The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2563 - 2566
กศน.อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิสันติ์ ศรีสุขา, 2021-03-15 02:09:20

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2563 - 2566

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี 2563 - 2566
กศน.อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

47

3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และ
ทกั ษะการจดั กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไมร่ ู้หนังสืออยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัคร
สง่ เสริมการร้หู นงั สอื ในพน้ื ท่ี ทม่ี ีความต้องการจาเปน็ เปน็ พิเศษ

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้
หนังสือ การพฒั นาทักษะการรหู้ นงั สือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครอื่ งมือในการศึกษาและเรียนรอู้ ย่าง
ตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต ของประชาชน

1.3 การศกึ ษาต่อเน่อื ง
1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา
อาชีพ เพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพ
เฉพาะทางหรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน
ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความ
ตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพ
ชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกากับติดตาม และรายงาน ผลการจัดการศึกษา
อาชพี เพือ่ การมีงานทาอย่างเป็นระบบและต่อเนอ่ื ง
2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิตให้กับทุกกล่มุ เป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุที่
สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการ
ดารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหาร
จดั การชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนใน
ชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม สาหรับการปรบั ตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง
ของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรม ท่ีมีเนื้อหาสาคัญต่างๆ เช่น
สุขภาพกายและจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยม ที่พึงประสงค์ ความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้ง
ชมรม/ชมุ นมุ การส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ
3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชมุ สมั มนา การจดั เวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู้ การจัด
กิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และ
บริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนที่ เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทาง
ความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือ
แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจติ สานึกความเป็นประชาธิปไตย
การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การ
บาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ชว่ ยเหลือซึง่ กันและกันในการพฒั นาสังคมและชมุ ชน อย่างยง่ั ยืน
4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้
ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่าง
ม่ันคง และมีการบริหารจัดการ ความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความ
สมดุลและยง่ั ยืน

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

48

1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย
1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านและพัฒนา
ศักยภาพ การเรียนรูใ้ ห้เกิดข้ึนในสงั คมไทย ให้เกิดข้ึนอยา่ งกวา้ งขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุด
ประชาชนทุกแห่งให้มี การบริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การ
สรา้ งเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วย บรกิ ารเคลื่อนที่พรอ้ มอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
อา่ นและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชน ในพน้ื ท่ีต่างๆ อย่างท่ัวถึง สม่าเสมอ รวมทั้ง
เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ือ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อ
ส่งเสริมการอา่ นอยา่ งหลากหลาย
2) จัดสร้างและพัฒนาศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษา ให้เป็นแหลง่ เรยี นรู้วิทยาศาสตร์ตลอด
ชีวิต ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะ
วิทยาการประจาท้องถิ่น โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการ ส่ือและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการ
เสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธกี ารคิดเชิงวิเคราะห์ การคิด
เชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้
ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้ังระดับภูมิภาคและ ระดับโลก
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การ
พัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมี
ความสามารถในการปรับตวั รองรบั ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของโลกที่เปน็ ไปอย่างรวดเรว็ และ
รุนแรง (Disruptive Change) ได้อยา่ ง มปี ระสิทธภิ าพ
1.5 ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่นๆ เพ่ือ
ส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน เช่น พพิ ธิ ภัณฑ์ ศูนย์เรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี หอ้ งสมุด เป็นต้น
2. ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งาน
บริการ ทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
2.1 สง่ เสรมิ การพัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพอ่ื ส่งเสริม
การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรท้องถ่ินท่ี
สอดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ท ของพ้นื ที่ และความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมายและชุมชน
2.2 ส่งเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรยี น สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของ
ผูเ้ รยี น กล่มุ เปา้ หมายท่วั ไปและกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ
2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการ
ควบคมุ การสอบออนไลน์
2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ
ประสบการณ์ เพ่ือให้มีคณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายได้
อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง มีการประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รบั รู้และสามารถเข้าถึงระบบการ
ประเมนิ ได้

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

49

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศกึ ษานอกระบบทุกหลกั สตู ร โดยเฉพาะหลกั สูตร
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบ
อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ การวัด และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการนาไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการ
พัฒนาให้เหมาะสมกับบรบิ ทอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรับการ
ประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของ
ระบบการประกันคุณภาพและสามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่าง
ต่อเนื่องโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่ีเล้ียงเข้าไปสนับสนุน
อยา่ งใกลช้ ิด สาหรบั สถานศึกษาทีย่ ังไมไ่ ด้เข้ารับการประเมนิ คุณภาพภายนอก ใหพ้ ัฒนาคุณภาพการ
จดั การศึกษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด

2.8 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทัว่ ไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการด้าน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และสรา้ งช่องทางการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการ
ของหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่างๆ การจัด
นิทรรศการ/มหกรรมวิชาการ กศน.

3. ด้านเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อให้เชื่อมโยงและ
ตอบสนองต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือ
กระจายโอกาสทางการศึกษา สาหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
และมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่าทัน ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร เช่น
รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุ
ศึกษา สถานีวิทยโุ ทรทศั นเ์ พื่อการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทาง อนิ เทอรเ์ น็ต
3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่าน
ระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application
อื่นๆ เพื่อส่งเสริมให้ ครู กศน. นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
(Do It Yourself : DIY)
3.3 พัฒนาสถานีวทิ ยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพการผลิต
และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ือง
ตลอดชวี ิต โดยขยายเครือข่ายการรบั ฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลมุ พ้นื ที่ทวั่ ประเทศ
และเพ่ิมช่องทาง ใหส้ ามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band C Band Digital TV และ
ทางอนิ เทอรเ์ น็ต พร้อมที่จะ รองรบั การพัฒนาเป็นสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์เพ่ือการศึกษาสาธารณะ (Free
ETV)
3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพ่ือให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง
อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอ่ืนๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนท่ี และ Tablet รวมทั้งสื่อ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

50

Offline ในรูปแบบตา่ งๆ เพ่ือให้ กลุ่มเป้าหมายสามารถเลอื กใชบ้ ริการเพ่ือเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษา
และการเรยี นรูไ้ ดต้ ามความตอ้ งการ

3.5 สารวจ วิจยั ตดิ ตามประเมินผลด้านการใช้สอื่ เทคโนโลยเี พ่อื การศึกษาอย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือ
นาผล มาใช้ในการพฒั นางานใหม้ ีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสรมิ การศกึ ษาและการเรียนรู้
ตลอดชีวติ ของประชาชนไดอ้ ย่างแท้จรงิ

4. ด้านโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเกยี่ วเนื่องจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชาดาริ หรือ
โครงการ อนั เกยี่ วเน่ืองจากราชวงศ์
4.2 จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผน การติดตาม
ประเมนิ ผลและการพฒั นางาน ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ เพอ่ื ให้เกิดความเข้มแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจัด
การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทหนา้ ท่ที ่กี าหนดไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
4.5 จดั และส่งเสรมิ การเรียนรูต้ ลอดชีวิตใหส้ อดคลอ้ งกบั วิถชี ีวิตของประชาชนบนพ้ืนทสี่ ูง ถ่ิน
ทรุ กนั ดาร และพ้นื ท่ชี ายขอบ
5. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่บริเวณ
ชายแดน
5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้
1) จัดและพฒั นาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศกึ ษาและการเรยี นรูท้ ี่ตอบสนองปัญหา
และความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย รวมท้ังอตั ลกั ษณ์และความเป็นพหวุ ฒั นธรรมของพ้นื ที่
2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง
เพื่อให้ ผู้เรยี นสามารถนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ
3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ
นกั ศกึ ษา กศน. ตลอดจนผมู้ าใชบ้ รกิ ารอย่างทวั่ ถึง
5.2 พฒั นาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ
1) ประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งในการจดั ทาแผนการศึกษาตามยทุ ธศาสตร์
และบรบิ ทของแต่ละจงั หวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ
2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาท่เี ป็นความต้องการของตลาด
ใหเ้ กิดการพัฒนาอาชพี ได้ตรงตามความต้องการของพื้นที่
5.3 จัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน
(ศฝช.)
1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต
การประกอบอาชพี ดา้ นเกษตรกรรม และศูนย์การเรยี นรู้ตน้ แบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริ
ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธกี ารเรียนรูท้ ีห่ ลากหลาย

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

51

2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุก เพื่อการ
เขา้ ถึง กลุ่มเปา้ หมาย เช่น การจดั มหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจดั อบรม
แกนนาด้านอาชีพ ท่ีเน้นเรื่องเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่
ประชาชนตามแนวชายแดน

6. ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมสี ่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
6.1 การพัฒนาบุคลากร
1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง ท้ังก่อนและ
ระหว่าง การดารงตาแหน่งเพอ่ื ให้มเี จตคติท่ีดใี นการปฏิบัตงิ าน สามารถปฏบิ ัตงิ านและบริหารจัดการ
การดาเนินงาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ รวมทัง้ ส่งเสรมิ ใหข้ า้ ราชการใน
สังกัดพัฒนาตนเอง เพื่อเลื่อนตาแหน่งหรือเล่ือนวิทยฐานะ โดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิง
ประจกั ษ์
2) พัฒนาศกึ ษานิเทศก์ กศน. ให้มสี มรรถนะทจี่ าเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ
ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพ่ือร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษา ตามอัธยาศยั ในสถานศึกษา
3) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นเพ่ือการบริหารจัดการ กศน.
ตาบล/แขวง และการปฏิบตั ิงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธภิ าพ โดยเน้นการเป็นนกั จัดการ
ความรู้และผู้อานวย ความสะดวกในการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพอย่าง
แท้จรงิ
4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการ
เรียนรู้ได้ อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัด
กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล และการวจิ ัยเบอื้ งตน้
5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้
ความสามารถ และมคี วามเป็นมืออาชพี ในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชน
6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมใน
การบรหิ าร การดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษา ตามอัธยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสมั พันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน
และต่างประเทศในทกุ ระดบั โดยจดั ให้มกี ิจกรรมเพ่ือเสรมิ สร้างสมั พันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพใน
การทางาน ร่วมกันในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ือง อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิง
ปฏิบัตกิ ารพัฒนาประสิทธิภาพ ในการทางาน
6.2 การพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานและอตั รากาลัง
1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานและดาเนินการปรับปรงุ สถานท่ี และวัสดุอปุ กรณ์
ให้มี ความพร้อมในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้
2) บริหารอตั รากาลังที่มอี ยู่ ทั้งในส่วนท่เี ป็นข้าราชการ พนกั งานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด
ประสิทธภิ าพสูงสุดในการปฏิบัตงิ าน

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

52

3) แสวงหาความร่วมมอื จากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนามาใชใ้ น
การ ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการสง่ เสรมิ การเรียนรู้สาหรบั ประชาชน

6.3 การพฒั นาระบบบริหารจดั การ
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ
อย่างเปน็ ระบบเพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการ
บริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกากบั ควบคมุ และ
เร่งรัด การเบกิ จา่ ยงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายที่กาหนดไว้
3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทันสมัย และ
เช่ือมโยง กันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัด
การศึกษาใหก้ บั ผูเ้ รียน และการบริหารจดั การอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษา
วจิ ยั เพื่อสามารถนามาใชใ้ นการพัฒนาประสิทธภิ าพการดาเนนิ งานท่สี อดคล้องกับความต้องการของ
ประชาชน และชมุ ชนพรอ้ มทัง้ พฒั นาขีดความสามารถเชงิ การแขง่ ขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา
5) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและ
ส่งเสริม การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต
6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E - office) ในการบริหารจัดการ เช่น
ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใชห้ ้องประชุม
เป็นต้น
6.4 การกากบั นิเทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล
1) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา
นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยให้เชื่อมโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายท้ัง
ระบบ
2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม
และรายงาน ผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่
ละเรือ่ งได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสื่ออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการ
กากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมปี ระสิทธิภาพ
4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ
ประจาปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการ
ประจาปี ของสานักงาน กศน. ให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และ
ระยะเวลาทีก่ าหนด

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

53

5) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร
ต้งั แต่ ส่วนกลาง ภูมภิ าค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพอื่ ความเป็นเอกภาพใน
การใชข้ อ้ มูล และการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

8. แผนยุทธศาสตร์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี พ.ศ. 2563 ถึงสภาพปัญหาและ

ยทุ ธศาสตร์ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ไวด้ ังนี้
1. ข้อมลู พ้นื ฐานทางกายภาพ
1.1 ความเปนมา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หรือที่เรียกส้ันๆ วา “อยุธยา” หรือ“กรุงศรีอยุธยา” เปนอดีตราชธานี
ของไทยยาวนานถึง 417 ป แหงการเปนราชธานีเกาแกของสยามประเทศ พระนครศรีอยุธยาจึงนับเปนราช
ธานีท่ีมีอายุยาวนานท่ีสุดในประวัติศาสตรของชาติไทย ตลอดระยะเวลา 417 ป ท่ีกรุงศรอี ยุธยาเปนราชธานี
แหงราชอาณาจกั รไทย มิไดเป็นเพียงชวงแห่งความเจริญสูงสุดของชนชาติไทยเทานั้น แตยังเปนการสรางสรรค
อารยธรรมของหมูมวลมนุษยชาติซึ่งเปนที่ประจักษแกนานาอารยประเทศอีกดวย และแมวากรุงศรีอยุธยาจะ
ถูกทาลายเสียหายจากสงครามกับประเทศเพื่อนบานหรือจากการบุกรุกขุดคนของพวกเรากันเอง แตสิ่งท่ี
ปรากฏใหเห็นในปจจุบันนี้ยังมีรองรอยหลักฐานซึ่งแสดงอัจฉริยภาพและความสามารถอันยิ่งใหญของบรรพ
บุรุษแหงราชอาณาจักรผูอุทิศตนสรางสรรคความเจริญรุงเรืองทางศิลปวัฒนธรรมและความมั่งค่ังไวใหแกผืน
แผนดินไทย องคการ ยูเนสโก ได้รบั นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ไวในบัญชีมรดกโลก และเปนอูข
าวอูน้าท่ีสาคัญ เปนชุมทางการคมนาคมระหวางภาค และศูนยกลางเศรษฐกิจสาคัญ กรงุ ศรีอยุธยาก็เปนเมือง
ที่มีประชากรอยูกันหนาแนนและมีความเจริญมีการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม จนเปนจังหวัดศูนยกลาง
ภาคกลางตอนบนดงั ปจจุบัน
1.2 ที่ตั้งและอาณาเขต

จังหวัดพระนครศรีอยุธยาต้ังอยู่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางตอนล่างของประเทศห่างจาก
กรุงเทพมหานคร ทางถนนสายเอเชีย 75 กิโลเมตร ทางรถไฟ 72 กิโลเมตร และทางเรือ 103
กโิ ลเมตร มเี น้อื ทปี่ ระมาณ 2,556.64 ตารางกิโลเมตร หรอื 1,597,900 ไร่ นับวา่ เปน็ จังหวัดท่ีมีขนาด
ใหญ่เป็นอันดับ ที่ 63 ของประเทศไทย และเป็นอันดับท่ี 11 ของจังหวัดในภาคกลาง มีอาณาเขต
ติดตอ่ กับจงั หวัดใกล้เคยี ง ดังน้ี

- ทิศเหนือ ติดตอกบั จงั หวดั อางทองและจงั หวดั ลพบุรี
- ทิศใต ติดตอกบั จงั หวดั นครปฐม จงั หวดั นนทบรุ ีและจงั หวัดปทุมธานี
- ทศิ ตะวนั ออก ติดตอกบั จงั หวดั สระบุรี
- ทิศตะวันตก ตดิ ตอกบั จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

54

1.3 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ

เปนท่รี าบลุมน้าทวมถึง พนื้ ที่สวนใหญเปนทุงนา ไมมภี ูเขา ไมมีปาไม มีแมนา้ ไหลผาน 4 สาย

ไดแกแมน้าเจาพระยา แมน้าปาสกั แมน้าลพบรุ แี ละแมน้านอย รวมความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร

มลี าคลองใหญนอย 1,254 คลอง เช่อื มตอกับแมน้าเกอื บท่ัวบริเวณพนื้ ท่ี

1.4 ลกั ษณะภูมิอากาศ

มีลกั ษณะภูมอิ ากาศรอนชนื้ อยูภายใตอทิ ธพิ ลของลมมรสมุ 2 ชนดิ คือ ลมมรสุม

ตะวันออกเฉียงเหนือในฤดูหนาว และลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใตในฤดฝู น ทาใหอากาศคอนขางรอน

1.5 การใชประโยชนจากทด่ี ิน พน้ื ทีส่ ว่ นใหญท่ าเกษตรกรรม

เนื้อท่ีทั้งหมด 1,597,900 ไร่

เนือ้ ท่ถี ือครองทางการเกษตร 1,178,345 ไร่

ที่นา 1,065,315 ไร่

ที่ไมผลและไมยืนตน 8,371 ไร่

ที่สวนผักและไมดอก 9,711 ไร่

เนอื้ ทีก่ ารใชประโยชนทางการเกษตรดานอ่ืนๆ 94,948 ไร่

ฃเนื้อทนี่ อกการเกษตร 419,555 ไร่

1.6 การคมนาคม

การคมนาคมทางบก ได้แก่ แขวงทางหลวงอยธุ ยา แขวงการทางกาญจนบุรี – สพุ รรณบุรี

แขวงการทางปทุมธานี สานักงานบารุงทางอางทอง – อยธุ ยา สานักงานบารุงทางอางทอง – อยธุ ยา

เสนทางรถโดยสารภายในจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยาและระหวาง จงั หวดั ตาง ๆ รวมทัง้ สิ้น จานวน 70

เสนทาง เสนทางรถโดยสารประจาทางภายในจังหวัด มีจานวน 45 เสนทาง เสนทางรถโดยสาร

ประจาทางระหวางจังหวัดตาง ๆ มจี านวน 25 เสนทาง

การคมนาคมทางรถไฟ มีสถานรี ถไฟจานวน จานวน 10 สถานี จานวนขบวนรถเท่ียวขนึ้ 40

เท่ียว เท่ียวลอง 34 เท่ียว ได้แก่ สถานีรถไฟ ทาเรือ สถานีรถไฟ หนองวิวัฒน สถานีรถไฟ ชุมทางบ

านภาชี สถานีรถไฟ พระแกว สถานีรถไฟ มาบพระจันทร สถานีรถไฟ บานมา สถานีรถไฟ อยุธยา

สถานีรถไฟ บานโพ สถานีรถไฟ บางปะอินและสถานีรถไฟ คลองพุทรา

การคมนาคมทางน้า จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยามแี มนา้ และลาคลองจานวน ทาเรอื ลานา้ ใน

จังหวดั พระนครศรีอยุธยาสวนใหญเปนทาเรอื เอกชน อยูบรเิ วณแมนา้ เจาพระยาและแมน้าปาสัก ซึง่ ส

วนใหญเปนทาเรือขนาดเล็ก และสวนใหญเปนทาเรือท่ีรับสนิ คาท่ีขนสงดวยเรือลาเลยี งที่บรรทุกขนถ

ายสินคาจากบริเวณทาเรือกรุงเทพฯ และบริเวณที่จอดทอดสมอเกาะสีชัง ซึ่งในจังหวัด

พระนครศรีอยุธยาสามารถแบงพ้ืนที่บริเวณทาเรือเปน 3 พ้ืนท่ีหลัก ๆ ไดแก ได้แก่ ทาเรือในเขต

อาเภอบางปะอิน – บางไทร ทาเรอื ในอาเภอนครหลวง และทาเรอื อาเภอทาเรือ

1.7 ขอมูลการปกครองและประชากร

1) การปกครอง

เขตการปกครอง จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาแบงเขตการปกครองออกเปน 16 อาเภอ

209 ตาบล 1,459 หมูบาน องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลนคร 1 แหง เทศบาลเมือง 4

แหงเทศบาลตาบล 31 แหง องคการบริหารสวนตาบล 121 แหง

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

55

2) ประชากร
ประชากรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2561รวม 817,441คน เปนเพศชาย 393,570คน
เปนเพศหญิง 423,871 คน อาเภอท่ีมีประชากรมากที่สุดไดแก อาเภอพระนครศรีอยุธยา จานวน
69,488 คน และอาเภอทมี่ ีประชากรนอยทส่ี ุด ไดแก อาเภอบานแพรก จานวน 6,979 คน
1.8 ดานสังคม (การศึกษา เรียนรู และอาชพี )
ศักยภาพดานสงั คม (การศกึ ษา เรยี นรู และอาชีพ) ตามตวั ช้ีวัดของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบวา ในป พ.ศ. 2560 ประชากรในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยามีจานวนปการศึกษาเฉลี่ย เทากับ 9.40 ป (ลาดับที่ 5 ของประเทศ) ซ่ึงสูงกวาคา
เฉลย่ี ของประเทศ แตมแี นวโนมลดลงเลก็ นอยจากป พ.ศ. 2559 สวนอตั ราการเขาเรียนของประชากร
วัยเรยี นในระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานสูงถึง รอยละ 99.10 (ลาดบั ท่ี 14 ของประเทศ) ในป พ.ศ. 2559
เด็กนักเรียนไทย ชั้นป.1 มีคะแนนเฉล่ียสติปญญา (IQ) เทากับ 101.61 คะแนน(ลาดับท่ี 13 ของ
ประเทศ) ซ่ึงสูงกวาคาเฉลีย่ ของประเทศ แตระดับคะแนนเฉลี่ย O-NET ของชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย
เทากบั 32.11 (ลาดับท่ี 37 ของประเทศ) ซ่งึ ตา่ กวาคาเฉลีย่ ของประเทศ และแนวโนมลดลงอยาง
ตอเน่ืองจากป พ.ศ. 2558 สวนดาน EQ ของนักเรียนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยสวนใหญ
นกั เรยี นมคี ะแนน EQ ไมต่ากวาเกณฑมาตรฐาน รอยละ 79.31 (ลาดับที่ 31 ของประเทศ) สัดสวนคน
อายุ 6 ปขึ้นไปปฏบิ ัติกจิ กรรมทางศาสนาอยางนอยสัปดาหละ 1 คร้ัง เทากับ รอยละ99.69 (ลาดับที่
31 ของประเทศ) มีอัตราการอานของคนไทยอายุ 6 ปข้นึ ไป รอยละ 77.70 (ลาดับที่ 30 ของ
ประเทศ) และมีสัดสวนผูใชอินเตอรเน็ตตอจานวนประชากร เทากับรอยละ 65.38 (ลาดับท่ี 7 ของ
ประเทศ) สาหรับจานวนผูมีภูมิปญญาทองถิ่นหรือปราชญชาวบานเฉล่ยี ตอหมูบาน เทากับ 22 คนต
อหมูบาน (ลาดบั ที่ 68 ของประเทศ) ซ่ึงมีคาต่ากวาคาเฉล่ียของประเทศ แตมีแนวโนมเพิ่มสูงขน้ึ จากป
พ.ศ. 2558 สวนอัตราเพมิ่ ของผูเรียนระบบทวิภาคี มีอัตราท่ีเพ่ิมข้ึน รอยละ 12.17 (ลาดับท่ี 32 ของ
ประเทศ)
สาหรับทางดานอาชีพ ประชากรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาอายุระหวาง 15-59 ป มีอาชีพ
และรายได เทากับ รอยละ 99.39 (ลาดับท่ี 42 ของประเทศ) สวนประชากรท่ีมีอายุ 60 ปขึ้นไป มี
อาชีพและรายไดในป พ.ศ. 2560 เทากับรอยละ 92.16 (ลาดับท่ี 59 ของประเทศ) ซึง่ มีแนวโนมเพ่ิม
สูงข้ึนจากป พ.ศ. 2560 นอกจากน้ีสัดสวนแรงงานเพศหญิงตอประชากรแรงงาน เทากับ รอยละ
46.01 (ลาดับที่ 11 ของประเทศ) และสัดสวนผูหญิงในระดับบริหารหรือในระดับการตัดสินใจต
อจานวนแรงงานในระดบั บรหิ ารทง้ั หมด เทากับรอยละ 15.92 (ลาดบั ที่ 69 ของประเทศ)
เปา้ หมายการพัฒนา
อยธุ ยาเมอื งมรดกโลก เปน็ แหล่งเรียนรู้ นา่ เที่ยว นา่ อยู่ นา่ ลงทุน
คาอธิบาย : อยุธยาเป็นแหล่งมรดกโลกท่ีย่ิงใหญ่ มีการนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมิ
ปัญญาท้องถ่นิ มาพัฒนาศักยภาพ ในภาคอุตสาหกรรม การเกษตร การจดั การน้า ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน มี
ความเชื่อมโยงของเส้นทางโลจิสติกส์ ต้องใส่ใจในการใช้พลังงานทดแทนและรักษาสภาพแวดล้อม
และมคี วามพร้อมทจ่ี ะพฒั นาและเติบโตในทกุ ๆดา้ นอย่างก้าวกระโดด

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

56

ตัวช้ีวดั เป้าหมายการพัฒนา
1. จานวนแหล่งเรยี นรใู้ นจงั หวดั เพ่ิมขึ้น
2. ร้อยละทเ่ี พมิ่ ข้นึ ของรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี ว
3. อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของจงั หวดั เพ่มิ ข้นึ
4. รอ้ ยละทีเ่ พิม่ ขน้ึ ของมูลคา่ การลงทนุ ด้านอตุ สาหกรรม

พันธกจิ (Mission)
1. ฟื้นฟูแหลง่ ท่องเทีย่ วและพัฒนาคุณภาพการท่องเที่ยวและบรกิ าร
2. บรหิ ารจัดการเมอื งและชมุ ชน
3. การพฒั นาภาคการผลติ การคา้ และบริการได้อย่างครบวงจร

จดุ เนน้ ทางยุทธศาสตร์ (Positioning)
“เป็นแหล่งท่องเที่ยวและเรียนรู้เมืองมรดกโลก บริหารจัดการเมืองให้น่าอยู่ ส่งเสริม

การเกษตรแบบครบวงจร ภาคการผลิต การค้าและบริการที่ใช้นวัตกรรมสร้างสรรค์ และมี
อุตสาหกรรมทเี่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม”
นโยบายทสี่ อดคลอ้ งกบั Thailand 4.0

สาหรบั ประเดน็ การพัฒนา ชีใ้ ห้เห็นถึงประเดน็ การพฒั นา วัตถปุ ระสงค์
ตัวเป้าหมายและตัวช้ีวัด แนวทางการพัฒนา และแผนงาน ท่ีจะเกิดข้ึนในปี พ.ศ. 2561-2565 เป็น
การวางทศิ ทางการพฒั นาจังหวัดใหก้ ้าวเข้าสูก่ ารเป็นส่วนหน่งึ ท่ีสาคญั ของ Thailand 4.0 ดังน้ี

1. เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของฐานอุตสาหกรรมเดิมและส่งเสริมการพัฒนา
อุตสาหกรรมแห่งอนาคตใหเ้ ป็นฐานรายไดใ้ หม่ เพ่อื ยกระดบั ฐานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรมของภาคกลาง
ให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสีเขียวชั้นนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยกระดับการพัฒนากลุ่ม
อุตสาหกรรมในพื้นท่ีจังหวัดปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา และปราจีนบุรี ให้เป็นกลุ่มอุตสาหกรรม
สาหรับกจิ การที่ใช้เทคโนโลยีข้ันสูงและอตุ สาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ กลมุ่ อุตสาหกรรมยานยนต์และ
ชิ้นส่วน กลุ่มอุตสาหกรรมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์โทรคมนาคม และกลุ่ม
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและเคมีภณั ฑท์ ่เี ป็นมติ รต่อสิ่งแวดล้อม โดยปรับปรุงมาตรการสนบั สนุนในด้าน
ต่าง ๆ ได้แก่ การให้สิทธิประโยชน์ การพัฒนาคนและเทคโนโลยี การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การ
แก้ไข กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค และการสนับสนุนเงินทุน เพื่อผลักดันให้เกิดการลงทุนในพื้นท่ี
เปา้ หมาย

2. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตอาหารสินคา้ เกษตรให้มีความทันสมยั และเป็นสากล
เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ภาคกลางเป็นฐานการผลิตอาหารและสินค้าการเกษตรที่มีคุณภาพ
ปลอดภัยและได้มาตรฐานโลก สนับสนุนการเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารของประเทศ รักษาและ
พัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตอาหารของพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตข้าว ให้
สามารถเป็นแหลง่ ส่งออกอาหารรายใหญ่ของโลก โดยเนน้ การผลิตและการแปรรปู ท่สี ร้างมลู คา่ เพ่ิมท่ี
สอดคลอ้ งกับความต้องการของผบู้ ริโภคในตลาดเฉพาะและตลาดระดับบน

3. ปรับปรุงมาตรฐานสนิ คา้ และธุรกิจบรกิ ารดา้ นการท่องเทยี่ วใหม้ ีคุณภาพและมีภาพลักษณ์
ที่ได้มาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มศักยภาพของภาคกลางให้เป็นศูนย์รวมของการท่องเท่ียวของเอเชีย ที่มี
ช่อื เสียงและเปน็ ทรี่ ู้จกั ในระดบั นานาชาติ สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การท่องเที่ยวในจังหวัดพระศรีอยธุ ยา

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

57

ให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และเกษตร โดยปรับปรุงและพัฒนา
แหล่งท่องเท่ียวและกิจกรรมการท่องเที่ยว ให้มีคุณค่าและมีมูลค่าเพิ่ม มีความหลากหลาย และ
เช่ือมโยงการทอ่ งเทีย่ วในกลมุ่ จังหวัดอยา่ งยงั่ ยืน

4. พัฒนาเมืองศูนยก์ ลางของจังหวัดให้เป็นเมืองนา่ อยสู่ าหรับคนทกุ กลมุ่ ในสังคม โดยมีความ
ปลอดภัย ส่ิงแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี เดินทางสะดวก ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการมีคุณภาพ
และทั่วถึง และเน้นความสอดคล้องกับอัตลักษณ์ ความหลากหลาย และศักยภาพของเมือง บน
พื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมโดยเน้นการพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้เป็น
เมืองศูนย์กลางความเจริญของภาคกลางตอนบน โดยเฉพาะการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวด้าน
ประวตั ิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม โดยการฟื้นฟู บรู ณะโบราณสถาน และการเตรียมความพร้อมของเมือง
ให้สามารถรองรับภยั พิบัติ โดยเฉพาะอทุ กภัยได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

T = Technology: คือ จงั หวัดฯจะมีการนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน (ใน
ภาคอุตสาหกรรม การเกษตร ผลิตภัณฑ์ชุมชน Logistics การท่องเท่ียวและวัฒนธรรม) ไปสูช่ าวโลก
(Creative & Innovative Growth ของนโยบาย Thailand 4.0 และแผนฯ 12)

H = Heritage : คือ จังหวัดฯ มีแหล่งของมรดกโลกท่ีย่ิงใหญ่ และมีภูมิปัญญาท่ีถูกส่ังสมมา
ยาวนาน และสามารถนาไปผสมผสานกับ Technology ในยุคปัจจบุ ันและนาไปสกู่ ารเป็นที่ประจักษ์
อยา่ งกวา้ งขวางได้มากขึ้น (Creative Growth ของนโยบาย Thailand 4.0 และแผนฯ12)

E = Energy Efficient & Environmental Friendly: คือ จงั หวัดฯ จะมีการใส่ใจในพลงั งาน
ทดแทนและรกั ษาสภาพแวดล้อมที่พัฒนาขึ้นอยา่ งโดดเด่น (Green Growth ของนโยบายThailand
4.0 และแผนฯ 12) และ

P = Potential for Growth: จังหวัดเป็นสถานที่น่าลงทุน สร้างอาชีพและรายได้ ที่มีความ
พร้อมที่จะพัฒนาและเตบิ โตอย่างก้าวกระโดด (Inclusive Growth ของนโยบาย Thailand 4.0 และ
แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12)
ประเด็นการพฒั นา

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 -
2564) และกาหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) เป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนา
ประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ซ่ึงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 กาหนดเป้าหมายที่ตอ้ งการบรรลุอยา่ งชัดเจน ประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ สงั คม
และส่ิงแวดล้อม โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาคเมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ ซ่ึงเป็นการ
ดาเนินยทุ ธศาสตร์เชงิ รุก เพ่ือเสรมิ จุดเด่นในระดับจังหวัดและระดับภาคในการเป็นฐานการผลิตและ
บริการท่ีสาคัญ โดยเน้นการพัฒนาท่ียึดพ้ืนท่ีเป็นตัวต้ังและการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลไก
บริหารจดั การเชิงพนื้ ทแ่ี บบบูรณาการระหว่างภาคส่วนต่าง ๆโดยยดึ หลกั พ้นื ท่ี ภารกิจ และการมีส่วน
ร่วม ในการขับเคล่ือนการพัฒนาให้บรรลุผล สอดคล้องกับแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ ตลอดจน
นโยบายท่ีสาคัญของรัฐบาล และความตอ้ งการของประชาชนในพื้นท่ี จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยาจึงได้
กาหนดประเดน็ การพฒั นา 3 ประเด็น ดังน้ี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

58

ประเดน็ การพัฒนาที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพการท่องเท่ยี วและการบริการสมู่ าตรฐานสากล
วัตถปุ ระสงค์ :

1. พัฒนาคุณภาพการบรกิ ารเพือ่ การทอ่ งเท่ียวไปสมู่ าตรฐานสากล
2. เพ่ิมมลู คา่ ดา้ นการท่องเที่ยว
ตวั ชว้ี ัด
(1) รอ้ ยละท่ีเพม่ิ ขึน้ ของรายไดจ้ ากการท่องเทยี่ ว (รอ้ ยละ 6.20)
(2) รอ้ ยละทเ่ี พ่มิ ข้นึ ของจานวนผเู้ ย่ยี มเยอื น (รอ้ ยละ 5)
(3) รอ้ ยละท่ีเพม่ิ ขึน้ ของคา่ ใชจ้ ่ายของผู้เย่ยี มเยือนตอ่ วนั (รอ้ ยละ 5.67)
แนวทางการพัฒนา
(1) ฟ้ืนฟูและดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยวให้เป็นไปตามมาตรฐานการท่องเท่ียวและการเพิ่ม
แหลง่ ท่องเทยี่ วในจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
(2) พฒั นาและส่งเสริมการทอ่ งเท่ยี วสู่ชุมชน/ทอ้ งถนิ่
(3) ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว การตลาด และการประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวด้วย
เทคโนโลยี
ประเด็นการพัฒนาท่ี 2 พฒั นาเมอื งและชมุ ชนใหน้ า่ อยู่
วตั ถปุ ระสงค์ :
1. เพม่ิ คุณภาพชวี ติ ของประชาชนใหด้ ีขนึ้ อยา่ งมีดุลยภาพ
2. ส่งเสรมิ ระบบป้องกนั สาธารณภัยทีด่ ี และมีความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สนิ
3. พฒั นาสังคมและจัดสรรส่ิงอานวยความสะดวกระบบสาธารณูปโภคและสาธารณปการให้
รองรับต่อการขยายตัวของชมชน
ตัวชี้วัด
(1) ร้อยละของผ้สู ูงอายุได้รบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ (ร้อยละ 85)
(2) รอ้ ยละของเยาวชนท่ีผ่านการอบรมและสรา้ งภูมคิ มุ้ กันด้านยาเสพติด (ร้อยละ 85)
(3) อัตราคดอี าญาต่อประชากรแสนคนลดลง ( 26 คดตี ่อประชากรแสนคน)
(4) จานวนข้อร้องเรยี นปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มลดลง (16 เร่ือง)
(5) รอ้ ยละของเรอ่ื งร้องเรียนทีส่ ามารถแกไ้ ขจนไดข้ อ้ ยุติ (ร้อยละ 80)
(6) ร้อยละของปรมิ าณขยะมลู ฝอยที่ถกู กาจดั อย่างถกู วิธีเพิ่มข้นึ (ร้อยละ 75)
แนวทางการพัฒนา
(1) พัฒนาและบรหิ ารจดั การพ้ืนท่ีเพ่อื เมืองน่าอยู่
(2) เตรยี มการปอ้ งกนั และควบคุม ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มอนั เนอ่ื งมาจากการขยายตัวของชุมชน
(3) พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และการใหบ้ ริการ
สาธารณะแก่ประชาชนอยา่ งท่วั ถงึ และเพียงพอต่อความตอ้ งการ
(4) การรกั ษาความมั่นคงและความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน เสริมสรา้ ง
ครอบครัวและชมุ ชนเข้มแขง็ และพัฒนาคนทกุ ช่วงวัย
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 พัฒนาการผลิตภาคเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการโดยใช้
นวตั กรรมและภมู ิปญั ญาทสี่ รา้ งสรรค์

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

59

วตั ถปุ ระสงค์ :
1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และสร้างมลู ค่าเพิม่ ภาคเกษตรโดยใช้นวัตกรรมและภูมิปัญญา

ที่สร้างสรรค์
2. เพมิ่ ความสามารถทางการแขง่ ขันภาคอตุ สาหกรรม การคา้ และบรกิ าร
3. ส่งเสรมิ การสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชน และวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) โดยใช้

นวัตกรรมและภมู ิปญั ญาสร้างสรรค์
ตัวชว้ี ดั

(1) พน้ื ทีร่ ับประโยชน์จากแหลง่ น้าทไ่ี ด้รับการพฒั นาไม่น้อยกวา่ ปีละ 3,000 ไร่
(2) รอ้ ยละทีเ่ พ่มิ ขน้ึ ของแปลง/ฟารม์ ท่ผี า่ นมาตรฐานความปลอดภัย (ร้อยละ 5)
(3) รอ้ ยละของโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งที่สาเร็จตามเป้าหมาย (ร้อยละ 80)
(4) ระดับการผ่านเกณฑ์การประเมินอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพ้ืนที่การพัฒนาเมือง
อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ (ระดับ 3)
(5) รอ้ ยละของผูส้ าเรจ็ การฝกึ อบรมได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการฝกึ อบรม (ร้อยละ 80)
(6) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายไดจ้ ากการจาหนา่ ยสินค้า OTOP (ร้อยละ 10)
(7) ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของจานวนผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ท่ีได้รับการพัฒนา
(ร้อยละ 10)
แนวทางการพฒั นา
(1) ส่งเสริมการบริหารจัดการน้าสู่พื้นท่ีเกษตรอย่างเหมาะสม และยกระดับการผลิตสินค้า
เกษตรสู่มาตรฐานความปลอดภัยที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด โดยใช้นวัตกรรมและภูมิ
ปญั ญาทส่ี ร้างสรรค์
(2) ส่งเสริมการดาเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและขยายผลโครงการอัน
เน่ืองจากพระราชดาริ เพอ่ื สรา้ งอาชีพและรายได้ใหก้ บั ประชาชนอย่างย่ังยนื
(3) สง่ เสรมิ อุตสาหกรรมให้ใช้เทคโนโลยีสะอาดหรอื ใชพ้ ลังงานทดแทน
(4) พัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการ รวมทั้งคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนเพ่ือเพ่ิมขีด
ความสามารถในการแขง่ ขนั ได้
(5) ยกระดับศักยภาพกาลังคน ภาคการผลิต การค้า และบริการให้เป็นมืออาชีพ เพื่อให้
สามารถปฏิบัติงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ทันต่อการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

60

9. แผนพัฒนาอาเภอบางซ้าย พ.ศ. 2563 ระบุถึงสภาพปัญหาและยุทธศาสตร์ ท่ีเก่ียวข้อง

กับการศกึ ษาตลอดชวี ติ ดงั น้ี
ตัวช้ีวดั เป้าหมายการพัฒนา

1. จานวนแหล่งเรยี นรใู้ นจงั หวดั เพ่ิมขนึ้
2. ร้อยละที่เพ่ิมขึ้นของรายไดจ้ ากการท่องเทีย่ ว
3. อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดเพ่ิมขน้ึ
4. ร้อยละทเี่ พ่มิ ขนึ้ ของมูลค่าการลงทนุ ดา้ นอตุ สาหกรรม
พันธกจิ (Mission)
1. ฟน้ื ฟแู หลง่ ทอ่ งเทีย่ วและพฒั นาคุณภาพการทอ่ งเท่ียวและบริการ
2. บริหารจัดการเมอื งและชมุ ชน
3. การพฒั นาภาคการผลิต การคา้ และบริการได้อย่างครบวงจร

สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ได้เสนอแนะทศิ ทางการ

พัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ดงั น้ี
ผู้บริหารมีความสามารถในการบรหิ ารจดั การทีด่ ีมปี ระสิทธภิ าพ คณะกรรมการสถานศึกษามี

ส่วนรว่ มในการให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะในการการบริหารจัดการ สถานศึกษาจัดบรรยากาศท่ี
เอ้ือต่อการเรียนรู้ จัดระบบประกันคุณภาพในทุกปีการการและต้นสังกัดให้ความสาคัญในการ
ดาเนินการประกันคุณภาพทุก 3 ปี มผี ลการดาเนนิ งานตามโครงการพเิ ศษได้ประสบผลสาเร็จ รวมทั้ง
สามารถดาเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มี
แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่เอ้ือต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ดังน้ัน ควรร่วมมือกับหน่วยงานต้น
สังกัด คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีมีความรู้ความสามารถประสบ
ความสาเร็จในการประกอบอาชีพ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการให้คาแนะนา และข้อเสนอแนะในการ
พัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาใหม้ คี ุณภาพมากยง่ิ ข้ึน

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปี 2562 ปรากฏผลการประเมินที่

สาคัญดงั น้ี
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย ตั้งอยู่หมู่ท่ี 1 ตาบล

บางซา้ ย อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา สานักงาน กศน.จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา สังกัด
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานั กงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษา
ตอ่ เนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีบุคลากร จานวน 10 คน มีผู้เรียน ผู้เข้ารับการอบรมและ
ผู้รับบริการ จานวน 6,684 คน ท้ังน้ี คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดาเนินการ
ประเมินคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ตั้งแต่วันท่ี 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันท่ี
30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2562 ซึ่งจากการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
สามารถสรุปผลการประเมนิ ไดด้ ังนี้

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

61
ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เท่ากับ 88.00 คะแนน ซ่ึงอยู่ในระดับ
คณุ ภาพ ดีมาก และเมือ่ พจิ ารณาผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน พบวา่
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น/ผู้รับบริการ มีคะแนนรวม เทา่ กับ 31.00 คะแนน ซง่ึ อยู่
ในระดับคุณภาพ ดีมาก
มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การใหบ้ ริการ มีคะแนนรวม เทา่ กบั 38.00คะแนน
ซึ่งอยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดมี าก
มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การศึกษา มีคะแนนรวม เท่ากับ 19.00 คะแนน
ซง่ึ อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีมาก

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

62

การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ สภาพของ กศน.อาเภอบางซา้ ย โดยใชเ้ ทคนคิ SWOT

การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของ กศน.อาเภอบางซา้ ย

สภาพแวดล้อมภายใน

จดุ แขง็ จดุ อ่อน

- ครมู ใี บประกอบวชิ าชพี ครูทกุ คน - ครูขาดนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการจดั การเรยี นรู้

- มีครปู ระจาตาบลเพ่อื จัดโครงการ/กจิ กรรม - ผู้เรียนทเี่ ข้ารับการจัดการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ใหค้ วามร้แู ก่นกั ศกึ ษา ประชาชน ครบทกุ ตาบล นอ้ ย

- ครมู ีการพฒั นาด้านการจัดการเรยี นรู้อย่าง - มคี อมพวิ เตอรไ์ ม่เพียงพอกบั ผู้ใช้บรกิ ารใน

ตอ่ เน่อื งทกุ ปี กศน.ตาบล

- มีการจัดโครงการ/กิจกรรมทหี่ ลากหลาย - การประชาสัมพันธ์กจิ กรรมของ กศน.ขาด

- มีการจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและ ความตอ่ เนือ่ งไม่ทวั่ ถงึ

การศึกษาตามอธั ยาศัย กิจกรรมตามนโยบาย - ขอ้ มูลสารสนเทศของ กศน.ตาบล มรี ะบบการ

ครอบคลมุ ทกุ พนื้ ที่ จัดเก็บท่ไี ม่สมบูรณ์

- สือ่ การเรียนรมู้ คี วามเหมาะสมกบั กิจกรรม - ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น กศน.พน้ื ฐานยัง

และมปี รมิ าณท่ีเพียงพอ คอ่ นข้างตา่ ในรายวชิ าบงั คับ

- กศน.ตาบลมอี ุปกรณ์รบั สัญญาณ ETV ใชเ้ ป็น - การนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผลการนิเทศยัง

สอื่ การสอนทุกตาบล ไม่สมบูรณเ์ ทา่ ที่ควร

- มี Internet ครบทกุ ตาบล

- อาคาร กศน.ตาบล มีความเป็นเอกเทศ

- มีภาคเี ครอื ข่ายที่ดี

- การนเิ ทศติดตามทุกกิจกรรม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

63

สภาพแวดลอ้ มภายนอก

โอกาส อปุ สรรค/ภาวะคกุ คาม

- ครไู ด้รบั การพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง - เยาวชนและประชาชน บางส่วนไมเ่ หน็

- ภาคีเครอื ขา่ ยมีส่วนร่วมในการจดั โครงการ/ ความสาคญั ของการศกึ ษา โดยมเี หตุผลประกอบ

กิจกรรม กศน.ตาบล ดงั น้ี

- การคมนาคมสะดวกในการไปใชบ้ รกิ าร กศน.

ตาบล อุปสรรค

- คณะกรรมการ กศน.ตาบล, องค์กรนักศกึ ษา - ประชากรลดลง

,อาสาสมัคร กศน.ตาบลให้ความรว่ มมือในการจดั - ย้ายถ่ินฐาน

โครงการ/กิจกรรม ภาวะคุกคาม

- จดั การเรียนรแู้ บบออนไลน์ - สถานประกอบการไมส่ ่งเสรมิ การศึกษา

- ทกุ ตาบลมี Internet ของรฐั - ข้อจากัดดา้ นการประกอบอาชพี

- ขอ้ จากัดในการดารงชีวติ

- นโยบายของรัฐมีการมกี ารเปลย่ี นแปลงบอ่ ยจงึ
ทาใหเ้ กิดความตอ่ เนอื่ งในการดาเนินงาน
- ผนู้ าชมุ ชนบางแห่งไม่ใหค้ วามร่วมมอื

- เกดิ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา
2019 (COVID-19)

- เกดิ มลพษิ ทางฝนุ่ PM 2.5

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

64

สรุปภาพรวมผลการวิเคราะห์สถานภาพของ กศน.อาเภอบางซ้าย จากผลการวิเคราะห์
และประเมนิ สภาพแวดล้อมแสดงใหเ้ หน็ ว่า กศน.อาเภอบางซา้ ย ควรดาเนนิ การดังน้ี

1. ส่งเสรมิ ใหค้ รใู ช้ส่ือและนวตั กรรมทท่ี นั สมยั ในการจดั การเรียนรู้
2. มีการจัดอบรมเพ่ือพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการจัดการศึกาษานอกระบบและ

การศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. จดั หาสือ่ และนวัตกรรมทที่ นั สมยั ให้ กศน.ตาบล
4. ประชาสัมพันธ์งาน กศน.อาเภอ ในช่องทาง เฟสบุ๊ก, เพจ, ยูทูป, ไลน์, ข่าวสาร

อิเล็กทรอนกิ ส์ ฯลฯ
5. มกี ารนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผลการนิเทศอย่างตอ่ เน่อื ง
6. มกี ารสรปุ และรายงานผลการดาเนินงานทุกโครงการ
7. มกี ารจดั เก็บขอ้ มูลให้เป็นระบบอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
8. มีการเขา้ พื้นทอี่ ยา่ งสม่าเสมอและทว่ั ถึง
9. จัดกจิ กรรมติวเขม้ หรอื สอนเสริมให้กบั ผูเ้ รียน

สงิ่ ท่ีควรปรับปรงุ
1. ด้านการจัดการเรียนรู้การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
2. ด้านอาคาร สถานท่ี
3. ดา้ นภาคีเครือข่าย
4. ดา้ นบุคลากร

สิง่ ท่ีควรพัฒนา
1. พฒั นาผลสมั ฤทธ์ขิ องผ้เู รียน โดยจัดกจิ กรรมติวเข้มหรอื สอนเสรมิ ใหก้ บั ผู้เรียน
2. จัดสถานทใ่ี ห้มคี วามนา่ สนใจและเอ้อื ต่อการเรยี นร้ตู ามรปู แบบ กศน. WOW 6G
3. ให้ภาคเี ครือขา่ ยมีสว่ นร่วมในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาทุกข้ันตอน
4. ส่งเสริมให้ครใู ชส้ อื่ และนวตั กรรมทที่ นั สมัยในการจดั การเรยี นรู้ และพัฒนาครดู า้ นการจัด
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งสมา่ เสมอ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

65

การกาหนดทศิ ทางการดาเนินงานของ กศน.อาเภอบางซ้าย

ปรัชญา
ใหโ้ อกาสในการเรยี นรู้

วสิ ัยทศั น์
กศน.อาเภอบางซา้ ย เปน็ สถานศกึ ษาที่ให้โอกาสในการเรียนรดู้ า้ นการศึกษานอก

ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กับทุกคน
อตั ลักษณ์

ทุกคนไดร้ ับโอกาสในการเรยี นรู้
เอกลักษณ์

กศน.อาเภอบางซ้าย เปน็ สถานศึกษาท่ีใหโ้ อกาสในการเรยี นรู้
พันธกิจ

1. จัดการศกึ ษานอกระบบ ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

2. จดั การศึกษาต่อเนือ่ ง
3. จดั การศึกษาตามอธั ยาศัย
กลยทุ ธ์
1. พฒั นาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบ ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
2. พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตอ่ เนื่อง
3. พฒั นาคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

66

เป้าประสงคแ์ ละตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ

เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
คณุ ภาพของผู้เรยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา พจิ ารณาจากผลท่เี กิดจากการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับ
ข้นั พนื้ ฐาน การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ที่เกดิ ขนึ้ กับผูเ้ รยี น ประกอบด้วย
ซ่ึงมปี ระเดน็ การพจิ ารณา จานวน 8 ประเดน็ ประกอบด้วย ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผ้เู รียนการศึกษานอกระบบระดับ
1. ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นท่ดี ี การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ความสามารถในการอ่าน การเขียน การ
สอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา สร้างสรรคง์ าน ชนิ้ งาน หรอื นวตั กรรม การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล
2. ผู้เรียนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานมีคุณธรรม จรยิ ธรรม รวมถึงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
ค่านยิ ม และคุณลักษณะทด่ี ีตามท่สี ถานศึกษากาหนด แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ความสามารถในการนาความรู้
3. ผ้เู รยี นการศกึ ษาข้ันพื้นฐานมคี วามสามารถในการคิด ทกั ษะพื้นฐานไปใชห้ รือประยกุ ตใ์ ช้ และสามารถทางานร่วมกบั
วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และแลกเปลยี่ นความ ผอู้ ืน่ ได้
คดิ เหน็ รว่ มกับผู้อ่นื นอกจากน้ี พิจารณาจากผูเ้ รยี นที่มีพฤติกรรม คุณธรรม
4. ผู้เรียนการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมีความสามารถในการ จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะท่ดี ีเป็นไปตามท่ี
สร้างสรรคง์ าน ชิ้นงาน หรอื นวัตกรรม หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
5. ผเู้ รยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมีความสามารถในการใช้ พทุ ธศกั ราช 2551กาหนดไว้ 9 ประการ (สะอาด สุภาพ กตญั ญู
เทคโนโลยีดิจิทัล ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ สามคั คี มีน้าใจ มวี ินัย) มีจติ อาสา และ
6. ผเู้ รียนการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมสี ขุ ภาวะทางกาย และ เคารพในกฎกตกิ าบนหลกั ประชาธปิ ไตย ภูมิใจใน
สุนทรยี ภาพ ท้องถนิ่ เห็นคุณค่าของความเปน็ ไทย มีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์
7. ผ้เู รียนการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมคี วามสามารถในการอ่าน วฒั นธรรม ประเพณีไทย รวมทงั้ ภมู ปิ ัญญาไทย
การเขยี น สามารถอยู่และทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื บนพนื้ ฐานความแตกต่าง
8. ผู้จบการศึกษาขัน้ พื้นฐานนาความรู้ ทักษะพื้นฐานท่ี ระหวา่ งบุคคลในดา้ นเพศ อายุ เชอื้ ชาติ ศาสนา ภาษา
ไดร้ ับไปใชห้ รือประยกุ ต์ใช้ วัฒนธรรม ประเพณไี ดโ้ ดยปราศจากความขดั แย้ง แสดงออก
ทางพฤตกิ รรม มกี ิรยิ าทเ่ี หมาะสม ถูกกาลเทศะ
คณุ ภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ มีสุขภาวะทางกาย และสนุ ทรยี ภาพ หรอื มคี ุณลักษณะท่ี
พ้นื ฐานท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั สอดคลอ้ งกับอตั ลกั ษณ์ที่สถานศกึ ษากาหนด โดยไมข่ ดั ตอ่
ซง่ึ มปี ระเดน็ การพจิ ารณา จานวน 4 ประเดน็ ประกอบดว้ ย กฎหมายและวฒั นธรรมที่ดีงาม
1. การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาท่ีสอดคล้องกบั บริบท
และความต้องการของผเู้ รยี น ชุมชน ทอ้ งถิ่น พจิ ารณาจากกระบวนการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั
2. ส่อื ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ การศึกษาข้นั พ้นื ฐานที่สถานศกึ ษามกี ารพฒั นา
หลกั สตู รขึ้นอยา่ งเป็นระบบ สอดคลอ้ งกับบริบท และความ
ตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย และชุมชน ท้องถ่ิน เพ่ือใช้ในการจัด
การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน โดยคานงึ ถึง
ความแตกตา่ งระหว่างผู้เรียน มงุ่ เนน้ ให้
ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิด

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

67

เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
3. ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี นน้ และการลงมือปฏบิ ัติทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ มสี ื่อ
ผู้เรยี นเป็นสาคญั
เทคโนโลยีดิจทิ ัล แหลง่ เรยี นรู้ หรือภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทเ่ี อ้ือตอ่
4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนอย่างเป็น การเรยี นร้มู ีการสร้างปฏสิ มั พันธ์ท่ีดตี อ่ กันระหว่างครู
ระบบ
กบั ผู้เรยี น ในฐานะครกู ับผู้เรียน มีการกาหนดแนวทางการ
ตรวจสอบ การวดั และประเมนิ ผลการจดั การเรียนรูข้ อง

ผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถตรวจสอบได้ และมีการ
แลกเปลยี่ นเรียนรู้ เพ่อื นาผลการประเมนิ มาพฒั นาคณุ ภาพ

ผเู้ รยี น ตลอดจนมกี ารสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เพอื่ ส่งเสริม
สนบั สนนุ การเรียนรูข้ องผู้เรียน และผ้มู ีความสนใจในการเรียนรู้

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

68

เปา้ ประสงค์ ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็

การศึกษาตอ่ เนื่อง พิจารณาจากผลการจดั การเรยี นรกู้ ารศกึ ษาต่อเนื่อง ซงึ่ เปน็
ความรู้ ความสามารถ และ/หรือทักษะ
คุณภาพของผเู้ รียนการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง และ/หรอื คณุ ธรรมของผูเ้ รียนการศึกษาต่อเนื่องท่ีเปน็ ไปตาม
จุดม่งุ หมายหรือวัตถุประสงค์ของหลักสตู ร รวมท้ัง
ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จานวน 3 ประเด็น ประกอบด้วย สามารถนาความรไู้ ปใช้ หรือประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ได้
1. ผเู้ รยี นการศึกษาต่อเน่อื งมคี วามรู้ ความสามารถ และ อยา่ งเหมาะสมบนฐานคา่ นิยมร่วมของสังคม
หรือทกั ษะ และหรอื คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑก์ ารจบ ในทน่ี ี้การศึกษาต่อเน่ือง หมายถึง การจดั การศกึ ษาในรปู แบบ
หลกั สูตร การศึกษานอกระบบทีเ่ ป็นหลักสูตรระยะสนั้
2. ผจู้ บหลักสตู รการศึกษาต่อเนอื่ งสามารถนาความรทู้ ่ไี ด้ ทม่ี ีหลักสูตรต้ังแต่ 6 ช่วั โมงข้นึ ไป ซึ่งจัดตามความต้องการของ
ไปใช้ หรอื ประยุกตใ์ ชบ้ นฐานคา่ นิยมร่วมของสังคม กลมุ่ เปา้ หมาย โดยมเี น้ือหาเกี่ยวกบั อาชพี ทกั ษะชีวติ
3. ผจู้ บหลกั สตู รการศึกษาต่อเนอื่ งทีน่ าความรไู้ ปใช้จนเหน็ หรือการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน รวมถึงการจัดการเรยี นร้ตู าม
เป็นประจกั ษห์ รือตวั อยา่ งท่ีดี หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการใช้
เทคโนโลยี ซง่ึ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ที่ดี (ตามแนวทาง
การดาเนินงานการจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2561) ดงั นี้
การพัฒนาอาชีพ หมายถงึ การศึกษาเพอื่ พฒั นาความรู้
ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชพี
ของบุคคล เพ่อื ให้บุคคลสามารถเข้าสู่อาชพี สามารถประกอบ
อาชีพ หรอื พัฒนาอาชพี ของตนเองได้
โดยพจิ ารณาถึงความต้องการในการเรียนของแต่ละบุคคล
การพฒั นาทกั ษะชีวิต หมายถงึ การศกึ ษาที่ให้ความสาคญั กบั
การพัฒนาตนเอง เพือ่ ให้มคี วามรู้
เจตคติและทักษะท่จี าเปน็ สาหรบั การดารงชวี ติ ในสังคมปจั จุบนั
เพือ่ ใหบ้ ุคคลสามารถเผชญิ สถานการณต์ า่ ง ๆ
ในชีวติ ประจาวันไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเตรียมความพรอ้ ม
กับการปรบั ตวั ในอนาคต เช่น สขุ ภาพกาย
และใจ การมีสุนทรยี ภาพ ความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ย์สิน
คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ดี ี เป็นต้น
การพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หมายถึง เป็นการศึกษาทีบ่ ูรณาการ
ความรูแ้ ละทกั ษะจากการศึกษาท่ผี ู้เรียนมีอยู่
หรือได้รับจากการเข้าร่วมกจิ กรรมการศึกษานอกระบบ
แล้วนาไปใช้ให้เป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาสงั คมและชุมชน
อยา่ งยง่ั ยืนโดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยมี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เปา้ ประสงค์ 69

ตวั ช้ีวัดความสาเร็จ
รปู แบบการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย และใช้ชุมชนเป็นฐาน
ในการพัฒนาการเรียนรขู้ องคนในชุมชน เช่น ประชาธปิ ไตย
สง่ิ แวดลอ้ ม วสิ าหกจิ ชุมชน การใช้เทคโนโลยี
ท่ีเหมาะสม เปน็ ตน้
ทัง้ นี้ ค่านยิ มรว่ มของสงั คม หมายถงึ ความเพียรอันบริสทุ ธ์ิ
ความพอเพยี ง วถิ ปี ระชาธปิ ไตย และความเทา่ เทียม
เสมอภาค โดย
1) ความเพียรอนั บรสิ ุทธ์ิ หมายถึง ความอดทน มุ่งมัน่ ทาสิ่งใด
ๆ ใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ อย่างไมย่ ่อทอ้ ตอ่ ความลาบาก เพ่ือใหเ้ กิด
ประโยชน์แกต่ นเอง ส่วนรว่ ม ชุมชน สงั คม ประเทศชาติ
2) ความพอเพยี ง หมายถงึ การมีความสมดุลรอบดา้ นทั้งความรู้
คุณธรรม และทกั ษะ โดยคานึงถงึ
ความสมดุล ทั้งประโยชน์ตอ่ ตนเอง ชมุ ชน และสังคม
3) วถิ ีประชาธปิ ไตย หมายถงึ การยึดม่ันในการมสี ว่ นรว่ ม การ
เคารพกตกิ า สทิ ธหิ น้าที่ ความรับผิดชอบ
การรับฟงั ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง และสามารถอยู่รว่ มกนั ในใน
สังคมพหุวัฒนธรรมได้อยา่ งมีความสขุ
4) ความเทา่ เทียมเสมอภาค หมายถงึ การเคารพความแตกตา่ ง
และการใหค้ วามสาคัญแก่ผ้อู ืน่
โดยปราศจากอคติ แม้มีสภาพความแตกต่างกันทางเศรษฐกจิ
สงั คม เชือ้ ชาติถิน่ ทีอ่ ยู่ วฒั นธรรมและความสามารถ
ทง้ั นี้ มาตรฐานคณุ ภาพของผเู้ รียนการศึกษาต่อเน่ือง มปี ระเดน็
การพจิ ารณา จานวน 3 ประเด็น ดงั น้ี
1. ผู้เรียนการศึกษาตอ่ เนือ่ งมคี วามรู้ ความสามารถ และ หรือ
ทกั ษะ และ หรอื คณุ ธรรมเปน็ ไปตามเกณฑ์
การจบหลกั สตู ร
2. ผจู้ บหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งสามารถนาความรทู้ ่ีไดไ้ ปใช้
หรอื ประยุกต์ใช้ บนฐานค่านยิ มร่วม
ของสงั คม
3. ผูจ้ บหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนอื่ งท่ีนาความรูไ้ ปใช้จนเห็นเป็น
ประจักษห์ รือตวั อย่างที่ดี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

70

เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวัดความสาเร็จ
คณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง
ซงึ่ มปี ระเด็นการพจิ ารณา จานวน 5 ประเด็น ประกอบดว้ ย พิจารณาจากการจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาต่อเนือ่ งของ
1. หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ งมคี ุณภาพ สถานศกึ ษา โดยสถานศกึ ษามกี ารจัดหา
2. วทิ ยากรการศึกษาตอ่ เน่อื งมคี วามรู้ ความสามารถ หรือ
ประสบการณต์ รงตามหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง หรือจดั ทา หรอื พัฒนาหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่องทีส่ อดคล้อง
3. สอื่ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ กับสภาพบรบิ ท หรอื ความตอ้ งการ หรอื
4. การวดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนการศึกษาต่อเน่ือง ความจาเปน็ ของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน สังคม และเป็นไปตาม
5. การจดั กระบวนการเรียนรู้การศกึ ษาต่อเน่อื งทมี่ ีคณุ ภาพ นโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กัด สาหรบั นาไปใชใ้ น

การจดั การเรียนรู้ โดยวิทยากรทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ และ
ประสบการณ์ตรงตามหลกั สูตร มีการใชส้ ื่อ และจัด

สภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อต่อการจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง มกี ารจดั
กระบวนการเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกบั ผู้เรยี น และจัดใหม้ กี าร
วัดและประเมินผลการเรียนรอู้ ย่างถกู ตอ้ ง นา่ เชื่อถือ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

71

เป้าประสงค์ ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็
การศึกษาตามอัธยาศัย
คุณภาพของผู้รับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย พจิ ารณาจากผลที่เกิดข้ึนกับผู้รับบรกิ ารเกีย่ วกบั ความรู้ หรือ
ซึง่ มีประเดน็ การพจิ ารณา จานวน 1 ประเด็น ประกอบด้วย ทกั ษะ หรอื ประสบการณท์ ี่ผรู้ บั บรกิ ารได้รบั
1. ผูร้ บั บริการมคี วามรู้ หรอื ทักษะ หรือประสบการณ์ จากการเข้ารว่ มโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั
สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หรอื กจิ กรรม ในรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีมีการกาหนดวัตถุประสงคข์ อง
การศึกษาตามอธั ยาศยั การจัดไว้อย่างชัดเจน ซ่ึงสถานศกึ ษาจัดขน้ึ
โดยมปี ระเด็นการพจิ ารณา จานวน 1 ประเดน็ คือ ผู้รับบริการ
คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์
ซ่งึ มปี ระเด็นการพิจารณา จานวน 4 ประเดน็ ประกอบดว้ ย สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ หรอื กิจกรรมการศกึ ษา
1. การกาหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามอัธยาศัย
2. ผูจ้ ัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรม พิจารณาจากการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัยของสถานศึกษา ที่มี
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั การกาหนด และจัดโครงการ หรือกิจกรรม
3. สือ่ หรือนวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อต่อการจัด การศึกษาตามอธั ยาศัยทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพบริบท หรือความ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั ต้องการ หรือความจาเปน็ ของกล่มุ เป้าหมายในชุมชน
4. ผู้รบั บรกิ ารมีความพงึ พอใจต่อการจัดการศึกษาตาม สังคม และเป็นไปตามนโยบายของหน่วยงานตน้ สงั กัด โดยมผี ู้
อัธยาศยั จดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทมี่ ีความรู้
ความสามารถในการออกแบบและจดั กิจกรรมการศกึ ษาตาม
อัธยาศัยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื ให้ผู้รับบริการมี
ความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ที่
กาหนดไว้ โดยจัดให้มีการสารวจความพงึ พอใจของ
ผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทม่ี ีต่อการจดั การศกึ ษาตาม
อธั ยาศยั ของสถานศกึ ษา เพื่อการพัฒนาคณุ ภาพการ
จดั การศึกษาตามอธั ยาศัยของสถานศึกษาต่อไป

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

72

เปา้ ประสงค์ ตัวชี้วัดความสาเรจ็
การบริหารจดั การของสถานศกึ ษา
คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา พิจารณาจากความสามารถในการจดั ระบบการบริหารจัดการ
ซึ่งมีประเดน็ การ พจิ ารณา จานวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย ของสถานศกึ ษาท่ีเน้นการมสี ว่ นร่วมของ
1. การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ นน้ การมีส่วนรว่ ม บุคลากรในสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคี
2. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา เครือข่าย และผู้ท่ีเกย่ี วข้องในการกาหนดมาตรฐานการศึกษา
3. การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ของสถานศกึ ษา แผนพัฒนาการจดั การศึกษาหรือแผนพัฒนา
4. การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการ คณุ ภาพการศึกษา แผนปฏบิ ัติการประจาปี นาไปสู่
5. การกากบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานของ การปฏิบัติงานตามแผนของสถานศกึ ษา และจดั ใหม้ กี ารกากับ
สถานศึกษา ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนินงาน พรอ้ มทั้งจดั ทา
6. การปฏิบัตหิ น้าทขี่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาท่ีเปน็ ไป รายงานผลการดาเนินงานโครงการ กิจกรรม และนาผลการ
ตาม บทบาททีก่ าหนด ประเมนิ ดงั กล่าวไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพการจัด
7. การส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ยให้มีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา รวมถงึ การพัฒนาครวู ทิ ยากร
การศึกษา ผ้จู ดั การเรียนรู้ และบุคลากรอืน่ ๆ ในสถานศกึ ษาใหม้ ี
8. การส่งเสริม สนับสนนุ การสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนร้แู ละการปฏิบตั งิ าน
9. การวจิ ยั เพอ่ื การบริหารจดั การศกึ ษาสถานศึกษา ตลอดจนการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถกู ต้อง
เป็นปจั จุบนั สามารถนาไปใช้ในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา
และการจัดการเรยี นรูไ้ ด้อย่างมีคุณภาพ
ในท่นี ี้บุคลากรของสถานศกึ ษา หมายถึง ขา้ ราชการ
ลกู จา้ งประจา พนักงานราชการทกุ ประเภท และ
พนกั งานจ้างเหมาบรกิ าร ซึง่ ปฏบิ ัตงิ านอย่ใู นสถานศกึ ษา ทัง้
ทางด้านงานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบคุ คล และ
งานท่ัวไป

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

73

เป้าประสงคแ์ ละกลยุทธ์ระดับองคก์ ร

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ระดับองค์กร
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบ ตามหลักสตู รการศึกษา
คณุ ภาพของผู้เรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ นอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
พน้ื ฐาน
ซ่งึ มปี ระเดน็ การพจิ ารณา จานวน 8 ประเดน็ ประกอบดว้ ย

1. ผเู้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทีด่ ี
สอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศกึ ษา
2. ผู้เรยี นการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานมคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
และคุณลกั ษณะท่ดี ีตามที่สถานศึกษากาหนด
3. ผู้เรยี นการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานมคี วามสามารถในการคดิ
วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปล่ยี นความ
คดิ เหน็ รว่ มกับผู้อน่ื
4. ผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมีความสามารถในการ
สร้างสรรคง์ าน ช้นิ งาน หรือนวตั กรรม
5. ผูเ้ รยี นการศึกษาขัน้ พื้นฐานมคี วามสามารถในการใช้
เทคโนโลยดี ิจิทัล
6. ผู้เรียนการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานมีสุขภาวะทางกาย และ
สุนทรยี ภาพ

7. ผูเ้ รียนการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานมคี วามสามารถในการอา่ น
การเขียน

8. ผ้จู บการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานนาความรู้ ทักษะพื้นฐานทไ่ี ดร้ บั
ไปใช้หรือประยุกตใ์ ช้

คณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐานท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั

ซ่ึงมีประเด็นการพจิ ารณา จานวน 4 ประเด็น ประกอบด้วย
1. การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับบริบท และ
ความตอ้ งการของผ้เู รียน ชมุ ชน ท้องถ่ิน
2. สอื่ ที่เออื้ ต่อการเรียนรู้
3. ครมู คี วามรู้ ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ที่เนน้
ผู้เรียนเปน็ สาคญั
4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นอยา่ งเปน็
ระบบ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

74

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ระดับองคก์ ร
การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาต่อเนื่อง
คณุ ภาพของผูเ้ รียนการศึกษาตอ่ เน่ือง
ซึง่ มปี ระเด็นการพิจารณา จานวน 3 ประเด็น ประกอบดว้ ย
1. ผูเ้ รยี นการศกึ ษาต่อเนอ่ื งมคี วามรู้ ความสามารถ และหรือ
ทกั ษะ และหรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร
2. ผจู้ บหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื งสามารถนาความร้ทู ี่ได้ไป
ใช้ หรอื ประยกุ ต์ใช้บนฐานคา่ นยิ มรว่ มของสงั คม
3. ผจู้ บหลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่อื งท่นี าความรู้ไปใช้จนเห็น
เปน็ ประจักษห์ รอื ตวั อย่างที่ดี
คุณภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศกึ ษาต่อเนือ่ ง

ซึง่ มีประเดน็ การพจิ ารณา จานวน 5 ประเด็น ประกอบด้วย

1. หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื งมคี ณุ ภาพ

2. วิทยากรการศึกษาต่อเนอื่ งมีความรู้ ความสามารถ หรอื

ประสบการณต์ รงตามหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง

3. สอ่ื ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้

4. การวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นการศึกษาต่อเนอ่ื ง

5. การจดั กระบวนการเรยี นร้กู ารศึกษาตอ่ เนื่องทีม่ ีคณุ ภาพ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

75

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ระดับองค์กร
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตามอัธยาศัย
คณุ ภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั
ซงึ่ มปี ระเดน็ การพจิ ารณา จานวน 1 ประเด็น ประกอบด้วย
1. ผู้รับบริการมคี วามรู้ หรอื ทกั ษะ หรือประสบการณ์ สอดคลอ้ ง
กับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษาตาม
อัธยาศัย

คุณภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั
ซ่งึ มีประเด็นการพจิ ารณา จานวน 4 ประเด็น ประกอบดว้ ย
1. การกาหนดโครงการ หรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั
2. ผจู้ ัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจดั กจิ กรรม
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อือ้ ต่อการจัด
การศกึ ษาตามอัธยาศยั
4. ผู้รับบรกิ ารมีความพึงพอใจต่อการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

76

เป้าประสงค์ กลยทุ ธร์ ะดบั องค์กร
การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา พัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา
คุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
ซึง่ มีประเด็นการ พจิ ารณา จานวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย
1. การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมีส่วนรว่ ม
2. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
3. การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
4. การใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจดั การ
5. การกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษา
6. การปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศกึ ษาทเี่ ปน็ ไปตาม
บทบาททกี่ าหนด
7. การส่งเสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครอื ข่ายใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั
การศกึ ษา
8. การส่งเสรมิ สนับสนนุ การสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้
9. การวิจัยเพ่ือการบริหารจดั การศกึ ษาสถานศึกษา

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

77

บทท่ี 3
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

จากทิศทางการดาเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยอาเภอบางซ้ายท่ีกาหนดไว้ ได้นามากาหนดกิจกรรม/โครงการ ท่ีตอบสนอง

เป้าประสงค์ และเปา้ หมายการดาเนนิ งานแตล่ ะปี ดังน้ี

กลยทุ ธ์ กิจกรรม/โครงการ

- พัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกระบบ ตามหลักสูตร 1. จัดการศึกษานอกระบบ ตามหลักสูตรการศึกษานอก

การศึกษา นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

พุทธศกั ราช 2551 2. โครงการ/กิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ

ของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน

พน้ื ฐาน

3. โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ

การจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ี

เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั

- พฒั นาคุณภาพการศึกษาตอ่ เน่อื ง 1. โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ

ของผู้เรยี นการศึกษาตอ่ เนือ่ ง

- การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิต

- การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน

- การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

- โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน

2. โครงการ/กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ

การจัดการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาต่อเนอื่ ง

- พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามอธั ยาศยั 1. โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพของ

ผรู้ บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

- ส่งเสริมการอ่าน (หอ้ งสมดุ ประชนอาเภอบางซา้ ย)

- สง่ เสริมการอา่ น (ระดบั ตาบล)

2. โครงการ/กิจกรรมท่ีเกีย่ วกับการพัฒนาคุณภาพของ

ผรู้ บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย

- พฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การของ สถานศกึ ษา 1. โครงการ/กิจกรรมที่เก่ียวกับ การพัฒนาคุณภาพการ

บรหิ ารจัดการของ สถานศกึ ษา

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

แผนพฒั นาคณุ ภาพการ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอ

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจ

การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พฒั นาคณุ ภาพ 1. จัดการศึกษาน

คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา การศกึ ษานอกระบบ ตามหลักสูตรการศ

ข้นั พน้ื ฐาน ตามหลกั สตู ร ระบบ ระดับการ

ซึ่งมปี ระเด็นการพิจารณา จานวน 8 ประเด็น ประกอบด้วย การศึกษานอกระบบ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั รา
1. ผเู้ รียนการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นทด่ี ี
สอดคลอ้ งกับหลักสูตรสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขนั้ 2. โครงการ/ก
2. ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พื้นฐานมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และ
พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช เกี่ ยวข้ องกับ กา
คุณลกั ษณะทดี่ ีตามทสี่ ถานศึกษากาหนด
3. ผู้เรียนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 2551 คุ ณ ภ า พ ข อ ง

การศึกษานอกระ

การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐา

คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ร่วมกบั ผอู้ ื่น

4. ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมีความสามารถในการสร้างสรรคง์ าน

ชิน้ งาน หรอื นวัตกรรม

5. ผู้เรียนการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

ดจิ ิทัล

6. ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรยี ภาพ

7. ผู้เรยี นการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น

8. ผู้จบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานนาความรู้ ทักษะพ้นื ฐานทีไ่ ดร้ ับไปใช้

หรือประยุกตใ์ ช้

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566

78

รศึกษา (พ.ศ. 2563 – 2566)
อัธยาศัยอาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

จกรรม เปา้ หมาย(คน/ครงั้ ) ตัวช้วี ัด ค่าเป้าหมาย
(คน/ร้อยละ)
นอกระบบ 2563 2564 2565 2566 ความสาเรจ็
ศึกษานอก รอ้ ยละ 80
รศึกษาขั้น 240 240 240 240 พิจารณ าจากผ ลที่ เกิดจ ากการจัด
าช 2551 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน
กิ จ ก ร ร ม ที่ พื้ น ฐ า น ที่ เ กิ ด ข้ึ น กั บ ผู้ เ รี ย น
าร พั ฒ น า ประกอบด้วย ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ง ผู้ เ รี ย น ของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ
ะบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ความสามารถใน
าน การอ่าน การเขียน การสร้างสรรค์งาน
ชิ้นงาน หรือนวตั กรรม การใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล รวมถึงความสามารถในการคิด

วิเค ราะห์ คิดอย่างมีวิจ ารณ ญ าณ
แลกเปล่ียนความคิดเห็น ความสามารถ
ในการนาความรู้
ทักษะพื้นฐานไปใช้หรือประยุกต์ใช้ และ
สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้
นอกจากนี้ พิจารณาจากผู้เรียนท่ีมี
พฤติกรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
และคณุ ลกั ษณะทดี่ ีเป็นไปตามท่ี
ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

กาหนดไว้ 9 ประการ (สะอาด สุภาพ
กตัญญู ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ สามัคคี

6) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566

79

จกรรม เปา้ หมาย(คน/ครงั้ ) ตัวช้ีวัด ค่าเปา้ หมาย
ความสาเรจ็ (คน/รอ้ ยละ)
2563 2564 2565 2566
มนี ้าใจ มีวินัย) มีจิตอาสา และเคารพใน
กฎกติกาบนหลักประชาธปิ ไตย ภมู ิใจใน
ท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒ นธรรม
ประเพณไี ทย รวมทง้ั ภูมปิ ญั ญาไทย
สามารถอยู่และทางานร่วมกับผู้อื่นบน
พ้ืนฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลใน

ด้านเพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา
วัฒนธรรม ประเพณีได้โดยปราศจาก
ความขัดแย้ง แสดงออกทางพฤติกรรม
มกี ิรยิ าที่เหมาะสม ถกู กาลเทศะ
มีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ
ห รื อ มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ อั ต
ลักษณ์ท่ีสถานศึกษากาหนด โดยไม่ขัด
ต่อกฎหมายและวฒั นธรรมทีด่ งี าม

6) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจ

คุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พฒั นาคณุ ภาพ โ ค ร ง ก า ร / กิ จ
พืน้ ฐานท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
การศกึ ษานอกระบบ เกี่ ยวข้ องกับ กา
ซ่งึ มีประเดน็ การพจิ ารณา จานวน 4 ประเดน็ ประกอบด้วย
ตามหลกั สูตร คุ ณ ภ า พ ก า ร จั ด ก
1. การพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาที่สอดคล้องกบั บรบิ ท และ
ความตอ้ งการของผเู้ รียน ชุมชน ทอ้ งถิ่น การศึกษานอกระบบ นอกระบบระดับก

2. ส่ือท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรู้ ระดบั การศกึ ษาข้ัน ขั้นพ้ืนฐานท่ีเน้นผ

3. ครูมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรียน พน้ื ฐาน พุทธศักราช สาคญั
เป็นสาคญั
2551 - บุคลากร กศน.อ
4. การวดั และประเมินผลการเรยี นร้ขู องผ้เู รียนอย่างเปน็ ระบบ
ซา้ ย

- สถานศึกษา กศ

บางซา้ ย

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566

80

จกรรม เป้าหมาย(คน/ครั้ง) ตวั ช้ีวัด ค่าเป้าหมาย
ความสาเร็จ (คน/ร้อยละ)
จ ก ร ร ม ท่ี 2563 2564 2565 2566
าร พั ฒ น า 9999 พิจารณาจากกระบวนการจัดการศึกษา รอ้ ยละ 80
การศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ี
การศึกษา 1111 สถานศกึ ษามกี ารพฒั นา
ผู้เรียนเป็น แหง่ แหง่ แห่ง แห่ง หลักสูตรขึ้นอย่างเป็นระบบ สอดคล้อง
กับ บ ริบ ท แล ะค วามต้องการของ
อาเภอบาง กลุ่มเป้าหมาย และชุมชน ท้องถิ่น เพ่ือ
ใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับ
ศน.อาเภอ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยคานึงถึงความ
แตกตา่ งระหว่างผเู้ รียน มุ่งเน้นให้
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการ
เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และการลง
มือปฏบิ ตั ทิ เี่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั มสี ่อื
เทคโนโลยีดิจิทัล แหล่งเรียนรู้ หรือภูมิ
ปัญญาท้องถ่ินที่เอ้ือต่อการเรียนรู้มีการ
สรา้ งปฏิสมั พันธท์ ด่ี ตี ่อกันระหว่างครู
กับผู้เรียน ในฐานะครูกับผู้เรียน มีการ
กาหนดแนวทางการตรวจสอบ การวัด

และประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ของ
ผู้ เรี ย น อ ย่ าง เป็ น ร ะ บ บ ส าม าร ถ
ตรวจสอบได้ และมีการแลกเปล่ียน
เรียนรู้ เพ่ือนาผลการประเมินมาพัฒนา
คุณภาพ
ผู้เรียน ตลอดจนมีการสร้างสังคมแห่ง
การเรียนรู้ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ
เรียนรู้ของผู้เรียน และผู้มีความสนใจใน
การเรยี นรู้

6) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจ

การศึกษาต่อเน่ือง พฒั นาคุณภาพ โครงการ/กิจกรรม
ท่ี เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก
คณุ ภาพของผูเ้ รียนการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง การศกึ ษาต่อเน่อื ง คุ ณ ภ า พ ข อ ง
การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง
ซึ่งมีประเดน็ การพิจารณา จานวน 3 ประเด็น ประกอบด้วย - การศึ ก ษ าเพ
ทักษะชีวติ
1. ผูเ้ รียนการศึกษาต่อเน่ืองมีความรู้ ความสามารถ และหรอื ทักษะ - การศึกษาเพอ่ื พ

และหรอื คณุ ธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลกั สูตร และชุมชน
- ก า ร เรี ย น รู้ ต
2. ผจู้ บหลกั สูตรการศึกษาต่อเนอื่ งสามารถนาความร้ทู ่ไี ด้ไปใช้ หรือ ป รั ช ญ า ข อ ง เศ
พอเพยี ง
ประยกุ ต์ใชบ้ นฐานค่านิยมร่วมของสงั คม - โครงการศูนย
ชุมชน
3. ผูจ้ บหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ งที่นาความรไู้ ปใชจ้ นเหน็ เปน็

ประจักษ์หรอื ตวั อยา่ งทีด่ ี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ. 2563 - 2566

81

จกรรม เป้าหมาย(คน/คร้งั ) ตวั ชี้วัด ค่าเป้าหมาย
ความสาเรจ็ (คน/ร้อยละ)
ม 2563 2564 2565 2566
า ร พั ฒ น า พิจารณ าจากผลการจัดการเรียนรู้ รอ้ ยละ 80
ง ผู้ เ รี ย น 200 210 220 230 การศึกษ าต่อเน่ือง ซึ่ งเป็ นค วาม รู้
130 140 150 160 ความสามารถ และ/หรอื ทักษะ
พื่ อ พั ฒ น า 50 60 70 80 และ/หรอื คุณธรรมของผู้เรยี นการศึกษา
ต่อเน่ืองท่ีเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือ
พัฒนาสงั คม 400 410 420 430 วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร รวมทงั้
สามารถนาความรู้ไปใช้ หรอื ประยุกต์ใช้
ต า ม ห ลั ก
ศ ร ษ ฐ กิ จ ในการดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมบน
ฐานค่านยิ มรว่ มของสงั คม
ย์ ฝึ ก อ า ชี พ ในที่นี้การศึกษาต่อเนื่อง หมายถึง การ
จัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอก
ระบบท่ีเป็นหลักสตู รระยะสนั้
ทม่ี ีหลักสูตรต้ังแต่ 6 ชั่วโมงขนึ้ ไป ซง่ึ จัด
ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
โดยมีเนอ้ื หาเก่ียวกบั อาชีพ ทกั ษะชวี ิต
หรือการพัฒนาสังคมและชุมชน รวมถึง
การจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง และการใช้
เทคโนโลยี ซึ่งนาไปสกู่ ารพฒั นาคุณภาพ
ชีวิตท่ีดี (ตามแนวทางการดาเนินงาน
การจดั การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ฉบับปรับปรงุ
พ.ศ. 2561) ดังนี้
การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การศึกษา
เพ่ือพัฒนาความรู้ ความสามารถ และ
ทกั ษะในการประกอบอาชพี
ของบุคคล เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าสู่

6) กศน.อาเภอบางซา้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566

82

จกรรม เปา้ หมาย(คน/ครง้ั ) ตัวชีว้ ัด ค่าเป้าหมาย
ความสาเร็จ (คน/รอ้ ยละ)
2563 2564 2565 2566
อาชีพ สามารถประกอบอาชีพ หรือ
พัฒนาอาชพี ของตนเองได้
โดยพิจารณาถึงความต้องการในการ
เรียนของแต่ละบคุ คล
ก าร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ห ม าย ถึ ง
การศึกษาท่ีใหค้ วามสาคญั กับการพัฒนา
ตนเอง เพอ่ื ให้มคี วามรู้

เจตคติและทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการ
ดารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน เพื่อให้บุคคล
สามารถเผชญิ สถานการณต์ ่าง ๆ
ในชวี ิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
และเตรยี มความพร้อมกับการปรับตัวใน
อนาคต เชน่ สขุ ภาพกาย
แล ะใจ การมี สุ น ท รียภ าพ ค วาม
ปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน คณุ ธรรม
จริยธรรม และค่านิยมท่ีดี เป็นต้น
การพัฒนาสังคมและชุมชน หมายถึง

เป็นการศึกษาท่ีบูรณาการความรู้และ
ทกั ษะจากการศึกษาทีผ่ ู้เรียนมีอยู่
ห รื อ ได้ รั บ จ า ก ก า ร เข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม
การศกึ ษานอกระบบ
แล้วนาไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาสงั คมและชมุ ชน
อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น โ ด ย ยึ ด ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง
เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีรูปแบบการ
เรียนรู้ท่ีหลากหลาย และใช้ชุมชนเป็น

6) กศน.อาเภอบางซ้าย จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566

83

จกรรม เป้าหมาย(คน/ครง้ั ) ตวั ช้วี ัด คา่ เป้าหมาย
ความสาเร็จ (คน/รอ้ ยละ)
2563 2564 2565 2566
ฐาน
ในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชมุ ชน
เช่ น ป ร ะ ช าธิป ไต ย สิ่ ง แ วด ล้ อ ม
วสิ าหกจิ ชุมชน การใชเ้ ทคโนโลยี
ทีเ่ หมาะสม เปน็ ตน้
ท้ังน้ี ค่านิยมร่วมของสังคม หมายถึง
ความเพยี รอันบริสุทธ์ิ ความพอเพียง วิถี

ประชาธปิ ไตย และความเทา่ เทยี ม
เสมอภาค โดย
1) ความเพียรอนั บริสุทธ์ิ หมายถงึ ความ
อดทน มุ่งม่ัน ทาส่ิงใด ๆ ให้เกิดผล
สาเร็จ อย่างไม่ย่อท้อต่อความลาบาก
เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ส่วนร่วม
ชุมชน สังคม ประเทศชาติ
2) ความพอเพียง หมายถึง การมีความ
สมดุลรอบด้านทั้งความรู้คุณธรรม และ
ทกั ษะ โดยคานึงถึง

ความสมดุล ทั้งประโยชน์ต่อตนเอง
ชุมชน และสงั คม
3) วิถีประชาธิปไตย หมายถงึ การยึดม่ัน
ในการมีส่วนร่วม การเคารพกติกา สิทธิ
หนา้ ที่ ความรบั ผิดชอบ
การรับฟังความคิดเห็นท่ีแตกต่าง และ
สามารถอยู่ร่วมกันในในสังค มพ หุ
วฒั นธรรมได้อยา่ งมคี วามสขุ
4) ความเท่าเทียมเสมอภาค หมายถึง

6) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566

84

จกรรม เปา้ หมาย(คน/ครง้ั ) ตวั ชี้วัด คา่ เป้าหมาย
ความสาเรจ็ (คน/รอ้ ยละ)
2563 2564 2565 2566
การเคารพความแตกต่าง และการให้
ความสาคัญแก่ผูอ้ ื่น
โดยปราศจากอคติ แม้มีสภาพความ
แตกต่างกันทางเศรษฐกิจ สังคม เชื้อ
ช า ติ ถ่ิ น ท่ี อ ยู่ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ
ความสามารถ
ทั้งน้ี มาตรฐานคุณ ภาพของผู้เรียน

การศึกษ าต่อเน่ือง มีป ระเด็น การ
พิจารณา จานวน 3 ประเดน็ ดงั นี้
1. ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ืองมีความรู้
ความสามารถ และ หรือทักษะ และ
หรอื คณุ ธรรมเปน็ ไปตามเกณฑ์
การจบหลกั สตู ร
2. ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
สามารถนาค วาม รู้ที่ได้ไป ใช้ ห รือ
ประยกุ ตใ์ ช้ บนฐานค่านิยมร่วม
ของสังคม

3. ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องท่ีนา
ความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือ
ตัวอย่างที่ดี

6) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจ

คุณภาพการจัดการเรยี นร้กู ารศึกษาต่อเน่ือง พัฒนาคุณภาพ โครงการ/กจิ กรรม
การศึกษาตอ่ เน่อื ง ท่ี เก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก
ซง่ึ มีประเดน็ การพจิ ารณา จานวน 5 ประเด็น ประกอบด้วย คุณภาพการจัดก
1. หลักสตู รการศึกษาต่อเนอ่ื งมีคณุ ภาพ การศกึ ษาตอ่ เน่ือง
2. วทิ ยากรการศกึ ษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ หรอื - บุคลากร กศน.อ
ประสบการณ์ตรงตามหลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เน่ือง ซา้ ย
3. ส่ือทีเ่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ - สถานศึกษา กศ
4. การวดั และประเมินผลผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเน่ือง
5. การจัดกระบวนการเรียนรูก้ ารศกึ ษาต่อเนื่องทมี่ คี ุณภาพ บางซา้ ย

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566

85

จกรรม เปา้ หมาย(คน/คร้ัง) ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย
ความสาเร็จ (คน/ร้อยละ)
ม 2563 2564 2565 2566
า ร พั ฒ น า พจิ ารณาจากการจดั กระบวนการเรียนรู้ รอ้ ยละ 80
การเรียนรู้ 9999 การศึกษาต่อเน่ืองของสถานศึกษา โดย
1111 สถานศกึ ษามกี ารจดั หา
อาเภอบาง แห่ง แหง่ แหง่ แห่ง ห รือ จั ด ท า ห รือ พั ฒ น าห ลั ก สู ต ร
การศึกษาต่อเนื่องที่สอดคล้องกับสภาพ
ศน.อาเภอ บรบิ ท หรือความต้องการ หรือ
ความจาเป็นของกล่มุ เป้าหมายในชุมชน

สังคม และเป็นไปตามนโยบายของ
หน่วยงานต้นสงั กัด สาหรับนาไปใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ โดยวิทยากรท่ีมี
ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
ตรงตามหลกั สูตร มีการใชส้ อ่ื และจัด
สภาพแวดล้อมทเ่ี อ้อื ต่อการจดั การศกึ ษา
ต่อเน่ือง มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกับผู้เรยี น และจดั ให้มีการ
วั ด แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ อ ย่ า ง
ถูกต้อง นา่ เชือ่ ถือ

6) กศน.อาเภอบางซา้ ย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจ

การศึกษาตามอัธยาศัย พฒั นาคณุ ภาพ โครงการ/กจิ กรรม
การศกึ ษาตอ่ เนื่อง การพั ฒ น าคุ ณ ภ
คณุ ภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั ผู้รับบริการการศ
อธั ยาศัย
ซ่ึงมปี ระเด็นการพจิ ารณา จานวน 1 ประเดน็ ประกอบด้วย - ส่ ง เ ส ริ ม ก
1. ผ้รู บั บริการมีความรู้ หรือทกั ษะ หรอื ประสบการณ์ สอดคล้องกบั (ห้องสมุดประชนอ
วัตถุประสงค์ของโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ซ้าย)

- ส่งเสริมการอ่า
ตาบล)

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566

86

จกรรม เป้าหมาย(คน/คร้ัง) ตวั ช้ีวัด คา่ เป้าหมาย
ความสาเร็จ (คน/รอ้ ยละ)
มที่เกี่ยวกับ 2563 2564 2565 2566
ภาพของ พจิ ารณาจากผลท่ีเกิดข้ึนกบั ผู้รับบริการ รอ้ ย 80
ศึกษาตาม 2600 2700 2800 2900 เกี่ ยวกับ ค วามรู้ ห รือทั กษ ะ ห รือ
1,800 1,800 1,800 1,800 ประสบการณ์ทผ่ี ู้รบั บริการไดร้ บั
า ร อ่ า น จากการเข้าร่วมโครงการ หรือกิจกรรม
อาเภอบาง การศกึ ษาตามอธั ยาศัยในรูปแบบต่าง ๆ
ท่มี กี ารกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ อง
าน (ระดับ การจัดไว้อย่างชัดเจน ซง่ึ สถานศึกษาจัด

ขึ้น โดยมีประเด็นการพิจารณา จานวน
1 ประเดน็ คอื ผู้รับบรกิ ารมีความรู้ หรือ
ทกั ษะ หรือประสบการณ์
สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของโครงการ
หรือกิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั

6) กศน.อาเภอบางซ้าย จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กจิ

คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั พัฒนาคุณภาพ โครงการ/กิจกรรม
การพั ฒ น าคุ ณ ภ
ซึ่งมีประเด็นการพจิ ารณา จานวน 4 ประเด็น ประกอบด้วย การศึกษาตาม ผู้รับบริการการศ
อธั ยาศัย
1. การกาหนดโครงการ หรอื กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย อธั ยาศัย

2. ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศกึ ษา

ตามอัธยาศยั

3. สือ่ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้อื ต่อการจดั การศึกษา

ตามอธั ยาศัย

4. ผู้รบั บรกิ ารมีความพงึ พอใจต่อการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ. 2563 - 2566


Click to View FlipBook Version