The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2563 - 2566
กศน.อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิสันติ์ ศรีสุขา, 2021-03-15 02:09:20

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2563 - 2566

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2563 - 2566
กศน.อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 – 2566)

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางซา้ ย

สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา



การอนุมตั ิแผนพฒั นาการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2566)

กศน.อาเภอบางซา้ ย

****************************
เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามท่ีสถานศึกษากาหนด กศน.อาเภอบางซ้าย
ได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2566 ระยะเวลา 4 ปี ประกอบด้วยข้อมูลพ้ืนฐาน
ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ทศิ ทางการดาเนินงานของ กศน.อาเภอบางซ้าย ร่วมท้ังโครงการ/กิจกรรม
ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ซึ่งคณะกรรมการ กศน.อาเภอบางซ้าย ได้พิจารณาโครงการ/กิจกรรมใน
แผนพัฒนาการศึกษาของ กศน.อาเภอบางซ้าย แล้ว เห็นชอบแผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2563 –
พ.ศ. 2566 ดังกล่าว
ท้ังน้ี ตง้ั แต่ เดือน ตลุ าคม 2562

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา



คานา

พระราชบัญญัติสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 มาตรา
20 กาหนดให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์และ
วิธีการประกันคุณภาพภายใน โดยได้รับความร่วมมือ ส่งเสริมสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายและ
สานักงาน กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวธิ ีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ข้อ
14 กาหนดให้สถานศึกษาต้องจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบาง
ซ้าย ซ่ึงเป็นสถานศึกษาในสังกัด สานักงาน กศน. มีหน้าท่ีในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย และมีพันธกิจในการสง่ เสริมโอกาสการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ให้แก่ประชาชน และ
สร้างระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพให้แก่ประชาชน เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุผลสาเร็จ
ตามเปา้ หมาย สถานศกึ ษาต้องตอบคาถามต่อไปนี้เป็นพืน้ ฐานในการพัฒนา คือ สถานะปัจจบุ นั ของ
สถานศึกษาอยู่ ณ จุดใด สภาพเป็นอย่างไร มจี ุดเด่นดา้ นใด มีสงิ่ ใดที่เป็นปัญหาจะต้องไดร้ บั การแกไ้ ข
เปา้ หมายพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา คืออะไร สถานศกึ ษาจะดาเนนิ การอย่างไร เพื่อให้
บรรลุเป้าหมาย สถานศึกษาทราบถึงความสาเร็จได้อย่างไร การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาจะตอบคาถามข้างต้นนี้ เพ่ือเป็นทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษาต่อไป

ดังน้ัน กศน.อาเภอบางซ้าย จึงต้องดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา ระยะ 4 ปี
พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2566 เพ่ือใช้เป็นแผนแม่บทท่ีจะกาหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการ
จัดการศึกษาของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ในชว่ งระยะเวลา 4 ปี

กศน.อาเภอบางซา้ ย
ตุลาคม 2562

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา



สารบญั

หนา้
การอนุมัตแิ ผนพัฒนาการศึกษา ระยะ 4 ปี พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2566………………………………….... ก
คานา……………………………………………………………………………………………………………………………… ข
สารบัญ.......................................................................................................................................... ค
บทที่ 1 ข้อมลู พ้นื ฐานของ กศน.อาเภอบางซา้ ย……………………………………………………………... 1

สภาพทวั่ ไปของสถานศึกษา……………………………………………………………………………….. 1
ข้อมลู พืน้ ฐานของอาเภอบางซ้าย…………………………………………………………………………. 2
โครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศึกษา.......……………………………………………………… 10
แหล่งเรยี นร้แู ละภาคีเครอื ขา่ ย………………………………………………….………………………… 12
เกียรตยิ ศ ชื่อเสยี ง และผลงาน/และโครงการ/กจิ กรรม ดีเด่นของสถานศกึ ษา ……….. 15
บทที่ 2 ทศิ ทางการดาเนินงาน…………………………………………………………………………………….. 17
การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน…………………………………………………………………… 62
การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก………………………………………………………………… 63
การกาหนดทิศทางการดาเนนิ งานของ กศน.อาเภอบางซา้ ย…………….…………………… 65
เป้าประสงค์และตวั ชีว้ ัดความสาเร็จ………………………………………………………………….. 66
บทท่ี 4 แผนพัฒนาการศกึ ษา………………………………………………………………………………………. 77
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 – 2566)……………………………………………. 78
คณะผู้จดั ทา………………………………………………………………………………………………………………….. 90

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

1

บทท่ี 1

ข้อมลู ทั่วไปของสถานศกึ ษา

สภาพทั่วไปของสถานศึกษา

ชือ่ สถานศกึ ษา
สภาพทว่ั ไปของสถานศึกษา
1. ช่อื สถานศึกษา : ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางซ้าย
2. ทอี่ ยู่ : หม่ทู ่ี 1 ตาบลบางซา้ ย อาเภอ/เขต : อาเภอ บางซา้ ย
จังหวดั : จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 035-375918 เบอรโ์ ทรสาร : 035-375918
E-mail : [email protected]
Facebook : กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
3. สงั กดั : สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
จังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา
สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ
4. ประวัตคิ วามเปน็ มาของสถานศกึ ษา

4.1 ประวัติสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบาง
ซ้าย (กศน.อาเภอบางซ้าย) สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเดิมช่ือว่าศูนย์บรกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอบางซา้ ย
(ศบอ.บางซ้าย) ประกาศจดั ต้ังเมื่อวันที่ 27 สงิ หาคม 2536 โดยนายปราโมทย์ สขุ ุม รัฐมนตรชี ว่ ย
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้ลงนาม
ประกาศจัดตั้งโดยมีนางสาวสุภาพ อนุศาสนนันท์ ตาแหน่งหัวหน้าศูนย์คนแรก เม่ือวันที่ 2
กุมภาพันธ์ 2537 และใช้ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางซ้ายเป็นสถานท่ีปฏิบัติงานต่อมา
กระทรวงศึกษาธกิ ารโดยนายสมชาย วงศ์สวัสด์ิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ ณ
วนั ท่ี 10 มีนาคม 2551 ได้เปล่ียนช่ือจากศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอบางซา้ ย เป็น
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย (กศน.อาเภอบางซ้าย) นบั ต้ังแต่
ไดม้ ีการจดั ต้งั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางซ้าย ได้ปฏิบตั ิงานตาม
บทบาทหน้าท่ี และความรับผิดชอบ ต้ังแต่ปีการศึกษา 2537 เป็นต้นมา กล่าวคือ โดยภาพรวมได้
ดาเนินงานจัดและให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ
ระดับประถมศึกษา (ป.6) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)
และได้ปรับเปลี่ยนเป็นการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอก
โรงเรียนตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2544 ซ่ึงเริ่มดาเนินการต้งั แต่ปกี ารศกึ ษา 2548 เป็น
ต้นมา ในปัจจุบันได้ใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
และยังดาเนนิ งานจัดกิจกรรมส่งเสริมการรูห้ นังสือ จดั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน จดั การศึกษาเพือ่ พัฒนา

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

2

อาชพี จัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน จัดการศกึ ษาตาม
แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้บริการการศึกษาค้นคว้าและส่งเสริมการอ่านตามรูปแบบ

การศึกษาตามอัธยาศัยในห้องสมุดประชาชนอาเภอและขยายการให้บริการการศึกษาในระดับตาบล
รปู แบบศูนย์การเรยี นชุมชนครบทุกตาบล รวม 6 แห่ง/ตาบล

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย สังกัดสานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีบทบาท

หนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบดังน้ี
จัดและให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัยตามความต้องการและ

สภาพปัญหาของชุมชนจัดและประสานให้มี กศน.ตาบล หน่วยจัดการศึกษานอกโรงเรียนเพ่ือเป็น
เครือข่ายการบริหารการศึกษานอกโรงเรียนได้อย่างกว้างขว างและทั่ วถึงและส่งเสริมให้ชุมชนจัด
การศึกษาของตนเองในลักษณะ กศน.ตาบล เพื่อเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษา วางแผน และ

บริการการศึกษาต่อประชาชนในชุมชนและระหว่างชุมชน สนับสนุนส่ิงจาเป็นและส่ือต่างๆ ท่ีใช้ใน
การดาเนินงานการศึกษานอกโรงเรียนของเครือข่ายท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือให้เกิดกระบวนการ

เรียนการสอนและบริการแก่กลุ่มเป้าหมาย กากับดูแล ติดตามและรายงานผลการดาเนินงาน
การศึกษานอกโรงเรียน

ขอ้ มูลพื้นฐานของอาเภอบางซา้ ย

อาณาเขต

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย ตัง้ อยู่ หมู่ท่ี 1 ตาบลบางซา้ ย

อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา มีอาณาเขตติดต่อดงั น้ี

ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กับ อาเภอผกั ไห่ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับ อาเภอลาดบวั หลวง จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ อาเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับ อาเภอสองพ่นี ้อง,อาเภอบางปลามา้ จังหวดั สุพรรณบุรี

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

3

สภาพของชุมชน
อาเภอบางซ้าย เดิมอยู่ในเขตการปกครองของอาเภอเสนา จังหวดั พระนครศรีอยุธยา แบ่ง

การปกครองออกเป็น 4 ตาบล คือ ตาบลปลายกลัด ตาบลเต่าเล่า ตาบลบางซ้าย ตาบลเทพมงคล
เมื่อวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2491 ไดแ้ ยกการปกครองจากอาเภอเสนา เป็นกง่ิ อาเภอบางซ้าย และได้
มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะจากกิ่งอาเภอบางซ้ายขึ้นเป็นอาเภอบางซ้ายเม่ือวันท่ี 22 กรกฎาคม
พ.ศ. 2500 และได้แบ่งเขตการปกครองเพิ่มอีก 2 ตาบล คือ ตาบลแก้วฟ้า ตาบลวังพัฒนา รวม
เป็น 6 ตาบล จนถึงปัจจุบัน มีผู้ดารงตาแหน่งนายอาเภอมาแล้วจานวน 24 คน นายอาเภอ
ปัจจบุ ัน ไดแ้ ก่ นายวเิ ชียร จูหอ้ ง เป็นลาดับท่ี 25 อาเภอบางซา้ ย

พ้ืนทส่ี ่วนใหญ่ของอาเภอบางซา้ ยเป็นที่ราบลมุ่ เหมาะแก่การทานา เปน็ ทุง่ นาโล่งไม่มีปา่ และ
ภูเขา เมื่อถึงฤดูฝนมีฝนตกชุก เม่ือถึงฤดูน้าหลากน้าในลาคลองจะมีระดับสูงและท่วมปกคลุมไปท่ัว
บริเวณพ้ืนท่ีของทุกตาบล พ้ืนที่สูงกว่าระดับน้าทะเล เฉลี่ยประมาณ 3.50 เมตร ลาน้าสาคัญท่ีไหล
ผ่านอาเภอบางซ้าย คือ ลาคลองเจ้าเจ็ด-บางย่ีหน โดยมีจุดเริ่มต้นจากประตูน้าบางยี่หน เขตท้องท่ี
อาเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ไหลผ่านหน้าท่ีว่าการอาเภอบางซ้ายหลังเดิมไปจรดประตู
ระบายน้าเจ้าเจ็ด อาเภอเสนา จังหวัดสุพรรณบุรี ( ไหลผ่าน ตาบลบางซ้าย ตาบลเต่าเล่า ตาบลแก้ว
ฟา้ ) เป็นลานา้ สาคัญสาหรบั การคมนาคมและการอปุ โภคบริโภค

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

4

อาชีพหลักของอาเภอบางซา้ ย ได้แก่

1. อาชพี เกษตรกรรม ประมาณ รอ้ ยละ 60.06

2. อาชีพอตุ สาหกรรม ประมาณ ร้อยละ 32.94

3. อาชพี ประดษิ ฐ์ของทีร่ ะลกึ ,สนิ คา้ พ้ืนเมือง ประมาณ ร้อยละ 0.50

4. อาชพี รับราชการ ประมาณ ร้อยละ 3.30

5. อาชพี อนื่ ๆ ประมาณ ร้อยละ 0.50

ประชากร

ประชากร ณ เดือน ตุลาคม 2557 มีจานวนประชากรท้ังส้ิน 18,729 คน แยกเป็น ชาย

9,583 คน หญิง 9,146 คน มีความหนาแนน่ เฉลย่ี ตอ่ พื้นทีป่ ระมาณ 120.40 คน/ตารางกิโลเมตร

องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ มี จานวน 5 แหง่

การศกึ ษา

1. โรงเรยี นในสังกดั สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาเขต 2 จานวน 14 โรงเรียน
1.1 โรงเรียนวดั คอตนั

1.2 โรงเรยี นวดั วังชะโด
1.3 โรงเรียนวัดใหมห่ นองคต
1.4 โรงเรยี นวัดสุคนธาราม

1.5 โรงเรยี นวดั เทพมงคล
1.6 โรงเรียนวัดมฤคทายวัน

1.7 โรงเรยี นวัดบางซา้ ยนอก
1.8 โรงเรียนวัดโคกตาพรม
1.9 โรงเรียนบางซา้ ยวิทยา

1.10 โรงเรยี นวัดบางซา้ ยใน
1.11 โรงเรียนวัดวดั ทางหลวง

1.12 โรงเรียนวัดสามเพลง
1.13 โรงเรยี นวดั ใหมต่ า้ นทาน
1.14 โรงเรียนวัดเศวตศิลาราม

2. การจัดการเรียนการสอนในสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบาง

ซ้าย

2.1 สถานท่ีจดั การเรยี นการสอน 6 แหง่

2.2 ครูผสู้ อน 8 คน

2.3 กลุม่ นักศกึ ษา 6 คน

2.4 นกั ศึกษา ปีการศึกษา 2563 173 คน

2.5 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบางซ้าย 1 แหง่

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

5

ศาสนา

ประชากรสว่ นใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธ และบางส่วนนับถือศาสนาคริสตแ์ ละศาสนาอสิ ลาม

ศาสนาพุทธ คิดเป็นรอ้ ยละ 99.50

ศาสนาคริสต์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.30

ศาสนาอิสลาม คดิ เป็นรอ้ ยละ 020

การสาธารณสุข

การใหบ้ รกิ ารดา้ นสาธารณสขุ โดยมีสถานบรกิ าร ดงั นี้

- โรงพยาบาล ขนาด 10 เตยี ง จานวน 1 แหง่

- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล จานวน 7 แหง่

- สานักงานสาธารณสุขอาเภอ จานวน 1 แหง่

- สถานพยาบาลของเอกชน จานวน 1 แห่ง

- ร้านขายยาแผนปจั จบุ ัน จานวน 3 แหง่

จานวนบคุ ลากรทางดา้ นสาธารณสขุ

- แพทย์ จานวน 2 คน

- ทนั ตแพทย์ จานวน 1 คน

- เภสชั กร จานวน 1 คน

- พยาบาล จานวน 20 คน

- นกั วชิ าการ จานวน 2 คน

- จนท.สาธารณสุข จานวน 20 คน

- จนท.อื่นๆ จานวน 6 คน

- อาสาสมัครสาธารณสุข (ผสส.และ อสม.) จานวน 253 คน

ดา้ นการรักษาความสงบเรยี บรอ้ ย

- กาลังตารวจท่ปี ระจาอยู่ ณ สถานตี ารวจอาเภอ จานวน 42 นาย

- กานัน จานวน 6 คน

- ผ้ใู หญ่บา้ น จานวน 47 คน

- ผ้ชู ว่ ยผ้ใู หญบ่ า้ น ฝ่ายปกครอง จานวน 106 คน

- แพทย์ประจาตาบล จานวน 6 คน

- สารวตั รกานัน จานวน 12 คน

- ผรส. จานวน 4 คน

- อปพร. จานวน 211 คน

- อส. จานวน 2 คน

- ลส.ชบ. จานวน 507 คน

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

6

ระบบการบริการพ้นื ฐาน
การคมนาคม มีถนนตัดต่อและขนส่งสินค้าในอาเภอและระหว่างอาเภอได้สะดวกเส้นทาง

คมนาคมสาคัญ ดังนี้
ทางรถยนต์
ถนนสายเสนา-สุพรรณบรุ ี เป็นถนนลาดยางเร่ิมจากอาเภอพระนครศรีอยุธยา อาเภอเสนา

อาเภอบางซา้ ย ไปยังอาเภอบางปลาม้า จงั หวัดสุพรรณบุรี ไปเชอ่ื มกบั ถนนสายกรุงเทพฯ-สุพรรณบรุ ี
การไฟฟ้า

การบรกิ ารผู้ใช้ไฟฟ้ามีสานักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในเขตอาเภอบางซ้าย 1 แห่ง คือการ
ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอาเภอบางซ้าย ภายในอาเภอบางซ้ายมไี ฟฟ้าครบทุกตาบล ทกุ หมู่บา้ นและครบทุก
หลงั คาเรอื น

การประปา
การใหบ้ รกิ ารของการประปาส่วนภูมิภาคอาเภอบางซา้ ย โดยให้บรกิ ารในเขตอาเภอ
บางซา้ ย ตาบลบางซา้ ย ตาบลเต่าเล่า ตาบลแกว้ ฟา้ ซึง่ พน้ื ที่ให้บริการอย่ใู นเขตเทศบาล
สาหรบั ในเขตพน้ื ทตี่ าบล หมู่บา้ นส่วนใหญ่จะมีระบบประปาหมบู่ า้ น บรกิ ารในเขตชุมชน

การสอ่ื สารและโทรคมนาคม
ไปรษณีย์
อ าเภ อ บ า ง ซ้ าย มี ก าร บ ริ ก า ร ก าร สื่ อ ส าร ไป ร ษ ณี ย์ แ ล ะ โท ร ค ม น าค ม ข อ ง

การสือ่ สารแห่งประเทศไทย จานวน 1 ท่ที าการ คือ ท่ที าการไปรษณีย์รับจ่ายอาเภอบางซ้าย ตง้ั อยู่ท่ี
หมู่ที่ 3 ตาบลบางซ้าย โดยให้บริการรับฝากและนาจ่ายส่ิงของทางไปรษณีย์ บริการการเงิน เช่น
บริการรับฝากเงินไปรษณีย์ธนาณัติ โทรเลข ธนาณัติในประเทศและต่างประเทศ บริการโทรเลขรับ
ฝากไว้แล้วส่งตอ่ ไปปลายทางโดยจะรับภายในไมเ่ กิน 24 ชัว่ โมง
ทรพั ยากรธรรมชาติ

1. ทรัพยากรดิน จากการสารวจของกรมพัฒนาที่ดินพบว่าสภาพพ้ืนท่ีของอาเภอบางซ้าย
เปน็ ทรี่ าบลุม่ ทงั้ อาเภอดนิ มอี ินทรียวัตถปุ านกลางถึงคอ่ นข้างสงู แต่เนื่องจากดินเป็นกรดจดั จึงทาให้พืช
ไม่สามารถใช้แร่ธาตุอาหารในดินได้เพียงพอแกค่ วามต้องการของพืช ดงั นั้นการปลูกพืชต้องแก้ความ
เป็นกรดของดินให้น้อยลงเสียก่อน ซ่ึงคุณสมบัติของดินชุดน้ีโดยทั่วไปใช้ปลูกข้าวแบบนาหว่านและ
พน้ื ที่บางแหง่ ตดิ อยู่กับคลองชลประทานใชป้ ลูกขา้ วแบบนาดา

2. ทรัพยากรน้า อาเภอบางซ้ายมีลาคลองสายต่างๆ เช่น คลองเจ้าเจ็ด-บางยี่หน คลองกุ่ม
คลองบางซ้าย คลองหนองหมอ้ แกง คลองข้อเสอื ฯลฯ และสารางสายต่างๆ ซง่ึ ประชาชนใช้เปน็ แหล่ง
เพาะปลูกรวมทั้งการอุปโภคบริโภค นอกจากน้ีแล้วยังมีระบบชลประทานอยู่ในเขตความรับผิดชอบ
โครงการส่งน้าและบารุงรักษาผักไห่ โครงการส่งนา้ และบารุงรักษาเจ้าเจ็ด-บางยี่หน และโครงการส่ง
นา้ และบารงุ รกั ษาชลประทานไม้ตรา

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

7

2.1 แหล่งน้าเพอ่ื การเกษตรและการอปุ โภค

คลองชลประทาน จานวน 3 สาย

คลองธรรมชาติ จานวน 32 สาย

บอ่ บาดาล จานวน 34 แห่ง

แหลง่ น้าเพ่ือการเกษตรในอาเภอบางซ้ายไดจ้ ากแหล่งนา้ ธรรมชาติ ไดแ้ ก่ น้าฝน และแหล่ง

น้าผิวดิน ไดแ้ ก่ ลาคลองและลาธารต่างๆ มีลาคลองสายหลักซึง่ ราษฎรใชป้ ระโยชนม์ ากที่สุด คือ ลา

คลองเจ้าเจ็ด-บางยี่หน ซึง่ ไหลผา่ นตาบลแก้วฟ้า ตาบลบางซา้ ยและตาบลเต่าเล่า นอกจากนแ้ี ล้วยังมี

ระบบชลประทานอยใู่ นเขตการรบั ผิดชอบของโครงการสง่ นา้ และบารงุ รกั ษาผักไห่กบั โครงการสง่ น้า

และบารุงรักษาเจ้าเจ็ด-บางย่หี น ครอบคลมุ พนื้ ท่ีประมาณ 90,655 ไร่

- โครงการส่งนา้ และบารงุ รกั ษาผักไห่ ครอบคลุมพ้นื ทีป่ ระมาณ 35,655 ไร่ ในตาบล

ปลายลัดและตาบลเต่าเลา่ มีคลองส่งนา้ จานวน 2 สาย ยาว 16 กโิ ลเมตร

- โครงการสง่ นา้ และบารุงรักษาเจ้าเจด็ -บางย่ีหนและโครงการสง่ นา้ บารุงรักษา

ชลประทานไมต้ รา ครอบคลมุ พ้ืนที่ประมาณ 35,000 ไร่ ในเขตตาบลบางซ้าย ตาบลแก้วฟ้า ตาบลวัง

พฒั นาและตาบลเทพมงคล มคี ลองส่งนา้ จานวน 6 สาย ยาว 60กโิ ลเมตร

2.2 แหล่งนา้ เพื่อการบรโิ ภค โดยแต่ละครัวเรือนจะมีโอ่งไวส้ าหรับเก็บกัก

น้าและใช้น้าประปาจากบ่อบาดาลที่ทางราชการเจาะให้

คาขวัญอาเภอบางซา้ ย

“บางซา้ ยถิน่ ทุ่งทอง เรืองรองพนั ธไุ์ ม้ผล

ชีวิตริมสายชล มากล้นแหล่งพันธ์ุปลา”

สถานทที่ อ่ งเทย่ี ว

1. โบสถ์โบราณของวดั บางซา้ ยใน กรมศิลปากรไดล้ งทะเบียนไวเ้ ป็นโบราณสถาน

ของชาติ (มีภาพจติ รกรรมฝาผนงั ท่ีสวยงาม) ตาบลเต่าเลา่

สินคา้ OTOP ของอาเภอบางซา้ ย

1. เรือไม้สักจาลอง หมู่ท่ี 6 ตาบลแกว้ ฟ้า

2. เครื่องเบญจรงค์นา้ ทอง หมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล

3. เครอ่ื งนอนบุษกร หมทู่ ี่ 8 ตาบลเทพมงคล

4. ผ้าบาตกิ หมทู่ ่ี 2 ตาบลเทพมงคล

ด้านศลิ ปวฒั นธรรม

เน่ืองจากประชาชนในอาเภอบางซ้ายมีการใช้ชีวิตความเปน็ อยูท่ ีค่ ลา้ ยคลึงกนั มี
การละเล่นพน้ื บา้ น เชน่

การทาขวญั ขา้ ว พธิ ีกรรมบูชาแมโ่ พสพหรอื พธิ ีกรรมทาขวญั ข้าว เป็นพธิ ีกรรมตาม

ความเชอ่ื และศรทั ธาที่มีต่อแม่โพสพ ซึ่งเปน็ เทพธิดาข้าว เพอื่ ความเป็นศิรมิ งคลและขอบคุณพระแม่
โพสพทีด่ แู ลให้ความอุดมสมบรู ณ์แก่ผืนนา โดยเช่ือกันว่าเมอื่ ทาพธิ นี แ้ี ล้วพระแมโ่ พสพจะชว่ ยคมุ้ ครอง

ขา้ วในนาให้มีผลผลิตท่ีดี อกี ทงั้ ยงั เปน็ การสรา้ งขวญั กาลงั ใจแก่ชาวนา สร้างความเช่อื ม่ันให้กบั ชาวนา
ว่า ในการทานาครง้ั ต่อไป ข้าวในนาจะปราศจากโรคภยั ตา่ งๆ ทงั้ จากธรรมชาตแิ ละแมลงศัตรพู ืช

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

8

การรากลองยาว กลองยาวและรากลองยาว เป็นศิลปะการ แสดงพื้นบ้านที่ชาวตาบลหนาม
แดงได้รบั การถ่ายทอดจากภมู ิปัญญาชาวบ้าน จากรุ่นสูร่ ุ่นจนกลายเป็นวัฒนธรรมของท้องถิ่น กลอง
ยาว และการรา กลองยาว ใช้เล่นกันอย่างแพร่หลาย โดยนิยมใชเ้ ล่นในงานบุญ งานประเพณีต่าง ๆ
ของท้องถ่ิน เช่น งานแห่นาค งานทอดกฐิน งานประเพณีสงกรานต์ งานประเพณีถวายเทียนพรรษา
เป็นต้น แต่ปัจจุบันศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านกลองยาว เร่ิมลดบทบาทลง ประชาชนให้ความสาคัญ
น้อยลง เนื่องจากอทิ ธิพลของวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสมยั ใหม่ เพ่อื เป็นการสรา้ งจติ สานึกให้เด็กและ
เยาว ชนรัก และภาคภูมิใจในภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ตระหนักและช่วยกันอนุรักษ์ สืบทอดมรดกอันล้าค่า
ด้านดนตรี ศิลปะการแสดงพื้นบ้านกลองยาว ซึ่งเป็นวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
ชมุ ชนตาบลหนามแดง จงึ ได้จัดทาโครงการถ่ายทอดความรู้ ด้านศิลปะ การแสดงพืน้ บา้ น (กลองยาว)
ข้ึน โดยเชิญภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นคลังสมองด้านดนตรี ศิลปะการแสดงพ้ืนบา้ น (กลองยาว) ของ
ตาบลหนามแดง มาเป็นวิทยากรถา่ ยทอดความรใู้ ห้เด็กและเยาวชน

วงปพี่ าทย์ เปน็ วงท่ีประกอบไปดว้ ยเครื่องดนตรีประเภทตี เปา่ และเครื่องประกอบจงั หวะ
ใช้บรรเลงในงานพระราชพธิ ีและพิธตี ่าง ๆ แบง่ ได้ 3 ขนาด คือ
วงป่ีพาทย์เครือ่ งหา้ แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่

1. ปีพาทย์เครอื่ งหา้ อย่างหนัก จะใช้สาหรับการบรรเลงในการแสดงมหรสพหรืองานในพิธี
ต่าง ๆ ซ่ึงจะประกอบไปด้วยเคร่ืองดนตรีต่าง ๆ ดังน้ีคือ ฆ้องวงใหญ่ ปี่ใน กลอง
ทัด ตะโพน และฉิง่

2. ปีพาทย์เครื่องห้าอย่างเบา ประกอบไปด้วยเคร่ืองดนตรีต่าง ๆ ดังน้ี คือ กลอง
ชาตรี ฆอ้ งคู่ ฉิง่ ปี่ และทบั หรอื โทน

วงปพ่ี าทย์เครื่องคู่ เหมือนวงปพ่ี าทยเ์ ครื่องห้า เพียงแตเ่ พิ่มระนาดทุ้มและฆ้องวงเลก็ เข้าไป
 วงป่ีพาทย์เคร่ืองใหญ่ เหมือนวงปี่พาทย์เคร่ืองคู่ เพียงแต่เพิ่มระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้ม
เหล็กเขา้ ไป
นอกจากนวี้ งป่พี าทยย์ งั มอี กี 3 ประเภทใหญ่ ๆ คอื
 วงปพี่ าทยน์ างหงส์
 วงปพ่ี าทย์มอญ
 วงปีพ่ าทย์ดึกดาบรรพ์

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

9

ทาเนียบผบู้ รหิ าร ตาแหน่ง ระยะเวลาที่ดารงตาแหนง่
หวั หนา้ ศนู ย์ 1 2537 – 30 ก.ย. 2541
ลาดับที่ ชอื่ -สกลุ ผอ.ศบอ. 1 ต.ค. 2541 – 1 เม.ย. 2546
1. นางสาวสภุ าพ อนศุ าสนนนั ท์ ผอ.ศบอ. 1 ก.ค. 2546 – 29 ส.ค. 2546
2. นางสาวนงลกั ษณ์ ภสู่ วุ รรณ ผอ.ศบอ. 8 ก.ย. 2546 – 30 ก.ย. 2551
3. นายองอาจ อ้อหริ ญั ผอ.กศน. 15 ต.ค. 2551 – 25 ต.ค. 2553
4. นายสมคดิ เพง็ อดุ ม ผอ.กศน. 1 ต.ค. 2553 – 30 กนั ยายน 2555
5. นายกฤษณพันธ์ เพ็งศรี ผอ.กศน. 1 ต.ค. 2555 – ปจั จุบัน
6. นายกรวุฒิ เกิดนาวี
7. นางสาววรศิ รา คานงึ ธรรม

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

10

โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา
โครงสรา้ งของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย

กศน.อาเภอบางซา้ ย คณะกรรมการสถานศึกษา
ผบู้ รหิ ารศูนย์

นางสาววรศิ รา คานึงธรรม

กลุ่มอานวยการ กลุ่มจัดการศกึ ษานอกระบบ กลุ่มภาคีเครอื ขา่ ย
(นางสาวทกั ษวดี จลุ วานชิ ) และการศกึ ษาตามอัธยาศยั และกิจการพิเศษ
(นายอภิเชษฐ์ อรรถภาพ)
(นายพิสันติ์ ศรีสขุ า)

1. งานธรุ การ สารบรรณ 1. งานการศึกษาขน้ั พื้นฐานนอกระบบ 1. งานปอ้ งกันและแก้ไขยาเสพตดิ
(นางสาวทักษวดี จุลวานชิ ) (นายพสิ ันต์ิ ศรสี ุขา) (นายอภเิ ชษฐ์ อรรถภาพ)
2. งานส่งเสรมิ สขุ ภาวะและสุขอนามยั ฯ
2. งานการเงินและบัญชี 2. งานส่งเสริมการร้หู นังสือ (นางสาวศจี ขาตทิ รพั ย์สนิ )
(นางสาวขวญั เรือน สุขสะอาด) (นางสาวทกั ษวดี จลุ วานชิ ) 3. งานเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั

3. งานแผนและงบประมาณ 3. งานการศึกษาตอ่ เนอื่ ง การขยะมลู ฝอย (นายอภิเชษฐ์ อรรถภาพ)
(นายพิสนั ติ์ ศรีสขุ า) (นางนราภรณ์ ดิษฐศรี) 4. Smart Farmer
(นายปณิธาน หนจู ้อย)
4. งานพัสดุ 4. งานอัธยาศัย 5. ชมุ ชนต้นแบบ
(นางสาวทักษวดี จุลวานิช) (นางสาวขวัญเรือน สขุ สะอาด) (นายปรชั ญา ประยูร)
6. ลูกเสอื ยุวกาชาด
5. งานบคุ ลากร 5. งานใหค้ าแนะแนวการศึกษา (นางสาวนนั ท์นภสั หนูสนน่ั )
(นายอภเิ ชษฐ์ อรรถภาพ) (นางนราภรณ์ ดษิ ฐศร)ี 7. การส่งเสริมการอา่ น
(นางสาวขวญั เรอื น สุขสะอาด)
6. งานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ 6. งานกจิ การนักศกึ ษา 8. งานภาษาองั กฤษเพอ่ื การสือ่ สารฯ
(นางสาวนนั ท์นภัส หนสู นน่ั ) (นายพิสันติ์ ศรสี ขุ า) (นายอภิเชษฐ์ อรรถภาพ)
9. งานไทยนยิ ม ยั่งยืน
7. งานประชาสมั พันธ์ (นายปณิธาน หนจู ้อย)
(นายปรัชญา ประยูร) 10. งานเทคโนโลยดี จิ ิทัล
(นายปณธิ าน หนูจ้อย)
8. งานขอ้ มูลสารสนเทศและการรายงาน 11. งานจติ อาสา (นายปณธิ าน หนจู อ้ ย)
(นายพิสนั ติ์ ศรีสขุ า) 12. งานภาคีเครือขา่ ย (MOU)
(นางสาวทักษวดี จลุ วานิช)
9. งานควบคมุ ภายใน 13. งานประชาธิปไตย
(นางสาวขวญั เรอื น สขุ สะอาด)
(นางสาวทักษวดี จุลวานชิ )
10. งานประกนั ภายในคณุ ภาพการศกึ ษา
(นางสาวทกั ษวดี จุลวานชิ ) 14. งานดูแลผสู้ งู อายุ

11. งานนิเทศตดิ ตามและประเมินผล (นางสาวทกั ษวดี จุลวานิช)
(นายพสิ นั ติ์ ศรีสุขา)
15. งานสนับสนุนนโยบายของรัฐ

(นายปรัชญา ประยรู )

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

11

ทาเนียบบุคลากร (ปีปจั จบุ นั )

ที่ ชอื่ -สกุล ตาแหนง่ วุฒกิ ารศึกษา

1. นางสาววริศรา คานงึ ธรรม ผอ.กศน.อาเภอบางซา้ ย ปรญิ ญาโท

2. นางสาวขวัญเรือน สขุ สะอาด บรรณารกั ษช์ านาญการ ปรญิ ญาตรี

3. นายพิสันติ์ ศรีสุขา ครผู ู้ช่วย ปรญิ ญาตรี

4. นางนราภรณ์ ดิษฐศรี ครูอาสาสมัครฯ ปรญิ ญาตรี

5. นางสาวทักษวดี จุลวานิช ครอู าสาสมัครฯ ปรญิ ญาตรี

6. นางสาวนนั ทน์ ภัส หนูสนั่น ครู กศน.ตาบล ปรญิ ญาตรี

7. นายอภิเชษฐ์ อรรถภาพ ครู กศน.ตาบล ปรญิ ญาตรี

8. นายปณิธาน หนูจอ้ ย ครู กศน.ตาบล ปริญญาตรี

9. นายปรัชญา ประยูร ครู กศน.ตาบล ปริญญาตรี

10. นางสาวศจี ชาติทรพั ยส์ ิน ครูศูนย์การเรยี นชมุ ชน ปริญญาตรี

สงิ่ อานวยความสะดวก

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซา้ ย มีอาคารสานกั งานเป็น

เอกเทศ ไดร้ บั งบประมาณ ปงี บประมาณ 2551 จานวน 2,261,600 บาท ในการจดั สร้างอาคาร

จานวน 2 ชั้น ช้นั ล่างเปน็ ท่ีต้องของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบางซ้าย และชนั้ บนเป็นท่ตี ง้ั ของศูนย์

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางซา้ ย มีพ้ืนที่จานวน 210 ตารางเมตร มีสิ่ง

อานวยความสะดวกทสี่ าคัญ ดงั นี่

1. คอมพวิ เตอร์สานักงานและเคร่อื งปรนิ้ เตอร์ จานวน 10 ชุด

2. คอมพวิ เตอร์สาหรบั จดั การเรียนการสอนใหบ้ ริการสบื คน้ ข้อมลู

(หอ้ งสมุดประชาชน) จานวน 6 เคร่อื ง

3. โทรศัพท์ จานวน 1 เครอ่ื ง

4. โทรสาร จานวน 1 เคร่ือง

5. คอมพวิ เตอร์สาหรบั ตรวจสอบข้อมูล IT นกั ศึกษา จานวน 1 เครื่อง

6. โทรทัศน์สี จานวน 1 เครือ่ ง

7. จานรับสญั ญาณดาวเทียว จานวน 1 ชดุ

9. คอมพวิ เตอร์รับสัญญาณ Interner จานวน 1 ชดุ

10. ส่อื หนงั สือ/สงิ่ พมิ พ/์ สอื่ อเิ ลคโทรนิคส์/หนงั สือพมิ พร์ ายวัน

(ห้องสมดุ ประชาชน/กศน.ตาบลทุกตาบล)

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

12

แหลง่ เรยี นรูแ้ ละภาคเี ครือขา่ ย ทตี่ ง้ั ผ้รู ับผิดชอบ
กศน.ตาบล หมทู่ ี่ 3 ตาบลบางซ้าย นางสาวนันทน์ ภัส หนูสน่นั
หมูท่ ่ี 5 ตาบลวังพัฒนา นายอภิเชษฐ์ อรรถภาพ
ช่ือ กศน.ตาบล หมทู่ ี่ 12 ตาบลปลายกลัด นายปณิธาน หนจู ้อย
กศน.ตาบลบางซ้าย หมู่ที่ 3 ตาบลเตา่ เล่า นางนราภรณ์ ดษิ ฐศรี
กศน.ตาบลวังพัฒนา หมู่ท่ี 1 ตาบลแกว้ ฟา้ นายปรชั ญา ประยูร
กศน.ตาบลปลายกลัด หมทู่ ่ี 8 ตาบลเทพมงคล นางสาวศจี ชาติทรพั ย์สิน
กศน.ตาบลเตา่ เล่า 6 แห่ง
กศน.ตาบลแก้วฟ้า
กศน.ตาบลเทพมงคล

รวมจานวน

แหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ทต่ี งั้

ชื่อแหลง่ เรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม หมู่ที่ 4 ตาบลเต่าเลา่
วัดบางซ้ายใน
วัดบางซา้ ยนอก ศิลปวฒั นธรรม หมู่ที่ 1 ตาบลเต่าเล่า
วดั สุคนธาราม ศิลปวัฒนธรรม หมู่ท่ี 3 ตาบลเทพมงคล
วดั เทพมงคล
ศลิ ปวฒั นธรรม หมู่ท่ี 5 ตาบลเทพมงคล
วดั มฤคทายวัน
ศลิ ปวฒั นธรรม หมู่ที่ 8 ตาบลเทพมงคล
วัดโคกตาพรม
วัดดอนพฒั นาราม ศิลปวฒั นธรรม หมู่ที่ 10 ตาบลต่าเล่า
วดั วงั ชะโด หมทู่ ี่ 7 ตาบลวงั พฒั นา
วัดสามเพลง ศิลปวฒั นธรรม หมทู่ ่ี 2 ตาบลวังพัฒนา
ศิลปวฒั นธรรม
วัดเศวตศิลาราม
วดั ใหม่ต้านทาน ศิลปวัฒนธรรม หมู่ท่ี 9 ตาบลปลายกลดั
วดั ทางหลวง
ศิลปวฒั นธรรม หมทู่ ่ี 10 ตาบลปลายกลัด
วัดแก้วฟ้า
วดั คอตัน ศิลปวฒั นธรรม หมูท่ ่ี 8 ตาบลปลายกลัด
วัดใหม่หนองคต ศลิ ปวัฒนธรรม หมทู่ ี่ 4 ตาบลปลายกลัด
กศน.ตาบลบางซ้าย
กศน.ตาบลวังพัฒนา ศลิ ปวัฒนธรรม หมทู่ ี่ 1 ตาบลแกว้ ฟา้

กศน.ตาบลปลายกลดั ศลิ ปวัฒนธรรม หมทู่ ี่ 5 ตาบลบางซ้าย
กศน.ตาบลเตา่ เลา่
ศิลปวัฒนธรรม หมทู่ ่ี 3 ตาบลบางซา้ ย

การศกึ ษา หมู่ท่ี 3 ตาบลบางซา้ ย
การศึกษา หมู่ท่ี 5 ตาบลวังพัฒนา

การศกึ ษา หมู่ที่ 12 ตาบลปลายกลดั

การศึกษา หมู่ท่ี 3 ตาบลเต่าเลา่

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

13

ชือ่ แหลง่ เรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทต่ี ง้ั
กศน.ตาบลแก้วฟ้า
กศน.ตาบลเทพมงคล การศกึ ษา หมู่ที่ 1 ตาบลแกว้ ฟา้

รวมจานวน การศึกษา หมู่ท่ี 8 ตาบลเทพมงคล

ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน 21 แหง่
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่
ความร้คู วามสามารถ ที่อยู่
นายปรชี า รตั นกนก
นายนคิ ม ทรพั ย์ผล การทาน้าหมกั ชวี ภาพ 11 หมู่ 7 ตาบลเตา่ เลา่
นายเพทาย ทรพั ย์บวร
นายกติ ติ สุภิสงิ ห์ การตอ่ เรือ ต่อตู้ 38/3 หมู่ 7 ตาบลเต่าเล่า

นางอุษา จงู ใจ วงป่ีพาทย์ทรพั ย์บวรศลิ ป์ หมู่ 1 ตาบลเต่าเล่า
นางวรรณนภา มีนิล
นางจาลอง บารุงผล การทาขวญั 15 หมู่ 5 ตาบลเตา่ เลา่
นางจาลอง บารงุ ผล
นายทองคา อมรประภาธรี กุล การข้ึนศาลพระภมู ิ
นางกหุ ลาบ อิม่ เจรญิ ผล
นางจาลอง อยู่สอาด การทาขวญั 2/6 หมู่ 1 ตาบลเต่าเล่า
นายบญุ มน่ั ศรีสมใจ
นายยงยทุ ธ เกตุงาม การตดั เย็บผ้าพื้นเมอื ง 97/1 หมู่ 2 ตาบลเทพมงคล
นายวิระ สุขเกษม
นายชลอ ไทยประกอบ การทาซปุ เปอร์ฮอร์โมนไข่ 32/2 หมู่ 7 ตาบลเทพมงคล
นางสาวกฤตกิ า เตชะกฤตเมธนี ันท์
การทานา้ หมกั ชวี ภาพ 32/3 หม่ทู ี่ 7 ตาบลเทพมงคล
นางถาวร สุภารส
นางประทมุ แจงแสง การปลกู ผกั ปลอดสารพิษ 21/2 หมู่ 7 ตาบลเทพมงคล

นายประจวบ หอมขจร การทาขนมไทย 36 หมู่ 7 ตาบลเทพมงคล

การตัดเยบ็ ผ้า 58/1 หมู่ 8 ตาบลเทพมงคล

การทานาชวี ภาพ 115/2 หมู่ 8 ตาบลเทพมงคล

การทาน้าส้มควนั ไม้ 3/1 หมู่ 1 ตาบลบางซา้ ย

การสานสมุ่ ไก่ 3/2 หมู่ 1 ตาบลบางซ้าย

การทาน้าหมักชวี ภาพ 86/1 หมู่ 3 ตาบลบางซา้ ย

การเพาะเหด็ หลนิ จอื 44 หมู่ 6 ตาบลบางซา้ ย

การทาตกุ๊ ตาจากดินเกาหลี

การทาไขเ่ คม็ ไอโอดีน 10/5 หมู่ 8 ตาบลบางซ้าย

การปลูกผักปลอดสารพษิ 10 หมู่ 3 ตาบลแก้วฟ้า

การทานา้ หมักชวี ภาพ

การทานา้ หมักชวี ภาพ 18 หมู่ 5 ตาบลแก้วฟา้

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

14

ภาคีเครอื ข่าย

ภาคีเครือข่าย ที่อยู่/ทต่ี ง้ั

อาเภอบางซา้ ย หมทู่ ่ี 1 ตาบลบางซ้าย อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

สานักงานสาธารณสุขอาเภอบางซ้าย หมู่ที่ 1 ตาบลบางซ้าย อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

สานักงานเกษตรอาเภอบางซา้ ย หมู่ที่ 3 ตาบลบางซา้ ย อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

พัฒนาชุมชนอาเภอบางซา้ ย หมทู่ ่ี 1 ตาบลบางซ้าย อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบางซ้าย หมทู่ ่ี 1 ตาบลแก้วฟ้า อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

องค์การบริหารส่วนตาบลวังพัฒนา หมทู่ ี่ 5 ต.วงั พัฒนา อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา

องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเทพมงคล หมู่ท่ี 8 ต.เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยุธยา

องค์การบริหารส่วนตาบลปลายกลดั หมทู่ ี่ 12 ต.ปลายกลดั อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยธุ ยา

เทศบาลตาบลบางซา้ ย หมทู่ ี่ 3 ต.บางซ้าย อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยธุ ยา

สถานตี ารวจภูธรอาเภอบางซา้ ย หมู่ท่ี 1 ต.บางซ้าย อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลแก้วฟ้า หมทู่ ี่ 7 ต.แก้วฟ้า อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยุธยา

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลวังพฒั นา หมู่ท่ี 7 ต.วังพัฒนา อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลเต่าเล่า หมู่ท่ี 2 ต.เตา่ เล่า อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยุธยา

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลปลายกลัด หมทู่ ี่ 12 ต.ปลายกลัด อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลทางหลวง หมทู่ ี่ 3 ต.ปลายกลดั อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลเทพมงคล หมู่ท่ี 2 ต.เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา

โรงเรียนวดั มฤคทายวนั หม่ทู ี่ 8 ต.เทพมงคล อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยุธยา

วัดแกว้ ฟ้า หมทู่ ่ี 1 ต.แกว้ ฟา้ อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา

วดั บางซา้ ยใน หมู่ท่ี 3 ต.เต่าเลา่ อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยธุ ยา

วดั บางซ้ายนอก หมทู่ ี่ 7 ต.เตา่ เล่า อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยุธยา

วัดโคกตาพรม หมู่ท่ี 10 ต.เต่าเล่า อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยุธยา

วัดดอนพัฒนาราม หมทู่ ี่ 7 ต.วังพัฒนา อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

วัดวงั ชะโด หมู่ที่ 2 ต.วงั พฒั นา อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

วดั เทพมงคล หมู่ท่ี 5 ต.เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา

วดั สุคนธาราม หมทู่ ี่ 3 ต.เทพมงคล อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา

วดั มฤคทายวนั หมทู่ ่ี 8 ต.เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยุธยา

วัดสามเพลง หมู่ท่ี 9 ต.ปลายกลัด อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

วัดเศวตศิลาราม หมทู่ ่ี 10 ต.ปลายกลัด อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยุธยา

วัดใหม่ตา้ นทาน หมู่ท่ี 8 ต.ปลายกลัด อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

วัดใหม่ต้านทาน หมทู่ ี่ 8 ต.ปลายกลดั อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา

วดั ทางหลวง หมู่ที่ 4 ต.ปลายกลดั อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

วดั คอตัน หมู่ที่ 5 ต.บางซ้าย อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยธุ ยา

วดั ใหม่หนองคต หมทู่ ี่ 3 ต.วงั พฒั นา อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยุธยา

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

15

ภาคีเครอื ข่าย ทอ่ี ยู่/ที่ตง้ั

โรงเรียนวดั คอตัน หม่ทู ่ี 5 ต.บางซา้ ย อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา
โรงเรียนวดั วงั ชะโด หมู่ที่ 7 ต.บางซา้ ย อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
โรงเรยี นวัดใหม่หนองคต หมู่ท่ี 3 ต.วงั พัฒนา อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยุธยา
โรงเรยี นวดั สคุ นธาราม หมู่ที่ 3 ต.เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยุธยา
โรงเรียนวัดเทพมงคล หมทู่ ี่ 5 ต.เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรีอยธุ ยา
โรงเรยี นวดั มฤคทายวนั หมทู่ ่ี 8 ต.เทพมงคล อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
โรงเรยี นวัดบางซ้ายนอก หมทู่ ี่ 7 ต.เต่าเล่า อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา
โรงเรยี นวดั โคกตาพรม หมทู่ ่ี 10 ต.เต่าเลา่ อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา
โรงเรยี นบางซา้ ยวิทยา หมู่ที่ 6 ต.แกว้ ฟา้ อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
โรงเรยี นวัดบางซ้ายใน หมทู่ ่ี 3 ต.แกว้ ฟ้า อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา
โรงเรียนวดั วดั ทางหลวง หมทู่ ่ี 3 ต.ปลายกลดั อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยุธยา
โรงเรยี นวดั สามเพลง หมู่ท่ี 9 ต.ปลายกลดั อ.บางซ้าย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
โรงเรยี นวดั ใหม่ตา้ นทาน หม่ทู ่ี 8 ต.ปลายกลดั อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรอี ยุธยา
โรงเรยี นวดั เศวตศิลาราม หมทู่ ี่ 6 ต.ปลายกลัด อ.บางซา้ ย จ.พระนครศรีอยุธยา

รวมจานวน 47 แหง่

เกียรตยิ ศ ชอ่ื เสียง และผลงาน/และโครงการ/กิจกรรม ดเี ดน่ ของสถานศกึ ษา
1. รางวัลชนะเลศิ การขยายข่ายสถานีบรกิ าร กศน.ตาบล ได้ครบทกุ แหง่ เป็นอาเภอแรกในจังหวดั
พระนครศรีอยธุ ยา ปีงบประมาณ 2552
2. ผลการประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษาจาก สมศ.รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553) ผลปรากฏว่า ผา่ นการ
ประเมนิ ท่ี คา่ เฉลย่ี 3.38 ระดบั คุณภาพ ดี
3. ผลการประเมนิ คุณภาพสถานศกึ ษาจากหนว่ ยงานต้นสังกดั ผลปรากฏวา่ ผ่านการประเมินท่ี
คา่ เฉล่ยี 4.29 ระดับคุณภาพ ดี
4. รางวลั “หนึ่งแสนครูดี” ประจาปี 2556 (คุรสุ ภา)
5. รางวัลท่ี 1 ระดับประเทศ ประเภทบุคคล ครสู อนคนพกิ าร ดีเด่น ปี 2557 (สานักงาน กศน.)
6. รางวลั ท่ี 2 ระดบั ประเทศ ประเภท กศน.อาเภอ/เขต ขนาดกลาง ด้านสง่ เสริมการอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ปี 2557 (สานักงาน กศน.)
7. รางวลั ท่ี 1 ระดบั ภาค ประเภท ข้าราชการครู/สถานศกึ ษาในสังกดั กศน.อาเภอ/เขต ดา้ น
กจิ กรรมสร้างเสรมิ ลักษณะนิสยั สถานศกึ ษา (กศน.อาเภอ/เขต) ขนาดกลาง ดเี ดน่ ปี 2557 (สถาบัน
กศน.ภาคกลาง)
8. ผลการประเมินคุณภาพสถานศกึ ษาจาก สมศ.รอบท่ี 3 (พ.ศ. 2554-2558) ผลปรากฏวา่ ผ่านการ
ประเมนิ ที่ ค่าคะแนน 85.65 ระดับคุณภาพ ดี

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

16
9. รางวลั ห้องสมดุ ดีเดน่ ระดับจังหวดั ปี 2558 (สานกั งาน กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา)
10. รางวัลคนดศี ักดิ์ศรแี หง่ สป. 2558 (สป.ศธ)
11. รางวลั ครดู เี ดน่ ของอาเภอบางซา้ ย ประจาปี 2559
12. สถิตขิ องผู้เข้าสอบในภาคเรยี นที่ 1/2562 คดิ เป็นรอ้ ยละ 70.88 เปน็ ลาดับที่ 9 ของสานักงาน
กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
13. ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอดีเดน่ ประจาปีงบประมาณ 2562
14. องคก์ รดีเดน่ ในการสง่ เสรมิ วฒั นธรรมการอ่านประจาปีพุทธศกั ราช 2562
15. กศน.ตาบลต้นแบบ ๕ ดี พรเี ม่ยี ม ระดบั อาเภอ ประจาปีพทุ ธศักราช ๒๕๖๓ (สานักงานสง่ เสรมิ
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ)

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

17

บทท่ี 2
ทศิ ทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นแผนทีก่ าหนดเป้าหมายและแนวทางในการพฒั นาการ
จดั การศกึ ษาของสถานศึกษาในช่วงระยะเวลาท่ีกาหนด โดยจดั ทาเป็นลายลักษณ์อกั ษรเพ่ือให้เกิด
ความมนั่ ใจว่าสถานศึกษาจะดาเนินงานตามข้อตกลงท่ีกาหนดและเพ่ือให้การดาเนินงานเปน็ ไปใน
ทศิ ทางท่ถี ูกตอ้ งและเกิดประสิทธภิ าพสูงสุด จึงได้นาข้อมูลด้านต่างๆ มาวิเคราะห์เพ่ือกาหนดเป็น
กรอบแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดังน้ี

กศน.อาเภอบางซ้าย มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์และ
จุดเน้นการจัดการศึกษาตลอดชวี ิต การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย จากหลกั ฐานและ
เอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ดังนี้

1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

กลา่ วถึงหลักการและแนวทางการจัดการศกึ ษาทีส่ าคญั ไว้หลายประการ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 กาหนดให้รัฐต้องจดั การศึกษาอบรมและ
สนบั สนนุ ให้เอกชนจัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรคู้ คู่ ุณธรรม จัดให้มกี ฎหมายเก่ียวกบั การศกึ ษา
แหง่ ชาติ ปรบั ปรุงการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสังคม สร้างเสรมิ
ความรู้และปลูกฝังจติ สานกึ ท่ีถูกต้องเกยี่ วกับการเมือง การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข สนับสนุนการค้นควา้ วจิ ยั ในศิลปะวทิ ยาการต่าง ๆเร่งรดั การศกึ ษา
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาพฒั นาประเทศ พฒั นาวิชาชีพครูและส่งเสรมิ ภมู ิปญั ญา
ทอ้ งถน่ิ ศลิ ปะและวฒั นธรรมของชาติ รวมทั้งในการจัดการศึกษาของรัฐ ใหค้ านงึ ถึงการมีสว่ นร่วม
ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ และเอกชน

หมวด 1 บททัว่ ไป ความมงุ่ หมายและหลกั การ
ความมุ่งหมาย มุ่งพฒั นาคนไทยให้เปน็ มนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์ ทั้งทางรา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญา

ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชวี ติ และอย่ใู นสงั คมโลกไดอ้ ยา่ งมี
ความสุข

หลกั การจัดการศกึ ษา เป็นการศึกษาตลอดชวี ิตสาหรับประชาชน ให้สังคมมสี ่วนรว่ มในการ
จดั การศึกษา และพัฒนาสาระและกระบวนการเรยี นร้ใู หเ้ ป็นไปอยา่ งต่อเนอื่ ง

การจดั ระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศกึ ษา ยึดหลกั การ 6 ขอ้ คือ มีเอกภาพ
ด้านนโยบายแต่มคี วามหลากหลายในการปฏิบัติ กระจายอานาจสู่เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา สถานศกึ ษา
และองคก์ รปกครองท้องถนิ่ กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาการประกันคณุ ภาพการศึกษาทุกระดบั และ
ทุกประเภทการศกึ ษา การส่งเสริมมาตรฐานวชิ าชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ระดม

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

18

ทรพั ยากรจากแหลง่ ตา่ งๆมาใช้ในการจัดการศึกษา และมสี ว่ นรว่ มของบคุ คลครอบครวั ชมุ ชน องค์กร
ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สถาบนั สงั คมอืน่ ๆ
หมวด 2 สิทธิและหนา้ ที่ทางการศกึ ษา

สิทธิและโอกาสรับการศึกษา ได้แก่ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 12 ปี ท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึง
และมีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และการศึกษาสาหรับเด็กพิเศษ/ผู้พิการ/ด้อยโอกาสและเด็กท่ีมี
ความต้องการพเิ ศษ

สิทธิในการจัดการศึกษา ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นบุคคล
ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันทางศาสนา องค์กรเอกชน สถานประกอบการและ
สถาบันสังคมอน่ื

ผู้จัดการศึกษามีสิทธิรับสิทธิประโยชน์จากรัฐ ในด้านการสนับสนุนความรู้ความสามารถใน
การอบรมเลีย้ งดู เงนิ อดุ หนนุ การจัดการศึกษา และการลดหย่อน หรือยกเวน้ ภาษี

หมวด 3 ระบบการศึกษา
- ระบบการจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษาอาจจัดรปู แบบใดรูปแบบหนึ่งหรือท้ัง 3 รูปแบบก็ได้ มีการเทียบ
โอนผลการเรียนไดท้ งั้ 3 รปู แบบ

- การศึกษาในระบบ มี 2 ระดบั คอื
1. การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รัฐต้องจัดให้ไม่น้อยกว่า 12 ปี โดยให้มีการจัดการศึกษา

ภาคบงั คบั 9 ปี สาหรับเดก็ อายยุ ่างเข้าปีท่ี 7 ถึงยา่ งเข้าถงึ ปีที่ 16
2. การศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้แก่ การศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาและระดับ

ปรญิ ญา
การจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานให้จดั ในสถานศึกษา ดงั น้ี
1. สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
2. โรงเรียน
3. ศนู ย์การเรียน

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

19

หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา

ยึดหลักวา่ ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถอื ว่าผู้เรียนทุกคนมี
ความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม
ตามศักยภาพ โดยเน้นความสาคัญท้ังความรู้ คุณธรรมกระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความ
เหมาะสนของแตล่ ะระดบั การศึกษา

การจัดกระบวนการเรียนรู้
1.สอดคล้องความสนใจ ความถนดั และความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
2.ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยกุ ต์ใช้

ความรู้
3.เรยี นร้จู ากประสบการณ์จรงิ ฝกึ ปฏบิ ัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเปน็ รกั การอา่ น และ

ใฝร่ ู้
4.ผสมผสานความรอู้ ยา่ งสมดุล ปลูกฝังคุณธรรม ค่านยิ ม คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
5.จดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อ และอานวยความสะดวกเพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การ

เรียนรู้และท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้และความรอบรู้
6.เรียนรไู้ ด้ทุกเวลา ทุกสถานท่ี ประสานความรว่ มมือ จากทุกฝา่ ยเพื่อพฒั นาผเู้ รยี น

ตามศกั ยภาพ
- การประเมินผู้เรยี น พิจารณาจากพฒั นาการของผ้เู รยี น ความประพฤติ พฤตกิ รรม

การเรยี น การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบ
- การจดั ทาหลักสตู ร คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเป็นผูก้ าหนดหลักสูตร

แกนกลาง สถานศกึ ษาจัดทาหลักสตู รทอ้ งถนิ่
- การสร้างความร่วมมือ สถานศึกษารว่ มกับบุคคล ครอบครัว
- การพฒั นากระบวนการเรียนการสอนและสง่ เสริมการวิจัย สถานศกึ ษาพัฒนา

กระบวนการเรียนการสอนทีม่ ีประสิทธิภาพและส่งเสริมใหผ้ สู้ อนสามารถวิจัยเพื่อพฒั นาการ
เรยี นรู้

หมวด 5 การบรหิ ารและการจดั การศึกษา
- การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา แบ่งเป็น 3 ระดบั คอื ระดับชาติ ระดับเขตพน้ื ที่

การศกึ ษา และระดับสถานศกึ ษา
- กระทรวงกระจายอานาจการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาไปยังเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาและ

สถานศกึ ษาโดยตรง ในดา้ นวชิ าการ งบประมาณ บริหารบุคคล และการบรหิ ารทั่วไป
- คณะกรรมการเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา มีอานาจหนา้ ท่ี กากบั ดูแล จัดตั้ง ยบุ รวมและเลกิ

สถานศึกษาข้ันพื้นฐานประสานส่งเสรมิ สนบั สนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ประสาน
สง่ เสรมิ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ให้สามารถจดั การศึกษาให้สอดคล้องกบั นโยบายและมาตรฐาน
การศกึ ษา ส่งเสริม สนับสนุนการจดั การศึกษาบุคคลและองค์กรตา่ งๆ

- องค์ประกอบของคณะกรรมการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรชุมชน
องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สมาคมผู้ประกอบการวิชาชีพครู สมาคมผู้ประกอบการ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

20

วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา สมาคมผู้ปกครองและครู และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะ
และวฒั นธรรม และผอู้ านวยการเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาเป็นกรรมการและเลขานุการ

- คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีหน้าที่ กากับ และส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมของ
สถานศกึ ษา

- องคป์ ระกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ประกอบดว้ ย ผแู้ ทนผ้ปู กครอง ครู
องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศิษย์เก่า พระภิกษุสงฆ์และหรือองค์กรศาสนาอ่ืน
ผทู้ รงคุณวฒุ แิ ละผูบ้ ริหารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานกุ ารโดยตาแหนง่

- การบริหารและจัดการศึกษาของเอกชน ให้มีความเป็นอิสระ โดยมีการกากับติดตามการ
ประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของรฐั รัฐสนับสนุนด้านเงินอุดหนุนการลดหย่อนหรือการ
ยกเว้นภาษีและสิทธิประโยชน์อย่างอ่ืนท่ีเป็นประโยชน์ทางการศึกษา รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน
ดา้ นวชิ าการให้แก่สถานศกึ ษาเอกชน
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา

ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพ
ภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบ
การประกับคุณภาพภายใน ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร และจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อ
หน่วยงานที่เก่ียวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา
ทุกแห่งอย่างนอ้ ยหน่ึงคร้ังทุกห้าปี โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ซึ่ง
เป็นองค์การมหาชนทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินและจัดให้มีการประเมินดังกล่าว รวมท้ัง
เสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ในกรณที ่ีผลการประเมินภายนอกไมไ่ ด้
มาตรฐานให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ จัดทาข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานต้นสังกัด ให้สถานศึกษา
ปรับปรุง ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด หากมิได้ดาเนินการ ให้สานักงานรับรองมาตรฐานฯ รายงานต่อ
คณะกรรมการต้นสังกดั เพื่อให้ดาเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขตอ่ ไป
หมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางศึกษา

ใหก้ ระทรวงสง่ เสรมิ ใหม้ รี ะบบ กระบวนการผลิตและพฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากร ทาง
การศกึ ษาให้มีคณุ ภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวชิ าชีพชั้นสูง โดยรฐั จดั สรร งบประมาณ
และกองทนุ พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอย่างเพยี งพอ มีกฎหมายวา่ ด้วย
เงนิ เดือน คา่ ตอบแทน สวัสดกิ าร ฯลฯ ให้มีองคก์ รวิชาชีพครู ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และผู้บรหิ าร
การศึกษา เปน็ องคก์ รอสิ ระมอี านาจหนา้ ที่กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพกิ ถอนใบอนญุ าต
ประกอบวิชาชพี รวมทง้ั กากบั ดแู ลการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
- ครู ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอ่นื ท้งั ของรฐั และเอกชน
ตอ้ งมีใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ ทงั้ นี้ ยกเว้น ผทู้ ่ีจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย จัดการศึกษาในศูนย์การ
เรยี น วิทยากรพเิ ศษ และผบู้ รหิ ารการศึกษาระดับเหนือเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
- ใหข้ า้ ราชการของหน่วยงานทางการศกึ ษาในระดับสถานศกึ ษาและระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาเปน็
ขา้ ราชการในสังกดั องค์กรกลางบรหิ ารงานบคุ คลของข้าราชการครู ตามหลักการกระจายอานาจการ
บรหิ ารงานบคุ คลสู่เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาและสถานศึกษา
- การผลติ และพัฒนาคณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษา การพฒั นามาตรฐานและจรรยาบรรณ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

21

ของวชิ าชพี และการบรหิ ารงานบคุ คลของข้าราชการหรอื พนักงานของรฐั ในสถานศึกษาระดบั ปริญญา
ทีเ่ ปน็ นิติบคุ คลให้เป็นไปตามกฎหมายเฉพาะของสถานศึกษานัน้

หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
- ระดมทรัพยากรทั้งจากรฐั และเอกชน

- สถานศกึ ษาของรฐั ทีเ่ ปน็ นิติบุคคล มอี านาจในการปกครอง ดแู ลบารงุ รกั ษา ใชแ้ ละจัดหา
ประโยชนจ์ ากทรพั ย์สินของสถานศึกษา ทั้งทเ่ี ปน็ ท่ีราชพสั ดุและทรัพยส์ นิ อนื่

- รายไดแ้ ละผลประโยชน์ของสถานศึกษาของรัฐท่ีเปน็ นิตบิ คุ คลต้องส่งคลงั

- รัฐจดั สรรงบประมาณให้กับการศกึ ษาในฐานะท่ีมคี วามสาคัญสูงสุดตอ่ การพฒั นาที่ย่ังยนื
ของประเทศ

1. เงนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไปรายบุคคลสาหรบั การศึกษาภาคบงั คับและการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
2. กองทุนกยู้ มื สาหรบั ผเู้ รียนท่มี รี ายได้นอ้ ย
3. งบประมาณและทรัพยากรทางการศกึ ษาอน่ื เป็นพิเศษสาหรับผู้พิการ/ดอ้ ย
โอกาส/ผู้มีความสามารถพิเศษ
4. งบดาเนินการและงบลงทุนตามนโยบายแผนพฒั นาการศึกษาและภารกจิ ของ
สถานศึกษาโดยใหม้ ีอิสระในการบรหิ าร โดยคานงึ ถงึ คุณภาพและความเสมอภาค
5. เงนิ อดุ หนุนท่วั ไปสาหรับสถานศกึ ษาทเี่ ป็นนิตบิ ุคคลท่ีอยใู่ นกากบั ของรัฐหรอื
องคก์ รมหาชน

6. กองทุนกู้ยมื เงนิ ดอกเบ้ยี ตา่ ใหส้ ถานศึกษาเอกชน
7. กองทุนเพ่ือพฒั นาการศกึ ษาของรฐั และเอกชน
- จดั สรรเงนิ อดุ หนุนใหบ้ คุ คลและองค์กรท่จี ดั การศึกษาตามความเหมาะสมและความจาเปน็
- มีระบบตรวจสอบ ติดตาม ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณ
การจัดการศึกษา

หมวด 9 เทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา
- รฐั จดั สรรคล่นื ความถี่ สื่อตัวนา โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการสอื่ สารและใช้ประโยชน์

ทางการศกึ ษา

- ส่งเสริม สนับสนุน การผลิตการพัฒนาแบบเรียน สื่อและเทคโนโลยีเพ่ือให้
การศกึ ษา โดยให้มกี ารแขง่ ขันอย่างเสรี

- พัฒนาบคุ ลากรผู้ผลติ และผใู้ ชเ้ ทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษาตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต
- ผู้เรยี นมีสิทธิไดร้ บั การพัฒนาการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษาตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ
- รัฐต้องส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ

การศกึ ษา

- จดั ตั้งกองทนุ พัฒนาเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา

พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562

สรุป คือ ได้ยกเลิกอานาจหน้าท่ีของกระทรวงศึกษาธิการในการส่งเสริมและกากับดูแล
การศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

22

2. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2564)

ไดใ้ ห้ความสาคัญของสถานศึกษาตลอดชวี ิตโดยกาหนดยุทธศาสตร์โดยการเสริมสร้างพัฒนา
ศักยภาพมนษุ ยส์ ่สู งั คมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยการ

- ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ
1. ปรบั ระบบบรหิ าร
2. ปรบั หลักสูตร
3. พฒั นาระบบประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐาน
4. ส่งเสริมมาตรการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการขนาดกลางที่มีศักยภาพ

เขา้ รว่ มระบบทวภิ าคหี รอื สหกิจศกึ ษา
5. ขยายความร่วมมอื ระหว่างสถาบัน
6. จัดทาส่ือการเรยี นร้ทู ่เี ปน็ สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์
7. ปรับปรงุ แหล่งเรียนรู้ในชุมชนใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรเู้ ชิงสร้างสรรคแ์ ละมีชวี ติ

- แผนงานการสรา้ งสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ป็นแหล่งการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต
มุง่ เนน้ การพัฒนาพนื้ ทีแ่ หลง่ เรียนร้ใู หม้ ีชวี ิต ทนั สมัย มีคณุ ภาพและ ไดม้ าตรฐานสากลเพอื่ ดงึ ดูดใหค้ น
ทุกช่วงวัยเกดิ ความสนใจเข้าไปเรียนรู้และมีสว่ นร่วมในการทากจิ กรรม มีการศึกษาและพัฒนาแหล่ง
เรียนรรู้ ปู แบบใหมๆ่ ทจี่ ะชว่ ยเพ่ิมพูนศักยภาพคนไทยให้สามารถรองรับการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต

ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ ศ
2560 2564)

วสิ ยั ทศั น์ : สู่ความมัน่ คง มงั่ ค่งั และยั่งยนื

กรอบวสิ ัยทศั นแ์ ผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ใหค้ วามสาคญั กับการกาหนดทิศทางการพฒั นาท่ี
มุ่งส่กู ารเปล่ยี นผ่านประเทศไทยจากประเทศท่มี รี ายได้ปานกลางไปสู่ ประเทศท่มี รี ายได้สูง มีความ
มั่นคง และยง่ั ยนื สังคมอยู่รว่ มกันอยา่ งมคี วามสขุ

กรอบวสิ ยั ทัศนแ์ ละเปา้ หมาย
1. กรอบวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จากสถานะของประเทศและบริบทการ

เปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่ประเทศกาลังประสบอยู่ทาให้การกาหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12
ยงั คงมคี วามต่อเนื่องจากวสิ ัยทัศน์แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 11 และ กรอบหลกั การของการวางแผนท่ีนอ้ ม
นาและประยกุ ต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยดึ คนเปน็ ศนู ย์กลางของการพัฒนาอย่างมีสว่ น
รว่ ม การพฒั นาท่ียึดหลักสมดุล ยัง่ ยนื โดยวสิ ยั ทศั น์ของการพฒั นาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องให้
ความสาคัญกับการกาหนดทิศทางการพัฒนาท่ีมุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย จากประเทศท่ีมี
รายได้ปานกลางไปสู่ประเทศท่ีมีรายได้สูง มีความมั่นคง และย่ังยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
และนาไปสกู่ ารบรรลวุ ิสยั ทศั นร์ ะยะยาว “มั่นคง มัง่ ค่งั ยง่ั ยืน” ของประเทศ

2. การกาหนดตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategic Positioning) เป็น
การกาหนดตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติท่ี สศช. ได้จัดทาขึ้น
ประเทศไทยเปน็ ประเทศรายได้สูงที่มีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านการขนส่ง

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

23

และโลจิสติกส์ของภูมิภาคสู่ความเป็นชาติการค้าและบริการ (Trading and Service Nation) เป็น
แหล่งผลิตสินค้าเกษตรอนิ ทรียแ์ ละเกษตรปลอดภัย แหล่งอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมสูง
ท่เี ปน็ มติ รตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
เป้าหมาย

1. การหลดุ พ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสรู่ ายไดส้ ูง
2. การพฒั นาศกั ยภาพคนให้สนบั สนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้าง สงั คมสงู วัยอยา่ ง
มีคณุ ภาพ
3. การลดความเหลื่อมลา้ ในสังคม
4. การสร้างการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจและสังคมทเ่ี ปน็ มติ รกับส่งิ แวดล้อม
5. การบริหารราชการแผ่นดนิ ท่ีมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์หลัก
1. ยทุ ธศาสตรด์ ้านความม่นั คง
2. ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน
4. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทางสงั คม
5. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รต่อส่ิงแวดลอ้ ม
6. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหาร จดั การภาครัฐ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

24

ยทุ ธศาสตร์ ทศิ ทางกรอบแนวทางท่ีสาคญั ของยุทธศาสตร์
1.ยุทธศาสตรด์ า้ น
ความมนั่ คง กรอบแนวทางที่สาคญั

2.ยุทธศาสตรด์ ้าน (1) การเสรมิ สร้างความมน่ั คงของสถาบนั หลกั ของชาติและการปกคอรงระบอบประชาธิปไตยอันมี
การสร้าง พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
ความสามารถใน (2) การปฏริ ูปกลไกการบรหิ ารประเทศ
การแข่งขัน (3) การปอ้ งกนั และแกไ้ ขการก่อความไม่สงบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
(4) การบรหิ ารจัดการความม่นั คงชายแดนและชายฝง่ั ทะเล
(5) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศทกุ ระดับ
(6) การพฒั นาเสริมสรา้ งศักยภาพการผนึกกาลงั ป้องกันประเทศและกองทพั
(7) การพัฒนาระบบการเตรียมพรอ้ มแหง่ ชาติ รกั ษาความมั่นคงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติ
สง่ิ แวดล้อม และการปกป้องรกั ษา ผลประโยชน์แห่งชาตทิ างทะเล รวมท้งั เสรมิ สรา้ งความมัน่ คง
ทางอาหารพลังงาน และน้า
(8) การปรับกระบวนการทางานของกลไกทเ่ี กย่ี วข้องจากแนวดง่ิ สแู่ นวระนาบมากข้ึน

(1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจและสรา้ งความเชอ่ื มนั่ สง่ เสรมิ
การคา้ และการลงทุนทั้งภาครัฐและ เอกชน และพัฒนาประเทศสคู่ วามเปน็ ชาตกิ ารค้าเพ่อื เป็น
ศนู ย์กลางการคา้ และได้ประโยชน์จากหว่ งโซ่มลู ค่าในภูมภิ าคเพมิ่ ขนึ้
(2) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ ภาคเกษตร ไดแ้ ก่ เสรมิ สร้างฐานการผลิตการเกษตรให้
เขม้ แข็งและยง่ั ยนื เพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของภาคเกษตร พฒั นาสินค้าเกษตรและ
อาหารที่มีศกั ยภาพในการแขง่ ขนั และสง่ เสรมิ เกษตรกร รายย่อยให้ปรบั ไปส่รู ูปแบบเกษตรยัง่ ยืน
ท่เี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อมและรวมกลมุ่ เกษตรกรในการพฒั นาอาชพี ท่ีเข้มแขง็ ภาคอตุ สาหกรรม
พฒั นาอตุ สาหกรรมศักยภาพ ได้แก่ พฒั นาอุตสาหกรรมส่งออกท่มี ีศักยภาพสงู สรา้ งความเขม้ แข็ง
ใหก้ บั ผู้ประกอบการไทย และพัฒนาอตุ สาหกรรมท่มี ศี ักยภาพในอนาคต เป็นตน้ และภาคบริการ
พัฒนายกระดับผลติ ภัณฑ์ การท่องเท่ยี ว ผลกั ดนั ประเทศไทยสกู่ ารเป็นศูนย์กลางการใหบ้ ริการ
สุขภาพ และส่งเสรมิ ธรุ กิจบรกิ ารทมี่ ศี กั ยภาพ
(3) พัฒนาผปู้ ระกอบการและเศรษฐกิจชุมชน ได้แก่ พัฒนาทกั ษะและองคค์ วามรขู้ อง
ผูป้ ระกอบการ ไทยพฒั นาและยกระดบั ผลิต ภาคแรงงานเพอ่ื ส่งเสริมขดี ความสามารถในการ
แข่งขนั ของประเทศ พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสู่สากลยกระดบั ศักยภาพของสินค้า
หนง่ึ ตาบลหนึ่งผลติ ภัณฑ์ (OTOP) ไทยให้กา้ วไกลสู่สากล และพฒั นาวิสาหกจิ ชมุ ชนและสถาบนั
เกษตรกร
(4) การพฒั นาพ้ืนท่ีเศรษฐกจิ พิเศษและเมือง โดยพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน พัฒนาพ้ืนที่
เศรษฐกจิ บริเวณชายฝ่งั ทะเล ตะวนั ออก พัฒนาระบบเมอื งศูนยก์ ลางความเจรญิ ของประเทศ และ
พฒั นาคลัสเตอรอ์ ตุ สาหกรรมและบรกิ ารที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อนประเทศ
(5) การลงทนุ พฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานในดา้ นการขนสง่ ความมัน่ คงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สาร และการวจิ ยั และพฒั นา

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

25

ยุทธศาสตร์ กรอบแนวทางทสี่ าคญั

2.ยทุ ธศาสตรด์ า้ น (6) การเชอ่ื มโยงกบั ภมู ภิ าคและเศรษฐกจิ โลก สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพฒั นา กบั ประเทศในอนุ

การสร้าง ภมู ภิ าค ภูมภิ าค และนานาประเทศ ส่งเสรมิ ใหป้ ระเทศไทยเป็นฐานของการประกอบธรุ กิจ

ความสามารถใน สง่ เสรมิ ความร่วมมือกับภมู ิภาคและนานาชาติในการสรา้ งความม่นั คงด้านพลงั งาน อาหาร

การแขง่ ขนั ส่งิ แวดลอ้ ม และการบริหารจดั การภยั พบิ ัติ สง่ เสริมบทบาทการเป็นผู้ประสานประโยชน์ในการ

เช่ือมโยงและสรา้ งความสมดุลของความสมั พนั ธ์ของประเทศไทยกบั กลุ่มอานาจทางเศรษฐกิจ

ต่างๆ เพิ่มบทบาทและการมสี ว่ นรว่ มของไทยในองคก์ ารระหวา่ งประเทศในการผลกั ดนั การพฒั นา

ในอนุภูมิภาคและภมู ภิ าค สนบั สนุนการเปดิ การค้าเสรี และสรา้ งองค์ความรู้ดา้ นการตา่ งประเทศ

ต่อสว่ นตา่ งๆ และสาธารณชนไทย

3.ยุทธศาสตร์การ (1) การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ ใหส้ นับสนุนการเจริญเตบิ โตของประเทศ โดยพฒั นาเรมิ่

พฒั นาและ ต้ังแต่ในครรภ์และต่อเนอ่ื งไปตลอดช่วงชีวิต

เสริมสร้างศกั ยภาพ (2) การยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้ให้มีคณุ ภาพ เท่าเทยี มและทั่วถงึ

คน (3) การสรา้ งเสริมให้คนมีสขุ ภาวะที่ดี

(4) การสร้างความอยดู่ มี สี ขุ ของครอบครวั ไทยให้เออื้ ต่อการพฒั นาคน

4.ยทุ ธศาสตร์ดา้ น (1) การสรา้ งความม่ันคงและการลดความเหลอื่ มล้าทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม

การสรา้ งโอกาส (2) การพฒั นาระบบบรกิ ารและระบบบรหิ ารจดั การสขุ ภาพ

ความเสมอภาคและ (3) การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มและนวตั กรรมที่เออ้ื ต่อการดารงชีวติ ในสงั คมสงู วัย

เท่าเทียมกนั ทาง (4) การสรา้ งความเข้มแขง็ ของสถาบนั ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของ

สงั คม ชุมชน

(5) การพัฒนาการสอื่ สารมวลชนให้เปน็ กลไกในการสนับสนนุ การพฒั นา

5.ยทุ ธศาสตรด์ า้ น (1) การจัดระบบอนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟแู ละปอ้ งกันการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ

การสร้างการเตบิ โต (2) การวางระบบบริหารจดั การน้าให้มีประสิทธิภาพท้ัง 25 ลุม่ น้า เน้นการปรับระบบการบริหาร

บนคณุ ภาพชีวติ ที่ จัดการอุทกภยั อยา่ งบรู ณาการ

เป็นมติ รตอ่ (3) การพฒั นาและใชพ้ ลังงานท่ีเปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ มในทกุ ภาคเศรษฐกิจ

สิง่ แวดล้อม (4) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศและเมืองทเ่ี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม

(5) การร่วมลดปญั หาโลกร้อนและปรบั ตัวให้พรอ้ มกบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

(6) การใชเ้ ครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลังเพ่ือสง่ิ แวดลอ้ ม

6.ยุทธศาสตร์ด้าน (1) การปรบั ปรงุ การบริหารจัดการรายได้และรายจา่ ยของภาครัฐ

การปรับสมดลุ และ (2) การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ

พัฒนาระบบการ (3) การปรับปรงุ บทบาท ภารกจิ และโครงสร้างของหนว่ ยงานภาครัฐ ให้มีขนาดที่เหมาะสม

บริหาร จดั การ (4) การวางระบบบริหารงานราชการแบบบรู ณาการ

ภาครัฐ (5) การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การกาลังคนและพฒั นาบุคลากรภาครฐั ในการปฏิบตั ิราชการ

(6) การต่อต้านการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ

(7) การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และขอ้ บังคบั ให้มคี วามชดั เจน ทนั สมัย เป็นธรรม และ

สอดคล้องกบั ข้อบงั คบั สากลหรอื ขอ้ ตกลง ระหวา่ งประเทศ ตลอดจน พัฒนาหน่วยงานภาครฐั และ

บคุ ลากรท่มี ีหนา้ ท่ีเสนอความเหน็ ทางกฎหมายให้มศี ักยภาพ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

26

3. ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)

ระบุสาระสาคัญท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การศึกษาตลอดชีวติ ไว้ดังน้ี
ยุทธศาสตรช์ าติ เป็นเปา้ หมายในการพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยืนตามหลักธรรมาภบิ าล เพอื่ ใช้
เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน อันจะก่อให้เกิดเป็นพลังผลักดัน
ร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 –
2580)
วสิ ยั ทศั น์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เปน็ ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง”

ประโยชน์แต่ละช่วงวัย
วยั เดก็
เร่ิมจากครรภ์มารดาถึงปฐมวัย เด็กและมารดาทุกคนจะได้รับการดูแลท่ีถูกต้องตามหลัก

วชิ าการ โภชนาการ และสมวยั ผ่านระบบบรกิ ารสาธารณะทม่ี ีคณุ ภาพและกระจายครอบคลมุ ทว่ั ทุก
ภูมิภาค โดยท่ีเด็กจะเกิดมาท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ปลอดภัย สงบสุข สภาพแวดล้อม
ธรรมชาติที่สะอาด อากาศบริสุทธิ์ เพียบพร้อมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นต่อการเติบโตได้
อย่างมีคุณภาพ พรอ้ มท้ังมีสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ท้ังเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเล้ียงดแู ละ
ศูนย์เด็กเล็กที่พ่อแม่ทุกคนสามารถเข้าถึง มีคุณภาพ และเอ้ือต่อการเลี้ยงดูเดก็ ให้เติบโตได้อย่างดี มี
ทกั ษะ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพใจท่ีดี พรอ้ มเติบโตสชู่ ว่ งวัยต่อ ๆ ไป

หลังจากน้ันก็จะกา้ วเขา้ สู่วัยเรยี น ท้ังในระดับประถมและมัธยมท่นี ักเรียนทกุ คนจะได้รับการ
พฒั นาทกั ษะ ความรู้ และความสามารถผ่านอุปกรณ์ สอื่ การเรยี นการสอน และกระบวนการเรยี นการ
สอนท่ีทันสมยั ที่เทา่ เทยี มกนั ทั่วประเทศ มี “ครู” ท่ีจะมีบทบาทมากกว่าการเป็นครผู ู้สอน สู่การเป็น
“ผ้อู านวยการการเรียนรู้” ที่จะคอยกระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบ
การสรา้ งความรู้ให้กับนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนได้รับการปูพ้ืนฐานความพร้อมทั้งกาย ใจ และปัญญา
ให้พร้อมรองรับการพัฒนาของช่วงวัยต่อไป ได้รับการปลูกฝังวัฒนธรรมการใช้ชีวิตในสังคมท่ีดี ให้
เป็นคนดี มีจติ สาธารณะ มีความรับผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม สามารถทางานเป็นทมี

วยั รนุ่ -นักศึกษา ซ่ึงนับเป็นช่วงวัยที่มีความสาคัญอีกช่วงหน่ึง ซ่ึงจะเติบโตเป็นประชากรวัย
แรงงานทีจ่ ะสร้างรายไดแ้ ละยกระดบั การพฒั นาของประเทศตอ่ ไป โดยวัยรนุ่ -นกั ศกึ ษา จะได้รบั การ
เรียนรู้จากระบบการเรียนการสอนท่ีมุ่งให้ก้าวไปเป็นวัยแรงงานท่ีมีคุณภาพและมีความสุข มีอาชีพ
ตามความถนัด ความสนใจ และความชอบ มีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของตลาดงาน ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ มีทักษะชีวิตและทัศนคติที่พร้อมเผชิญและสามารถ
ปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ได้ มีการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ตลาดงานผ่านระบบดิจิทัล
แพลตฟอร์มและโครงสรา้ งพื้นฐานท่ีเกี่ยวข้องในรูปแบบต่าง ๆ และตระหนักถงึ ความสาคัญของการ
รักษารา่ งกายใหแ้ ข็งแรง มีสุขภาวะที่ดี

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

27

วัยผูใ้ หญ่
วยั แรงงาน ซงึ่ เป็นวัยสาคัญช่วงวยั หนึ่งในการพัฒนาและขับเคลอ่ื นประเทศในอนาคต โดย

จะประกอบด้วยทั้งวัยแรงงานในปัจจุบัน รวมทั้งวัยรุ่นและนักศึกษาที่จะเติบโตขึ้นกลายเป็นวัย
แรงงานต่อไป ท้ังน้ี จากการกระจายความเจริญที่จะไปสู่ทุกภูมิภาคของประเทศในอนาคต วัย
แรงงานจะสามารถทางานได้ในภูมิลาเนาของตนเอง ไม่ต้องเดินทางเข้าเมืองหลวงเพื่อแสวงหาโอกาส
ที่ดีกว่าเฉกเช่นปัจจุบัน ทาให้สามารถได้อยู่ใกล้ชิดกับครอบครัว สถาบันครอบครัวมีความแข็งแรง
ขน้ึ โดยที่แต่ละภูมิภาคจะได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับศักยภาพทั้งในภาคอุตสาหกรรม บริการ
และท่องเทย่ี ว และภาคเกษตร มโี ครงสร้างพื้นฐานที่เก่ียวข้องทเ่ี อื้อและอานวยความสะดวกต่อการ
ทางาน ได้รับการยกระดับจาก “ผู้ใช้แรงงาน” เป็น “ผู้ใช้พลังสมอง” ท่ีสามารถเข้าถึงแหล่งทุน
นวัตกรรม เทคโนโลยี และขา่ วสารข้อมูลไดส้ ะดวก มีอาชพี รายได้ และความรูก้ ารบรหิ ารจดั การทาง
การเงนิ ท่ีจะนาพาไปสูก่ ารมีหลักประกนั ทางการเงนิ หลังเกษยี ณ
ผสู้ งู อายุ

ผู้สูงอายุ ในอนาคตเราจะมีทั้งประชากรที่เป็นผู้สูงอายุอยู่แล้ว และประชากรที่จะเปล่ียน
จากวัยแรงงานสู่การเป็นผู้สูงอายุ ซ่ึงไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้สูงอายุใหม่หรือไม่ ก็จะได้รับการดูแลและ
บริการสาธารณะที่มีคุณภาพ ครอบคลุม ทั่วถึง และเข้าถึงได้ มีสภาพแวดล้อมที่เอ้ืออานวยต่อการ
ดาเนินชีวิต (Universal Design) ได้รับการส่งเสริมและสนับสุนนให้มีส่วนร่วมทางสังคม มีสุขภาพ
กายและใจท่ีดี มีศักดิ์ศรี เป็นอีกหน่ึงแรงพลังในการช่วยขับเคล่ือนและพัฒนาประเทศได้เฉก
เช่นเดียวกับชว่ งวยั อนื่ ๆ
ยุทธศาสตร์ 6 ดา้ น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมี
ความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช
อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน
เคร่ืองมอื เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพรอ้ มสามารถรบั มอื กับภัยคกุ คามและ
ภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบและทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความ
มั่นคงท่ีมีอยู่ในปัจจุบันและท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการท้ังกับ
ส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรท่ีไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านและมิตร
ประเทศทั่วโลกบนพนื้ ฐานของหลกั ธรรมาภบิ าล

ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน มเี ปา้ หมายการพฒั นาทีม่ ุ่งเนน้ การ
ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพ้ืนฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอด
อดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่น
ทางทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่หี ลากหลาย รวมท้ังความได้เปรียบเชิงเปรียบเทยี บของประเทศในด้านอ่นื ๆ
นามาประยกุ ต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพอ่ื ใหส้ อดรับกบั บรบิ ทของเศรษฐกิจและสงั คม
โลกสมัยใหม่ (2) “ปรบั ปัจจุบนั ” เพอื่ ปูทางสู่อนาคตผา่ นการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานของประเทศใน
มติ ิต่าง ๆ ทัง้ โครงขา่ ยระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดจิ ิทัล
และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้าง
คุณค่าใหม่ ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

28

รปู แบบธุรกจิ เพื่อตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคตบน
พ้ืนฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐให้
ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนใน
เวทีโลกควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนช้ันกลางและลด
ความเหล่ือมลา้ ของคนในประเทศได้ในคราวเดยี วกัน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาที่
สาคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความ
พร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดใี นทุกช่วงวัย มจี ิตสาธารณะ
รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อน่ื มัธยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดี
ของชาติ มหี ลักคดิ ทถ่ี ูกต้อง มที ักษะที่จา่ เป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทกั ษะสือ่ สารภาษาอังกฤษและภาษา
ท่ี 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่
การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ โดยมี
สมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ี
สาคัญที่ให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น
มาร่วมขบั เคล่อื น โดยการสนับสนุนการรวมตวั ของประชาชนในการร่วมคิดรว่ มท่าเพื่อสว่ นรวม การ
กระจายอ่านาจและความรับผดิ ชอบไปสกู่ ลไกบริหารราชการแผน่ ดินในระดับท้องถน่ิ การเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติ
สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทา
ประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและ
สวัสดิการท่มี คี ุณภาพอย่างเป็นธรรมและทัว่ ถึง

ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม มีเป้าหมาย
การพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน ในทุกมิติ ทั้งมิติด้านสังคม
เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาลและความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและ
ภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใชพ้ ้ืนทีเ่ ป็นตวั ตั้งในการกาหนดกลยุทธแ์ ละแผนงาน และการให้ทุก
ฝ่ายท่ีเก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการ
ดาเนนิ การบนพน้ื ฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่วา่ จะเปน็ ทางเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และคณุ ภาพชีวิต โดย
ให้ความสาคัญกบั การสร้างสมดุลทั้ง 3 ด้าน อันจะนาไปส่คู วามยงั่ ยนื เพื่อคนร่นุ ตอ่ ไปอยา่ งแทจ้ รงิ
ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั มีเป้าหมายการพฒั นาที่
สาคัญเพื่อปรบั เปลีย่ นภาครฐั ท่ยี ึดหลกั “ภาครัฐของประชาชน เพอ่ื ประชาชนและประโยชน์สว่ นรวม”
โดยภาครฐั ตอ้ งมีขนาดทเ่ี หมาะสมกบั บทบาท ภารกจิ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐท่ีทาหน้าที่ใน
การกากับหรอื ในการให้บริการ ยึดหลักธรรมาภิบาลปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และ
ผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่
ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็น
ดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใชอ้ ยา่ งคุ้มคา่ และปฏิบัติงานเทียบไดก้ ับมาตรฐานสากล รวมท้ังมลี ักษณะเปิด
กว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

29

ประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยม
ความซื่อสตั ย์สุจรติ ความมธั ยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏเิ สธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤตมิ ิชอบ
อย่างส้ินเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเทา่ ทจ่ี าเป็น มีความทันสมยั มีความเป็น
สากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการ
ยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอานวยความยุติธรรมตาม
หลักนติ ิธรรม

4. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ระบุสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา

ตลอดชวี ิตไวด้ งั นี้
แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design) ตามแผนการศึกษาแห่งชาติยึดหลักสาคัญ

ในการจดั การศกึ ษาประกอบดว้ ย
1. หลกั การจัดการศึกษาเพอ่ื ปวงชน (Education for All)
2. หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเทา่ เทยี มและทว่ั ถงึ (InclusiveEducation)
3. หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (Sufficiency Economy)
4. หลกั การมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นของสังคม (All for Education)
5. ยดึ ตามเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ั่งยืน (SustainableDevelopment Goals : SDGs 2030)

โดยนายุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการจัดทา
แผนการศึกษาแห่งชาติ วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมายเป้าหมายตัวชี้วัดและยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษา
แห่งชาติ

วิสยั ทัศน์
“คนไทยทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาและเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพดารงชวี ติ

อย่างเป็นสขุ สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการเปลี่ยนแปลงของ
โลกศตวรรษที่ 21”

โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ในการจดั การศกึ ษา 4 ประการ คอื
1) เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพและมีประสิทธภิ าพ
2) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ

บทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์
ชาติ

3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรมจริยธรรมรู้รักสามัคคีและ
รว่ มมือผนกึ กาลงั มุ่งสกู่ ารพัฒนาประเทศอยา่ งยัง่ ยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4) เพ่ือนประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางและความเหลื่ อมล้า
ภายในประเทศลดลง

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

30

เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้นแผนการศึกษา
แหง่ ชาตไิ ดว้ างเป้าหมายไว้ 2 ดา้ นคือ

1. เปา้ หมายด้านผูเ้ รยี น(Learner Aspirations) โดยมุง่ พัฒนาผูเ้ รียนทุกคนให้มี
2. คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21(3Rs8Cs) ประกอบด้วยทักษะและ
คุณลักษณะต่อไปน้ี
3Rs ได้แก่การอ่านออก(Reading) การเขยี นได(้ Writing) และการคิดเลขเปน็ (Arithmetics)
8Cs ได้แก่
1. ทักษะด้านการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ญั หา
2. ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม
3. ทกั ษะดา้ นความเข้าใจต่างวัฒนธรรมตา่ งกระบวนทศั น์
4. ทกั ษะด้านความรว่ มมอื การท งานเปน็ ทมี และภาวะผ้นู า
5. ทกั ษะด้านการส่อื สารสารสนเทศ และการร้เู ท่าทันส่อื
6. ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
7. ทักษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู้
8. ความมีเมตตากรณุ ามีวนิ ัยคุณธรรมจรยิ ธรรม

เปา้ หมายของการจัดการศึกษา(Aspirations) 5 ประการ
ซงึ่ มตี วั ช้วี ัดเพ่ือการบรรลเุ ปา้ หมาย53 ตัวชีว้ ัดประกอบด้วยเป้าหมายและตัวชวี้ ดั ที่ดงั นี้สาคญั
1) ประชากรทกุ คนเข้าถงึ การศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอยา่ งท่วั ถึง(Access)
2) ผู้เรียนทุกคนทกุ กลุ่มเปา้ หมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน อย่างเท่า

เทยี ม(Equity)
3) ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพสามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถ เต็มตาม

ศักยภาพ(Quality)
4) ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือการลงทุนทางการศึกษาท่ีคุ้มค่าและ

บรรลเุ ปา้ หมาย(Efficiency)
5) ระบบการศกึ ษาท่ีสนองตอบและก้าวทันการเปลีย่ นแปลงของโลกท่ีเป็นพลวตั และ บริบท

ทเี่ ปลย่ี นแปลง(Relevancy)

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

31

5. ยุทธศาสตรห์ ลักที่สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มีเป้าหมาย
ดงั น้ี

1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข

1.2 คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ี พิเศษได้รับ
การศกึ ษาและเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ

1.3 คนทกุ ชว่ งวยั ไดร้ ับการศกึ ษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิต รปู แบบใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัยและนวัตกรรรม เพ่ือสร้างขีด
ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ มีเป้าหมาย ดงั น้ี
2.1 กาลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดงาน
และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตที่มีความ เช่ียวชาญและเป็น
เลิศเฉพาะด้าน
2.3 การวิจยั และพัฒนาเพอ่ื สร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมทส่ี ร้างผลผลติ และ มูลคา่ เพม่ิ ทาง
เศรษฐกจิ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มี
เปา้ หมาย ดงั น้ี
3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่
จาเป็นในศตวรรษท่ี 21
3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ
มาตรฐานมาตรฐานวิชาชีพ และพฒั นาคุณภาพชีวิตไดต้ ามศักยภาพ
3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร
อย่างมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน
3.4 แหล่งเรียนรู้ ส่ือตาราเรียน นวัตกรรม และส่ือการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน
ประชาชนสามารถเขา้ ถึงได้โดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานท่ี
3.5 ระบบและกลไกการวดั การติดตาม และประเมินผลมปี ระสทิ ธภิ าพ
3.6 ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดบั สากล
3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา มี
เปา้ หมาย ดังนี้
4.1 ผ้เู รียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาที่มคี ณุ ภาพ
4.2 การเพิม่ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอ่ื การศึกษาสาหรับคนทกุ ช่วงวยั
4.3 ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน
เพือ่ การวางแผนการบริหารจัดการศกึ ษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

32

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตทีส่ิงแวดล้อมเป็นมิตรกับ มี
เปา้ หมาย ดังนี้

5.1 คนทุกช่วงวัย มีจติ สานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อมคุณธรรมจริยธรรมมี และนาแนวคิดตาม หลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ

5.2 หลักสตู ร แหลง่ เรยี นรู้ และสือ่ การเรียนรทู้ ส่ี ่งเสรมิ คุณภาพชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม
คณุ ธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู การปฏิบัติ

5.3 การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมดา้ นการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตร
กับส่งิ แวดลอ้ ม
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา มีเป้าหมายดังนี้

6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และ
สามารถตรวจสอบได้

6.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา

6.3 ทุกภาคส่วนของสงั คมมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาทตี่ อบสนองความตอ้ งการประชาชน
และพื้นที่

6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ี
แตกตา่ งกันของผู้เรียน สถานศึกษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ

6.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม
สรา้ งขวัญกาลังใจ และสง่ เสริมใหป้ ฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

33

6. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551
ระบุสาระสาคัญดงั นี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551”
มาตรา 2 พระราชบญั ญัตนิ ี้ให้ใช้บงั คบั ตั้งแต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็น
ต้นไป
มาตรา 3 พระราชบัญญัตินี้ ไม่ใช้บังคับกับการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม

อัธยาศัยซ่ึงดาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน ตามกฎหมายท่ีเกี่ยวกับ
สถาบันอุดมศึกษาทไ่ี ดบ้ ญั ญตั ไิ ว้แลว้

มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ิน้ี
“การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า กิจกรรมการศึกษาท่ีมกี ลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและ
วัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นรู้ท่ีชัดเจน มีรปู แบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรยี นหรือฝึกอบรม
ท่ียืดหยุ่นและหลากหลายตามสภาพความต้องการและศักยภาพในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายนั้น
และมีวิธีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานเพื่อรับคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเพ่ือจัด
ระดบั ผลการเรยี นรู้
“การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความวา่ กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจาวันของบุคคล
ซ่ึงบุคคลสามารถเลือกท่ีจะเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส
ความพร้อม และศกั ยภาพในการเรียนรขู้ องแตล่ ะบุคคล
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั ในสานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
“ภาคีเครอื ขา่ ย” หมายความว่า บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ น
ท้องถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืน รวมท้ัง
สถานศกึ ษาอ่ืน ท่มี ไิ ด้สังกัดสานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยทมี่ ีส่วน
ร่วมหรอื มวี ตั ถุประสงค์ในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสง่ เสริมสนบั สนุนและประสานความร่วมมือ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร
“สานักงาน” หมายความว่า สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรผี รู้ ักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

34

มาตรา 5 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา ให้บุคคลได้รับการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แห่งชาติ โดยให้บุคคลซ่ึงได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไปแล้วหรือไม่ก็ตามมีสิทธิได้รับการศึกษาใน
รูปแบบ

การศึกษานอกระบบหรือการศกึ ษาตามอัธยาศัยได้ แล้วแต่กรณี ทง้ั น้ี ตามกระบวนการและ
การดาเนินการที่ได้บัญญัตไิ ว้ในพระราชบัญญตั นิ ี้

มาตรา 6 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ยึด
หลักดงั ต่อไปน้ี

(1) การศึกษานอกระบบ
(ก) ความเสมอภาคในการเข้าถึงและได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง ท่ัวถึง เป็น
ธรรม และมีคณุ ภาพเหมาะสมกับสภาพชีวิตของประชาชน
(ข) การกระจายอานาจแก่สถานศึกษาและการให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการ

จดั การ เรยี นรู้
(2) การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

(ก) การเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกับความสนใจและวิถชี ีวติ ของผู้เรียน ทุก
กลมุ่ เป้าหมาย

(ข) การพฒั นาแหล่งการเรียนร้ใู หม้ คี วามหลากหลายทั้งส่วนที่เป็นภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
และสว่ นท่นี าเทคโนโลยมี าใช้เพือ่ การศกึ ษา

(ค) การจัดกรอบหรอื แนวทางการเรียนรู้ทเี่ ปน็ คุณประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี น
มาตรา 7 การสง่ เสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ ให้ดาเนนิ การเพอ่ื เปา้ หมาย ในเรื่อง
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างต่อเน่ือง เพื่อพัฒนาศักยภาพกาลังคนและสังคม
ท่ใี ช้ความรู้ และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพฒั นา ทงั้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ความ
มนั่ คง และคณุ ภาพชวี ติ ทั้งน้ี ตามแนวทางการพัฒนาประเทศ

(2) ภาคีเครือข่ายเกิดแรงจูงใจและมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมเพ่ือจัดกิจกรรม
การศกึ ษา
มาตรา 8 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ดาเนินการเพ่ือเป้าหมาย ใน
เรือ่ งดังต่อไปน้ี

(1) ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ท่ีจะเอื้อต่อการ
เรียนร้ตู ลอดชีวติ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

35

(2) ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรสู้ าระที่สอดคล้องกับความสนใจและความจาเป็นในการยกระดับ
คุณภาพชวี ิต ทง้ั ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม

(3) ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์และเทียบโอนผลการเรียนกับ
การศกึ ษา ในระบบและการศกึ ษานอกระบบ

มาตรา 9 ให้กระทรวงศึกษาธิการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ การศึกษา
ตามอธั ยาศยั โดยให้ความสาคัญแกผ่ ูเ้ กี่ยวข้องตามบทบาทและหนา้ ทีด่ ังต่อไปน้ี

(1) ผู้เรียน ซ่ึงเปน็ ผู้ท่ไี ด้รับประโยชน์ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ และสามารถ
เลอื กรบั บริการไดห้ ลากหลายตามความต้องการของตนเอง

(2) ผู้จัดการเรียนรู้สาหรับการศึกษานอกระบบ และผู้จัดแหล่งการเรียนรู้สาหรับ
การศึกษา ตามอัธยาศัย มีการดาเนินการท่ีหลากหลายตามศักยภาพเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของผเู้ รยี น โดยบรู ณาการความรู้ ปลกู ฝังคณุ ธรรม และค่านยิ มที่ดีงาม

(3) ผู้ส่งเสรมิ และสนบั สนุน ซึ่งเป็นผู้ทเี่ อ้ือประโยชนใ์ หแ้ กผ่ ู้เรียนและผู้จัดการเรียนรู้
มีการดาเนินการที่หลากหลาย เพ่อื สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหเ้ กิดการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ือง
มาตรา 10 เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย สว่ นราชการ หน่วยงานของรัฐทเี่ ก่ียวข้องและภาคีเครอื ข่าย อาจดาเนนิ การส่งเสริมและ
สนบั สนุนในเรื่องดังต่อไปน้ี

(1) สื่อและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาท่ีจาเป็นสาหรับการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษา ตามอธั ยาศัย และการช่วยเหลอื ด้านการเงินเพ่ือการจดั การศึกษานอกระบบ

(2) การจัดการศึกษา การพัฒนาวิชาการและบุคลากร การใช้ประโยชน์จาก
ทรพั ยากร เพือ่ การศึกษา และการยกย่องประกาศเกียรติคุณสาหรับผู้จดั การเรยี นรู้การศกึ ษา
นอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

(3) สิทธิประโยชน์ตามความเหมาะสมให้แก่ผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอก
ระบบ

(4) การสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผูเ้ รียนของการศึกษา
ตามอธั ยาศยั สามารถเข้าถึงไดต้ ามความเหมาะสม

(5) ทรัพยากรอ่นื ท่ีเกย่ี วข้องกบั การดาเนนิ การเพ่ือให้บุคคลและชุมชนไดเ้ รียนรู้ตาม
ความสนใจ และความต้องการที่สอดคล้องกับความจาเป็นในสังคมของการศึกษาตาม
อธั ยาศยั
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการส่งเสริมและสนับสนุนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่
กาหนด ในกฎกระทรวง

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

36

มาตรา 11 เพ่ือประโยชน์ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวขอ้ งร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพ่ือดาเนินการใน
เร่อื ง ดังต่อไปน้ี

(1) จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเรียนรู้ เช่น แหล่งการเรียนรู้ ศูนย์การเรียน
ชมุ ชน สื่อและเทคโนโลยที ี่หลากหลายเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมีโอกาสเข้าถงึ การเรียนรู้

(2) ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของภาคีเครือข่าย เพ่ือให้เกิดความร่วมมือ
และ การพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่อื ง

(3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่าย ได้รับโอกาสในการจัดสรรทรัพยากรและ
เขา้ ถงึ แหลง่ เงินทุนเพ่อื การดาเนนิ งาน
มาตรา 12 เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินงานการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการมี
อานาจหน้าท่ี ดังต่อไปนี้
(1) กาหนดนโยบายและแผนการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั ที่สอดคลอ้ งกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติและแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ
(2) กาหนดแนวทางการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
(3) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การประสานงานระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน
ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศเพ่ือการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
(4) เสนอแนะต่อรัฐมนตรีในการจัดทาและการพัฒนาระบบการเทียบโอนผลการเรียนจาก
การเรียนรู้ในการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
(5) ปฏิบัตงิ านอนื่ ใดตามท่ีพระราชบัญญัตินหี้ รอื กฎหมายอน่ื บัญญัตใิ ห้เป็นอานาจหน้าที่ของ
คณะกรรมการหรอื ตามท่ีคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา 13 ให้คณ ะก รรมก ารแต่งต้ังคณ ะอ นุก รรมก ารข้ึน คณ ะห น่ึง เรียก ว่า
“คณะอนุกรรมการ ภาคีเครือข่าย” ท่ีประกอบด้วยภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมที่เข้ามามีส่วนร่วมใน
การสง่ เสริมและสนบั สนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
จานวนอนกุ รรมการ คุณสมบัติ หลกั เกณฑ์ วิธีการได้มาของประธานและอนุกรรมการ วาระ
การดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่ง รวมทั้งอานาจหน้าท่ีของคณะอนุกรรมการภาคีเครอื ข่าย
ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 14 ให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยข้ึน ใน
สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน ” โดยมีเลขาธิการ
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เรียกโดยย่อว่า “เลขาธกิ าร กศน.”
ซึ่งมีฐานะเป็นอธิบดีและเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง และรับผิดชอบ การ

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

37

ดาเนนิ งานของสานักงาน

สานกั งานมีอานาจหนา้ ทด่ี ังต่อไปนี้

(1) เป็นหน่วยงานกลางในการดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน
การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และรับผิดชอบงานธุรการของ
คณะกรรมการ

(2) จัดทาข้อเสนอแนะ นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอก
ระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยตอ่ คณะกรรมการ

(3) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัย การ
พัฒนา หลักสูตรและนวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากร และระบบข้อมูลสารสนเทศท่ี
เก่ียวข้องกบั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

(4) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้
และ ประสบการณ์ และการเทียบระดบั การศกึ ษา

(5) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ องค์กรเอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ
และ องค์กรอื่นรวมตัวกันเป็นภาคีเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการดาเนินงาน
การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

(6) จัดทาข้อเสนอแนะเก่ียวกับการใช้ประโยชน์เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา วิทยุชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา
ห้องสมดุ ประชาชน พิพิธภัณฑ์ ศูนยก์ ารเรียนชุมชน และแหลง่ การเรยี นร้อู ่นื เพอ่ื ส่งเสรมิ การ
เรียนรู้และการพฒั นาคุณภาพชวี ิต อยา่ งต่อเนื่องของประชาชน

(3) ดาเนินการเก่ียวกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงาน
การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

(4) ปฏิบัติงานอื่นใดตามพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอื่นท่ีบัญญัติให้เป็นอานาจ
หน้าท่ี ของสานักงาน หรือตามท่ีรฐั มนตรมี อบหมาย

มาตรา 15 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัด ทุกจังหวดั ดงั ต่อไปน้ี

(1) ในกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษา ตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็น
ประธานกรรมการ ปลดั กรุงเทพมหานคร เลขาธิการ กศน. ผู้แทนกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงแรงงาน ผู้แทน
กระทรวงสาธารณสุข และผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังจานวนแปดคนเป็นกรรมการ ซ่ึง

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

38

ในจานวนนี้จะต้องแต่งต้ังจากผู้ปฏิบัติงานในภาคเอกชน ที่เก่ียวข้องกับงานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจานวนไม่น้อยกว่าห้าคน และให้ ผู้อานวยการสานักงาน
กศน. กทม. เป็นกรรมการและเลขานุการ

(2) ในจังหวัดอน่ื ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อัธยาศยั จังหวัด ประกอบด้วย ผวู้ า่ ราชการจังหวดั เป็นประธานกรรมการ ปลัดจังหวดั เกษตร
จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด แรงงานจังหวัด พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด และ ผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแต่งตั้งจานวนแปดคนเป็น
กรรมการ ซ่ึงในจานวนนี้จะต้องแต่งตั้งจากผู้ปฏิบัติงาน ในภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้องกับงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในพ้นื ทขี่ องจังหวัด จานวนไมน่ อ้ ยกว่าหา้ คน
และให้ผู้อานวยการสานักงาน กศน. จังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการคุณสมบัติ วาระ
การดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและการประชุม ของ
คณะกรรมการตามวรรคหนึง่ ใหเ้ ป็นไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 16 คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
มอี านาจหน้าท่ีดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) ให้คาปรึกษาและร่วมมือในการพฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยกบั ภาคเี ครือขา่ ย

(2) ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือขา่ ย เพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและมาตรฐานทค่ี ณะกรรมการกาหนด

(3) ติดตามการดาเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ
สถานศึกษา และหน่วยงานท่ีจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มี
คุณภาพและมาตรฐานตามท่ี กาหนด และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศ
รวมท้งั ความตอ้ งการเพ่ือการพัฒนาของท้องถ่นิ

(4) ปฏบิ ัติงานอืน่ ตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย

มาตรา 17 ใหม้ สี านักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ทุก
จงั หวดั ดงั ต่อไปนี้

(1) ในกรุงเทพมหานคร ให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตาม อัธยาศัยกรงุ เทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน. กทม.” เป็นหน่วยงานใน
สังกดั ของสานกั งาน และเปน็ หน่วยงานการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู
และบุคลากร ทางการศึกษา ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร และมีอานาจหน้าท่ี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

39

บรหิ ารการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยภายในกรงุ เทพมหานคร

(2) ในจังหวัดอ่ืน ให้มีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย จังหวัด เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน. จังหวัด” เป็นหน่วยงานในสังกัดของ
สานักงาน และเป็น หน่วยงานการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา ทาหน้าท่ีเป็น หนว่ ยงานธุรการของคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด และมีอานาจหน้าท่ีบริหารการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ภายในจังหวัด

ใหห้ นว่ ยงานการศึกษาตามวรรคหนง่ึ มผี ูอ้ านวยการเปน็ ผู้บงั คบั บัญชาขา้ ราชการครู
และบุคลากร ทางการศึกษา ในสังกัดสานักงาน กศน. กทม. หรือสานักงาน กศน. จังหวัด
แล้วแต่กรณี รวมท้ังเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด
สถานศกึ ษาท่ีอยู่ในพ้นื ที่ท่รี ับผิดชอบ และมีฐานะเปน็ ผบู้ ริหารการศกึ ษาตามกฎหมายว่าดว้ ย
ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
ของหน่วยงานดงั กล่าว

มาตรา 18 ให้สถานศึกษาทาหน้าท่ีส่งเสรมิ สนับสนุน ประสานงาน และจัดการศึกษา นอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รว่ มกับภาคีเครอื ขา่ ย

การดาเนินงานของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง อาจจัดให้มีศูนย์การเรยี นชุมชนเป็นหน่วยจัด
กจิ กรรมและสรา้ งกระบวนการเรยี นรูข้ องชมุ ชนกไ็ ด้

การจัดต้ัง ยุบ เลิก รวม การกาหนดบทบาท อานาจและหนา้ ท่ีของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง
ให้เป็นไปตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศกาหนด

มาตรา 19 ใหส้ ถานศกึ ษาแต่ละแห่งมีคณะกรรมการสถานศึกษา

จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการได้มาของประธานและกรรมการ วาระการ
ดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่ง รวมทงั้ อานาจหน้าทขี่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษา ให้เป็นไป
ตามทีค่ ณะกรรมการประกาศกาหนด

มาตรา 20 ให้สานักงานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบซ่ึงเป็นระบบ
การประกนั คุณภาพภายในสาหรบั สถานศึกษาท่ีมคี ุณภาพและมาตรฐานสอดคลอ้ งกับกฎหมายวา่ ดว้ ย
การศกึ ษาแห่งชาติ

ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการ ประกนั คุณภาพภายใน โดยได้รับความร่วมมือ ส่งเสรมิ และสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายและ
สานักงาน

ระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพภายใน ให้เปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 21 ให้สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน ปรบั เปล่ียนภารกิจมาเป็นสานกั งาน

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

40

ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และให้ผู้อานวยการสานักบริหารงาน
การศึกษา นอกโรงเรียน ซ่ึงดารงตาแหน่งอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ปฏิบัติหน้าที่ เลขาธิการ กศน. จนกว่าจะมีการแต่งตั้งเลขาธิการ กศน. ขึ้นใหมต่ ามพระราชบัญญัติน้ี
ท้งั นี้ ตอ้ งไมเ่ กิน หนึ่งร้อยแปดสบิ วันนบั แตว่ นั ท่พี ระราชบญั ญตั ินี้ใช้บังคบั

ให้คณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและประสานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการซ่ึงดา รง
ตาแหน่ง อยู่ในวันที่พระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา คงมีฐานะเป็นคณะกรรมการ
ดังกล่าวต่อไป และปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
ดังกล่าวขน้ึ ใหมเ่ พื่อ ดาเนนิ การตามพระราชบัญญัติน้ี

มาตรา 22 ให้เลขาธิการ กศน. แต่งต้ังผู้บริหารสถานศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครคนหนึ่ง
ปฏิบตั ิหน้าท่ีผอู้ านวยการสานักงาน กศน. กทม. จนกว่าจะมีการแต่งตั้งผู้อานวยการสานักงาน กศน.
กทม. ขนึ้ ใหม่ตามพระราชบัญญัตินี้

ให้ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด ซ่ึงดารงตาแหน่งอยู่ในวันท่ี
พระราชบัญญัติน้ีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการสานักงาน กศน. จังหวัด
จนกว่าจะมีการแต่งต้ังผ้อู านวยการสานักงาน กศน. จังหวัด ขึน้ ใหม่ตามพระราชบัญญัตินี้

การดาเนินการแต่งต้ังตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน หนึ่ง
รอ้ ยแปดสิบวนั นับแต่วนั ทพ่ี ระราชบญั ญัตินีใ้ ชบ้ ังคับ

มาตรา 23 ให้รัฐมนตรีจัดทาบัญชีรายชื่อสถานศึกษาในสังกัดสานักบริหารงานการศึกษา
นอกโรงเรียน สานักงานปลดั กระทรวง กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่มี ีความพร้อมในการปฏิบตั ภิ ารกจิ ของ
สถานศึกษาตามท่ีกาหนดในพระราชบัญญัติน้ี และประกาศรายช่ือสถานศึกษาดังกล่าวใน ราชกิจจา
นุเบกษาภายในเก้าสิบวนั นับแต่วันท่พี ระราชบัญญัติน้ีใชบ้ ังคบั

ให้ ถื อ ว่ าสถ าน ศึ ก ษ าต าม บั ญ ชี ร าย ชื่ อ ที่ รั ฐม น ต รี ป ร ะ ก าศ ก า ห น ดต าม ว ร ร ค ห นึ่ งเป็ น
สถานศึกษา ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 24 ให้นากฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศและคาส่ังเกี่ยวกับการ จัด
การศกึ ษานอกโรงเรียนที่ใชบ้ ังคับอยู่ในวันท่พี ระราชบัญญตั นิ ้ีใชบ้ ังคับ มาใช้บังคับโดยอนุโลม จนกว่า
จะได้มีกฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศท่ีออกตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน
สองปีนบั แต่วันทพี่ ระราชบัญญตั นิ ้ใี ชบ้ งั คบั

มาตรา 25 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมี
อานาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพอ่ื ปฏบิ ัติการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี

กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมอ่ื ได้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ ให้ใชบ้ งั คับได้

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

41

7. นโยบายและจุดเนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน. ปี 2563 ระบสุ าระสาคัญดังนี้

วสิ ัยทัศน์
คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตที่

เหมาะสม กับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลก
ศตวรรษที่ 21

พันธกจิ
1. จัดและสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับ

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ ยกระดับการศกึ ษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุก
กลุ่มเป้าหมาย ให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปล่ียนแปลงบรบิ ททางสังคม และก้าวสู่การเป็น
สังคมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ อยา่ งยัง่ ยนื

2. สง่ เสริม สนับสนนุ แสวงหา และประสานความร่วมมอื เชิงรกุ กับภาคีเครอื ขา่ ย ใหเ้ ขา้ มามี
ส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้
ตลอดชวี ติ ในรูปแบบตา่ งๆ ให้กบั ประชาชน

3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนา
ประสิทธภิ าพในการจัดและใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชน
อยา่ งทวั่ ถงึ

4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและ
ประเมินผลในทกุ รปู แบบให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกบั บรบิ ทในปจั จุบนั

5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการองคก์ รให้มีประสทิ ธิภาพ เพือ่ มุ่งจดั การศกึ ษา
และการเรยี นรู้ทีม่ คี ุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล

เป้าประสงค์
1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทัง้ ประชาชนทั่วไปไดร้ ับโอกาส

ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และ
การศึกษา ตามอัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความ
ต้องการของแต่ละกลุม่ เปา้ หมาย

2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความ
เป็นพลเมือง ท่ีสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต
และเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ให้ ชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสู่ความม่ันคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม

3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่
เหมาะสม สามารถ คิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมท้ังแก้ปัญหาและพัฒนา
คุณภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์

4. ประชาชนได้รบั การสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อพัฒนาการแสวงหาความรู้
ดว้ ยตนเอง

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

42

5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุน
การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทั้งการขบั เคล่อื นกจิ กรรมการเรยี นร้ขู องชมุ ชน

6. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล มาใช้ในการยกระดบั คณุ ภาพในการจดั การเรียนรแู้ ละเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ใหก้ ับประชาชน

7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อ
แก้ปัญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และส่ิงแวดล้อม รวมท้ังตามความต้องการของประชาชนและ
ชุมชนในรปู แบบที่หลากหลาย

8. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรทที่ ันสมยั มปี ระสิทธิภาพ และ
เปน็ ไป ตามหลักธรรมาภิบาล

9. บุคลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตัวชีว้ ดั
ตัวชี้วัดเชิงปรมิ าณ

1. จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีได้รับการสนับสนุน
คา่ ใช้จ่ายตามสทิ ธิ ที่กาหนดไว้

2. จานวนของคนไทยกลมุ่ เป้าหมายตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ไดร้ ับบริการกิจกรรม
การศกึ ษา ต่อเนอ่ื ง และการศึกษาตามอธั ยาศัยท่สี อดคลอ้ งกบั สภาพ ปญั หา และความต้องการ

3. รอ้ ยละของกาลงั แรงงานท่สี าเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นขน้ึ ไป
4. จานวนภาคีเครือข่ายท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคี
เครอื ขา่ ย : สถาน ประกอบการ องค์กร หน่วยงานท่ีมารว่ มจัด/พฒั นา สง่ เสรมิ การศึกษา)
5. จานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้ืนที่สงู และชาวไทยมอแกน ในพ้นื ท่ี 5 จังหวัด 11
อาเภอ ได้รบั บริการการศกึ ษาตลอดชีวติ จากศนู ย์การเรยี นชุมชนสงั กดั สานกั งาน กศน.
6. จานวนผู้รับบริการในพื้นท่ีเป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนา
ทักษะชีวติ
7. จานวนนักเรียน/นกั ศึกษาท่ีไดร้ ับบริการติวเขม้ เต็มความรู้
8. จานวนประชาชนที่ได้รับการฝึกอาชีพระยะส้ัน สามารถสร้างหรือพัฒนาอาชีพเพื่อสร้าง
รายได้
9. จานวน ครู กศน. ตาบล จากพื้นท่ี กศน.ภาค ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการ
เรียน การสอนภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร
10. จานวนประชาชนท่ีได้รบั การฝึกอบรมภาษาตา่ งประเทศเพอ่ื การสอื่ สารดา้ นอาชีพ
11. จานวนผูผ้ า่ นการอบรมหลกั สตู รการดแู ลผ้สู ูงอายุ
12. จานวนประชาชนท่ผี า่ นการอบรมจากศูนยด์ ิจทิ ัลชมุ ชน
13. จานวนศูนย์การเรียนชุมชน กศน. บนพื้นท่ีสูง ในพ้ืนท่ี 5 จังหวัด ที่ส่งเสริมการพัฒนา
ทักษะ การฟัง พูดภาษาไทยเพ่อื การสอ่ื สาร ร่วมกันในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

43

14. จานวนหลักสูตรหรือสือ่ ออนไลนท์ ี่ใหบ้ รกิ ารกับประชาชน ท้ังการศึกษานอกระบบระดับ
การศกึ ษา ขนั้ พนื้ ฐาน การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศัย
ตัวช้วี ัดเชงิ คุณภาพ

1. รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบ (N-
NET) ทกุ รายวชิ าทุกระดบั

2. ร้อยละของผูเ้ รียนทไี่ ดร้ ับการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเทียบกบั ค่าเป้าหมาย
3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายทลี่ งทะเบยี นเรียนในทุกหลกั สตู ร/กิจกรรมการศกึ ษา
ต่อเนอื่ ง เทยี บกบั เป้าหมาย
4. ร้อยละของผผู้ ่านการฝกึ อบรม/พัฒนาทกั ษะอาชีพระยะส้ันสามารถนาความรไู้ ปใช้ในการ
ประกอบอาชีพหรอื พฒั นางานได้
5. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือ
ทกั ษะ ดา้ นอาชพี สามารถมีงานทาหรือนาไปประกอบอาชพี ได้
6. ร้อยละของผ้จู บหลกั สูตร/กจิ กรรมท่ีสามารถนาความรูค้ วามเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตร/กจิ กรรม การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
7. ร้อยละของประชาชนท่ีได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการ
เรยี นรู้ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
8. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ไดร้ ับบริการ/เขา้ รว่ มกิจกรรมทมี่ ีความรู้ความเขา้ ใจ/
เจตคต/ิ ทกั ษะ ตามจดุ ม่งุ หมายของกิจกรรมทกี่ าหนด ของการศึกษาตามอัธยาศยั
9. ร้อยละของผสู้ ูงอายทุ ี่เป็นกลมุ่ เปา้ หมาย มีโอกาสมาเข้ารว่ มกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชีวิต

นโยบายเร่งด่วนเพือ่ รว่ มขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ
1.ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความมัน่ คง

1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนาและ
เผยแพร่ศาสตร์ พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถงึ แนวทางพระราชดารติ า่ ง ๆ

1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับ
และเคารพ ความหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์

1.3 สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศกึ ษาเพอื่ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบ
ใหม่ ทัง้ ยาเสพตดิ การคา้ มนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภยั พิบตั ิจากธรรมชาติ โรคอุบัตใิ หม่ ฯลฯ

1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ในเขต
พฒั นาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพ้ืนที่ชายแดนอน่ื ๆ

1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้าน
กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ และชาวตา่ งชาตทิ ี่มคี วามหลากหลาย
2. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน

2.1 ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนให้รองรับ
อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - Curve และ New S - Curve) โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีเขต

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

44

ระเบียง เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สาหรบั พื้นท่ีปกติให้พัฒนา
อาชพี ทีเ่ นน้ การต่อยอดศกั ยภาพและตามบรบิ ทของพืน้ ที่

2.2 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพื้นท่ีภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบ
การศกึ ษา อย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนาคุณวุฒิที่ได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ
รองรับการพัฒนา เขตพื้นทรี่ ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC)

2.3 พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพื่อต่อยอดการผลิตและจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์
กศน. ออนไลน์ พรอ้ มทั้งประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มช่องทางการจาหน่ายสินค้า
และผลิตภัณฑใ์ ห้กวา้ งขวางยง่ิ ขนึ้
3. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

3.1 สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้
เชอ่ื มโยง ความรู้กับผูเ้ รียนและผู้รับบรกิ าร มีความเปน็ “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และ
ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของสังคม และเป็น “ผู้อานวยการการเรียนรู้” ที่สามารถบริหารจัดการ
ความรู้ กิจกรรม และการเรียนรู้ทดี่ ี

1) เพม่ิ อัตราข้าราชการครูให้กับสถานศึกษาทุกประเภท
2) พัฒนาข้าราชการครใู นรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สตู รทเี่ ชอ่ื มโยงกับวทิ ยฐานะ
3) พัฒนาครใู ห้สามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทักษะการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาต่างประเทศ ทกั ษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้
4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิการนิเทศไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
5) พฒั นาบคุ ลากรทกุ ระดับทุกประเภทใหม้ คี วามรู้และทกั ษะเร่อื งการใชป้ ระโยชนจ์ ากดจิ ิทัล
และภาษาต่างประเทศทจ่ี าเป็น รวมทง้ั ความรู้เกี่ยวกบั อาชพี ทร่ี องรับอตุ สาหกรรมเป้าหมายของ
ประเทศ (First S-Curve และ New S-Curve)
3.2 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย
เหมาะสม กบั บริบทของพน้ื ท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผู้รับบริการ
3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรยี นรู้สาหรับทุกคน
สามารถ เรยี นไดท้ กุ ทท่ี ุกเวลา มีกิจกรรมท่ีหลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมชน
3.4 เสริมสร้างความร่วมมอื กับภาคเี ครือข่าย ประสาน ส่งเสรมิ ความร่วมมอื ภาคีเครือข่าย ท้ัง
ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รวมท้ังสง่ เสริมและสนับสนุนการมีส่วน
ร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการ
ศึกษาและการเรยี นรใู้ ห้กับ ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพอื่ ประโยชนต์ ่อการจดั การศกึ ษาและกลมุ่ เป้าหมาย เช่น
จัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะ
อาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหาร
จัดการ การจัดการเรียนรู้ และใช้การวจิ ัยอย่างง่ายเพอื่ สรา้ งนวัตกรรมใหม่
3.6 พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ด้านความรู้ความ
เขา้ ใจ และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy)

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

45

3.7 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมทัง้ กล่มุ เป้าหมายพิเศษ
อื่น ๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้จบ
การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

3.8 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบตา่ ง ๆ โดยเน้น
ทักษะ ภาษาเพอ่ื อาชีพ ท้งั ในภาคธรุ กจิ การบริการ และการทอ่ งเทย่ี ว

3.9 เตรยี มความพรอ้ มของประชาชนในการเข้าสู่สงั คมผู้สงู อายทุ ่เี หมาะสมและมีคุณภาพ
3.10 จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุกให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์
อย่างง่าย ท้ังวิทยาศาสตร์ในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งความก้าวหน้าทาง
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
3.11 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขต
พน้ื ท่ีสงู ให้สามารถฟงั พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพอื่ ประโยชนใ์ นการใช้ชวี ิตประจาวันได้
4. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
4.1 พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม
ในการใหบ้ รกิ ารกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้
1) เร่งยกระดับ กศน.ตาบลนาร่อง 428 แหง่ (อาเภอละ 1 แห่ง) ให้เปน็ กศน.ตาบล 5 ดี พรี
เมียม ท่ีประกอบด้วย ครูดี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพื้นท่ี) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรม
การเรยี นรูท้ ่ดี มี ปี ระโยชน์
2) จัดให้มีศูนย์การเรยี นรู้ต้นแบบ กศน. เพ่ือยกระดับการเรียนรู้ เป็นพื้นที่การเรียนรู้ (Co -
Learning Space) ทท่ี ันสมัยสาหรบั ทุกคน มีความพร้อมในการใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ
3) พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ใหเ้ ป็น Digital Library
4.2 จัดตัง้ ศนู ยก์ ารเรยี นรสู้ าหรบั ทุกช่วงวยั ทม่ี กี ิจกรรมทหี่ ลากหลาย ตอบสนองความต้องการ
ใน
การเรียนรู้ในแต่ละวัย เพ่ือให้มีพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีความสุขกับการเรียนรู้ตามความ
สนใจ
4.3 ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรับกลุ่มเป้าหมายผ้พู ิการ โดย
เน้น รูปแบบการศึกษาออนไลน์

5. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม
5.1 ส่งเสริมให้มกี ารใหค้ วามรูก้ ับประชาชนในการรับมือและปรบั ตวั เพ่อื ลดความเสียหายจาก

ภัยธรรมชาตแิ ละผลกระทบท่เี กย่ี วข้องกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับ

ประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยกต้งั แต่ตน้ ทาง การกาจัดขยะ และการนากลบั มาใช้ซา้
5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใชพ้ ลังงานท่ีเป็นมิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ ลดการ

ใช้ ทรัพยากรท่ีส่งผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม เช่น รณรงคเ์ รือ่ งการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัด
ไฟฟ้า เป็นตน้

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

46

6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต

และ ประพฤตมิ ชิ อบ บรหิ ารจัดการบนขอ้ มูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ์ มุง่ ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรง่ ใส
6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานที่เป็นดิจิทัลมาใชใ้ นการบรหิ ารและพัฒนา

งาน
6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบคุ ลากรทุกระดบั อย่างตอ่ เนอ่ื ง ให้มีความร้แู ละทักษะตามมาตรฐาน

ตาแหน่ง ให้ตรงกบั สายงาน ความชานาญ และความต้องการของบุคลากร

ภารกิจต่อเนื่อง
1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดย

ดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
และค่าจัดการเรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงบริการทาง
การศกึ ษาที่มีคุณภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย

2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายผู้ดอ้ ย พลาด และ
ขาดโอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน
และการจดั การศกึ ษาทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐาน ทั้งด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวดั และ
ประเมนิ ผล การเรยี น และระบบการให้บรกิ ารนกั ศกึ ษาในรูปแบบอ่นื ๆ

4) จัดให้มกี ารประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์
ท่ีมีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความ
ต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพท่ีผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ
กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรม
เก่ยี วกบั การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด การแข่งขันกฬี า การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่าง
ต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทง้ั เปิด
โอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์อื่น ๆ นอกหลักสูตร มาใช้ เพ่ิมชั่วโมงกิจกรรมให้
ผู้เรียนจบตามหลกั สูตรได้

1.2 การส่งเสรมิ การรู้หนงั สือ
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบ
เดยี วกนั ทงั้ สว่ นกลางและสว่ นภูมภิ าค
2) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเคร่ืองมือการดาเนินงานการส่งเสริม
การรู้หนังสือที่สอดคลอ้ งกับสภาพแตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมาย

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา


Click to View FlipBook Version