วไวใ้ นพืน้ ทเ่ี กบ็ กากเพื่อรอนำเข้าสู่
ส่วนท่ี 6 กระบวนการคดั แยก
สว่ นที่ 7 การคดั แยกส่งิ ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ีไ่ มใ่ ช้แลว้
ส่วนที่ 8
ส่วนที่ 9 การลดขนาดหรือบีบอดั วัสดทุ ่คี ดั แยกแล้ว
สว่ นที่ 10
การจัดเก็บวัสดุท่ีคัดแยกแลว้ เพ่อื รอส่งไปให้แก่ผทู้ จี่ ะนำไปใช้ประโยชน์

ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณูปการอื่นๆ ในโรงงาน

การจัดการดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจดั การด้านสง่ิ แวดล้อม

การสอื่ สารต่อสาธารณะและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม

ในการนำเสนอหลักเกณฑ์มาตรฐานฯ แต่ละส่วนน้ัน จะแสดงท้ังข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดี
ท้ัง 10 ส่วน หรือขั้นตอนการประกอบกิจกรรมนั้นๆ และระดับความสำคัญของแต่ละข้อกำหนดในรูปแบบ
ของตาราง โดยในคอลัมน์ระดับความสำคัญของข้อกำหนดจะใช้ตัวเลขและสัญลกั ษณท์ ่ีสอื่ ความหมาย ดงั น้ี

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 12

สญั ลกั ษณ์ *X ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานท่ีดีนั้น เป็นข้อกำหนดด้านกฎหมายที่ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 โดย x เป็นรายช่ือกฎหมาย
อักษรย่อ AI ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบตั งิ านทีด่ ีนั้นๆ
ตวั เลข 3, 2
ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาต
และ 1 อัตโนมัติ (AI)

ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีนั้น มีระดับความสำคัญระดับมาก ปานกลาง
และนอ้ ย ตามลำดบั

โดยมีรายชื่อกฎหมายท่ีอ้างถึงในหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีสำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูล
หรือวสั ดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีไมเ่ ปน็ ของเสยี อันตราย ดงั น้ี

สัญลกั ษณ์ รายชอื่ กฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ ง

a กฎกระทรวงฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
b กฎกระทรวงกำหนดมาตรการความปลอดภัยเก่ียวกบั ระบบไฟฟ้าในโรงงานพ.ศ. 2550
c กฎกระทรวง ควบคมุ การปนเปอ้ื นในดินและน้ำใต้ดินภายในบรเิ วณโรงงาน พ.ศ. 2559
d ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเก่ียวกับส่ิงปฏิกูล
หรอื วสั ดทุ ่ีไม่ใช้แลว้ จากโรงงานโดยทางสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Internet) พ.ศ. 2547
e ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เร่ือง การกำจดั สิ่งปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ พ.ศ. 2548
f ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเร่ืองการปอ้ งกนั และระงับอัคคีภัยในโรงงานพ.ศ. 2552
g ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง กำหนดเกณฑ์การปนเป้ือนในดินและน้ำใต้ดิน การตรวจสอบ
คุณภาพดินและน้ำใต้ดิน การแจ้งข้อมูลรวมท้ังการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดิน
h และน้ำใต้ดินและรายงานเสนอมาตรการควบคุมและมาตรการลดการปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน
พ.ศ. 2559
i ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2560
j ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว
k พ.ศ. 2550
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ขอความร่วมมือผู้ประกอบกิจการโรงงานแสดงข้อมูล
เบือ้ งต้นโดยการตดิ ต้ัง QR Code ที่หน้าโรงงาน
เงือ่ นไขการประกอบกิจการโรงงานซึ่งกำหนดไวใ้ นใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ีดีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 13

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกส่ิงปฏิกูลหรอื วัสดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ ทไี่ มเ่ ป็นของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 1 การประเมินการรบั สิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ล้วขัน้ ตน้

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

1.1 โรงงานมีการแจ้งเป็นหนังสือให้ลูกค้าทราบถึงประเภทกิจการที่ได้รับอนุญาตและ ขอ้ บังคับ AI

ประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีสามารถรับดำเนินการได้พร้อมแนบสำเนา *e

ใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน

1.2 มีการรับเฉพาะส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีได้รับอนุญาตตามเง่ือนไขการประกอบ ขอ้ บงั คบั AI

กจิ การโรงงานท่กี ำหนดไว้ในใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานเทา่ นน้ั *e

1.3 โรงงานต้องมีการตรวจสอบเพื่อยืนยันว่าเป็นประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว 3 AI

ทโ่ี รงงานสามารถรับมาคัดแยกในโรงงานได้ก่อนตกลงใหบ้ ริการ

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานทด่ี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 14

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ช้แล้วท่ไี ม่เปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 2 การขนสง่ สิ่งปฏิกูลหรือวสั ดทุ ่ีไม่ใชแ้ ลว้ กรณีโรงงานเปน็ ผ้รู วบรวมและขนสง่
หรือเปน็ ผูแ้ ต่งตง้ั ตวั แทน

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

2.1 ก่อนการขนส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วมีการทำสัญญาหรือหนังสือยินยอมการให้ 3 AI

บริการระหว่างผู้ให้บริการรับบำบัด กําจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (Waste

Processor) กับโรงงานผู้ก่อกำเนิดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว (Waste Generator)

ทุกราย

2.2 มีระบบควบคุมตรวจสอบสภาพรถขนส่งและภาชนะบรรจุให้มีสภาพดีก่อนออกไป 3 AI

ปฏิบัติงานทุกครั้ง เพ่ือป้องกันไม่ให้มีการหกหล่นหรือรั่วไหลของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ

ที่ไมใ่ ชแ้ ล้วในระหว่างการขนส่ง

2.3 มีระบบควบคุมตรวจสอบความพร้อมของคนขับรถขนส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 3 AI

ทกุ ครัง้ กอ่ นออกปฏบิ ัติงาน

2.4 มีการตรวจสอบว่าส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีจะทำการขนส่งมีความถูกต้อง 3 AI

ทัง้ ชนดิ และปริมาณตามที่ไดร้ บั อนญุ าต

2.5 ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่จะขนส่งต้องมีลักษณะการบรรทุกและบรรจุในภาชนะ 3 AI

ท่ีเหมาะสม หรือมีการติดฉลากบนภาชนะซ่ึงระบุชื่อลูกค้าท่ีส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ

ที่ไม่ใช้แล้ว ชนิด และปริมาณส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว วันท่ีรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ

ท่ไี ม่ใชแ้ ลว้ เป็นตน้

2.6 มีมาตรการป้องกันการร่วงหล่นหรือรั่วไหลของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วระหว่าง 3 AI

การขนสง่

2.7 มีมาตรการและแผนฉุกเฉินกรณีเกิดการร่วงหล่นรั่วไหลของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ 3 -

ใช้แล้วในระหวา่ งการขนสง่

2.8 มีระบบควบคุมตรวจสอบรถท่ีใช้ในการขนส่ง หรือมีระบบติดตามยานพาหนะโดยใช้ 2 AI

เทคโนโลยีผ่านสัญญาณดาวเทียม (Global Positioning System : GPS) เพ่ือควบคุม

รถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตลอดเส้นทางท่ีใช้ขนส่งเพ่ือให้ม่ันใจว่าจะไม่มี

การลักลอบนำส่ิงปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ีไ่ ม่ใช้แลว้ ไปทิ้งหรือกำจดั อยา่ งไมถ่ ูกตอ้ ง

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 15

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสง่ิ ปฏกิ ลู หรือวัสดุที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ท่ีไม่เปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 3 การรบั สง่ิ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ่ไี ม่ใช้แล้วเขา้ มาไว้ในบรเิ วณโรงงาน

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏิบตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

3.1 มีการรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานลูกค้าท่ีได้รับใบอนุญาตนำสิ่งปฏิกูล ขอ้ บังคบั AI

หรอื วัสดุท่ไี ม่ใช้แลว้ ออกนอกโรงงานตามรายชอ่ื และปริมาณส่ิงปฏกิ ูลหรอื วสั ดุทไ่ี ม่ใช้แล้ว *i

ทรี่ ะบุไวใ้ นใบอนญุ าตเทา่ นั้น

3.2 การรับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วเข้ามาในโรงงานต้องแจ้งข้อมูลต่อกรมโรงงาน ขอ้ บงั คบั AI

อุตสาหกรรมทางส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ทกุ คร้งั *d,e

3.3 ถนนหรือเส้นทางเดินรถขนส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วภายในโรงงานจะต้อง 2 AI

แข็งแรง (เช่น พื้นคอนกรีตหรือลาดยาง) มีการแบ่งช่องจราจรชัดเจน และมีป้ายเตือน

ในบริเวณที่เป็นจุดเส่ียงต่อการเกิดอุบัติเหตุต้ังแต่ปากทางเข้าโรงงานจนถึงพื้นท่ี

ปฏิบัติงานคัดแยก

3.4 มีการตรวจสอบและบนั ทึกการเขา้ -ออกของรถขนส่งส่งิ ปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว 2 -

3.5 มีการตรวจสอบสมบัติ ลักษณะ น้ำหนักหรือปริมาตรสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 3 AI

กอ่ นทำการรบั เขา้ มาในโรงงานใหม้ ีความถกู ต้องตามท่ีไดร้ บั อนญุ าต

3.6 มีการปฏิเสธการรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่โรงงานไม่สามารถรับมาคัดแยกได้ 2 AI

และมีมาตรการตอบสนองกรณีท่ีมีส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วดังกล่าวเข้ามา

ในบริเวณโรงงาน

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 16

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกส่งิ ปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ่ไี ม่ใช้แลว้ ทไี่ ม่เปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 4 การจัดเก็บสงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดทุ ่ีไม่ใช้แล้วไวใ้ นพนื้ ทเ่ี กบ็ กากเพ่ือรอนำเข้าสู่
กระบวนการคดั แยก

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธีปฏิบัติงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

4.1 มีการจัดเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วไว้ภายในอาคาร หรือบริเวณท่ีจัดไว้ ขอ้ บงั คบั AI

โดยเฉพาะท่ีมีความม่ันคงแข็งแรง มีการระบายอากาศท่ีพอเพียง และมีพื้นที่เพียงพอ *i

ต่อการจัดเก็บอย่างปลอดภัยกรณีจัดเก็บไว้นอกอาคารต้องได้รับความเห็นชอบ

จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรอื หน่วยงานที่ไดร้ ับมอบหมายก่อน

4.2 ระยะเวลาที่ใช้ในการบำบัด กำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ไม่อันตรายภายใน ขอ้ บงั คบั AI

30 วัน นับจากวันที่รับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเข้ามาในบริเวณโรงงาน ท้ังน้ี *i

หากจำเป็นต้องขยายเวลาการบำบัด หรือกำจัด ต้องแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม

หรอื หนว่ ยงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายภายใน 5 วนั ก่อนครบเวลาท่กี ำหนด

4.3 พน้ื ทเ่ี ก็บสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วต้องเรียบ มีความลาดเอียงเหมาะสม ไม่แตกรา้ ว 2 AI

ทำความสะอาดง่าย และไม่ดูดซับหรือสะสมสารที่อาจหกหรือรั่วไหล (กรณีขอรับ

การตรวจประเมินรับรองระบบอนุญาตอัตโนมัติ (AI) จะพิจารณาเฉพาะเศษโลหะ

จากการกลึง (Scrap))

4.4 มีการป้องกันสิ่งปฏกิ ูลหรือวสั ดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นของเหลว หรือน้ำชะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ 3 AI

ทีไ่ ม่ใช้แล้วรั่วไหลออกนอกพ้นื ทีโ่ รงงานโดยไม่ผา่ นการบำบดั

4.5 มีการกำหนดพื้นท่ีจัดเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามประเภทส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ 2 -

ท่ีไม่ใช้แล้วให้ชัดเจน เช่น เศษกระดาษ เศษพลาสติก เศษโลหะ เป็นต้น และติดต้ัง

ปา้ ยสญั ลกั ษณ์แสดงประเภทสิง่ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุทีไ่ ม่ใช้แล้วที่จัดเกบ็ ท่เี หน็ ไดช้ ดั เจน

4.6 มีการเลือกวิธีการจัดเก็บรวมถึงประเภทภาชนะที่จัดเก็บให้เหมาะสมกับประเภท 3 AI

สิ่งปฏกิ ูลหรือวสั ดุท่ีไม่ใช้แล้ว และปริมาณส่ิงปฏิกลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แล้วที่เก็บกักต้องไม่

เกินความสามารถในการรองรับของภาชนะบรรจุหรือสถานท่ีจัดเก็บ และติดต้ังป้าย

สญั ลักษณ์ท่ีภาชนะแสดงประเภทวสั ดทุ จี่ ดั เก็บทีเ่ หน็ ได้ชดั เจน

4.7 การจัดเก็บหรือเรียงซ้อนส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องคำนึงถึงความปลอดภัย 2 AI

เป็นหลัก

4.8 มีการแบ่งพื้นที่จราจรและกำหนดเส้นทางท่ีเหมาะสมในการขนส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ 2 -

ท่ไี มใ่ ช้แล้วไปยังจดุ เก็บต่างๆ

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ีดีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 17

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคัดแยกสง่ิ ปฏกิ ลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้วท่ีไม่เป็นของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 4 การจดั เก็บสงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ ไวใ้ นพนื้ ท่เี กบ็ กากเพื่อรอนำเข้าสู่
กระบวนการคดั แยก (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบตั ิงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑเ์ ฉพาะ

4.9 มีการบันทึกข้อมูลทั้งประเภทและปริมาณส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีนำมาจัดเก็บ 2 -

ทุกคร้ังหรอื นำออกไปคัดแยก

4.10 มีการตรวจสอบสถานที่จัดเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และกำหนดผู้รับผิดชอบ 2 -

อย่างชัดเจน

4.11 สถานท่ีจัดเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็นวัตถุที่ติดไฟได้ ที่มีพ้ืนท่ีต่อเน่ือง 3 AI

ตดิ ต่อกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรข้ึนไป ต้องตดิ ต้ังระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบ

หัวกระจายน้ำหรือสารเคมีดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System)

หรือระบบอื่นที่เทียบเท่าให้ครอบคลุ มพืน้ ท่ี

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 18

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไมใ่ ช้แลว้ ทไ่ี มเ่ ป็นของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 5 การคดั แยกสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แลว้

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบัตงิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

5.1 อาคารโรงงานต้องมีแสงสว่างเพียงพอ มีการระบายอากาศเหมาะสม มีหลังคาคลุม ขอ้ บังคับ AI

ป้องกันนำ้ ฝนสัมผสั กับสงิ่ ปฏิกูลหรอื วัสดุท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ พ้นื ทีม่ ั่นคงแขง็ แรง และไม่มนี ำ้ ขงั *a

5.2 จัดให้มีพ้ืนท่ีสำหรับคัดแยกส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วในบริเวณที่เหมาะสมกับ 1 -

การทำงานของพนกั งาน

5.3 พ้ืนที่คัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องมีขนาดเหมาะสมกับปริมาณส่ิงปฏิกูล 2 -

หรือวัสดุที่ไมใ่ ช้แลว้ ทจี่ ะคัดแยก เครือ่ งจักรทีใ่ ช้ และจำนวนพนักงานทปี่ ฏบิ ตั งิ าน

5.4 มีการติดตั้งเคร่ืองจักรในตำแหน่งท่ีเหมาะสม พนักงานสามารถเข้าปฏิบัติงาน 3 AI

ไดส้ ะดวกและมคี วามปลอดภยั

5.5 เครื่องจักรอุปกรณ์ท่ีใช้ปฏิบัติงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วต้องอยู่ในสภาพ 2 -

ทพี่ รอ้ มใช้งาน และงา่ ยต่อการทำความสะอาด

5.6 มีคู่มือการทำงานหรือคำแนะนำในการปฏิบัติงานกับเคร่ืองจักร เพื่อให้พนักงาน 2 -

สามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม

5.7 มีป้ายสัญลักษณ์แจ้งเตือนอันตรายจากการทำงานของเคร่ืองจักรไว้ในบริเวณพื้นท่ี 3 AI

ปฏิบัตงิ านในตำแหน่งท่ีเห็นได้ชัดเจน เชน่ “ระวังอนั ตรายจากเคร่อื งจักร” “โปรดสวมใส่

อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล” “ระวังเสียงดังจากการทำงานของ

เครอ่ื งจักร” เป็นตน้

5.8 มีหอ้ งอาบนำ้ ทล่ี ้างมอื และหอ้ งผลัดเปลย่ี นชุดทำงานทเี่ พยี งพอเหมาะสมกับพนักงาน 2 -

5.9 พนักงานที่ปฏิบัติงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจะต้องได้รับการฝึกอบรม 2 -

ในการคดั แยกส่งิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุท่ไี ม่ใชแ้ ล้วอยา่ งถูกตอ้ ง

5.10 มีการรวบรวมส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เหลือจากการคัดแยกจัดเก็บในภาชนะ 3 AI

และสถานที่ท่เี หมาะสมเพือ่ รอนำไปบำบัด กำจดั ตอ่ ไป

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานทดี่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 19

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานคัดแยกสิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ีไ่ ม่ใช้แลว้ ท่ไี ม่เปน็ ของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 6 การลดขนาดหรือบบี อัดวัสดุทค่ี ดั แยกแลว้

ข้อ ขอ้ กำหนดวิธปี ฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑเ์ ฉพาะ

6.1 มีการดำเนินการบดย่อยวัสดุท่ีคัดแยกแล้วภายในห้องที่บุด้วยวัสดุกันเสียง มีแสงสว่าง 3 AI

และการระบายอากาศที่เพยี งพอ

6.2 มีการดำเนินการบีบอัดวัสดุที่คัดแยกแล้วภายในอาคาร โดยแบ่งพื้นท่ีให้เหมาะสม 2 -

และมีแสงสว่างทเี่ พยี งพอ

6.3 มีการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร (Machine Guarding) เพ่ือเป็น 3 AI

การปอ้ งกันใหก้ บั พนักงานท่ีทำงานกับเครอ่ื งจกั รโดยตรง

6.4 มรี ะบบหรือวิธกี ารปอ้ งกันกระแสไฟฟ้ารั่วและต้องต่อสายดินกบั เครื่องจักรเพ่ือป้องกัน 3 AI

กระแสไฟฟ้ารั่วจากการทำงานของเครอื่ งจักร

6.5 มีคู่มือการปฏิบัติงานหรือข้อแนะนำการปฏิบัติงานกับเครื่องจักรให้กับพนักงาน 2 -

ทีป่ ระจำอยกู่ บั เครือ่ งจกั รแต่ละชนดิ

6.6 มีมาตรการป้องกันผลกระทบท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานของพนักงาน เช่น การเกิด 2 -

ประกายไฟจากการตัดโลหะ การฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง เสียงดังจากการทำงาน

ของเครอื่ งจักร การระคายเคอื งผวิ หนังและดวงตา เป็นตน้

6.7 ต้องมีการฝึกอบรมให้ความรู้กับพนักงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเคร่ืองบีบอัดวัสดุหรือ 3 AI

เครื่องบดย่อยวัสดุ เพ่อื ให้พนักงานมีความปลอดภัยในการทำงาน

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 20

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดทุ ี่ไม่ใช้แลว้ ทไ่ี ม่เปน็ ของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 7 การจดั เกบ็ วัสดทุ ีค่ ดั แยกแล้วเพ่ือรอส่งไปให้แกผ่ ู้ท่ีจะนำไปใช้ประโยชน์

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

7.1 อาคารจัดเก็บวัสดุที่คัดแยกแล้ว ต้องมีแสงสว่างเพียงพอ มีการระบายอากาศดี ข้อบังคบั AI

มหี ลังคาคลุม ปอ้ งกนั น้ำฝนสมั ผัสกบั วสั ดทุ ค่ี ดั แยกแล้ว พืน้ ทม่ี น่ั คงแข็งแรงและไมม่ นี ำ้ ขงั *a

7.2 จัดให้มพี ื้นทสี่ ำหรับจัดเกบ็ วสั ดุทค่ี ดั แยกแล้ว 2-

7.3 พื้นที่จัดเก็บวัสดุท่ีคัดแยกแล้ว ต้องมีมาตรการป้องกันน้ำเสีย/น้ำชะรั่วไหลออกนอก 2 -

พื้นทีโ่ รงงานโดยไม่ผา่ นการบำบัด

7.4 มีการกำหนดพ้ืนท่ีจัดเก็บวัสดุท่ีคัดแยกแล้วตามประเภทของวัสดุ เช่น กระดาษ 2 -

พลาสติก โลหะ และเศษไม้ เป็นต้น และติดป้ายสัญลักษณ์แสดงประเภทวัสดุที่จัดเก็บ

ท่ีเหน็ ไดช้ ัดเจน

7.5 มกี ารตรวจสอบสถานทจี่ ัดเกบ็ วสั ดุที่คัดแยกแลว้ อยา่ งสม่ำเสมอเพอื่ ความปลอดภยั 1 -

7.6 ประเภทภาชนะท่ีจัดเก็บต้องมีความเหมาะสมกับประเภทวัสดุท่ีคัดแยกแล้วและ 2 -

ปริมาณวัสดุท่ีคัดแยกแล้วท่ีนำมาจัดเก็บต้องไม่เกินความสามารถในการรองรับ

ของภาชนะบรรจหุ รอื สถานท่จี ัดเก็บ

7.7 การจัดเก็บหรือเรียงซ้อนวัสดุที่คัดแยกแล้ว ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก 2 AI

โดยต้องมีการตรวจสอบสภาพของภาชนะบรรจุ ความเรียบร้อยในการจัดวาง

และความถกู ต้องในการจัดเกบ็ อย่างสมำ่ เสมอ

7.8 มีการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลท้ังประเภทและปริมาณวัสดุที่คัดแยกแล้วที่นำมา 2 -

จัดเก็บไวท้ ุกครั้งที่มกี ารนำมาจดั เก็บ

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานทด่ี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 21

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคัดแยกสงิ่ ปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใชแ้ ล้วทไ่ี ม่เปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 8 ระบบบำบดั มลพิษและสาธารณูปการอ่ืนๆ ในโรงงาน

8.1 การซ่อมบำรงุ

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ทั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

8.1.1 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าในโรงงานและรับรอง ข้อบังคบั AI

ความปลอดภยั ของระบบไฟฟ้าในโรงงานเปน็ ประจำทกุ ปี *b

8.1.2 จดั ทำแผนซ่อมบำรุงเชิงปอ้ งกันซ่ึงรวมถึงการสอบเทียบเคร่ืองมือเคร่ืองจักรที่ใช้ในการ 2 -

ผลติ และระบบบำบัดมลพษิ ตา่ งๆ ภายในโรงงาน

8.1.3 จัดให้มีการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์เคร่ืองจักรท่ีอาจก่อให้เกิด 3 AI

อันตรายได้โดยสภาพ เช่น รถโฟล์คลิฟท์ เครน ลิฟท์ เคร่ืองตัดหรือบดย่อยวัสดุเป็น

ประจำทุกปี

8.1.4 มีการรวบรวมของเสียจากการซ่อมบำรุงจัดเก็บในภาชนะและสถานที่ที่เหมาะสม 3 AI

เพื่อรอนำไปบำบดั กำจดั ต่อไป

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 22

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีทวั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสิง่ ปฏิกลู หรอื วัสดุทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ทไ่ี ม่เป็นของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 8 ระบบบำบดั มลพษิ และสาธารณูปการอนื่ ๆ ในโรงงาน (ตอ่ )

8.2 การจดั การของเสีย

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธปี ฏบิ ัตงิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

8.2.1 มีการส่งรายงานประจำปีตามแบบใบแจ้งเกี่ยวกับรายละเอียดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ ขอ้ บงั คบั AI

ใช้แล้วสำหรับผู้ก่อกำเนิดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (สก.3) ให้แก่กรมโรงงาน *e

อุตสาหกรรม ภายในวันที่ 1 มนี าคม ของปถี ดั ไป

8.2.2 ต้องไม่ครอบครองสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วภายในโรงงานเกินระยะเวลา 90 วัน ข้อบงั คับ AI

หากเกินกว่าระยะเวลาที่กำหนดไว้นี้ ต้องขออนุญาตต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม *e,h

ตามแบบ สก.1

8.2.3 กรณีส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกไปกำจัดนอกบริเวณโรงงานต้องขออนุญาต ข้อบังคับ AI

และได้รับอนุญาตนำของเสียออกนอกบริเวณโรงงานตามแบบสก.2 และแจ้งข้อมูล *d,e,h

การขนส่งของเสียทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์ หากเป็นของเสียอันตรายต้องจัดทำใบกำกับ

การขนส่ง

8.2.4 ในกรณีที่ทำการบำบัดหรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วภายในบริเวณโรงงาน ขอ้ บังคับ AI

ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมก่อนกำจัด และต้องปฏิบัติ *e

เก่ี ย ว กั บ ส่ิ ง ป ฏิ กู ล ห รื อ วั ส ดุ ที่ ไม่ ใช้ แ ล้ ว ต า ม ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ท่ี ก ร ม โร ง ง า น

อุตสาหกรรมกำหนด

8.2.5 มีการเก็บรวบรวมของเสียท่ีเกิดข้ึนอย่างเหมาะสม เช่น แบ่งประเภทชนิดของเสีย เ 3 AI

กบ็ ในภาชนะทีแ่ ข็งแรง มฝี าปดิ มดิ ชดิ

8.2.6 มีการจัดเก็บของเสียในอาคารมีหลังคาคลุมและพ้ืนคอนกรีต มีการป้องกันการทำ 3 AI

ปฏิกริ ิยาต่อกัน มปี ้ายเคร่ืองหมายและคำเตือนชัดเจน

8.2.7 มีการจดบันทึกข้อมูลของเสีย เช่น ช่ือ ปริมาณสถานะของเสีย (ของแข็ง ของเหลว 2 -

ตะกอน) วันที่จัดเก็บ และติดป้ายบ่งช้ีไว้ที่ภาชนะจัดเก็บของเสียในตำแหน่งที่เห็นได้

อย่างชดั เจน

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ีดีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 23

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกส่งิ ปฏิกูลหรอื วัสดุทไี่ มใ่ ชแ้ ล้วท่ไี ม่เป็นของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 9 การจดั การดา้ นอาชีวอนามยั และความปลอดภัย และการจดั การดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม

9.1 การป้องกนั อคั คีภัย

ข้อ ข้อกำหนดวิธีปฏิบัติงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

9.1.1 ติดต้ังเครื่องดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงตามบริเวณต่างๆ อย่างเพียงพอและ ข้อบังคับ AI

เหมาะสมกบั ความเส่ยี งของพ้ืนที่น้นั ๆ ในการเกิดอัคคภี ยั *f

9.1.2 มีการตรวจสอบ ทดสอบและบำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์สำหรับการป้องกันและ ขอ้ บังคับ AI

ระงบั อัคคภี ัยใหส้ ามารถพรอ้ มทำงานไดต้ ลอดเวลาอยา่ งน้อยเดือนละคร้งั *f

9.1.3 มีการจัดเส้นทางหนีไฟท่ีอพยพพนักงานทั้งหมดออกจากบริเวณท่ีทำงานสู่บริเวณ ขอ้ บงั คบั AI

ที่ปลอดภยั เชน่ ถนนหรือสนามนอกอาคารโรงงานได้ภายใน 5 นาที *f

9.1.4 อาคารโรงงานจัดให้มีอุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ครอบคลุมท่ัวทั้งอาคาร ขอ้ บงั คับ AI

ตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีท่ีไม่มพี นักงานปฏิบัติงานประจำ *f

ตอ้ งตดิ ตั้งอุปกรณต์ รวจจบั และแจง้ เหตุเพลิงไหม้อตั โนมตั ิ

9.1.5 มีการจัดเตรียมน้ำสำรองสำหรับดับเพลิงในปริมาณท่ีเพียงพอที่จะส่งจ่ายน้ำให้กับ 3 AI

อุปกรณฉ์ ีดนำ้ ดับเพลิงไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื งเปน็ เวลาไม่น้อยกวา่ 30 นาที

9.1.6 จัดให้พนักงานได้รับการฝึกอบรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยอย่างน้อย ข้อบงั คบั AI

ปีละครัง้ *f

9.1.7 ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ป้ายทางออกฉุกเฉินที่ประตูหนีไฟ ป้ายสัญลักษณ์บ่งชี้ 2 AI

ตำแหน่งเคร่ืองดับเพลิง หรืออุปกรณ์ดับเพลิง รวมถึงสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

และไฟฉกุ เฉินบอกทางหนีไฟ

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 24

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทดี่ ที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดุที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ท่ีไมเ่ ปน็ ของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 9 การจดั การดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจดั การด้านสงิ่ แวดล้อม
(ต่อ)

9.2 การรองรับเหตุฉุกเฉิน

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑเ์ ฉพาะ

9.2.1 จัดให้มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยของโรงงานดำเนินการตรวจความปลอดภัย ข้อบังคบั AI

ดา้ นอคั คภี ยั เปน็ ประจำอยา่ งนอ้ ยเดือนละคร้ัง *f

9.2.2 มีการจัดทำแผนป้องกันอุบัติภัยเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉินในกรณีเกิดเหตุรั่วไหล อัคคีภัย ข้อบังคับ AI

การระเบิดของสง่ิ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ หรอื เหตุทค่ี าดไม่ถึง *e

9.2.3 จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน ประกอบด้วย แผนการตรวจสอบ ขอ้ บังคับ AI

ความปลอดภัยด้านอัคคีภัย แผนการอบรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัย *f

แผนการดับเพลงิ และแผนการอพยพหนไี ฟ รวมถงึ ตอ้ งปฏิบัติใหเ้ ปน็ ไปตามแผน

9.2.4 มีการระบุตำแหน่งผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนและผู้ที่อยู่ในแผนฉุกเฉินจะต้องได้รับ 3 AI

การฝึกอบรม

9.2.5 มีการซ้อมแผนฉุกเฉินที่ไมใ่ ช่อัคคีภัย เช่น กรณีเกิดเหตุสารเคมรี ่ัวไหล อุทกภัย วาตภัย 3 AI

หรือเหตทุ ีค่ าดไมถ่ งึ อย่างน้อยปลี ะครง้ั

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ีดีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 25

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกสิ่งปฏกิ ลู หรอื วัสดุทไ่ี มใ่ ช้แลว้ ท่ไี มเ่ ป็นของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภยั และการจดั การด้านสิ่งแวดล้อม
(ตอ่ )

9.3 อาชวี อนามัยและความปลอดภยั

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

9.3.1 จัดให้มีสิ่งจำเป็นในการปฐมพยาบาลและการรักษา พยาบาลให้กับพนักงาน เช่น 3 AI

เวชภณั ฑ์และยาเพอื่ ใชใ้ นการปฐมพยาบาล

9.3.2 มีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่พนักงาน และการตรวจพิเศษตามปัจจัยเสี่ยงให้แก่ 3 AI

พนกั งานที่ปฏิบัตงิ านเกยี่ วขอ้ งกบั ความเส่ียงต่างๆ

9.3.3 มีการจัดและดูแลให้พนักงานใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ได้ 3 AI

มาตรฐานและเหมาะสมกับประเภทและชนิดของงาน รวมถึงมีมาตรการเข้มงวดกำชับ

ใหพ้ นักงานสวมใสท่ ุกคร้งั ท่ีปฏิบัตงิ าน

9.3.4 มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานเก่ียวกับระดับความร้อน แสงสว่าง หรือ 3 AI

เสยี งในพ้ืนทเ่ี สย่ี งภายในสถานประกอบการอย่างน้อยปลี ะ 1 คร้งั

9.3.5 พนักงานที่ปฏิบัติงานเก่ียวกับรถโฟล์คลิฟท์หรือเคร่ืองจักรที่อาจก่อให้เกิดอันตราย 3 -

ต้องผา่ นการฝกึ อบรมการใชง้ านเคร่อื งจักรนน้ั

9.3.6 มีการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับรถโฟล์คลิฟท์เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย 3 -

ระหว่างการใช้งาน โดยมีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยก มีการควบคุมความสูงและตำแหน่ง

การจัดวางวัสดุที่จะยก มีการติดสัญญาณเสียงหรือสัญญาณไฟเตือนในขณะทำงาน

และการควบคมุ ดูแลไมใ่ ห้บคุ คลอ่นื โดยสารไปกับรถโฟล์คลฟิ ท์

9.3.7 โรงงานท่ีมีกิจกรรมท่ีทำให้เกิดประกายไฟหรือความร้อนที่เป็นอันตราย ต้องจัดทำ 3 AI

ระบบการอนุญาตทำงานที่มีประกายไฟหรือความร้อนท่ีเป็นอันตราย (Hot Work

Permit System)

9.3.8 มีระบบตรวจติดตามภายในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และดำเนินการ 2 -

ปรับปรงุ แกไ้ ขอยา่ งต่อเน่ือง

9.3.9 ได้รับการรับรองมาตรฐานการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 2 -

18001/TIS 18001/ISO 45001) หรือมาตรฐานอน่ื ๆ ท่เี ป็นทยี่ อมรบั

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 26

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรอื วัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ล้วทีไ่ ม่เป็นของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 9 การจดั การดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั และการจดั การด้านสิง่ แวดลอ้ ม
(ต่อ)

9.4 การจัดการดา้ นสิ่งแวดล้อม

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

9.4.1 มีการกำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม โดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร และส่ือสาร - AI

นโยบายด้านสงิ่ แวดล้อมให้กับบคุ ลากรขององคก์ รทราบ พร้อมเปดิ เผยตอ่ ผ้มู สี ่วนไดเ้ สีย

9.4.2 มีการชี้บ่งประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และการบริการ - AI

ของโรงงาน รวมถึงพิจารณาประเด็นด้านส่ิงแวดล้อมท่ีทำให้เกิดผลกระทบท่ีมีนัยสำคัญ

ต่อส่งิ แวดล้อม และกำหนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายดา้ นส่ิงแวดลอ้ มของโรงงาน

9.4.3 มีการจัดทำแผนงานด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับประเด็นด้านส่ิงแวดล้อมท่ีมี - AI

นัยสำคัญ และเป้าหมายด้านส่ิงแวดล้อมของโรงงาน รวมถึงมีการช้ีแจงทำความเข้าใจ

กับผู้เก่ียวขอ้ ง เพ่อื ให้มกี ารดำเนนิ การตามแผนงานท่กี ำหนดไว้

9.4.4 มกี ารดำเนินการตามแผนงานด้านสง่ิ แวดล้อม - AI

9.4.5 มแี ผนการตรวจติดตามการดำเนนิ การด้านสง่ิ แวดลอ้ ม 2 AI

9.4.6 มีระบบตรวจติดตามภายในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและมีการปรับปรุงแก้ไข 2 AI

อยา่ งตอ่ เน่อื ง

9.4.7 มกี ารตรวจวัดคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มท่ีเกดิ จากกจิ กรรมของโรงงานอย่างสมำ่ เสมอ 2 AI

9.4.8 มีมาตรการท่ีมีประสิทธิภาพในการควบคุมป้องกันการเกิดกล่ินเหม็น แมลงพาหะนำ 2 -

โรคและก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญในพื้นท่ีเก็บกักส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว พื้นท่ี

คัดแยกและพ้ืนที่จัดเก็บวัสดุท่ีคัดแยกแล้วเพ่ือป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย

ของพนักงานและชุมชนข้างเคยี ง

9.4.9 มีมาตรการควบคุมตรวจสอบป้องกันไม่ให้มีการระบายมลพิษผ่านทางลัด (By-pass) 3 AI

หรือปล่อยให้มลพิษแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ผ่านระบบบำบัดมลพิษทั้งใน

สถานการณ์ปกติและสถานการณ์ฉกุ เฉนิ

9.4.10 ได้รับการรับรองระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง 1 -

และขนาดยอ่ ม (EMS for SMEs) ข้นั ท่ี 1 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านที่ดีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 27

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทีด่ ที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกส่ิงปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วทีไ่ ม่เป็นของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 9 การจดั การดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั และการจดั การดา้ นสง่ิ แวดล้อม
(ต่อ)

9.4 การจัดการดา้ นสิง่ แวดล้อม (ต่อ)

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบัติงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

9.4.11 ได้รับรางวัลสิ่งแวดล้อมอ่ืนๆ ท่ีเกย่ี วข้อง เช่น อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับท่ี 2 โครงการ 1 -

ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด โครงการศึกษาศักยภาพในการลดปริมาณน้ำ

ในโรงงาน โครงการยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสีย โครงการพัฒนาศักยภาพ

การใช้ประโยชน์กากของเสีย โครงการความรับผิดชอบต่อสังคม ฉลากสิ่งแวดล้อม

โครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม โครงการธงขาวดาวเขียว โครงการธงขาวดาวทอง

ระบบการผลิตแบบลีน และคารบ์ อนฟุตพริ้นท์ของผลติ ภัณฑ์ เป็นต้น

9.4.12 ได้รับการรับรองระบบมาตรฐานต่างๆ เช่น ISO 14001, ISO 5001, ISO 26000, Eco - AI

Factory, อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3 ข้ึนไป, CSR–DIW/CSR–DIW Continuous,

CSR–DPIM, เหมืองแร่สีเขียว, ผลิตภัณฑ์ฉลากเขียว, รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น

ประเภทการรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับ

โรงงาน อุตสาห กรรมขน าดกลางและขน าดย่อม (EMS for SMEs) ขั้น ที่ 2

ของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 28

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีทวั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวัสดุที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ที่ไมเ่ ป็นของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 9 การจดั การดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั และการจดั การดา้ นสง่ิ แวดล้อม
(ตอ่ )

9.5 การเตรยี มความพร้อมต่อสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ต่อรา้ ยแรง

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑเ์ ฉพาะ

9.5.1 จัดให้มีการคัดกรองผู้ท่ีปฏิบัติงานอยู่ในโรงงานและบุคคลภายนอกที่มาติดต่อ 2 AI

ในโรงงาน โดยมกี ารตรวจวดั อุณหภมู ขิ องรา่ งกายกอ่ นเขา้ พนื้ ท่ีของโรงงาน

9.5.2 จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีทําความสะอาดบริเวณท่ีมีการใช้งานร่วมกันของคนจำนวนมาก เช่น 2 AI

จุดท่ีมีการเข้า-ออกจากอาคาร หน้าลิฟต์ ห้องประชุม ห้องน้ำ-ห้องส้วม โรงอาหาร

ฯลฯ โดยมคี วามถีท่ ่สี อดคล้องกับการใชง้ าน แต่ไมค่ วรน้อยกวา่ 2 ครงั้ /วนั

9.5.3 จัดให้มีแนวปฏิบัติด้านการป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง กรณีพบพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ 2 AI

หรอื บคุ คลอืน่ ทเ่ี ขา้ มาในโรงงาน มอี าการบง่ ช้ถี งึ การติดเช้อื

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัติงานทดี่ ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 29

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดีทว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกส่งิ ปฏิกูลหรือวัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ล้วท่ไี ม่เปน็ ของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 10 การสื่อสารตอ่ สาธารณะและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม

10.1 ความรบั ผิดชอบต่อสังคม

ข้อ ข้อกำหนดวิธีปฏิบัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

10.1.1 มีระบบการรับเร่ืองร้องเรียนหรือช่องทางการรับเร่ืองร้องเรียน และตรวจสอบเร่ือง 2 AI

รอ้ งเรยี นจากชมุ ชน รวมถึงมกี ารดำเนนิ การเพอ่ื แก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ อยา่ งเป็นระบบ

10.1.2 มกี ารประกอบกิจการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยคำนึงถึงคุณภาพและมาตรฐาน 1 AI

การให้บริการ และมีการป้องกันหรือกำจัดมลพิษในกระบวนการผลิตเพ่ือไม่ให้ส่งผล

กระทบตอ่ ชมุ ชน (In Process)

10.1.3 มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีมีผลต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 1 AI

สิ่งแวดล้อมของโรงงาน เช่น มีการดูแลสวัสดิการของพนักงาน และมีความรับผิดชอบ

ตอ่ ลูกคา้ และชุมชน (Out Process)

10.1.4 มีการดำเนินกิจกรรมเพ่ือสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีมีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ีไม่ 1 -

เกี่ยวกับการดำเนินงานของโรงงานโดยตรง เช่น การปลูกป่า การบริจาคทุนการศึกษา

การรณรงค์สร้างจิตสำนกึ การช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั เป็นตน้

10.1.5 มีการแสดงข้อมูลเบื้องต้นโดยการติดตั้ง QR Code ที่หน้าโรงงาน เพ่ือให้ประชาชน ขอ้ บังคบั -

สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลการประกอบกจิ การโรงงานท่ีเป็นข้อมลู สาธารณะ รวมทง้ั สามารถ *j

แจ้งขอ้ คิดเห็นหรือขอ้ ร้องเรยี นผา่ นการสแกน QR Code ได้

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 30

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ ทไ่ี มเ่ ปน็ ของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 10 การสือ่ สารต่อสาธารณะและความรบั ผิดชอบต่อสังคม (ตอ่ )

10.2 การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

10.2.1 มกี ารประกอบกจิ การตามที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมเทา่ นัน้ ขอ้ บงั คับ AI

*k

10.2.2 มีข้อมูลผลวิเคราะห์ทางเคมีและกายภาพของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วก่อนการ ข้อบงั คบั AI

ดำเนินการบำบัดหรือกำจัดจากห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของสถานประกอบการ *e

ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของทางราชการหรือห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ที่ขึ้นทะเบียนไว้

กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม และให้จัดเก็บข้อมูลผลวิเคราะห์ไว้อย่างน้อย 3 ปี

(ตอ้ งพิจารณาตามประเภทลักษณะเฉพาะของส่ิงปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ่ีไม่ใช้แลว้ )

10.2.3 มีการส่งรายงานประจำปีตามแบบใบแจ้งเกี่ยวกับรายละเอียดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ ขอ้ บังคับ AI

ใช้แล้ว สำหรับผู้บำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (สก.5) ให้แก่ *e

กรมโรงงานอุตสาหกรรม ภายในวนั ท่ี 1 มนี าคม ของปถี ดั ไป

10.2.4 มีการจัดทำบัญชีแสดงรายการส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีรับบำบัดหรือกำจัด ขอ้ บังคับ AI

ตามแบบ (สก.6) โดยต้องจัดทำในวันที่รับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วเข้ามาภายใน *i

บริเวณโรงงานในแต่ละวันและต้องจัดเก็บไว้เป็นหลักฐานแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

เพื่อตรวจสอบไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี

10.2.5 มีการจัดทำบัญชีแสดงรายการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเข้าสู่กระบวนการบำบัด ข้อบงั คับ AI

หรือกำจัดตามแบบ (สก.7) โดยต้องจัดทำในวันท่ีทำการบำบัดหรือกำจัดในแต่ละวัน *i

และต้องจัดเก็บไว้เป็นหลักฐานแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีเพ่ือตรวจสอบ ไม่น้อยกว่า

1 ปี

10.2.6 มีการแจ้งรายงานข้อมูลการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามแบบสก.3-สก.7 3 AI

ทางระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม

10.2.7 จัดให้มีระบบการสอบกลับสมดุลมวลสาร (Material Balance) ของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ 3 AI

ท่ีไม่ใช้แล้วท่ีรับเข้ามาจัดการภายในโรงงาน โดยมีการรายงานผลอย่างน้อยเดือนละ

1 ครง้ั

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานทดี่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 31

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ดี ที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกสิง่ ปฏิกลู หรอื วัสดุท่ไี มใ่ ชแ้ ล้วท่ีไมเ่ ปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 10 การสอ่ื สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม (ต่อ)

10.2 การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏบิ ตั ิงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

10.2.8 ใชว้ ิธีกำจัดสงิ่ ปฏิกูลหรือวสั ดุท่ีไม่ใช้แลว้ ชนิดและประเภทของเสยี ตรงกับทา้ ยประกาศ 3 AI

กรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง การกำหนดชนิด และประเภทของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ

ที่ไม่ใช้แล้ว และวิธีการกำจัด สำหรับการขออนุญาต และการอนุญาตให้นำสิ่งปฏิกูล

หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงานแบบอัตโนมัติผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

พ.ศ. 2561 (ตามประเภทกจิ กรรมที่โรงงานเขา้ รว่ มโครงการ)

10.2.9 มีการแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเกี่ยวกับ ขอ้ บังคบั AI

ข้อมูลของสารเคมีที่ใช้หรือเก็บรักษาภายในบริเวณโรงงาน และข้อมูลอื่นที่จำเป็น *g

ที่เก่ียวข้องกับการติดตามตรวจสอบการปนเป้ือนในดินและน้ำใต้ดิน หรือเหตุผลท่ีไม่

ขอดำเนนิ การเกบ็ ตวั อยา่ งดินและน้ำใต้ดินตามท่ปี ระกาศกระทรวงฯ ระบุ

10.2.10 กรณีประกอบกิจการโรงงานอยู่ก่อนวันท่ีกฎกระทรวงควบคุมการปนเป้ือนในดินและ ข้อบังคับ AI

น้ำใต้ดินภายในบริเวณโรงงาน พ.ศ. 2559 ใช้บังคับต้องจัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพ *c

ดินและน้ำใต้ดินครั้งแรกภายใน 180 วัน นับแต่วันท่ีกฎกระทรวงน้ีใช้บังคับ พร้อมท้ัง

จั ด ท ำ แ ล ะ ส่ ง ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ดิ น แ ล ะ น้ ำ ใต้ ดิ น ให้ ก ร ม โร ง ง า น

อุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานต้ังอยู่ภายใน 180 วัน นับแต่

วันครบกำหนดการตรวจสอบคร้ังแรกและจัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน

คร้ังที่ 2 เม่ือครบกำหนด 180 วัน นับแต่วันที่ได้ตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน

ในครั้งแรก พร้อมท้ังจัดทำและส่งรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน

ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน

120 วัน นับแต่วันครบกำหนดการตรวจสอบคณุ ภาพดินและนำ้ ใต้ดินคร้ังที่ 2

10.2.11 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพดินต่อไปทุก 3 ปี และ ข้อบังคบั AI

ตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดินต่อไปทุก 1 ปี และต้องจัดทำและส่งรายงานผล *c

การตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงาน

อุตสาหกรรม จังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน 120 วัน นับแต่วันครบกำหนด

การตรวจสอบคณุ ภาพดินและนำ้ ใตด้ ินในแต่ละกรณี

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 32

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ่ไี ม่ใช้แล้วท่ไี ม่เปน็ ของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การสอ่ื สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม (ต่อ)

10.2 การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

10.2.12 การตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินต้องดำเนินการโดยห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ขอ้ บังคบั AI

เอกชนที่ได้ข้ึนทะเบียนไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือห้องปฏิบัติการวิเคราะห์อื่น *c

ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเหน็ ชอบ

10.2.13 กรณีท่ีมีผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน มีการปนเปื้อนสูงกว่าเกณฑ์ ข้อบงั คับ AI

การปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินต้องจัดทำรายงานเสนอมาตรการควบคุมการปนเปื้อน *c,g

ในดินและน้ำใต้ดินและมาตรการลด การปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินให้ไม่สูงกว่า

เกณฑ์ฯ และส่งรายงานให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

ที่โรงงานตั้งอยู่ ภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ตรวจพบวา่ มีการปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน

สูงกวา่ เกณฑฯ์

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานทดี่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 33

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะสำหรบั
การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั โรงงานรบั รไี ซเคลิ และบำบดั /กำจดั
สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีทั่วไปสำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูล

หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว มีข้อกำหนดจำนวนท้งั สิ้น 325 ข้อ และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ

การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) มีข้อกำหนดจำนวนทั้งสิ้น 236 ข้อ ตามลำดับ ซ่ึงจะประกอบด้วยข้อกำหนดวิธีการ

ปฏิบตั งิ าน 10 ส่วน (ขนั้ ตอนการประกอบกิจกรรม) ดังน้ี

สว่ นที่ 1 การประเมนิ การรบั สง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุทีไ่ ม่ใช้แล้วขน้ั ตน้
ส่วนที่ 2
การขนสง่ สิ่งปฏิกลู หรือวสั ดุทไ่ี ม่ใช้แล้ว กรณีโรงงานเป็นผูร้ วบรวมและขนส่ง
ส่วนท่ี 3 หรอื เปน็ ผู้แตง่ ตง้ั ตัวแทน
สว่ นท่ี 4 การรับสง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้วเขา้ มาไว้ในบรเิ วณโรงงาน

สว่ นที่ 5 การจัดเก็บส่งิ ปฏิกลู หรอื วัสดุท่ีไม่ใชแ้ ล้วไวใ้ นพ้นื ท่เี กบ็ กากเพอ่ื รอนำเข้าสู่
ส่วนท่ี 6 กระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดสิง่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดุที่ไม่ใชแ้ ลว้
ส่วนที่ 7 การกำจดั สง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใ่ ช้แล้วโดยวธิ ีการฝงั กลบ
ส่วนท่ี 8
สว่ นท่ี 9 การบำบดั /กำจดั สิง่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุที่ไมใ่ ช้แล้วโดยการเผาในเตาเผา
สว่ นท่ี 10
การรีไซเคลิ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ไี มใ่ ชแ้ ล้ว

ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณูปการอืน่ ๆ ในโรงงาน

การจัดการด้านอาชวี อนามยั และความปลอดภัย และการจัดการดา้ นสงิ่ แวดล้อม

การสื่อสารตอ่ สาธารณะและความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานทีด่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 34

ในการนำเสนอเกณฑ์มาตรฐานฯ แต่ละส่วนน้ัน จะแสดงท้ังข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานท่ีดีท้ัง 10 ส่วน
หรือข้ันตอนการประกอบกิจกรรมน้ันๆ และระดับความสำคัญของแต่ละข้อกำหนดในรูปแบบของตาราง
โดยในคอลมั นร์ ะดบั ความสำคัญของขอ้ กำหนดจะใชต้ วั เลขและสัญลักษณ์ท่ีส่อื ความหมาย ดังนี้

สญั ลักษณ์ *X ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีน้ัน เป็นข้อกำหนดด้านกฎหมายที่ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 โดย x เป็นรายชื่อกฎหมาย
อักษรย่อ AI ที่เก่ยี วข้องกบั ข้อกำหนดวิธีปฏบิ ัตงิ านที่ดนี ั้นๆ
ตัวเลข 3, 2
ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาต
และ 1 อัตโนมตั ิ (AI)
“-”
ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานท่ีดีน้ัน มีระดับความสำคัญระดับมาก ปานกลาง
และน้อย ตามลำดบั

ไม่เป็นข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีสำหรับกิจกรรมบำบัด/กำจัดส่ิงปฏิกูล
หรือวัสดุท่ีไมใ่ ช้แลว้ ประเภทนน้ั ๆ

โดยมีรายช่ือกฎหมายท่ีอ้างถึงในหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีสำหรับโรงงานรับรีไซเคิล
และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ูลหรอื วสั ดุท่ไี มใ่ ชแ้ ลว้

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 35

สัญลกั ษณ์ รายชอื่ กฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

a กฎกระทรวงฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535
b กฎกระทรวงฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัตวิ ัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
c กฎกระทรวง กำหนดมาตรการความปลอดภัยเกยี่ วกับระบบไฟฟา้ ในโรงงาน พ.ศ. 2550
d กฎกระทรวง ควบคมุ การปนเปื้อนในดนิ และนำ้ ใต้ดินภายในบรเิ วณโรงงาน พ.ศ. 2559
e ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การรายงานข้อมูลต่างๆ ของโรงงานหลอมตะก่ัวจาก
แบตเตอรเ่ี ก่า พ.ศ. 2544
f ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดให้โรงงานประเภทต่างๆ ต้องติดตั้งเครื่องมือ
หรือเคร่ืองอปุ กรณ์พเิ ศษเพื่อตรวจสอบคณุ ภาพอากาศออกจากปล่องแบบอัตโนมัติ พ.ศ. 2544
g ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง มาตรการคมุ้ ครองความปลอดภยั ในการประกอบกิจการ
โรงงานหลอมตะก่ัวจากแบตเตอร่เี ก่า พ.ศ. 2544
h ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจาก
ปลอ่ งเตาเผาสง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ่ีไม่ใชแ้ ลว้ ท่ีเป็นอนั ตรายจากอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2545
i ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง ระบบเอกสารกำกบั การขนสง่ ของเสยี อันตราย พ.ศ. 2547
j ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรอ่ื ง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเก่ียวกบั สง่ิ ปฏิกูล
หรือวสั ดุท่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ จากโรงงานโดยทางสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Internet) พ.ศ. 2547
k ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เร่อื ง การกำจดั ส่งิ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุที่ไมใ่ ช้แลว้ พ.ศ. 2548
l ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบาย
ออกจากโรงงาน พ.ศ. 2549
m ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดค่าปริมาณของสารเจือปนในอากาศท่ีระบาย
ออกจากโรงงานปูนซเี มนต์ พ.ศ. 2549
n ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง มาตรการความปลอดภัยเก่ียวกับหม้อน้ำและหม้อต้ม
ทใ่ี ช้ของเหลวเปน็ ส่ือนำความร้อน พ.ศ. 2549
o ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดให้สถานประกอบการวัตถุอันตราย
มีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม
p รับผิดชอบ พ.ศ. 2551
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเก่ียวกับการศึกษามาตรการป้องกัน
q และแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั พ.ศ. 2552
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่อื ง การป้องกนั และระงับอคั คีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 36

สญั ลกั ษณ์ รายชื่อกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง

r ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการ
ควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติ
s ของผู้ควบคุมดูแล ผู้ปฏิบัติงานประจำ และหลักเกณฑ์การข้ึนทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสำหรับ
t ระบบปอ้ งกันส่ิงแวดล้อมเปน็ พิษ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2554
u ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง การจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบาย
v ออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม
w รับผิดชอบ พ.ศ. 2558
x ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขึ้นทะเบียนภาชนะบรรจุท่ีใช้ขนส่งวัตถุอันตราย
y ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรบั ผิดชอบ พ.ศ. 2558
z ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง กำหนดเกณฑ์การปนเป้ือนในดินและน้ำใต้ดิน
การตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน การแจ้งข้อมูลรวมท้ังการจัดทำรายงานผลการ
aa ตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินและรายงานเสนอมาตรการควบคุมและมาตรการลดการ
ปนเปือ้ นในดินและนำ้ ใตด้ ิน พ.ศ. 2559
ab ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการความปลอดภัยเก่ียวกับหม้อน้ำและหม้อต้ม
ac ทใี่ ชข้ องเหลวเปน็ สอื่ นำความรอ้ น (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2559
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำท้ิงจากโรงงาน
พ.ศ. 2560
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกําจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.
2560
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรือ่ ง หลักเกณฑ์การพิจารณา การแต่งตง้ั ตัวแทนเพ่ือเป็นผู้
รวบรวมและขนส่งของเสียอันตราย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง การกำจัด
สิง่ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว พ.ศ. 2548
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ
ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่
ใช้แลว้ พ.ศ. 2550
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่อื ง คมู่ ือการเก็บรักษาสารเคมีและวตั ถุอันตราย พ.ศ. 2550
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง การส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบตรวจสอบคุณภาพอากาศ
จากปล่องแบบอตั โนมัตอิ ยา่ งต่อเนื่อง พ.ศ. 2550

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 37

สญั ลกั ษณ์ รายชอื่ กฎหมายที่เก่ยี วขอ้ ง

ad ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งมีบุคลากรเฉพาะ การจด
ทะเบียนบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายท่ีกรมโรงงาน
ae อุตสาหกรรมรบั ผิดชอบ และการรายงานความปลอดภยั การเก็บรักษาวัตถุอันตราย พ.ศ. 2551
af ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง การกำหนดเง่ือนไขในใบอนุญาตมีไว้ในครอบครอง
ซง่ึ วตั ถุอนั ตรายเพื่อการขนส่ง พ.ศ. 2555
ag ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ah หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2556
ai ประกาศกรมโรงงานอตุ สาหกรรม เรอื่ ง แบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออก
จากโรงงาน พ.ศ. 2559
aj ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการให้ความเห็นชอบในการ
ak ตรวจสอบภายในหม้อน้ำทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ต่อการตรวจสอบ 1 ครั้ง
พ.ศ. 2559
al ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การข้ึนทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ
หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกาก
อุตสาหกรรม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2564
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ขอความร่วมมือผู้ประกอบกิจการโรงงานแสดงข้อมูล
เบือ้ งต้นโดยการติดตั้ง QR Code ท่ีหน้าโรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือ
การดำเนินการ ซ่ึงต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม และหลักเกณฑ์
วิธีการ และเง่ือนไขในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 4
มกราคม 2562
เง่ือนไขการประกอบกิจการโรงงานซ่ึงกำหนดไว้ท้ายใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานหรือ
กำหนดไวใ้ นมาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มในรายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบ
สิ่งแวดล้อม (EIA)

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 38

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั สง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 1 การประเมินการรบั สง่ิ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้วข้ันต้น

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

1.1 โรงงานมีการแจ้งเป็นหนังสือให้ลูกค้าทราบถึงประเภทกิจการท่ีได้รับ ขอ้ บังคบั ข้อบังคับ AI

อนุญาต และประเภทส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่สามารถ *k *k

รับดำเนนิ การได้ พร้อมแนบสำเนาใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงาน

1.2 มีการรับบำบัด กำจัดเฉพาะส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีได้รับ ข้อบงั คบั ขอ้ บังคบั AI

อนุญาตตามเง่อื นไขการประกอบกจิ การโรงงานทีก่ ำหนดไวใ้ ใบอนญุ าต *k *k

ประกอบกจิ การโรงงานเท่าน้นั

1.3 โรงงานได้รับเอกสารข้อมูลสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทุกชนิดท่ีทำ 2 3 AI

การบำบัดจากลูกค้า เช่น ชื่อกระบวนการเฉพาะท่ีก่อให้เกิด ปริมาณ

ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นต่อปี สถานะ (ของแข็ง ของเหลว ตะกอน)

ผลวิเคราะห์ทางเคมี ความเปน็ อนั ตราย และวธิ ีการเก็บ เปน็ ต้น

1.4 มีการตรวจสอบวิเคราะห์คุณสมบัติสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 2 3 AI

เพ่ือยืนยันว่าเป็นประเภทส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีโรงงาน

สามารถรับมาบำบดั กำจัดในโรงงานได้ก่อนตกลงให้บริการ

1.5 มีการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วให้สอดคล้อง 3 3 AI

กบั ขดี ความสามารถในการจดั การสิง่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดทุ ่ีไม่ใช้แลว้

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 39

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านที่ดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจัดสง่ิ ปฏิกูลหรือวสั ดุท่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 2 การขนสง่ สิง่ ปฏิกูลหรอื วสั ดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ลว้ กรณีโรงงานเปน็ ผรู้ วบรวมและขนสง่
หรอื เป็นผู้แต่งตงั้ ตัวแทน

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

2.1 ก่อนการขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วมีการทำสัญญาหรือหนังสือ 3 3 AI

ยินยอมการให้บริการระหว่างผู้ให้บริการรับบำบัด กําจัดส่ิงปฏิกูลหรือ

วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (Waste Processor) กับโรงงานผู้ก่อกำเนิดส่ิงปฏิกูล

หรือวสั ดทุ ไี่ มใ่ ช้แลว้ (Waste Generator) ทุกราย

2.2 มีระบบควบคุม ตรวจสอบสภาพรถขนส่งและภาชนะบรรจุให้มีสภาพดี 3 ข้อบงั คบั AI

กอ่ นออกไปปฏิบัติงานทุกครัง้ เพ่ือป้องกันไม่ให้มีการหกหลน่ หรือร่ัวไหล *t

ของสิ่งปฏิกลู หรือวสั ดุทีไ่ ม่ใชแ้ ล้วในระหว่างการขนส่ง

2.3 มีระบบควบคุมตรวจสอบความพร้อมของคนขับรถขนส่งวัตถุอันตราย 3 ขอ้ บงั คับ AI

ทกุ คร้งั ก่อนออกปฏิบัติงาน *t

2.4 มีการตรวจสอบว่าผู้ขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสีย - 3 AI

อันตราย หรือผู้เก็บรวบรวม กำจัดหรือบำบัดสิ่งปฏิกูลฯ มีเลขประจำตัว

ท่ีออกให้โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งตรวจสอบว่า ได้รับการ

แต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพ่ือเป็นผู้รวบรวมขนส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว

ที่ เป็ น ข อ ง เสี ย อั น ต ร า ย อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ต า ม ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ท่ี

กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด เฉพาะกรณีท่ีโรงงานไม่ได้เป็นผู้ขนส่งเอง

เพ่ือใช้ในการติดตามการขนส่งของเสียอันตรายตามระบบเอกสารกำกับ

การขนสง่ ของเสียอันตราย

2.5 จัดให้มีอุปกรณ์และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยหรือ 3 ขอ้ บังคบั AI

ระงับอุบัติภัยไว้ประจำรถ และมีการตรวจสอบให้อยู่ในสภาพที่พร้อม *t

ใช้งานอยูเ่ สมอ

2.6 รถท่ีใช้ขนส่งวัตถุอันตรายทุกคันมีการข้ึนทะเบียนกับกรมโรงงาน - ขอ้ บงั คับ AI

อุตสาหกรรม [ผู้ขนส่งของเสียอันตรายต้องได้รับใบอนุญาตมีไว้ใน *t

ครอบครองซ่ึงวัตถุอันตราย (วอ.8) เพ่ือการขนส่ง และประเภทของเสีย

ทขี่ นส่ง สอดคลอ้ งกบั รายการท่ีระบุไว้ใน วอ.8]

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 40

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ีไม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 2 การขนส่งสิ่งปฏิกลู หรอื วสั ดุท่ีไมใ่ ช้แลว้ กรณีโรงงานเป็นผรู้ วบรวมและขนส่ง
หรอื เป็นผู้แต่งตัง้ ตัวแทน (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

2.7 มีการตรวจสอบว่าส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีจะทำการขนส่งมี 3 ขอ้ บงั คบั AI

ความถูกตอ้ งท้งั ชนิดและปริมาณตามทไี่ ด้รบั อนุญาต *i

2.8 วัตถุอันตรายท่ีจะขนส่งต้องมีการบรรจุในภาชนะที่เหมาะสม หรือมี 3 ข้อบงั คับ AI

การติดฉลาก ป้าย หรือเคร่ืองหมายแสดงความเป็นอันตรายบนภาชนะ *t

ซึ่งระบุช่ือลูกค้าที่ส่งวัตถุอันตราย ชนิดและปริมาณวัตถุอันตราย

วันทร่ี ับ และเลขท่ใี บกำกับการขนสง่

2.9 มีการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉินขณะเก็บรวบรวม 3 ขอ้ บังคับ AI

และขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว เช่นการตรวจสอบการจัดวาง *z

การผูกรัด การตดิ ตรงึ หรือการบรรทุกวัตถอุ ันตรายบนรถ

2.10 มีการตรวจสอบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายให้มีความถูกต้อง - ข้อบังคบั AI

และครบถ้วนและลงนามโดยผูม้ อี ำนาจ *i,t

2.11 มีมาตรการและแผนฉุกเฉินกรณีเกิดการหกรั่วไหลของส่ิงปฏิกูลหรือ 3 3 AI

วัสดุทไี่ มใ่ ช้แล้วขณะเก็บรวบรวมและขนส่ง

2.12 มีมาตรการป้องกัน ควบคุมการลักลอบนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว 3 3 AI

ออกไปจดั การในระหว่างการขนส่ง

2.13 มีระบบติดตามยานพาหนะโดยใช้เทคโนโลยีผ่านสัญญาณดาวเทียม 2 ขอ้ บังคับ AI

(Global Positioning System : GPS) เพื่อควบคุมรถขนส่งสิ่งปฏิกูล *ae

หรือวสั ดุที่ไม่ใช้แลว้ ตลอดเส้นทางท่ีใช้ขนส่งเพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่มีการ

ลักลอบนำสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุทีไ่ ม่ใชแ้ ลว้ ไปทง้ิ หรอื กำจัดอย่างไมถ่ กู ตอ้ ง

2.14 กรณีท่ีมีการบรรทุกวัตถุอันตรายรวมกับส่ิงอื่นต้องแยกไว้เป็นส่วนหน่ึง - ข้อบงั คบั AI

ต่างหากโดยมีสิ่งห่อหุ้มเพ่ือป้องกันไม่ให้วัตถุอันตรายหกหรือรั่วไหล *t,a

ถ้าภาชนะบรรจเุ กิดแตกหักหรอื ชำรดุ

2.15 จัดทำเอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับวัตถุอันตราย เพ่ือใช้เป็นเอกสาร - ขอ้ บงั คบั AI

ประจำยานพาหนะ *ae

2.16 ผู้ขนส่งต้องจัดให้มีการข้ึนทะเบียนภาชนะบรรจุและการประกัน ข้อบงั คบั AI

ความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนต่อส่ิงแวดล้อม สุขภาพอนามัย ชีวิต หรือ - *u,ae

ทรพั ยส์ นิ ที่เกดิ จากการขนสง่

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานท่ดี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 41

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสง่ิ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 2 การขนสง่ สง่ิ ปฏิกูลหรอื วสั ดุที่ไมใ่ ช้แลว้ กรณีโรงงานเปน็ ผู้รวบรวมและขนส่ง
หรอื เปน็ ผู้แตง่ ตงั้ ตัวแทน (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวิธปี ฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

2.17 จัดให้มีการฝึกอบรมแรกเข้าในหัวข้อการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย 1 3 -

ขณะขนถ่ายส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วให้กับพนักงานที่ปฏิบัติงาน

ด้านการขนส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และจัดให้มีการฝึกอบรม

อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 คร้งั

2.18 มีการทำประกันภัยตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผปู้ ระสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 1 1 -

2.19 มีการจัดทำประกันภัยความเสียหายจากอุบัติเหตุในการขนส่งวัตถุ - 3 AI

อันตราย การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายจากอุบัติเหตุท่ีทำให้

เกิดการร่ัวไหล ระเบิดหรือการติดไฟของวตั ถอุ ันตรายสำหรับค่าใช้จ่าย

ในการเคล่ือนย้าย บำบัด บรรเทาความเสียหาย การฟ้ืนฟูให้กลับสู่

สภาพเดิมหรือสภาพใกล้เคียง รวมถึงความเสียหายแก่ส่ิงแวดล้อม

สัตว์ พืช ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพย์สินของแผ่นดินหรือทรัพย์ไม่มี

เจ้าของโดยมีจำนวนเงินเอาประกันภัยไม่น้อยกว่า 5 ล้านบาท สำหรับ

เหตุการณ์แตล่ ะคร้ัง

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานทด่ี ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 42

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดีทว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดสิ่งปฏิกลู หรือวสั ดุทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 3 การรับสงิ่ ปฏิกูลหรอื วัสดุทไี่ มใ่ ชแ้ ล้วเขา้ มาไวใ้ นบริเวณโรงงาน

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

3.1 มีการรับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วจากโรงงานลูกค้าที่ได้รับ 2 ข้อบังคับ AI

ใบอนุญาตนำส่ิงปฏกิ ูลหรอื วัสดุท่ีไม่ใช้แลว้ ออกนอกโรงงานตามรายช่ือ *aa

และปรมิ าณสิ่งปฏิกูลหรือวสั ดุทไ่ี มใ่ ช้แล้วทีร่ ะบไุ วใ้ นใบอนญุ าตเท่านน้ั

3.2 มกี ารตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อและปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ 3 ขอ้ บังคับ AI

ที่ไม่ใช้แล้วใหถ้ กู ตอ้ งตรงกนั กับทร่ี ะบไุ วใ้ นใบกำกบั การขนสง่ *i,aa

3.3 มีเกณฑ์ในการปฏิเสธการรับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และมี 2 ขอ้ บงั คบั AI

มาตรการตอบสนองกรณีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ขนส่งไม่ตรง *i,aa

กับในใบกำกับการขนส่งหรือตามทต่ี กลงกนั ไว้

3.4 ถนนหรือเส้นทางเดินรถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วภายใน 2 3 AI

โรงงานจะต้องแข็งแรง (เช่น พื้นคอนกรีตหรือลาดยาง) มีการแบ่งช่อง

จราจรชัดเจน และมีป้ายเตือนในบริเวณท่ีเป็นจุดเส่ียงต่อการเกิด

อุบัติเหตุตั้งแต่ปากทางเข้าโรงงานจนถึงพื้นท่ีปฏิบัติงานรีไซเคิลหรือ

กำจดั

3.5 มีการตรวจสอบและบันทึกการเข้า-ออกของรถขนสง่ สิ่งปฏิกลู หรือวัสดุ 2 2 AI

ทไ่ี มใ่ ชแ้ ล้ว

3.6 มีการตรวจสอบลักษณะของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเข้ามา 3 3 AI

ในโรงงานกอ่ นทำการรบั แตล่ ะครัง้

3.7 มีจุดล้างล้อรถ และล้างกระบะรถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 1 2 AI

กอ่ นออกนอกบริเวณโรงงานและมรี ะบบรวบรวมนำ้ เสียจากการล้างรถ

แยกจากระบบระบายน้ำฝน และนำน้ำเสียไปบำบัด (กรณีขอรับ

การตรวจประเมินรับรองระบบอนุญาตอัตโนมัติ (AI) จะพิจารณา

เฉพาะกจิ กรรมฝังกลบสงิ่ ปฏิกลู หรือวสั ดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว)

3.8 การรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วเข้ามาในโรงงาน ต้องแจ้งข้อมูล 2 ข้อบังคบั AI

ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมทางสือ่ อเิ ล็กทรอนิกสท์ ุกครั้ง *j,k

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 43

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ ส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวสั ดทุ ่ไี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 4 การจดั เก็บสงิ่ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ไวใ้ นพ้ืนทเี่ ก็บกากเพื่อรอนำเขา้ สู่
กระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดุท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

4.1 มีการจัดเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีรับมอบภายในอาคารหรือ ขอ้ บังคับ ข้อบงั คบั AI

บริเวณที่จัดไว้โดยเฉพาะ กรณีจัดเก็บไว้ในอาคาร สภาพอาคารต้องมี *aa *aa

ความมั่นคงแข็งแรง มีการระบายอากาศท่ีพอเพียง และมีพื้นท่ี

เพียงพอต่อการจัดเก็บอย่างปลอดภัย กรณีจัดเก็บไว้นอกอาคารต้องมี

มาตรการป้องกันและควบคุมด้านความปลอดภัยและด้านส่ิงแวดล้อม

โดยเฉพาะการปนเป้ือนและกระจายสู่ดิน น้ำ อากาศ โดยการจัดเก็บ

ไว้นอกอาคารต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

หรือหน่วยงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายกอ่ น

4.2 มีการแยกพื้นท่ีส่วนที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น ขอ้ บงั คับ ข้อบงั คับ AI

อันตรายและไม่อันตราย หรือส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น *aa *aa

อันตรายท่ีอาจก่อปฏิกิริยาต่อกันออกจากกันเป็นสัดส่วน โดยต้อง

แสดงป้ายเคร่ืองหมาย และคำเตือนความเป็นอันตรายติดตั้งไว้ใน

บริเวณที่จัดเก็บสิ่งปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ อันตรายด้วย

4.3 ระยะเวลาท่ีใช้ในการบำบัด กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่ ขอ้ บงั คบั ข้อบังคบั AI

เป็นอันตรายภายใน 30 วัน และสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น *aa *aa

อันตรายภายใน 15 วัน นับจากวันท่ีรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

เข้ามาในบริเวณโรงงานทัง้ นี้ หากจำเป็นต้องขยายเวลาการบำบัด หรือ

กำจัด ต้องแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานท่ีได้รับ

มอบหมายภายใน 5 วัน ก่อนครบเวลาท่ีกำหนด โดยต้องแสดงเหตุผล

และความจำเป็นประกอบการพจิ ารณาอนญุ าตด้วย

4.4 มีการเลือกวิธีการจัดเก็บรวมถึงประเภทภาชนะที่จัดเก็บให้เหมาะสม 3 ข้อบังคับ AI

กับประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วและปริมาณส่ิงปฏิกูลหรือ *aa

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเก็บกักต้องไม่เกินความสามารถในการรองรับของ

ภาชนะบรรจุ กรณีเป็นภาชนะบรรจุส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ท่ีเป็นอันตรายต้องมีสภาพม่ันคง แข็งแรง และเป็นไปตามมาตรฐาน

กำหนด และต้องติดฉลากป้าย หรือเคร่ืองหมายแสดงความเป็น

อนั ตราย

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 44

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 4 การจดั เกบ็ สงิ่ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ ไวใ้ นพนื้ ท่เี ก็บกากเพ่ือรอนำเข้าสู่
กระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ลว้ (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

4.5 ภาชนะหรือบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว - ขอ้ บังคับ AI

ท่ีอันตรายที่เป็นของเหลวท่ีมีขนาดภาชนะตั้งแต่ 25,000 ลิตรขึ้นไป *a

ต้องมีเขื่อนหรือกำแพงคอนกรีตโดยรอบ ให้มีขนาดท่ีสามารถกักเก็บ

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วได้ท้ังหมด เว้นแต่กรณีมีภาชนะบรรจุ

มากกว่า 1 ถัง ให้สร้างเขื่อนที่สามารถเก็บกักสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่

ใช้แล้วเท่ากับปริมาตรของถังเก็บที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และต้องจัดให้มี

เคมีภัณ ฑ์ที่มีคุณ สมบัติเหมาะสมในการลดความรุนแรงของ

การแพร่กระจายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายดังกล่าว

อยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอ

4.6 บริเวณท่ีจัดเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็นสารอันตราย เช่น 3 3 AI

สารไวไฟหรือตัวทำละลายต้องไม่มีแหล่งกำเนิดประกายไฟ หรือ

ความร้อนในบริเวณ และหากมีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าจะต้องเป็นชนิด

ป้องกันการระเบิด (Explosion Proof) เพ่ือป้องกันการลุกไหม้หรือ

การระเบิด และทำปา้ ยเตือนอนั ตรายตดิ ไว้ในตำแหน่งท่ีเห็นไดช้ ดั เจน

4.7 สถานท่ีจัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นวัตถุดิบซ่ึงเป็น - ขอ้ บังคบั AI

สารอนั ตราย เช่น สารไวไฟ ตัวทำละลาย ทม่ี ีพ้ืนท่ีเกนิ 14 ตารางเมตร *q

ต้องติดตงั้ ระบบดับเพลงิ อตั โนมตั ทิ เี่ หมาะสมกับสภาพพนื้ ทน่ี ้ัน

4.8 สถานที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นวัตถุท่ีติดไฟได้ 3 3 AI

ที่มีพื้นท่ีต่อเนื่องติดต่อกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรข้ึนไป ต้องติดตั้ง

ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวกระจายน้ำหรือสารเคมีดับเพลิง

อัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) หรือระบบอื่นที่เทียบเท่า

ใหค้ รอบคลุมพืน้ ท่ี

4.9 พ้ืนที่เก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วต้องมีความแข็งแรงทนทาน 2 2 AI

มีลักษณะเรียบและมีความลาดเอียงเหมาะสม ไม่แตกร้าว ทำความ

สะอาดง่าย และไมด่ ูดซบั หรอื สะสมสารทอี่ าจหกหรอื รว่ั ไหล

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 45

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจัดส่งิ ปฏิกูลหรือวสั ดุท่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 4 การจดั เก็บสงิ่ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้วไวใ้ นพืน้ ทเี่ ก็บกากเพื่อรอนำเขา้ สู่
กระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏิกลู หรอื วสั ดุท่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

4.10 มีการป้องกันส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลว หรือน้ำชะ 2 3 AI

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ร่ัวไหลออกนอกพื้นที่โรงงานโดยไม่ผ่าน

การบำบดั

4.11 กรณีเก็บส่งิ ปฏิกูลหรอื วสั ดุที่ไม่ใชแ้ ล้วท่ีเป็นของเหลวไวใ้ นบอ่ จะตอ้ งมี 3 3 AI

ระบบป้องกันและตรวจสอบการร่ัวซึมของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ที่เหมาะสมกับลักษณะความเป็นอันตรายของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่

ใช้แลว้ น้นั ๆ

4.12 มีมาตรการในการควบคุมและแก้ไขในกรณีท่ีบ่อจัดเก็บส่ิงปฏิกูลหรือ 2 2 -

วสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้ มกี ารร่วั ซึม

4.13 สภาพภาชนะบรรจุส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นของเหลวหรือ - 3 AI

กากตะกอน ต้องมีความเหมาะสมกับลักษณะของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ

ท่ีไมใ่ ช้แล้ว

4.14 อาคารขนาดใหญ่ และถัง (tank) ท่ีเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 1 2 AI

ที่เป็นอันตรายที่อยู่ในท่ีโล่ง และไม่อยู่ในรัศมีการป้องกันอันตราย

จากฟ้าผ่าของอาคารอ่ืนภายในโรงงาน ต้องติดต้ังสายล่อฟ้าหรอื ระบบ

ป้องกันอันตรายจากฟา้ ผ่า

4.15 ภาชนะบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายที่เป็น - 2 AI

ของเหลวทุกประเภทท่ีมีขนาดภาชนะบรรจุต้ังแต่ 1,500 ลิตรขึ้นไป

ต้องมีการติดต้ังอุปกรณ์ควบคุม วัด ตรวจสอบระดับของเหลวภายในถัง

เช่น Level Gauge, Level Indicator, Level Switch ตามความเหมาะสม

และอยใู่ นสภาพพรอ้ มใช้งาน

4.16 การจัดเก็บหรือเรียงซ้อนภาชนะบรรจุส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 2 3 AI

ต้องคำนึงถึงความปลอดภยั เปน็ หลัก

4.17 มีการบันทึกข้อมูลท้ังประเภท และปริมาณส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ 2 3 AI

ใช้แลว้ ท่ีนำมาจดั เก็บทกุ คร้ังหรอื นำออกไปบำบัด กำจดั

4.18 มีการแบ่งพ้ืนที่จราจรและกำหนดเส้นทางที่เหมาะสมในการขนส่ง 2 2 AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุทีไ่ มใ่ ช้แลว้ ไปยังจุดเกบ็ ต่างๆ

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 46


Click to View FlipBook Version