The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by i.worapun, 2022-03-28 00:45:10

Proceedings FEAT7

Proceedings-FEAT7 (2022)

รหสั บทความ : EMAE01-A

การส่งเสริมการถ่ายเทความรอ้ นในแผงรบั รงั สีอาทิตยด์ ้วยการใช้แผน่ ปี กรปู ตวั วีเจาะรู
แบบคร่ึงวงกลม

Heat Transfer Enhancement in Solar Collector by Using Semi-Circular Perforated
V-shape Winglet

ฐติ ชิ ญา ชาตชิ นะ เทยี นชยั พว่ งวนั พงศกร คาหงษา สงั วาลย์ บญุ จนั ทร์ ปฏวิ ตั ิ วรามติ ร
บณั ฑติ กฤตาคม และ รตนิ ันท์ เหลอื มพล*

สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000
*ตดิ ต่อ: [email protected], 084-030-7600

บทคดั ย่อ
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื สง่ เสรมิ การถา่ ยเทความรอ้ นในแผงรบั รงั สอี าทติ ยด์ ว้ ยการใชแ้ ผน่ ปีกรปู ตวั วเี จาะรูแบบ
ครง่ึ วงกลม โดยแผ่นปีกทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาทามาจากแผ่นสงั กะสคี วามหนา 1 mm อตั ราส่วนความสงู ปีกต่อความสูง
ท่อทดสอบ (b/H) 0.2 อัตราส่วนระยะพิทซ์ต่อความยาวท่อทอสอบ (P/L) 0.0375 ซ่ึงถูกเจาะรูเป็นคร่งึ วงกลม
บรเิ วณฐานปีกด้วยอตั ราส่วนรศั มีรูเจาะต่อเส้นผ่านศูนย์กลางไฮดรอลิกท่อทดสอบ (Rr=r/Dh) 0.055 อตั ราส่วน
ระยะหา่ งจดุ ศนู ยก์ ลางรเู จาะระหว่างรตู ่อความกวา้ งท่อทดสอบ (Rd=d/W) 0.036, 0.052 และ 0.096 และแผน่ ปีกถูก
ทาให้หยกั ด้วยมุมปะทะการไหล (β) 30° ในการทดลองใชอ้ ากาศเป็นของไหลทดสอบด้วยรูปแบบการไหลแบบ
ปัน่ ป่ วนในช่วงเลขเรยโ์ นลด์ (Re) 10,000-30,000 และดาเนินการภายใต้แสงอาทติ ยเ์ ทยี มมาตรฐาน EN 12975-2
ด้วยความเข้มแสงคงท่ี 747 W/m2 โดยผลการทดลองถูกนาเสนอด้วยตัวแปร Nusselt number (Nu) Friction
factor (f) และ Thermal enhancement factor (TEF) ซง่ึ พบว่า การเพมิ่ ขน้ึ ของ Re ส่งผลให้ Nu มคี ่าเพมิ่ ขน้ึ และ f
มคี ่าลดลง เม่อื ติดตงั้ แผ่นปีกเจาะรใู นท่อทดสอบทาให้ Nu และ f มคี ่าสูงกว่าท่อเปล่าในช่วง 2.45-4.19 เท่า และ
1.70-4.15 เท่า ตามลาดบั โดยท่ี Rd เพม่ิ ขน้ึ ทาให้ Nu และ f เพม่ิ ขน้ึ งานวจิ ยั น้ี TEF สงู ทส่ี ดุ มคี ่าเท่ากบั 3.47 จะ
ถูกพบท่ี Rd=0.096 และ Re=27,000

คาหลกั : การสง่ เสรมิ การถ่ายเทความรอ้ น; แผงรบั รงั สอี าทติ ย์; แผ่นปีกรูปตวั ว;ี ตวั ประกอบการสง่ เสรมิ ทางความ
รอ้ น; การไหลแบบปัน่ ป่วน

Abstract
This research purposed to enhance heat transfer in the solar collector by using a semi-circular perforated
V-shape winglet. The V-shape winglet in this study was made from zinc plate with a 1 mm thickness, a
ratio of winglet height to duct height (b/H) of 0.2, a ratio of winglet pitch distance to duct length (P/L) of

283

29 มนี าคม 2565
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
0.0375, which was perforated as a semi-circular hole at the base winglet with a ratio of hole radius to flow
channel hydraulic diameter (Rr=r/Dh) of 0.055, a ratio of the distance between semi-circular hole center to
duct width (Rd=d/W) of 0.036, 0.052 and 0.096, and the winglet were serrated with an attack angle (β) of
30°. In the experiment, the air was used as a working fluid in turbulent region with Reynolds number (Re)
in the range of 10,000-30,000 and was conducted under the solar simulator EN 12975-2 stand with a
constant solar intensity of 747 W/m2. The results were presented with a parameter of Nusselt number
(Nu), Friction factor (f) and Thermal enhancement factor (TEF), which showed that an increase in Re
resulted in increased Nu and decreased f. Installation of this winglet in the flow channel resulted in Nu
and f increasing better than the smooth channel in the range of 2.45-4.19 times and 1.70-4.15 times,
respectively, where Nu and f increased with increased Rd. In this research, the maximum TEF of 3.47
was found at Rd=0.096 and Re=27,000.
Keywords: Heat transfer enhancement; Solar collector; V-sharp winglet; Thermal enhancement factor;
Turbulent flow.

284

รหสั บทความ : EMAE02-A

การพฒั นาเคร่อื งอบแห้งพลงั งานแสงอาทิตยด์ ้วยการติดตงั้ วสั ดพุ รนุ ชนิด
ตาข่ายสแตนเลสบนแผน่ ดดู ซบั ความรอ้ น

A Development on mixed mode Solar Dryer with Installing Wire-mesh Stainless
Porous Media on Absorber Plate

ชยาพร ประชากลุ ณฐั พงษ์ วเิ ศษนอกสนิ กุล ปฏพิ ล พลิ าศาสตร์ ปฏวิ ตั ร วรามติ ร
บณั ฑติ กฤตาคม และ รตนิ นั ท์ เหลอื มพล*

สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000
*ตดิ ต่อ: [email protected], 084-030-7600

บทคดั ย่อ
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื พฒั นาเคร่อื งอบแหง้ พลงั งานแสงอาทติ ยแ์ บบผสมดว้ ยการตดิ ตงั้ วสั ดุพรุนชนดิ ตาข่าย
สแตนเลสบนแผ่นดูดซบั ความร้อน โดยวสั ดุพรุนชนิดตาข่ายสแตนเลสเกรด 304 ท่มี ีจานวนช่องว่างต่อหน่ึงน้ิว
(Pores per inch, PPI) 12 ทม่ี ลี กั ษณะหยกั แบบฟันปลาดว้ ยมุมหยกั คงท่ี 60° จะถูกตดิ ตงั้ บนแผ่นดดู ซบั ความรอ้ น
ของแผงรบั รงั สอี าทติ ยด์ ้วยระยะพติ ช์ตามแนวการไหลคงท่ี 80 mm ในการทดลองทาการควบคุมอตั ราการไหล
เชงิ มวลของอากาศก่อนเขา้ หอ้ งอบแหง้ คงท่ี 1.5 kg/s และใชก้ ลว้ ยทห่ี นั่ เป็นแว่นขนาดความหนา 3 mm เป็นวสั ดุท่ี
ใช้ในการอบแห้ง จากการทดลองเม่ือทาการเปรยี บเทียบระหว่างเคร่อื งอบแห้งท่ีมกี ารติดตงั้ วสั ดุพรุนและไม่มี
วสั ดพุ รุน พบวา่ การตดิ ตงั้ วสั ดพุ รุนจะทาใหอ้ ุณหภูมเิ ฉลย่ี ในหอ้ งอบแหง้ ประสทิ ธภิ าพแผงรบั รงั สี และประสทิ ธภิ าพ
การอบแห้งสูงข้นึ 5 °C, 24.32% และ 4.04% ตามลาดบั และการติดตงั้ วสั ดุพรุนยงั ทาให้ปริมาณความช้นื ใน
วสั ดอุ บแหง้ ลดลงไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

คาหลกั : การอบแหง้ พลงั งานแสงอาทติ ยท์ างออ้ ม; การอบแหง้ พลงั งานแสงอาทติ ยท์ างตรง;
วสั ดพุ รนุ ชนดิ ตาขา่ ยแสตนเลส; ปรมิ าณความชน้ื ; ประสทิ ธภิ าพการอบแหง้

Abstract
This research was purposed to develop the mixed-mode solar dryer by installing wire-mesh stainless
porous media on the absorber plate. A wire-mesh stainless porous media grade 304 with 12 pores per
inch (PPI) and an attack angle of 60° was placed on the absorber plate of a solar collector with a
constant transverse pitch distance of 80 mm. The experiment maintained the mass flow rate of air at the
inlet drying chamber constant of 1.5 kg/s, and the drying material was 3 mm-thick sliced bananas. From
the experiment of a comparison between solar dryers with and without porous media found that, in the

285

29 มนี าคม 2565
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
case of installing porous media resulted in the temperature of the drying chamber, solar collector
efficiency and drying efficiency were increased by 5 °C, 24.32%, and 4.04% respectively, and moisture
content was also rapidly decreased.
Keywords: Indirect solar dryer; Direct solar dryer; Wire-mesh stainless porous media;
Moisture content; Drying efficiency

286

รหสั บทความ : EMAE03-A

การศึกษารปู แบบของหวั พ่นไฟสาหรบั เตาเผาถา่ นขนาด 200 ลิตร
A Study on the Burner Shape for 200-liter Charcoal Oven

รงั สมิ นั ต์ ศรยี งยศ ศุภชยั แกว้ แหวน สุทธชิ ยั ชยั มี ธรี ะ ฮวบขนุ ทด
อารยนั ต์ วงษ์นิยม พรสวรรค์ ทองใบ ศวิ กร ศรธี ญั ญากร และ ทวศี ลิ ป์ เลก็ ประดษิ ฐ์*

สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000
*ตดิ ตอ่ : [email protected], 090-598-078-2

บทคดั ยอ่
ปัจจบุ นั พลงั งานทใ่ี ชส้ ่วนใหญไ่ ด้มาจากน้ามนั ดบิ และกา๊ ซธรรมชาติ ซง่ึ มรี าคาสงู ขน้ึ อย่างตอ่ เน่ือง และมแี นวโน้มจะ
หายากมากขน้ึ จงึ ทาใหก้ ล่มุ ผวู้ จิ ยั สนใจนาน้ามนั เคร่อื งใชแ้ ลว้ กลบั มาเป็นพลงั งาน ซง่ึ น้ามนั เคร่อื งใชแ้ ลว้ มแี นวโน้ม
เพมิ่ สงู ขน้ึ ตามจานวนของเครอ่ื งยนตห์ รอื เคร่อื งจกั รกลทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ซง่ึ น้ามนั เคร่อื งใชแ้ ลว้ น้ีหากทาการกาจดั โดยไม่ถูก
วธิ จี ะเกดิ ปัญหาต่อสง่ิ แวดลอ้ มอย่างมาก โดยการทดลองจะนาน้ามนั เคร่อื งทใ่ี ชแ้ ลว้ มาเป็นเช้อื เพลงิ สาหรบั ตู้อบ
ขนาด 200 ลติ ร โดยมปี ล่องระบายไอเสยี ทาจากเหลก็ ขนาดเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง 12.7 เซนตเิ มตร (5 น้ิว) ความยาว
ของท่อ 1, 2 และ 3 เมตร และใชห้ วั พน่ ไฟทงั้ หมด 3 รปู ทรงคอื หวั พ่นไฟรปู ทรงกระบอก ทรงคอขวด และทรงคอด
จากการทดลองพบว่ากรณีทท่ี าใหป้ รมิ าณ CO และ NOx ในไอเสยี ต่าทส่ี ุดจะอยู่ทค่ี วามสูงของปล่องระบายไอเสยี
3 เมตร กรณีหัวพ่นไฟรูปแบบคอขวด ซ่ึงจะมีปริมาณ CO ในไอเสียอยู่ท่ี 188 ppm และ NOx อยู่ท่ี 66 ppm
อณุ หภูมทิ างเขา้ อย่ทู ่ี 821 ͦ C และอตั ราการสน้ิ เปลอื งอย่ทู ่ี 1.6 กโิ ลกรมั ต่อชวั ่ โมง
คาหลกั : รปู ทรงหวั พ่นไฟ; น้ามนั เครอ่ื งใชแ้ ลว้ ; เตาอบ

Abstract
Most of the energy used today is derived from crude oil and natural gas. which are increasingly expensive
and tend to be scarce. Therefore, the research group is interested in bringing used engine oil to energy.
The used engine oil tends to increase with the number of engines or machines. If these used engine oils
are disposed of improperly will cause high environmental problems. In this experiment, used engine oil
was used as fuel for a 200 L, the exhaust tube made of steel with a diameter of 12.7 cm (5 in), pipe
lengths 1, 2, and 3 m, and the shapes of the burner are cylindrical, bottleneck and venturi. From the
experiment, it was found that the case of the lowest amount of CO and NOx in the exhaust gas was at
the height of the cylindrical exhaust hood 3 m. It has an exhaust gas CO of 188 ppm and NOx of 66 ppm
an intake temperature of 821 ͦ C and fuel consumption of 1.6 kg/hr.
Keywords: Burner shape; Used engine oil; Oven

287

รหสั บทความ : EMAE04-A

อิทธิพลของชนิดตวั ประสานและอตั ราส่วนผสมต่อคณุ สมบตั ิทางความร้อน
ของเชื้อเพลิงอดั แท่งจากกากกาแฟ

The Influence of Binder and Binding ratio Effect on Thermal Properties
of Fuel Briquettes from Coffee grounds

รพพี งศ์ เป่ียมสวุ รรณ1 ชุตพิ งษ์ ยวนจติ ร2 ธฤต พุม่ พนั ธว์ งศ2์ วนั ศริ ิ จนั ทรส์ ริ สิ ขุ 2 ปฏวิ ตั ิ วรามติ ร2*
ธรี ะ ฮวบขนุ ทด2 บณั ฑติ กฤตาคม2 รตนิ นั ท์ เหลอื มพล2 อาไพศกั ดิ ์ ทบี ญุ มา3 และ อภนิ นั ต์ นามเขต3

1 สาขาฟิสกิ สป์ ระยุกต์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์
2 สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000
3 ภาควชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี

85 ถนนสถลมารค์ ตาบลเมอื งศรไี ค อาเภอวารนิ ชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี 34190

*ผตู้ ดิ ต่อ: [email protected], 044-233073 ต่อ 3410

บทคดั ยอ่

บทความน้ีมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื นาการศกึ ษาอทิ ธพิ ลของชนิดตวั ประสานและอตั ราส่วนผสมต่อคุณสมบตั ิทางความ

ร้อนของเช้อื เพลิงอดั แท่งจากกากกาแฟ โดยใช้น้ามนั พืชท่ใี ช้แล้ว แป้งเปียก และกากน้าตาล เป็นตัวประสาน

สาหรบั การอดั แท่งเช้อื เพลงิ ในอตั ราส่วนผสม 7:3, 8:2 และ 9:1 โดยมวล จากนัน้ นามาวเิ คราะห์ ทางความร้อน

จากการทดสอบคุณสมบตั ทิ างความรอ้ นพบว่า เช้อื เพลงิ จากกากกาแฟผสมกบั น้ามนั พชื ทใ่ี ชแ้ ลว้ ท่อี ตั ราสว่ นผสม

7:3 มคี า่ ความรอ้ นสงู ทส่ี ุดเทา่ กบั 6,100 cal/g และประสทิ ธภิ าพเชงิ ความรอ้ นมคี า่ สูงทส่ี ุดเท่ากบั 11.804% ผลจาก

การทดสอบสามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการปรบั ปรุงเชอ้ื เพลงิ อดั แท่งจากกากกาแฟได้ และการผลติ เชอ้ื เพลงิ อดั แท่ง

จากกากกาแฟน้ยี งั เป็นการชว่ ยกาจดั ขยะจากรา้ นกาแฟอย่างยงั่ ยนื

คาหลกั : เชอ้ื เพลงิ อดั แทง่ ; กากกาแฟ; คณุ สมบตั ทิ างความรอ้ น

Abstract
The objective of this paper aims to present the study on the influence of binder and binding ratio on the
thermal properties of fuel briquette from coffee grounds. Used vegetable oil, mucilage, and molasses
were used as binders for briquettes which binding ratios of 7:3, 8:2, and 9:1 by mass, then the thermal
properties were analyzed. The results of thermal properties testing found that the fuel briquette from
coffee grounds mixed with used vegetable oil at a ratio of 7:3 has the highest heating value of 6,100 cal/g
and the highest thermal efficiency of 11.804%. The testing results of this work can use to develop fuel
briquettes from coffee grounds and the production of fuel briquettes from coffee grounds also helps to
eliminate waste from coffee shops sustainably.
Keywords: Fuel briquette; Coffee grounds; Thermal properties

289

รหสั บทความ : EMAE05-A

การสร้างต้อู บฆ่าเชื้อแบบหมนุ สาหรบั ใบปริญญาบตั รด้วยรงั สี UVC
Construction of Rotated Disinfection – Box
for Degree Certificate with UVC

ญาดาวดี แสงสุข1 ณฐั พงษ์ ขอพลอยกลาง1 สริ นิ ยากร ฤทธปิ์ ระเสรฐิ 1
บณั ฑติ กฤตาคม1 และ จตั พุ ล ป้องกนั 2*

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาในเทคโนโลยขี องวสั ดุพรุน (Development in Technology of Porous Materials Research Laboratory : DiTo-Lab)
1สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
2สาขาวชิ าวศิ วกรรมระบบราง สถาบนั ระบบรางแหง่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000

*ตดิ ต่อ: E-mail: [email protected] และ [email protected], โทรศพั ท์ 044-233-073 ตอ่ 3410, โทรสาร: 044-233-074

บทคดั ยอ่
งานวจิ ยั น้ีนาเสนอการสรา้ งตูอ้ บฆา่ เชอ้ื แบบหมุนสาหรบั ใบปรญิ ญาบตั รดว้ ยรงั สี UVC เพ่อื ศกึ ษาค่าปรมิ าณความ
เขม้ รงั สี (HUV, exp) และหาอตั ราการฆ่าเช้อื (KR) ทเ่ี หมาะสมในการอบฆ่าเช้อื ใบปรญิ ญาบตั ร โดยใช้ระบบการฆ่า
เชอ้ื ดว้ ยรงั สอี ลั ตรา้ ไวโอเลตหรอื ระบบ UVGI ทม่ี กี ารตดิ ตงั้ หลอดรงั สี UVC ทม่ี คี วามยาวคล่นื 254 nm กาลงั ไฟฟ้า
32 W จานวน 8 หลอด ในตอู้ บฆา่ เชอ้ื ขนาด 120 cm x 120 cm x 200 cm ความเรว็ รอบการหมนุ (N) ของตอู้ บฆา่
เชอ้ื แบบหมนุ สาหรบั ใบปรญิ ญาบตั รมคี ่าแตกตา่ งกนั 3 ระดบั คอื 6, 8 และ 10 rpm และทาการวดั คา่ ปรมิ าณความ
เขม้ รงั สที งั้ หมด 4 ตาแหน่งบนตะแกรงสาหรบั ตดิ ตงั้ ใบปรญิ ญาบตั รคอื y0 = 0 m, y1 = 0.19 m, y2 = 0.39 m และ
y3 = 0.59 m โดยเกณฑค์ ่าปรมิ าณความเขม้ รงั สที ส่ี ามารถทาการฆ่าเชอ้ื ไวรสั SARS-CoV-2 ได้ คอื 134 J/m2 และ
มคี า่ ความไวต่อรงั สี (Z) เท่ากบั 0.079 m2/J จากผลการศกึ ษาพบว่าค่า HUV, exp จะมคี ่ามากกว่า 134 J/m2 เม่อื Tm
มากกวา่ 50 s ในทุก ๆ กรณี และ KR ทค่ี านวณไดจ้ ะมคี ่าสูงถงึ 100% ตงั้ แต่เวลา 26 วนิ าทขี น้ึ ไป ดงั นัน้ จงึ แสดง
ใหเ้ หน็ วา่ ตูอ้ บฆา่ เชอ้ื สาหรบั ใบปรญิ ญาบตั รแบบหมุนดว้ ยรงั สี UVC สามารถฆา่ เชอ้ื ใบปรญิ ญาบตั รไดจ้ รงิ
คาหลกั : รงั สอี ลั ตรา้ ไวโอเลต; ระบบฆา่ เชอ้ื โรค; ตฆู้ า่ เชอ้ื เชอ้ื แบบหมุน; อตั ราการฆา่ เชอ้ื โรค

Abstract
This research presents Construction of Rotated Disinfection – Box for Degree Certificate with UVC to
study the UV dose (HUV, exp) and to determine the optimal killing rate (KR) for the certificate sterilization.
The rotation speed (N) of the rotated disinfection box for the degree certificate was different at three
levels: 6, 8, and 10 rpm, and all four radiation intensity values were measured on the blade mounting grid,
using an Ultraviolet Germicidal Irradiation system (UVGI system) with a wavelength of 254 nm, a power of
32 W, and eight lamps in a disinfection box measuring 120 cm x 120 cm x 200 cm. The degree was y0 =
0 m, y1 = 0.19 m, y2 = 0.39 m, and y3 = 0.59 m. The radiation dose criterion capable of killing the SARS-
CoV-2 virus was 134 J/m2, and the UVC susceptibility (Z) is 0.079 m2/J. The results showed that HUV, exp

291

29 มนี าคม 2565
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
would be greater than 134 J/m2 at Tm greater than 50 s in all cases, and the calculated KR reached
100% at 26 s or more. The Rotated Disinfection Box for Degree Certificates with UVC construction can
sterilize certificates.
Keywords: Ultraviolet radiation; Disinfection system; Rotated Disinfection-Box; Killing rate.

292

บทความเฉพาะบทคัดยอ่

Material Sciences and Farm Engineering & Technologies

รหสั บทความ : MSFE01-A

การศึกษาคณุ ภาพของน้าส้มควนั ไม้จากเตาเผาถ่านไรค้ วนั
Study on the Quality of Wood Vinegar from Smokeless Charcoal Incinerators.

พพิ ฒั น์ พลเยย่ี ม1 พุฒธพิ งษ์ ศรมี ารกั ษ์1 บณั ฑติ ออ่ นทองหลาง1 กนั ญา โกสมุ ภ2์ ปฏวิ ตั ิ วรามติ ร1
กติ ติ แกว้ ชาต1ิ ววิ ฒั น์ อภสิ ทิ ธภิ์ ญิ โญ1 และ ธรี ะ ฮวบขุนทด1*

1สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

744 ถ.สุรนารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000

2สาขาวศิ วกรรมเมคคาทรอนิกส์ คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000

*ตดิ ต่อ: [email protected], 093-983-5426

บทคดั ย่อ

งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ศกึ ษาคุณสมบตั ขิ องน้าสม้ ควนั ไม้กระถนิ ทไ่ี ดจ้ ากการเผาในเตาเผาถ่านไรค้ วนั ทเ่ี ป็น

ถงั แนวตงั้ ขนาดเลก็ วธิ กี ารคอื นาไมก้ ระถนิ ตวั อยา่ ง ตวั อย่างละ 50 กโิ ลกรมั ตากแดดเพ่อื ลดความชน้ื 3 ระดบั คอื

15, 30 และ 45 วนั ตามลาดบั พบว่า มคี วามช้นื คงเหลอื รอ้ ยละ 7.4, 6.8 และ 5.3 ตามลาดบั และเม่อื นาไมก้ ระถนิ

ตวั อย่างไปเผาในเตาเผาตวั อย่างละ 6 ชวั ่ โมง พบว่า ไม้กระถินตวั อย่างท่ตี ากแดด 15 วนั ให้น้าส้มควนั ไม้ทม่ี ี

ปรมิ าตรสงู สดุ 7.2 ลติ ร เมอ่ื เทยี บกบั ทต่ี ากแดด 30 วนั และ 45 วนั ทใ่ี หน้ ้าสม้ ควนั ไม้ 6.9 และ 5.5 ลติ ร ตามลาดบั

และเม่อื พจิ ารณาจากค่าความเป็นกรด-ด่าง พบว่า ไมก้ ระถนิ ตวั อย่างทต่ี ากแดด 45 วนั ใหน้ ้าสม้ ควนั ไมท้ ม่ี คี ่าความ

เป็นกรด-ด่าง สงู สดุ 3.46 เม่อื เปรยี บเทยี บกบั ทต่ี ากแดด 15 วนั และ 30 วนั ทใ่ี หน้ ้าสม้ ควนั ไมท้ ม่ี คี า่ ความเป็นกรด-

ดา่ ง 3.33, 3.27 ตามลาดบั

คาหลกั : น้าสม้ ควนั ไม;้ เตาเผาถา่ นไรค้ วนั ; คณุ สมบตั นิ ้าสม้ ควนั ไม้

Abstract

The purpose of this research was to study the properties of acacia wood vinegar obtained from burning in
a small vertical tank smokeless charcoal furnace. The method was to take 50 kg of acacia wood samples
per sample and dry them in the sun for 3 levels of humidity reduction: 15, 30 and 45 days, respectively.
The residual moisture was 7.4, 6.8 and 5.3, respectively, and when the acacia wood samples were burned
in the kiln for 6 hours per sample. It was found that acacia trees that were exposed to the sun for 15 days
yielded the highest volume of wood vinegar of 7.2 liters, compared to those exposed to the sun for 30 days
and 45 days that yielded 6.9 and 5.5 liters of wood vinegar, respectively. When considering the pH value,
It was found that acacia trees that were exposed to the sun for 45 days yielded wood vinegar with the
highest pH of 3.46 compared to those exposed to the sun for 15 and 30 days that gave wood vinegar with
pH values of 3.33, 3.27, respectively.
Keywords: Wood Vinegar; Smokeless Charcoal Furnace; Wood Vinegar Properties

293

รหสั บทความ : MSFE02-A

การศึกษาสมรรถนะของเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้าเชื้อเพลิงชีวมวลจากเตาเผาถ่านไรค้ วนั
Performance Study of Biomass Fuel Generator from Smokeless Charcoal Furnace

ศภุ ากร โจพ้ มิ าย1 พสิ ทิ ธิ์ ศลิ านนั ท1์ ปฏภิ าณ พลภูเขยี ว1 กนั ญา โกสุมภ2์ ปฏวิ ตั ิ วรามติ ร1 กติ ติ แกว้ ชาต1ิ
ววิ ฒั น์ อภสิ ทิ ธภิ์ ญิ โญ1 และ ธรี ะ ฮวบขนุ ทด1*

1สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000

2สาขาวศิ วกรรมเมคคาทรอนิกส์ คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถ.สุรนารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000
*ตดิ ตอ่ : [email protected], 093-983-5426

บทคดั ยอ่
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ศกึ ษาอตั ราการสน้ิ เปลอื งเชอ้ื เพลงิ และประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้าขนาดเลก็ ท่ี
มภี าระทางไฟฟ้าขนาด 500, 1000, 1500 และ 2000 วตั ต์ โดยเชอ้ื เพลงิ ทน่ี ามาใชใ้ นการศกึ ษาครงั้ น้ี คอื น้ามนั เบน
ซนี 91 และก๊าชท่ไี ดจ้ ากการเผาถ่านชวี มวล จากการทดสอบพบว่า อตั ราการสน้ิ เปลอื งเชอ้ื เพลงิ เฉลย่ี ของเคร่อื ง
กาเนิดไฟฟ้าเรยี งตามขนาดจากน้อยไปหามากของภาระทางไฟฟ้ากรณีใชน้ ้ามนั เบนซีน 91 คอื 0.0032, 0.0025,
0.0021 และ 0.0019 ลูกบากศเ์ มตรต่อกโิ ลวตั ตช์ วั ่ โมง ตามลาดบั กรณีใชก้ ๊าซทไ่ี ดจ้ ากการเผาถ่านชวี มวล คอื 9.25,
4.92, 3.45 และ 2.77 กโิ ลกรมั ต่อกโิ ลวตั ต์ชวั ่ โมง ตามลาดบั รอ้ ยละของประสทิ ธภิ าพของเคร่อื งกาเนิดไฟฟ้ากรณี
ใช้น้ามนั เบนซนี 91 คอื 5.3, 10.8, 16.2 และ 21.6 ตามลาดบั กรณีใช้ก๊าซท่ไี ดจ้ ากการเผาถ่านชวี มวล คือ 5.3,
10.7, 16.1 และ 21.5 ตามลาดบั และเม่อื ทาการเปรยี บเทยี บคา่ ประสทิ ธภิ าพทไ่ี ดจ้ ากเชอ้ื เพลงิ ทงั้ 2 ชนดิ นัน้ พบวา่
ไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั นัยสาคญั 0.05
คาหลกั : ประสทิ ธภิ าพเคร่อื งกาเนิดไฟฟ้า; อตั ราการสน้ิ เปลอื งเชอ้ื เพลง; อตั ราสว่ นอากาศต่อเชอ้ื เพลงิ

Abstract
The objective of this research is to study the fuel consumption and efficiency of small generators with
electrical loads of 500, 1000, 1500 and 2000 watts. The fuels used in this study were benzene 91 and gas
obtained from burning biomass. From the test, it was found that the average fuel consumption rates of the
generators arranged in descending order of the electrical load in the case of using gasoline 91 were 0.0032,
0.0025, 0.0021 and 0.0019 cubic meters per kWh, respectively. The use of gas from biomass burning were
9.25, 4.92, 3.45 and 2.77 kg/kWh, respectively. The percentages of generator efficiency in the case of using
gasoline 91 were 5.3, 10.8, 16.2 and 21.6, respectively. In the case of using gas obtained from biomass
burning, they were 5.3, 10.7, 16.1 and 21.5, respectively. When comparing the efficiency values obtained
from the two fuel types, there was no statistical difference at the 0.05 level of significance.
Keywords: Generator Efficiency; Fuel Consumption; Air-Fuel Ratio.

295

รหสั บทความ : MSFE03-A

เครอื่ งสบั อเนกประสงค์
Multi-Purpose Chopper

พสั กร เรอื งสนั เทยี ะ1 พรี พฒั น์ ทา้ วตรยั รตั น์1 กนั ญา โกสุมภ2์ ปฏวิ ตั ิ วรามติ ร1 กติ ติ แกว้ ชาต1ิ
ววิ ฒั น์ อภสิ ทิ ธภิ์ ญิ โญ1 และ ธรี ะ ฮวบขนุ ทด1*

1สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000
2สาขาวศิ วกรรมเมคคาทรอนิกส์ คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000

*ตดิ ต่อ: [email protected], 093-983-5426

บทคดั ย่อ

งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื สรา้ งเคร่อื งสบั อเนกประสงคท์ ่มี ใี บมดี 4 ใบ ขนาดกวา้ ง 8 ซม. ยาว 29 ซม. จานวน 1

ชุด ตดิ ตงั้ กบั เพลาอานวยกาลงั ของรถแทรกเตอร์ขนาด 45 แรงมา้ เพ่อื ทดสอบความสามารถในการทางานของ

เคร่อื งสบั อเนกประสงค์กบั ต้นยคู าลปิ ตสั ต้นกลว้ ย และหญ้าเนเปียร์ ท่มี ขี นาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางไม่เกนิ 2 น้ิว ท่ี

ความเรว็ รอบ 3 ระดบั คอื 1000, 1300, 1500 รอบต่อนาที ตามลาดบั จากการทดสอบพบว่า ทค่ี วามเรว็ รอบ 1500

รอบตอ่ นาทนี ัน้ เครอ่ื งสบั อเนกประสงคม์ คี วามสามารถในการทางานสงู สุด คอื มอี ตั ราการสบั ตน้ ยคู าลปิ ตสั 210.55

กโิ ลกรมั ต่อชวั ่ โมง ตน้ กลว้ ย 220.00 กโิ ลกรมั ต่อชวั ่ โมง และหญ้าเนเปียร์ 218.65 กโิ ลกรมั ต่อชวั ่ โมง มอี ตั ราการ

สน้ิ เปลอื งน้ามนั เช้อื เพลงิ ต้นยูคาลปิ ตสั 2.0 ลติ รต่อชวั ่ โมง ต้นกลว้ ย 1.85 ลติ รต่อชวั ่ โมง และหญา้ เนเปียร์ 1.90

ลติ รต่อชวั ่ โมง

คาหลกั : เครอ่ื งสบั ; เพลา; PTO

Abstract

This research aims to create a multi-purpose chopper with 4 blades. The blade is 8 cm wide, 29 cm long,
to be installed on the PTO shaft of a 45 hp tractor. To test the multi-purpose chopper's performance on
eucalyptus, banana and napier grasses up to 2 inches in diameter, at 3 speeds of rotation: 1000, 1300,
1500 rpm., respectively. Tests show that at 1500 rpm. the multi-purpose chopper has the highest working
capacity. That is, the chopping rate of eucalyptus trees is 210.55 kg per hour, banana trees 220 kg per
hour and napier grass 218.65 kg per hour. and fuel consumption: eucalyptus 2 liters per hour, banana trees
1.85 liters per hour and napier grass 1.9 liters per hour
Keywords: Multi-purpose; PTO; Shaft Chopper

297

รหสั บทความ : MSFE04-A

การผลิตโฟมโลหะแบบเซลลเ์ ปิ ด
The Production of Open-Cellular Metal Foam

ฉงปิง จาง1 ธราดล ไกรสวุ รรณ1 รงั สมิ นั ต์ ดารหิ 1์ บณั ฑติ กฤตาคม1 รตนิ ันท์ เหลอื มพล1 จตั พุ ล ป้องกนั 1,2
ไพลนิ หาญขนุ ทด1,2 และ สรุ เดช สนิ จะโป๊ ะ1,2*

1 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาในเทคโนโลยขี องวสั ดพุ รนุ (Development in Technology of Porous Materials Research Laboratory: DiTo-Lab)
สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

2 สถาบนั ระบบรางแหง่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน สถาบนั สหสรรพศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถนนสรุ นารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000

*ตดิ ต่อ: E-mail: [email protected] และ [email protected], เบอรโ์ ทรศพั ท์ 044-233-073 ตอ่ 3410, เบอรโ์ ทรสาร 044-233-074

บทคดั ย่อ
งานวจิ ยั น้ีจดั ทาขน้ึ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ผลติ และทดสอบคณุ สมบตั ทิ างความรอ้ นของโฟมโลหะแบบเซลล์เปิด โดยใช้
วธิ ีการผลิตท่เี รยี กว่ากระบวนการโลหะแขง็ ในรูปแบบผงชนิดของผงโลหะท่เี ลือกใช้เป็นผงเหล็กและใช้น้าตาล
ทรายขาวตวั ยดึ พ้นื ท่ี เพ่อื จะทาให้เกดิ รูพรุนในช้นิ งาน ซ่งึ ปรญิ ญานิพนธ์น้ีได้ใช้เทคนิคการละลายและการอบให้
ความรอ้ นในการผลติ โฟมเหลก็ แบบเซลลเ์ ปิด โดยจะผลติ โฟมเหลก็ แบบเซลลเ์ ปิดทม่ี ขี นาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง 8 cm
ความหนา 1 cm และ มคี ่าความพรุน () 3 ค่า คอื 70, 80 และ 90% จากการผลติ โฟมเหลก็ แบบเซลล์เปิดพบว่า
ชน้ิ งานทผ่ี า่ นการอดั ขน้ึ รปู ดว้ ยความดนั 450 MPa ผงเหลก็ ไม่ผสานตดิ กนั แน่นพอทจ่ี ะสามารถนาไปละลายตวั ยดึ
พน้ื ทแ่ี ลว้ ยงั คงรกั ษาโครงสรา้ งของโฟมเหลก็ แบบเซลลเ์ ปิดไวไ้ ด้ ทาใหช้ น้ิ งานสะลายตวั ในขนั้ ตอนการละลายตวั ยดึ
พน้ื ท่ี ส่งผลให้ไม่สามารถผลติ โฟมเหลก็ เแบบเซลลเ์ ปิดออกมาได้ จากปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ ทางผูจ้ ดั ทาไดข้ อคาแนะนา
แนวทางในการแกไ้ ขปัญหา จากท่านรศ.ดร.เสกศกั ดิ ์ อสั วะวสิ ทิ ชิ ์ ยั อาจารยจ์ ากภาควชิ าวศิ วกรรมโลหะการ คณะ
วศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ซ่งึ ท่านไดแ้ นะนาแนวทางในการแกไ้ ขปัญหามาทงั้ สน้ิ 5 ประการดงั น้ี
1) เพม่ิ ความดนั ในการอดั ขน้ึ รูปชน้ิ งาน 2) ลดขนาดของตวั ยดึ พน้ื ท่ี 3) เปลย่ี นชนิดของตวั ยดึ พน้ื ท่ี 4) สลบั ขนั้ ตอน
ในการผลติ และ 5) เปลย่ี นชนิดของผงโลหะ ซ่งึ ทางผูจ้ ดั ทาได้ทดลองตามคาแนะนาทงั้ 5 ประการ โดยแบ่งการ
ทดลองเป็น 4 กรณี และจากการทดลองทงั้ 4 กรณี พบว่ายงั ไมส่ ามารถผลติ โฟมโลหะแบบเซลลเ์ ปิดขน้ึ มาได้
คาหลกั : ผงเหลก็ ; โฟมโลหะแบบเซลลเ์ ปิด; คณุ สมบตั ทิ างความรอ้ น; ความพรนุ ; ตวั ยดึ พน้ื ท่ี

Abstract
The aim of this research is to produce and the test thermal properties of open-cell metal foam using a
manufacturing method known as the solid metallurgy process in powder form. The chosen type of metal
powder is iron powder and the white sugar is used as a placeholder in order to generate the porosity in
the workpiece. This project has applied melting and heat treatment techniques in the production of the
metal open-cell foam with a diameter of 8 cm, a thickness of 1 cm. and Three porosities (f) consisting of
70, 80 and 90% were done. Formed at a pressure of 450 MPa, the iron powder was not bound together

299

29 มนี าคม 2565
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
tightly enough to be able to dissolve the spacer while retaining the open-cell foam steel structure causing
the workpiece to disintegrate in the process dissolving the space retainer. As a result, it is not possible to
produce metal open-cell foam. From the problem the new solved methods were suggested by Assoc. Prof.
Dr. Seksak Asawavisitchai lecturer from the Department of Metallurgical Engineering Faculty of
Engineering Chulalongkorn University. He suggested the there were 5 methods as follows: 1) Increase
the pressure in the extrusion of the workpiece, 2) Reduce the size of the space holder, 3) Change the
type of space holder, 4) Switch the production process and 5) Change the type of powder metallurgy.
Based on such 5 methods there were divided into 4 experiments. It was found that the metal open-cell
foam could not yet be produced.
Keywords: Iron powder; Open-cellular metal foam; Thermal properties; Porosity; Space holder

300

รหสั บทความ : MSFE05-A

การศึกษาค่าประสิทธิภาพหมอ้ ไอน้าแรงดนั ตา่ ขนาดเลก็
ท่ีใช้ LPG เป็นเชือ้ เพลิงโดยการติดตงั้ วสั ดพุ รนุ ในท่อไฟ
Study of Efficiency of a Small Low Pressure Boiler using LPG
as Fuel with Installation of Porous Media in Fire Tube

ณฏั ฐพล ศรปี ระเสรฐิ ศกั ด1ิ ์ ธนากร ขนั นางรมั ย1์ สุปรยี า พวงพลอย1
บณั ฑติ กฤตาคม1 และ จตั ุพล ป้องกนั 2*

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาในเทคโนโลยขี องวสั ดุพรุน (Development in Technology of Porous Materials Research Laboratory : DiTo-Lab)
1สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
2สาขาวชิ าวศิ วกรรมระบบราง สถาบนั ระบบรางแห่งมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000

*ตดิ ต่อ: E-mail: [email protected] และ [email protected], โทรศพั ท์ 044-233-073 ตอ่ 3410, โทรสาร: 044-233-074

บทคดั ยอ่
งานวิจยั น้ีเป็นการศึกษาค่าประสิทธภิ าพหม้อไอน้าแรงดนั ต่าขนาดเล็กท่ีใช้ LPG เป็นเช้ือเพลิงโดยการติดตงั้
วสั ดุพรุนในท่อไฟ เพ่อื ศกึ ษาค่าตวั แปรต่าง ๆ ทม่ี ผี ลต่อประสทิ ธภิ าพของหมอ้ ผลิตไอน้า (ηboiler) โดยใชห้ มอ้ ผลติ
ไอน้าชนิดท่อไฟทม่ี คี วามสามารถในการผลติ ไอน้าไดท้ ค่ี วามดนั 4 bar จานวน 25 ท่อ ในการหาค่าประสทิ ธภิ าพ
ของหมอ้ ผลติ ไอน้าจะทาการทดลองทค่ี วามดนั (P) 1, 2, 3 และ 4 bar ปรมิ าณการจ่ายเชอ้ื เพลงิ (Qf) 400 L/h และ
มรี ะยะห่างของวสั ดุพรุน (Sp) คอื 50 mm, 75 mm และ 100 mm จากผลการทดลองพบว่า อุณหภูมไิ อน้า (T5)
จะมคี ่าสูงข้นึ ตามระยะห่างของวสั ดุพรุน (Sp) และความดนั (P) ท่เี พมิ่ ขน้ึ สาหรบั ค่าประสทิ ธภิ าพของหมอ้ ผลิต
ไอน้า (ηboiler ) สงู สุด คอื 97.21 % ทค่ี วามดนั 4 bar และระยะห่างของวสั ดุพรุน (Sp) 100 mm
คาหลกั : ประสทิ ธภิ าพหมอ้ ไอน้า; วสั ดุพรนุ ; แรงดนั การใชไ้ อน้า; หมอ้ ผลติ ไอน้า

Abstract
This research is to study the efficiency of a small low-pressure boiler using LPG as fuel with the
installation of porous media in the fire tube. To study the various variables affecting the efficiency of the
boiler (ηboiler). which will be selected as a fire tube type steam boiler capable of producing steam at a
pressure of 4 bar for 25 pipes in order to determine the efficiency of the boiler. The test was performed at
four pressure levels (P): 1, 2, 3, and 4 bar, a fuel supply volume of 400 L/h (Qf), and a distance of three
porous materials: 50 mm, 75 mm, and 100 mm. From the experimental results, it was found that the
steam temperature (T5) increases with the spacing of the porous material (Sp) and the pressure (P). The
maximum boiler efficiency (ηboiler) was 97.21% at 4 bar pressure and 100 mm of porous material distance
(Sp).
Keywords: Boiler efficiency; Porous media; Steam pressure; Small boiler

301

รหสั บทความ : MSFE06-A

การส่งเสริมการถา่ ยเทความรอ้ นในท่อกลมโดยการติดตงั้ วสั ดพุ รนุ
ชนิ ดตาข่ายแบบเอียง

Heat transfer enhancement in circular pipe by installing the inclined
wire net porous media

ไพลนิ หาญขนุ ทด1 ธนพล ณ ระนอง2 ปรวรรตน์ เกกาคา2 คมกฤษ จะรอนรมั ย2์
จตั ุพล ป้องกนั 1 สรเุ ดช สนิ จะโป๊ 1 บณั ฑติ กฤตาคม2 และรพพี งศ์ เป่ียมสวุ รรณ3*

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาในเทคโนโลยขี องวสั ดพุ รนุ (DiTo-Lab)
1 สาขาวชิ าวศิ วกรรมระบบราง สถาบนั ระบบรางแหง่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
2 สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
3 สาขาวชิ าฟิสกิ สป์ ระยกุ ต์ คณะวทิ ยาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

744 ถนนสรุ นารายณ์ ตาบลในเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000

*ตดิ ต่อ: [email protected] และ[email protected], เบอรโ์ ทรศพั ท์ 044 233 073, เบอรโ์ ทรสาร 044 233 074

บทคดั ยอ่
การทดลองน้ีมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื หาค่าเลขนัสเซลิ ท์ (Nussle number, Nu) และค่าสมั ประสทิ ธแิ์ รงเสยี ดทาน (Friction factor,
f ) ทเ่ี กดิ จาการไหลของของไหลภายในท่อกลมภายในท่อจะตดิ ตงั้ วสั ดุพรุนแบบเอยี งเตม็ ท่อเอยี งไม่เตม็ ท่อและเอยี งพน้ื ท่ี
เท่าเดมิ มกี ารเปล่ยี นแปลงมุมเอยี ง () ตดิ ตงั้ แผ่นตาขา่ ยสแตนเลส PPI = 8 กาหนดระยะ Lp = 75 mm และเลขเรยโ์ นลด์
(Reynolds number, Re) ในช่วง 5000 - 25000 จากการทดลอง พบว่าค่า Nu มคี ่าสูงสุดท่มี ุมเอยี ง 40 องศา แบบพน้ื ท่เี ท่า
เดมิ f มคี ่าทส่ี ูงสุดทม่ี ุมเอยี ง 0 องศา แบบเตม็ ท่อและพ้นื ทเ่ี ท่าเดมิ PEC จะมคี ่าทส่ี ูงสุดเท่ากบั 2.39 ทม่ี ุมเอยี ง 30 องศา
แบบพน้ื ทเ่ี ท่าเดมิ และ Re = 4460.16
คาหลกั : ทอ่ ผวิ เรยี บ; ฟลกั ซ์ความรอ้ นผวิ คงท;่ี มุมเอยี ง; วสั ดุพรุน

Abstract
The experiment aimed to find the nusselt number (Nu) and friction factor ( f ) that generated fluid flow inside the
round pipe inside the pipe, will be equipped with a full-tilt perforated material, the pipe is not fully tilt, the pipe is not
full, and the area is tilted the same, the angle of inclination () is installed, the stainless steel mesh plate is installed
, PPI = 8, the Lp = 75 mm distance is determined, and the Reynolds number (Re) in the range of 5000 - 25000
from the experiment. Found nu value Has the highest value at the same 40 degree tilt angle, the same area f has
the highest value at the 0 degree inclination angle, full pipe and area is the same. PEC has a maximum value of
2.39 at the same area 30 degree tilt and Re = 4460.16
Keywords: Spiral - Grooved Tube; Constant Surface Heat Flux; Inclined angle; Porous Media

303

รหสั บทความ : MSFE07-A

หวั พ่นไฟวสั ดพุ รนุ ท่ีมหี ้องเผาไหมแ้ บบหมนุ โดยใช้ชีวมวลอดั เมด็ เป็นเชื้อเพลิง
Porous burner with a rotary combustion chamber using pellet biomass as fuel

นวิ ฒั น์ เกตชุ าต1ิ เกรยี งศกั ดิ ์ กอบสนั เทยี ะ2 อนุรกั ษ์ จบี คา้ งพลู2 อภวิ ฒั น์ พรมหนู2
จตั ุพล ป้องกนั 3 สรุเดช สนิ จะโป๊ ะ3 บณั ฑติ กฤตาคม2 และไพลนิ หาญขนุ ทด3*

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาในเทคโนโลยขี องวสั ดพุ รุน (DiTo-Lab)
1 สาขาวชิ าวศิ วกรรมพลงั งานและปรบั อากาศ คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

2 สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
3 สาขาวชิ าวศิ วกรรมระบบราง สถาบนั ระบบรางแหง่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถนนสรุ นารายณ์ ตาบลในเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000

*ตดิ ตอ่ : [email protected] และ[email protected], เบอรโ์ ทรศพั ท์ 044 233 073, เบอรโ์ ทรสาร 044 233 074

บทคดั ยอ่
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื พฒั นาและสรา้ งหวั พ่นไฟวสั ดุพรุนเชอ้ื เพลงิ ชวี มวลทม่ี กี ารหมุนของห้องเผาไหม้ ซ่งึ
หอ้ งเผาไหมม้ ขี นาดเสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 150 mm และยาว 407 mm แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 สว่ นทส่ี าคญั ประกอบไปดว้ ย
สว่ นทห่ี น่ึงเป็นส่วนทป่ี ้อนเชอ้ื เพลงิ ชวี มวลทผ่ี สมคลุกเคลา้ มาพรอ้ มกบั อากาศ (Injection zone) และสว่ นทส่ี องเป็น
หอ้ งเผาไหม้ (Combustion chamber zone) ทม่ี กี ารตดิ ตงั้ ระบบขบั เคล่อื นใหม้ กี ารหมุน ความเรว็ รอบการหมุนของ
หอ้ งเผาไหม้ (N) จะทดลอง 5 ระดบั ได้แก่ 0, 0.5, 1, 1.5 และ 2 rpm อตั ราการจ่ายเช้อื เพลงิ (QF) จะมี 5 ระดบั
คอื 1, 1.5, 2, 2.5 และ 3 kg/hr และอตั ราการจ่ายอากาศ (QA) มี 4 ระดบั ได้แก่ 10, 20, 30 และ 40 m3/hr วสั ดุ
พรุนทเ่ี ลอื กใชท้ ามาจากตาขา่ ยสแตนเลสชนิด 304 จานวนแผ่นของวสั ดุพรุน (H) และจานวนช่องว่างต่อหน่ึงน้ิว
(PPI) ทใ่ี ชใ้ นการทดลอง คอื 6 แผ่น และ 12 ตามลาดบั พฤตกิ รรมการเผาไหมท้ ท่ี าการศกึ ษา คอื โครงสรา้ งทาง
อุณหภูมติ ลอดแนวความยาวของหวั พ่นไฟ (T) ปรมิ าณแก๊สไอเสยี (CO และ NOX) และประสทิ ธภิ าพของการเผา

ไหม้ ( c ) จากการทดลองพบว่า ระดบั T มคี ่าสูงข้นึ ตาม N ท่เี พม่ิ ข้นึ ในช่วง N = 0 ถึง 1.5 rpm แต่เม่อื N = 2

rpm กลบั พบว่า T มแี นวโน้มลดลง สาหรบั ระดบั T จะเพมิ่ ขน้ึ ตาม QF และ QA ทส่ี งู ขน้ึ เน่อื งจากระบบไดร้ บั ปรมิ าณ
เช้อื เพลงิ และอากาศทม่ี ากขน้ึ เพยี งพอ สง่ ผลใหเ้ กดิ การเผาไหมท้ ด่ี กี ว่า อย่างไรกต็ ามปรมิ าณแก๊สไอเสยี คอื CO

และ NOX มคี ่าต่าสุดและสงู สุด ทส่ี ภาวะ QF = 2.5 kg/hr และ QA = 40 m3/hr นอกจากน้ีค่า c ในปรญิ ญานพิ นธ์

น้ี มคี า่ สงู ทส่ี ุดเท่ากบั 95.5 % เกดิ ขน้ึ ทส่ี ภาวะท่ี N = 1.5 rpm, QF = 1.5 kg/hr และ QA = 40 m3/hr

คาหลกั : หวั พ่นไฟวสั ดพุ รนุ ; หอ้ งเผาไหมแ้ บบหมนุ ; เชอ้ื เพลงิ ชวี มวลอดั เมด็

Abstract
This article aims to develop a porous burner with a rotary combustion chamber using pellet biomass as
fuel. The combustion chamber had an outer diameter of 150 mm and a length of 407 mm. The burner

305

29 มนี าคม 2565
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
was divided into two important zones. The first zone was the supplying of pellet biomass mixing with the
air into the chamber ( Injection zone) . The second zone was a combustion chamber which a driving
system of the rotation was installed. The rotating speed (N) was examined in five levels: 0, 0.5, 1, 1.5,
and 2 rpm. The supplying fuel rate (QF) was also done in 5 levels: 1, 1.5, 2, 2.5, and 3 kg/hr. The
supplying air rate (QA) had four levels: 10, 20, 30, and 40 m3/hr. The 304 stainless steel was used as
porous media. The layer of porous media ( H) and pores per inch ( PPI) were 6 layers and 12,
respectively. The combustion behavior such as temperature change (T), exhaust gas (CO and NOx) and

combustion efficiency ( c ) were investigated. From the experiment, it was found that the level of T was

raised from the increasing N from 0 to 1.5 rpm but the T was dropped at N = 2 rpm. The level of T was
increased with QF and QA due to the quantity of fuel and air supplied into the system had sufficient
leading to obtaining better combustion. However, the level of the exhaust gas of CO and NOX became,
respectively, the lowest and highest at the condition of QF = 2.5 kg/hr and QA = 40 m3/hr. Moreover, the

maximum c in all experiments of the present project gave 95.5 % at the conditions of N = 1.5 rpm, QF

= 1.5 kg/hr and QA = 40 m3/hr.
Keywords: Porous burnerhrower; Rotary combustion chamber; Pellet biomass

306

บทความเฉพาะบทคัดย่อ

Related Topics

รหสั บทความ : RTT01-A
H-infinity Performance for Uncertain Neutral System with Mixed Time-varying

Delays

Boonyachat Meesuptong and Kanit Mukdasai*

Department of Mathematics, Faculty of Science, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand

*ตดิ ตอ่ : [email protected], [email protected]

Abstract
This paper is concerned with the exponential stability analysis and H-infinity performance for neutral
system with interval time-varying discrete, neutral and distributed delays, and nonlinear uncertainties. The
uncertainties under consideration are nonlinear time-varying parameter perturbations. Based on Jensen's
integral inequality, Wirtinger-base integral inequality, Leibniz-Newton fomula, Peng-Park's integral
inequality, utilization of zero equation, decomposition matrix technique and the appropriate Lyapunov-
Krasovskii functional (LKF), new delay-range-dependent sufficient conditions for the H-infinity performance
with exponential stability of the system are presented in terms of linear matrix inequalities. Moreover, the
improved delay-range-dependent exponential stability criterion of neutral system with discrete, neutral and
distributed time-varying delays, and nonlinear uncertainties is presented. Numerical simulations are given
to show the advantages of our method.
Keywords: exponential stability; H-infinity performance; neutral system; linear matrix inequality

307

รหสั บทความ : RTT02-A

ระบบสบู น้าพลงั งานความรอ้ นเหลอื ทิ้งจากการเผาถ่าน
The Waste Heat Water Pump System from Making Charcoal

ภาณุศกั ดิ ์ มลู ศร1ี * พงษธร พง่ึ พา2 ภเู บศร์ หะสติ ะ2, รณชยั จนี อาศยั 2 ปฏวิ ตั ิ วรามติ ร2 บณั ฑติ กฤตาคม2
อภเิ ดช บุญเจอื 1 ธวชั ชยั จารวุ งศว์ ทิ ยา1 และ รพพี งศ์ เป่ียมสุวรรณ3

1สาขาวศิ วกรรมพลงั งานและปรบั อากาศ คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
3สาขาฟิสกิ สป์ ระยุกต์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 744 ถ.สรุ นารายณ์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000
*ตดิ ตอ่ : E-mail [email protected], 086-3974013

บทคดั ย่อ
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ศกึ ษาระบบสบู น้าพลงั งานความรอ้ นเหลอื ท้งิ จากการเผาถ่าน อุปกรณ์หลกั ของระบบ
ประกอบดว้ ย ถงั ผลติ ไอน้า ถงั ขบั ดนั ไอน้า ถงั เกบ็ น้ารอ้ น ถงั น้าหล่อเยน็ และบอ่ น้า ทาการทดลองทค่ี วามสงู ดา้ นส่ง
น้าเท่ากบั 1 m และความสูงดา้ นดูดน้าเท่ากบั 1 m ใชไ้ มย้ ูคาลปิ ตสั เป็นแหล่งใหพ้ ลงั งานความรอ้ นเพ่อื ผลติ ไอน้า
ปรมิ าณ 25 kg และ 50 kg สาหรบั ถงั ผลติ ไอน้าจานวน 1 ถงั และ 2 ถงั ตามลาดบั บนั ทกึ ขอ้ มลู ภายในระยะเวลา
2 ชวั ่ โมง จากผลการทดลองพบว่า ระบบจะเรม่ิ ขบั ดนั น้าทอ่ี ุณหภูมิ 90 ºC โดย 1 ถงั ผลติ ไอน้า สามารถสูบน้าได้
27 Cycle ปรมิ าณน้าเท่ากบั 174.7 ลติ ร ท่ี 2 ถงั ผลติ ไอน้า สามารถสูบน้าได้ 41 Cycle ไดป้ รมิ าณน้า 400.48 ลติ ร
จากผลการทดลอง จงึ สรุปได้ว่า ระบบสูบน้าพลงั งานความรอ้ นเหลอื ท้งิ จากการเผาถ่านสามารถนามาประยุกต์ใช้
เพ่อื สบู น้าได้ เป็นการนาพลงั งานเหลอื ทง้ิ มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
คาหลกั : ไอน้า; ถ่าน; ความรอ้ นเหลอื ทง้ิ

Abstract
This research aims to study the waste heat water pump system from making charcoal. The main
equipment of the system consists of a heating tank, a liquid piston tank, a hot water storage tank, an
overhead tank and well tank. A one-meter discharge head and suction heads are tested. The eucalyptus
wood is used as a heat source to produce a vapor, 25 kg and 50 kg for 1 and 2 heating tanks
respectively. The data is recorded within 2 hours. It is found that a pump could operate at the
temperature equal to 90oC. In which 1 heating tank, the pump could suck around 174.7 l, 27 cycles. In
which 2 heating tank, the pump could suck around 400.48 l, 41 cycles. It was concluded that of a waste
heat water pump system from making charcoal can be applied to pump water and the use of waste
energy to benefit
Keywords: Vapor; Charcoal; Waste heat

309

รหสั บทความ : RTT03-A

การพฒั นารถสกตู๊ เตอรไ์ ฟฟ้าแบบ 4 ล้อ
Development of a 4-Wheel Electrical Scooter

ขรรคช์ ยั วงษาเหวก1,2 จกั ราวุธ ชอบใหญ่1,2 เทวพร แสนคาภา1,2 กติ ติ แกว้ ชาต1ิ บณั ฑติ กฤตาคม1,2

1 สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน นครราชสมี า

744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000
2 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาในเทคโนโลยขี องวสั ดพุ รนุ

(Development in Technology of Porous Materials Research Laboratory: DiTo-Lab)
*ตดิ ตอ่ : [email protected], 084-289-4757

บทคดั ย่อ
งานวจิ ยั น้ีน้ีมกี ารดาเนินงาน 2 ขนั้ ตอน ประกอบไปดว้ ย ขนั้ ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์โครงสรา้ งรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า
แบบ 4 ลอ้ ด้วยระเบยี บวธิ ไี ฟไนตเ์ อลเิ มนต์ และขนั้ ตอนท่ี 2 การสรา้ งและการทดสอบสมรรถนะของโครงรถสกู๊ต
เตอร์ไฟฟ้าแบบ 4 ลอ้ ซ่ึงสมรรถนะทไ่ี ดท้ าการทดสอบ ได้แก่ ระยะเบรก (B) ระยะเวลาในการทาความเรว็ ไปถงึ
ความเรว็ ทต่ี ้องการ (a) และระยะเวลา การใชง้ านของแบตเตอร่ี (tb) จานวนผูข้ บั ขม่ี อี ยู่ทงั้ หมด 5 ค่า คอื 40, 50,
60, 70, และ 80 kg และใชค้ วามเรว็ 10, 15 และ 20 km/hr จากการวเิ คราะหโ์ ครงสร้างรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้าแบบ 4
ล้อ พบว่าค่าการแอ่นตัว (), ความเครียด () และความเค้น () ของโครงสร้างมีค่าสูงสุดเป็น 1.210 mm,
1.059x10-4 และ 31.46 MPa ตามลาดบั สาหรบั ผลการทดสอบสมรรถนะของรถสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้าแบบ 4 ลอ้ พบว่า
เม่อื มวลและความเรว็ เพมิ่ ข้นึ จะใช้ระยะเบรก (B) ท่ยี าวข้นึ และระยะเวลาในการทาความเรว็ ไปถึงความเร็วท่ี
ตอ้ งการ (a) จะใชเ้ วลานานขน้ึ ระยะเวลาการใชง้ านของแบตเตอร่ี (tb) ในสภาวะของมวลผขู้ บั ขเ่ี ทา่ กบั 43, 49, 61,
73, และ 82 kg และมคี วามเรว็ 20 km/hr พบวา่ มคี า่ เท่ากบั 50, 47, 45, 43, และ 40 min ตามลาดบั

คาหลกั : รถสกุต๊ เตอรไ์ ฟฟ้าแบบ 4 ลอ้ ; ระเบยี บวธิ ไี ฟไนตเ์ อลเิ มนต์; คา่ การแอ่นตวั

Abstract
This research has 2 steps, comprising of step 1 analysis of the structure of a four-wheel electric scooter
using finite element method, and the step 2 the construction and test of the performance of a 4-wheel
electric scooter. The tested performances are braking distance (B), time to speed up to the desired
velocity (a), and time of consumed energy from battery (tb). There are 5 levels of passenger mass: 40, 50,
60, 70, and 80 kg. The scooter velocity are 10, 15 and 20 km/hr. From the analysis of the 4 wheel
electric scooter structure, it was revealed that the deflection (), strian () and stress () gave the
maximum at 1.210 mm, 1.059x10-4 and 31.46 MPa, respectively. For the performance test, it was found

311

29 มนี าคม 2565
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
that when the passenger mass and velocity was increased, the braking distance (B) and the time to
speed up to the desired velocity (a) was also increased. The time of consumed energy from battery (tb)
with different passenger mass of 43, 49, 61, 73, and 82 kg at the velocity of 20 km/hr become 40, 43, 45,
47 and 50 min, respectively.
Keywords : a 4-Wheel Electrical Scooter; Finite Element Method; Deflection

312

รหสั บทความ : RTT04-A

การศึกษาเตาเผาถ่านขนาด 200 ลิตร แบบแนวตงั้ โดยการติดตงั้ วสั ดพุ รนุ
ชนิดตาขา่ ยสเตนเลสในท่อนาความรอ้ น

Study of 200-Liter Vertical Charcoal Furnace with Installation of
Stainless Wire-Mesh Porous Media in Heat Conduction Tube

ไพลนิ หาญขนุ ทด1 เกยี รตศิ กั ดิ ์สาระขนั ธ์1 ภทั รพล ศรโี ชค1 ภทั รพล สายแวว1
จตั พุ ล ป้องกนั 1 สรุเดช สนิ จะโป๊ 1 ธรี ะ ฮวบขนุ ทด2 และบณั ฑติ กฤตาคม2*

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาเทคโนโลยขี องวสั ดพุ รนุ (DiTo-Lab)
1 สาขาวศิ วกรรมระบบราง สถาบนั ระบบรางแหง่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
2 สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน

744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี 30000

*ตดิ ตอ่ : E-mail: [email protected] และ[email protected], เบอรโ์ ทรศพั ท์ 044-233-073 เบอรโ์ ทรสาร: 044-233-074

บทคดั ยอ่
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ศกึ ษาอทิ ธพิ ลของการตดิ ตงั้ วสั ดุพรุนชนิดตาข่ายสเตนเลสในท่อนาความรอ้ นของ
เตาเผาถ่านแบบ 200 ลิตร โดยทาการศึกษาตาข่ายจานวนช่องว่างต่อหน่ึงน้ิว (PPI) เท่ากับ 6, 10 และ 20
ตามลาดบั และมรี ะยะพทิ ช์ (LP) เท่ากบั 10, 30, และ 50 ตามลาดบั จากการศกึ ษาทดลองเผาถ่านพบว่าเตาเผา
ถ่านท่ตี ิดตงั้ วสั ดุพรุน 20 PPI 10 LP มอี ุณหภูมิเฉล่ยี ภายในเตาสูงสุด 197 °C สูงกว่าเตาเผาถ่านท่ไี ม่ติดตงั้ วสั ดุ
พรนุ ประมาณ 48 °C และกรณีตดิ ตงั้ วสั ดุพรุน 10 PPI 50 LP ใชเ้ วลาในกระบวนการผลติ ถ่านน้อยลง 42 นาที เม่อื
เทยี บกบั เตาเผาถา่ นทไ่ี มต่ ดิ ตงั้ วสั ดุพรนุ
คาหลกั : เตาเผาถา่ น 200 ลติ ร; เตาเผาถ่านไรค้ วนั ; วสั ดพุ รนุ ; ตาขา่ ยสเตนเลส

Abstract
In this research aims to study the influence of the installation of stainless wire-mesh steel porous material
in the heat conduction pipe of a 200-liter charcoal furnace and studies on The net number of pores per
inch (PPI) was 6, 10. and 20, respectively, and have a pitch (LP) of 10, 30, and 50, respectively. From a
charcoal burning study, charcoal furnaces equipped with 20 PPI 10 LP porous material had a maximum
internal temperature of 197 °C about 48 °C higher than charcoal furnace without porous materials, and in
the case study of charcoal burning with porous material installed 10 PPI 50 LP, the process time for
charcoal is 42 min less compared to furnace without porous materials.
Keywords: 200-liter charcoal furnace; charcoal furnace; porous material; stainless wire-mesh steel

313

รหสั บทความ : RTT05-A
การศึกษาแบบจาลองทางคณิตศาสตรด์ ้วยวิธีพน้ื ผิวตอบสนองสาหรบั ทานายความ

รนุ แรงของปรากฏการณ์คาวิเตชนั ่ ในถงั ปฏิกรณ์แบบไฮโดรไดนามิกสค์ าวิเตชนั ่

พรรณิภา วรพนั ธ1์ * และ อทิ ธพิ ล วรพนั ธ์2

1 สาขาคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ปิ ระยุกต์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
2 สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000
*ตดิ ต่อ: E-mail: [email protected]

บทคดั ยอ่
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื หาสภาวะและรปู ทรงของแผ่นออรฟิ ิซทเ่ี หมาะสมดว้ ยวธิ พี น้ื ผวิ ตอบสนอง โดยศกึ ษาถงึ
ความสมั พนั ธข์ องตวั แปรต่าง ๆ ไดแ้ ก่ความดนั ทางดา้ นเขา้ ขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางของรู ความหนาของแผ่นออ
รฟิ ิซและจานวนรูบนแผ่นออรฟิ ิซ จากผลการทดลองพบว่าความดนั ทางดา้ นเข้า ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรู
ความหนาของแผ่นออริฟิซและจานวนรูบนแผ่นออริฟิซมีผลต่อเลขคาวิเตชัน่ อย่างมีนัยสาคญั ในขณะท่ีค่า
สมั ประสทิ ธกิ์ ารตดั สนิ ใจของแบบจาลองทางคณิตศาสตร์มคี ่าเท่ากบั 0.8166 ซ่งึ แสดงให้เหน็ ว่าแบบจาลองท่ไี ดม้ ี
ความน่าเช่อื ในการนาไปใชท้ านายค่าความรุนแรงของปรากฏการณ์คาวเิ ตชนั ่ ในถงั ปฏกิ รณ์แบบไฮโดรไดนามกิ สค์ า
วเิ ตชนั ่ ไดค้ ่าทเ่ี หมาะสมของตวั แปรต่าง ๆ คอื ความดนั ทางดา้ นเขา้ เท่ากบั 2 บาร์ ขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางของรู
เท่ากบั 2 mm ความหนาของแผ่นออรฟิ ิซเท่ากบั 3 mm และจานวนรูบนแผ่นออรฟิ ิซเท่ากบั 10 ใหเ้ ลขคาวเิ ตชนั ่
เทา่ กบั 1.157
คาหลกั : สภาวะทเ่ี หมาะสม, วธิ พี น้ื ผวิ ตอบสนอง, แผ่นออรฟิ ิซ

315

รหสั บทความ : RTT06-A
การศึกษาเชิงทดลองผลของแผ่นออริฟิ ซต่อระดบั ความรนุ แรงของปรากฏการณ์

คาวิเตชนั่ ในถงั ปฏิกรณ์แบบไฮโดรไดนามิกสค์ าวิเตชนั ่

พรรณิภา วรพนั ธ1์ * และ อทิ ธพิ ล วรพนั ธ์2

1 สาขาคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ปิ ระยกุ ต์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
2 สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอ่ื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000
*ตดิ ตอ่ : E-mail: [email protected]

บทคดั ย่อ
งานวจิ ยั น้ีมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื หาแผ่นออรฟิ ิซทเ่ี หมาะสมสาหรบั นาไปประยุกต์ใช้เป็นอุปกรณ์เหน่ียวนาคาวเิ ตชนั ่
ภายในถงั ปฏกิ รณ์แบบไฮโดรไดนามกิ ส์คาวเิ ตชนั ่ โดยการทดลองไดม้ ุ่งเน้นไปท่กี ารเปรยี บเทยี บแผ่นออรฟิ ิซจาน
วน 5 แบบทม่ี อี งคป์ ระกอบแตกต่างกนั คอื ขนาด, จานวน และรปู ร่างของรู ในสว่ นของตวั แปรทท่ี าการศกึ ษาไดแ้ ก่
สภาวะในการทางาน (ความดนั ทางดา้ นเขา้ ) และรูปทรงทางเรขาคณิตของแผ่นออรฟิ ิซ (ผลรวมเสน้ รอบรปู ของรู
ทงั้ หมด, ตวั แปร  และ  ) จากผลการทดลองแสดงใหเ้ หน็ ว่าความดนั ทางดา้ นเขา้ ส่งผลอย่างมากต่อระดบั ความ
รุนแรงของปรากฏการณ์คาวเิ ตชนั ่ กล่าวคอื เม่อื ค่าความดนั ทางดา้ นเขา้ เพมิ่ ขน้ึ จะทาให้ตวั เลขคาวเิ ตชนั ่ มคี ่าลดลง
โดยค่าความดนั ทางดา้ นเขา้ ทเ่ี หมาะสมคอื ท่ี 4 บาร์ ซ่งึ จะมตี วั เลขคาวเิ ตชนั ่ ต่าทส่ี ุดทท่ี ุกแบบของแผ่นออรฟิ ิซทใ่ี ช้
ในการทดลอง นอกจากน้ียงั พบว่ารปู ทรงทางเรขาคณิตของแผ่นออรฟิ ิชมบี ทบาทสาคญั ต่อตวั เลขคาวเิ ตชนั ่ เช่นกนั
โดยตวั เลขคาวเิ ตชนั ่ จะมคี ่าลดลงเม่อื ค่าตวั แปร  และ  มคี ่าเพม่ิ ขน้ึ เมอ่ื พจิ ารณาเปรยี บเทยี บระดบั ความรุนแรง
ของปรากฏการณ์คาวเิ ตชนั ่ ภายในถงั ปฏกิ รณ์ทค่ี วามดนั ทางดา้ นเขา้ 4 บาร์ ผลการทดลองยนื ยนั ไดว้ ่า แผ่นออรฟิ ิ
ซแบบ OP-3 ทม่ี ขี นาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางรู 2 มลิ ลเิ มตร จานวนรู 24 รู และมตี วั เลขคาวเิ ตชนั ่ เทา่ กบั 0.52 ดกี ว่าเม่อื
เปรยี บเทยี บกบั แผ่นออรฟิ ิซแบบ OP-2, OP-1, OP-4 และ OP-5 ตามลาดบั ดงั นัน้ จงึ สรุปได้ว่าแผ่นออรฟิ ิซแบบ
OP-3 มคี วามเหมาะสมมากทส่ี ดุ ทจ่ี ะนามาเป็นอุปกรณ์เหน่ียวนาคาวเิ ตชนั ่ ภายในถงั ปฏกิ รณ์แบบไฮโดรไดนามกิ ส์
คาวเิ ตชนั ่ สาหรบั ประยุกตใ์ ชใ้ นกระบวนการผลติ ไบโอดเี ซล

คาหลกั : ถงั ปฏกิ รณ์แบบไฮโดรไดนามกิ สค์ าวเิ ตชนั ่ ; แผน่ ออรฟิ ิซ; ตวั เลขคาวเิ ตชนั ่

317

รหสั บทความ : RTT07-A

การศึกษาการถา่ ยเทความรอ้ นในวสั ดพุ รนุ แบบสองชนั้ กรณีมีแหลง่ กาเนิดความรอ้ นใน
วสั ดพุ รนุ

Study on Heat Transfer in Two Layer Porous Materials with Heat Generation

วรี ชยั นนทะแสง สทุ ธดิ า ใจกลา้ ฌาญฤทธิ์ ถน่ิ กลาง และบณั ฑติ กฤตาคม*

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การพฒั นาในเทคโนโลยขี องวสั ดุพรุน
(Development in Technology of Porous Materials Research Laboratory : DiTo-Lab)

สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน นครราชสมี า

744 ถนนสุรนารายณ์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000
*ตดิ ตอ่ : [email protected], 084-289-4757

บทคดั ย่อ
งานวจิ ยั น้ีไดศ้ กึ ษากลไกการถ่ายเทความรอ้ นภายในวสั ดุพรุนกรณีท่ีมแี หล่งกาเนิดความรอ้ นอย่ตู รงกลางระหว่าง
วสั ดพุ รุนสองชนดิ โดยไดส้ รา้ งแบบจาลองทางคณติ ศาสตรข์ น้ึ มาวสั ดพุ รนุ ทใ่ี ชเ้ ป็นชนิดเซลลลู ารเ์ ปิด (Open cellular
porous material) มคี ่าความพรนุ อย่รู ะหว่าง 0.70 ถงึ 0.80 ความหนาของวสั ดุพรุน (xL) คอื 0.02 m แหล่งกาเนิด
ความร้อนมคี ่าฟลกั ซ์ความรอ้ น 100 ถึง 10,000 W/m2 โดยอากาศไหลผ่านวสั ดุพรุนในแนวแกน x มคี วามเร็ว
ระหวา่ ง 0.4 ถงึ 1.0 m/s สมการควบคุมหลกั ทใ่ี ชใ้ นการคานวณ คอื สมการเชงิ อนุรกั ษ์พลงั งานของสถานะแก๊สและ
ของแขง็ และสมการการแผ่รงั สคี วามรอ้ นในวสั ดุพรุนจะหาโดยวธิ ปี ระมาณแบบ P1 โดยในการคานวณจะไดผ้ ล
การศกึ ษาคอื อุณหภูมสิ ถานะแก๊ส (Tf) และของแขง็ (Ts) สมดุลพลงั งานเฉพาะตาแหน่ง (Local energy balance,
LEB) สถานะแกส๊ และของแขง็ จากการศกึ ษาพบว่า อุณหภูมสิ ถานะแกส๊ (Tf) และของแขง็ (Ts) จะแปรผนั ตามคา่ ฟ
ลกั ซ์ความรอ้ นของแหลง่ กาเนดิ ความรอ้ น (qgen) แต่จะแปรผกผนั ตามค่าความเรว็ ของอากาศ(uf) และคา่ ความพรุน
ของวสั ดพุ รุนสมดุลพลงั งานเฉพาะตาแหน่ง(LEB)ของสถานะแก๊สเทอมทม่ี ผี ลอยา่ งชดั เจนคอื เทอมการพาความรอ้ น
(Convection) และเทอมการแลกเปลย่ี นความรอ้ นระหว่างสองสถานะ (Interaction) โดยแทบไม่เกดิ การนาความ
ร้อน ส่วนสถานะของแขง็ มีเทอมการแลกเปล่ยี นความร้อนระหว่างสองสถานะ(Interaction)และเทอมการแผ่รงั สี
ความรอ้ น (Radiation) ทม่ี ผี ลอย่างชดั เจน โดยแทบไม่เกดิ การนาความรอ้ นเน่ืองจากทงั้ สถานะแก๊สและของแขง็ มี
ค่าการนาความร้อนท่ีต่า โดยทัง้ สองสถานะท่ีตาแหน่งเดียวกันพลังงานรวมจะเป็ นศูนย์ตามกฎ ทางเทอร์โม
ไดนามกิ ส์
คาหลกั : วสั ดุพรนุ ; กลไกการถ่ายเทความรอ้ น; สมดลุ พลงั งานเฉพาะตาแหน่ง

Abstract
This research studies the mechanism of heat transfer in two layer porous materials with heat generation

in porous materials proposed a mathematical model. Open-cellular having. Its porosity () ranges from

0.70 to 0.80. The porous thickness is 0.02 m. The heat generation has a heat flux of 100 to 10,000 W/m2

319

29 มนี าคม 2565
คณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน
with the air velocity through the porous material in the x direction at a velocity between 0.4 to 1.0 m/s.
The governing equation used in the calculation is the gas-solid state energy conservation equation. and
the heat radiation equation in porous materials is determined by the P1 approximation method. The gas
state (Tf) and solid (Ts) temperatures are proportional to the heat generation heat flux (qgen) , but are

inversely proportional to the air velocity (uf) and the porosity of the porous material () . The local energy

balance (Local Energy Balance, LEB) of the gas phase, the clearly effective terms are the convection
term and the interaction term with almost no thermal conductivity. solid state There is a term for
Interaction and the term heat radiation that has a clear effect There is almost no thermal conductivity due
to both the gaseous and solid state having low thermal conductivity. In both states at the same position,
the total energy is zero according to thermodynamic law.
Keywords: Porous material; Heat transfer mechanism; Local energy balance

320

รหสั บทความ : RTT08-A
Finite-Time Passivity Analysis of Neutral-Type Neural Networks

with Mixed Time-Varying Delays

Issaraporn Khonchaiyaphum and Kanit Mukdasai*

Department of Mathematics, Faculty of Science, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand
*ตดิ ต่อ: [email protected], [email protected]

Abstract
This research study investigates the issue of finite-time passivity analysis of neutral-type neural networks
with mixed time-varying delays. The time-varying delays are distributed, discrete and neutral in that the
upper bounds for the delays are available. We are investigating the creation of sufficient conditions for
finite boundness, finite-time stability and finite-time passivity, which has never been performed before.
First, we create a new Lyapunov–Krasovskii functional, Peng–Park’s integral inequality, descriptor model
transformation and zero equation use, and then we use Wirtinger’s integral inequality technique. New
finite-time stability necessary conditions are constructed in terms of linear matrix inequalities in order to
guarantee finite-time stability for the system. Finally, numerical examples are presented to demonstrate
the result’s effectiveness. Moreover, our proposed criteria are less conservative than prior studies in
terms of larger time-delay bounds.
Keywords: neural networks; finite-time passivity; linear matrix inequality; distributed delay; neutral system

321


Click to View FlipBook Version