แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ประจาปงี บประมาณ
พ.ศ.2563 - 2565
โรงเรยี นบา้ นหว้ ยสเี สยี ด
กลุม่ คณุ ภาพการศกึ ษาหลกั เมอื ง
สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต ๑
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก
คำนำ
การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาฉบับน้ีเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาการบริหารงานของ
โรงเรียน เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยมุ่งเน้น
การร่วมกันคิด ร่วมกันทา สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ และพัฒนางานในความรับผิดชอบ เพื่อสนอง
นโยบายการปฏิรูปการศึกษาเป็นหลักสาคัญในส่วนของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
โดยดาเนินการตาม 6 นโยบาย ดังนี้
นโยบายท่ี 1 ดา้ นการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
นโยบายที่ 2 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขนั ระดับประเทศ
นโยบายที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน
และลดความ เหลื่อมลา้ ทางการศึกษา
นโยบายที่ 5 ด้านการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
นโยบายที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา
การดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาครั้งน้ี สาเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือ
ของบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียน และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาน้ี
จะเป็นประโยชน์แก่โรงเรยี นและหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งตอ่ ไป
โรงเรียนบ้านห้วยสเี สียด
ข
สำรบญั
หนำ้
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
สารบัญภาพ จ
สารบญั แผนภูมิ ฉ
ส่วนที่ ๑ บทนำ ๑
- ขอ้ มลู ท่วั ไป ๑
- ภารกจิ ของสถานศกึ ษา ๓
- โครงสร้างการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนบา้ นห้วยสีเสียด ๔
ส่วนที่ ๒ กำรวิเครำะห์องคก์ รและกำรศกึ ษำสถำนภำพของสถำนศกึ ษำ ๕
- ข้อมูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษาศูนยเ์ รียนรวมโรงเรียนบ้านห้วยสเี สยี ด – ส้าน ๕
- ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ๕
- ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ๑๐
- การวิเคราะห์ปจั จยั ภายในและภายนอก (SWOT องค์กร) ๑๗
- กฎหมายและนโยบายท่ีเก่ียวข้อง ๑๙
สว่ นท่ี ๓ ทศิ ทำงกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศึกษำ ๔๑
- วิสัยทศั น์ ๔๑
- พนั ธกจิ ๔๑
- เปา้ หมาย ๔๑
- อตั ลกั ษณ์ของสถานศึกษา ๔๑
- เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๔๑
- ปรชั ญาในการจดั การศึกษาของโรงเรียน ๔๑
- คาขวัญของโรงเรียน ๔๑
- นโยบาย ๔๒
- เป้าหมายผลผลิตหลัก ๔๒
สว่ นที่ ๔ กำรนำแผนพฒั นำกำรศกึ ษำสกู่ ำรปฏิบัติ ๔๔
- เปา้ หมาย ๔๔
- กลยุทธ์/ จุดเน้น/ ผลผลิต ๔๔
- เป้าหมายความสาเรจ็ และมาตรการ จาแนกตามนโยบาย ๔๔
ส่วนท่ี ๔ เปำ้ หมำย ตัวช้ีวัดควำมสำเรจ็ ตำมแผนนโยบำย ๕๑
สว่ นท่ี ๖ กำรกำกับ ตดิ ตำม ประเมิน และรำยงำน ๖๑
ค
สำรบัญตำรำง หนำ้
๑
ตารางที่ ๑ แสดงการจาแนกจานวนนักเรียนตามระดบั ชั้นทเ่ี ปิดสอน ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๒
ตารางท่ี ๒ แสดงจานวนบุคลากรทุกตาแหน่ง ๒
ตารางท่ี ๓ แสดงขอ้ มูลสิง่ ก่อสร้าง (B-OBEC) โรงเรยี นบ้านห้วยสีเสียด ๕
ตารางท่ี ๔ แสดงจานวนบคุ ลากรโรงเรยี นบา้ นห้วยสีเสียด ๕
ตารางท่ี ๕ แสดงวฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ของบคุ ลากรโรงเรียนบา้ นห้วยสีเสียด ๕
ตารางท่ี ๖ แสดงผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๖
ตารางท่ี ๗ แสดงผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั ๙
ตารางที่ ๘ แสดงผลงานดเี ดน่ ระดบั ปฐมวัย ๑๐
ตารางที่ ๙ แสดงร้อยละของนักเรียนโรงเรยี นบา้ นห้วยสเี สยี ดที่มเี กรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์
๑๐
ทางการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดบั ๓ ขนึ้ ไป
ตารางที่ ๑๐ แสดงร้อยละของนักเรยี นโรงเรยี นบา้ นห้วยสีเสียดที่มผี ลการประเมนิ การอ่าน ๑๑
คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ๑๑
ตารางที่ ๑๑ แสดงรอ้ ยละของนักเรยี นบ้านหว้ ยสีเสยี ดท่มี ีผลการประเมินคณุ ลกั ษณะ
๑๑
อันพงึ ประสงค์ในระดบั ดีข้นึ ไป
ตารางที่ ๑๒ แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ๑๒
๑๖
โรงเรียนบ้านห้วยสเี สยี ด ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
ตารางที่ ๑๓ แสดงผลการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษา ระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน ๑๗
๑๘
(O-NET) โรงเรยี นบา้ นห้วยสเี สียด ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑– ๒๕๖๒ ๔๒
ตารางท่ี ๑๔ แสดงผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ๔๔
ตารางที่ ๑๕ แสดงผลงานดีเด่นระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน โรงเรียนบา้ นห้วยสีเสยี ด ๔๖
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ๔๖
ตารางที่ ๑๖ แสดงผลการวิเคราะห์ปัจจยั ภายใน (7Ss Mckinsey) ๔๘
ตารางท่ี ๑๗ แสดงผลการวเิ คราะห์ปัจจัยภายนอก (C - PEST)
ตารางท่ี ๑๘ แสดงถึงเป้าหมายผลผลติ หลกั ๔๙
ตารางท่ี ๑๙ แสดงนโยบายท่ี ๑ ด้านการจัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คงของมนษุ ย์และของชาติ
ตารางท่ี ๒๐ แสดงนโยบายท่ี ๒ ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือเพ่มิ ความสามารถในการแขง่ ขัน
ระดับประเทศ
ตารางที่ ๒๑ แสดงนโยบายที่ ๓ ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ตารางที่ ๒๒ นโยบายที่ ๔ ดา้ นการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาทีม่ ีคุณภาพ
มีมาตรฐาน และลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษา
ตารางที่ ๒๓ แสดงนโยบายที่ ๕ ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกับ
สำรบัญ (ต่อ) ง
สง่ิ แวดลอ้ ม หน้ำ
ตารางที่ ๒๔ นโยบายท่ี ๖ ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา ๔๙
ตารางที่ ๒๕ แสดงเปา้ หมาย ตัวชว้ี ัดความสาเร็จตามแผนนโยบาย ๕๑
สำรบัญรปู ภำพ จ
ภาพถ่ายท่ี ๑ แสดงถึงภาพถา่ ยดาวเทยี ม โรงเรยี นบา้ นห้วยสเี สยี ด
หน้ำ
๓
ฉ
สำรบญั แผนภูมิ หน้ำ
แผนภูมทิ ่ี ๑ การบรหิ ารจัดการศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยสีเสียด ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ๔
ส่วนท่ี ๑
บทนำ
๑. ขอ้ มูลทวั่ ไป
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนบ้านห้วยสเี สยี ด ทีต่ ัง้ เลขท่ี ๑๖๒ ต้าบลนา้ หมาน อา้ เภอเมอื งเลย จงั หวดั เลย
สังกัด ส้านักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเลย เขต ๑ รหัสไปรษณยี ์ ๔๒๐๐๐
โทรศัพท์ โทรสาร - e – mail - website -
เปิดสอนต้ังแต่ระดับ อนุบาล ๒ – ๓ ถงึ ระดับ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
มเี นอ้ื ที่ ๑๐ ไร่ ๑ งาน ๒๙.๕ ตารางวา
เขตพนื้ ทบ่ี รกิ าร ๒ หม่บู ้าน ได้แก่ บา้ นห้วยสเี สยี ด และบ้านสา้ น
ประวตั โิ รงเรียนโดยย่อ
โรงเรียนบ้านห้วยสีเสียด เดิมชื่อโรงเรียนบ้านส้าน เพราะต้ังอยู่บ้านส้าน ต้ังขึ้นเม่ือวันท่ี
๑๒ พฤษภาคม ๒๔๘๑ โดยมีนายยศ หนูมอ เป็นครูใหญ่คนแรก และท้าการสอน ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑
ถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ ต่อมาบ้านส้าน อพยพไปอยู่ท่ีอื่นและเหลือจ้านวนน้อย นายอ้าเภอเมืองเลย
จึงส่ังย้ายมาต้ังท่ีบ้านห้วยสีเสียด เปลี่ยนช่ือโรงเรียนตามหมู่บ้าน ชื่อว่า โรงเรียนบ้านห้วยสีเสียด ต้ังแต่วันที่
๑๐ พฤษภาคม ๒๕๐๘ และเปดิ ท้าการสอนต้งั แต่นั้นเปน็ ตน้ มา
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านห้วยสีเสียด เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก จัดการเรียนการสอนต้ังแต่ระดับชั้น
อนุบาล ๒ – ๓ ถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ รวม ๙ ห้องเรียน มีบุคลากรในสถานศึกษาจ้านวน ๘ คน
ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จ้านวน ๑ คน ครู จ้านวน ๓ คน พนักงานราชการ จ้านวน ๑ คน
นักการภารโรง จ้านวน ๑ คน ครูพ่ีเลี้ยง ๑ คน (เงินอ่ืน ๆ) พนักงานธุรการโรงเรียน จ้านวน ๑ คน และ
นักเรียน จ้านวน ๖๒ คน
๑.๑ ขอ้ มลู พนื้ ฐำนทำงกำรศึกษำ
ข้อมูลทำงกำรศึกษำ (ณ วนั ที่ ๑๐ พฤศจกิ ำยน ๒๕๖๒)
ตำรำงที่ ๑ แสดงการจ้าแนกจ้านวนนักเรียนตามระดับช้ันท่ีเปิดสอน ปีการศึกษา ๒๕๖๒
ระดบั ชัน้ จำนวนนักเรยี น
ชำย หญิง รวม
ระดับกอ่ นประถม
อนุบาลปที ่ี ๒ ๕๔๙
อนุบาลปที ี่ ๓ $๕๘
รวม ๘ ๙ ๑๗
ระดบั ประถมศึกษำ ๘ ๕ ๑๓
ประถมศึกษาปที ี่ ๑ -๔๔
ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ๓๓๖
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๔๒๖
ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๕๓๘
ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๓๕๘
ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
๒
รวม ๒๓ ๒๒ ๔๕
รวมทั้งส้นิ ๓๑ ๓๑ ๖๒
แหล่งข้อมลู : ขอ้ มลู ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ งานบริหารวชิ าการ โรงเรียนบ้านหว้ ยสีเสียด
จากตารางท่ี ๑ พบว่า โรงเรียนบ้านห้วยสีเสียดเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก รับนักเรียนตามเกณฑ์
มาตรฐานสา้ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รบั นกั เรียนเข้าเรียนได้ตามเกณฑ์
มาตรฐาน คือ ระดบั ปฐมวัย
ตำรำงที่ ๒ แสดงจ้านวนบุคลากรทุกต้าแหน่ง
ท่ี ช่ือ – สกลุ ตำแหนง่ อนั ดับ วุฒิ วิชำเอก
๑. นายสุรยิ า หงสเ์ วียง ผู้อา้ นวยการ ค.ศ.๓ ค.ม. บริหารการศึกษา
๒. นายนคิ ม จกั สี ครู ค.ศ.๓ ศษ.บ. บริหารการศกึ ษา
๓. นางรตั ตยิ า ทองค้า ครู ค.ศ.๓ ค.บ. การประถมศึกษา
๔. นางสาวรญั ชนา สวัสดิ์โสม ครูผชู้ ่วย ครผู ชู้ ว่ ย ค.บ. ภาษาองั กฤษ
๕. นายภาสวตั ิ บุญชิต พนักงานราชการ - ค.บ. พลศกึ ษา
๖. นางสาวเบญจมาภรณ์ ถินแดง ครูพ่ีเลีย้ ง - ค.บ. คอมพวิ เตอร์
๗. นางวนั ทา สวุ รรณชยั พนักงานธรุ การ - วทบ. วิทยาการคอมพิวเตอร์
๘. นายสน่ัน นวลสวาย นกั การภารโรง - ม.๖ -
จากตารางที่ ๒ โรงเรียนบ้านห้วยสีเสียดมีบุคลากรท้ังสิ้น ๘ คน แยกเป็นผู้บริหาร ๑ คน ข้าราชการ
ครู ๓ คน พนักงานราชการ จ้านวน ๑ คน ครูพ่ีเลี้ยง ๑ คน (งบประมาณอ่ืน ๆ) พนักงานธุรการ ๑ คน
นักการภารโรง ๑ คน แยก วุฒิการศึกษามี ๓ ระดับคือ ปริญญาโท ๑ คน ปริญญาตรี ๖ คน และ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จา้ นวน ๑ คน
๑.๒ ข้อมลู สง่ิ กอ่ สร้ำง (B-OBEC)
ตำรำงที่ ๓ แสดงขอ้ มลู สงิ่ กอ่ สรา้ ง (B-OBEC) โรงเรยี นบา้ นหว้ ยสีเสยี ด
ที่ ประเภท ปีทส่ี ร้ำง แบบ
๑. อาคารเรียน พ.ศ. ๒๕๖๑๙ ป.๑ ช
๒. อาคารเรยี น พ.ศ. ๒๕๓๓ ๐๐๔, ๐๐๘, ๐๓๐, ๑๐๗, ๒๐๖,
๒๑๐, ๒๑๔, ๓๑๕, ๔๑๕, ๓๐๘
๓. อาคารเรียน พ.ศ. ๒๕๓๗ สปช. ๑๐๒/๒๖
๔. อาคารอเนกประสงค/์ พ.ศ. ๒๕๒๗ สปช. ๒๐๒/๒๖
โรงอาหาร/ โรงฝึกงาน
๕. สว้ ม พ.ศ. ๒๕๓๗ สปช. ๖๐๑/๒๖
๖. ส้วม พ.ศ. ๒๕๔๖ อื่น ๆ
๗. ถังเกบ็ นา้ พ.ศ. ๒๕๒๕ ฝ. ๓๓
๓
ท่ี ประเภท ปีทีส่ รำ้ ง แบบ
๘. ถังเกบ็ นา้ พ.ศ. ๒๕๓๙ ฝ. ๓๓
๙. ถังเก็บนา้ พ.ศ. ๒๕๔๔ ฝ. ๓๓
จากตารางท่ี ๓ พบวา่ โรงเรียนบ้านหว้ ยสเี สยี ดมอี าคารเรยี น จ้านวน ๓ อาคาร อาคารอเนกประสงค์/
โรงอาหาร ๑ อาคาร ส้วม ๒ แห่ง และถังเกบ็ น้า จา้ นวน ๓ ถงั
๑.๓ ภำพถำ่ ยทำงดำวเทียม โรงเรียนบ้ำนห้วยสีเสยี ด
ภำพถำ่ ยที่ ๑ แสดงถึงภาพถา่ ยดาวเทียม โรงเรยี นบ้านหว้ ยสเี สียด
๒. ภำรกิจของโรงเรียนบำ้ นห้วยสเี สยี ด
๑. จัดท้านโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย และ
แผนของกระทรวงศึกษาธิการ ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส้านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ตลอดจนบรบิ ทและความต้องการของชุมชนและท้องถ่นิ
๒. จดั ตงั้ งบประมาณ และรบั ผดิ ชอบการใชจ้ า่ ยงบประมาณของสถานศึกษา
๓. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
และความตอ้ งการของนกั เรยี น ชมุ ชน และท้องถิ่น
๔. จัดการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม และส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
อย่างต่อเนื่อง
๕. ออกระเบยี บ ขอ้ บังคบั ประกาศและแนวปฏิบัตติ า่ ง ๆ ตามทกี่ ฎหมายกา้ หนด
๖. ก้ากับ ติดตาม ประเมินผลงานตามแผนงาน โครงการและประเมินผลการปฏิบัติงาน ตลอดจน
การพิจารณาความดีความชอบ การพัฒนา และการด้าเนินการทางวินัยกับครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในสถานศกึ ษาตามทกี่ ฎหมายก้าหนด
๗. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั้งปกครอง ดูแล บ้ารุงรักษา ใช้ และจัดหาผลประโยชน์
จากทรพั ย์สนิ ของสถานศึกษา
๔
๘. จัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ความร่วมมือในการประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาจากหนว่ ยงานภายนอกสถานศกึ ษา รวมทงั้ การรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
และสา้ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
๙. ส่งเสริมความเข้มแข็งให้กับชุมชน และสร้างความสัมพันธ์กับสถานศึกษาและสถาบันอ่ืนในชุมชน
และทอ้ งถ่ิน
๑๐.ปฏิบัติหน้าที่อื่นท่ีเกี่ยวกับกิจการภายในสถานศึกษาหรือตามที่ได้รับมอบหมายและตามที่
กฎหมายกา้ หนด
๓. โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรจัดกำรศึกษำโรงเรียนบำ้ นหว้ ยสีเสียด
แผนภูมิท่ี ๑ การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยสีเสียด ประจา้ ปงี บประมาณ ๒๕๖๓
โครงสร้ำงกำรบรหิ ำรงำนโรงเรยี นบำ้ นห้วยสเี สยี ด
ผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ
คณะกรรมกำรฯ
งำนวชิ ำกำร งำนบริหำรงบประมำณ งำนบริหำรบุคคล งำนบริหำรทัว่ ไป
ผู้รับผิดชอบ
ผรู้ บั ผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ ผรู้ ับผดิ ชอบ นายนคิ ม จักสี
นายภาสวัติ บญุ ชิต
นางรตั ตยิ า ทองค้า นายสุรยิ า หงษเ์ วียง นายสรุ ิยา หงษ์เวยี ง
ขอบข่ำยงำน
นางสาวรัญชนา สวสั ดโิ์ สม นายนคิ ม จกั สี พสั ดุ นายนคิ ม จกั สี การด้าเนนิ งานธุรการ
งานเลขานุการคณะกรรมการ
ขอบข่ำยงำน นางรัตตยิ า ทองค้า ขอบข่ำยงำน
สถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
- การพัฒนาหลักสูตรสถาน- ขอบขำ่ ยงำน การวางแผนอัตราก้าลังและ งานพัฒนาระบบและเครือข่าย
ศกึ ษา กา้ หนดตา้ แหน่ง
การจัดทา้ และเสนอของบประมาณ ข้อมูลสารสนเทศ
- การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ การจัดสรรงบประมาณ กา รส รรหา แล ะก ารบรรจุ ก า ร ป ร ะ ส า น แ ล ะ พั ฒ น า
- การวดั ผล ประเมินผล และ การตรวจสอบติดตามประเมินผล แต่งต้งั
เครือขา่ ยการศึกษา
การเทยี บโอนผล และรายงานผลการใช้เงินและ การเสริมสร้างประสิทธิภาพใน การจัดระบบการบริหารและ
ผลการด้าเนนิ งาน การปฏบิ ัติราชการ
- การเรยี นการวจิ ยั เพื่อพัฒนา การระดมทรพั ยากรและการลงทุน พัฒนาองคก์ ร
คุณภาพการศกึ ษา เพื่อการศึกษา วนิ ยั และการรกั ษาวินัย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบรหิ ารการเงิน การออกจากราชการ การจัดท้าสา้ มะโนผเู้ รยี น
- การพฒั นาสอื่ นวัตกรรม การบริหารบัญชี การรับนกั เรยี น
และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา การบริหารพัสดุและสินทรพั ย์ การสง่ เสริมและประสาน
การส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการ งานการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ
- การพัฒนาแหลง่ เรียนร้ใู น งบประมาณ บุคลากรและบริหาร และตามอัธยาศัย
โรงเรยี น ทัว่ ไป งานส่งเสรมิ งานกจิ การนักเรียน
ก า ร ร ะ ด ม ท รั พ ย า ก ร เ พ่ื อ การประชาสัมพันธ์การศึกษา
- การนิเทศการศกึ ษา การ ศึกษา การส่งเสริม สนับส นุน แล ะ
- การแนะแนวการศึกษา ก า ร ดู แ ล อ า ค า ร ส ถ า น ที่ แ ล ะ
- การพัฒนาระบบประกนั สภาพแวดล้อม ประสานงาน
การศึกษาของบุคคล ชุมชน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
องค์กร หน่วยงาน และสถาบัน
- การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการ สังคมอ่ืนที่จัดการศกึ ษา
แกช่ มุ ชน งานประสานราชการกบั
เขตพื้นท่ีการศึกษาและหน่วยงาน
- การประสานความรว่ มมือในการ อืน่
พัฒนาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาอ่ืน ก า ร จั ด ร ะ บ บ ก า ร ค ว บ คุ ม ใ น
ส่วนที่ ๒
การวิเคราะหอ์ งคก์ รและการศกึ ษาสถานภาพของสถานศกึ ษา
๑. ขอ้ มลู บคุ ลากรของสถานศึกษาศูนยเ์ รียนรวมโรงเรยี นบา้ นห้วยสเี สียด – ส้าน
๑) จำนวนบคุ ลำกร
ตารางที่ ๔ แสดงจำนวนบุคลำกรโรงเรียนบำ้ นห้วยสีเสียด
บุคลำกร ผ้บู ริหำร ครู พนกั งำน ครู ครูพี่ ช่ำง ครู รวม
รำชกำร อตั รำ เลีย้ งฯ ไฟฟำ้ ธรุ กำร ท้ังหมด
จำ้ ง
จำนวน ๑ ๔ ๑ - - ๑ ๑ ๘
๒) วฒุ ิกำรศกึ ษำสูงสดุ ของบุคลำกร
ตารางที่ ๕ แสดงวฒุ กิ ำรศกึ ษำสงู สดุ ของบุคลำกรโรงเรียนบำ้ นห้วยสเี สยี ด
บุคลำกร ตำ่ กว่ำ ปรญิ ญำตรี ปรญิ ญำโท ปรญิ ญำเอก รวมทงั้ หมด
ปรญิ ญำตรี
จำนวน ๑ ๔ ๓ - ๘
*ครูโรงเรยี นบ้ำนสำ้ น จำนวน ๑ คน
๒. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
๑) ผลการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
จานวน จานวน/รอ้ ยละของเดก็
พฒั นาการ ระดบั ชัน้ เด็ก ดี คดิ เปน็ รอ้ ย พอใช้ คิดเป็นรอ้ ย ปรับปรุง
ดา้ น (๓) ละ (๒) ละ (๑)
ที่
ประเมนิ -
-
๑.ดำ้ นร่ำงกำย อนบุ ำล๒ ๙ ๙ ๑๐๐ - - -
-
อนุบำล๓ ๘ ๘ ๑๐๐ - - -
๒.ดำ้ น อนบุ ำล๒ ๙ ๗ ๗๗ ๓ ๒๓ -
-
อำรมณ์-จิตใจ อนุบำล๓ ๘ 8 ๑๐๐ - - -
๓.ดำ้ นสงั คม อนุบำล๒ ๙ ๘ ๘๘ ๑ ๒๒
อนุบำล๓ ๘ ๘ ๑๐๐ - -
๔.ดำ้ น อนบุ ำล๒ ๙ ๗ ๗๗ ๒ ๒๓
สติปัญญำ อนุบำล๓ ๘ ๘ ๑๐๐ - -
๖
ตารางท่ี ๖ แสดงผลกำรประเมนิ พัฒนำกำรเดก็ ปฐมวัย ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒
ผลกำรประเมินพัฒนำกำรของเด็ก ตำมหลักกำรประเมินพัฒนำกำรเด็กระดับปฐมวัย จำกตำรำง
สรปุ วำ่ ดี
๒) ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย
ตารางท่ี ๗ แสดงผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศึกษำระดับปฐมวยั
มาตรฐานการศึกษา: ระดบั ปฐมวยั ระดับคณุ ภาพ
มาตรฐานการศกึ ษา ดี
ดี
มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของเด็ก ดี
มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร
มำตรฐำนที่ ๓ กำรจดั ประสบกำรณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก (ระดบั คณุ ภาพ : ด)ี
๑. กระบวนการพฒั นา
๑) จัดใหม้ ีอำหำรกลำงวนั ที่ถกู สุขลักษณะตำมหลกั โภชนำกำร ได้รับอำหำรเสริม (นม) ทุกวัน
มกี ำรตดิ ตำมผลสุขภำวะทำงกำย และสุขภำวะทำงใจของเด็กอยู่เสมอ
๒) พัฒนำสุขภำพจิตเด็ก และส่งเสรมิ ใหม้ ีควำมฉลำดทำงอำรมณ์ (Emotional Quotient)
๓) อบรมบ่มนสิ ัยให้เดก็ ร้จู กั มำรยำททำงสงั คม มีคุณธรรม จริยธรรม สำมำรถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
ในสังคมได้
๔) พฒั นำทักษะอยำ่ งรอบดำ้ น อำทิ ทักษะทำงด้ำนคณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ สังคม กำรพูด
และกำรฟัง กำรเคลื่อนไหว และทกั ษะกำรใชก้ ลำ้ มเนื้อ
๒. ผลการดาเนินงาน
๑) เด็กได้รับประทำนอำหำรกลำงวันอย่ำงถูกสุขลักษณะ และอำหำรเสริม (นม) ทุกวัน
เด็กร้อยละ ๙๕ มีน้ำหนักตำมเกณฑ์ สุขภำพร่ำงกำยแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลควำมปลอดภัย
ของตนเองได้ ตำมแบบบันทึกกำรชั่งน้ำหนักส่วนสูง แบบบันทึกกำรด่ืมนม และแบบบันทึก
กำรรับประทำนอำหำรกลำงวนั
๒) เดก็ รำ่ เริงแจม่ ใส ร้จู กั อดทนรอคอย กลำ้ แสดงออก
๓) เด็กทำงำนร่วมกับผู้อ่ืน มีมำรยำททำงวัฒนธรรมไทย และปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ดว้ ยตนเองได้
๔) เด็กสนทนำโต้ตอบและเล่ำเรื่องให้ผู้อื่นเข้ำใจ เด็กได้เรียนรู้คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์
จำกโครงงำนและกำรแข่งขันควำมเป็นเลิศทำงวิชำกำร กิจกรรมกำรปั้นดินน้ำมัน และกิจกรรม ฉีก ตัด ปะ
กระดำษ ได้รับรำงวลั เหรยี ญทองระดับกลุม่ คณุ ภำพกำรศึกษำหลักเมือง
๓. จดุ เด่น
๑) เดก็ มคี วำมกลำ้ แสดงออก กล้ำพดู กลำ้ คิด และลงมือทำ
๗
๒) เดก็ มสี ุขภำพกำย และจิตท่ีดี
๓) เด็กสำมำรถอยรู่ ว่ มกนั กบั ผู้อน่ื ในสงั คมได้
๔. จุดควรพฒั นา
๑) ทกั ษะกำรคดิ
๒) พัฒนำกำรใช้กระบวนกำรทำงวทิ ยำศำสตร์
๕. แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ดม้ าตรฐานทส่ี ูงขึ้น
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๑ ส่งเสริมให้เด็กกล้ำแสดงออก และพัฒนำกำรด้ำนกำรเป็นผู้นำ และ
ผู้ตำมท่ดี ี
- แผนปฏบิ ัติงำนท่ี ๒ สง่ เสรมิ ให้เด็กได้เรียนรผู้ ำ่ นโครงงำน ฝกึ ทักษะกำรสำรวจ กำรทดลอง
และกำรสังเกต
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ (ระดับคณุ ภาพ : ด)ี
๑. กระบวนการพัฒนา
๑) โรงเรยี นจัดทำหลักสูตรปฐมวัย พุทธศักรำช ๒๕๖๒
๒) จัดครูที่มปี ระสบกำรณ์ในกำรสอนเปน็ ครูที่ปรึกษำร่วมกบั ครูพเ่ี ลยี้ ง
๓) เข้ำรว่ มกจิ กรรมสมำคมปฐมวัย สพป.ลย. ๑
๔) จัดสภำพแวดล้อมท่ีเหมำะสมและมำตรกำรควำมปลอดภัย บริเวณเครื่องเล่นสนำมมี
ทรำยเป็นพื้นเพ่ือให้เด็กเล่นไดอ้ ย่ำงปลอดภัย
๕) ครูมีชุดคอมพิวเตอร์ และโทรทัศน์ ๕๒ น้ิว เพื่อใช้สื่อวีดีทัศน์ของเทคโนโลยี และสื่อ
อปุ กรณ์กำรเรยี นรูภ้ ำยในห้องเรยี น
๖) จัดทำแผนพฒั นำคณุ ภำพกำรศึกษำในระดบั ปฐมวยั
๒. ผลการดาเนนิ งาน
๑) ครูมแี ผนจัดประสบกำรณท์ ่ีสอดคล้องกับบริบทของท้องถน่ิ
๒) เดก็ ไดเ้ รียนภำษำองั กฤษกับครูท่จี บวิชำเอกภำษำอังกฤษ
๓) ครมู ีกำรพฒั นำตนเองอยเู่ สมอ
๔) เดก็ ไดเ้ รียนรู้ และสร้ำงเสริมประสบกำรณ์กำรเรยี นร้ใู นสภำพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภยั
๕) นกั เรยี นไดร้ บั ควำมร้จู ำกส่ือออนไลน์อย่ำงหลำกหลำย และสรำ้ งสรรค์
๖) แผนพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำในระดับปฐมวัย ที่ผ่ำนกำรประชุมกลั่นกรองของผู้มีส่วน
ร่วมทุกฝ่ำย
๓. จุดเดน่
๑) เดก็ ได้เปิดโลกทัศน์กำรเรียนรอู้ ยำ่ งไรพ้ รมแดนจำกสือ่ เทคโนโลยี และอินเทอร์เน็ต
๒) เดก็ ไดฝ้ กึ ทักษะทำงด้ำนภำษำองั กฤษเบื้องต้น
๓) ครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำได้พัฒนำตนเองอยูเ่ สมอ
๔) โรงเรียนมีแผนพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำในระดับปฐมวยั
๘
๔. จดุ ควรพัฒนา
- ร่วมกับชุมชนในกำรพัฒนำคณุ ภำพของเดก็
๕. แผนพฒั นาเพื่อให้ได้มาตรฐานทีส่ ูงขน้ึ
- แผนปฏบิ ตั ิงำนที่ ๑ ส่งเสรมิ ใหค้ รพู ัฒนำตนเอง เพ่ือนำควำมรมู้ ำใชพ้ ัฒนำกำรจดั
ประสบกำรณ์
- แผนปฏบิ ตั ิงำนท่ี ๒ รว่ มมอื กับทุกภำคส่วนในกำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำ
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ่เี น้นเดก็ เปน็ สาคญั (ระดับคุณภาพ : ด)ี
๑. กระบวนกำรพฒั นำ
๑) จดั ทำแผนกำรจัดประสบกำรณ์ตลอดปกี ำรศึกษำ
๒) มีแผนกำรจดั ประสบกำรณ์ ๔ ดำ้ น
๓) จัดมุมประสบกำรณ์ เตรียมสื่อกำรสอน ตำมแผนกำรจัดประสบกำรณ์แต่ละหน่วย
ใหเ้ ด็กไดเ้ รียน และเล่นอย่ำงเต็มที่
๔) ประเมินพัฒนำกำรเด็กตำมสภำพจริงและนำผลกำรประเมินพัฒนำกำรเด็กไปปรับปรุง
พฒั นำ
๒. ผลกำรดำเนนิ งำน
๑) ครูมีแผนกำรจัดประสบกำรณ์ท่ีสำมำรถจัดประสบกำรณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนำกำรทุก
ด้ำนอยำ่ งสมดุลและเต็มศักยภำพของเด็ก
๒) เดก็ ได้ฝึกทกั ษะและปฏิบตั จิ ริง (Active Learning)
๓) เด็กไดเ้ รยี นปนเลน่ (Play and Learn) อย่ำงมีควำมสขุ
๔) ครูประเมินพัฒนำกำรเด็กอย่ำงหลำกหลำยตำมสภำพจริงจำกกำรสังเกต กำรสอบถำม
ให้เด็กเล่ำเร่ือง จำกกำรร่วมกิจกรรมแต่ละหน่วย โดยผู้ปกครองมีส่วนร่วมแล้วนำไปปรับปรุง และพัฒนำ
คุณภำพของเด็ก
๓. จดุ เด่น
๑. เด็กได้เรียนรู้จำกกำรลงมือทำ (Learning by Doing) มีสุขภำพกำย และสุขภำพจิตท่ีดี
ตลอดจนมีควำมฉลำดทำงอำรมณ์
๒. โรงเรียนมีแผนจดั ประกบกำรณ์กำรเรียนรทู้ ีส่ ง่ เสรมิ และพฒั นำเด็กในทุกดำ้ น
๓. เด็กได้รับกำรประเมินพัฒนำกำรอย่ำงหลำกหลำย สอดคล้องกับควำมแตกต่ำง
ของแตล่ ะบุคคล
๔. จดุ ควรพฒั นา
- นำบันทึกหลังกำรสอนมำปรับกระบวนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ให้มีประสิทธิภำพ
มำกย่งิ ข้ึน
๙
๕. แผนพฒั นาเพอ่ื ใหไ้ ด้มาตรฐานที่สูงขน้ึ
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๑ ส่งเสริมให้ครูจัดทำเครื่องมือวัดผลให้ครอบคลุมกำรวัดด้ำนควำมรู้
ดำ้ นทกั ษะและเจตคติ รวมทง้ั เครอื่ งมอื วดั ผลตำมสภำพจรงิ ท่เี นน้ กำรจัดทักษะ กระบวนกำรและกำรปฏิบตั ิ
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๒ ครูควรนำข้อมูลจำกกำรวัดและประเมินผลมำพัฒนำและกำรวิจัย
มำใช้ในกำรพัฒนำส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีและกระบวนกำรเรียนกำรสอน ส่งเสริมกำรเรียนกำรสอน
ที่เน้นกระบวนกำรคิดและกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์อย่ำงต่อเน่ือง เพื่อให้ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น
และแกป้ ัญหำเปน็ อย่ำงสมำ่ เสมอ เน้นจัดกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนแบบกลุ่ม และกำรให้ระดมควำมคดิ
จำกผลกำรประเมินคุณภำพภำยในและหลักฐำนเอกสำรเชิงประจักษ์ดังกล่ำว โรงเรียน
บ้ำนห้วยสีเสียดอยู่ในระดับคุณภำพอยู่ในระดับ ดี เด็กมีพัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปัญญำ บรรลุตำมเป้ำหมำยท่ีสถำนศึกษำกำหนด มีกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ตำมหลักสูตร
และมีแผนงำน/โครงกำร/ กิจกรรมเสริมในกำรพัฒนำเด็กอย่ำงเป็นระบบและต่อเนื่อง แต่เมื่อพิจำรณำ
ในรำยละเอียดพบว่ำ หำกจะพัฒนำให้อยู่ในระดับคุณภำพดีเลิศแล้ว โรงเรียนบ้ำนห้วยสีเสียด
จะต้องดำเนินกำรปรับปรุง และพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำพัฒนำคุณภำพตำมแผนปฏิบัติงำนท่ีกำหนดไว้
ตำมแตล่ ะมำตรฐำน
๒.๑ ผลงานดีเดน่ ระดบั ปฐมวยั
ตารางท่ี ๘ แสดงผลงำนดเี ด่นระดบั ปฐมวยั
ที่ รางวัล/เกยี รติคณุ หนว่ ยงานทมี่ อบ หลักฐาน
รองชนะเลิศ อันดับ ๑ ระดับเหรียญทอง - กลมุ่ คุณภำพกำรศึกษำหลกั เมอื ง - เกยี รตบิ ัตร
๑. ก ำ ร ป้ั น ดิ น น้ ำ มั น ร ะ ดั บ ป ฐ ม วั ย - สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ - ภำพถำ่ ย
งำนศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังที่ ๖๙ ประถมศึกษำเลย เขต ๑
ระดับกลุม่ คุณภำพกำรศกึ ษำหลักเมือง
รองชนะเลิศ อันดับ ๒ กำรสร้ำงภำพด้วย - กลุม่ คณุ ภำพกำรศกึ ษำหลกั เมอื ง - เกยี รติบตั ร
๒. กำรฉีก ตัด ปะกระดำษ ระดับปฐมวัย - สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ - ภำพถ่ำย
งำนศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังที่ ๖๙ ประถมศกึ ษำเลย เขต ๑
ระดบั กล่มุ คุณภำพกำรศึกษำหลักเมือง
๑๐
๓. ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒
๑) ร้อยละของนักเรยี นโรงเรียนบำ้ นห้วยสเี สียดทมี่ เี กรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนแต่ละรำยวิชำใน
ระดบั ๓ ขน้ึ ไป ระดับช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๑ ถึง ระดบั ช้ันประถมศึกษำปีที่ ๖ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒
ตารางท่ี ๙ แสดงร้อยละของนักเรียนโรงเรียนบ้ำนห้วยสีเสียดท่ีมีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน
แตล่ ะรำยวิชำในระดับ ๓ ขนึ้ ไป
รายวิชา(พน้ื ฐาน)
ระดับ
ชนั้
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
ัสงคมศึกษาฯ
ประ ัว ิตศาสตร์
ภาษา ัองกฤษ
ุสข ึศกษาฯ
ศิลปะ
การงานอา ีชพฯ
ป.๑ ๖๑.๕๓ ๕๓.๘๔ ๖๗.๒๓ ๕๓.๘๔ ๗๖.๙๒ ๖๙.๒๓ ๖๙.๒๓ ๘๔.๖๑ ๗๖.๙๒
ป.๒ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๗๕ ๗๕ ๑๐๐ ๗๕ ๑๐๐ ๑๐๐
ป.๓ ๖๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๘๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ป.๔ ๘๓.๓๓ ๘๓.๓๓ ๘๓.๓๓ ๘๓.๓๓ ๘๓.๓๓ ๕๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ป.๕ ๘๗.๕๐ ๘๗.๕๐ ๗๕ ๑๐๐ ๑๐๐ ๕๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
ป.๖ ๘๕.๗๑ ๗๑.๔๒ ๗๑.๔๒ ๑๐๐ ๑๐๐ ๔๒.๘๕ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐
รวม ๔๗๘.๐๗ ๔๙๖.๐๖ ๔๙๘.๙๘ ๕๑๒.๑๗ ๕๓๕.๒๕ ๓๙๒.๐๘ ๕๔๔.๒๓ ๕๘๔.๖๑ ๕๗๖.๙๒
ร้อยละ ๗๙.๖๗ ๘๒.๖๗ ๘๓.๑๖ ๘๕.๓๖ ๘๙.๒๐ ๖๕.๓๔ ๙๐.๗๐ ๙๗.๔๓ ๙๖.๑๕
๒) ร้อยละของนักเรียนโรงเรียนบ้ำนห้วยสีเสียดท่ีมีผลกำรประเมินกำรอ่ำน คิดวิเครำะห์ และเขียน
ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ ถึง ระดบั ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒
ตารางที่ ๑๐ แสดงร้อยละของนักเรียนโรงเรียนบ้ำนห้วยสีเสียดที่มีผลกำรประเมินกำรอ่ำน คิด
วเิ ครำะห์ และเขยี น
ระดับชน้ั จำนวน ไม่ผ่ำน ผลกำรประเมนิ ระดับดี ร้อยละ
นกั เรียน ดีเยีย่ ม ขึ้นไป
ป.๑ - ผำ่ น ดี ๕๓.๘๔
ป.๒ ๑๓ - ๕๗ ๑๐๐
ป.๓ ๔ - ๖๒ ๓๔ ๘๐
ป.๔ ๕ - -๑ ๒๔ ๑๐๐
ป.๕ ๖ - ๑๒ ๒๖ ๗๕
ป.๖ ๘ - -๔ ๔๖ ๑๐๐
๗ ๒๒ ๒๗
รวม - -๕ ๙๒.๓๐
๔๓ ๒๐ ๓๗
๖ ๑๕
๑๑
๓) ร้อยละของนักเรียนบ้ำนห้วยสีเสียดที่มีผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีข้ึนไป
ระดับชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ ๑ ถงึ ระดับช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒
ตารางท่ี ๑๑ แสดงร้อยละของนักเรียนบ้ำนห้วยสีเสียดที่มีผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในระดบั ดีข้ึนไป
ระดับชน้ั จำนวน ผลกำรประเมิน ระดับดี รอ้ ยละ
นักเรยี น ผำ่ น ดี ขนึ้ ไป
ไมผ่ ่ำน ดเี ยี่ยม ๑๐๐
๑๐๐
ป.๑ ๑๓ - - ๘๕ ๑๓ ๑๐๐
๑๐๐
ป.๒ ๔ - - -๔ ๔ ๑๐๐
๑๐๐
ป.๓ ๕ - - ๒๓ ๕ ๑๐๐
ป.๔ ๖ - - ๔๒ ๖
ป.๕ ๘ - - ๒๖ ๘
ป.๖ ๗ - - ๕๒ ๗
รวม ๔๓ - - ๒๑ ๒๒ ๔๓
๓.๑ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET)ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖
๑) ผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติขั้นพนื้ ฐำน (O-NET) โรงเรยี นบำ้ นหว้ ยสเี สยี ด ปกี ำรศกึ ษำ
๒๕๖๒
ตารางที่ ๑๒ แสดงผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้ันพนื้ ฐำน (O-NET) โรงเรียนบ้ำนห้วย
สเี สียด ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒
รำยวิชำ ระดบั โรงเรยี น คะแนนเฉล่ีย ระดบั ประเทศ
๔๓.๘๖ ระดับเขต ๔๙.๐๗
ภำษำไทย ๒๔.๒๙ ๔๖.๔๗ ๓๒.๙๐
คณิตศำสตร์ ๓๒.๐๔ ๒๙.๔๗ ๓๕.๕๕
วิทยำศำสตร์ ๒๕.๐๐ ๓๒.๑๕ ๓๔.๔๒
ภำษำอังกฤษ ๓๐.๐๐
๒ ) ก ำ ร เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ล ก ำ ร ท ด ส อ บ ท ำ ง ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ร ะ ดั บ ช ำ ติ ข้ั น พ้ื น ฐ ำ น ( O-NET)
โรงเรียนบำ้ นห้วยสเี สียด ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑– ๒๕๖๒
ตารางท่ี ๑๓ แสดงผลกำรเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพ้ืนฐำน (O-NET)
โรงเรียนบ้ำนห้วยสเี สียด ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๑– ๒๕๖๒
๑๒
รำยวิชำ คะแนนเฉลยี่ ผลตำ่ ง ผลลพั ธ์
ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๑ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒
ภำษำไทย ๔๔.๒๑ ๔๓.๘๖ -๐.๓๕ ลดลง
คณติ ศำสตร์ ๓๑.๖๗ ๒๔.๒๖ -๗.๔๑ ลดลง
วทิ ยำศำสตร์ ๓๑.๒๕ ๓๒.๐๔ +๐.๗๙ สูงขน้ึ
ภำษำองั กฤษ ๓๐.๔๒ ๒๕.๐๐ -๕.๔๒ ลดลง
๓.๒ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ตารางที่ ๑๔ แสดงผลกำรประเมินมำตรฐำนกำรศึกษำระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
มาตรฐานการศึกษา ระดับคณุ ภาพ
มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผ้เู รียน ดี
มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร ดีเลศิ
มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ดี
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผเู้ รียน (ระดับคณุ ภาพ : ด)ี
๑. กระบวนการพฒั นา
๑) ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีควำมสำมำรถในอ่ำน เขียน สื่อสำร กำรคดิ และกำรคำนวณ
๒) ส่งเสริมกระบวนกำรคดิ และกระบวนกำรแกป้ ญั หำใหแ้ ก่ผูเ้ รียน
๓) ผ้เู รียนสำมำรถสร้ำงนวัตกรรมอย่ำงง่ำยด้วยตนเองได้
๔) ส่งเสริมใหม้ ีทกั ษะในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศอยำ่ งปลอดภัย
๕) มีกำรวัดผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนรู้ตำมกรอบหลกั สูตรสถำนศึกษำ
๖) โรงเรยี นจดั ทำหลกั สูตรเชือ่ มโยงกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำนกับอำชวี ศึกษำ
๗) อบรมผู้เรยี นมคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์และค่ำนิยมท่ดี ตี ำมท่ีสถำนศึกษำกำหนด
๒. ผลการดาเนินงาน
๑) ผู้เรียนมีผลกำรประเมิน PISA กำรอ่ำน เขียน และผลสัมฤทธ์ิสูงขึ้นในกำรประเมินคร้ัง
ที่ ๒
๒) ผลกำรแขง่ ขันศลิ ปหตั ถกรรม ครัง้ ที่ ๖๙ ได้รับรำงวลั เหรียญทอง จำนวน ๑๔ รำยกำร
๓) ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ สำมำรถสร้ำงนวัตกรรมด้วยตนเองโดยกำรใช้งำนโปรแกรม Auto
Draw ได้อย่ำงหลำกหลำย สอดคล้องกับบริบทกำรจัดกำรเรียนรู้ในแต่ละรำยวิชำ เช่น รำยวิชำภำษำอังกฤษ
ผู้เรียนสืบค้นคำศัพท์ภำษำอังกฤษท่ีสนใจ เพ่ือวำดภำพและเขียนคำศัพท์จัดทำเป็นสมุดคำศัพท์ภำษำอังกฤษ
ของตนเอง รำยวิชำวิทยำกำรคำนวณ นักเรียนใช้โปรแกรม Auto Draw ในกำรวำดภำพและวิเครำะห์
ผลกำรแก้ปัญหำ ผลกำรทดลองอย่ำงมีระบบ มีข้ันตอนตำมควำมเข้ำใจของตนเอง และในรำยวิชำอ่ืนๆ
ผู้เรียนยังสำมำรถใช้โปรแกรมดังกล่ำวในกำรสรุปบทเรียนท่ีได้เรียนไป ให้เข้ำใจง่ำย เป็นภำษำของตนเอง
เป็นกำรกระตุ้นให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อกำรเรียนรู้ สนุกในกำรเรียน เพิ่มควำมคงทนในกำรจำเน้ือหำ
๑๓
ในแต่ละบทเรียน อีกท้ังยังสอดคล้องกับรูปแบบกำรจัดกำรเรียนรู้แบบ CBL (Creativity - Based Learning)
หรอื กำรเรยี นรแู้ บบกำรสอนแบบสรำ้ งสรรคเ์ ปน็ ฐำนอกี ด้วย
๔) ผเู้ รยี น รอ้ ยละ ๘๐ สำมำรถสืบค้นขอ้ มลู และเรียนรจู้ ำกสื่อทำงอินเทอรเ์ นต็ ได้ระดับดี
๕) ผลกำรเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สำระเรียนรู้ สงู กว่ำสถำนศกึ ษำกำหนด
๖) โรงเรียนมีหลักสูตรเช่ือมโยงกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนกับอำชีวศึกษำ ผู้เรียนมีควำมรู้
ได้ฝึกประสบกำรณ์กำรประกอบอำชีพ เช่น กำรเลี้ยงปลำดุกและกบในบ่อซีเมนต์ อำชีพกรีดยำงพำรำ และ
กำรแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ในท้องถ่นิ จึงทำให้มเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ งำนอำชพี ทกุ อำชีพไมใ่ ช่เฉพำะอำชพี รับรำชกำร
๗) โรงเรียนมีโครงกำรส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้เรียน
เข้ำร่วมกิจกรรมต่ำง ๆ ของโรงเรียน ผู้เรียนร้อยละ ๙๕ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่ำนิยมที่ดีเย่ียม
เกินกว่ำทส่ี ถำนศกึ ษำกำหนด
๓. จุดเด่น
๑. ส่งเสริมและพัฒนำผู้เรียนให้มีทักษะอำชีพ และทักษะชีวิต สำมำรถดำรงตน
อยู่รอดในสงั คมไดอ้ ยำ่ งปลอดภัย
๒. ผู้เรยี นมคี วำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยอี ย่ำงสรำ้ งสรรค์ ปลอดภัย
๓. ผู้เรียนไดเ้ รียนรอู้ ยำ่ งมคี วำมสขุ
๔. จดุ ควรพฒั นา
- ทกั ษะกำรคิดวเิ ครำะห์ และทกั ษะทำงคณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์
๕. แผนพัฒนาเพอ่ื ให้ไดม้ าตรฐานท่สี ูงข้นึ
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๑ ส่งเสริมให้มีกำรประกวดแข่งขันชิ้นงำน ผลงำนที่เกิดจำก
ควำมคิดสรำ้ งสรรค์ของนกั เรยี นทแ่ี ปลกใหมใ่ นทุกระดับ
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๒ ส่งเสริมให้ครูจัดกำรเรียนรู้แบบโครงงำนหรือแบบเน้นทักษะกำรคิด
แก่ผู้เรียนให้มำกขึ้น
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๓ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้ำรับกำรทดสอบและแข่งขันควำมสำมำรถ
ทำงวิชำกำร วชิ ำชีพ ในระดบั ตำ่ งๆให้มำกขึน้ และตอ่ เน่ือง
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร (ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลศิ )
๑. กระบวนการพัฒนา
๑) โรงเรียนมเี ป้ำหมำยและพนั ธกจิ ของสถำนศึกษำชัดเจน
๒) โรงเรียนมรี ะบบบริหำรจดั กำรคณุ ภำพของสถำนศกึ ษำ
๓) ฝ่ำยวิชำกำรเน้นคุณภ ำพผู้เรียนรอบด้ำนตำมหลักสูตรส ถำนศึกษำ และ
ทุกกลมุ่ เป้ำหมำย
๔) พัฒนำครูและบุคลำกรให้มคี วำมเช่ียวชำญทำงวิชำชีพ
๕) โรงเรยี นมีกำรจดั สภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมทเ่ี อื้อต่อกำรเรยี นรู้
๖) มีกำรจัดระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรและกำรจัดกำร
เรียนรู้
๑๔
๒. ผลการดาเนินงาน
๑) มีกำรประชุม วำงแผนร่วมกันกับทุกภำคส่วน เช่น คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพ้ืนฐำน
ครู ผู้บริหำร นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน ในกำรกำหนดเป้ำหมำย วิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน
บ้ำนหว้ ยสเี สยี ดอยำ่ งชัดเจน
๒) ได้รับกำรนิเทศกำกับติดตำมจำกสำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัด สำนักงำนเขตพื้นท่ี
กำรศึกษำประถมศึกษำเลย เขต ๑ คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำน ท้ังรูปแบบกำรประชุม กำรเย่ียม
ชน้ั เรียน โรงเรยี นปฏบิ ัติตำมคำแนะนำและขอ้ เสนอแนะ
๓) ดำเนนิ กำรโครงกำรระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูเย่ียมบ้ำนนักเรียนครบ ๑๐๐% เพ่ือ
ทำควำมรู้จักนักเรียนรำยบุคคล นำมำใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐำนในกำรจัดกำรเรียนรู้ให้นักเรียน ตำมควำมสำมำรถ
ควำมถนดั ควำมสนใจและผู้เรียนไดร้ บั ควำมช่วยเหลอื ตำมควำมเดือดร้อนจำเป็น
๔) ครูได้รับกำรพัฒนำตำมรูปแบบกำรพัฒนำครูครบวงจร (คูปองครู) และกำรเข้ำประชุม
อบรม กำรศึกษำดูงำน กำรแลกเปล่ียนเรียนรู้ ท่ีหน่วยงำนต้นสังกัดและหน่วยงำนอ่ืน ๆ จัดข้ึน
เพ่ือนำมำพฒั นำกำรจัดกำรเรียนกำรสอน โดยเน้น Active learning สร้ำงกรอบกำรพัฒนำผลสัมฤทธ์ิรำยวิชำ
ท่ีสอน
๕) โรงเรียนจัดสภำพแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอำด ร่มร่ืน น่ำดู น่ำอยู่ และน่ำเรียน มีแหล่ง
เรียนรู้ท่หี ลำกหลำยทงั้ ภำยในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น เช่น บ้ำนโบรำณ ศูนย์ศำสตร์พระรำชำ สวนเกษตร
พอเพยี ง สวนหยอ่ ม เปน็ ต้น
๖) มีระบบอินเทอรเ์ นต็ ควำมเร็วและขนำดสัญญำณเพียงพอต่อกำรบริหำรจัดกำรกำรจัดกำร
เรียนกำรสอนในหอ้ งเรยี นคอมพวิ เตอร์ ผ้เู รียนและครูใช้สืบค้นข้อมลู ควำมรู้ไดเ้ ป็นอยำ่ งดี
๓. จดุ เดน่
๑. มสี อื่ กำรเรยี นรู้ทหี่ ลำกหลำยทง้ั ในและนอกห้องเรยี น
๒. สภำพแวดลอ้ มเออ้ื ต่อกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้
๓. มีสญั ญำณอนิ เทอรเ์ น็ตเพยี งพอตอ่ กำรสืบค้นข้อมลู ของครู และนักเรยี น
๔. ครเู ยยี่ มบำ้ นนกั เรียนครบ ๑๐๐%
๔. จุดควรพฒั นา
- ครูและนักเรียนพัฒนำตนเองอยู่เสมอให้สอดคล้องกับควำมรู้ และเหตุกำรณ์ใหม่ ๆ ใน
ชีวิตประจำวนั
- ควรสง่ เสริมใหน้ กั เรียนมีควำมกล้ำแสดงออกมำกยง่ิ ขึ้น
๕. แผนพัฒนาเพ่อื ให้ไดม้ าตรฐานท่ีสูงข้ึน
- แผนปฏิบัติงำนที่ ๑ ส่งเสริมให้มีกำรประกวดแข่งขันชิ้นงำน ผลงำนท่ีเกิดจำกควำมคิด
สรำ้ งสรรคท์ ้งั ของนกั เรียนทแี่ ปลกใหมใ่ นทุกระดับ
- แผนปฏิบัติงำนที่ ๒ พัฒนำครูให้จัดกำรเรียนรู้แบบโครงงำนหรือแบบเน้นทักษะกำรคิด
แก่ผู้เรียนให้มำกขึ้น ส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้ำรับกำรทดสอบและแข่งขันควำมสำมำรถทำงวิชำกำร วิชำชีพ
ในระดับตำ่ งๆให้มำกข้ึนและตอ่ เนอื่ ง
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๓ ดำเนนิ กำรตำมแนวทำงโครงกำรโรงเรยี นคุณภำพประจำตำบล
๑๕
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั (ระดับคณุ ภาพ : ด)ี
๑. กระบวนการพัฒนา
๑) โรงเรียนจัดทำหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ึนพ้ืนฐำน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ปรับปรุง ๒๕๖๑)
ครูพัฒนำผเู้ รียนทกุ กลมุ่ เป้ำหมำย รวมท้ังนักเรียนเรยี นรว่ ม (IEP)
๒) จดั หำสือ่ หรือเทคโนโลยตี ่ำง ๆ ทเ่ี ออ้ื ต่อกำรเรยี นรู้
๓) มีระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นที่แข็งขนั
๔) โรงเรียนมีกำรวัดผล และประเมินผลท่ีหลำกหลำย สอดคล้องกับควำมแตกต่ำงระหว่ำง
บคุ คล
๕) จดั ให้มชี มุ ชนกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ (Professional Learning Community)
๒. ผลการดาเนินงาน
๑) ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่ำนกระบวนกำรคิด และปฏิบัติจริง มีกำรวัดผล และประเมินผลผู้เรียน
ตรงตำมควำมรู้ และควำมสำมำรถของผู้เรียน
๒) ครใู ช้สอื่ เทคโนโลยีและแหลง่ เรยี นรู้ทัง้ ภำยในโรงเรียน และแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญำท้องถิ่น
ในกำรจดั กำรเรยี นรู้
๓) มีกำรเยยี่ มบำ้ นนกั เรยี น ๑๐๐%
๔) ครูมีกำรวัดและประเมินผลอย่ำงหลำกหลำยที่เหมำะสมกับนักเรียนกลุ่มเป้ำหมำย
มีกิจกรรม PLC เพอ่ื นำขอ้ มูลยอ้ นกลับมำพฒั นำผ้เู รียน
๕) ครูแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้ำนวิชำชีพ โดยกำรประชุมกลุ่มย่อย ประชุมกลุ่มใหญ่ นำผลไปใช้
ในกำรพัฒนำอยำ่ งต่อเน่ือง
๓. จุดเด่น
๑. มีระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน มกี ำรเยีย่ มบำ้ นนกั เรยี น ๑๐๐%
๒. ครูใช้ส่อื เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรู้ท้ังภำยในโรงเรียน และแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญำท้องถ่ิน
ในกำรจดั กำรเรยี นรู้
๔. จุดควรพัฒนา
- วิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อนำมำปรับปรุงและพัฒนำผลสัมฤทธ์ิ
ทำงกำรเรยี นรขู้ องผเู้ รียนให้สูงข้ึน
- มกี รอบกำรนเิ ทศภำยในท่ีชัดเจน
๕. แผนพัฒนาเพอ่ื ให้ได้มาตรฐานท่สี งู ข้ึน
- แผนปฏิบัติงำนที่ ๑ ครูนำข้อมูลผลกำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรียน
แต่ละปีมำ เขียนกรอบแนวทำงกำรพัฒนำคุณภำพ เพ่ือปรับปรุงกำรจัดกำรเรียนรู้ให้ดีข้ึนตรงตำมมำตรฐำน
และตัวชว้ี ัด
- แผนปฏิบัติงำนท่ี ๒ พัฒนำระบบกำรนิเทศภำยในให้มีเป้ำหมำยชัดเจน และนำข้อมูล
มำ PLC หำแนวทำงในกำรพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำ
๑๖
- แผนปฏิบัติงำนที่ ๓ ครูมีกำรพัฒนำงำน พัฒนำผู้เรียนในรูปแบบกำรวิจัย มีกำรสร้ำงหรือ
พฒั นำนวัตกรรมในกำรจัดกำรเรยี นรู้เพ่ือพัฒนำผูเ้ รียน
๓.๓ ผลงานดเี ด่นระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน โรงเรยี นบ้านห้วยสีเสียด ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒
ตารางท่ี ๑๕ แสดงผลงำนดีเด่นระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน โรงเรียนบ้ำนห้วยสีเสียด ปีกำรศึกษำ
๒๕๖๒
ที่ รางวลั /เกยี รตคิ ุณ หน่วยงานท่มี อบ หลกั ฐาน
รองชนะเลิศ อันดับ ๑ ระดับเหรียญทอง - กลุ่มคุณภำพกำรศึกษำหลกั เมือง - เกยี รตบิ ตั ร
กำรแข่งขันต่อคำศัพท์ภำษำไทย (คำคมเดิม) - สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ - ภำพถำ่ ย
๑. กลมุ่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย งำนศลิ ปหัตถ- ประถมศกึ ษำเลย เขต ๑
กรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๙ ระดับกลุ่มคุณภำพ
กำรศึกษำหลักเมอื ง
รองชนะเลิศอันดับ ๔ ระดับเหรียญเงิน - กลุ่มคณุ ภำพกำรศกึ ษำหลกั เมอื ง - เกียรตบิ ัตร
กำรแข่งขันคัดลำยมือสื่อภำษำไทย (ป.๑ - ๓) - สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ - ภำพถำ่ ย
๒. กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย งำนศิลป- ประถมศึกษำเลย เขต ๑
หั ต ถ ก ร ร ม นั ก เ รี ย น ค ร้ั ง ที่ ๖ ๙ ร ะ ดั บ
กลุ่มคณุ ภำพกำรศกึ ษำหลกั เมือง
๓. รองชนะเลิศ อันดับ ๒ ระดับเหรียญทอง - กล่มุ คณุ ภำพกำรศึกษำหลักเมอื ง - เกียรติบัตร
กำรประกวดมำรยำทไทย ป. ๑ – ๓ กลุ่มสำระ - สำนักงำนเขตพ้นื ทกี่ ำรศกึ ษำ - ภำพถ่ำย
กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ประถมศึกษำเลย เขต ๑
งำนศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังท่ี ๖๙
ระดับกลุ่มคุณภำพกำรศกึ ษำหลักเมือง
รองชนะเลิศ อันดับ ๑ ระดับเหรียญทอง - กลุ่มคณุ ภำพกำรศกึ ษำหลกั เมอื ง - เกียรติบัตร
กำรประกวดมำรยำทไทย ป. ๔ – ๖ กลุ่มสำระ - สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ - ภำพถ่ำย
๔. กำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม ประถมศกึ ษำเลย เขต ๑
งำนศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังที่ ๖๙
ระดับกลุ่มคุณภำพกำรศึกษำหลกั เมือง
รองชนะเลิศ อันดับ ๑ ระดับเหรียญทอง - กลุ่มคุณภำพกำรศกึ ษำหลักเมือง - เกียรติบตั ร
ก ำ ร แ ข่ ง ขั น ต อ บ ปั ญ ห ำ สุ ข ศึ ก ษ ำ แ ล ะ - สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ - ภำพถ่ำย
๕. พลศึกษำ ป.๑ – ๖ งำนศิลปหัตถกรรม ประถมศกึ ษำเลย เขต ๑
นักเรียน ครั้งที่ ๖๙ ระดับกลุ่มคุณภำพ
กำรศึกษำหลกั เมือง
๖. รองชนะเลิศ อันดับ ๑ ระดบั เหรียญทอง กำร - กลุ่มคุณภำพกำรศึกษำหลกั เมือง - เกยี รตบิ ัตร
๑๗
ท่ี รางวัล/เกยี รติคุณ หน่วยงานที่มอบ หลักฐาน
แข่งขันกำรสร้ำงสรรค์ภำพด้วยกำรปะติด ป. - สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ - ภำพถำ่ ย
๑ – ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปศึกษำ งำน ประถมศกึ ษำเลย เขต ๑
ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ครั้งท่ี ๖๙ ระดับกลุ่ม
รองชนะเลิศ อันดับ ๑ ระดับเหรียญทอง - กลุ่มคณุ ภำพกำรศกึ ษำหลักเมอื ง - เกยี รตบิ ัตร
กำรแข่งขันกำรสร้ำงสรรค์ภำพด้วยกำรปะติด - สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ - ภำพถำ่ ย
๗. ป. ๔ – ๖ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปศึกษำ ประถมศกึ ษำเลย เขต ๑
งำนศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังที่ ๖๙ ระดับ
กลุ่มคณุ ภำพกำรศกึ ษำหลักเมือง
๔. การวเิ คราะห์ปจั จยั ภายในและภายนอก (SWOT องคก์ ร)
๔.๑ การวเิ คราะหป์ จั จยั ภายใน (7Ss Mckinsey)
ตารางที่ ๑๖ แสดงผลกำรวิเครำะหป์ ัจจยั ภำยใน (7Ss Mckinsey)
ปจั จัยภายใน จุดแขง็ (Strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses)
๑. ยทุ ธศำสตร์ (Strategy) โรงเรียนมีกำรกำหนดวิสัยทัศน์ - ยุทธศำสตร์บำงขอ้ ไม่สอดคล้องกับ
ยุ ท ธ ศ ำ ส ต ร์ เ ป้ ำ ห ม ำ ย ชั ด เ จ น ควำมเปลีย่ นแปลงทำงสังคม
สอดคล้องกับนโยบำยของหน่วยงำน
ต้นสังกัด
๒. โครงสร้ำงองค์กำบริหำรงำน - โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนแบ่ง - บุ ค ล ำ ก ร น้ อ ย แ ต่ ภ ำ ร ะ ง ำ น
ของสถำนศึกษำ ออกเป็น ๔ ฝ่ำย ได้แก่ บริหำรงำน คอ่ นข้ำงเยอะ
วิ ช ำ ก ำ ร บ ริ ห ำ ร ง ำ น บุ ค ค ล
บริหำรงำนงบประมำณ และบริหำร
ทวั่ ไป โดยมีระเบียบกำหนดขอบข่ำย
ของงำนท่ีชัดเจน
๓. ระบบองค์กร (System) - โรงเรียนมีกฎระเบียบและ - บุคลำกรที่มีควำมรู้ควำมเข้ำใจใน
หลักเกณฑ์ทีช่ ัดเจน กำรใช้สอ่ื เทคโนโลยมี ีคอ่ นขำ้ งนอ้ ย
๔. ทักษะของบุคลำกร (Skill) - ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำใน - บุคลำกรแต่ละท่ำนมีภำระงำน
โ ร งเ รี ยน ทุก ท่ ำน มีทั ก ษะ แ ล ะ มำก ทำให้มีเวลำในกำรเตรียม
ควำมสำมำรถที่หลำกหลำย กำรสอนน้อย
๕. คณุ ค่ำรวมในองค์กร - ครูและบุคลำกรส่วนใหญ่มีควำมรัก - ผลสมั ฤทธ์ยิ งั ไมเ่ ปน็ ท่ีน่ำพงึ พอใจ
(Shared Valued) และสำมัคคีกลมเกลียวกัน ให้ควำม
ร่วมมือในกำรทำงำนร่วมกนั ดี
๖. บุคลำกร (Staff) - มีกำรกระจำยงำนตำมโครงสร้ำง - ขำดบุคลำกรที่มีรู้ควำมสำมำรถใน
กำรบริหำรงำน ๔ ฝำ่ ย สำขำวิชำคณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์
ดนตรี นำฏศิลป์ และศลิ ปะ
๑๘
ปัจจัยภายใน จดุ แขง็ (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses)
๗. รูป แ บบ ก ำ รน ำ อง ค์ ก ร - สถำนศึกษำมีกำรบริหำรจัดกำรท่ีดี - กำรบริหำรจัดกำรองค์กรยังไม่
(Style) มีกำรกระจำยอำนำจให้ทุกภำคส่วน สอดคล้องกับโลกยุคโลกำภิวัฒน์
มีสว่ นรว่ มร่วมกนั เทำ่ ที่ควร
๔.๒ การวเิ คราะหป์ ัจจยั ภายนอก (C - PEST)
ตารางที่ ๑๗ แสดงผลกำรวิเครำะหป์ จั จยั ภำยนอก (C - PEST)
ปจั จยั ภายนอก โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threats)
1. ลกู ค้ำหรือผู้รับบริกำร
(Customer) - ชุมชน และผู้ปกครองมีควำม - นกั เรียนบำงคนบ้ำนอยู่ในสวนยำง
2. สถำนกำรณ์กำรเมอื ง ต้องกำรส่งบุตรหลำนมำเรยี นมำกข้ึน ส่งผลให้สัญญำณโทรศัพท์ไม่เสถียร
(Political)
3. สภำพเศรษฐกจิ - มี คณ ะก ร รม กำ รส ถ ำน ศึก ษ ำ หรอื ไม่มีอินเทอร์เน็ตใช้
(Economic)
ที่เข้มแข็ง
4. สภำพแวดล้อม
(Environment) - ผู้ปกครองให้ควำมร่วมมือในกำรทำ
5. สภำพสังคม (Social) กจิ กรรมเปน็ อย่ำงดี
6. เทคโนโลยี (Technology) - องค์กำรกำรปกครองส่วนท้องถิ่น - มีกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยจำก
ใ ห้ ก ำ ร ส นั บ ส นุ น ส ถ ำ น ศึ ก ษ ำ ทำงรัฐบำลบ่อย ทำให้บำงโครงกำร
ด้ำนงบประมำณเป็นอย่ำงดี หรือบำงกิจกรรมไมม่ คี วำมต่อเนื่อง
- สถำนศึกษำมีสภำพคล่องในด้ำน - ผู้ ป ก ค ร อ ง บ ำ ง ท่ ำ น มี ร ำ ย ไ ด้
งบประมำณ ได้รับกำรสนับสนุน ไม่แนน่ อน
จำกทุกภำคส่วนเปน็ อย่ำงดี - สภำพเศรษฐกิจเกิดกำรชะลอตัว
ทำให้กำรสนับสนุนงบประมำณ
บำงส่วนลดนอ้ ยลง
- บรรยำกำศดี สภำพแวดล้อมเอ้ือ - เสน้ ทำงสญั จรไม่สะดวก เนื่องจำก
ตอ่ กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้ ถนนเป็นหลมุ เป็นบ่อ
- พ้ืนท่ีจำกัด ไม่สำมำรถขยำย
หอ้ งเรียนให้เพียงพอได้
- มภี ูมิปัญญำท้องถ่นิ ทห่ี ลำกหลำย - มี ก ำ ร ย้ ำ ย ส ถ ำ น ศึ ก ษ ำ บ่ อ ย
- ชุมชนเข้มแข็ง ให้ควำมร่วมมือ เน่ืองจำกนักเรียนต้องย้ำยถิ่นฐำน
เปน็ อย่ำงดี ตำมผปู้ กครอง
- โรงเรียนมีอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูง - นักเรียนขำดทักษะในกำรใช้
ในกำรให้บริกำรทำงกำรศึกษำ และ เทคโนโลยี
กำรบริหำรจัดกำร - ขำดกำรเชือ่ มโยงขอ้ มูลสำรสนเทศ
ของสถำนศึกษำเพื่อใช้ในกำรบริหำร
จัดกำร
๑๙
๕. กฎหมายและนโยบายที่เก่ียวข้อง
๕.๑ พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
และแกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
และแก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้กำหนดกรอบและแนวทำงในกำรดำเนนิ กำรจัดกำรศึกษำทุกด้ำน
ดงั ตอ่ ไปนี้
๕.๑.๑ ต้องยึดว่ำผู้เรียนทุกคนมีควำมสำมำรถเรียนรู้และพัฒนำตนเองได้ และถือว่ำผู้เรียน
มคี วำมสำคัญที่สุด กระบวนกำรจัดกำรศึกษำต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสำมำรถพัฒนำตำมธรรมชำติ และเต็มตำม
ศกั ยภำพ
๕.๑.๒ ต้องเน้นควำมสำคัญทั้งควำมรู้ คุณธรรม กระบวนกำรเรียนรู้และบูรณำกำร
ตำมควำมเหมำะสมของแต่ละระดบั กำรศึกษำในเรื่องต่อไปน้ี
- ควำมรู้เก่ียวกับตนเอง และควำมสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชำติ
และสังคมโลก รวมถึงควำมรู้เก่ียวกับประวัติศำสตร์ควำมเป็นมำของสังคมไทย และระบบกำรเมืองกำร
ปกครองในระบอบประชำธิปไตยอนั มีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข
- ควำมรู้และทักษะด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รวมท้ังควำมรู้ ควำมเข้ำใจและ
ประสบกำรณ์เรื่องกำรจัดกำร กำรบำรุงรักษำ และกำรใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม
อย่ำงสมดุลย่ังยืน
- ควำมรู้เก่ียวกับศำสนำ ศิลปะ วัฒนธรรม กำรกีฬำ ภูมิปัญญำไทย และกำรประยุกต์ใช้
ภูมิปญั ญำ
- ควำมร้แู ละทกั ษะด้ำนคณติ ศำสตร์และด้ำนภำษำ เน้นกำรใช้ภำษำไทยอย่ำงถกู ต้อง
- ควำมรแู้ ละทกั ษะในกำรประกอบอำชีพและกำรดำรงชีวติ อยำ่ งมีควำมสุข
๕.๑.๓ กำรจดั กระบวนกำรเรยี นรู้ ใหส้ ถำนศึกษำและหน่วยงำนที่เกีย่ วข้องดำเนนิ กำร ดงั ต่อไปนี้
- จัดเนื้อหำและกิจกรรมให้สอดคล้องกับควำมสนใจและควำมถนัดของผู้เรียน โดยคำนึง
ถงึ ควำมแตกตำ่ งระหว่ำงบคุ คล
- ฝึกทักษะ กระบวนกำรคิด กำรจัดกำร กำรเผชิญสถำนกำรณ์ และกำรประยุกต์ควำมรู้
มำใชเ้ พอ่ื ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหำ
- จัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้จำกประสบกำรณ์จริง ฝึกกำรปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น
รกั กำรอำ่ น และเกดิ กำรใฝ่รูอ้ ย่ำงตอ่ เน่อื ง
- จัดกำรเรียนกำรสอนโดยผสมผสำนสำระควำมรู้ด้ำนต่ำง ๆ อย่ำงได้สัดส่วนสมดุลกัน
รวมท้งั ปลกู ฝงั คุณธรรม คำ่ นิยมทดี่ ีงำม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ไว้ในทุกวชิ ำ
- ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ู้สอนสำมำรถจัดบรรยำกำศ สภำพแวดล้อม สื่อกำรเรียน และอำนวย
ควำมสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้และมีควำมรอบรู้ รวมทั้งสำมำรถใช้กำรวิจัยเป็นส่วนหน่ึง
๒๐
ของกระบวนกำรเรียนรู้ ทั้งน้ีผู้สอนและผู้เรียนอำจเรียนรู้ไปพร้อมกันจำกส่ือกำรเรียนกำรสอน และแหล่ง
วิทยำกำรประเภทต่ำง ๆ
- จัดกำรเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลำ ทุกสถำนท่ี มีกำรประสำนควำมร่วมมือกับบิดำ มำรดำ
ผปู้ กครอง ละบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่ำย เพ่อื รว่ มกันพฒั นำผู้เรียนตำมศักยภำพ
- รฐั ต้องสนบั สนนุ กำรดำเนนิ งำนและกำรจดั ตง้ั แหลง่ กำรเรียนร้ตู ลอดชวี ิตทุกรปู แบบ ไดแ้ ก่
ห้องสมุดประชำชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสำธำรณะ สวนพฤกษศำสตร์ อุทยำนวิทยำศำสตร์และ
เทคโนโลยี ศูนย์กำรกีฬำและนันทนำกำร แหล่งข้อมูล และแหล่งกำรเรียนรู้ อ่ืนอย่ำงพอเพียง และ
มีประสทิ ธิภำพ
- ให้สถำนศึกษำจัดกำรประเมินผู้เรียน โดยพิจำรณำจำกพัฒนำกำรของผู้เรียน
ควำมประพฤติ กำรสังเกตพฤติกรรมกำรเรียน กำรร่วมกิจกรรมและกำรทดสอบควบคู่ไปในกระบวนกำรเรียน
กำรสอนตำมควำมเหมำะสมของแต่ละระดับและรูปแบบกำรศึกษำ และให้สถำนศึกษำขั้นพ้ืนฐำนมีหน้ำที่
จัดทำสำระของหลักสูตรตำมวัตถุประสงค์ในวรรคหนึ่งในส่วนที่เก่ียวกับสภำพปัญหำในชุมชนและสังคม
ภมู ิปญั ญำท้องถน่ิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพอ่ื เปน็ สมำชิกที่ดขี องครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชำติ
- ให้สถำนศึกษำร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เอกชน และองค์กรเอกชน องค์กรวิชำชีพ สถำนบันศำสนำ สถำนประกอบกำร และสถำบันสังคมอื่น ส่งเสริม
ควำมเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนกำรเรียนรู้ภำยในชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีกำรจัดกำรศึกษำอบรม
มีกำรแสวงหำควำมรู้ ข้อมูล ข่ำวสำร และรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญำและวิทยำกำรต่ำง ๆ เพื่อพัฒนำชุมชน
ให้สอดคล้องกับสภำพปัญหำและควำมต้องกำร รวมท้ังหำวิธีกำรสนับสนุนให้มีกำรแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์
กำรพฒั นำระหวำ่ งชุมชน
๕.๒ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)
วิสัยทศั น์
“ประเทศไทยมีควำมมนั่ คง มั่งค่ัง ยงั่ ยืน เปน็ ประเทศท่ีพัฒนำแลว้ ด้วยกำรพัฒนำหลกั ปรชั ญำของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง”
ยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย ๖ ยทุ ธศำสตร์ ไดแ้ ก่
๑. ยุทธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง
๑.๑ ประชำชนอยดู่ ี กินดี และมคี วำมสุข
๑.๒ บำ้ นเมืองมีควำมมน่ั คงในทุกมิติ และทุกระดบั
๑.๓ กองทัพ หน่วยงำนด้ำนควำมม่ันคง ภำครัฐ ภำคเอกชน และภำคประชำชน
มีควำมพรอ้ มในกำรปอ้ งกนั และกำรแก้ไขปัญหำควำมม่นั คง
๑.๔ ประเทศไทยมีบทบำทด้ำนควำมม่ันคง เป็นท่ีช่ืนชมและได้รับกำรยอมรับโดยประชำคม
ระหวำ่ งประเทศ
๑.๕ กำรบริหำรจัดกำรควำมม่นั คงมีผลสำเร็จทเี่ ป็นรปู ธรรมอยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพ
๒๑
๒. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
๒.๑ ประเทศไทยเปน็ ประเทศทพ่ี ัฒนำแลว้ เศรษฐกิจเตบิ โตอยำ่ งมเี สถียรภำพ
๒.๒ ประเทศไทยมีขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั สงู
๓. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
๓.๑ คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มคี ณุ ภำพ พร้อมสำหรบั วิถีชีวติ ในศตวรรษที่ ๒๑
๓.๒ สงั คมไทยมีสภำพแวดล้อมทเี่ อ้อื และสนบั สนนุ ตอ่ กำรพัฒนำคนตลอดชว่ งชวี ิต
๔. ยุทศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
๔.๑ สร้ำงควำมเปน็ ธรรม และลดควำมเหลื่อมล้ำในทุกมิติ
๔.๒ กระจำยศูนย์กลำงควำมเจริญทำงเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกำสทุกภำคส่วนเข้ำมำ
เป็นกำลงั ของกำรพัฒนำประเทศในทุกระดบั
๔.๓ เพิ่มขีดควำมสำมำรถของชุมชนท้องถ่ินในกำรพัฒนำ กำรพ่ึงตนเองและกำรจัดกำร
ตนเอง เพือ่ พัฒนำกำรศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
๕. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
๕.๑ อนุรักษ์และรักษำทรัพยำกรธรรมชำติ ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้คนรุ่นต่อไป
ได้ใช้อยำ่ งย่ังยืน มีสมดลุ
๕.๒ ฟ้ืนฟูและสร้ำงใหม่ฐำนทรัพยำกรธรรมชำติ เพื่อลดผลกระทบทำงลบจำกกำรพัฒนำ
สงั คมเศรษฐกจิ ของประเทศ
๕.๓ ใช้ประโยชน์และสร้ำงกำรเติบโตบนฐำนทรัพยำกรธรรมชำติ และสิ่งแวดล้อมให้สมดุล
ภำยในขีดควำมสำมำรถของระบบนิเทศ
๕.๔ ยกระดับกระบวนทัศน์ เพ่ือกำหนดอนำคตประเทศด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติสิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรม บนหลกั ของกำรมสี ่วนรว่ ม และธรรมำภิบำล
๖. ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริการจดั การภาครฐั
๖.๑ ภำครฐั มวี ัฒนธรรมกำรทำงำนท่มี ุง่ ผลสมั ฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองควำม
ต้องกำรของประชำชนได้อยำ่ งสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส
๖.๒ ภำครฐั มขี นำดทเี่ ล็กลง พรอ้ มปรับตวั ให้ทนั ตอ่ กำรเปล่ยี นแปลง
๖.๓ ภำครฐั มีควำมโปร่งใส ปลอดกำรทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ
๖.๔ กระบวนกำรยุติธรรม เปน็ ไปเพ่ือประโยชน์ตอ่ สว่ นรวมของประเทศ
๕.๓ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
วิสยั ทัศน์
คนไทยทกุ คนไดร้ ับกำรศึกษำ และเรียนรตู้ ลอดชีวิตอย่ำงมคี ุณภำพ ดำรงชวี ติ อยำ่ งเปน็ สขุ สอดคล้อง
กับหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง และกำรเปล่ยี นแปลงของศตวรรษท่ี ๒๑
๒๒
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การจัดการศึกษาเพอ่ื ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ
๑.๑ คนทกุ ช่วงวัยมคี วำมรกั ในสถำบนั หลกั ของชำติ และยึดมนั่ กำรปกครองระบอบประชำธปิ ไตย
อันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
๑.๒ คนทกุ ชว่ งวยั ในเขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกิจจังหวดั ชำยแดนภำคใต้ และพน้ื ท่ีพเิ ศษไดร้ ับกำรศึกษำ
และเรียนรอู้ ย่ำงมคี ุณภำพ
๑.๓ คนทกุ ชว่ งวยั ได้รบั กำรศึกษำ กำรดูแลป้องกันจำกภยั คุกคำมในชวี ติ รปู แบบใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขนั ของประเทศ
๒.๑ กำลังคนที่มีทักษะสำคัญจำเป็น และมีสมรรถนะตรงตำมควำมต้องกำรของตลำดแรงงำน
และพฒั นำเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ
๒.๒ สถำบันกำรศึกษำและหน่วยงำนที่จัดกำรศึกษำผลิตบัณฑิตท่ีมีควำมเช่ียวชำญ และเป็นเลิศ
เฉพำะดำ้ น
๒.๓ กำรวิจัยและพัฒนำเพ่ือสร้ำงองค์ควำมรู้ และนวัตกรรมที่สร้ำงผลผลิต และมูลค่ำเพ่ิม
ทำงเศรษฐกจิ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้
๓.๑ ผู้เรยี นมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐำนของสังคมไทย และทักษะคุณลักษณะที่จำเป็นในศตวรรษ
ท่ี ๒๑
๓.๒ คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ควำมรู้ ควำมสำมำรถ และสมรรถนะตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ
และมำตรฐำนวิชำชพี และพัฒนำคณุ ภำพชีวติ ไดต้ ำมศักยภำพ
๓.๓ สถำนศึกษำทกุ ระดับ สำมำรถจัดกจิ กรรม/ กระบวนกำรเรียนรตู้ ำมหลกั สูตรอย่ำงมีคุณภำพ และ
มำตรฐำน
๓.๔ แหล่งเรียนรู้ สอ่ื ตำรำเรยี น นวตั กรรม และสอ่ื กำรเรยี นรู้มคี ุณภำพและมำตรฐำน และประชำชน
สำมำรถเข้ำถึงไดโ้ ดยไมจ่ ำกดั เวลำและสถำนที่
๓.๕ ระบบและกลไกกำรวัด กำรตดิ ตำม และประเมนิ ผลมีประสทิ ธิภำพ
๓.๖ ระบบกำรผลติ ครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ได้มำตรฐำนระดับสำกล
๓.๗ ครู อำจำรย์ และบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ ได้รับกำรพัฒนำสมรรถนะตำมมำตรฐำน
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา
๔.๑ นักเรียนทุกคนไดร้ ับโอกำสและควำมเสมอภำคในกำรเข้ำถงึ กำรศึกษำที่มีคุณภำพ
๔.๒ กำรเพิ่มโอกำสทำงกำรศกึ ษำผำ่ นเทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือกำรศกึ ษำสำหรับคนทุกชว่ งวัย
๔.๓ ระบบข้อมูลรำยบุคคลและสำรสนเทศทำงกำรศึกษำท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน
เพ่ือกำรวำงแผนกำรบรหิ ำรกำรจัดกำรศึกษำ กำรติดตำมประเมิน และรำยงำนผล
๒๓
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ การจดั การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม
๕.๑ คนทกุ ช่วงวยั มีจติ สำนกึ รักษ์สง่ิ แวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคดิ ตำมหลกั ปรชั ญำ
ของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่กำรปฏบิ ัติ
๕.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือกำรเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภำพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
คุณธรรม จรยิ ธรรม และกำรนำแนวคิดตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ำรปฏบิ ัติ
๕.๓ กำรวิจัยเพื่อพัฒนำองค์ควำมรู้และนวัตกรรมด้ำนกำรสร้ำงเสริมคุณภำพชีวิตที่เป็นมิตร
กับส่ิงแวดล้อม
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา
๖.๑ โครงสร้ำง บทบำท และระบบกำรบริหำรจัดกำรศึกษำมีควำมคล่องตัวชัดเจน และสำมำรถ
ตรวจสอบได้
๖.๒ ระบบกำรบริหำรจัดกำรศึกษำมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล ส่งผลต่อคุณภำพและมำตรฐำน
กำรศึกษำ
๖.๓ ทุกภำคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในกำรจัดกำรศึกษำท่ีตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน
และพื้นท่ี
๖.๔ กฎหมำยและรูปแบบกำรบรหิ ำรจัดกำรทรัพยำกรทำงกำรศึกษำรองรับลักษณะที่แตกต่ำงกันของ
ผู้เรียน สถำนศึกษำ และควำมต้องกำรกำลังแรงงำนของประเทศ
๖.๕ ระบบบริหำรงำนบุคคลของครู อำจำรย์ และบุคลำกรทำงกำรศึกษำมีควำมเป็นธรรม สร้ำงขวัญ
กำลงั ใจ และส่งเสริมให้ปฏบิ ัตงิ ำนไดอ้ ย่ำงเตม็ ตำมศักยภำพ
๕.๔ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย
มำตรฐำนกำรศึกษำระดบั มจี ำนวน ๓ มำตรฐำน ได้แก่
มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของเดก็
มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร
มำตรฐำนที่ ๓ กำรจัดประสบกำรณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคัญ
แตล่ ะมำตรฐำนมีรำยละเอียดดงั น้ี
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก
๑.๑ เด็กมีพัฒนำกำรด้ำนรำ่ งกำย แข็งแรง มีสขุ นิสัยทด่ี ี และดแู ลควำมปลอดภัยของตนเองได้
๑.๒ เด็กมพี ัฒนำกำรดำ้ นอำรมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทำงอำรมณ์ได้
๑.๓ เด็กมีพฒั นำกำรดำ้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมำชิกทดี่ ขี องสังคม
๑.๔ เด็กมีพัฒนำกำรด้ำนสิติปัญญำ ส่ือสำรได้ มีทักษะกำรคิดพ้ืนฐำน และแสวงหำควำมรู้ได้
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ โรงเรียนมหี ลักสูตรครอบคลุมพัฒนำกำรท้ัง ๔ ดำ้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถิน่
๒.๒ โรงเรียนจัดครูใหเ้ พียงพอกับชัน้ เรียน
๒๔
๒.๓ โรงเรยี นสง่ เสริมใหค้ รมู ีควำมเชย่ี วชำญดำ้ นกำรจัดประสบกำรณ์
๒.๔ โรงเรียนจดั สภำพแวดล้อมและสอื่ เพอื่ กำรเรียนรู้ อย่ำงปลอดภัย และเพียงพอ
๒.๕ โรงเรียนให้บริกำรสื่อเทคโนโลยีสำรสนเทศและสื่อกำรเรียนรู้เพื่อสนับสนุนกำรจัดประสบกำรณ์
๒.๖ โรงเรยี นมีระบบบริหำรคุณภำพทีเ่ ปดิ โอกำสใหผ้ ้เู กีย่ วข้องทุกฝ่ำยมีสว่ นร่วม
มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคญั
๓.๑ ครจู ัดประสบกำรณท์ ี่ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีกำรพัฒนำกำรทกุ ดำ้ นอย่ำงสมดลุ เต็มศักยภำพ
๓.๒ ครูสร้ำงโอกำสให้เด็กได้รับประสบกำรณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอยำ่ งมคี วำมสุข
๓.๓ ครจู ัดบรรยำกำศท่เี ออื้ ต่อกำรเรียนรู้ใชส้ ่อื และเทคโนโลยที ี่เหมำะสมกับวัย
๓.๔ ครูประเมินพัฒนำกำรเด็กตำมสภำพจริงและนำผลประเมินพัฒนำกำรเด็กไปปรับปรุง กำรจัด
ประสบกำรณ์และพัฒนำเดก็
๕.๕ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
มำตรฐำนกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน ระดับปฐมวัยและ ระดับกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน มีจำนวน ๓ มำตรฐำน
ดังน้ี
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ ำงวชิ ำกำรของผเู้ รยี น
๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่ละมำตรฐำนมี
รำยละเอยี ดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทำงวชิ ำกำรของผูเ้ รียน
๑) นกั เรียนมคี วำมสำมำรถในกำรอ่ำน กำรเขยี น กำรส่ือสำร และกำรคิดคำนวณ
๒) นักเรียนมีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ อภิปรำยแลกเปลี่ยน
ควำมคิดเหน็ และแกป้ ญั หำ
๓) นักเรียนมคี วำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวตั กรรม
๔) นกั เรียนมคี วำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรส่อื สำร
๕) นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรียนตำมหลักสูตรสถำนศกึ ษำ
๖) นักเรยี นมีควำมรู้ ทกั ษะพนื้ ฐำน และเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ งำนอำชพี
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น
๑) นกั เรยี นมีคณุ ลกั ษณะและค่ำนยิ มที่ดีตำมเกณฑ์ทสี่ ถำนศึกษำกำหนด
๒) นักเรยี นมีควำมภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และควำมเป็นไทย
๓) นกั เรยี นมกี ำรยอมรับทีจ่ ะอยูร่ ่วมกันบนควำมแตกต่ำงและหลำกหลำย
๔) นกั เรยี นมีสุขภำวะทำงรำ่ งกำยและจติ สงั คม
๒๕
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑. โรงเรยี นมีเป้ำหมำยวิสยั ทศั น์ และพนั ธกิจท่สี ถำนศึกษำกำหนดชดั เจน
๒.๒ โรงเรยี นมรี ะบบบริหำรจดั กำรคุณภำพของสถำนศกึ ษำ
๒.๓ โรงเรียนมีกำรดำเนินงำนพัฒนำวิชำกำรที่เน้นคุณภำพผู้เรียนรอบด้ำนตำมหลักสูตรสถำนศึกษำ
และทกุ กล่มุ เป้ำหมำย
๒.๔ โรงเรียนสง่ เสริมและพฒั นำครูและบุคลำกรใหม้ ีควำมเช่ยี วชำญทำงวชิ ำชีพ
๒.๕ โรงเรยี นจัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมทเี่ อ้ือตอ่ กำรจัดกำรเรียนรู้อย่ำงมีคุณภำพ
๒.๖ โรงเรียนจัดระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรและกำรจัดกำรเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั
๓.๑ ครูสำมำรถจัดกำรเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดกระบวนกำรคิดและคิดสร้ำงสรรค์โดยกำรปฏิบัติจริง
และ สำมำรถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้
๓.๒ ครูสำมำรถใช้ส่ือเทคโนโลยีสำรสนเทศ และแหล่งเรียนรู้อย่ำงหลำกหลำยที่เอ้ือต่อกำรเรียนรู้
๓.๓ ครมู กี ำรบริหำรจัดกำรชั้นเรยี นเชิงบวก
๓.๔ ครมู ีกำรตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยำ่ งเปน็ ระบบและนำผลมำพัฒนำผ้เู รยี น
๓.๕ ครูมกี ำรแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นำและปรับปรงุ กำรจัดกำรเรียนรู้
๕.๖ นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
เพื่อใหก้ ำรดำเนินกำรจัดกำรศกึ ษำและกำรบริหำรจัดกำรกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ในปีงบ-
ประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีควำมสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ เป้ำหมำยของแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ
วัตถุประสงค์ของแผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ และนโยบำยของรัฐบำล โดยเฉพำะนโยบำยเร่งด่วน
เรื่องกำรเตรียมคนสู่ศตวรรษที่ ๒๑ อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๘ และมำตรำ ๑๒ แห่งพระรำชบัญญัติ
ระเบียบบริหำรรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำรจึงประกำศ
นโยบำยและจุดเนน้ ของกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ปีงบประมำณ ๒๕๖๓ ดังน้ี
หลกั การ
๑. ให้ควำมสำคัญกับประเด็นคุณภำพและประสิทธิภำพในทุกมิติ ท้ังผู้เรียน ครู และบุคลำกร
ทำงกำรศึกษำ ข้ำรำชกำรพลเรือน และผู้บริหำรทุกระดับ ตลอดจนสถำนศึกษำทุกระดับ ทุกประเภท และ
เปน็ กำรศกึ ษำตลอดชวี ิต
๒. บรู ณำกำรกำรทำงำนรว่ มกันระหวำ่ งสว่ นรำชกำรหลกั องค์กำรมหำชนในกำกับของรัฐมนตรีว่ำกำร
กระทรวงศึกษำธิกำรให้มีควำมคล่องตัว รวมทั้งหน่วยงำนสังกัดกระทรวงศึกษำธิกำรในพ้ืนท่ีภูมิภำค
ให้สำมำรถปฏิบัติงำนร่วมกนั ได้
ระดับปฐมวยั
เน้นสร้ำงควำมร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพ่ือออกแบบกิจกรรมกำรพัฒนำทักษะ
ท่ีสำคัญด้ำนต่ำง ๆ เช่น ทักษะทำงสมอง ทักษะควำมคิด ควำมจำ ทักษะกำรควบคุมอำรมณ์ ทักษะกำรรู้จัก
และประเมินตนเอง
๒๖
ระดับประถมศึกษา
มุ่งคำนงึ ถงึ พหปุ ัญญำขอผูเ้ รียนรำยบุคคลท่หี ลำกหลำยตำมศกั ยภำพ
๑. ปลกู ฝงั ควำมเป็นระเบียบวินัย ทัศนคตทิ ี่ถูกต้อง โดยใชก้ ระบวนกำรลูกเสือ และยุวกำชำด
๒. เรียนภำษำไทย เน้นเพื่อเป็นเคร่ืองมอื ในกำรเรียนรู้วชิ ำอ่ืน
๓. เรียนภำษำองั กฤษและภำษำถน่ิ (ภำษำแม่) เน้นเพื่อกำรส่ือสำร
๔. เรยี นรู้ด้วยวิธกี ำร Active Learning เพอ่ื พัฒนำกระบวนกำรคดิ กำรเรยี นรู้ จำกประสบกำรณ์จริง
หรือจำกสถำนกำรณจ์ ำลองผ่ำนกำรลงมือปฏบิ ัตแิ ละเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผเู้ รียนและครู
๕. สรำ้ งแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อกำรเรียนรู้ และใชด้ จิ ทิ ลั เปน็ เครือ่ งมือกำรเรยี นรู้
๖. จัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อฝึกทกั ษะกำรคิดแบบมเี หตผุ ลเป็นข้ันตอน (Coding)
๗. พัฒนำครูใหม้ ีควำมชำนำญในกำรสอนภำษำอังกฤษ และภำษำคอมพวิ เตอร์ (Coding)
๘. จัดให้มโี ครงกำร ๑ ตำบล ๑ โรงเรียนคุณภำพ โดยเนน้ ปรบั สภำพแวดล้อมทั้งภำยในและภำยนอก
บริเวณโรงเรยี นให้เอื้อตอ่ กำรสรำ้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสำธำรณะ
ระดับมธั ยม
มงุ่ ต่อยอดระดับประถมศึกษำ
๑. จัดกำรเรียนรู้ด้วยวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศำสตร์ ( STEM) และ
ภำษำต่ำงประเทศ (ภำษำท่ีสำม)
๒. จัดกำรเรียนรู้ท่ีหลำกหลำย เพื่อสร้ำงทักษะพื้นฐำนท่ีเช่ือมโยงสู่กำรสร้ำงอำชีพและกำรมีงำนทำ
เช่น ทักษะดำ้ นกฬี ำที่สำมำรถพฒั นำไปสู่นักกีฬำอำชพี ทักษะภำษำเพ่ือเป็นมัคคุเทศก์
ระดบั อาชีวศกึ ษา
มุ่งจดั กำรศกึ ษำเพ่ือกำรมีงำนทำและสร้ำงนวตั กรรมตำมควำมต้องกำรของพนื้ ที่ชุมชนภมู ิภำคหรือ
ประเทศ รวมท้ังกำรเป็นผปู้ ระกอบกำรเอง
๑. จัดกำรศึกษำในระบบวิภำคี ใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะและควำมเชยี่ วชำญเฉพำะด้ำน
๒. เรยี นภำษำองั กฤษ เพ่ือเพิ่มทกั ษะสำหรับใชใ้ นกำรประกอบอำชพี
๓. เรยี นร้ใู ชด้ ิจิทัล เพอื่ ใช้เปน็ เครือ่ งมือหำช่องทำงในกำรสร้ำงอำชีพ
๔. จดั ตั้งศูนย์ประสำนงำนกำรผลติ และพฒั นำกำลงั คนอำชีวศกึ ษำในภูมิภำค
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
มุ่งสร้ำงโอกำสให้ประชำชนผูเ้ รยี นทส่ี ำเร็จหลักสตู ร สำมำรถมีงำนทำ
๑. เรียนรกู้ ำรใชด้ จิ ทิ ัล เพื่อใช้เป็นเครือ่ งมือสำหรับหำช่องทำงในกำรสรำ้ งอำชีพ
๒. จดั ทำหลักสูตรพัฒนำอำชีพทเี่ หมำะสมสำหรบั ผู้ทเ่ี ข้ำสู่สงั คมสงู วยั
การขับเคลอื่ นสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
๑. ทุกหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงศึกษำธิกำร ต้องปรับปรุงแผนปฏิบัติรำชกำรให้สอดคล้อง
กบั นโยบำยรัฐบำล
๒. จัดทำฐำนขอ้ มูล (Big Data) ของกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ใหค้ รบถ้วน ถูกตอ้ ง ทันสมัย
๒๗
๓. ใช้เทคโนโลยีและดิจิทัลเป็นเครื่องมือในกำรปฏิบัติงำนท้ังระบบ เน้นกำรเรียนรู้และกำรบริหำร
จัดกำร
๔. ปรับปรุงโครงสร้ำงของกระทรวงศึกษำธิกำรให้เกิดควำมคล่องตัว หำกติดขัดในเร่ืองกฎหมำย
ให้ผบู้ รหิ ำรระดบั สงู ร่วมหำแนวทำงกำรแก้ไขรว่ มกนั
๕. ให้หน่วยงำนระดับกรมกำหนดแผนงำนสนับสนุนทรัพยำ กร งบประมำณอัตรำกำลัง
ตำมควำมต้องกำรจำเปน็ ให้แกห่ นว่ ยงำนในพืน้ ท่ภี มู ภิ ำค
๖. ใช้กลไกกองทุนเพื่อควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ มำบูรณำกำรดำเนินงำนร่วมกับหน่วย
จัดกำรศกึ ษำและวำงแผนกำรใชง้ บประมำณเปน็ รำยไตรมำส รวมท้ังใช้จ่ำยงบประมำณให้เป็นไปตำมกฎหมำย
ระเบยี บ ข้อบงั คับท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๘. ในระดับพื้นที่หำกเกิดปัญหำข้อติดขัดกำรปฏิบัติงำน ต้องศึกษำ ตรวจสอบข้อมูล/ข้อเท็จจริง
ที่เกิดขึ้น เช่น จำนวนเด็กในพ้ืนที่น้อยลง ซ่ึงจำเป็นต้องมีกำรควบรวมโรงเรียนให้พิจำรณำสื่อสำรอธิบำย
ควำมเข้ำใจทชี่ ัดเจนกบั ชุมชน
๙. วำงแผนกำรใช้อัตรำครู โดยเฉพำะครูระดับอนุบำล และครูระดับอำชีวศึกษำ ให้มีประสิทธิภำพ
และจัดทำแผนกำรประเมินครูอย่ำงเป็นระบบรวมทั้งจัดทำหลักสูตรกำรพัฒนำครูให้มี องค์ควำมรู้และทักษะ
ในด้ำนพหุปญั ญำของผูเ้ รยี น
๑๐. ให้ศึกษำธิกำรจังหวัดจัดทำแผนกำรจัดกำรศึกษำของแต่ละจังหวัด นำเสนอต่อคณะกรรมกำร
ศึกษำธิกำรจงั หวดั และขบั เคลอื่ นสกู่ ำรปฏบิ ัตอิ ย่ำงเป็นรปู ธรรม
๑๑. ให้ผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงศึกษำธิกำร และศึกษำธิกำรภำค มีบทบำทหน้ำที่ตรวจรำชกำร
ตดิ ตำม ประเมินผลในระดับนโยบำย และจัดทำรำยงำนเสนอต่อรฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
๕.๗ นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ได้กำหนดนโยบำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๓
โดยยึดหลักของกำรพัฒนำที่ยั่งยืน และกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศในอนำคต
เป็นแนวทำงในกำรจัดกำรศึกษำจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน และสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. ๒๕๖๑ –
๒๕๘๐ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนปฏิรูปประเทศ ด้ำนกำรศึกษำ
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนกำรศึกษำแห่งชำติ
พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ และม่งุ สู่ Thailand ๔.๐ ดงั น้ี
นโยบำยท่ี ๑ ดำ้ นกำรจดั กำรศกึ ษำเพือ่ ควำมมนั่ คงของมนษุ ย์และของชำติ
นโยบำยที่ ๒ ด้ำนกำรจัดกำรศึกษำเพือ่ เพิ่มควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั ของประเทศ
นโยบำยท่ี ๓ ดำ้ นกำรพัฒนำและเสรมิ สรำ้ งศกั ยภำพทรพั ยำกรมนุษย์
นโยบำยที่ ๔ ด้ำนกำรสร้ำงโอกำสในกำรเข้ำถึงบริกำรกำรศึกษำท่ีมีคุณภำพ มีมำตรฐำน และลด
ควำมเหล่ือมลำ้ ทำงกำรศึกษำ
นโยบำยท่ี ๕ ด้ำนกำรจดั กำรศึกษำเพ่ือพัฒนำคุณภำพชีวิตท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
นโยบำยที่ ๖ ด้ำนกำรปรบั สมดลุ และพฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำ
๒๘
นโยบายที่ ๑ ด้านการจดั การศึกษาเพอื่ ความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
นโยบำยดำ้ นกำรจัดกำรศกึ ษำเพือ่ ควำมมน่ั คงของมนษุ ยแ์ ละของชำตเิ ป็นกำรจดั กำรศึกษำ เพื่อมุ่งเน้น
กำรพัฒนำผู้เรียนทุกคน ให้มีควำมรักในสถำบันหลักของชำติยึดม่ันในกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย
อันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้ำนเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชำติ
และพลเมืองโลกท่ีดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณธรรม มีอัตลักษณ์ มีจิตสำธำรณะ มีจิตอำสำ รับผิดชอบ
ต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชำติซ่ือสัตย์สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มีวินัย และรักษำ
ศีลธรรม เป็นผู้เรียนท่ีมีควำมพร้อมสำมำรถรับมือกับภัยคุกคำมรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบท่ีมีผลกระทบ
ต่อควำมมั่นคง เช่น ภัยจำกยำเสพติด ควำมรุนแรง กำรคุกคำมในชีวิต และทรัพย์สิน กำรค้ำมนุษย์
อำชญำกรรมไซเบอร์และภัยพิบัติต่ำง ๆ เป็นต้น ควบคู่ไปกับกำรป้องกัน และแก้ไขปัญหำท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน
และท่ีอำจจะเกิดขึ้นในอนำคต และเน้นกำรจัดกำรศึกษำให้เหมำะสม สอดคล้องกับบริบทของพื้นฐำน
สภำพทำงภูมิศำสตร์ด้ำนเศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งมีควำมแตกต่ำง ทำงด้ำนสังคม วัฒนธรรม เชื้อชำติ เช่น
กำรจัดกำรศึกษำเขตพัฒนำพิเศษเฉพำะกิจจังหวัดชำยแดนภำคใต้ กำรจัดกำรศึกษำในเขตพ้ืนที่เฉพำะ
กลุ่มชำติพันธ์ุกลุ่มผู้ด้อยโอกำส และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีห่ำงไกล ทุรกันดำร พื้นท่ีสูง ชำยแดน ชำยฝั่งทะเล และ
เกำะแก่ง เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกำสได้รับกำรพัฒนำ สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี ได้รับกำรบริกำร
ดำ้ นกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำนที่มีคณุ ภำพ และเหมำะสมตรงตำมควำมต้องกำร เปน็ ต้น
เป้าประสงค์
๑. ผู้เรียนทุกคนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงควำมรักในสถำบันหลักของชำติ ยึดม่ันกำรปกครอง
ระบอบประชำธปิ ไตยอนั มีพระมหำกษัตริยท์ รงเป็นประมุข
๒. ผู้เรียนทุกคนมีทัศนคติที่ดีต่อบ้ำนเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชำติ มีคุณธรรม
จริยธรรม มีค่ำนิยมท่ีพึงประสงค์ มีจิตสำธำรณะ มีจิตอำสำ รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อ่ืน และสังคมโดยรวม
ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี มวี นิ ยั และรกั ษำศีลธรรม
๓. ผู้เรียนทุกคนมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และมีควำมพร้อมสำมำรถรับมือกับภัยคุกคำม ทุกรูปแบบ
ที่มีผลกระทบต่อควำมมั่นคง เช่น ภัยจำกยำเสพติด ควำมรุนแรง กำรคุกคำมในชีวิตและทรัพย์สิน กำรค้ำ
มนุษย์ อำชญำกรรมไซเบอรแ์ ละภยั พบิ ัตติ ่ำง ๆ เป็นต้น
๔. ผู้เรียนในเขตพื้นท่ีเขตพัฒนำพิเศษเฉพำะกิจจังหวัดชำยแดนภำคใต้ได้รับโอกำส และกำรพัฒนำ
อย่ำงเต็มศักยภำพ และมคี ุณภำพสอดคล้องกบั บริบทของพืน้ ที่
๕. ผู้เรยี นในเขตพนื้ ที่เฉพำะ กลุม่ ชำติพนั ธุ์ กลุ่มผดู้ อ้ ยโอกำส และกลมุ่ ทอ่ี ยูใ่ นพืน้ ท่ี ห่ำงไกลทุรกันดำร
เช่น พื้นท่ีสูง ชำยแดน ชำยฝั่งทะเล และเกำะแก่ง เป็นต้น ได้รับกำรบริกำร ด้ำนกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน
ที่มีคณุ ภำพ และเหมำะสมตรงตำมควำมต้องกำร
ตัวชวี้ ัด
๑. รอ้ ยละของผู้เรียนทมี่ ีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงควำมรักในสถำบันหลักของชำติ ยึดมั่นกำรปกครอง
ระบอบประชำธิปไตยอนั มพี ระมหำกษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
๒๙
๒. ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงกำรมีทัศนคติท่ีดีต่อบ้ำนเมือง มีหลักคิดท่ีถูกต้อง
เป็นพลเมืองดีของชำติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่ำนิยมที่พึงประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์ มีจิตสำธำรณะ
มีจิตอำสำ รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อ่ืน และสังคมโดยรวม ซื่อสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอำรี
มวี ินัย และรกั ษำศีลธรรม
๓. ร้อยละของผู้เรยี นมคี วำมรู้ ควำมเข้ำใจ และมีควำมพร้อมสำมำรถรับมือ กับภัยคุกคำมทุกรูปแบบ
ท่ีมีผลกระทบต่อควำมมั่นคง เช่น ภัยจำกยำเสพติด ควำมรุนแรง กำรคุกคำม ในชีวิตและทรัพย์สิน กำรค้ำ-
มนุษย์ อำชญำกรรมไซเบอร์ และภัยพิบตั ติ ำ่ ง ๆ เปน็ ต้น
๔. รอ้ ยละของผเู้ รียนในเขตพัฒนำพเิ ศษเฉพำะกิจจังหวัดชำยแดนภำคใต้ได้รับโอกำส และกำรพัฒนำ
อยำ่ งเต็มศกั ยภำพ และมีคณุ ภำพสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพ้นื ที่
๕. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพ้ืนที่เฉพำะกลุ่มชำติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกำส และกลุ่มที่อยู่ ในพ้ืนที่
ห่ำงไกลทุรกันดำร เช่น พ้ืนท่ีสูง ชำยแดน ชำยฝั่งทะเล และเกำะแก่ง ได้รับกำรบริกำรด้ำนกำรศึกษำ
ขน้ั พืน้ ฐำนทมี่ ีคณุ ภำพ และเหมำะสมตรงตำมควำมต้องกำร สอดคล้องกับบริบทของพ้นื ท่ี
๖. จำนวนสถำนศึกษำท่ีน้อมนำพระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศึกษำของพระบำทสมเด็จ พระปรเมนทร-
รำมำธิบดีศรีสินทร มหำวชิรำลงกรณฯ พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว และหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปพัฒนำผ้เู รยี นให้มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ตำมท่ีกำหนดไดอ้ ย่ำงมีประสิทธภิ ำพ
๗. จำนวนสถำนศึกษำที่จัดบรรยำกำศสิ่งแวดล้อม และจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ ให้ผู้เรียน
แสดงออกถึงควำมรักในสถำบันหลักของชำติ ยึดมั่นกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย อันมีพระมหำกษัตริย์
ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติทีด่ ตี อ่ บำ้ นเมอื ง มหี ลกั คิดทถี่ กู ต้อง เปน็ พลเมอื งดี ของชำติ มคี ุณธรรม จริยธรรม
นโยบายท่ี ๒ ด้านการจัดการศกึ ษาเพือ่ เพม่ิ ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ให้ควำมสำคัญกับศักยภำพ และคุณภำพ
ของทรัพยำกรมนุษย์เป็นสำคัญ เนื่องจำก “ทรัพยำกรมนุษย์เป็นปัจจัยขับเคล่ือนสำคัญ ในกำรยกระดับ
กำรพัฒนำประเทศในทุกมิติไปสู่เป้ำหมำยกำรเป็นประเทศท่ีพัฒนำแล้ว มีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
กับนำนำประเทศ” ดังน้ัน กำรพัฒนำศักยภำพและคุณภำพผู้เรียน ให้มีควำมเป็นเลิศทำงวิชำกำร
จึงมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งท่ีจะต้องดำเนินกำรให้สอดคล้องกัน โดยเน้นปรับเปล่ียนกระบวนกำรจัดกำรเรียน
กำรสอนของสถำนศึกษำท่ีจัดกำรศึกษำระดับมัธยมศึกษำ ให้เป็นสถำนศึกษำท่ีจัดกำรเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
เชิงสมรรถนะรำยบุคคล ตำมควำมสนใจ และควำมถนัด อย่ำงเต็มศักยภำพ มีควำมเป็นเลิศทำงด้ำนวิชำกำร
มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีควำมเป็นเลิศ ด้ำนทักษะสื่อสำรภำษำไทย ภำษำอังกฤษ และภำษำที่ ๓
มีทักษะควำมรู้ด้ำนดิจิทัล (Digital Literacy) เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในกำรเรียนรู้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ มีนิสัย
รกั กำรเรยี นรแู้ ละกำรพัฒนำตนเองอยำ่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต สู่กำรเป็นคนไทยท่ีมีทกั ษะวิชำชพี ช้ันสูง เป็นนักคิด
เป็นผู้สร้ำงนวัตกรรม และเป็นนวัตกร เป็นผู้ประกอบกำร เป็นเกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ สอดคล้องกับ
ควำมต้องกำรของประเทศ มีควำมยืดหยุ่นทำงด้ำนควำมคิด สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อ่ืนได้ภำยใต้สังคม
ท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม และมีควำมสำมำรถในกำรจัดกำรสุขภำวะของตนเองให้มีสุขภำวะที่ดี สำมำรถดำรงชีวิต
อย่ำงมีควำมสขุ ทัง้ ด้ำนร่ำงกำยและจติ ใจ
๓๐
เปา้ ประสงค์
๑. ผเู้ รยี นทกุ ระดบั ให้มีควำมเป็นเลิศ มีทกั ษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑
๒. ผ้เู รียนมคี วำมเปน็ เลศิ ตำมควำมถนัดและควำมสนใจ นำไปสู่กำรพัฒนำ ทักษะ วิชำชีพ เป็นนักคิด
เปน็ ผสู้ รำ้ งนวตั กรรม เปน็ นวัตกร
๓. ผูเ้ รยี นไดร้ บั โอกำสเข้ำส่เู วทีกำรแขง่ ขนั ระดบั นำนำชำติ
ตัวชวี้ ดั
๑. จำนวนผู้เรียนมีควำมเป็นเลิศทำงด้ำนวิชำกำร มีทักษะควำมรู้ท่ีสอดคล้องกับทักษะ ที่จำเป็น
ในศตวรรษท่ี ๒๑
๒. ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษำผ่ำนกำรประเมินสมรรถนะที่จำเป็นด้ำนกำรรู้เรื่องกำรอ่ำน (Reading
Literacy) ด้ำนกำรรู้เร่ืองคณิตศำสตร์ (Mathematical Literacy) และด้ำนกำรรู้เร่ือง วิทยำศำสตร์
(Scientific Literacy) ตำมแนวทำงกำรประเมิน PISA ๓. ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีศักยภำพได้รับโอกำสเข้ำสู่เวที
กำรแขง่ ขันระดบั นำนำชำติ
นโยบายท่ี ๓ ด้านการพฒั นาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย์
นโยบำยด้ำนกำรพัฒนำและสร้ำงเสริมศักยภำพของทรัพยำกรมนุษย์ มุ่งเน้นกำรพัฒนำ ทรัพยำกร
มนุษย์เริ่มต้ังแต่ประชำกรวัยเรียนทุกช่วงวัย ตลอดจนกำรพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ พัฒนำ
ประชำกรวยั เรียนทุกคน ทุกช่วงวัย ต้ังแต่ช่วงปฐมวัย ประถมศึกษำ และมัธยมศึกษำ ผู้เรียนที่มีควำมต้องกำร
ดูแลเป็นพิเศษ ให้มีควำมพร้อมท้ังทำงด้ำนร่ำงกำย จิตใจ อำรมณ์สังคม และสติปัญญำ มีศักยภำพ มีทักษะ
ควำมรู้เป็นคนดีมีวินัย เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีควำมสำมำรถในกำรวำงแผนชีวิตและกำรวำงแผนทำงกำรเงิน
ที่เหมำะสม สำมำรถดำรงชีวิต อย่ำงมีคุณค่ำ โดยกำรพัฒนำระบบกำรเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลง
ในศตวรรษที่ ๒๑ มกี ำรออกแบบระบบกำรเรยี นรู้ใหม่ พัฒนำระบบกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้เรียนสำมำรถกำกับ
กำรเรียนรู้ ที่เหมำะสมกับตนเองได้อย่ำงต่อเน่ืองแม้จะออกจำกระบบกำรศึกษำแล้ว รวมถึงควำมตระหนักถึง
พหุปัญญำของมนุษย์ท่ีหลำกหลำย และกำรพัฒนำและรักษำกลุ่มผู้มีควำมสำมำรถพิเศษของพหุปัญญำ
แต่ละประเภท เสริมสร้ำงให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัย มีควำมรักในสุขภำพและพลำนำมัย และพัฒนำทักษะ
ด้ำนกีฬำสู่ควำมเป็นเลิศ และกีฬำเพื่อกำรอำชีพ ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ เป็นผู้ที่มีบทบำทสำคัญ
ในกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ ให้คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภำพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑
ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ ต้องตระหนกั ถึงควำมสำคัญในอำชีพและหน้ำที่ของตน โดยครูต้องมีจิตวิญญำณ
ของควำมเป็นครู มีควำมรู้ควำมสำมำรถอย่ำงแท้จริง และเป็นต้นแบบด้ำนคุณธรรมและจริยธรรม
พฒั นำตนเองทำงวชิ ำชพี อย่ำงตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ประโยชนใ์ นกำรพัฒนำผู้เรียน เปล่ียนโฉมบทบำท “ครู” ให้เป็นครู
ยุคใหม่ โดยปรับบทบำทจำก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” หรือ ผู้อำนวยกำรกำรเรียนรู้ทำหน้ำท่ีกระตุ้น
สร้ำงแรงบนั ดำลใจ แนะนำวธิ ีเรยี นรแู้ ละวธิ ีจดั ระเบยี บกำรสรำ้ งควำมรู้ ออกแบบกิจกรรม และสร้ำงนวัตกรรม
กำรเรยี นรู้ใหผ้ ้เู รยี น และมีบทบำทเป็นนกั วจิ ัยพัฒนำกระบวนกำรเรยี นรเู้ พือ่ ผลสัมฤทธิข์ องผู้เรียน
๓๑
เปา้ ประสงค์
๑. หลักสตู รปฐมวยั และหลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน มีกำรพัฒนำท่ีสอดคล้องกับแนวโน้ม
กำรพฒั นำของประเทศ
๒. ผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำตำมจุดมุ่งหมำยของหลักสูตร และมีทักษะควำมสำมำรถท่ีสอดคล้อง
กับทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีควำมยืดหยุ่นทำงด้ำนควำมคิด สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อ่ืนได้
ภำยใต้สงั คมที่เป็นพหวุ ฒั นธรรม รวมถึงกำรวำงพ้ืนฐำนกำรเรยี นรู้เพอ่ื กำรวำงแผนชีวติ ที่เหมำะสมในแต่ละช่วง
วัยและนำไปปฏิบัติได้
๓. ผูเ้ รยี นได้รบั กำรพฒั นำใหม้ คี วำมรแู้ ละทักษะนำไปสูก่ ำรพฒั นำนวัตกรรม
๔. ผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำเต็มตำมศักยภำพ เช่ือมโยงสู่อำชีพและกำรมีงำนทำ มีทักษะอำชีพ
ที่สอดคล้องกับควำมตอ้ งกำรของประเทศ
๕. ผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำให้มีศักยภำพในกำรจัดกำรสุขภำวะของตนเองให้มีสุขภำวะท่ีดี สำมำรถ
ดำรงชวี ิตอย่ำงมีควำมสขุ ทง้ั ดำ้ นรำ่ งกำยและจิตใจ
๖. ครู เปลี่ยนบทบำทจำก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” ผู้ให้คำปรึกษำข้อเสนอแนะ กำรเรียนรู้ หรือ
ผู้อำนวยกำรกำรเรียนรู้
๗. ครู มีควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน และเป็นแบบอย่ำง ด้ำนคุณธรรม และ
จรยิ ธรรม
ตวั ชี้วดั
๑. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสำคญั ตำมหลักสูตร มที กั ษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ (3R8C)
๒. ร้อยละของผู้เรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๓ ท่ีมีคะแนนผลกำรทดสอบควำมสำมำรถพ้ืนฐำน
ระดบั ชำติ (NT) ผำ่ นเกณฑท์ ่กี ำหนด
๓. รอ้ ยละของผู้เรยี นที่มีคะแนนผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้ันพื้นฐำน (O-NET) มำกกว่ำ
รอ้ ยละ ๕๐ ในแต่ละวิชำเพมิ่ ข้ึนจำกปกี ำรศึกษำที่ผ่ำนมำ
๔. ร้อยละผู้เรียนที่จบกำรศึกษำช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๖ ช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี ๓ ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี ๖
มีทักษะกำรเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงสู่อำชีพและกำรมีงำนทำ ตำมควำมถนัด และควำมต้องกำรของตนเอง มีทักษะ
อำชีพท่ีสอดคล้องกับควำมต้องกำรของประเทศ วำงแผนชีวิต และวำงแผนทำงกำรเงินท่ีเหมำะสมและนำไป
ปฏิบตั ไิ ด้
๕. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะพื้นฐำนในกำรดำรงชีวิต สำมำรถดำรงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่ำงมีควำมสุข
มีควำมยืดหยุ่นทำงด้ำนควำมคิด สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อน่ื ได้ ภำยใตส้ ังคมท่เี ปน็ พหุวฒั นธรรม
๖. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภำพในกำรจัดกำรสุขภำวะของตนเองให้มีสุขภำวะที่ดี สำมำรถดำรงชีวิต
อยำ่ งมคี วำมสขุ ทง้ั ด้ำนร่ำงกำยและจิตใจ
๗. ครู มกี ำรเปลยี่ นบทบำทจำก “ครูผู้สอน” เป็น “ Coach” ผู้ให้คำปรึกษำ ข้อเสนอแนะกำรเรียนรู้
หรือผู้อำนวยกำรกำรเรยี นรู้
๓๒
นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน และ
การลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา
นโยบำยกำรสร้ำงโอกำสในกำรเข้ำถึงบริกำรกำรศึกษำท่ีมีคุณภำพและมีมำตรฐำน และกำรลด
ควำมเหล่ือมล้ำทำงกำรศึกษำ เน้นกำรสร้ำงโอกำสให้เด็กวัยเรียน และผู้เรียนทุกคน เข้ำถึงบริกำรกำรศึกษำ
ท่ีมีคุณภำพ ที่เป็นมำตรฐำนเสมอกัน ไม่ว่ำผู้เรียนจะยำก ดี มี จน จะอยู่ในพ้ืนที่ใด ของประเทศ อยู่ในชุมชน
เมือง พ้ืนท่ีห่ำงไกลทุรกันดำร หรือกลุ่มเป้ำหมำยที่ต้องกำรกำรดูแลเป็นพิเศษ เพ่ือลดควำมเหล่ือมล้ำ
ทำงกำรศึกษำของประเทศ โดยสนับสนนุ ใหส้ ถำนศึกษำจัดกำรศกึ ษำ เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยโลกเพ่ือกำรพัฒนำ
อย่ำงยั่งยืน ( Global Goals for Sustainable Development) สร้ำงกลไกควำมร่วมมือของภำคส่วนต่ำง ๆ
ในทุกระดับตั้งแต่ระดับองค์กรปกครองท้องถิ่นหรือตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด ระดับภูมิภำค และ
ส่วนกลำง สร้ำงมำตรฐำนสถำนศึกษำตำมบริบทของพื้นท่ี จัดสรรงบประมำณแผ่นดินเพื่อสนับสนุนให้เด็กวัย
เรียนทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถมศึกษำ และมัธยมศึกษำอย่ำงเพียงพอ และเหมำะสม สอดคล้องกับ
สภำพข้อเท็จจริง โดยคำนึงถึงควำมจำเป็น ตำมสภำพพื้นท่ีภูมิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และท่ีต้ัง
ของสถำนศึกษำ จัดหำทุนกำรศึกษำเพิ่มเติม เพ่ือช่วยเหลือผู้ขำดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดควำมเหล่ือมล้ำ
ทำงกำรศึกษำ จัดสรรงบประมำณ และทรัพยำกรทำงกำรศึกษำอื่นเป็นพิเศษให้เหมำะสม สอดคล้องกับ
ควำมตอ้ งกำรจำเป็นในกำรจัดกำรศึกษำ สำหรับผู้เรียนที่มีควำมต้องกำรจำเป็นพิเศษ และจัดสรรงบประมำณ
เป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินกำร และงบลงทุนให้สถำนศึกษำตำมควำมจำเป็น ตลอดจนนำเทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) มำใช้เป็นเครื่องมือในกำรเรียนรู้ของผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนสำมำรถใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในกำรพัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมถึงพัฒนำระบบกำรติดตำม สนับสนุนและประเมินผล
เพอ่ื สรำ้ งหลกั ประกัน สทิ ธกิ ำรไดร้ ับกำรศึกษำทีม่ คี ณุ ภำพของประชำชน
เป้าประสงค์
๑. สถำนศกึ ษำจัดกำรศึกษำเพ่ือให้บรรลุเป้ำหมำยโลกเพ่ือกำรพัฒนำอย่ำงย่ังยืน (Global Goals for
Sustainable Development)
๒. สถำนศึกษำกับองค์กรปกครองท้องถิ่น ภำคเอกชน และหน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้อง ในระดับพ้ืนท่ี
รว่ มมอื ในกำรจดั กำรศึกษำ
๓. สถำนศึกษำมีคณุ ภำพ และมมี ำตรฐำนตำมบริบทของพื้นท่ี
๔. งบประมำณ และทรพั ยำกรทำงกำรศึกษำมเี พียงพอ และเหมำะสม สอดคล้องกับสภำพข้อเท็จจริง
โดยคำนึงถึงควำมจำเป็นตำมสภำพพื้นที่ภูมิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และที่ตั้งของ สถำนศึกษำ
๕. งบประมำณเพื่อเป็นค่ำใช้จ่ำย และงบลงทุนแก่สถำนศึกษำอย่ำงเหมำะสมเพ่ือให้สถำนศึกษำ
บรหิ ำรงำนจัดกำรศกึ ษำอยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพ
๖. นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มำเป็นเคร่ืองมือให้ผู้เรียนได้มีโอกำส เข้ำถึงบริกำร
ด้ำนกำรศกึ ษำได้อยำ่ งมีประสิทธภิ ำพ
๓๓
๗. พัฒนำระบบกำรติดตำม สนับสนุนและประเมินผลเพื่อสร้ำงหลักประกันสิทธิ กำรได้รับกำรศึกษำ
ที่มีคณุ ภำพของประชำชน
ตัวชว้ี ดั
๑. ผเู้ รยี นทุกคนสำมำรถเขำ้ เรยี นในสถำนศกึ ษำท่ีมคี ุณภำพเปน็ มำตรฐำนเสมอกัน
๒. ผู้เรียนทุกคนได้รับจัดสรรงบประมำณอุดหนุน อย่ำงเพียงพอ และเหมำะสม สอดคล้องกับ
สภำพข้อเท็จจริง โดยคำนึงถึงควำมจำเป็นตำมสภำพพ้ืนท่ีภูมิศำสตร์ สภำพทำงเศรษฐกิจ และท่ีต้ัง
ของสถำนศึกษำ และควำมต้องกำรจำเปน็ พิเศษสำหรับผพู้ ิกำร
๓. ผ้เู รยี นไดร้ บั กำรสนบั สนุน วสั ดุ อุปกรณ์ และอปุ กรณด์ จิ ทิ ัล (Digital Device) เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในกำรเรยี นรอู้ ย่ำงเหมำะสม เพียงพอ
๔. ครูได้รับกำรสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือ
ในกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ให้แก่ผเู้ รยี น
๕. สถำนศึกษำได้รับกำรพัฒนำให้มีมำตรฐำนอย่ำงเหมำะสมตำมบริบท ด้ำนประเภท ขนำด และ
พ้นื ท่ี
๖. สถำนศึกษำนำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มำใช้เป็นเคร่ืองมือในกำร จัดกิจกรรม
กำรเรียนรใู้ ห้แก่ผ้เู รียนไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพ
๗. สถำนศึกษำมีระบบกำรดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและกำรแนะแนวท่ีมีประสิทธิภำพ
๘. สถำนศึกษำที่มรี ะบบฐำนขอ้ มลู ประชำกรวยั เรยี นและสำมำรถนำมำใช้ในกำร วำงแผนจัดกำรเรียน
รใู้ ห้แกผ่ เู้ รียนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
นโยบายที่ ๕ ด้านการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม
ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคุณภำพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ได้น้อมนำศำสตร์
ของพระรำชำสู่กำรพัฒนำท่ียั่งยืน โดยยึดหลัก ๓ ประกำรคือ “มีควำมพอประมำณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน”
มำเป็นหลักในกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติควบคู่กับกำรนำเป้ำหมำยของกำรพัฒนำท่ีย่ังยืน ท้ัง ๑๗ เป้ำหมำย
มำเป็นกรอบแนวคิดที่จะผลักดันดำเนินกำรเพื่อนำไปสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ย่ังยืนในทุกมิติทั้งมิติ
ด้ำนสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมำภิบำล และควำมเป็นหุ้นส่วนควำมร่วมมือ ระหว่ำงกันทั้งภำยใน
และภำยนอกประเทศอย่ำงบูรณำกำร โดยมีวิสัยทัศน์เพ่ือให้ประเทศไทย “เป็นประเทศพัฒนำแล้วมีคุณภำพ
ชีวิตและส่ิงแวดล้อมที่ดีที่สุดในอำเซียนภำยในปี พ.ศ. ๒๕๘๐” ดังน้ัน นโยบำยด้ำนกำรจัดกำรศึกษำ
ข้ันพ้ืนฐำนเพ่ือรองรับวิสัยทัศน์ดังกล่ำว จึงได้น้อมนำ ศำสตร์พระรำชำ หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง และ
เป้ำหมำยของกำรพัฒนำที่ย่ังยืนทั้ง ๑๗ เป้ำหมำย มำเป็นหลักในกำรปรับปรุงหลักสูตร กำรจัดกิจกรรม
กำรเรียนรู้และกำรจัดสภำพแวดล้อมของสถำนศึกษำ ให้สอดคล้องกับหลักกำรดังกล่ำว บนพื้นฐำนควำมเช่ือ
ในกำรเติบโตร่วมกัน ไม่ว่ำจะเป็นทำงเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภำพชีวิต โดยให้ควำมสำคัญ
กับกำรสร้ำงสมดุลท้ัง ๓ ด้ำน ไม่ให้มำกหรือน้อยจนเกินไป อันจะนำไปสู่ควำมยั่งยืนเพื่อคนรุ่นต่อไป
อยำ่ งแทจ้ รงิ
๓๔
เปา้ ประสงค์
๑. สถำนศึกษำ นักเรียนได้รับกำรส่งเสริมด้ำนควำมรู้ กำรสร้ำงจิตสำนึกด้ำนกำรผลิต และบริโภค
ทเ่ี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม
๒. สถำนศึกษำสำมำรถนำเทคโนโลยีมำจัดทำระบบสำรสนเทศกำรเก็บข้อมูล ด้ำนควำมรู้ เรื่อง
ฉลำกสีเขยี วเพ่ือสิ่งแวดล้อม ฯลฯ และสำมำรถนำมำประยุกตใ์ ชใ้ นทกุ โรงเรียน ตำมแนวทำง Thailand ๔.๐
๓. สถำนศึกษำมกี ำรจดั ทำนโยบำยจัดซอื้ จัดจำ้ งที่เปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
๔. สถำนศึกษำมีกำรบูรณำกำรหลักสูตร กิจกรรมเรื่องวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ กำรผลิตและบริโภค
สกู่ ำรลดปริมำณคำร์บอนในโรงเรียนคำร์บอนต่ำสูช่ ุมชนคำร์บอนตำ่
๕. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน และสำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำ โรงเรียน
ทุกโรงเรียนในสังกัดมีกำรปรับปรุงและพัฒนำเป็นหน่วยงำนต้นแบบสำนักงำนสีเขียว (GREEN OFFICE)
เพอ่ื ใหม้ ีบรบิ ทที่เปน็ แบบอย่ำงเอ้ือหรือสนบั สนุนกำรเรยี นรขู้ องนักเรียนและชุมชน
๖. สถำนศึกษำในสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน จำก ๒๒๕ เขต มีนโยบำยส่งเสริม
ควำมร้แู ละสร้ำงจิตสำนึกและจัดกำรเรยี นรู้กำรผลิตและบริโภคทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม
๗. สถำนศึกษำต้นแบบนำขยะมำใชป้ ระโยชน์เพือ่ ลดปรมิ ำณขยะ จำนวน ๑๕,๐๐๐ โรงเรียน
๘. มีสถำนศึกษำนวัตกรรมต้นแบบในกำรนำ 3RS มำประยุกต์ใช้ในกำรผลิต และบริโภคท่ีเป็นมิตร
กบั ส่ิงแวดล้อม จำนวน ๖,๐๐๐ โรงเรียน
๙. สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ ๒๒๕ เขต มีกำรทำนโยบำยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงที่เป็นมิตร
กบั สิง่ แวดล้อม
ตวั ช้ีวดั
๑. สถำนศึกษำในสังกัดมีนโยบำยและจัดกิจกรรมให้ควำมรู้ที่ถูกต้องและสร้ำงจิตสำนึกด้ำนกำรผลิต
และบริโภคท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมนำไปปฏิบัติใช้ที่บ้ำนและชุมชน เช่น กำรส่งเสริมอำชีพท่ีเป็นมิตร
กับสิ่งแวดลอ้ ม กำรลดใชส้ ำรเคมจี ำกปุย๋ และยำฆ่ำแมลง ฯลฯ
๒. สถำนศึกษำมีกำรนำขยะมำใช้ประโยชน์ในรูปผลิตภัณฑ์และพลังงำนเพ่ือลดปริมำณขยะ และ
มีสง่ เสริมกำรคดั แยกขยะในชมุ ชนเพอ่ื ลดปรมิ ำณคำรบ์ อนท่ีโรงเรยี นและชมุ ชน
๓. สถำนศึกษำมีกำรบูรณำกำรเร่ืองกำรจัดกำรขยะแบบมีส่วนร่วมและกำรนำขยะ มำใช้ประโยชน์
รวมท้งั สอดแทรกในสำระกำรเรยี นรูท้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง
๔. นักเรียนเรียนรู้จำกแหล่งเรียนรู้ มีกำรขยำยผลแหล่งเรียนรู้ นักเรียน โรงเรียน ชุมชน เรียนรู้
ด้ำนกำรลดใช้พลังงำน กำรจัดกำรขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และตัวอย่ำงรูปแบบ
ผลติ ภณั ฑท์ ี่เปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม เชน่ โรงงำนอตุ สำหกรรมสีเขยี ว ฯลฯ
๕. นักเรยี น สถำนศกึ ษำมีกำรเก็บขอ้ มลู เปรยี บเทียบกำรลดปริมำณคำรบ์ อนไดออกไซต์ ในกำรดำเนิน
กิจกรรมประจำวันในสถำนศึกษำและท่ีบ้ำน และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบ QR CODE และ
Paper less
๓๕
๖. ครู มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ สำมำรถพัฒนำส่ือ นวัตกรรม และดำเนินกำรจัดทำ งำนวิจัย
ดำ้ นกำรสรำ้ งสำนกึ ด้ำนกำรผลิตและบรโิ ภคทเ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มได้
๗. ครู และนักเรียนสำมำรถนำส่ือนวัตกรรมท่ีผ่ำนกระบวนกำรคิดมำประยุกต์ใช้ในโรงเรียน
กำรจัดกำรเรียนรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและชุมชนได้ตำมแนวทำง Thailand ๔.๐
๘. สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ สถำนศึกษำมีกำรปรับปรุงและพัฒนำบุคลำกร และสถำนท่ี
ให้เป็นสำนักงำนสีเขียวต้นแบบมีนโยบำยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมท่ีเอื้อต่อกำรเรียนรู้
ของนักเรียนและชมุ ชน
นโยบายท่ี ๖ ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
นโยบำยด้ำนกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบบริหำรจัดกำรศึกษำ เป็นนโยบำยจุดเน้นที่สำคัญ
เนอื่ งจำกเป็นนโยบำยที่กระจำยอำนำจกำรจดั กำรศึกษำใหส้ ถำนศกึ ษำ หรือกลุ่มสถำนศึกษำ มีควำมเป็นอิสระ
ในกำรบริหำรและจัดกำรศึกษำ ครอบคลุมท้ังด้ำนกำรบริหำรวิชำกำร ด้ำนกำรบริหำร งบประมำณ
ด้ำนกำรบริหำรงำนบุคคล และด้ำนกำรบริหำรงำนทั่วไป และปรับบทบำทภำรกิจ ของหน่วยงำนท้ังระดับ
สำนักงำนทั้งส่วนกลำง และระดับภูมิภำค โดยปรับโครงสร้ำงของหน่วยงำน ทุกระดับตั้งแต่สถำนศึกษำ
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ และสำนักงำนส่วนกลำง ให้มีควำมทันสมัย พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทัน
ต่อกำรเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลำ หน่วยงำนสำนักงำนเป็นหน่วยงำน ท่ีมีหน้ำท่ีสนับสนุน ส่งเสริม
ตรวจสอบ ติดตำม เพ่ือให้สถำนศึกษำสำมำรถจัดกำรศึกษำได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ นำเทคโนโลยีดิจิทัล
Digital Technology เช่น Cloud Technology Big Data Technology และ Communication
Technology เป็นต้น มำใช้ในกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรงำน ทั้งระบบ มีควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้
พร้อมท้ังปลูกฝังค่ำนิยมควำมซ่ือสัตย์สุจริต ควำมมัธยัสถ์ และเปิดโอกำสให้ทุกภำคส่วนเข้ำมำมีส่วนร่วม
เพือ่ ตอบสนองควำมตอ้ งกำรของประชำชน ไดอ้ ยำ่ งสะดวก รวดเรว็
เป้าประสงค์
๑. สถำนศึกษำ หรือกลุ่มสถำนศึกษำ มีควำมเป็นอิสระในกำรบริหำรและจัดกำรศึกษำ ครอบคลุม
ด้ำนกำรบรหิ ำรวิชำกำร ด้ำนกำรบริหำรงบประมำณ ด้ำนกำรบริหำรงำนบุคคล และด้ำนกำรบริหำรงำนท่ัวไป
๒. หน่วยงำนส่วนกลำง และสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ต้องปรับเปลี่ยน ให้เป็นหน่วยงำน
ให้มีควำมทนั สมัย พรอ้ มที่จะปรับตัวให้ทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลำ เป็นหน่วยงำนที่มีหน้ำท่ี
สนบั สนนุ สง่ เสริม ตรวจสอบ ติดตำม เพ่ือให้สถำนศึกษำสำมำรถจัดกำรศึกษำได้อย่ำงมปี ระสิทธิภำพ
๓. หน่วยงำนทุกระดับ มีควำมโปร่งใส ปลอดกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหำรจัดกำรตำมหลัก
ธรรมำภิบำล
๔. หน่วยงำนทุกระดับมีกระบวนกำร และกำรวิธีงบประมำณด้ำนกำรศึกษำ เพื่อเพ่ิมคุณภำพ และ
ประสทิ ธิภำพกำรจัดกำรศึกษำ โดยกำรจดั สรรงบประมำณตรงสู่ผ้เู รียน
๕. หน่วยงำนทุกระดับ พัฒนำนวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มำใช้
ในกำรเพ่ิมประสทิ ธภิ ำพกำรบริหำรและกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนอย่ำงเปน็ ระบบ
๓๖
ตัวช้ีวัด
๑. สถำนศกึ ษำได้รับกำรกระจำยอำนำจกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำอยำ่ งเป็นอิสระ
๒. สถำนศึกษำสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำ และสำนักงำนส่วนกลำงได้รับกำรพัฒนำ
ให้เป็นหน่วยงำนท่ีมีควำมทันสมัย ยืดหยุ่น คล่องตัวสูง พร้อมที่จะปรับตัวให้ทัน ต่อกำรเปลี่ยนแปลงของโลก
อยู่ตลอดเวลำ เป็นหน่วยงำนท่ีมีหน้ำท่ีสนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตำม เพื่อให้สถำนศึกษำ สำมำรถ
จัดกำรศึกษำได้อย่ำงมปี ระสิทธิภำพครอบคลมุ ทกุ ตำบล
๓. สถำนศึกษำ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ และสำนักงำนส่วนกลำง นำนวัตกรรม และเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล (Digital Technology) มำใช้ในกำรบรหิ ำรจดั กำรและตัดสนิ ใจทั้งระบบ
๔. สถำนศึกษำ และหน่วยงำนในสังกัดทุกระดับมีควำมโปร่งใส ปลอดกำรทุจริต และประพฤติมิชอบ
บรหิ ำรจดั กำรตำมหลกั ธรรมำภิบำล
๕. สถำนศึกษำ หน่วยงำนในสังกัด ทุกระดับ ผ่ำนกำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใส
ในกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนภำครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
๖. สถำนศึกษำทุกแห่งและหน่วยงำนในสังกัดมีระบบฐำนข้อมูลสำรสนเทศวิชำกำร ผู้เรียน ครู
บคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ สถำนศึกษำ หน่วยงำนในสังกดั
๗. สถำนศึกษำทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรำยบุคคลที่สำมำรถเช่ือมโยงกับข้อมูลต่ำง ๆ นำไปสู่
กำรวเิ ครำะห์เพือ่ วำงแผนกำรจัดกำรเรยี นรูส้ ่ผู เู้ รียนได้อยำ่ งมีประสทิ ธิภำพ (Big Data Technology)
๘. สถำนศึกษำ สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ และสำนักงำนส่วนกลำง มีแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital
Platform) เพื่อสนับสนุนภำรกิจดำ้ นบริหำรจัดกำรศึกษำ
๙. สถำนศึกษำทุกแห่งมีระบบข้อมูลสำรสนเทศที่สำมำรถใช้ในกำรวำงแผนกำรจัดกำรศึกษำ
ไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธิภำพ
๕.๘ นโยบายท่เี กี่ยวขอ้ ง
ทิศทางการพฒั นาของสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเลย เขต 1
จดุ เน้นด้านผูเ้ รยี น
๑) นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษำ มีพัฒนำกำรด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ และสติปัญญำ
มสี มรรถนะดำ้ นภำษำ มีสมดลุ เหมำะสมกบั วยั และเรยี นรูอ้ ย่ำงมคี วำมสขุ
๒) นักเรียนชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ อ่ำนออก เขยี นได้ ๑๐๐% นักเรียนชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๖
อ่ำนคลอ่ ง เขยี นคล่อง ๑๐๐% “โครงกำรท้ำพิสูจน์”
๓) นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓ มีควำมสำมำรถด้ำนภำษำ อ่ำนออก เขียนได้
มีควำมสำมำรถดำ้ นกำรคำนวณและดำ้ นกำรใชเ้ หตุผลทเี่ หมำะสม
๔) นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๖ ได้รับกำรส่งเสริมให้มีแรงจูงใจสู่อำชีพด้วยกำรแนะแนว
ท้ังโดยครูและผู้ประกอบอำชีพต่ำงๆ (ผู้ปกครอง ศิษย์เก่ำ สถำนประกอบกำร) และได้รับกำรพัฒนำควำมรู้
ทักษะท่ีเหมำะสมกบั กำรประกอบอำชพี สจุ รติ ในอนำคต
๓๗
๕) นักเรียนมีทักษะชีวิต ทักษะด้ำนกำรคิดวิเครำะห์ คิดสร้ำงสรรค์ และทักษะกำรสื่อสำร
อยำ่ งสร้ำงสรรคอ์ ยำ่ งนอ้ ย ๒ ภำษำ ทกั ษะด้ำนเทคโนโลยสี ำรสนเทศ เพ่ือเป็นเครื่องมือในกำรเรียนรู้เหมำะสม
ตำมช่วงวัย
นโยบาย และเป้าหมายการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ไดแ้ ก่
๑) ผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรียนในทกุ วชิ ำ/ทกุ ระดบั ชั้น สงู ขนึ้ ไมน่ ้อยกว่ำร้อยละ ๕
๒) ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนในวิชำหลักจำกกำรทดสอบระดับชำติสูงขึ้นไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๕
และมีคะแนนเฉลีย่ มำกกวำ่ ร้อยละ ๕๐
๓) นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๑ – ๓ อำ่ นได้ เขียนได้ คิดเปน็ ทกุ คน
๔) นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๔ – ๖ อ่ำนคล่อง เขียนคล่องทุกคน และคิดได้
อย่ำงมีวจิ ำรณญำณ ไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ ๗๐
๕) นกั เรยี นทุกระดบั ชนั้ กำรศึกษำมีคุณธรรม จริยธรรมและค่ำนิยมท่ีพึงประสงค์ตำมแนวคิด
กำรสรำ้ ง
เปน็ เลิศ ๕ ไดแ้ ก่
๑) ครสู รำ้ งสรรคน์ วัตกรรมกำรสอน
๒) ผบู้ ริหำรโรงเรียนไม่ย่อหย่อนกำรบริหำรโรงเรียน
๓) ผบู้ ริหำรเขตพ้ืนทก่ี ำรศกึ ษำพำกเพียร ตดิ ตำมกำกบั
๔) คณะกรรมกำรทกุ ระดบั รว่ มรับผิดชอบผลผลติ
๕) นกั เรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรมและผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นเปน็ เลศิ
วัฒนธรรมองคก์ ร ๕ ไดแ้ ก่
๑) ถือศลี ห้ำ
๒) วำจำไพเรำะ
๓) เสนำะหเู มือ่ ทกั ทำย
๔) ยิม้ ง่ำย ไหวส้ วย
๕) ร่ำรวยควำมดี
๕.๙ นโยบาย ดร.รอง ปัญสังกา ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย
เขต ๑ ปีงบประมาณ ๒๕๖๓
๑) นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๑ อ่ำนออก เขียนได้ ๑๐๐% และนักเรียนช้ันประถมศึกษำ
ปที ี่ ๖ อำ่ นคล่อง เขยี นคลอ่ ง ๑๐๐% “โครงกำรทำ้ พสิ ูจน์”
๒) นักเรียนทุกคนผ่ำนกำรคัดกรองหำควำมพิกำร ครูมีแผน IIP&IEP ครูได้รับกำรอบรม
กำรคัดกรอง (ครชู ัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๓, ๖ และช้นั มธั ยมศึกษำปที ี่ ๓)
๓) นกั เรยี นทุกคนผำ่ นกำรคัดกรองตำมระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น
๔) นกั เรยี นได้รับกำรเยี่ยมบ้ำน ๑๐๐%
๓๘
๕) ครใู ชส้ ่ือและนวัตกรรมในกำรจัดกำรเรยี นร้ตู ำมหน่วยกำรเรยี นร้แู บบองิ มำตรฐำน
๖) ครูทกุ คนได้รับกำรนเิ ทศชนั้ เรยี นอยำ่ งน้อยภำคเรียนละ ๒ ครงั้
๗) โรงเรยี นดำเนนิ งำนตำมระบบประกันคณุ ภำพภำยใน ครบ ๘ องคป์ ระกอบ ๑๐๐%
๘) โรงเรียนมี Website และระบบ E-Office สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำ
ใช้ AMSS เต็มรูปแบบ, มี E-News มกี ลุม่ Line และใช้ QR Code
๙) โรงเรียนจัดบรรยำกำศกำรเรียนตำมแนวคิด BBL (Brain Based Learning) ครูสอน
แบบ PBL (Project Based Learning) และ CBL (Creativity Based Learning)
๑๐) โรงเรียนใชห้ ลักธรรมำภบิ ำลในกำรบริหำรจัดกำร มีโรงเรียนสุจริต/ โรงเรียนใสสะอำด/
มกี ำรประเมนิ คณุ ธรรมและควำมโปร่งใส (ITA.) ทำ MOU โรงเรยี นใสสะอำด ปรำศจำกกำรคอรัปช่ัน
๑๑) ยกระดับคุณภำพ โดยค่ำเฉล่ีย NT ช้ันประถมศึกษำปีท่ี ๓ และ O-NET
ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๖ และช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี ๓ สงู ขน้ึ
๑๒) ปลูกฝังคำ่ นยิ ม ๑๓ ประกำรครบถว้ นและสอดคลอ้ งกบั ช่วงวยั
๑๓) เด็กพิกำรรอ้ ยละ ๙๐ ในกำรพัฒนำอยำ่ งเต็มศักยภำพ
๑๔) สนองนโยบำยเร่งด่วน เช่น PLC., STEAM, โรงเรียนคุณภำพประจำตำบล, ประชำรัฐ,
สภำนกั เรยี น (TSC Green Challenge) ฯลฯ
๑๕) ผู้บริหำรในโรงเรียนทมี่ ีผลกำรประเมินต่ำกลุ่ม ๑๐% ลำ่ ง (สีแดง) ไดร้ ับกำรพฒั นำ
๑๖) มที ีมวชิ ำกำรในระดับเขตพนื้ ทกี่ ำรศึกษำ และระดบั กลมุ่ เครอื ข่ำยโรงเรยี น ระดับละ ๑๔
ทมี
๑๗) ศึกษำนเิ ทศก์นเิ ทศอย่ำงหลำกหลำย (ร่วมพัฒนำ, ออนไลน์, แนวใหม่, เต็มรูป, Face to
Face Counseling: FFC. ฯลฯ)
๑๘) ผู้บริหำร ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำมีสุขภำพจิต สุขภำพกำยท่ีดี และมีควำมสุข
ในกำรทำงำน (เน้นกีฬำเพื่อสุขภำพ)
๑๙) เร่ืองรอ้ งเรยี นตอ้ งเป็นศูนย์ (Zero) โดยมหี นว่ ยเฝำ้ ระวงั ทำงวินัยทุกกลมุ่
๒๐) ผู้บริหำร ศึกษำนิเทศก์ ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ มีผลงำน/นวัตกรรม และได้รับ
รำงวลั ยกย่องเชดิ ชูเกียรติ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐
๒๑) สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำมีเคร่ืองมือ ระบบ และพัฒนำแบบทดสอบ
ใหม้ ีมำตรฐำน จดั เปน็ คลังขอ้ สอบทีม่ คี ุณภำพ
๒๒) ครูนำผลกำรทดสอบมำวิเครำะห์เป็นรำยข้อ รำยบุคคล แล้วนำไปพัฒนำและสอน
ซอ่ มเสรมิ
๒๓) ครใู ชร้ ูปแบบกำรประเมินอยำ่ งหลำกหลำย ครอบคลมุ ในควำมเป็นมนษุ ย์
๒๔) โรงเรียนคุณธรรม นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม (ควำมดีสำกล, ๕ ห้องชีวิต,
V – Star. โตะ๊ เรียน, หอ้ งนำ้ , หอ้ งเรียน ฯลฯ)
๓๙
๒๕) ใช้ระบบคุณธรรมโดยยึดหลัก Quality ในกำรให้ควำมดีควำมชอบมำกกว่ำระบบคิว
(สดั สว่ น 80: 20)
๒๖) ผู้เรียนก่อนระดับประถมศึกษำได้รับกำรเตรียมควำมพร้อมทำงด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์
สังคม สติปัญญำ และมสี มรรถนะดำ้ นภำษำ
๒๗) ระบบกำรพจิ ำรณำยำ้ ยครูใชท้ ง้ั วิชำเอกและประสบกำรณ์ ใช้ระบบคุณธรรม
๒๘) ใช้ ASEAN Curriculum เต็มรูปแบบ ASEAN Language Laos/ Vietnamese/
Chinese
๒๙) ครวู ิเครำะหม์ ำตรฐำนและตวั ช้วี ัดในกำรเขยี นแผนกำรสอน
๓๐) ครมู บี ันทกึ กำรสอนแทน กรณีไม่อยู่, ไปรำชกำร, ปว่ ย, ลำ, ขำด
๓๐) ใช้ตำรำงสอนแบบยืดหยุ่น ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๓, ๖ และชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๓
(Flexible Subject Timetable) or (Flexible Schedule)
๓๒) ใช้กำรสอนทำงไกลผ่ำนดำวเทียมเท่ำที่จำเป็นเท่ำน้ัน (ห้ำมใช้สอนนักเรียน
ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๑ และวชิ ำเอกของตน)
๓๓) ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำทุกคนจัดทำแผนพัฒนำตนเอง ID.Plan (Individual
Development Plan)/ คูปองพัฒนำ
๓๔) ครูและนักเรยี นใช้ ICT ในกำรแสวงหำควำมรู้ บรู ณำกำร DLTV, DLIT, ETV
๓๕) ห้องเรียนอำชพี / ห้องเรียนดนตรี/ ห้องเรยี นกฬี ำ/ หอ้ งเรียนศลิ ปะ
๓๖) จดั ตัง้ กองทุนช่วยเหลอื นักเรียน
๓๗) สรำ้ งบำ้ นปนั น้ำใจใหน้ ักเรียนยำกจน ๙๙ หลงั ภำยในปี ๒๕๖๓
๓๘) ให้มศี นู ย์พัฒนำทรัพยำกรบุคคล ผบู้ รหิ ำร ครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ
๓๙) จัด MOU กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับกรรมกำร
สถำนศึกษำ และจดั ตงั้ อำสำสมคั รกำรศกึ ษำ (อสศ.)
๔๐) สำนักงำนเขตพืน้ ทก่ี ำรศึกษำประถมศกึ ษำ “มุ่งสู่มำตรฐำน บรกิ ำรเกดิ คำด”
๔๑) เพม่ิ บทบำทและพฒั นำศักยภำพกรรมกำร/ องคค์ ณะทกุ ระดับ
๔๒) มีโรงเรยี นแกนนำโรงเรยี นดี ๕ วถิ ี อยำ่ งนอ้ ยกลมุ่ ละ ๑ โรงเรยี น
๔๓) มีเวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรสู้ ำหรบั ทุกคนอยำ่ งต่อเนือ่ งและหลำกหลำย
๔๔) มแี ละพัฒนำคำ่ ยลกู เสือใหไ้ ด้มำตรฐำน กล่มุ ละ ๑ แหง่
๔๕) จดั ตลำดนัดวชิ ำกำร/ มหกรรมกำรศึกษำเพื่ออำชีพ ได้แก่ นิทรรศกำรผลงำน กำรแสดง
ของนักเรยี น จำหนำ่ ยสินคำ้ OSOP
๔๖) มีกำรพัฒนำครูและบุคลำกรทุกรูปแบบ เช่น TEPE Online, Clinic, ครูไม่ตรงเอก,
กำรอบรมครเู นน้ ระบบ Conference
๔๗) ให้มีโรงเรียนต้นแบบ “ศูนย์ศำสตร์พระรำชำ” จำนวนอย่ำงน้อยกลุ่มเครือข่ำยละ ๑
แห่ง
๔๐
๔๘) ใช้ AHHA Education ในกำรจัดกำรเรียนรู้/ นำ CEFR มำเป็นกรอบในกำรประเมิน/
ปำ้ ย ๒ ภำษำในโรงเรียน/ App. Echo Hybrid, Echo Eng./ Boot Camp/ ปรบั เพ่ิมเวลำเรยี น
๔๙) ผู้บริหำร ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำทุกคน มีรูปแบบ (Model) ในกำรพัฒนำ
(ODOM, OPOP, OSOM)
๕๐) ช่วงช้ันท่ี ๑ – ๒ เน้นวิชำคณิตศำสตร์ ภำษำไทย และภำษำอังกฤษ/ คณิตคิดเร็ว/
ทอ่ งสตู รคณู และท่องอำขยำน
๕๑) จัดกำรเรียนรู้วิชำชีพ (ท่ีนำไปประกอบอำชีพได้) ในระดับช้ันมัธยมศึกษำ/
ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๓ ออกฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพที่สนใจ
๕๒) โรงเรียนเข้ำร่วมโครงกำรสุขภำวะ จิตศึกษำ ๑๐๐% สุขอนำมัย สวัสดิภำพ/ สวัสดิกำร
ของนกั เรยี นต้องมำทห่ี น่งึ
๕๓) ใช้รูปแบบกำรสอนภำษำไทย “กำรแจกลูกสะกดคำแบบโบรำณ” กับนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑
๕๔) ครูสอนแล้วสอบ โดยใช้รูปแบบกำรสอบ NT. ; O-NET และ PISA (กระดำษคำตอบ,
ฝนดว้ ยดินสอ)
๕๕) สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ และโรงเรียนต้องพัฒนำสู่องค์กรกำรเรียนรู้ (LO.),
มกี จิ กรรม KM.
๕๖. มีระบบกำกบั ติดตำม ประเมนิ ผลเชงิ บูรณำกำร (Integrated Assessment)
๕๗. โรงเรยี นสีขำว (Vice – free School)
๕๘. โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) มีระบบบรหิ ำรจัดกำรขยะ
๕๙. *โรงเรียนเป็นโรงเรียนแห่งกำรวิจัย RS: Research School *สำนักงำนเขตพื้นท่ี
กำรศึกษำประถมศกึ ษำเปน็ องค์กรแหง่ กำรวจิ ยั RO: Research Organization
๖๐. *โรงเรียนเป็นโรงเรียนอัตโนมัติ AS: Automatic School *สำนักงำนเขตพ้ืนที่
กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำเป็นองคก์ รอัตโนมตั ิ AO: Automatic Organization
สว่ นที่ ๓
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๓.๑ วสิ ัยทศั น์
โรงเรียนบ้านห้วยสีเสียดบริหารจัดการศึกษาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ เน้นคุณธรรม
นาความรู้และพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โดยให้ทกุ ภาคส่วนมสี ว่ นร่วม
๓.๒ พนั ธกิจ
๑. จัดการศกึ ษาอยา่ งท่ัวถึงและมคี ุณภาพมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน
๒. ส่งเสริมผเู้ รยี นให้มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสตู รสถานศึกษา
๓. พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกับความต้องการของผ้เู รยี นและชมุ ชน
๔. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนโดยเน้นคุณธรรมนาความรู้ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการดารงชวี ิต
๕. ส่งเสรมิ ใหค้ รูและบุคลากรทางการศกึ ษามีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
๖. ระดมความร่วมมือและทรัพยากรเพือ่ การศึกษาจากทุกภาคส่วน
๓.๓ เปา้ หมาย
๑. สถานศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
อยา่ งทัว่ ถงึ เสมอภาคและมคี ณุ ภาพ
๒. ผู้เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา
๓. ผเู้ รยี นได้พฒั นาอย่างรอบดา้ นตามกล่มุ สาระในหลกั สตู รสถานศกึ ษา
๔. ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม มคี วามรู้ และดารงชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๕. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีคณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชพี
๖. บริหารจดั การศึกษาตามหลกั ธรรมาภิบาลโดยใหท้ กุ ภาคส่วนมีสว่ นร่วม
๓.๔ อัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
ยิ้มง่าย ไหวส้ วย รา่ รวยเงนิ ออม
๓.๕ เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา
ผูเ้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ นอ้ มนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาทีย่ ่ังยืน
๓.๖ ปรัชญาในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น
เรยี นดี มีคณุ ธรรม
๓.๗ คาขวัญของโรงเรยี น
รูเ้ วลา รู้หน้าที่ มวี ินยั
๔๒
๓.๘ นโยบาย
นโยบายที่ ๑ ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
นโยบายที่ ๒ ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันระดบั ประเทศ
นโยบายท่ี ๓ ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐาน และ
ลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา
นโยบายที่ ๕ ด้านการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
นโยบายที่ ๖ ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา
๓.๙ เป้าหมายผลผลติ หลัก
ตารางท่ี ๑๘ แสดงถึงเปา้ หมายผลผลติ หลัก
เปา้ ประสงค์ นโยบาย ตัวชวี้ ดั
๑. ผู้เรียนมีพฤติกรรมท่ีแสดงออก นโยบายที่ ๑ ด้านการจัดการศึกษา ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรม
ถึงความรักในสถาบันชาติ ศาสนา เพื่อความมั่นคงของมนุษย์และ ท่ี แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ค ว า ม รั ก
และพระมหากษัตริย์ ยึดมั่นใน ของชาติ ใ น ส ถ า บั น ข อ ง ช า ติ ยึ ด ม่ั น
การปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
มีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง เป็น ป ร ะ มุ ข มี ทั ศ น ค ติ ที่ ดี ต่ อ
พลเมืองดีของชาติ มีคุณธ รรม บา้ นเมอื ง มหี ลกั การคิดท่ีถูกต้อง
จริยธรรม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ดี ข อ ง ช า ติ
มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ี
พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ
จิ ต อ า ส า แ ล ะ รั บ ผิ ด ช อ บ
ตอ่ ส่วนรวม
๒. ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน นโยบายที่ ๒ ด้านการจัดการศึกษา จานวนของผู้เรียนที่มีความเป็น
สูงขึ้น และมีทักษะที่จาเป็น และ เพ่ือเพิ่มความสามารถในการ เลิศทางวิชาการ มีผลสัมฤทธ์ิ
สอดคล้องกับศตวรรษท่ี ๒๑ แขง่ ขันระดับประเทศ ทางการ เรียนที่สู งขึ้น แล ะ
มีทักษะความรู้ท่ีสอดคล้องกับ
ศตวรรษที่ ๒๑
๓. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะพื้นฐาน นโยบายท่ี ๓ ด้านการพัฒนาและ ผู้ เ รี ย น ที่ มี ทั ก ษ ะ พ้ื น ฐ า น
ในการดารงชีวิต สามารถดารงชีวิต เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ส า ม า ร ถ
อย่ใู นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข มนุษย์ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข มีความยืดหยุ่น
ทางด้านคว ามคิด สามารถ
ท า ง า น ร่ ว ม กั น กั บ ผู้ อื่ น ไ ด้
ในสังคมพหุวฒั นธรรม
๔๓
เปา้ ประสงค์ นโยบาย ตวั ชีว้ ัด
๔. ผู้เรียนทุกคนได้เข้าเรียนใน นโยบายที่ ๔ ด้านการสร้างโอกาส ผู้เรียนท่ีได้รับการสนับสนุนวัสดุ
สถานศึกษาที่มีคุณภาพ เป็นมาตร- ในการเข้าถึงบริการการศึกษา อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล
ฐานเสมอกนั ที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลด (Digital Device) เพ่ือใช้เป็น
ความ เหล่อื มล้าทางการศึกษา เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร เ รี ย น รู้
อยา่ งเหมาะสม และเพียงพอ
๕. สถานศึกษามีการจัดกิจกรรม นโยบายท่ี ๕ ด้านการจัดการศึกษา สถานศกึ ษามีการบูรณาการเร่ือง
ให้ความรู้ที่ถูกต้อง และมีจิตสานึก เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร การกาจัดขยะแบบมีส่วนร่วม
ด้ า น ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ส า ม า ร ถ น า กับสง่ิ แวดลอ้ ม และการนาขยะมาใช้ประโยชน์
ไปปฏิบัติทบ่ี า้ น และชมุ ชนไดจ้ ริง โดยสอดแทรกในเนื้อหาสาระ
การเรยี นรูท้ เ่ี ก่ียวข้อง
๖. สถานศึกษามคี วามโปรง่ ใส ปลอด นโยบายท่ี ๖ ด้านการปรับสมดุล ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรม
การทุจริต และประพฤติมิชอบ และพัฒนาระบบการบริหารจัด แ ล ะ ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ใ น ก า ร
บรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล การศกึ ษา ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity & Transparency
Assessment: ITA)