The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกณฑ์มาตรฐานสำหรับการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสียอันตรายภาคอุตสาหกรรม

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wastewp.56, 2022-09-06 11:37:28

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีทั่วไป และหลักเกณฑ์มาตรฐาน AI

เกณฑ์มาตรฐานสำหรับการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสียอันตรายภาคอุตสาหกรรม

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Keywords: เกณฑ์,ของเสีย,กรมโรงงาน

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 4 การจดั เกบ็ สง่ิ ปฏิกลู หรอื วสั ดุทไ่ี ม่ใช้แล้วไวใ้ นพ้นื ทเี่ กบ็ กากเพื่อรอนำเข้าสู่
กระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั ส่งิ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แลว้ (ตอ่ )

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบัติงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

4.19 มีการตรวจสอบสภาพภาชนะบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 1 2 -

อย่างสมำ่ เสมอเพื่อปอ้ งกันการรว่ั ไหล

4.20 บริเวณพ้ืนท่ีเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตรายจะต้องจัด 2 3 AI

ให้มีที่ล้างมือ ล้างตัวและล้างตาฉุกเฉิน (Emergency Shower &

Eyewash) และอยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ าน

4.21 การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวจากถังหรือ 1 2 -

รถบรรทุกเพ่อื จัดเกบ็ โดยตอ้ งมีข้ันตอนการตรวจสภาพถงั และอุปกรณ์

การขนถา่ ยทกุ ครั้ง

4.22 มีการกำหนดระดับสูงสุด (Max Level) ของการบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือ 2 3 AI

วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (ทั้งของแข็งและของเหลว) ในภาชนะขนาดใหญ่

ใหเ้ หมาะสมกับคณุ สมบัตขิ องสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ่ีไม่ใชแ้ ล้วนั้นๆ

4.23 การถ่ายเทส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายท่ีเป็นของเหลว - 2 AI

ต้องมีระบบสัญญาณแจ้งเตือนภัยระดับของเหลวในถัง (High-Level

Alarm System) หรืออุปกรณ์ป้องกันวัตถุดิบล้นถัง (High-Level

Cut-off Device) เพือ่ หยดุ การทำงานของป๊ัมโดยอัตโนมัติ

4.24 การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายที่เป็นของเหลว - 2 AI

จากถังหรือ Intermediate Bulk Containers (IBCs) จะต้องกระทำ

ผา่ นระบบทอ่ จมุ่ สบู เพอ่ื ลดการกระเด็น, ควนั , ไอระเหยและกลนิ่

4.25 รถแท็งก์ที่ขนส่งตัวทำละลายต้องติดต้ังระบบการนำไอระเหยกลับ - 2 AI

(Vapor Return Pipeline) เพ่อื ลดไอระเหยทจี่ ะกระจายสู่บรรยากาศ

4.26 บริเวณที่มีการขนถ่ายส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตราย - 3 AI

ที่เป็นของเหลว และเป็นสารไวไฟต้องติดต้ังสายดิน เพื่อป้องกัน

การสะสมของไฟฟา้ สถิตขณะขนถ่าย

4.27 มีการติดป้ายหรือเอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานในการรับ - 2 -

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตรายเพ่ือให้คนงานปฏิบัติตาม

ขัน้ ตอนตา่ งๆ อย่างครบถว้ น

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 47

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทีด่ ีทว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ีไ่ ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 4 การจดั เก็บสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุทีไ่ ม่ใช้แล้วไวใ้ นพนื้ ท่ีเกบ็ กากเพื่อรอนำเขา้ สู่
กระบวนการรีไซเคิล และบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏกิ ูลหรอื วัสดุท่ไี มใ่ ช้แลว้ (ตอ่ )

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

4.28 มีมาตรการป้องกันฝุ่นละออง/กล่ินทเ่ี กิดขึ้นตามลักษณะคุณสมบัตขิ อง 3 3 AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วนั้นๆ ในระหว่างการจัดเก็บ และขนถ่าย

สิ่งปฏกิ ูลหรอื วสั ดุทไี่ ม่ใชแ้ ลว้ ทเี่ ป็นของแข็ง

4.29 ในทุกข้ันตอนของการจัดเก็บ ขนถ่าย และเตรียมการท่ีเก่ียวข้องกับ - 3 AI

ส่ิ ง ป ฏิ กู ล ห รื อ วั ส ดุ ที่ ไ ม่ ใ ช้ แ ล้ ว ท่ี เป็ น ข อ ง เสี ย อั น ต ร า ย ก่ อ น เข้ า

กระบวนการ (Pre-process) จะต้องดำเนินการโดยใช้อุปกรณ์ที่มี

ความปลอดภัยสำหรับผู้ปฏิบัติงาน หรือเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือ

เหตุฉุกเฉนิ รวมถงึ ไมก่ อ่ ให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 48

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ดี ที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุทไี่ ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 5 การบัด กำจัดส่งิ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุที่ไม่ใช้แลว้ โดยวิธีการฝงั กลบ

5.1 อาคารปรบั เสถียรและการปรบั เสถยี รสงิ่ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ ทีเ่ ปน็ อันตราย

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏบิ ัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

5.1.1 ภายในอาคารมีการจัดให้มีระบบดูดอากาศและระบบบำบัดมลพิษ - ข้อบงั คับ AI

อากาศทมี่ ีประสิทธภิ าพ *al

5.1.2 มีการรวบรวมไอระเหยที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในบ่อหรืออาคาร - ข้อบังคับ AI

ปรบั เสถียรไปบำบัดดว้ ยระบบบำบัดมลพิษอากาศที่มีประสิทธิภาพ *al

5.1.3 โครงสรา้ งอาคารทำจากวสั ดุท่ีแข็งแรงทนไฟและทนการกัดกรอ่ นได้ดี - 2 -

5.1.4 เป็นอาคารปิดท่ีมีระบบระบายอากาศ และแสงสว่างเพียงพอ รวมถึง - 3 AI

มที างออกฉกุ เฉนิ ท่เี หน็ ชดั เจน

5.1.5 มีการจัดช่องทางเดินรถไว้ชัดเจนและแยกส่วนของบ่อปรับเสถียร - 2 -

ออกจากพื้นที่อืน่ ๆอย่างชัดเจน

5.1.6 จัดให้มีที่ล้างตัวและล้างตาฉุกเฉิน (Emergency Shower & Eyewash) - 3 AI

และอยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน

5.1.7 ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทุกชนิดที่จะทำการปรับเสถียรต้องมีผล - 3 AI

การทดสอบในห้องปฏิบัติการเพื่อนำมากำหนดวิธีในการปรับเสถียรที่

เหมาะสมและต้องมีการบันทึกปริมาณส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วใน

แต่ละรอบ รวมทง้ั ปริมาณสารเคมที ใ่ี ช้ทกุ ครงั้

5.1.8 การดำเนินการผสมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุทไี่ ม่ใช้แลว้ จะต้องกระทำในพ้ืนท่ี - 3 AI

ปิดและให้ใช้เครื่องจักรปฏิบัติงานในทุกจุดที่เป็นไปได้หรือหลีกเล่ียง

การใช้พนักงานในจุดท่มี โี อกาสได้รบั อันตรายสงู

5.1.9 การขนถ่ายถังสารเคมี (Bulk) ส่วนผสมท่ีแห้งหรือสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ - 2 -

ท่ีไม่ใช้แล้ว จะต้องดำเนินการโดยเคร่ืองจักรในทุกจุดท่ีเป็นไปได้ เช่น

การลำเลียงโดยระบบสายพาน หรือท่อสูบสำหรับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ

ท่ีไม่ใชแ้ ล้วท่เี ปน็ ของเหลวหรอื กากตะกอน

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานที่ดีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 49

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดส่งิ ปฏิกลู หรือวสั ดุที่ไม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 5 การบำบดั /กำจดั สิ่งปฏิกูลหรอื วสั ดุที่ไม่ใช้แล้วโดยวธิ ีการฝงั กลบ (ต่อ)

5.1 อาคารปรบั เสถียรและการปรับเสถียรสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ล้วท่เี ป็นอนั ตราย (ตอ่ )

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

5.1.10 มีการนำตัวอย่างสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีผ่านการปรับเสถียรแล้ว - 3 AI

ไปตรวจสอบในห้องปฏิบัติการเพ่ือยืนยันว่าส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่

ใช้แล้วท่ปี รับเสถียรแล้วมีคุณสมบัติตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์

5.1.11 มีเอกสารระบุขั้นตอนและวิธีการจัดการ กรณีที่ผลการทดสอบ - 2 -

คุณสมบัติสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีปรับเสถียรแล้วไม่ตรงตาม

วัตถปุ ระสงค์

5.1.12 ไม่นำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่มีสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) - 2 AI

สงู หรอื สารประกอบที่มกี ลิน่ รุนแรงมาดำเนินการปรับเสถียร

5.1.13 มีมาตรการท่ีมีประสิทธิภาพในการควบคุมป้องกันฝุ่นละออง และ - 3 AI

การตกหล่นรั่วไหลของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีผ่านการ

ปรบั เสถียรแล้วระหวา่ งการขนสง่ ไปยงั หลุมฝงั กลบ

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานทดี่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 50

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจัดสงิ่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไี่ ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 5 การบำบดั /กำจดั สิ่งปฏกิ ลู หรอื วสั ดุท่ไี ม่ใชแ้ ลว้ โดยวิธีการฝังกลบ (ตอ่ )

5.2 หลุมฝังกลบและการฝงั กลบส่ิงปฏิกูลหรอื วสั ดุท่ีไม่ใช้แลว้ (ตอ่ )

ข้อ ข้อกำหนดวิธีปฏิบตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

5.2.1 หลุมฝังกลบตามหลักสุขาภิบาลสามารถรับได้เฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ ข้อบงั คับ - AI

ท่ีไม่ใช้แลว้ ทไ่ี ม่เป็นอันตรายเท่านัน้ *al

5.2.2 บริเวณแนวอาณาเขตทั้ง 4 ด้านของสถานที่ฝังกลบ หลุมฝังกลบ ข้อบงั คับ - AI

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีไม่เป็นอันตรายประเภทสารอินทรีย์ *al

ต้องมีการติดตามตรวจสอบปริมาณก๊าซมีเทนอย่างน้อย 6 เดือน/คร้ัง

หรือตามเงื่อนไขการประกอบกิจการ และผลการตรวจสอบต้องไม่เกิน

กวา่ จุดระเบดิ ข้ันต่ำ (มีปรมิ าณกา๊ ซมีเทนไมเ่ กิน 5%)

5.2.3 กรณีฝังกลบกากของเสียท่ีย่อยสลายแล้วเกิดก๊าซชีวภาพ ต้องควบคุม ขอ้ บงั คบั - AI

ก๊าซทเ่ี กดิ จากหลมุ ฝงั กลบให้อยู่ในเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพอากาศ *s,al

5.2.4 หลุมฝังกลบแบบปลอดภัยสามารถรับได้ทั้งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว - ข้อบังคบั AI

ท่ีไม่เป็นอันตรายและสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย *al

ซึง่ ผา่ นการปรับเสถยี รหรอื ทำลายฤทธแ์ิ ลว้ เท่าน้นั

5.2.5 หลมุ ฝงั กลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ไี มใ่ ช้แล้วแต่ละประเภทตอ้ งเป็นไปตาม ขอ้ บังคบั ข้อบังคับ AI

ข้อกำหนดของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (แบบของหลุมฝังกลบ *al *al

ต้องได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม และมีการตรวจสอบ

ก่อนเปดิ ใชง้ าน)

5.2.6 หลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วแต่ละหลุมต้องมีระบบ ขอ้ บงั คบั ขอ้ บงั คับ AI

รวบรวมน้ำชะส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วจากหลุมฝังกลบ กรณีหลุม *al *al

ฝังกลบส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตรายซ่ึงผ่านการปรับ

เสถยี รแล้วตอ้ งมบี ่อสูบแยกกนั ระหวา่ งน้ำท่ีนำออกจากช้นั กันซมึ ชั้นบน

และช้ันลา่ ง

5.2.7 มีการรวบรวมน้ำชะท่ีเกิดข้ึนจากหลุมฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล ข้อบังคับ - AI

ไปบำบัดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้ำท้ิงก่อนระบายออกนอกโรงงาน *x,aj

(บางแห่งอาจไม่สามารถระบายออกได้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในใบอนุญาต

ประกอบกิจการโรงงาน)

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 51

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทดี่ ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 5 การบำบัด/กำจดั ส่ิงปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ล้วโดยวิธกี ารฝังกลบ (ต่อ)

5.2 หลมุ ฝังกลบและการฝังกลบสิ่งปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ (ตอ่ )

ข้อ ข้อกำหนดวิธีปฏบิ ัตงิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

5.2.8 มีการรวบรวมน้ำชะท่ีเกิดขึ้นจากหลุมฝังกลบอย่างปลอดภัยไปบำบัด - ข้อบังคับ AI

ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้ำท้ิง และห้ามมีการระบายน้ำที่ผ่าน *x,al

การบำบัดแล้วออกนอกโรงงาน

5.2.9 มีบ่อสังเกตการณ์คุณภาพน้ำใต้ดิน อย่างน้อย 3 บ่อ และมีการ ข้อบังคบั ข้อบงั คบั AI

ตรวจสอบคุณภาพน้ำในบ่อสังเกตการณ์และผลการตรวจสอบต้องอยู่ *al *al

ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพนำ้ บาดาลทใ่ี ชบ้ ริโภค

5.2.10 มีการแยกหลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตราย ข้อบังคบั ขอ้ บงั คบั AI

และไม่เป็นอนั ตรายออกจากกนั อยา่ งชัดเจน *al *al

5.2.11 มีรางระบายน้ำโดยรอบหลุมฝังกลบ และแยกระบบรวบรวมน้ำฝน 3 3 AI

และนำ้ ทอ่ี าจปนเปอื้ นออกจากกนั อย่างชดั เจน

5.2.12 มีการจัดทำคันก้ันระหว่างเซลล์ท่ีฝังกลบกับพื้นท่ีท่ียังไม่ได้ฝังกลบ 3 3 AI

เพื่อป้องกนั ไมใ่ ห้น้ำฝนปนกับน้ำชะสิง่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ่ีไม่ใช้แล้ว

5.2.13 มีการกำหนดแผนเปดิ หนา้ งานใหเ้ พียงพอทีจ่ ะใชฝ้ งั กลบในแตล่ ะวนั 2 3 -

5.2.14 มีการบันทึกจุดลงสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วแต่ละประเภท 2 2 -

ตามประเภทของหลุมฝังกลบ

5.2.15 มีการกลบทับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วด้วยดินหรือวัสดุอ่ืนให้แล้ว 2 2 AI

เสร็จก่อนเลิกงานในแต่ละวันเพ่ือลดผิวสัมผัสกับอากาศ ลดโอกาส

แพร่กระจายของฝุ่นละออง/กล่ินที่เกิดจากส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว

ออกสู่บรรยากาศ

5.2.16 มีมาตรการป้องกันกล่ินและฝุ่นละอองฟุ้งกระจายขณะเทสิ่งปฏิกูล 2 2 AI

หรอื วสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วลงหลุม

5.2.17 มีการปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชนและฉีดพ่นน้ำบริเวณโดยรอบพ้ืนที่ 3 3 AI

ฝังกลบเพอ่ื ลดปริมาณฝุ่นฟงุ้ กระจาย

5.2.18 มีเอกสารระบขุ ั้นตอนและวธิ กี ารจัดการ กรณีเกิดปัญหากลน่ิ เหม็นหรือ 2 2 -

ฝุน่ ละอองจากข้นั ตอนการเทสงิ่ ปฏิกูลหรอื วสั ดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ ลงหลุมฝังกลบ

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 52

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ีดที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจดั ส่งิ ปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 5 การบำบดั /กำจดั ส่งิ ปฏิกลู หรอื วัสดุทีไ่ ม่ใช้แล้วโดยวธิ กี ารฝงั กลบ (ต่อ)

5.2 หลุมฝงั กลบและการฝงั กลบสง่ิ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ (ต่อ)

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

5.2.19 มีการจัดทำป้ายเตือนเพ่ือความปลอดภัยในบริเวณหลุมฝังกลบ เช่น 2 2 AI

ป้ายห้ามสูบบุหรี่ ห้ามเข้าก่อนได้รับอนุญาต และทำให้เกิดประกายไฟ

เปน็ ตน้ (ตามความเหมาะสมของแต่ละสถานท่ี)

5.2.20 หลมุ ฝังกลบสิ่งปฏกิ ลู หรือวัสดุทีไ่ ม่ใช้แล้วทไ่ี มเ่ ป็นอันตราย ต้องมีระบบ 3 3 AI

ท่อระบายก๊าซ (Vent) ครอบคลุมพื้นท่ีท่ีจะเกิดก๊าซอย่างน้อย 6-8 จุด

(ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับขนาดของหลุมฝังกลบ) โดยขนาดของท่อระบาย

ต้องใหญ่เพียงพอที่จะระบายก๊าซได้หมด กรณีฝังกลบส่ิงปฏิกูลหรือ

วัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ย่อยสลายยากหรือไม่เกิดการเน่าเสียง่าย เช่น

พลาสติก ยาง เศษแก้ว ฯลฯ ไม่ตอ้ งมีระบบระบายกา๊ ซ

5.2.21 มเี อกสารระบุขั้นตอนและวิธีการจดั การกรณีผลการตรวจสอบคุณภาพ 2 3 AI

อากาศจากการเผาไหมไ้ มส่ อดคลอ้ งกบั เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศ

5.2.22 บ่อ ถัง ระบบรวบรวมน้ำชะส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องทนต่อ 3 3 AI

การกัดกร่อน และมีอุปกรณ์วัดระดับน้ำ ระบบเตือนภัย และการปิด

วาล์วอตั โนมัติ

5.2.23 มกี ารควบคุมและแก้ไขระบบรวบรวมน้ำชะส่ิงปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ีไม่ใช้แล้ว 2 2 -

ในกรณที ่มี กี ารรั่วไหล

5.2.24 มีการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลปริมาณน้ำชะและคุณภาพน้ำชะ 3 3 AI

ทเี่ กิดขึ้นในแต่ละหลุมทกุ ครั้งก่อนระบายออก

5.2.25 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างและวิเคราะห์คุณภาพน้ำใต้ดินจากบ่อสังเกตการณ์ 2 2 AI

(Monitoring Well) น้ำผิวดิน น้ำชะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วและ

น้ำท้ิงจากระบบบำบัดน้ำเสีย อย่างน้อย 6 เดือน/ครั้ง และวิเคราะห์

แนวโน้มการปนเป้ือนสารมลพิษในน้ำใต้ดินเปรียบเทียบกับก่อนเร่ิม

การประกอบกิจการโรงงาน

5.2.26 มีมาตรการตอบสนองท่ีมีประสิทธิภาพ กรณีพบแนวโน้มการปนเปื้อน 2 2 AI

สารมลพษิ ในน้ำใต้ดิน

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 53

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจดั สิง่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ไี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 5 การบำบัด/กำจดั ส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดุที่ไมใ่ ช้แลว้ โดยวิธีการฝังกลบ (ตอ่ )

5.2 หลุมฝงั กลบและการฝงั กลบสง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดุท่ีไมใ่ ช้แลว้ (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏิบตั ิงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

5.2.27 หลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายที่ผ่านการ - 3 AI

ปรับเสถียรแล้วต้องมีการตรวจสอบการรั่วซึมของช้ันกันซึมชั้นบน

และมีมาตรการตอบสนองกรณีอัตราการร่ัวซึมสูงกว่า 17 มิลลิลิตร/

ตารางเมตร/วัน

5.2.28 จัดให้มีพ้ืนท่ีฉนวน (Buffer Zone) โดยรอบพ้ืนท่ีโรงงาน และมี 3 3 AI

ระยะห่างจากแนวเขตท่ีดินไม่น้อยกว่า 25 เมตร โดยจัดให้เป็นพื้นที่

สำหรับถนน คูระบายน้ำ การปลูกต้นไม้สลับแถวโดยเลือกพันธ์ุไม้

ที่ เห ม า ะ ส ม ใน ท้ อ ง ถ่ิ น เพ่ื อ ปิ ด ก้ั น ท า ง ส า ย ต า แ ล ะ ล ด ปั ญ ห า ก ล่ิ น

สูภ่ ายนอก

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ดี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 54

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจัดส่งิ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ีไ่ ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 6 การบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดุทีไ่ ม่ใชแ้ ล้วโดยวธิ ีการเผาในเตาเผา

6.1 การเตรียมส่งิ ปฏิกลู หรอื วสั ดุที่ไม่ใชแ้ ลว้ และการป้อนสิ่งปฏกิ ูลหรอื วัสดุท่ีไม่ใชแ้ ลว้ เขา้ เตาเผา

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

6.1.1 มีการระบุชนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่สามารถหรือไม่สามารถ 3 3 AI

ป้อนเข้าเตาเผาได้ ซง่ึ ผ่านการยืนยนั จากห้องปฏิบัติการวิเคราะห์

6.1.2 กรณีส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วเป็นของแข็งหรือกากตะกอนแห้ง 1 1 -

ตอ้ งมีขนาดเหมาะสมสำหรบั ป้อนเข้าเตาเผาได้

6.1.3 กรณีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของแข็งหรือกากตะกอนแห้ง 3 3 AI

ต้องมีมาตรการป้องกนั ฝ่นุ ละอองที่เกดิ ขน้ึ ระหวา่ งการลำเลียงส่ิงปฏิกูล

หรือวัสดทุ ่ไี มใ่ ช้แล้วเขา้ สูเ่ ตาเผา

6.1.4 กรณีมีการบดย่อยส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็นของแข็งหรือ 2 3 AI

กากตะกอน ต้องมีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันฝุ่นละออง

ที่เกิดจากการบดย่อย และระหว่างการลำเลียงส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่

ใช้แล้วท่ีบดยอ่ ยแล้วไปยงั ท่ีเกบ็ วตั ถดุ ิบ หรอื ไปยงั เตาเผา

6.1.5 กรณสี ิ่งปฏิกูลหรือวสั ดุท่ีไมใ่ ชแ้ ล้วทเ่ี ป็นของเหลวหรือกากตะกอน วสั ดุ 3 3 AI

ท่ีเป็นส่วนประกอบของระบบป้อนและเก็บส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว

เช่น ตัวถัง เครื่องสูบ เครื่องกวน ระบบท่อ วาล์ว และหัวฉีดต้อง

ทนทานต่อการกัดกร่อนและไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีในส่ิงปฏิกูลหรือ

วัสดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้

6.1.6 กรณีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวหรือกากตะกอน 3 3 AI

ประกอบด้วยของแข็งแขวนลอยท่ีไม่สามารถเผาได้ ต้องมีการกรอง

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วก่อนนำส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วผ่าน

ระบบท่อสง่ เขา้ ไปยังเตา

6.1.7 กรณีส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวหรือกากตะกอน 2 3 AI

ระบบท่อลำเลียงสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากถังเก็บไปยังหัวเผา

(Burner) เพ่ือป้อน เข้าเตาเผา ต้องสามารถรองรับแรงดันสูง

ท่ีเหมาะสมกบั สงิ่ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แล้ว

6.1.8 มีวิธีการปฏบิ ัติงานสำหรับข้นั ตอนการปอ้ นสิง่ ปฏกิ ูลหรือวัสดุท่ีไม่ใชแ้ ล้ว 3 3 -

เขา้ เตาเผา เพื่อให้พนกั งานสามารถปฏิบัติงานไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 55

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 6 การบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ลู หรอื วสั ดุทีไ่ มใ่ ชแ้ ล้วโดยวิธีการเผาในเตาเผา (ต่อ)

6.1 การเตรยี มสิง่ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ่ไี มใ่ ช้แลว้ และการปอ้ นสิง่ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดุที่ไม่ใชแ้ ลว้ เขา้ เตาเผา (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏบิ ัติงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

6.1.9 มีการแยกระบบท่อนำส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเฉพาะสำหรับ 2 2 -

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วแต่ละประเภท แต่หากไม่สามารถทำได้

ต้องทำความสะอาดท่อและอุปกรณ์ที่ใช้ขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่

ใช้แล้วก่อนนำส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วชนิดใหม่เข้าไปในระบบ

การเผาไหม้ เพื่อหลกี เลี่ยงการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าทไ่ี มพ่ ึงประสงค์ภายในท่อ

6.1.10 มีระบบการล้างทำความสะอาดท่อและอุปกรณ์ท่ีใช้ขนส่งส่ิงปฏิกูล 2 2 -

หรือวสั ดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้วทีช่ ัดเจน และเป็นระบบท่มี ีความปลอดภยั

6.1.11 มีระบบการควบคุมตรวจสอบชนิดและปริมาณส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ 2 2 -

ที่ไม่ใช้แล้วที่เข้าสู่เตาเผาให้เหมาะสมต่อขนาด ลักษณะ และรูปแบบ

ของเตา

6.1.12 จัดให้มีการตรวจสอบความหนาของถังจัดเก็บ และท่อส่งสิ่งปฏิกูลหรือ 2 2 -

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วเพ่ือเฝ้าระวังการผุกร่อนของถังจัดเก็บและระบบท่อส่ง

รวมถงึ มีการตรวจสอบสภาพความพร้อมของเตาเผา

6.1.13 หลีกเลี่ยงการใช้พนักงานปฏิบัติงานในทุกจุดที่มีโอกาสได้รับอันตราย 3 3 -

สูง เช่น การลำเลียงส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วไปยังเตาเผาและ

การปอ้ นสง่ิ ปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ลว้ เขา้ เตาเผา

6.1.14 บริเวณพื้นท่ีที่มีการเตรียมส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย 3 3 AI

และการป้อนส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายเข้าเตาเผา

ต้องจัดให้มีท่ีล้างตัวและล้างตาฉุกเฉิน (Emergency Shower &

Eyewash) ในสภาพพร้อมใชง้ าน

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 56

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีดที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจัดสิง่ ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 6 การบำบัด/กำจดั สง่ิ ปฏิกูลหรือวสั ดุทไี่ ม่ใชแ้ ล้วโดยวธิ ีการเผาในเตาเผา (ต่อ)

6.2 เตาเผา

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบัติงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

6.2.1 ติดต้ังระบบบำบัดมลพิษอากาศท่ีมีประสิทธิภาพในการกำจัดอนุภาค ขอ้ บังคับ ขอ้ บงั คบั AI

ฝุ่นและมลสารอ่ืนๆ ในก๊าซท่ีเกิดจากการเผาไหม้ ให้มีคุณภาพ *h,m *h,m

ตามมาตรฐานฯ กอ่ นระบายออกสู่บรรยากาศ

6.2.2 มีการตดิ ตงั้ เคร่ืองตรวจวัดความเขม้ ข้นของมลพิษทางอากาศจากปลอ่ ง ข้อบังคบั ขอ้ บงั คับ AI

ระบายอากาศแบบอตั โนมัตอิ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง (CEMS) ในกรณที ่โี รงงานอยู่ *f *f

ในพื้นท่ีตามที่กฎหมายกำหนด (ได้แก่ เขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

นิคมอุตสาหกรรมผาแดง นิคมอุตสาหกรรมตะวันออก นิคม

อุตสาหกรรมเอเชีย จังหวัดระยอง และโรงงานอ่ืนตามที่กรมโรงงาน

อุตสาหกรรมกำหนด)

6.2.3 โรงงานที่มีเงื่อนไขการอนุญาตให้ติดตั้งเคร่ืองมือหรือเครื่องอุปกรณ์ ขอ้ บังคับ ข้อบังคบั -

พิเศษ เพื่อตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปล่องแบบอัตโนมัติอย่าง *ac *ac

ต่อเน่ือง (CEMS) ให้จัดส่งรายงานผลการตรวจวัดไปที่ศูนย์รับข้อมูล

ข อ ง ก ร ม โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ห รื อ ศู น ย์ รั บ ข้ อ มู ล ท่ี ก ร ม โ ร ง ง า น

อตุ สาหกรรมเหน็ ชอบ

6.2.4 บริเวณพื้นท่ีปฏิบัติงานกับเตาเผา ต้องจัดให้มีหลังคาคลุมเพื่อป้องกัน 2 2 -

เครือ่ งมอื อุปกรณท์ ี่อาจไดร้ ับผลกระทบจากสภาวะอากาศ

6.2.5 ติดตั้งระบบควบคุมอากาศ เพ่ือใช้ในการควบคุมการเผาไหม้ภายใน 3 3 AI

หอ้ งเผาและตอ้ งมีการเตรียมระบบอากาศสว่ นเกนิ เพือ่ ชว่ ยใหก้ ารเผาไหม้

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วให้เกิดข้ึนอย่างสมบูรณ์ เช่น การติดตั้ง

พัดลมเพื่อผลิตอากาศสว่ นเกินในการเผาไหม้

6.2.6 ติดต้ังระบบควบคุมความดัน และมีระบบป้องกันความปลอดภัย 3 3 AI

หากความดันเพิ่มสูงข้ึนผิดปกติภายในเตาเผา เช่น มีระบบหยุดป้อน

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วหากความดันหรืออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น

และมีมาตรการในการแก้ไขทำให้ความดนั หรืออุณหภูมิลดลง

6.2.7 ติดต้ังเคร่ืองวัดอุณหภูมิภายในบริเวณห้องเผาไหม้ และปล่องระบาย 3 3 -

อากาศ

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 57

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจัดสง่ิ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 6 การบำบดั /กำจัดสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดุทไ่ี มใ่ ช้แลว้ โดยวิธกี ารเผาในเตาเผา (ตอ่ )

6.3 เการควบคุมการเผาไหม้

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

6.3.1 มีระบบควบคุม ตรวจสอบสภาวะการเผาไหม้ในเตาเผาให้เกิด 3 3 AI

การสนั ดาปอย่างสมบูรณต์ ลอดเวลาทีท่ ำการเผา

6.3.2 มีระบบ อุปกรณ์เฝ้าระวังอัตโนมัติในการตรวจหาความผิดปกติต่างๆ 3 3 AI

เพอื่ สามารถปรบั เขา้ สสู่ ภาวะปกตขิ องเตาเผา

6.3.3 มีการจัดทำข้อชี้บ่งถึงสภาวะท่ีผิดปกติในการเผาไหม้ และระบุข้ันตอน 3 3 AI

การดำเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ท่ีผิดปกติดังกล่าว ติดไว้ใน

ต ำ แ ห น่ ง ที่ เห็ น ไ ด้ ชั ด เจ น ภ า ย ใ น ห้ อ ง ค ว บ คุ ม เพ่ื อ เป็ น แ น ว ท า ง

ในการปฏิบัติงานของพนักงาน

6.3.4 มกี ารตดิ ต้ังอุปกรณ์ตัดการทำงานของระบบการป้อนสิง่ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุ 3 3 AI

ท่ีไม่ใช้แล้วอย่างอัตโนมัติ (Automatic Waste Feed Shutoff :

AWFS) เมือ่ คา่ พารามิเตอรต์ ่างๆ เกดิ ความผิดปกตสิ ำหรบั เตาเผาไหม้

6.3.5 มีการตรวจสอบอุปกรณ์ตัดการทำงานของระบบการป้อนส่ิงปฏิกูล 1 2 -

หรือวัสดุท่ีไมใ่ ช้แลว้ อยา่ งอัตโนมัติ (AWFS) อย่างนอ้ ยเดือนละครั้ง

6.3.6 มีการรวบรวมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเกิดจากการเผาไหม้ 3 3 AI

บรรจุในภาชนะและจัดเก็บในสถานท่ีที่เหมาะสมเพื่อรอการนำไป

บำบดั กำจัดต่อไป

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานทีด่ ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 58

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดทุ ่ไี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 7 การรีไซเคลิ ส่ิงปฏิกลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แลว้

7.1 การรไี ซเคิลสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แลว้ ทกุ ประเภท

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

7.1.1 อาคารโรงงานมีหลังคาคลุม โครงสร้างทำจากวัสดุที่แข็งแรง ทนไฟ 2 2 AI

และทนการกัดกร่อนท่ีเหมาะสมกับชนิดของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว

ที่นำมารไี ซเคิล

7.1.2 พ้ืนอาคารต้องเรียบ ไม่มีรอยแตกร้าว สามารถทำความสะอาดง่าย 2 2 AI

ไม่ดูดซบั สารเคมี

7.1.3 อาคารมีระบบระบายอากาศ แสงสวา่ งเพียงพอ และจัดช่องทางเดินรถ 2 2 AI

แยกออกจากพนื้ ที่ส่วนการผลติ อยา่ งชดั เจน

7.1.4 มีเอกสารระบุขั้นตอนการปฏิบัติงานติดไว้ในบริเวณพ้ืนท่ีปฏิบัติงาน 1 1 -

ที่เห็นได้ชัดเจน เพ่ือให้พนักงานปฏิบัติตามข้ันตอนต่างๆ อย่าง

ครบถว้ นและถกู ตอ้ ง

7.1.5 บริเวณท่ีตั้งภาชนะท่ีบรรจุตัวทำละลายหรือน้ำมันหล่อลื่นใช้แล้ว - 2 AI

หรือสารเคมีประเภทกรด-ด่างใช้แล้ว ต้องดูแลไม่ให้มีแหล่งกำเนิด

ประกายไฟหรือความร้อนที่อาจทำให้เกิดการลุกไหม้หรือเกิดระเบิดได้

และทำปา้ ยเตอื นอนั ตรายตดิ ไวใ้ นตำแหนง่ ทีเ่ ห็นไดช้ ัดเจน

7.1.6 พ้ืนท่ีประกอบกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดการหกล้นหรือร่ัวไหลของ - 3 AI

สารเคมีหรือสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตรายที่เป็น

ของเหลว (เช่น ถังตกตะกอน ถังทำปฏิกิริยา หม้อต้มหอกลั่น ท่ีล้าง

ภาชนะบรรจุสารเคมี ฯลฯ) จะต้องมีคันกั้น (Bund) หรือรางระบาย

โดยรอบพรอ้ มบอ่ กักเกบ็ (Sump) เพื่อนำไปบำบดั หรอื บรรจุใส่ภาชนะ

และจดั เก็บในสถานที่ที่เหมาะสมกอ่ นส่งไปบำบดั กำจัดตอ่ ไป

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 59

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดีทวั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ีไ่ ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 7 การรไี ซเคิลส่งิ ปฏิกูลหรอื วัสดทุ ไี่ มใ่ ช้แลว้ (ตอ่ )

7.2 การรไี ซเคลิ ส่งิ ปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ไี่ มใ่ ช้แลว้ ทม่ี ีกระบวนการแกะแยก ตัด หน่ั บดย่อย อดั ก้อน
และกรองผสมสิ่งปฏิกลู หรอื วัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ลว้

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏบิ ัตงิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

7.2.1 มีมาตรการท่ีมีประสิทธิภาพในการป้องกันฝุ่นละออง เสียงดัง หรือ 2 2 AI

กลิ่นเหม็น ท่ีเกิดจากการแกะแยกตัด หั่นบดย่อย อัดก้อน และกรอง

ผสมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว รวมถึงในระหว่างการลำเลียง

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการเหล่านี้ เพ่ือนำไปยัง

กระบวนการผลติ อนื่ ๆ ตอ่ ไป

7.2.2 กรณีมีการบดย่อย หรือผสมส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีไม่เป็น - 3 AI

อันตรายกับสารเคมีอันตรายหรือการผสมส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว

ท่ีเป็นอันตรายกับวัตถุดิบหรือสารเคมีอื่นๆ ต้องดำเนินการในระบบปิด

และมีระบบดูดอากาศเพ่ือนำฝุ่นละอองสารเคมีหรือกล่ินเหม็นท่ีเกดิ ขึ้น

ระหว่างการผสมไปบำบดั ด้วยระบบบำบัดมลพิษอากาศที่มีประสทิ ธภิ าพ

7.2.3 กรณีที่มีการสูบถ่ายส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลว 2 2 -

เพื่อนำเข้ากระบวนการผลิต หรือสูบถ่ายผลิตภัณฑ์ตามท่อส่ง ต้องจัด

ใหม้ มี าตรการปอ้ งกนั การร่วั ซมึ ร่ัวไหลระหวา่ งการสูบถา่ ย

7.2.4 เครื่องจักร/อุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการแกะแยก ตัด หั่น บดย่อย 2 2 -

อัดก้อน และกรองผสมส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว จะต้องอยู่ใน

สภาพที่มคี วามปลอดภยั ต่อผ้ปู ฏบิ ตั งิ านและส่งิ แวดล้อม

7.2.5 มีการตรวจสอบปริมาณ คุณลักษณะและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้ - 3 AI

จ า ก ก า ร น ำ สิ่ ง ป ฏิ กู ล ห รื อ วั ส ดุ ที่ ไ ม่ ใช้ แ ล้ ว ไ ป ผ่ า น กิ จ ก ร ร ม ห รื อ

กระบวนการอัดก้อน และกรองผสม เช่น อิฐบล็อก อิฐมวลเบา

เช้ือเพลิงผสม เชื้อเพลิงทดแทน ฯลฯ ทุกคร้ังอย่างน้อยแต่ละชุด

(Batch) ของการผลิต

7.2.6 มีการรวบรวมกากตะกอนท่ีเหลือจากกิจกรรมการผลิตใส่ไว้ในภาชนะ 3 3 AI

ที่เหมาะสมเพอื่ รอบำบัด กำจัดตอ่ ไป

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 60

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านที่ดที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจดั ส่งิ ปฏิกลู หรือวสั ดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 7 การรีไซเคลิ สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุทไี่ มใ่ ช้แล้ว (ต่อ)

7.3 การรีไซเคิลสิ่งปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ล้วทม่ี ีกระบวนการตกตะกอน ต้มกลั่น ระเหย หรือทำใหเ้ กิด
ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

7.3.1 บริเวณพ้ืนที่ที่เกิดไอระเหยจากสารเคมี โดยมีการใช้ความร้อนหรือไม่ - ขอ้ บังคบั AI

ใช้ความร้อน หรือมีการใช้ความดันที่สูงกว่าปกติในการตกตะกอน ต้ม *al

กล่ัน ระเหยหรือทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี จะต้องจัดให้มีระบบดูดอากาศ

ในบรเิ วณพน้ื ท่ีเหลา่ นีอ้ อกไปบำบัดดว้ ยระบบบำบดั ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ

7.3.2 ภาชนะหรืออุปกรณ์ทุกชนิดท่ีบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวสั ดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็น - 3 AI

อันตรายที่เป็นของเหลวของแข็ง เช่น ถังตกตะกอน ถังทำปฏิกิริยา

ถังลดอุณหภูมิ ต้องเป็นระบบปิดและมีมาตรการป้องกันควบคุม

การหกลน้ ขณะสบู ขนถ่าย

7.3.3 อุปกรณ์ท่ีทำงานภายใต้ความดันและอุณหภูมิสูงกว่าสภาวะปกติ เช่น - 3 AI

หม้อต้ม หอกล่ัน หม้อต้มไล่กรด ต้องมีระบบสัญญาณแจ้งเตือน

(Alarm System) เมื่อความดันหรืออุณหภูมิสูงเกินกว่าค่าที่กำหนดไว้

ในการปฏิบัติงานปกติ และต้องมีระบบหยุดการทำงานฉุกเฉิน

(Emergency Shut-off) เพื่อหยดุ การทำงานโดยอัตโนมตั ิ

7.3.4 มีมาตรการป้องกันความร้อนจากกระบวนการตกตะกอน ต้ม กล่ัน - 3 -

ระเหย หรือทำใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

7.3.5 มีมาตรการป้องกันการร่ัวไหลของระบบท่อบริเวณ หม้อต้ม หอกล่ัน - 3 AI

หม้อต้มไล่กรด ถังทำปฏิกิริยา และถังลดอุณหภูมิจากกระบวนการ

รีไซเคลิ

7.3.6 มีการตรวจสอบความหนาของถังตกตะกอน หม้อต้ม หอกลั่น หม้อต้ม - 2 -

ไล่กรด ถงั ทำปฏกิ ิรยิ า และถังลดอุณหภมู ิ

7.3.7 มีคู่มือการปฏิบัติงานในการควบคุมหม้อต้ม หอกล่ัน หม้อต้มไล่กรด - 2 -

ถังทำปฏิกิริยา ถังลดอุณหภูมิ ฯลฯ โดยระบุสภาวะที่ต้องควบคุม

และการปฏบิ ตั ิท่ีทำให้ได้มาซงึ่ สภาวะทต่ี ้องการเพอ่ื เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิ

ของพนักงาน

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทดี่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 61

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 7 การรีไซเคิลสิ่งปฏิกลู หรอื วสั ดุทไี่ ม่ใช้แลว้ (ตอ่ )

7.3 การรีไซเคิลสิ่งปฏิกูลหรอื วสั ดุทไ่ี มใ่ ช้แล้วทม่ี ีกระบวนการตกตะกอน ตม้ กล่ัน ระเหย หรอื ทำใหเ้ กดิ
ปฏกิ ิรยิ าเคมี (ต่อ)

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏิบัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

7.3.8 มีป้ายระบุข้อบ่งช้ีสภาวะท่ีผิดปกติในหม้อต้ม หอกลั่น หม้อต้มไล่กรด - 3 -

ถังทำปฏิกิริยา ถังลดอุณหภูมิ ฯลฯ และขั้นตอนการปฏิบัติงาน

เพ่ือแก้ไขปญั หาติดไวใ้ นตำแหน่งทีเ่ ห็นได้ชัดเจน

7.3.9 มีการตรวจสอบปริมาณ คุณลักษณะและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้ 3 3 AI

จ า ก ก า ร น ำ สิ่ ง ป ฏิ กู ล ห รื อ วั ส ดุ ท่ี ไ ม่ ใช้ แ ล้ ว ไ ป ผ่ า น กิ จ ก ร ร ม ห รื อ

กระบวนการตกตะกอน ต้ม กลั่น ระเหย หรือทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี

ทกุ ครัง้ อยา่ งนอ้ ยแตล่ ะชุด (Batch) ของการผลติ

7.3.10 มีการเก็บรวบรวมของเสียหรือกากตะกอนที่เหลือจากกิจกรรม 3 3 AI

ตกตะกอน ต้ม กล่ัน ระเหย หรือทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี บรรจุใส่

ภาชนะและจัดเก็บในสถานท่ีท่ีเหมาะสมเพ่ือรอนำไปบำบัด กำจัด

ตอ่ ไป

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 62

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจัดส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดุทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 7 การรไี ซเคลิ สง่ิ ปฏิกูลหรอื วัสดุทไี่ มใ่ ช้แลว้ (ตอ่ )

7.4 การซ่อมหรือลา้ งบรรจภุ ัณฑ์

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ัตงิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย

ข้นั ตอนการซ่อมและปรับแต่งรูปทรงของภาชนะ

(รวมในทุกขัน้ ตอนต้งั แตก่ ารรีดกน้ ถัง เปดิ ฝา นำของเหลวออกจากภาชนะ ปรับรูปทรง มว้ นขอบ ขัดผิวด้วยโลหะ)

7.4.1 จำกัดพื้นท่ีปฏิบัติงานซ่อมและปรับแต่งรูปทรงของภาชนะ พร้อมทั้งมีมาตรการในการ 2 3

ป้องกนั การหกร่ัวไหลขณะนำของเหลวออกจากภาชนะ

7.4.2 มีการรวบรวมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ลว้ หรือกากตะกอนที่ปนเปอ้ื นมากับภาชนะไวใ้ น 3 3

ภาชนะทีเ่ หมาะสมเพ่ือรอนำไปบำบดั กำจดั ตอ่ ไป

7.4.3 มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและควบคุมฝุ่นละออง ประกายไฟ 2 2

จากการซ่อมและปรบั แตง่ รูปทรงของภาชนะ

7.4.4 มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมการฟุ้งกระจายของไอระเหยสารเคมี และ 2 2

การจัดการมลพิษจากการขดั /ปรบั แต่งผวิ ภาชนะ

ขั้นตอนการทำความสะอาดภาชนะโดยการล้างด้วยตวั ทำละลายหรือลา้ งด้วยนำ้ ร้อนแรงดนั สงู

7.4.5 จำกัดพื้นท่ีปฏิบัติงานซ่อมและล้างภาชนะและมีมาตรการในการป้องกันการร่ัวไหล - 3

ของมลพษิ และไอระเหยของสารเคมี รวมถงึ การควบคุมมลพิษจากกิจกรรม

7.4.6 มีการติดต้ังระบบดูดไอระเหยของสารเคมีจากการล้างภาชนะออกไปบำบัดหรือมี - 3

มาตรการรองรบั ท่ีมปี ระสิทธิภาพ

7.4.7 มกี ารรวบรวมตัวทำละลายใช้แล้ว/น้ำเสีย และกากตะกอนที่เกิดจากการล้างภาชนะเก็บ - 3

ไวใ้ นภาชนะท่เี หมาะสมเพอ่ื รอนำไปบำบดั กำจดั ต่อไป

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 63

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทีด่ ีทวั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวสั ดุทไี่ ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 7 การรีไซเคิลสง่ิ ปฏิกลู หรอื วสั ดุท่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ (ต่อ)

7.4 การซอ่ มหรือลา้ งบรรจุภัณฑ์ (ต่อ)

ขอ้ ข้อกำหนดวิธีปฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย

ขัน้ ตอนการเตรียมภาชนะก่อนพ่นสี

7.4.8 มีการติดต้ังระบบบำบัดฝุ่นละอองซ่ึงเกิดจากการพ่นทราย/ยิงทรายเพื่อเป็นการเตรียม - 3

พ้ืนผวิ ของภาชนะกอ่ นทำการพ่นสี

7.4.9 มีการจัดเตรียมพื้นท่ีเฉพาะหรือห้องสำหรับการผสมสีท่ีเหมาะสม เพ่ือป้องกันการเกิด - 3

กลิน่ เหม็นหรอื การฟงุ้ กระจายของไอระเหยสารเคมี

7.4.10 จำกัดพื้นท่ีปฏิบัติงานพ่นสีถังโดยมีระบบรวบรวมไอระเหยจากการพ่นสี เพ่ือป้องกัน - 3

การกระเดน็ หรอื ฟุ้งกระจายของไอระเหยและเม็ดสี

7.4.11 พนักงานที่ปฏิบัติงานพ่นสีถังมีการสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล - 3

เพือ่ ปกปดิ ร่างกายไม่ใหส้ ัมผัสกับสารเคมีโดยตรง เช่น แว่นตาหนา้ กากปอ้ งกันละอองสี

ชุดพ่นสี ถุงมือ เปน็ ต้น

7.4.12 พนักงานท่ีปฏิบัติงานพ่นสีถัง ต้องได้รับการฝึกอบรมเก่ียวกับการใช้ปืนพ่นสี (Spray - 3

Gun) อย่างถกู ตอ้ งเพื่อให้เกดิ ความปลอดภัย

7.4.13 เครื่องจักรและอุปกรณ์ในห้องพ่นสีและห้องผสมสี ต้องมีการต่อสายดิน และเป็นชนิด - 3

ท่ีป้องกันการระเบดิ (Explosion Proof)

7.4.14 มีการรวบรวมกากส/ี น้ำเสียที่เกดิ จากการพ่นสีเก็บไว้ในภาชนะท่ีเหมาะสมเพื่อรอนำไป - 3

บำบัด กำจดั ตอ่ ไป

7.4.15 มีการติดต้ังระบบบำบัดไอระเหยของสารเคมีจากการพ่นสีออกไปบำบัดอย่างมี - 3

ประสิทธิภาพ

หมายเหตุ : กจิ กรรมการซ่อมหรอื ลา้ งบรรจภุ ัณฑ์ จะไม่มีชนิดและประเภทของสิง่ ฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แลว้ และวธิ ีการกำจัดสำหรบั การขออนุญาต
ใหน้ ำส่งิ ฏิกูลหรือวัสดทุ ไี่ ม่ใช้แล้วออกนอกบรเิ วณโรงงานแบบอตั โนมัติ (AI)

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 64

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีทวั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจดั สิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 7 การรีไซเคิลสง่ิ ปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว (ต่อ)

7.5 การรไี ซเคิลดว้ ยกระบวนการหลอมหรอื ให้ความรอ้ นโดยตรง

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏบิ ัติงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

7.5.1 มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันฝุ่นละอองที่เกิดจากการ 2 2 AI

บดย่อยและผสมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วกับวัตถุดิบอื่นๆ รวมถึง

ในระหว่างการลำเลียงส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ผสมกับวัตถุดิบ

แลว้ ไปยังเตา

7.5.2 กรณีมีการผสมส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตรายกับวัตถุดิบ - 3 AI

หรือสารเคมีอ่ืนๆ ต้องดำเนินการในภาชนะปิดสนิทหรือในห้องท่ีปิด

สนิทและมีระบบดูดอากาศเพื่อนำฝุ่นละอองสารเคมี หรือกลิ่นเหม็น

ที่เกิดข้ึนระหว่างการผสมไปบำบัดด้วยระบบบำบัดมลพิษอากาศที่มี

ประสทิ ธภิ าพ

7.5.3 มวี ิธกี ารปฏิบัติงานสำหรับข้ันตอนการป้อนส่ิงปฏกิ ูลหรือวสั ดุท่ีไม่ใชแ้ ล้ว 2 2 -

หรือส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีผสมกับวัตถุดิบอื่นๆ เข้าเตาเพ่ือให้

พนกั งานสามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

7.5.4 ในกรณีที่มีการป้อนวัตถุดิบส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องติดต้ัง 3 3 AI

อุปกรณ์ตัดการทำงานของระบบการป้อนวัตถุดิบส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ

ที่ไม่ใช้แล้วอย่างอัตโนมัติ (Automatic Waste Feed Shutoff :

AWFS) เมอ่ื คา่ พารามิเตอรต์ า่ งๆ ภายในเตาเกดิ ความผดิ ปกติ

7.5.5 มีมาตรการป้องกันไม่ให้สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีมีความไวต่อ 3 3 AI

สภาวะอุณหภูมิสงู รัว่ ไหลขณะท่ีมกี ระบวนการรีไซเคลิ

7.5.6 มีการตรวจสอบความหนาของเตาหลอม เบ้าหลอมที่ใช้ในการหลอม 2 2 -

หรือใหค้ วามรอ้ นโดยตรง

7.5.7 มีการตรวจสอบการรั่วไหลของรางหรือท่อ ในกรณีที่มีการขนส่ง 2 3 AI

ของเหลว ของแขง็ ไปตามระบบราง หรอื ท่อ

7.5.8 มีมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดข้ึนกับพนักงานท่ีปฏิบัติงาน 3 3 AI

เกย่ี วกบั เตาหลอมหรือให้ความร้อนโดยตรง

7.5.9 มีระบบควบคุม ตรวจสอบสภาวะการเผาไหม้ในเตาหลอมหรือการอบ 2 2 -

ภายในเตาอบ เพื่อให้การหลอมหรือการอบมีประสิทธิภาพสูงสุด

ตลอดเวลา

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 65

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจดั ส่งิ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ี่ไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 7 การรีไซเคิลสงิ่ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ่ีไมใ่ ช้แลว้ (ต่อ)

7.5 การรไี ซเคิลดว้ ยกระบวนการหลอมหรอื ใหค้ วามร้อนโดยตรง (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

7.5.10 มีการจัดทำข้อช้ีบ่งถึงสภาวะที่ผิดปกติในการทำงานของเตา และระบุ 3 3 AI

ขั้นตอนการดำเนินการเพ่ือแก้ไขสถานการณ์ที่ผิดปกติดังกล่าว ติดไว้

ในตำแหน่งท่ีเห็นได้ชัดเจนภายในห้องควบคุมเพ่ือเป็นแนวทาง

ในการปฏบิ ัติงานของพนักงาน

7.5.11 มีการควบคุมไมใ่ ห้มกี ารใชน้ ำ้ หรือมีรางระบายนำ้ ในบริเวณเตา 33 -

7.5.12 จัดให้มีการทำความสะอาดฝุ่นจากสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว 2 3 -

ฝนุ่ โลหะหรอื อโลหะท่สี ะสมอยบู่ รเิ วณพ้นื ที่ปฏิบัติงาน

7.5.13 มีป้ายสัญลักษณ์แจ้งเตือนอันตรายจากการทำงานของเคร่ืองจักรไว้ 3 3 -

ในบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน เช่น “ระวังพ้ืนผิว

วัสดุรอ้ น” “ระวังสะดุด” “ห้ามเข้าก่อนได้รับอนุญาต” “โปรดสวมใส่

อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล” เป็นตน้

7.5.14 ตดิ ตั้งระบบดูดฝ่นุ และฟูมโลหะหรืออโลหะจากเตา พร้อมระบบบำบัด 3 3 AI

มลพิษอากาศที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้อากาศท่ีระบายออกสู่

บรรยากาศมีคุณภาพตามมาตรฐาน

7.5.15 มีการตรวจสอบปริมาณ คุณลักษณะ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้ 3 3 AI

จากการนำส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการหลอม

หรือให้ความรอ้ นโดยตรงทุกคร้งั อยา่ งนอ้ ยแต่ละชดุ (Batch) ของการผลิต

7.5.16 มีการรวบรวมตะกรันจากเตาหลอมบรรจุใส่ภาชนะและจัดเก็บใน 3 3 AI

สถานทีท่ ี่เหมาะสมเพ่อื รอนำไปบำบัด กำจัดต่อไป

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ีดีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 66

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ีดีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั ส่งิ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 7 การรีไซเคลิ ส่ิงปฏิกลู หรอื วัสดทุ ่ไี มใ่ ช้แลว้ (ตอ่ )

7.6 การรีไซเคิลดว้ ยการทำสารปรับปรงุ คณุ ภาพดินจากกากตะกอนระบบบำบัดนำ้ เสียแบบชีวภาพ

ข้อ ขอ้ กำหนดวิธปี ฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

7.6.1 มีมาตรการป้องกันกลิ่นทเี่ กิดจากข้นั ตอนการลดความชนื้ ของวัตถดุ บิ 3 - AI

7.6.2 มมี าตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันฝุน่ ละอองที่เกิดจากข้ันตอน 3 - AI

การบดย่อยส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วเพ่ือเตรียมวัตถุดิบก่อนนำเข้า

กระบวนการหมัก ขั้นตอนการเติมอากาศในกระบวนการหมัก

โดยวิธีการกลับกอง ข้ันตอนการร่อนคัดขนาด ปั้นเม็ด รวมทั้ง

การบรรจกุ ระสอบ

7.6.3 มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกลิ่นท่ีเกิดจากกระบวนการ 3 - AI

หมักสง่ิ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แลว้ ด้วยจุลินทรีย์

7.6.4 มีการรวบรวมน้ำชะท่ีเกิดจากกระบวนการหมักเพ่ือนำกลับมาใช้ใน 3 - AI

กระบวนการใหม่ หรอื นำไปบำบดั กำจดั

7.6.5 มีการตรวจสอบปริมาณ คุณลักษณะและคุณภาพของสารปรับปรุง 3 - AI

คุณภาพดินจากกากตะกอนระบบบำบัดน้ำเสียแบบชีวภาพทุกคร้ัง

อยา่ งนอ้ ยแต่ละชุด (Batch) ของการผลติ

7.6.6 มีการรวบรวมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ 3 - AI

โดยกระบวนการหมัก หรือกระบวนการอื่นๆ เช่น ถุงพลาสติก

เศษวัสดุต่างๆ เป็นต้น และจัดเก็บในสถานท่ีท่ีเหมาะสมเพื่อรอ

การนำไปบำบัด กำจัดตอ่ ไป

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 67

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจัดส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดุทไ่ี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 7 การรไี ซเคิลสิง่ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ (ตอ่ )

7.7 การรไี ซลเคลิ วสั ดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ลว้ จำพวกตัวกรอง แผน่ กรอง หรอื ตวั ดูดซบั ทม่ี ีกระบวนการล้าง
ดว้ ยสารเคมหี รือทำใหเ้ กิดปฏิกิริยาเคมี

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธีปฏบิ ัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

7.7.1 จำกัดพ้ืนท่ีปฏิบัติงานในการล้างตัวกรอง แผ่นกรอง หรือตัวดูดซับ 3 -

โดยแบ่งพื้นท่ีปฏิบัติท่ีเหมาะสมและมีมาตรการในการป้องกัน

การรั่วไหลของมลพิษและไอระเหยของสารเคมี รวมถึงการควบคุม

มลพษิ จากกิจกรรม

7.7.2 ภาชนะหรอื อปุ กรณ์ทุกชนดิ ที่บรรจสุ ิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไมใ่ ช้แล้วทเ่ี ป็น 3 -

อันตรายที่เป็นของเหลวของแข็ง เช่น ถังทำปฏิกิริยา ถังผสม และ

ถังลดอุณหภมู ิตอ้ งเป็นระบบปิดและมีมาตรการป้องกันควบคมุ การหกล้น

ขณะสูบขนถ่าย

7.7.3 อุปกรณ์ท่ีทำงานภายใต้ความดันและอุณหภูมิสูงกว่าสภาวะปกติ เช่น 3 -

ถังทำปฏิกิริยา ถังผสม และถังลดอุณหภูมิต้องมีระบบสัญญาณแจ้ง

เตือน (Alarm System) เมื่อความดันหรืออุณหภูมิสูงเกินกว่าค่า

ท่ีกำหนดไว้ในการปฏิบัติงานปกติ และต้องมีระบบหยุดการทำงาน

ฉกุ เฉิน (Emergency Shut-off) เพอ่ื หยดุ การทำงานโดยอตั โนมัติ

7.7.4 มีมาตรการป้องกันการร่ัวไหลของระบบท่อ ถังทำปฏิกิริยาจาก 3 -

กระบวนการลา้ งทำความสะอาดตวั กรอง แผน่ กรองหรอื ตวั ดูดซบั

7.7.5 มีการตรวจสอบความหนาของอุปกรณ์ที่ทำงานภายใต้ความดัน เช่น 2 -

ถงั ทำปฏิกิรยิ า ถังผสม และถงั ลดอุณหภมู ิ

7.7.6 มีคู่มือการปฏิบัติงานในการควบคุมถังทำปฏิกิริยา ถังผสม และถังลด 2 -

อุณหภูมิโดยระบุสภาวะที่ต้องควบคุมและการปฏิบัติที่ทำให้ได้มาซึ่ง

สภาวะทีต่ ้องการเพ่ือเปน็ แนวทางปฏิบัติของพนกั งาน

7.7.7 มีป้ายระบุข้อบ่งช้ีสภาวะที่ผิดปกติในถังทำปฏิกิริยา ถังผสม ถังลด 3 -

อุณหภูมิ และขั้นตอนการปฏิบัติงานเพ่ือแก้ไขปัญหาติดไว้ในตำแหน่ง

ท่ีเหน็ ไดช้ ดั เจน

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 68

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ีทว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดทุ ีไ่ ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 7 การรไี ซเคิลส่งิ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ่ีไม่ใชแ้ ลว้ (ตอ่ )

7.7 การรไี ซลเคลิ วัสดทุ ีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ จำพวกตัวกรอง แผน่ กรอง หรือตวั ดดู ซับทม่ี ีกระบวนการล้าง
ดว้ ยสารเคมหี รือทำใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี (ต่อ)

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธีปฏิบัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

7.7.8 มีการตรวจสอบคุณภาพของตัวกรอง แผ่นกรอง หรือตัวดูดซับเทียบ 3 -

กับค่ามาตรฐานที่เกี่ยวข้องให้พร้อมกับการนำกลับไปใช้งานภาย

หลงั จากการลา้ งทำความสะอาด

7.7.9 มีการรวบรวมสารเคมีท่ีใช้แล้ว/น้ำเสีย และกากตะกอนท่ีเกิดจากการ 3 -

ล้างทำความสะอาดตัวกรอง แผ่นกรอง หรือตัวดูดซับเก็บไว้ในภาชนะ

ท่เี หมาะสมเพือ่ รอนำไปบำบัด กำจดั ตอ่ ไป

หมายเหตุ : กิจกรรมการรีไซลเคิลวสั ดุท่ไี ม่ใช้แล้วจำพวกตัวกรอง แผ่นกรอง หรือตัวดดู ซับท่ีมีกระบวนการล้างด้วยสารเคมีหรือทำให้เกิดปฏิกริ ิยา
เคมี จะไมม่ ีชนิดและประเภทของสิ่งฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และวิธีการกำจัดสำหรบั การขออนุญาตให้นำส่ิงฏิกูลหรอื วสั ดทุ ี่ไม่ใช้แล้ว
ออกนอกบรเิ วณโรงงานแบบอัตโนมัติ (AI)

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทดี่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 69

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทดี่ ที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดส่งิ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ี่ไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 7 การรไี ซเคลิ ส่งิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ (ต่อ)

7.8 การรีไซเคลิ พลาสติก เศษยาง และยางรถยนตด์ ว้ ยกระบวนการไพโรไลซสิ (Pyrolysis)

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏิบัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย

7.8.1 มีระบบการควบคุมตรวจสอบชนิดและปริมาณพลาสติก เศษยางและยางรถยนต์ 2 -

ท่ีเขา้ สูเ่ ตาปฏกิ รณ์ใหเ้ หมาะสมตอ่ ขนาด ลักษณะ และรปู แบบของเตา

7.8.2 มีมาตรการป้องกันอันตรายจากการใช้ของมีคมให้กับพนักงานท่ีปฏิบัติงานในข้ันตอน 2 -

การเตรียมยางรถยนต์ โดยการตัดแต่ง หรอื ตัดเพอ่ื ลดขนาดยางกอ่ นนำเขา้ เตาปฏิกรณ์

7.8.3 มีวิธีการปฏิบัติงานสำหรับขั้นตอนการป้อนพลาสติก เศษยางและยางรถยนต์เข้าเตา 3 -

ปฏกิ รณ์เพื่อให้พนกั งานสามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย

7.8.4 จัดให้มีการตรวจสอบความหนาของเตาไพโรไลซิส และระบบท่อลำเลียงเพ่ือเฝ้าระวัง 2 -

การผกุ รอ่ นของเตา รวมถึงมกี ารตรวจสอบสภาพความพร้อมของเตาไพโรไลซิสอยูเ่ สมอ

7.8.5 มมี าตรการในการป้องกนั และควบคุมก๊าซ กลิน่ และเถา้ จากการสลายตวั ของพลาสติก 3 -

และยางในขณะเปดิ เตาไพโรไลซสิ เพ่อื ขนถา่ ยนำเถ้าออกและเติมวตั ถุดบิ ใหม่เข้าเตา

7.8.6 บริเวณพื้นท่ีท่ีมีการป้อนพลาสติก เศษยาง และยางรถยนต์เข้าเตาไพโรไลซิส ต้องจัด 3 -

ให้มีท่ีล้างตัวและล้างตาฉุกเฉิน (Emergency Shower & Eyewash) ในสภาพพร้อม

ใชง้ าน

7.8.7 ติดตั้งระบบบำบัดมลพิษอากาศที่มีประสิทธิภาพในการกำจัดอนุภาคฝุ่นและมลสาร ข้อบงั คับ -

อ่ืนๆ ในก๊าซท่ีเกิดจากการเผาไหม้ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ ก่อนระบายออกสู่ *g,l

บรรยากาศ

7.8.8 มีระบบควบคุมสภาวะที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ในกระบวนไพโรไลซิส เช่น การควบคุม 3 -

อุณหภูมิ ความดัน ระบบการป้อนยาง ชนิดของเตาไพโรไลซิสและวัตถุดิบที่ป้อนเข้า

เพ่ือควบคมุ ปริมาณและคณุ ภาพของน้ำมนั และก๊าซ

7.8.9 ติดตง้ั เคร่อื งวดั อุณหภมู ิบรเิ วณหอ้ งเผาไหม้ และปลอ่ งระบายอากาศ 3-

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 70

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีดีทวั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 7 การรีไซเคิลสงิ่ ปฏิกลู หรอื วสั ดุท่ไี ม่ใช้แล้ว (ต่อ)

7.8 การรีไซเคลิ พลาสติก เศษยาง และยางรถยนตด์ ว้ ยกระบวนการไพโรไลซิส (Pyrolysis) (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวิธีปฏบิ ตั ิงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไม่อันตราย อนั ตราย

7.8.10 มีคู่มือการปฏิบัติงานในการควบคุมเตาไพโรไลซิสโดยระบุสภาวะที่ต้องควบคุมและ 2 -

การปฏิบัติทีท่ ำใหไ้ ด้มาซึง่ สภาวะที่ต้องการเพือ่ เป็นแนวทางปฏิบตั ขิ องพนักงาน

7.8.11 มีระบบอุปกรณ์เฝ้าระวังอัตโนมัติหรือมีสัญญาณแจ้งเตือน (Alarm System) ในการ 3 -

ตรวจหาความผิดปกติต่างๆ เพ่ือสามารถปรับเข้าสู่สภาวะปกติของเตาปฏิกรณ์ และ

หากเกิดเหตุฉุกเฉินเม่ือความดันหรืออุณหภูมิภายในเตาไพโรไลซิสสูงเกินกว่าค่า

ทก่ี ำหนดไวใ้ นการปฏบิ ัติงานปกติ จะต้องมีระบบหยดุ การทำงานฉุกเฉนิ (Emergency

Shut-off) เพื่อหยุดการทำงานโดยอัตโนมตั ิ

7.8.12 มีการจัดทำข้อชี้บ่งถึงสภาวะท่ีผิดปกติในการเผาไหม้ และระบุขั้นตอนการดำเนินการ 3 -

เพ่ือแก้ไขสถานการณ์ที่ผิดปกติดังกล่าว ติดไว้ในตำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน เพ่ือเป็น

แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านของพนักงาน

7.8.13 มีการตรวจสอบปริมาณ คุณลักษณะและคุณภาพของน้ำมันท่ีได้จากกระบวนการ 3 -

ไพโรไลซสิ (Pyrolysis) ทุกคร้ังอยา่ งน้อยแตล่ ะชุด (Batch) ของการผลติ

7.8.14 มีการรวบรวมของเสียท่ีเกิดจากการเผาไหม้ เช่น ลวด คาร์บอนแบล็คบรรจุในภาชนะ 3 -

และจัดเกบ็ ในสถานท่ที เ่ี หมาะสมเพอ่ื รอการนำไปบำบดั กำจดั ต่อไป

7.8.15 จัดให้มีพ้ืนท่ีปลูกต้นไม้ เพ่ือเป็นพ้ืนที่ฉนวน (Buffer Zone) โดยรอบพื้นที่โรงงาน 2 -

เพอื่ ลดปัญหาฝนุ่ ละอองและกล่นิ ส่ภู ายนอก

หมายเหตุ : กจิ กรรมการรไี ซลเคิลพลาสติก เศษยาง และยางรถยนต์ด้วยกระบวนการไพโรไลซิส (Pyrolysis) จะไม่มีชนิดและประเภทของสิ่งฏิกูล
หรือวัสดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ลว้ และวิธกี ารกำจัดสำหรับการขออนญุ าตให้นำส่ิงฏกิ ูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วออกนอกบรเิ วณโรงงานแบบอัตโนมัติ (AI)

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 71

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีดที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั ส่งิ ปฏิกูลหรือวสั ดุที่ไม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 8 ระบบบำบดั มลพษิ และสาธารณปู การอน่ื ๆ ในโรงงาน

8.1 หอ้ งปฏิบตั ิการวิเคราะห์

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

8.1.1 มีห้องปฏิบัติการวิเคราะห์สำหรับวิเคราะห์คุณภาพของวัตถุดิบและ 2 2 AI

ผลิตภัณฑ์ในเบ้ืองต้น เพ่ือประเมินความสามารถในการรับส่ิงปฏิกูล

หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเข้ามาบำบัด กำจัดในโรงงาน รวมทั้งกำหนด

สภาวะทเ่ี หมาะสมสำหรบั บำบัด กำจดั ของเสยี ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

8.1.2 น้ำเสียปนเปื้อนสารเคมีสารอันตรายอ่ืนๆ ของเสียที่ใช้และเกิดขึ้นจาก 3 3 AI

การวิเคราะห์ ต้องแยกใส่ภาชนะและจัดเก็บในสถานที่ที่เหมาะสม

เพื่อรอการนำไปบำบัด กำจัดตอ่ ไป

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานที่ดีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 72

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทดี่ ที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจดั สิ่งปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ไี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 8 ระบบบำบดั มลพษิ และสาธารณูปการอื่นๆ ในโรงงาน (ต่อ)

8.2 สถานทจ่ี ดั เกบ็ สารเคมี ท่อกา๊ ซหรือภาชนะบรรจุก๊าซอัดภายใต้ความดนั

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธปี ฏิบตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

8.2.1 ภาชนะบรรจุวัตถุอันตราย เช่น วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด วัตถุเคมี หรือ ขอ้ บงั คับ ข้อบงั คบั AI

ของเหลวที่มีขนาดของภาชนะบรรจุตั้งแต่ 25,000 ลิตรขึ้นไป *a *a

ต้องม่ันคงแข็งแรง เป็นไปตามมาตรฐานที่ยอมรับ โดยมีคำรับรองของ

ผู้ประกอบการวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือบุคคลอ่ืนที่รัฐมนตรี

กำหนด และต้องสร้างเขื่อน หรือกำแพงคอนกรีตโดยรอบให้มีขนาด

ทส่ี ามารถเก็บกักวัตถุอนั ตรายน้ันเท่ากับปริมาตรของถังเกบ็ ขนาดใหญ่

ที่สุด เพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของวัตถุหรือเคมีภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติ

เหมาะสมในการระงับ หรือลดความรุนแรงของการแพร่กระจายได้

อย่างเหมาะสมและเพียงพอในกรณีท่ีภาชนะบรรจุนั้น ตั้งอยู่ในที่โล่ง

แจ้ง ต้องมีสายฟ้าให้เป็นไปตามหลักวิชาการและภาชนะบรรจุที่อาจ

เกดิ ประจไุ ฟฟา้ สถติ ย์ได้ในตวั ต้องต่อสายดนิ

8.2.2 มีการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายไว้ในที่ท่ีเหมาะสม เป็นไปตาม 2 2 AI

ค่มู อื การเก็บรกั ษาสารเคมี และวัตถอุ นั ตราย

8.2.3 พื้นท่ีจัดเก็บหรือห้องเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายต้องมีระบบระบาย 3 3 AI

อากาศท่ีดี โดยคำนึงถึงประเภทสารเคมีและวัตถุอันตราย รวมท้ัง

สภาพการทำงานท่ปี ลอดภัย

8.2.4 บริเวณพ้ืนท่ีอันตรายที่มีการจัดเก็บและขนถ่ายสารไวไฟต้องติดต้ัง ข้อบังคับ ข้อบังคบั AI

ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดป้องกันการระเบิด (Explosion *ab *ab

Proof) ใหเ้ หมาะสมกบั สารทจ่ี ัดเกบ็

8.2.5 บริเวณโดยรอบไม่มีแหล่งความร้อน เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า วัสดุที่มี 3 3 AI

พื้นผิวร้อน ประกายไฟ เปลวไฟที่อาจทำให้เกิดการลุกไหม้หรือระเบิดได้

ในพน้ื ท่ใี กลเ้ คียง

8.2.6 วิธีเก็บรักษาสารเคมีต้องเหมาะสม และมีความปลอดภัย แยกเก็บ 3 3 AI

สารเคมใี ห้เป็นระเบียบ สารเคมีทเี่ ปน็ ของเหลวมกี ารทำคนั ก้ันหรอื ถาด

รองเพ่ือป้องกันการหกร่ัวไหลออกนอกพ้ืนท่ีจัดเก็บ ภาชนะบรรจุก๊าซ

ต้องวางอยู่ในแนวตั้งและมีสายโซ่สายรัดคล้องไว้ หรือจัดทำคอกกั้น

เพ่ือยดึ ภาชนะใหว้ างต้งั ไดอ้ ย่างมน่ั คง

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทด่ี ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 73

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดส่งิ ปฏิกลู หรือวสั ดุท่ีไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 8 ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณปู การอื่นๆ ในโรงงาน (ตอ่ )

8.2 สถานทจ่ี ัดเก็บสารเคมี ท่อกา๊ ซหรือภาชนะบรรจกุ ๊าซอดั ภายใต้ความดนั (ตอ่ )

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏิบัติงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

8.2.7 สถานที่จัดเก็บวัตถุไวไฟท่ีมีพื้นที่ตั้งแต่ 14 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องติดตั้ง ข้อบังคบั ข้อบงั คบั AI

ระบบดับเพลิงอตั โนมัตทิ ่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนทีน่ ั้น *q *q

8.2.8 สถานท่ีจัดเก็บวัตถุท่ีติดไฟได้ที่มีพื้นที่ต่อเนื่องติดต่อกันต้ังแต่ 1,000 3 3 AI

ตารางเมตรข้ึนไป ต้องติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบ

หัวกระจายน้ำหรือสารเคมีดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler

System) หรอื ระบบอื่นท่ีเทยี บเท่าใหค้ รอบคลุมพืน้ ที่

8.2.9 จัดให้มีมาตรการ อุปกรณ์ ควบคุมและแก้ไขเม่ือเกิดเหตุรั่วไหล 2 3 AI

ของสารเคมีใหม้ ีความพรอ้ มใชง้ านอยูต่ ลอดเวลา

8.2.10 จัดให้มีเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (SDS) ไว้ในพื้นท่ี 3 3 AI

จัดเก็บ และต้องจัดให้มีการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานในสถานที่เก็บรักษา

สารเคมีอันตรายให้มีความรู้ความเข้าใจ และความชำนาญในการ

ปฏบิ ตั งิ าน

8.2.11 มีการสำรวจดูแลความเรียบร้อยของสถานท่ีจัดเก็บสารเคมีอันตราย 2 2 -

อย่างสมำ่ เสมอตามความเหมาะสม

8.2.12 มีการติดป้ายห้าม ป้ายเตือน ป้ายบังคับ และป้ายข้อมูลขนาดท่ี 2 3 AI

เหมาะสม เชน่ “ห้ามสูบบุหรี่”“ห้ามก่อประกายไฟ” “ห้ามการกระทำ

ใดๆท่ีก่อให้เกิดเปลวไฟ” “ห้ามเข้าก่อนได้รับอนุญาต” “ห้ามจุดไฟ”

เป็นตน้ ตดิ ไว้ใหเ้ ห็นเดน่ ชัดบริเวณพ้นื ที่ทต่ี อ้ งใช้ปา้ ยนน้ั

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 74

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 8 ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณูปการอื่นๆ ในโรงงาน (ตอ่ )

8.3 การซ่อมบำรงุ

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

8.3.1 จัดให้มีการตรวจทดสอบความปลอดภัยระหว่างการใช้งานหม้อน้ำ ข้อบังคบั ข้อบงั คับ AI

โดยวิศวกรตรวจสอบ หรือหน่วยวิศวกรรมด้านหม้อน้ำหรือหม้อต้มที่ *n,w,ah *n,w,ah

ใช้ของเหลวเปน็ สอ่ื นำความรอ้ นอยา่ งนอ้ ยปีละ1 ครง้ั

8.3.2 จัดให้มีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าในโรงงานและรับรองความปลอดภัย ข้อบงั คบั ขอ้ บงั คับ AI

ของระบบไฟฟา้ ในโรงงานเป็นประจำทกุ ปี *c *c

8.3.3 จัดทำแผนซ่อมบำรุงเชิงป้องกันซึ่งรวมถึงการสอบเทียบเครื่องมือ 2 2 -

เครือ่ งจักรท่ใี ช้ในการผลิตและระบบบำบดั มลพิษตา่ งๆ

8.3.4 จัดให้มีการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์เครื่องจักร 3 3 AI

ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ เช่น รถโฟล์คลิฟท์ เครน ลิฟท์ เป็นประจำ

ทกุ ปโี ดยวศิ วกรผไู้ ด้รบั อนุญาตใหป้ ระกอบวิชาชพี วศิ วกรควบคุม

8.3.5 มีการรวบรวมน้ำเสียและของเสียจากกิจกรรมซ่อมบำรุงจัดเก็บ 3 3 AI

ในภาชนะและสถานท่ีที่เหมาะสมเพอื่ รอนำไปบำบดั กำจดั ตอ่ ไป

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 75

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ดี ีทว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ่ีไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 8 ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณปู การอ่นื ๆ ในโรงงาน (ต่อ)

8.4 ระบบบำบดั มลพิษอากาศ

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

8.4.1 สภาพของระบบบำบัดมลพิษอากาศเป็นไปตามท่ีได้รับอนุญาต ขอ้ บังคบั ขอ้ บังคับ AI

จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม *al *al

8.4.2 มีการตรวจสอบคุณภาพอากาศที่ระบายออกจากปล่องระบายอากาศ ขอ้ บังคับ ขอ้ บังคบั AI

ทุกปล่องที่มีในโรงงานอย่างน้อย 6 เดือน/คร้ัง โดยห้องปฏิบัติการ *a,s *a,s

วิเคราะห์ของราชการหรอื หอ้ งปฏบิ ัติการวเิ คราะหเ์ อกชนทีข่ ึ้นทะเบยี น

กบั กรมโรงงานอุตสาหกรรม

8.4.3 กิจการหลอมตะก่ัวจากแบตเตอร่ีเก่าต้องรายงานผลการตรวจสอบ - ข้อบงั คบั -

คณุ ภาพอากาศต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมทกุ ๆ 3 เดอื น *e

8.4.4 ผลคุณภาพอากาศท่ีผ่านการบำบัดแล้วจากทุกปล่องต้องเป็นไปตาม ข้อบงั คับ ข้อบงั คบั AI

เกณฑ์มาตรฐานการระบายอากาศ *h,l,m *h,l,m

8.4.5 มีคู่มือในการเดินระบบฯ ซ่ึงอธิบายวิธีการทำงานประจำวันและวิธี 2 2 -

ปฏบิ ัติงานท่ีเหมาะสมในกรณีที่มสี ภาพผิดปกตเิ กิดขึ้น

8.4.6 มีการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลที่แสดงถึงการเดินระบบบำบัดมลพิษ 1 1 -

อากาศ และขอ้ มลู ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้าของระบบฯ

8.4.7 มีการจัดทำบันทึกผลการตรวจสอบคุณภาพอากาศจากทุกปล่อง 2 2 -

ระบาย และวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทุกครั้งท่ีทำการ

ตรวจสอบ

8.4.8 มีการรวบรวมน้ำเสียหรือกากตะกอนจากระบบบำบัดมลพิษอากาศไป 3 3 AI

บำบดั หรือกำจัดอยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 76

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจดั สงิ่ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 8 ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณูปการอนื่ ๆ ในโรงงาน (ตอ่ )

8.5 การจัดการนำ้ เสยี และระบบบำบดั นำ้ เสยี

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

8.5.1 สภาพของระบบบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามท่ีได้รับอนุญาตจาก ขอ้ บังคบั ข้อบงั คบั AI

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม *al *al

8.5.2 มีการตรวจสอบคุณภาพน้ำเสียหรือน้ำท้ิงโดยห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ข้อบงั คบั ขอ้ บังคบั AI

ของราชการหรืห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์เอกชนที่ข้ึนทะเบียนกับ *r,s *r,s

กรมโรงงานอุตสาหกรรม ดงั นี้

o น้ำเสยี กอ่ นเขา้ ระบบบำบดั น้ำเสยี อย่างน้อย 3 เดอื น/คร้ัง

o น้ำเสยี หรอื น้ำท้งิ ออกจากระบบบำบดั น้ำเสยี อย่างนอ้ ย 3 เดอื น/ครง้ั

o นำ้ ทิง้ ระบายออกนอกโรงงาน อย่างนอ้ ย 1 เดือน/คร้ัง

o น้ำเสียที่ส่งบำบัดภายนอกโรงงานให้เก็บตัวอย่างน้ำในบ่อสุดท้าย

อย่างนอ้ ย 1 เดือนต่อครงั้

o กรณีไม่มีการระบายออกนอกโรงงานให้เก็บตัวอย่างน้ำในบ่อสุดท้าย

อยา่ งน้อย 3 เดอื น/ครั้ง

8.5.3 น้ำทิ้งท่ีระบายออกจากโรงงาน ต้องมีลักษณะสมบัติเป็นไปตาม ข้อบงั คบั ข้อบงั คบั AI

มาตรฐานคณุ ภาพนำ้ ทิง้ ตามทกี่ ฎหมายกำหนด *x *x

8.5.4 น้ำท้ิงท่ีระบายออกจากโรงงานท่ีตั้งอยู่ในเขตประกอบการหรือนิคม ข้อบังคับ ขอ้ บังคบั AI

อุตสาหกรรม ต้องมีลักษณะสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้ง *al *al

ตามที่เขตประกอบการหรือการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

กำหนด

8.5.5 ท่อรวบรวมนำ้ เสยี ต้องแยกออกจากท่อระบายน้ำฝนอยา่ งชัดเจน 3 3 AI

8.5.6 มีการรวบรวมน้ำเสียจากทุกแหล่งกำเนิด เพ่ือนำไปบำบัดหรือกำจัด 3 3 AI

ให้มคี ุณภาพน้ำทิ้งเปน็ ไปตามมาตรฐานทกี่ ฎหมายกำหนด

8.5.7 มีเอกสารหรือคู่มือแสดงข้ันตอนการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ซ่ึงอธิบาย 2 2 -

วิธีการทำงานประจำวันและวิธีปฏิบัติงานท่ีเหมาะสมในกรณีที่มีสภาพ

ผิดปกติเกดิ ข้นึ

8.5.8 มีการตรวจสอบและบันทึกปริมาณน้ำเสียท่ีเข้าระบบบำบัด รวมท้ัง 1 1 -

ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าและปรมิ าณการใชส้ ารเคมีของระบบฯ

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 77

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ดี ที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั สิ่งปฏิกลู หรือวสั ดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 8 ระบบบำบดั มลพิษและสาธารณปู การอนื่ ๆ ในโรงงาน (ต่อ)

8.5 การจัดการนำ้ เสียและระบบบำบัดนำ้ เสยี (ต่อ)

ข้อ ขอ้ กำหนดวิธีปฏิบัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

8.5.9 มีการจัดทำบันทึกผลการตรวจสอบปริมาณและลักษณะสมบัติของน้ำเสีย 3 3 AI

หลังออกจากระบบบำบัดน้ำเสีย และวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบฯ

รวมถึงแนวโน้มการเปล่ียนแปลง และมีมาตรการดูแลรักษาให้ระบบ

บำบดั น้ำเสียมปี ระสิทธภิ าพท่ดี อี ย่เู สมอ

8.5.10 มีวิธีการรวบรวมกากตะกอนหรือตะกอนสลัดจ์จากระบบบำบัดน้ำเสีย 1 2 AI

ท่ไี ม่ก่อให้เกิดการปนเป้ือนต่อสง่ิ แวดล้อม

8.5.11 มีการติดตามและบันทึกการระบายน้ำทิ้งว่าระบายไปยังแหล่งใด 2 3 AI

หรือนำน้ำไปใช้ท่จี ุดใด รวมทั้งปรมิ าณนำ้ ทรี่ ะบายทง้ิ

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 78

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏิกลู หรือวสั ดุทีไ่ ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 8 ระบบบำบัดมลพษิ และสาธารณปู การอื่นๆ ในโรงงาน (ตอ่ )

8.6 การจดั การของเสีย

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

8.6.1 ต้องดำเนินการส่งรายงานประจำปีตามแบบใบแจ้งเก่ียวกับรายละเอียด ข้อบงั คับ ขอ้ บังคบั AI

ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วสำหรับผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ี *k *k

ไม่ใช้แล้ว (สก.3) ให้แก่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ภายในวันที่

1 มนี าคม ของปีถดั ไป

8.6.2 ต้องไม่ครอบครองสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วภายในโรงงานเกิน ข้อบังคบั ข้อบังคบั AI

ระยะเวลา 90 วัน หากเกินกว่าระยะเวลาท่ีกำหนดไว้นี้ ต้องขอ *i,k,y **i,k,y

อนญุ าตต่อกรมโรงงานอตุ สาหกรรม ตามแบบ สก.1

8.6.3 กรณีส่งส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกไปกำจัดนอกบริเวณโรงงาน ขอ้ บงั คับ ข้อบงั คับ AI

ต้องขออนุญาตและได้รับอนุญาตนำของเสียออกนอกบริเวณโรงงาน *j,k,y *j,k,y

ตามแบบสก.2 และแจ้งข้อมูลการขนส่งของเสียทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์

หากเปน็ ของเสยี อนั ตรายต้องจดั ทำใบกำกับการขนส่ง

8.6.4 ในกรณีที่ทำการบำบัดหรือกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วภายใน ข้อบงั คับ ข้อบงั คบั AI

บริเวณโรงงาน ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม *k *k

ก่อนกำจัด และต้องปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว

ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทก่ี รมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด

8.6.5 มีการแยกพื้นที่ส่วนที่จัดเก็บของเสียอันตรายและไม่อันตรายออกจาก 2 2 AI

กนั อย่างชัดเจน หากเปน็ ของเสียอนั ตรายต้องแยกพื้นท่ีจัดเก็บของเสีย

ตามหลกั สากล และติดป้ายเตือนแสดงความเปน็ อันตราย

8.6.6 มีการเก็บรวบรวมของเสียที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสมโดยแบ่งประเภท 3 3 AI

ชนดิ ของเสยี เกบ็ ในภาชนะท่ีแข็งแรง มฝี าปดิ มดิ ชิด

8.6.7 มีการจดบันทึกข้อมูลของเสีย เช่น ช่ือปริมาณสถานะของเสีย 2 2 AI

(ของแข็ง ของเหลว ตะกอน) วันท่ีจัดเก็บ และติดป้ายบ่งช้ีไว้ท่ีภาชนะ

จดั เก็บของเสียในตำแหนง่ ทเ่ี หน็ ได้ชดั เจน

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านที่ดีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 79

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีทว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ่ีไม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 9 การจัดการด้านอาชวี อนามัยและความปลอดภยั และการจดั การด้านส่งิ แวดล้อม

9.1 การป้องกันอคั คภี ัย

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

9.1.1 ติดตั้งเครื่องดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงตามบริเวณต่างๆ อย่างเพียงพอ ขอ้ บังคับ ข้อบงั คบั AI

และเหมาะสมกบั ความเส่ยี งของพน้ื ที่นัน้ ๆ ในการเกดิ อคั คีภัย *q *q

9.1.2 มีการตรวจสอบ ทดสอบและบำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์สำหรับ ข้อบังคบั ข้อบงั คบั AI

การป้องกันและระงับอัคคีภัยให้สามารถพร้อมทำงานได้ตลอดเวลา *q *q

อย่างน้อยเดอื นละครงั้

9.1.3 มีการจัดเส้นทางหนีไฟท่ีอพยพพนักงานทั้งหมดออกจากบริเวณ ข้อบังคับ ขอ้ บงั คับ AI

ที่ทำงานสู่บริเวณที่ปลอดภัย เช่น ถนนหรือสนามนอกอาคารโรงงาน *q *q

ไดภ้ ายใน 5 นาที

9.1.4 อาคารโรงงานจัดให้มีอุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ข้อบังคบั ขอ้ บังคับ AI

ครอบคลุมท่ัวท้ังอาคารตามความเหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ โดยเฉพาะ *q *q

ในพ้นื ท่ีที่ไม่มพี นกั งานปฏิบตั งิ านประจำ

9.1.5 มีการจัดเตรียมน้ำสำรองสำหรับดับเพลิงในปริมาณท่ีเพียงพอที่จะส่ง 3 3 AI

จ่ า ย น้ ำ ให้ กั บ อุ ป ก ร ณ์ ฉี ด น้ ำ ดั บ เพ ลิ ง ได้ อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง เป็ น เว ล า

ไม่น้อยกว่า 30 นาทีถ้ากรณีท่ีมีการเก็บวัตถุอันตราย ต้องมีการ

จัดเตรียมน้ำสำรองดับเพลิงในปริมาณที่เพียงพอที่จะส่งจ่ายน้ำให้กับ

อปุ กรณ์ฉดี นำ้ ดบั เพลิงไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื งเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่า 2 ชั่วโมง

9.1.6 จัดให้พนักงานได้รับการฝึกอบรม เร่ือง การป้องกันและระงับอัคคีภัย ข้อบังคบั ขอ้ บงั คบั AI

อยา่ งนอ้ ยปีละครัง้ *q *q

9.1.7 ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ป้ายทางออกฉุกเฉินที่ประตูหนีไฟ 2 2 AI

ป้ายสัญลักษณ์บ่งช้ีตำแหน่งเคร่ืองดับเพลิง หรืออุปกรณ์ดับเพลิง

รวมถงึ สญั ญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และไฟฉกุ เฉินบอกทางหนไี ฟ

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านทด่ี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 80

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏิกูลหรือวัสดุทไ่ี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 9 การจดั การดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจดั การด้านสง่ิ แวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.2 การรองรบั เหตุฉุกเฉนิ

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ัติงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

9.2.1 จัดให้มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยของโรงงานดำเนินการ ขอ้ บังคบั ขอ้ บังคับ AI

ตรวจความปลอดภยั ดา้ นอัคคภี ัยเป็นประจำอยา่ งน้อยเดือนละครัง้ *q *q

9.2.2 มีการจัดทำแผนการป้องกันอุบัติภัยเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉินในกรณีเกิด ข้อบงั คบั ขอ้ บังคบั AI

เหตุรั่วไหล อัคคีภัย การระเบิดของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว *k *k

หรือเหตทุ ค่ี าดไม่ถึง

9.2.3 จดั ให้มีแผนป้องกันและระงบั อัคคีภยั ในโรงงาน ประกอบด้วย แผนการ ข้อบงั คับ ข้อบงั คบั AI

ตรวจสอบความปลอดภัยดา้ นอคั คภี ยั แผนการอบรม เรื่อง การปอ้ งกัน *q *q

และระงับอัคคีภัย แผนการดับเพลิง และแผนการอพยพหนีไฟ รวมถึง

ต้องปฏบิ ตั ิใหเ้ ปน็ ไปตามแผน

9.2.4 มีการระบุตำแหน่งผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนและผู้ที่อยู่ในแผนฉุกเฉิน 3 3 AI

จะตอ้ งได้รับการฝกึ อบรม

9.2.5 มีการซ้อมแผนฉุกเฉินท่ีไม่ใช่อัคคีภัย (เช่น กรณีเกิดเหตุสารเคมีร่ัวไหล 2 3 -

อุทกภยั วาตภยั หรอื เหตุท่คี าดไม่ถงึ ) อยา่ งน้อยปลี ะคร้งั

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 81

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีดที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั ส่ิงปฏิกลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั และการจัดการดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.3 อาชีวอนามัยและความปลอดภยั

ขอ้ ข้อกำหนดวิธีปฏิบัตงิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

9.3.1 กิจการหลอมตะกั่วจากแบตเตอร่ีต้องจัดให้มีการตรวจสอบสุขภาพ - ขอ้ บงั คับ -

ของพนักงาน อย่างน้อยปีละ 2 คร้ัง โดยมีผลแสดงระดับของตะก่ัว *g

ในเลือดและปัสสาวะ และต้องรายงานผลการตรวจสุขภาพต่อ

กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบ ทุกๆ 6 เดอื น

9.3.2 จัดให้มีส่ิงจำเป็นในการปฐมพยาบาลและการรักษาพยาบาลให้กับ 3 3 AI

พนักงาน เช่น เวชภณั ฑแ์ ละยาเพ่ือใชใ้ นการปฐมพยาบาล

9.3.3 มีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่พนักงาน และการตรวจพิเศษ 3 3 AI

ตามปจั จัยเส่ียงใหแ้ ก่พนักงานท่ปี ฏิบตั ิงานเก่ียวขอ้ งกบั ความเสี่ยงตา่ งๆ

9.3.4 จัดและดูแลให้พนักงานใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 3 3 AI

ที่ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับประเภทและชนิดของงาน รวมถึง

มมี าตรการเขม้ งวดกำชับให้พนักงานสวมใสท่ ุกครั้งทีป่ ฏบิ ตั งิ าน

9.3.5 มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับความร้อน 3 3 AI

แสงสว่าง หรือเสียงในพื้นท่ีเสี่ยงภายในสถานประกอบการอย่างน้อย

ปีละคร้ัง

9.3.6 พ้ืนที่ทำงานทมี่ ีการใช้สารเคมอี ันตราย ต้องมีการตรวจวัดและวิเคราะห์ 2 2 AI

ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศ อย่างน้อยปีละ

1 คร้งั

9.3.7 พนักงานโรงงาน/ผู้รับเหมาที่เข้ามาปฏิบัติงานท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับ 3 3 -

ร ถ โฟ ล์ ค ลิ ฟ ท์ ห รื อ เค ร่ื อ ง จั ก ร ท่ี อ า จ ก่ อ ใ ห้ เกิ ด อั น ต ร า ย ต้ อ ง ผ่ า น

การฝกึ อบรมการใช้งานเครอ่ื งจกั ร

9.3.8 มีการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องกับรถโฟล์คลิฟท์เพื่อให้เกิด 3 3 -

ความปลอดภัยระหวา่ งการใชง้ าน โดยมีป้ายบอกพิกัดนำ้ หนักยก มีการ

ควบคุมความสูงและตำแหน่งการจัดวางวัสดุท่ีจะยก มีการติดสัญญาณ

เสียงหรือสัญญาณไฟเตือนในขณะทำงาน และการควบคุมดูแลไม่ให้

บคุ คลอื่นโดยสารไปกบั รถโฟลค์ ลฟิ ท์

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี ีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 82

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สิ่งปฏิกลู หรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั และการจดั การด้านสงิ่ แวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.3 อาชวี อนามยั และความปลอดภัย (ตอ่ )

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบตั ิงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

9.3.9 พนักงานโรงงาน/ผู้รับเหมาท่ีเข้ามาปฏิบัติงานท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนที่ 3 3 -

โรงงาน ต้องไดร้ บั การฝึกอบรมดา้ นความปลอดภยั ในการทำงาน

9.3.10 โรงงานที่มีกิจกรรมท่ีทำให้เกิดประกายไฟหรือความร้อนท่ีเป็นอันตราย 2 3 AI

ท่ีไม่ใช่งานประจำ ต้องจัดทำระบบการอนุญาตทำงานท่ีมีประกายไฟ

หรือความรอ้ นทเ่ี ป็นอนั ตราย (Hot Work Permit System)

9.3.11 บริเวณที่เป็นสถานท่ีอับอากาศ ต้องจัดให้มีป้ายแจ้ง ข้อความ 3 3 -

“สถานท่ีอับอากาศห้ามเข้าไปโดยไม่ได้รับอนุญาต” ปิดไว้ในสถานท่ี

ซึ่งมองเห็นชัดอยู่ตลอดเวลา และมีการกำหนดข้อห้ามและควบคุม

ต่างๆ เช่น ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามก่อไฟ ห้ามคนไม่เกี่ยวข้องเข้าไป

ถ้าเป็นช่องโพรงต้องปิดกั้นไม่ให้คนตกลงไป และหากจะต้องให้

พนักงานเข้าไปปฏิบัติงานในสถานท่ีอับอากาศน้ันต้องตรวจสอบและ

ประเมินก่อนว่าเป็นบรรยากาศอันตรายหรือไม่ ทั้งนี้ หากสถานท่ี

อบั อากาศน้ันเปน็ บรรยากาศอนั ตรายจะต้องใหพ้ นักงานสวมใสอ่ ปุ กรณ์

คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลชนิดที่ทำให้บุคคลดังกล่าวสามารถ

ทำงานในท่อี บั อากาศน้ันไดอ้ ยา่ งปลอดภยั

9.3.12 มีระบบตรวจติดตามภายในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2 2 -

และดำเนนิ การปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนอื่ ง

9.3.13 ไดร้ บั การรับรองมาตรฐานการจดั การดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 1 -

(OHSAS 18001/TIS 18001/ISO 45001 หรือมาตรฐานอื่นๆ ท่ีเป็นที่

ยอมรบั )

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทดี่ ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 83

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทีด่ ที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 9 การจดั การดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั และการจัดการด้านสิง่ แวดลอ้ ม (ต่อ)

9.4 การจดั การด้านส่งิ แวดลอ้ ม

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธปี ฏบิ ัติงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

9.4.1 มีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน ซ่ึงประกอบด้วย ผู้ควบคุมดูแล ข้อบงั คับ ขอ้ บังคับ AI

ระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (ผู้จัดการส่ิงแวดล้อม ผู้ควบคุมระบบ *k,r,af,ai *k,r,aa,af,ai

บำบัดมลพิษน้ำ ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ ผู้ควบคุมระบบ

บำบัดมลพิษกากอุตสาหกรรม) และผู้ปฏิบัติงานประจำระบบป้องกัน

ส่ิงแวดล้อมเป็นพิษ ตามประเภทมลพิษที่โรงงานก่อให้เกิดข้ึน สำหรับ

ประเภทกิจการฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตราย

ต้องจัดให้มีบริษัทท่ีปรึกษาที่ได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงาน

อุตสาหกรรม ทำหน้าที่ควบคุมดแู ลระบบปอ้ งกนั ส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย

9.4.2 มีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย - ข้อบงั คับ AI

ประจำสถานที่เกบ็ รักษาวัตถอุ ันตราย *o,ad

9.4.3 มีการจัดทำรายงานและรับรองรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษา - ข้อบังคับ AI

วัตถุอันตรายทุก 1 ปี ตามแบบท่ีกรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด *o,ad

โดยผ่านระบบสญั ญาณคอมพิวเตอร์เข้ากบั ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และสำเนารายงานเก็บไว้ ณ สถานที่เก็บ

รักษาวัตถุอันตราย เพ่ือให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบรายงาน

ไดต้ ลอดเวลา

9.4.4 มีการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมท้ังภายในบริเวณโรงงานและ ข้อบังคบั ขอ้ บงั คบั AI

ภายนอกโรงงานซึ่งเป็นแหล่งที่อาจได้รับผลกระทบจากการระบาย *al *al

มลพษิ ของโรงงานอย่างสม่ำเสมอ (เฉพาะบางโรงงานเทา่ น้ัน)

9.4.5 มีการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ก่อนเร่ิม ข้อบงั คับ ข้อบงั คับ AI

ดำเนินการ และรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไข *ak,al *ak,al

ผลกระทบส่ิงแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ

สิ่งแวดล้อม ช่วงดำเนินการ (Monitoring Report) ทุก 6 เดือน

ต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(สผ.) โดยมีประเภทกิจการโรงงานท่เี ก่ยี วข้อง ดังน้ี

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 84

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทีด่ ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดสิ่งปฏิกลู หรือวัสดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจดั การดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.4 การจดั การด้านสิง่ แวดล้อม (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏิบตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

9.4.5 - อตุ สาหกรรมผลติ ปนู ซีเมนตท์ กุ ขนาด

(ต่อ) - อุตสาหกรรมเหล็ก หรือเหล็กกล้า ที่มีกำลังผลิตแต่ละชนิดหรือ

รวมกันต้งั แต่ 100 ตนั /วนั ขึ้นไป

- อุตสาหกรรมถลุงหรือแต่งแร่ หรือหลอมโลหะซึ่งมิใช่เหล็กหรือ

เหลก็ กล้าตามลำดบั ท่ี 14 ทม่ี ีกำลงั ผลติ ตัง้ แต่ 50 ตัน/วันขน้ึ ไป

- โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงงานทุกขนาด

9.4.6 มีการจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจาก - ข้อบงั คบั AI

โรงงานซงึ่ มปี ระเภทกจิ การโรงงานดงั นี้ *s,ag

- ลำดับที่ 59 โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับการถลุง หลอมหล่อ รีด

ดึง หรือผลิตเหล็กหรือเหล็กกล้าในข้ันต้นโรงงานท่ีมีกำลังการผลิต

ตั้งแต่ 100 ตัน/วันข้ึนไป ท่ีมีเตาหลอมเหล็กหรือเตาอบหรือใช้

น้ำกรดหรือใชส้ ารทีอ่ าจเป็นอนั ตรายตอ่ สิ่งแวดล้อม

- ลำดับท่ี 60 โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับการถลุงผสมทำให้

บริสุทธ์ิหลอม หล่อ รีด ดึง หรือผลิตโลหะในข้ันต้นซ่งึ ไม่ใช่เหล็กหรือ

เหลก็ กล้า โรงงานท่ีมกี ำลังการผลิตตง้ั แต่ 50 ตัน/วนั ขน้ึ ไป

- ลำดับท่ี 101 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะการบำบัด

น้ำเสยี รวม การเผาของเสียรวม การบำบัดดว้ ยวิธีเคมฟี สิ กิ สท์ ุกขนาด

- ลำดบั ท่ี 105 โรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับการคัดแยกหรอื ฝงั กลบ

ส่งิ ปฏิกูลหรือวสั ดุทไี่ ม่ใช้แล้วที่มีลักษณะและคณุ สมบัติตามที่กำหนด

ในกฎหมายโรงงานโรงงานทุกขนาดเฉพาะการฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือ

วสั ดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ ทเ่ี ปน็ อนั ตราย

- ลำดับท่ี 106 โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับการนำผลิตภัณฑ์

อุตสาหกรรมท่ีไม่ใช้แล้วหรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเป็นวัตถุดิบ

หรอื ผลิตภณั ฑ์ใหม่ โรงงานท่ีมกี ำลงั การผลติ ตั้งแต่ 50 ตนั /วันข้นึ ไป

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ีสำหรับโรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 85

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจดั สิ่งปฏิกลู หรือวสั ดุท่ไี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 9 การจดั การดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย และการจดั การด้านส่ิงแวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.4 การจัดการด้านสิง่ แวดล้อม (ตอ่ )

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธีปฏิบตั ิงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

9.4.7 มีการจัดส่งรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษให้กรมโรงงาน - ขอ้ บงั คบั AI

อุตสาหกรรมผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยให้รายงานข้อมูลรอบที่ 1 *s,ag

ของเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายนภายในวันท่ี 1 กันยายนของปีท่ี

รายงานและให้รายงานข้อมูลรอบที่ 2 ของเดือนกรกฎาคมถึงเดือน

ธันวาคมภายในวันที่ 1 มีนาคมของปีถัดไป และเก็บรักษารายงานชนิด

และปริมาณสารมลพิษไว้ที่โรงงาน 1 ชุด เป็นระยะเวลา 3 ปี และ

พรอ้ มทจี่ ะให้พนกั งานเจา้ หน้าทตี่ รวจสอบได้

9.4.8 มีการจัดทำรายงานการศึกษาและมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบต่อ - ขอ้ บงั คบั AI

คุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (ESA) (ยกเว้นโรงงานที่ตั้งอยู่ *p

ในนิคมอุตสาหกรรม หรือในเขตส่งเสริมการลงทุน) โดยมีประเภท

กจิ การโรงงานทเี่ กยี่ วข้อง ดังน้ี

- ลำดับที่ 59 เฉพาะอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา้ ทีม่ ีกำลังการผลิต

ต้งั แต่ 50 ตนั /วนั ขึ้นไป แต่ไม่ถงึ 100 ตัน/วนั

- ลำดับท่ี 60 เฉพาะอุตสาหกรรมถลุงแร่หรือแต่งหรือหลอมโลหะ

ซึ่งมิใช่อุตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกล้าท่ีมีกำลังการผลิตต้ังแต่

25 ตนั /วันขึน้ ไป แต่ไมถ่ ึง 50 ตัน/วนั

- ลำดับท่ี 105 เฉพาะที่เป็นปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ ที่เปน็ อนั ตราย

- ลำดับท่ี 106 เฉพาะทีเ่ ปน็ ปฏกิ ูลหรอื วัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้วที่เป็นอันตราย

9.4.9 กิจการหลอมตะกั่วจากแบตเตอรี่เก่าต้องรายงานผลการตรวจสอบ - ขอ้ บังคับ -

การปนเป้ือนตะก่ัวในน้ำท้ิงและน้ำฝนที่ระบายออกนอกบริเวณโรงงาน *e

ตอ่ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม ทกุ ๆ 3 เดือน

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 86

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดสงิ่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 9 การจัดการดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภยั และการจัดการด้านส่งิ แวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.4 การจัดการดา้ นส่ิงแวดล้อม (ต่อ)

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบัติงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

9.4.10 กิจการหลอมตะก่ัวจากแบตเตอรี่เก่าต้องรายงานผลการตรวจสอบ - ขอ้ บังคบั -

การปนเปอื้ นตะกั่วดงั นี้ *e

- แหล่งน้ำผิวดินในแหล่งน้ำใต้ดินที่ต้ืนท่ีสุด อย่างน้อย 3 จุด (ต้นน้ำ

อย่างน้อย 1 แห่ง และท้ายน้ำอย่างน้อย 2 แห่ง โดยท่ีจุดตรวจสอบ

ทกุ จดุ ต้องห่างจากตวั อาคารโรงงานไม่เกิน 20 เมตร)

- ในผิวดินแนวเขตที่ดินของโรงงานในจดุ ที่ใกลอ้ าคารโรงงานมากที่สุด

- ในผิวดินรอบบริเวณอาคารโรงงาน (โดยจุดท่ีตรวจสอบต้องห่างจาก

ตัวอาคารไม่เกิน 20 เมตร) หรือตามท่ีกรมโรงงานอุตสาหกรรม

กำหนดและรายงานผลการตรวจสอบต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม

ปีละครัง้

9.4.11 มีมาตรการท่ีมีประสิทธิภาพในการควบคุมป้องกันการเกิดกล่ินเหม็น 2 2 -

แมลง พาหะนำโรคและก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญในพ้ืนที่ส่วนต่างๆ

ของโรงงานเพ่ือป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของพนักงาน

และชมุ ชนข้างเคยี ง

9.4.12 มีมาตรการควบคมุ ตรวจสอบท่ีมีประสิทธิภาพในการป้องกันไม่ให้มกี าร 3 3 AI

ระบายมลพิษผ่านทางลดั (By-pass) หรือปล่อยใหม้ ลพษิ แพร่กระจายสู่

ส่ิงแวดล้อมโดยไม่ผ่านระบบบำบัดมลพิษทั้งในสถานการณ์ปกติและ

สถานการณ์ฉุกเฉนิ

9.4.13 มีการกำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม โดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร - - AI

และส่ือสารนโยบายด้านส่ิงแวดล้อมให้กับบุคลากรขององค์กรทราบ

พรอ้ มเปดิ เผยต่อผูม้ ีส่วนไดเ้ สยี

9.4.14 มีการช้ีบ่งประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และ - - AI

การบริการของโรงงาน รวมถงึ พิจารณาประเด็นด้านส่ิงแวดล้อมทท่ี ำให้

เกิดผลกระทบท่ีมีนัยสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม และกำหนดวัตถุประสงค์

และเปา้ หมายดา้ นสิง่ แวดลอ้ มของโรงงาน

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานทีด่ ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 87

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ดี ีทว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจดั สิ่งปฏิกลู หรือวัสดทุ ่ไี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 9 การจดั การดา้ นอาชีวอนามยั และความปลอดภัย และการจดั การดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม (ต่อ)

9.4 การจดั การดา้ นสง่ิ แวดล้อม (ต่อ)

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบตั งิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

9.4.15 มีการจัดทำแผนงานด้านสิ่งแวดล้อม ซ่ึงสอดคล้องกับประเด็นด้าน - - AI

สิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมของโรงงาน

รวมถึงมีการชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้เกี่ยวข้อง เพ่ือให้มีการดำเนินการ

ตามแผนงานทกี่ ำหนดไว้

9.4.16 มีการดำเนินการตามแผนงานด้านสิ่งแวดล้อม - - AI

9.4.17 มแี ผนการตรวจติดตามการดำเนนิ การดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม 2 2 AI

9.4.18 มีระบบตรวจติดตามภายในด้านการจัดการส่ิงแวดล้อมและมีการ 2 2 AI

ปรบั ปรงุ แกไ้ ขอยา่ งตอ่ เน่ือง

9.4.19 ได้รับการรับรองระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม 1 1 -

ขนาดกลางและขนาดย่อม (EMS for SMEs) ข้ันที่ 1 ของกรมโรงงาน

อุตสาหกรรม

9.4.20 ได้รับรางวัลสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อุตสาหกรรมสีเขียว 1 1 -

ระดับที่ 2 โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตท่ีสะอาด โครงการ

ศึกษาศักยภาพในการลดปริมาณน้ำในโรงงาน โครงการยกระดับ

ผู้ประกอบการจัดการของเสีย โครงการพัฒนาศักยภาพการใช้

ประโยชน์กากของเสีย โครงการความรับผิดชอบต่อสังคม ฉลาก

สิ่งแวดล้อม โครงการธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อม โครงการธงขาวดาวเขียว

โครงการธงขาวดาวทอง ระบบการผลติ แบบลีน และคาร์บอนฟุตพร้นิ ท์

ของผลติ ภณั ฑ์ เป็นต้น

9.4.21 ได้รับการรับรองระบบมาตรฐานต่างๆ เช่น ISO 14001, ISO 5001, - - AI

ISO 26000, Eco Factory, อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3 ขึ้นไป,

CSR–DIW/CSR–DIW Continuous, CSR–DPIM, เหมืองแร่สีเขียว,

ผลิตภัณฑ์ฉลากเขียว, รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นประเภทการรักษา

คุณภาพส่ิงแวดล้อม และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงาน

อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (EMS for SMEs) ข้ันท่ี 2

ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ีสำหรบั โรงงานจัดการกากอตุ สาหกรรม 88

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ไี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 9 การจัดการดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภัย และการจัดการดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.5 การเตรียมความพร้อมต่อสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

9.5.1 จดั ให้มีการคัดกรองผู้ท่ีปฏิบตั ิงานอยู่ในโรงงานและบุคคลภายนอกที่มา 2 2 AI

ติดต่อในโรงงาน โดยมีการตรวจวัดอุณหภูมิของร่างกายก่อนเข้าพื้นท่ี

ของโรงงาน

9.5.2 จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีทําความสะอาดบริเวณที่มีการใช้งานร่วมกันของคน 2 2 AI

จำนวนมาก เช่น จุดท่ีมีการเข้า-ออกจากอาคาร หน้าลิฟต์ ห้องประชุม

ห้องน้ำ-ห้องส้วม โรงอาหาร ฯลฯ โดยมีความถี่ท่ีสอดคล้องกับการใช้งาน

แต่ไมค่ วรน้อยกวา่ 2 ครั้ง/วนั

9.5.3 จัดให้มีแนวปฏิบัติด้านการป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง กรณีพบพนักงาน 2 2 AI

หรือเจ้าหนา้ ที่ หรือบคุ คลอืน่ ทเี่ ข้ามาในโรงงาน มีอาการบง่ ชีถ้ ึงการตดิ เช้ือ

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 89

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การสือ่ สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม

10.1 ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม

ข้อ ข้อกำหนดวิธีปฏิบตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

10.1.1 มีระบบการรับเรื่องร้องเรียนหรือช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน และ 2 2 AI

ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากชุมชน รวมถึงมีการดำเนินการเพ่ือแก้ไข

ปัญหาที่เกดิ ข้ึนอยา่ งเปน็ ระบบ

10.1.2 มีการประกอบกิจการท่ีมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยคำนึงถึง 1 1 AI

คุณภาพและมาตรฐานการให้บริการ และมีการป้องกันหรือกำจัด

มลพิ ษในกระบวนการผลิตเพ่ื อไม่ให้ส่งผลกระท บ ต่อชุมชน

(In Process)

10.1.3 มีการดำเนินกิจกรรมเพ่ือสังคมและส่ิงแวดล้อมที่มีผลต่อผู้มีส่วนได้ส่วน 1 1 AI

เสีย และสิ่งแวดล้อมของโรงงาน เชน่ มีการดูแลสวัสดิการของพนักงาน

และมคี วามรับผิดชอบต่อลูกคา้ และชุมชน (Out Process)

10.1.4 มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมและส่ิงแวดล้อมท่ีมีผลต่อสังคมและ 1 1 -

สิ่งแวดล้อมท่ีไม่เกี่ยวกับการดำเนินงานของโรงงานโดยตรง เช่น

การปลูกป่า การบริจาคทุนการศึกษา การรณรงค์สร้างจิตสำนึก

การชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั เปน็ ตน้

10.1.5 มีการแสดงข้อมูลเบ้ืองต้นโดยการติดต้ัง QR Code ที่หน้าโรงงาน ข้อบังคับ ข้อบงั คบั AI

เพื่อให้ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลการประกอบกิจการโรงงานทเ่ี ป็น *aj *aj

ข้อมูลสาธารณะ รวมท้ังสามารถแจ้งข้อคิดเห็นหรือข้อร้องเรียน

ผา่ นการสแกน QR Code ได้

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ดี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 90

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ีดที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สิ่งปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การสอื่ สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (ตอ่ )

10.2 การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบตั ิงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

10.2.1 มีการประกอบกิจการตามที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ขอ้ บังคับ ข้อบงั คับ AI

เทา่ น้นั *aa,al *aa,al

10.2.2 มขี ้อมูลผลวเิ คราะห์ทางเคมแี ละกายภาพของสิง่ ปฏกิ ูลหรือวัสดุท่ีไม่ใชแ้ ล้ว ข้อบังคับ ข้อบงั คับ AI

ก่อนการดำเนินการบำบัดหรือกำจัดจากห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ *k *k

ของสถานประกอบการ ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของทางราชการ หรือ

ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ท่ีข้ึนทะเบียนไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม

และใหเ้ ก็บข้อมลู ผลวเิ คราะหไ์ วอ้ ย่างนอ้ ย 3 ปี เพ่อื การตรวจสอบ

10.2.3 มีการส่งรายงานประจำปีตามแบบใบแจ้งเกี่ยวกับรายละเอียดสิ่งปฏิกูล - ข้อบังคบั AI

หรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว สำหรับผู้รวบรวมและขนส่ง (สก.4) ให้แก่ *k

กรมโรงงานอุตสาหกรรม ภายในวันท่ี 1 มีนาคมของปีถัดไป (กรณี

มกี ารขนส่งสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดุทีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ ทีเ่ ปน็ อันตราย)

10.2.4 มีการส่งรายงานประจำปีตามแบบใบแจ้งเกี่ยวกับรายละเอียดส่ิงปฏิกูล ข้อบงั คบั ข้อบงั คบั AI

หรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว สำหรับผู้บำบัดและกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ *k *k

ที่ไม่ใช้แล้ว (สก.5) ให้แก่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ภายในวันท่ี 1

มีนาคมของปีถัดไป

10.2.5 มีการจัดทำบัญชีแสดงรายการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วท่ีรับบำบัด ข้อบังคบั ขอ้ บังคบั AI

หรือกำจัดตามแบบ (สก.6) โดยต้องจัดทำในวันท่ีรับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุ *aa *aa

ท่ีไม่ใช้แล้วเข้ามาภายในบริเวณโรงงานในแต่ละวัน และต้องจัดเก็บไว้

เป็นหลักฐานแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบ ไม่น้อยกว่า 1 ปี

ยกเว้นกิจการฝังกลบส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นอันตราย

ต้องจัดส่งรายงานให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกวันที่ 1 และ 16

ของทุกเดือน และกิจการนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วมาผสม

เพื่อเป็นเช้ือเพลิงผสมหรือวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ เตาเผา

ปูนขาว หรือเตาเผาท่ีกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ให้ความเห็นชอบ

ตอ้ งสง่ รายงานทกุ 30 วนั (สง่ ภายในวันที่ 1 ของเดือนถดั ไป)

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ีสำหรับโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม 91

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทีด่ ีทวั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจัดสิ่งปฏิกลู หรือวสั ดทุ ีไ่ ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การส่อื สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม (ต่อ)

10.2 การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน (ตอ่ )

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏบิ ัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

10.2.6 มีการจัดทำบัญชีแสดงรายการส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เข้าสู่ ขอ้ บงั คบั ขอ้ บงั คบั AI

กระบวนการบำบัดหรือกำจัดตามแบบ (สก.7) โดยต้องจัดทำในวันที่ทำ *aa *aa

การบำบัดหรือกำจัดในแต่ละวัน และต้องจัดเก็บไว้เป็นหลักฐานแสดง

ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพ่ือตรวจสอบ ไม่น้อยกว่า 1 ปี ยกเว้นกิจการ

ฝังกลบส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายต้องจัดส่งรายงาน

ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกวันท่ี 1 และ 16 ของทุกเดือน และ

กิจการนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วมาผสมเพ่ือเป็นเช้ือเพลิงผสม

หรือวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาที่

กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ให้ความเห็นชอบ ตอ้ งส่งรายงานทุก 30 วัน

(สง่ ภายในวนั ที่ 1 ของเดอื นถัดไป)

10.2.7 กิจการรับบำบัดหรือกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว โดยวิธีการ - ข้อบงั คบั AI

นำมาใช้ผสมเพื่อเป็นเชื้อเพลิงผสมหรือวัตถุดิบทดแทนในเตาเผา *aa

ปูนซีเมนต์ เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ให้

ความเห็นชอบ ต้องจัดทำบัญชีผลิตภัณฑ์ตามแบบ (สก.8) ให้เป็น

ปัจจุบันทุก 30 วัน และส่งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงาน

ท่ไี ดร้ ับมอบหมายภายในวันท่ี 15 ของเดอื นถัดไป

10.2.8 ผลิตภัณฑ์เช้ือเพลิงผสมหรือวัตถุดิบทดแทนที่ผลิตได้ต้องนำส่งเตาเผา - ขอ้ บังคับ AI

ปูนซีเมนต์ เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาท่ีกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ให้ *aa

ความเห็นชอบภายใน 15 วัน นับจากวันท่ีผลิต และต้องจัดเก็บ

หลักฐานการส่งมอบไว้เป็นหลักฐานแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี

เพือ่ ตรวจสอบ โดยเกบ็ ไว้ไม่น้อยกวา่ 1 ปี

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านทดี่ ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 92

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั ส่ิงปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การส่ือสารตอ่ สาธารณะและความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม (ต่อ)

10.2 การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

10.2.9 กิจการรับบำบัดหรือกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว โดยวิธีการเผา ขอ้ บงั คบั ขอ้ บงั คับ AI

ในเตาเผาปูนซีเมนต์เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาท่ีกรมโรงงานอุตสาหกรรม *aa *aa

ได้ให้ความเห็นชอบ ต้องจัดทำบัญชีการรับมอบผลิตภัณฑ์จากผู้รับ

บำบัดหรือกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วโดยวิธีการนำมาผสม

เพื่อใช้เป็นเช้ือเพลิงผสมหรือวัตถุดิบทดแทนตามแบบ (สก.9) ให้เป็น

ปัจจุบันทุก 30 วัน และต้องจัดส่งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือ

หน่วยงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ภายในวันที่ 15 ของเดอื นถดั ไป

10.2.10 กิจการรับบำบัดหรือกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว โดยวิธีการเผา ข้อบังคบั ขอ้ บงั คบั AI

ในเตาเผาปูนซีเมนต์เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาท่ีกรมโรงงานอุตสาหกรรม *aa *aa

ได้ให้ความเห็นชอบ ต้องออกหลักฐานการรับมอบผลิตภัณฑ์ให้ผู้รับ

บำบัดหรือกำจัดส่ิงปฏิกูลโดยวิธีการนำมาใช้ผสมเพ่ือเป็นเช้ือเพลิงผสม

หรือวัตถุดิบทดแทนทุกคร้ังที่มีการรับมอบและต้องจัดเก็บสำเนา

หลักฐานการรับมอบไว้แสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบ

โดยเก็บไว้ไมน่ ้อยกวา่ 1 ปนี ับต้งั แตว่ ันทร่ี บั มอบ

10.2.11 กิจการหลอมตะก่ัวจากแบตเตอรี่เก่าต้องมีการรายงานข้อมูลเกี่ยวกับ - ขอ้ บังคับ AI

วัตถุดิบหม้อแบตเตอรี่เก่าที่นำเข้าโรงงาน ผลผลิตท่ีได้ กากตะกรัน *e

กากตะกอนของแข็ง และส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต่างๆ ที่เกิดข้ึน

ตามแบบรายงานข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณแบตเตอร่ีเก่า ผลผลิต

การจำหน่ายผลติ ภณั ฑ์ และสิง่ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ล้ว

10.2.12 มีการแจ้งรายงานข้อมูลการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วตาม 3 3 AI

แบบ สก.3-สก.9 ทางระบบอเิ ล็กทรอนกิ สต์ ่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม

10.2.13 จัดให้มีระบบการสอบกลับมวลสาร (Material Balance) ของส่ิงปฏิกูล 3 3 AI

หรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วที่รับเข้ามาจัดการภายในโรงงาน โดยมีการรายงาน

ผลอย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ัง (ยกเว้นประเภทกิจกรรมฝังกลบสิ่งปฏิกูล

หรอื วสั ดทุ ่ไี ม่ใช้แลว้ ที่เป็นอนั ตราย)

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทดี่ ีสำหรับโรงงานจดั การกากอุตสาหกรรม 93

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทีด่ ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ ส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั ส่งิ ปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การส่อื สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม (ต่อ)

10.2 การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน (ตอ่ )

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

10.2.14 ใช้วิธีกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ชนิดและประเภทของเสีย 3 3 AI

ตรงกับท้ายประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เร่ือง การกำหนดชนิด

และประเภทของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และวิธีการกำจัด

สำหรับการขออนุญาต และการอนุญาตใหน้ ำส่ิงปฏิกูลหรือวัสดทุ ่ีไม่ใช้แล้ว

อ อ ก น อ ก บ ริ เว ณ โร ง ง า น แ บ บ อั ต โน มั ติ ผ่ า น ร ะ บ บ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์

พ.ศ. 2561 (ตามประเภทกจิ กรรมทีโ่ รงงานเข้าร่วมโครงการ)

10.2.15 มีการแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรม ขอ้ บังคบั ข้อบงั คับ AI

จังหวัดเกี่ยวกับข้อมูลของสารเคมีที่ใช้หรือเก็บรักษาภายในบริเวณ *v *v

โรงงาน และข้อมูลอ่ืนที่จำเป็นท่ีเกี่ยวข้องกับการติดตามตรวจสอบ

การปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน หรือเหตุผลที่ไม่ขอดำเนินการเก็บ

ตวั อยา่ งดนิ และนำ้ ใตด้ ินตามทปี่ ระกาศกระทรวงฯ ระบุ

10.2.16 กรณีประกอบกิจการโรงงานอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงควบคุม ขอ้ บังคับ ขอ้ บังคบั AI

การปนเป้ือนในดินและน้ำใต้ดินภายในบริเวณโรงงาน พ.ศ. 2559 *d *d

ใช้บังคับต้องจัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินครั้งแรก

ภายใน 180 วัน นับแต่วันที่กฎกระทรวงน้ีใช้บังคับพร้อมทั้งจัดทำและ

ส่งรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินให้กรมโรงงาน

อุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานต้ังอยู่ภายใน

180 วันนับแต่วันครบกำหนดการตรวจสอบคร้ังแรก และจัดให้มีการ

ตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน คร้ังท่ี 2 เมื่อครบกำหนด 180 วัน

นับแต่วันท่ีได้ตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินในคร้ังแรก พร้อมท้ัง

จัดทำและส่งรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินให้กรม

โรงงานอุตสาหกรรม หรอื สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานต้ังอยู่

ภายใน120 วัน นับแต่วันครบกำหนดการตรวจสอบคุณภาพดินและ

น้ำใต้ดนิ คร้งั ที่ 2

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 94

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แลว้
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 10 การส่อื สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม (ต่อ)

10.2 การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน (ตอ่ )

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบัติงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
10.2.17 ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ
ผปู้ ระกอบกิจการโรงงานตอ้ งจัดให้มกี ารตรวจสอบคณุ ภาพดินตอ่ ไปทุก ข้อบังคบั ขอ้ บังคบั AI
10.2.18 3 ปี และตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดินต่อไปทุก 1 ปี และต้องจัดทำและ
10.2.19 ส่งรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินให้กรมโรงงาน *d *d
อุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน
120 วัน นับแต่วันครบกำหนดการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน ข้อบงั คบั ขอ้ บังคับ AI
ในแต่ละกรณี *d *d
การตรวจสอบ คุณ ภ าพ ดิน และน้ำใต้ดิน ต้องดำเนิ นการโดย
ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชนท่ีได้ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมโรงงาน ขอ้ บังคับ ขอ้ บังคับ AI
อุตสาหกรรมหรือห้องป ฏิบัติการวิเคราะห์อ่ืนท่ีกรมโรงงาน *d,v *d,v
อตุ สาหกรรมเห็นชอบ
กรณีที่มีผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน มีการปนเปื้อนสูง
กว่าเกณฑ์การปนเป้ือนในดินและน้ำใต้ดินต้องจัดทำรายงานเสนอ
มาตรการควบคุมการปนเป้ือนในดินและน้ำใต้ดินและมาตรการลด
การปนเป้ือนในดินและน้ำใต้ดินให้ไม่สูงกว่าเกณฑ์ฯและส่งรายงาน
ใหก้ รมโรงงานอตุ สาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดท่ีโรงงาน
ตั้งอยู่ ภายใน 180 วัน นับแต่วันท่ีตรวจพบว่ามีการปนเปื้อนในดิน
และนำ้ ใต้ดนิ สงู กว่าเกณฑฯ์

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทดี่ ีสำหรบั โรงงานจดั การกากอตุ สาหกรรม 95

ทป่ี รกึ ษา

นายวนั ชัย พนมชัย อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม
นายสหวัฒน์ โสภา รองอธิบดกี รมโรงงานอุตสาหกรรม

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม

กองบริหารจัดการกากอตุ สาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุงานจ้างทปี่ รกึ ษา

ประธานกรรมการ นายพฤกษ์ ศโิ รรัตนเศรษฐ์

ผูอ้ ำนวยการกองบรหิ ารจดั การกากอตุ สาหกรรม

คณะกรรมการ นายชชั พงษ์ ศริ ริ ักษ์
วิศวกรชำนาญการพเิ ศษ
นางสาวเกตุวดี พฤกษพ์ ัฒนพงศ์
วิศวกรชำนาญการพเิ ศษ

กรรมการและเลขานุการ นายณฐั วฒุ ิ พรอ้ มมลู
วศิ วกรชำนาญการพิเศษ

กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ นายปยิ ณัฐ สวสั ด์ิเอ้ือ

วศิ วกรชำนาญการ


Click to View FlipBook Version