The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuahuay, 2023-08-21 19:47:57

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์

กมธ.3

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดัน กฎหมายว่าด้วยการกระท าความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ส านักกรรมาธิการ ๓ ส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา


บันทึกข้อความ ส่วนราชการคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ที่ สว (กมธ ๓) ๐๐๑๙ /(ร ๕๗ ) วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เรื่อง รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระท าความผิด ต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ กราบเรียน ประธานวุฒิสภา ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗ (สมัยสามัญประจ าปีครั้งที่หนึ่ง) วันอังคารที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ประชุมได้ลงมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจ าวุฒิสภาตามข้อบังคับการประชุม วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ วรรคสอง (๑๓) ซึ่งคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา เป็นคณะกรรมาธิการสามัญประจ าวุฒิสภาคณะหนึ่ง มีหน้าที่และอ านาจพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กระท ากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษา เรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รวมทั้ง ประสานกับองค์กรภายในประเทศ ต่างประเทศ ประชาคมภายในประเทศและนานาชาติ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับแนวทางความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาสังคม ชุมชน เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส การส่งเสริมศักยภาพของชุมชนด้านการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ การคุ้มครองและดูแลผู้ยากไร้ การส่งเสริมความเสมอภาคและขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ต่อบุคคล การส่งเสริมและพัฒนาสวัสดิการสังคม การเสริมสร้างพลังทางสังคม การสร้างหลักประกัน ความมั่นคง และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยโดยรวม พิจารณาศึกษาติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัด การปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งปัจจุบันกรรมาธิการคณะนี้ ประกอบด้วย ๑. นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธานคณะกรรมาธิการ ๒. พลตรี โอสถ ภาวิไล รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง ๓. นางเพ็ญพักตร์ ศรีทอง รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง ๔. นายกิตติศักดิ์ รัตนวราหะ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม ๕. นางทัศนา ยุวานนท์ เลขานุการคณะกรรมาธิการ ๖. พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ โฆษกคณะกรรมาธิการ ๗. นางผาณิต นิติทันฑ์ประภาศ ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ๘. นายเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ๙. หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ๑๐. นายพีระศักดิ์ พอจิต ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ๑๑. นางประยูร เหล่าสายเชื้อ กรรมาธิการ ๑๒. นายปรีชา บัววิรัตน์เลิศ กรรมาธิการ ๑๓. นายมณเฑียร... (ส าเนา)


- ๒ - ๑๓. นายมณเฑียร บุญตัน กรรมาธิการ ๑๔. นายยุทธนา ทัพเจริญ กรรมาธิการ ๑๕. พลเอก วลิต โรจนภักดี กรรมาธิการ ๑๖. นายอ าพล จินดาวัฒนะ กรรมาธิการ บัดนี้ คณะกรรมาธิการได้ด าเนินการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดัน กฎหมายว่าด้วยการกระท าความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงาน ผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกล่าว ต่อวุฒิสภาตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๘ จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดทราบและน าเสนอรายงานของคณะกรรมาธิการต่อที่ประชุม วุฒิสภาต่อไป (ลงชื่อ) วัลลภ ตังคณานุรักษ์ (นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์) ประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ส าเนาถูกต้อง (นางสาวภิรมย์ นิลทัพ) ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุคนพิการ และผู้ด้อยโอกาส กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ ส านักกรรมาธิการ ๓ ส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา พิมพ์ปญา พิมพ์ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๑ ๙๒๒๕ – ๖ พิมพ์ปญา/ภิรมย์ ทาน โทรสาร ๐ ๒๘๓๑ ๙๒๒๖ ภิรมย์ตรวจ


- ก - คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธานคณะกรรมาธิการ พลตรี โอสถ ภาวิไล รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง นางเพ็ญพักตร์ ศรีทอง รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง นายกิตติศักดิ์ รัตนวราหะ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม นางทัศนา ยุวานนท์ เลขานุการคณะกรรมาธิการ พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจริญ โฆษกคณะกรรมาธิการ นางผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ นายเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ นายพีระศักดิ์ พอจิต ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ


- ข - นางประยูร เหล่าสายเชื้อ กรรมาธิการ นายปรีชา บัววิรัตน์เลิศ กรรมาธิการ นายมณเฑียร บุญตัน กรรมาธิการ นายยุทธนา ทัพเจริญ กรรมาธิการ พลเอก วลิต โรจนภักดี กรรมาธิการ นายอ าพล จินดาวัฒนะ กรรมาธิการ


(ก) รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระท าความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ________________________ ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสามัญประจ าปีครั้งที่หนึ่ง) วันอังคารที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ ที่ประชุมวุฒิสภาได้ลงมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจ าวุฒิสภาตามข้อบังคับ การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ วรรคสอง (๑๓) โดยมีหน้าที่และอ านาจเกี่ยวกับการพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติกระท ากิจการ พิจารณาสืบหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนา สังคม เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส รวมทั้งประสานกับองค์กรภายในประเทศ ต่างประเทศ ประชาคมภายในประเทศและนานาชาติ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับแนวทาง ความร่วมมือเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาสังคม ชุมชน เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส การส่งเสริมศักยภาพของชุมชนด้านการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ การคุ้มครองและดูแลผู้ยากไร้ การส่งเสริม ความเสมอภาคและขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล การส่งเสริมและพัฒนาสวัสดิการสังคม การเสริมสร้างพลังทางสังคม การสร้างหลักประกัน ความมั่นคง และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทย โดยรวม พิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ ที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บัดนี้ คณะกรรมาธิการได้พิจารณาศึกษา เรื ่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื ่อผลักดัน กฎหมายว ่าด้วยการกระท าความผิดต ่อเด็กผ ่านสื ่อออนไลน์ เส ร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงาน ผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกล่าวต่อวุฒิสภาตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๘ ดังนี้ ๑. การด าเนินงานของคณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการได้ด าเนินการพิจารณาศึกษา ดังนี้ ๑.๑ คณะกรรมาธิการได้มีมติแต่งตั้งคณะท างานเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ ในเด็กและเยาวชน และมอบหมายให้ท าหน้าที่พิจารณาศึกษา ซึ่งคณะท างานคณะนี้ประกอบด้วย ๑) นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์ ประธานคณะท างาน ๒) นางธีรารัตน์ พันทวี วงศ์ธนะเอนก รองประธานคณะท างาน ๓) นายชาญวุฒิ วงศ์เพ็ง คณะท างาน ๔) แพทย์หญิงทิพาวรรณ บูรณสิน คณะท างาน ๕) นายธนวัน ทองสุกโชติ คณะท างาน ๖) นางนันทา ไวคกุล คณะท างาน ๗) นางสุดใจ พรหมเกิด คณะท างาน ๘) นางสาวปราชญา ศิริ์มหาอาริยะโพธิ์ญาคณะท างาน ๙) นายพงศ์ธร จันทรัศมี คณะท างาน ๑๐) นายธธงชัย สารอักษร คณะท างาน


(ข) ๑๑) ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรรยาท อัครจันทโชติ คณะท างาน ๑๒) นางสาวมาลียา โชติสกุลรัตน์ คณะท างาน ๑๓) นายรวิศุทธ์ คณิตกุลเศรษฐ์ คณะท างาน ๑๔) นางสาวรัตนา จรูญศักดิ์สิทธิ์ คณะท างาน ๑๕) นางศรีดา ตันทะอธิพานิช คณะท างาน ๑๖) นายสัจจะ โชคบุญส่งสวัสดิ์ คณะท างาน ๑๗) นายเสด็จ บุนนาค คณะท างาน ๑๘) นายโอภาส ภูครองนาค คณะท างาน ๑๙) นางปิยะวดี พงศ์ไทย คณะท างานและเลขานุการคณะท างาน ๒๐) นางสาวธรรมรัตน์ ศรีทองกูล คณะท างาน และผู้ช่วยเลขานุการคณะท างาน ๒๑) นายปิยะพงษ์ น้อยเจริญ คณะท างาน และผู้ช่วยเลขานุการคณะท างาน ๑.๒ ที่ประชุมคณะกรรมาธิการได้มีมติแต่งตั้ง นางสาวภิรมย์ นิลทัพ นิติกรช านาญการ พิเศษ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการวุฒิสภา และนางธนยา สิงห์มณี นิติกรช านาญการ กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ ท าหน้าที่เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการตามข้อบังคับ การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๘๗ ๒. วิธีการพิจารณาศึกษา ๒.๑ แต่งตั้งคณะท างานเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในเด็กและเยาวชน โดยมีหน้าที่ในการพิจารณาศึกษาและจัดท ารายงานเกี่ยวกับการส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในเด็ก และเยาวชน ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดท า เป็นข้อเสนอต่อวุฒิสภา ๒.๒ จัดเสวนาโต๊ะกลม เรื่อง “ท าไมต้องมี...กฎหมายว่าด้วยการกระท าผิดต่อเด็ก ผ่านสื่อออนไลน์” เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุม หมายเลข ๒๗๐๒ ชั้น ๒๗ อาคารสุขประพฤติ ถนนประชาชื่น กรุงเทพมหานคร ๒.๓ ศึกษากฎหมาย ข้อมูล งานวิชาการ รายงานวิจัย และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ ๓. ผลการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการได้พิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมาย ว่าด้วยการกระท าความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ โดยคณะกรรมาธิการได้มอบหมายให้คณะท างาน เสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในเด็กและเยาวชน ด าเนินการพิจารณาศึกษากรณีดังกล่าว ซึ่งคณะกรรมาธิการได้พิจารณารายงานของคณะท างานด้วยความละเอียดรอบคอบแล้ว และได้มีมติให้ความ เห็นชอบกับรายงานดังกล่าว โดยถือเป็นรายงานการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ


(ค) จากการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการจึงขอเสนอรายงาน การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ โดยมีรายละเอียดตามรายงานท้ายนี้ เพื่อให้วุฒิสภาได้พิจารณา หากวุฒิสภาให้ความเห็นชอบด้วยกับผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ ขอได้โปรดแจ้งไปยัง คณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาและด าเนินการตามแต่จะเห็นสมควรต่อไป ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ และประชาชนสืบไป (นายวัลลภ ตังคณานุรักษ์) ประธานคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา


บทสรุปผู้บริหาร รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระท าความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ได้ตระหนักถึงความจ าเป็นเร่งด่วนของปัญหาภัยออนไลน์ที่กระทบต่อเด็ก และเยาวชน ในปัจจุบันซึ่งทวีความรุนแรงกว้างขวาง และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งเด็กและเยาวชนจ านวนมาก ใช้เวลาอยู่กับสื่อออนไลน์เกือบตลอดเวลา โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์ระบาด COVID-19 หลายระลอก ที่ผ่านมา เด็กจ านวนมากต้องเรียนออนไลน์งดกิจกรรมการเรียนรู้นอกบ้าน ตามมาตรการของศูนย์บริหาร สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (ศบค.) ในขณะที่มาตรการคุ้มครองป้องกันเด็ก จากภัยออนไลน์ก็ย่อหย่อนลง เนื่องจากหน่วยงานต่าง ๆ ไม่สามารถจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ สร้างความตระหนักเพื่อการออนไลน์อย่างปลอดภัยได้ตามปกติ การที่เด็กใช้เวลาบนโลกออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น ยิ่งน าไปสู่ผลกระทบด้านลบต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเสพติดเกมและอินเทอร์เน็ต การกลั่นแกล้งรังแกกัน ถูกล่อลวง ละเมิดทางเพศ ดังจะเห็นได้จากข่าวที่ปรากฏในสื่อกระแสหลัก และสื่อออนไลน์ และข้อมูลสถิติจากเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องแสดงให้เห็น ความรุนแรงของภัยออนไลน์ที่ก าลังคุกคามเด็กและเยาวชนไทย คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ วุฒิสภา จึงได้แต่งตั้งคณะท างานเสริมสร้างการรู้เท่าทัน สื่อออนไลน์ในเด็กและเยาวชน เพื่อท าหน้าที่พิจารณาศึกษาและจัดท ารายงานข้อมูลสถานการณ์ และปัญหาภัยออนไลน์ต่อเด็กและเยาวชน กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องคุ้มครอง เด็กบนโลกออนไลน์ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งข้อเสนอแนะด้านต่าง ๆ เพื่อจัดท าเป็น ข้อเสนอต่อวุฒิสภา รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการจึงได้จัดท า “ข้อเสนอ เชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระท าความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์” เพื่อผลักดัน กฎหมายและให้เกิดการจัดการกับปัญหาการใช้สื่อออนไลน์ของเด็กไทย จ านวน ๓ ด้าน ประกอบดัวย ๑. ด้านกฎหมาย ๑.๑ เสนอให้กระทรวงยุติธรรมท างานร่วมกับคณะอนุกรรมการปรับปรุงกฎหมาย เกี่ยวกับเด็กให้เป็นไปตามมาตรฐานรัฐธรรมนูญและอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ภายใต้คณะกรรมการ ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) น าร่างบทบัญญัติว่าด้วยการกระท าผิดต่อเด็ก ผ่านสื่อออนไลน์ไปปรับปรุงแก้ไขหรือเพิ่มเติมในประมวลกฎหมายอาญาเพื่อให้เท่าทันกับสถานการณ์ ภัยออนไลน์ที่ก าลังคุกคามเด็กและเยาวชนไทย ร่างฯ นี้ มีเนื้อหาครอบคลุมฐานความผิด ๕ ประเภท ได้แก่ การพูดคุยเรื่องเพศ ที่ไม่เหมาะสม (Sexting) การล่อลวงเด็กเพื่อวัตถุประสงค์ทางเพศ (Online Grooming) การแบล็กเมล ทางเพศ (Sextortion) การติดตามคุกคามออนไลน์ (Cyber Stalking) และการกลั่นแกล้งรังแกออนไลน์ (Cyber Bullying) ) ซึ่งร่างฯ นี้ ได้ผ่านกระบวนการการรับฟังความคิดเห็นตามที่ก าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา ๗๗ ด้วยแล้ว จ านวน ๓ ครั้ง หากร่างฯ นี้ได้ถูกน าไปผลักดันเพื่อปรับปรุงเพิ่มเติม ในประมวลกฎหมายอาญาออกมาบังคับใช้ได้เร็วเท่าใด ผู้บังคับใช้กฎหมายก็จะได้ใช้เป็นเครื่องมือ


(๒) ในการด าเนินการกับผู้กระท าผิดได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นได้เร็วเท่านั้น ซึ่งก็จะเป็นการเพิ่มมาตรฐาน การคุ้มครองเด็กในประเทศไทยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลให้ดียิ่งขึ้นด้วย ๑.๒ เสนอให้มีการติดตามการบังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยขอให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติท างานร่วมกับกระทรวงยุติธรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พัฒนาศักยภาพผู้บังคับใช้ กฎหมายและสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องในการป้องกัน ปราบปราม และปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชน จากภัยออนไลน์ ตั้งแต่พนักงานเจ้าหน้าที่คุ้มครองเด็กที่เริ่มรับคดีเกี่ยวกับเด็กและคดีออนไลน์ พนักงาน สืบสวน พนักงานสอบสวน เจ้าหน้าที่นิติวิทยาศาสตร์ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ พนักงานฝ่าย ปกครอง ทนายความ อัยการ ผู้พิพากษา พนักงานเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงบุคคลแวดล้อมเด็ก เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในลักษณะพิเศษและความยุ่งยากซับซ้อนของคดีออนไลน์ การด าเนินการกับ พยานหลักฐานทางดิจิทัล มาตรฐานการท างานและการพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับเด็กในการใช้สื่อ ออนไลน์ในระดับสากล โดยเฉพาะคดีการล่อลวง ละเมิดทางเพศ การแสวงหาประโยชน์ทางเพศเด็ก ผ่านสื่อออนไลน์ เนื่องจากมาตรการทางด้านกฎหมายจะมีประสิทธิภาพเต็มที่ หากผู้บังคับใช้กฎหมาย และสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้องได้ท าความเข้าใจร่วมกัน ตีความกฎหมายไปในทิศทางเดียวกัน และได้พัฒนา มาตรฐานการท างานร่วมกัน ๑.๓ เสนอให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ท างานร่วมกับกระทรวงยุติธรรม กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงภาคประชาสังคม พัฒนาฐานข้อมูลผู้กระท าผิดและผู้เสียหาย และมีระบบส่งต่อข้อมูลให้เครือข่ายและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อการท างานป้องกัน ปราบปราม คุ้มครองและช่วยเหลือเยียวยาเด็กและเยาวชน ตลอดจน การน าไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการก าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนจาก ภัยออนไลน์ ๒. ด้านสังคม ๒.๑ เสนอให้ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ท างานร่วมกับส านักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ –Thailand Institute of Justice) สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาการสอบสวนและการด าเนินคดี สถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศ (TDRI - Thailand Development Research Institute) และหน่วยงานวิจัย อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สถาบันการศึกษา และกองทุนที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน ตลอดจนภาคประชาสังคม ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการวิจัย การสร้างองค์ความรู้ การจัดการความรู้ และการเผยแพร่ความรู้ เพื่อน ามาใช้ในการก าหนดนโยบายหรือมาตรการป้องกัน ปราบปราม คุ้มครอง และช่วยเหลือเยียวยา เด็กและเยาวชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยออนไลน์ เช่น การศึกษาความเป็นไปได้ในการน าระบบ การขึ้นทะเบียนอาชญากรผู้กระท าผิดทางเพศต่อเด็กมาใช้เพื่อก าหนดมาตรการป้องกันการกระท าซ้ า และเพิ่มระดับการคุ้มครองเด็กให้มากยิ่งขึ้น การฟื้นฟูเยียวยาเด็กและเยาวชนจนสามารถกลับคืนสู่สังคม โดยปกติสุข เป็นต้น


(๓) ๒.๒ เสนอให้กระทรวงการอุดมศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการ ท างานร่วมกับกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ส านักงานต ารวจ แห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข และ หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงกองทุนต่าง ๆ โดยเฉพาะกองทุนที่เกี่ยวข้อง กับเด็กและเยาวชน ตลอดจนภาคประชาสังคม ในการรณรงค์ส่งเสริมและจัดกิจกรรมให้ความรู้สร้าง ความตระหนักแก่เด็กและเยาวชนเกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยออนไลน์อย่างต่อเนื่อง เพื่อมีทักษะ ป้องกันตนเองไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของการทารุณกรรม การถูกละเมิด และภัยออนไลน์ ซึ่งเป็นสิ่งส าคัญ จ าเป็นที่จะต้องด าเนินการทั้งการศึกษาในระบบและนอกระบบ รวมถึงต้องสอนให้เด็ก เยาวชน และผู้ใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ทุกคนรู้เท่าทัน สามารถจัดการความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น บนโลกออนไลน์ได้ ๒.๓ เสนอให้กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ท างานร่วมกับกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์กระทรวงมหาดไทย กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กองทุนต่าง ๆ โดยเฉพาะกองทุนที่เกี่ยวข้องกับ เด็กและเยาวชน รวมถึงภาคประชาสังคม ส่งเสริมพัฒนากลไกการสร้างความตระหนักสาธารณะ ในทุกระดับ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดเวทีสาธารณะ และจัดกิจกรรม สร้างเสริมพัฒนาศักยภาพแก่เด็ก เยาวชน ครอบครัว และบุคคลแวดล้อมเด็ก เพื่อให้รู้เท่าทันสื่อ พร้อม ผลักดันให้มีการน าแนวปฏิบัติในการคุ้มครองป้องกันภัยต่อเด็กส าหรับครอบครัว ไปใช้อย่างทั่วถึง ในทุกระดับทั่วทุกภูมิภาค รวมถึงการจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ส าหรับพ่อแม่ผู้ปกครองและบุคคล แวดล้อมเด็ก เกี่ยวกับภัยและการป้องกันภัยออนไลน์ การดูแลบุตรหลานในยุคดิจิทัล การสร้างบรรทัด ฐานที่ดีของสังคม การส่งเสริมให้ครอบครัวเป็นต้นแบบทั้งในเรื่องของการใช้สื่อ เพื่อเป็นแบบอย่าง ในการปฏิบัติส าหรับเด็กและเยาวชน ๒.๔ เสนอให้กรมประชาสัมพันธ์ และส านักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ท างานร่วมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม กระทรวงวัฒนธรรม และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันผลักดันสื่อทุกแขนง รวมถึงสื่อ บุคคล และองค์กรวิชาชีพสื่อ ให้ด าเนินการสื่อสารสาธารณะเพื่อสร้างความตระหนักรู้เรื่องภัย และการป้องกันภัยออนไลน์ รวมถึงความจ าเป็นของการมีกฎหมายที่เท่าทันกับสถานการณ์เพื่อรับมือ กับภัยออนไลน์รูปแบบใหม่ ๆ ที่ก าลังคุกคามเด็กและเยาวชนที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ร่วมกันเสนอแนะ ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องในการรับมือกับภัยออนไลน์ และเตรียมความพร้อมให้กับประชาชนส าหรับ การบังคับใช้กฎหมายที่จะมีขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ ๓. ด้านการสื่อสารและสร้างการมีส่วนร่วม ๓.๑ เสนอให้กรมประชาสัมพันธ์ และส านักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ท างานร่วมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงวัฒนธรรม และภาคส่วนอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน ภาคประชาสังคม เร่งส่งเสริม สนับสนุนการผลิตและเผยแพร่เนื้อหา (content) ที่เป็นประโยชน์ สร้างสรรค์ และส่งเสริมให้เกิด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มพื้นที่สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ให้มากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งสนับสนุนและพัฒนา


(๔) ผู้สร้างสรรค์เนื้อหา (content) ผ่านแพลตฟอร์มต่าง ๆ เพื่อให้เกิดกระบวนการสื่อสารที่สร้างสรรค์ ในสังคมไทยอย่างกว้างขวางและเท่าทันกับสถานการณ์ ๓.๒ เสนอให้ส านักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ท างานร่วมกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวง วัฒนธรรม และส านักงานต ารวจแห่งชาติ พัฒนามาตรการส่งเสริมความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม ในการก ากับดูแลและเฝ้าระวังป้องกันภัยคุกคามออนไลน์ ที่มีต่อเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะภาคธุรกิจ เช่น ผู้ประกอบการด้านการสื่อสารโทรคมนาคม ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ผู้ผลิตเนื้อหา ผู้ให้บริการเกมอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ให้บริการเกมออนไลน์ และสถาบันทางการเงิน ในการก าหนดมาตรฐานการคุ้มครองเด็กในการประกอบธุรกิจตามหลัก มาตรฐานสากล ๓.๓ เสนอให้กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ก าหนดให้มีวันการใช้อินเทอร์เน็ต ปลอดภัยแห่งชาติ (National Safer Internet Day) เพื ่อให้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ส ่งเสริม สร้างความตระหนักรู้และเห็นความส าคัญของการใช้อินเทอร์เน็ตอย ่างปลอดภัยสร้างสรรค์ และเป็นประโยชน์ต ่อสังคม ร ่วมกับองค์กรต ่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม ทั้งภายในประเทศและทั่วโลก ซึ่งในระดับสากลนั้นก าหนดไว้ในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี --------------------------------------------------


สารบัญ หน้า บทสรุปผู้บริหาร (๑) สารบัญ (๕) บทที่ ๑ บทน า ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและสภาพปัญหา ๑ ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๒ ๑.๓ ขอบเขตของการพิจารณาศึกษา ๒ ๑.๔ วิธีการพิจารณาศึกษา ๒ ๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๒ บทที่ ๒ การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ ๓ ๒.๑ สถานการณ์ปัญหาภัยจากสื่อออนไลน์ที่มีต่อเด็กและเยาวชน ๓ ๒.๑.๑ ผลส ารวจสถานการณ์เด็กไทยกับภัยออนไลน์โดยศูนย์ประสานงาน ขับเคลื่อนการส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชน ในการใช้สื่อออนไลน์ร่วมกับมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย ๓ ๒.๑.๒ ผลส ารวจสถานการณ์เด็กไทยกับภัยออนไลน์โดยส านักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ร่วมกับส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และสถาบัน DQ ๔ ๒.๑.๓ สถิติการรับแจ้งสื่อละเมิดทางเพศเด็กออนไลน์ที่เว็บไซต์ ไทยฮอตไลน์ โดยมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย ๗ ๒.๑.๔ สถิติการด าเนินคดีละเมิดและแสวงหาประโยชน์ทางเพศเด็กออนไลน์ โดยเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย ๘ ๒.๒ กรณีศึกษาแนวทางการคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์ของต่างประเทศ ๑๐ ๒.๒.๑ ประเทศนิวซีแลนด์ ๑๐ ๒.๒.๒ สหราชอาณาจักร ๑๐ ๒.๒.๓ ประเทศจีน ๑๑


(๖) หน้า บทที่ ๒ การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ (ต่อ) ๒.๓ แนวทางการปกป้องคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์ของประเทศไทย ๑๑ ๒.๓.๑ ด้านการปกป้องคุ้มครอง ๑๑ ๒.๓.๒ ด้านการวิจัยและสร้างองค์ความรู้ ๑๒ ๒.๓.๓ ด้านการบ าบัดเยียวยา ดูแลผลกระทบ ๑๓ ๒.๓.๔ ด้านกลไกการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑๓ ๒.๓.๕ ด้านการเสริมสร้างศักยภาพเด็ก เยาวชน และบุคคลแวดล้อม ๑๔ ๒.๓.๖ ด้านการสร้างความตระหนักสาธารณะ ๑๔ ๒.๔ กฎหมายคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์ ๑๕ ๒.๔.๑ การประยุกต์ใช้กฎหมายที่มีอยู่ของไทยในการคุ้มครองเด็ก บนโลกออนไลน์จากเอกสารแนวปฏิบัติส าหรับผู้บังคับใช้กฎหมาย ในกรณีการล่วงละเมิดต่อเด็กในโลกออนไลน์ เขียนโดย พ.ต.ต.ดร.ชวนัสถ์ เจนการ ๑๕ ๒.๔.๒ รายงานการศึกษาและให้ข้อเสนอแนะการปรับปรุงกฎหมาย เกี่ยวกับการส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์ โดย ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช และ รศ. คณาธิป ทองรวีวงศ์ ๒๘ ๒.๕ ร่างบทบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ ๓๓ บทที่ ๓ ข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการ ๓๕ บรรณานุกรม ๓๙ ภาคผนวก ภาคผนวก ก - ร่างบทบัญญัติว่าด้วยการกระท าผิดต่อเด็กผ่านสื่อออนไลน์ ภาคผนวก ข - สรุปผลการจัดเสวนา เรื่อง “ท าไมต้องมี...กฎหมายว่าด้วยการกระท าผิดต่อเด็กผ่าน สื่อออนไลน์”เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุม หมายเลข ๒๗๐๒ ชั้น ๒๗ อาคารสุขประพฤติ ถนนประชาชื่น กรุงเทพมหานคร ภาคผนวก ค - รายชื่อคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา คณะอนุกรรมาธิการ และคณะท างาน เสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อฯ


บทที่ ๑ บทน ำ ๑.๑ ควำมเป็นมำและสภำพปัญหำ เด็กสมัยนี้เติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล พวกเขาเรียนรู้วิธีการใช้เทคโนโลยี เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและความต้องการต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว แต่ขณะเดียวกันก็เข้าถึงภัย และความเสี่ยงที่มากับเทคโนโลยีด้วย อินเทอร์เน็ตท าให้รูปแบบการทารุณกรรมและการแสวงหา ประโยชน์จากเด็กเปลี่ยนแปลงไป คนร้ายใช้อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารสร้างสัมพันธ์ กับเด็ก เมื่อเด็กไว้วางใจก็นัดพบแล้วล่วงละเมิดทางเพศ การปลอมแปลงตัวตนบนโลกออนไลน์ เพื่อหลอกเอาภาพหรือวิดีโอลับส่วนตัวของเด็กไปขาย การทารุณกรรมทางจิตใจเด็กผ่านการแชร์ภาพ หรือเรื่องราวการละเมิดเด็ก การกลั่นแกล้งรังแกกันของเด็ก การเสพติดเกมและการพนัน การเลียนแบบพฤติกรรมความรุนแรง ฯลฯ ปรากฏให้เห็นเป็นข่าวอยู่บ่อยครั้ง และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เรื่อย ๆ เด็กมากกว่า ๘๐% เข้าถึงอินเทอร์เน็ตผ่านทางสมาร์ทโฟนซึ่งพกติดตัวเกือบตลอดเวลาโดย พ่อแม่ผู้ปกครองเป็นคนซื้อหามาให้ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้มีการชี้แนะเตือนภัยหรือก าหนดกฎกติกาการใช้ งาน เด็กที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับผลกระทบจากสื่อออนไลน์มีแนวโน้มอายุน้อยลง เนื่องจากเริ่มใช้สื่อ ตั้งแต่ยังเล็ก และใช้เวลาอยู่บนโลกออนไลน์นานขึ้น ข่าวภัยออนไลน์ต่อเด็กและเยาวชนที่ปรากฏในหน้าสื่อ ตัวอย่างกรณีการแสวงหา ประโยชน์ทางเพศจากเด็ก เช่น เด็กชายหลายร้อยคนถูกล่อลวงหลอกถ่ายคลิปหวิวขายผ่านสื่อโซเชียล เด็กทั้งชายและหญิงถูกแก๊งโมเดลลิ่งปลอมหลอกถ่ายแบบส่วนตัวและละเมิดทางเพศโดยอ้างว่า สามารถพาเข้าวงการดารา-นางแบบ/นายแบบ กรณีของน้องกิ่งไผ่อายุ ๙ ขวบที่มีคลิปเต้นยั่วยวน แสดงพฤติกรรมทางเพศ ปรากฏใน application TikTok ก็เชื่อว่ามีผู้ใหญ่ที่ละเมิดและแสวงหา ประโยชน์ทางเพศกับเด็ก โน้มน้าวชักจูงหรือบังคับให้น้องท าเพื่อน าคลิปไปขายท าเงินในกลุ่มพวกใคร่ เด็ก (Pedophile) กรณีตัวอย่างของการกลั่นแกล้งรังแกออนไลน์ เช่น เด็กชายยิงเพื่อนเพราะถูก ล้อเลียนเรื่องเพศ เด็กหญิงฆ่าตัวตายด้วยถูกเพื่อนเหยียดเรื่องฐานะยากจน แต่งตัวสกปรก และ สติปัญญาไม่ดี เด็กหญิงถูกครูยึดโทรศัพท์มือถือไปเปิดข้อความแช็ตข้อความส่วนตัวโชว์ให้เพื่อน ๆ อ่านก่อให้เกิดความอับอายจนผูกคอตาย การสื่อสารเชิงชู้สาวกับเด็ก ในกรณีของพระที่พูดคุย เชิงชู้สาวกับเด็กมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๑ เป็นเวลา ๕ เดือน มีแม้กระทั่งข้อความ “อยากกอดจูบ รักเสมอ อยากเจอมาก อยากนอนด้วย” ซึ่งแม่ของเด็กได้แจ้งความ แต่ต ารวจแจ้งว่า ไม่สามารถ ด าเนินคดีอะไรได้เพราะยังไม่ผิดกฎหมาย ยังไม่มีการแตะเนื้อต้องตัว ฯลฯ คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ได้ตระหนักถึงปัญหาภัยออนไลน์ที่ก าลังคุกคามเด็กและเยาวชนไทย ซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ นอกจากแนวทางเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อให้กับเด็กและเยาวชน การกระตุ้นให้สังคมทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชนร่วมกันรับผิดชอบดูแลปกป้องคุ้มครองเด็ก และเยาวชนบนโลกออนไลน์แล้ว การมีกฎหมายที่เท่าทันกับสถานการณ์ก็เป็นอีกหนึ่งมาตรการส าคัญ ที่ช่วยรับมือกับปัญหา จึงได้มอบหมายให้คณะท างานเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในเด็ก


๒ และเยาวชน พิจารณาศึกษาสถานการณ์และปัญหาภัยออนไลน์ต่อเด็กและเยาวชน และกฎหมาย ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน าไปสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระท าผิดต่อเด็ก ผ่านสื่อออนไลน์ต่อไป ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๑.๒.๑ เพื่อศึกษาสถานการณ์และปัญหาภัยออนไลน์ต่อเด็กและเยาวชน และแนวทาง การใช้กฎหมายปกป้องคุ้มครองเด็กบนโลกออนไลน์ ๑.๒.๒ เพื่อจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระท าผิดต่อเด็ก ผ่านสื่อออนไลน์ เสนอต่อวุฒิสภา รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑.๓ ขอบเขตของกำรพิจำรณำศึกษำ ๑.๓.๑ ขอบเขตด้านเนื้อหา คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ วุฒิสภา โดยคณะท างาน เสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในเด็กและเยาวชน ศึกษาข้อมูลสถานการณ์และปัญหาภัยออนไลน์ ต่อเด็กและเยาวชน และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๑.๓.๒ ขอบเขตด้านระยะเวลา คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมฯ วุฒิสภา โดยคณะท างาน เสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในเด็กและเยาวชน ศึกษารวบรวมข้อมูล และรับฟังความคิดเห็น จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระหว่างเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓ – ตุลาคม ๒๕๖๔ ๑.๔ วิธีกำรพิจำรณำศึกษำ ๑.๔.๑ ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง อาทิ กฎหมาย เอกสารวิชาการ รายงาน การศึกษาวิจัย และบทความทางวิชาการ ๑.๔.๒ จัดสัมมนาเพื่อรับฟังข้อมูล ข้อคิดเห็น ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ จากทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้อง ๑.๕ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ๑.๕.๑ ได้รับทราบข้อมูลสถานการณ์ และปัญห าภัยออนไลน์ต่อเด็กและเยาวชน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องคุ้มครองเด็กบนโลกออนไลน์ ๑.๕.๒ ได้ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อผลักดันกฎหมายว่าด้วยการกระท าผิดต่อเด็ก ผ่านสื่อออนไลน์ เสนอต่อวุฒิสภา รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


บทที่ ๒ การพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ ๒.๑ สถานการณ์ปัญหาภัยจากสื่อออนไลน์ที่มีต่อเด็กและเยาวชน ๒.๑.๑ ผลส ารวจสถานการณ์เด็กไทยกับภัยออนไลน์โดยศูนย์ประสานงานขับเคลื่อน การส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชนในการใช้สื่อออนไลน์ร่วมกับมูลนิธิอินเทอร์เน็ต ร่วมพัฒนาไทย ผลส ำรวจสถำนกำรณ์เด็กไทยกับภัยออนไลน์ ปีพ.ศ. ๒๕๖๒ โดยศูนย์ประสำนงำน ขับเคลื่อนกำรส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กและเยำวชนในกำรใช้สื่อออนไลน์หรือโคแพท (COPAT - Child Online Protection Action Thailand) ภำยใต้กรมกิจกำรเด็กและเยำวชน กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกับมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนำไทย ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่ำงเป็นเด็กอำยุ ๖-๑๘ ปี จ ำนวน ๑๕,๓๑๘ คน พบว่ำ เด็กร้อยละ ๓๙ ใช้อินเทอร์เน็ต ๖-๑๐ ชั่วโมงต่อวัน ร้อยละ ๓๘ เล่นเกมออนไลน์มำกกว่ำ ๓ ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งกำรใช้มำกเกินไป เสี่ยงต่อกำรเสพติดเกมและอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นปัญหำทำงสุขภำพจิต เด็ก ๑ ใน ๓ เคยถูกกลั่นแกล้ง รังแกทำงออนไลน์ เพศทำงเลือกโดนมำกที่สุด คือ ๑ ใน ๒ เด็กร้อยละ ๔๐ ไม่ได้บอกใครเกี่ยวกับ เรื่องที่โดนกลั่นแกล้งรังแก สร้ำงควำมทุกข์ เก็บกด หดหู่ บำดแผลทำงใจให้กับเด็ก ปัญหำสุขภำพจิต อำจส่งผลต่อสุขภำพทำงกำย เช่น นอนไม่หลับ เจ็บป่วยเรื้อรัง เป็นโรคหวำดระแวง อำจน ำไปสู่ ปัญหำติดเหล้ำหรือใช้สำรเสพติด ท ำร้ำยตัวเองจนถึงคิดฆ่ำตัวตำย เด็กร้อยละ ๗๔ เข้ำถึงสื่อลำมกอนำจำรทำงออนไลน์ร้อยละ ๕๐ เคยเห็นสื่อลำมก อนำจำรเด็ก เด็กร้อยละ ๖ เคยครอบครองและเผยแพร่สื่อลำมกอนำจำรเด็ก ซึ่งเป็นกำรกระท ำ ที่ผิดกฎหมำย เด็กร้อยละ ๒ ยอมรับว่ำเคยบันทึกภำพหรือวิดีโอตนเองในลักษณะลำมกอนำจำร แล้วส่งไปให้คนอื่นด้วย เด็กร้อยละ ๒๕ (๓,๘๙๒ คน) ยอมรับว่ำเคยนัดพบกับเพื่อนออนไลน์ ซึ่งเมื่อไปตำมนัด ๑๙๙ คน ถูกเพื่อนที่นัดพบพูดจำล้อเลียน ดูถูก ท ำให้เสียใจ ๘๐ คน ถูกหลอกให้เสียเงินหรือ เสียทรัพย์สินอื่น ๆ ๗๓ คน ถูกละเมิดทำงเพศ ๖๗ คน ถูกทุบตีท ำร้ำยร่ำงกำย และ ๕๐ คน ถูกถ่ำยภำพหรือคลิปวิดีโอแล้วน ำไปประจำน และ/หรือข่มขู่เรียกเงิน กำรส ำรวจสถำนกำรณ์เด็กกับภัยออนไลน์ ประจ ำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ระหว่ำงเดือน พฤษภำคม – กรกฎำคม กลุ่มตัวอย่ำงเป็นเด็กมัธยมศึกษำ อำยุ ๑๒ - ๑๘ ปี จ ำนวน ๑๔,๙๔๕ คน ซึ่งเป็นช่วงวัยรุ่นที่มีอิสระในกำรใช้สื่อออนไลน์ค่อนข้ำงมำก เด็กร้อยละ ๘๙ เชื่อว่ำ ในโลกออนไลน์ มีภัยอันตรำยหรือควำมเสี่ยงต่ำง ๆ เด็กร้อยละ ๖๑ เชื่อว่ำ เมื่อเผชิญภัยหรือควำมเสี่ยงภัยออนไลน์ สำมำรถจัดกำรแก้ไขปัญหำนั้นได้เอง เด็กร้อยละ ๘๓ เชื่อว่ำ เมื่อเผชิญภัยหรือควำมเสี่ยงภัยออนไลน์ สำมำรถแนะน ำช่วยเหลือเพื่อนได้ เว็บไซต์หรือเนื้อหำข้อมูลที่ผิดกฎหมำย/เป็นอันตรำยที่เด็กเข้ำถึงมำกที่สุด ๔ อันดับแรก คือ ควำมรุนแรงร้อยละ ๔๙ กำรพนันร้อยละ ๒๒ สื่อลำมกอนำจำรร้อยละ ๒๐ และสำรเสพติด ร้อยละ ๑๖


๔ พฤติกรรมเสี่ยงภัยออนไลน์ ๖ อันดับแรกของเด็ก คือ ซื้อสินค้ำจำกร้ำนค้ำออนไลน์ ที่ไม่รู้จักร้อยละ ๔๔ รับคนแปลกหน้ำเป็นเพื่อนร้อยละ ๓๙ ใส่ข้อมูลส่วนตัวบนสื่อโซเชียลมีเดีย ร้อยละ ๒๖ แชร์ข้อมูลข่ำวสำรโดยไม่ได้ตรวจสอบ และน ำข้อมูล ภำพ เสียงมำใช้โดยไม่ได้ขออนุญำต หรืออ้ำงอิงแหล่งที่มำร้อยละ ๒๔ เท่ำกัน และเข้ำถึงสื่อลำมกอนำจำรออนไลน์ร้อยละ ๑๔ เมื่อสอบถำมเด็ก จ ำนวน ๒,๒๘๒ คน ที่โดนกลั่นแกล้งรังแกทำงออนไลน์หรือ กำรระรำนทำงไซเบอร์ (Cyber Bullying) พบว่ำ เด็กมีประสบกำรณ์นี้ โดยที่ร้อยละ ๖๙ ถูกเรียกด้วยถ้อยค ำหยำบคำย ดูหมิ่นร้อยละ ๔๔ ถูกด่ำทอ ให้ร้ำย ใส่ควำม ร้อยละ ๒๒ ถูกต่อต้ำน กีดกันออกจำกกลุ่มเพื่อนหรือสังคม เท่ำกับเรื่องถูกน ำเรื่องส่วนตัวหรือควำมลับไปเผยแพร่ ร้อยละ ๑๖ ถูกข่มขู่คุกคำม และร้อยละ ๙ ถูกตัดต่อรูปภำพ คลิปวิดีโอในทำงเสื่อมเสีย เด็ก ๒,๕๗๓ คน มีประสบกำรณ์เพื่อนรุ่นพี่หรือคนอื่นที่อำยุมำกกว่ำเข้ำมำพูดคุย เรื่องเพศที่ไม่เหมำะสม ส่งสื่อลำมกอนำจำรมำให้ (Sexting หรือ Grooming) พบว่ำ เด็กร้อยละ ๑๖ พูดคุยต่อ เพรำะคิดว่ำไม่ใช่เรื่องเสียหำยที่จะเรียนรู้เรื่องเพศ เด็กบำงคนยังส่งกลับสื่อลำมกอนำจำรด้วย เด็ก ๖๔๑ คน เคยบันทึก (Save) หรือดำวน์โหลด (Download) สื่อลำมกอนำจำร (ต่ ำกว่ำ ๑๘ ปี) มำเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล หรือพื้นที่ ส่วนตัวบนอินเทอร์เน็ต เด็กกลุ่มนี้ร้อยละ ๔๕ เคยส่ง (Send) ส่งต่อ (Forward) หรือแบ่งปัน (Share) สื่อลำมกอนำจำรเด็กที่ได้มำให้กับเพื่อนหรือคนอื่นทำงออนไลน์ เด็ก ๑๗๔ คน เคยถ่ำยภำพหรือวิดีโอตนเองในลักษณะเปลือย หรือลำมกอนำจำร เด็กกลุ่มนี้ร้อยละ ๓๒ ได้รับผลกระทบ เช่น ภำพหลุดท ำให้เสียหำยอับอำย ถูกข่มขู่แบลกเมล หรือมีคนติดต่อขอซื้อบริกำรทำงเพศ เด็ก ๒,๔๖๑ คน เคยนัดพบกับเพื่อนออนไลน์ ในช่วง ๑๒ เดือนที่ผ่ำนมำ เด็กกลุ่มนี้ ร้อยละ ๑๙ นัดพบมำกกว่ำ ๑๐ ครั้ง เมื่อไปตำมนัดหมำย เด็ก ๙๒๖ คน ถูกพูดจำล้อเลียน ดูถูก ท ำให้เสียใจ ๒๙๐ คน ถูกหลอกเอำทรัพย์สินเงินทอง ๑๐๒ คน ถูกทุบตีท ำร้ำยร่ำงกำย ๖๖ คน ถูกท ำอนำจำร ละเมิดทำงเพศ ๕๔ คน ถูกถ่ำยภำพ/คลิปวิดีโอเอำไปประจำน ๒.๑.๒ ผลส ารวจสถานการณ์เด็กไทยกับภัยออนไลน์โดยส านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ร่วมกับส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสถาบัน DQ ในปีพ.ศ. ๒๕๖๑ ส ำนักงำนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA (Digital Economy Development Agency) ภำยใต้กำรก ำกับดูแลของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมร่วมกับ ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (สพฐ.) กระทรวงศึกษำธิกำร และ DQ Institute ประเทศสิงคโปร์ เผยผลส ำรวจพฤติกรรมของเด็กและเยำวชนไทยที่มีอำยุระหว่ำง ๘-๑๒ ปี จ ำนวน ๑,๓๐๐ คนทั่วประเทศ ผ่ำนแบบส ำรวจออนไลน์ DQ Screen Time Test ร่วมกับกลุ่มตัวอย่ำง เด็กอื่น ๆ จำกทั่วโลกทั้งสิ้น ๓๗,๙๖๗ คน๑ พบว่ำ เด็กไทยมีโอกำสเสี่ยงภัยออนไลน์ร้อยละ ๖๐ เปรียบเทียบกับ ฟิลิปปินส์ ร้อยละ ๗๓ อินโดนีเซีย ร้อยละ ๗๑ เวียดนำม ร้อยละ ๖๘ สิงคโปร์ ๑ ดี ป้ ำ เผ ย ผ ล ส ำ ร ว จ พ ฤ ติ ก ร ร ม อ อ น ไ ล น์ เด็ ก ไท ย เสี่ ย ง ภัย คุ ก ค ำ ม ๔ แ บ บ , ส ืบ ค ้น https://www.depa.or.th/th/article-view/๔ เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม 256๔


๕ ร้อยละ ๕๔ ในขณะที่ค่ำเฉลี่ยของโลกอยู่ที่ร้อยละ ๕๖ เด็กไทยใช้เวลำกับหน้ำจอท่องอินเทอร์เน็ต ๓๕ ชั่วโมงต่อสัปดำห์ ซึ่งสูงกว่ำค่ำเฉลี่ยโลกถึง ๓ ชั่วโมง โดยเข้ำถึงอินเทอร์เน็ตผ่ำนสมำร์ทโฟน สูงสุดร้อยละ ๗๓ ในส่วนของภัยออนไลน์หรือปัญหำจำกกำรใช้ชีวิตในยุคดิจิทัลของเด็กไทยที่พบ มำกที่สุดมี ๔ ประเภท คือ (๑) กลั่นแกล้งรังแกทำงออนไลน์ ทั้งด่ำกันด้วยข้อควำมหยำบคำย ตัดต่อภำพ ร้อยละ ๔๙ (๒) เข้ำถึงสื่อลำมกและพูดคุยเรื่องเพศกับคนแปลกหน้ำออนไลน์ ร้อยละ ๑๙ (๓) ติดเกม ร้อยละ ๑๒ และ (๔) ถูกล่อลวงออกไปพบคนแปลกหน้ำ ร้อยละ ๗ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ สถำบัน DQ (Digital Intelligence Quotient Institute) ประเทศสิงคโปร์ ได้เก็บข้อมูลจำกกลุ่มตัวอย่ำงนักเรียนไทยระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔-๖ จ ำนวน ๔๔,๐๐๐ คน จำก ๔๕๐ โรงเรียนในทุกภำคของประเทศไทย๒ เพื่อจัดท ำดัชนีวัดควำมปลอดภัยส ำหรับเด็กในโลก ออนไลน์ หรือ Child Online Safety Index (COSI) จำกผลส ำรวจ พบว่ำ เด็กไทยอำยุ ๘-๑๙ ปี มีโอกำสเผชิญกับอันตรำยต่ำง ๆ ในโลกออนไลน์ ๖ ด้ำน ได้แก่ กำรกลั่นแกล้งรังแกทำงออนไลน์ กำรใช้เทคโนโลยีอย่ำงไม่มีวินัย ควำมเสี่ยงจำกเนื้อหำที่ไม่เหมำะสม ควำมเสี่ยงจำกกำรพบคนแปลก หน้ำ กำรถูกคุกคำมในโลกไซเบอร์ และควำมเสี่ยงต่อกำรเสื่อมเสียชื่อเสียง ๒ DQ ค ว า ม ฉ ล า ด ท าง ดิ จิ ทั ล ภู มิ คุ้ ม กั น Cyberbully โ ร ค ร ะ บ า ด ใน สัง ค ม โซ เชี ย ล , ส ืบ ค ้น https://thestandard.co/ais-dq-cyberbully-immunity/ เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม 256๔


๖ สถำบัน DQ ยังได้ออกรำยงำน COSI Report 2020 (Child Online Safety Index 2020) จัดอันดับประเทศที่มีควำมปลอดภัยออนไลน์ต่อเด็กมำกที่สุด ซึ่งประเทศไทยอยู่ในอันดับสุดท้ำย ใน 30 ประเทศ ในขณะที่ประเทศเพื่อนบ้ำนอย่ำงมำเลเซียและสิงคโปร์ถูกจัดอยู่ในอันดับต้น ๆ คือ อันดับที่ 3 และอันดับที่ 4 ดีกว่ำประเทศเกำหลีใต้ ญี่ปุ่น อินเดีย จีน นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกำ ฮ่องกง และสหรำชอำณำจักร ซึ่งประเทศไทยเรำได้คะแนนต่ ำสุด ๒ ใน ๖ ด้ำน ได้แก่ ๑) ภัยออนไลน์ (Cyber Risks)คือ กำรรับมือกับภัยออนไลน์ ไม่ว่ำจะเป็น Cyber bullying กำรเสพติดเทคโนโลยี ควำมเสี่ยง จำกเนื้อหำข้อมูลและกำรติดต่อกับเพื่อนออนไลน์ ควำมเสี่ยงที่จะเสื่อมเสียชื่อเสียง และ ๒) สมรรถนะ ทำงดิจิทัล (Digital Competency) ได้แก่ กำรจัดกำรอัตลักษณ์ตัวตนบนโลกดิจิทัล กำรจัดกำรเวลำ หน้ำจอ กำรรับมือกับกำรกลั่นแกล้งรังแกออนไลน์ กำรรักษำควำมปลอดภัยของระบบและข้อมูล ควำมตระหนักรู้อำรมณ์บนโลกดิจิทัล รอยเท้ำบนโลกดิจิทัล ทักษะกำรคิดวิเครำะห์ กำรจัดกำรรักษำ ควำมเป็นส่วนตัว ในขณะที่อีก ๔ ด้ำนคือ กำรใช้ดิจิทัลอย่ำงมีวินัย (Disciplined Digital Use) ได้แก่ กำรใช้เวลำอยู่หน้ำจอมำกเกินไป กำรใช้สื่อโซเชียลมีเดียและเล่นเกมมำกเกินไป กำรให้เด็กมีมือถือของ ตัวเอง แนวทำงปฏิบัติและให้กำรศึกษำ (Guidance & Education) ได้แก่ แนวทำงปฏิบัติส ำหรับ ผู้ปกครอง กำรให้ควำมรู้เรื่องควำมปลอดภัยในกำรใช้งำนออนไลน์ โครงสร้ำงทำงสังคม (Social Infrastructure) เช่น กรอบกฎหมำย โครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนควำมปลอดภัยไซเบอร์ กำรมีส่วนร่วมของ พลเมืองและผู้ประกอบกำรภำคอุตสำหกรรม และด้ำนสุดท้ำย คือ กำรเชื่อมต่อ (Connectivity) ได้แก่ กำรเข้ำถึงและควำมเร็วในกำรใช้งำน


๗ ๒.๑.๓ สถิติการรับแจ้งสื่อละเมิดทางเพศเด็กออนไลน์ที่เว็บไซต์ไทยฮอตไลน์ โดยมูลนิธิ อินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย ไทยฮอตไลน์สำยด่วนอินเทอร์เน็ต รับแจ้งเว็บไซต์ผิดกฎหมำยและเนื้อหำที่เป็น อันตรำยต ่อสังคมผ่ำนเว็บไซต์ www.thaihotline.org มำตั้งแต ่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ไทยฮอตไลน์ เป็นสมำชิกของเครือข่ำยฮอตไลน์สำกลอินโฮป (INHOPE – www.inhope.org) ซึ ่งมีสมำชิก ฮอตไลน์ใน ๔๘ ประเทศทั่วโลก ร่วมกันท ำงำนต่อสู้กับปัญหำสื่อลำมกอนำจำรเด็ก กำรละเมิด และกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศจำกเด็กบนโลกออนไลน์ ไทยฮอตไลน์ได้รับแจ้งกรณีสื ่อ ละเมิดทำงเพศเพิ ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื ่อง โดยจำกปี ๒๕๖๐ ได้รับแจ้ง ๑,๔๒๑ รำยกำร เพิ ่มเป็น ๔,๒๒๓ รำยกำร ในปี ๒๕๖๑ สูงถึง ๗,๙๒๑ รำยกำร ในปี ๒๕๖๒ และ ได้รับแจ้งมำกถึง ๑๑,๐๗๕ รำยกำร มีรำยงำนจำกเด็กได้รับกำรติดต ่อพูดคุยเรื ่องเพศไม ่เหมำะสมและส ่งสื ่อ ลำมกอนำจำรมำให้โดยไม ่ได้ร้องขอ (Sexting) มีผู้ใหญ ่เข้ำมำพูดคุยสร้ำงสัมพันธ์เพื ่อหวัง ละเมิดทำงเพศ (Grooming) มีคนโน้มน้ำวชักจูงให้กระท ำกิจกรรมทำงเพศต ่อหน้ำกล้อง ถ่ำยทอดสดให้กันและกันดูแต่กลับถูกอีกฝ่ำยบันทึกภำพไว้ขู่ประจำนแลกกับเงินค่ำไถ่หรือนัด พบเพื่อละเมิดทำงเพศ (Sextortion) เด็กชำยมีแนวโน้มตกเป็นเหยื่อของกำรละเมิดและแบล็กเมล ทำงเพศเพิ่มขึ้น คนร้ำยใช้วิธีกำรหลำกหลำยในกำรล่อลวงเด็กเพื ่อผลิตสื่อลำมกอนำจำร เช่น หลอกให้ถ่ำยโฆษณำสินค้ำที่เด็กต้องเปิดเผยเนื้อตัวร่ำงกำย ปลอมโปรไฟล์เป็นเด็กเพื่อเข้ำหำ เหยื่อเด็ก เป็นต้น 2559 2560 2561 2562 2563 2559 2560 2561 2562 2563


๘ ๒.๑.๔ สถิติการด าเนินคดีละเมิดและแสวงหาประโยชน์ทางเพศเด็กออนไลน์ โดยเจ้าหน้าที่ ผู้บังคับใช้กฎหมาย ชุดปฏิบัติกำรปรำบปรำมกำรล่วงละเมิดทำงเพศต่อเด็กทำงอินเทอร์เน็ต หรือ “ไทแคค” (TICAC - Thailand Internet Crimes Against Children) ส ำนักงำนต ำรวจแห ่งชำติ รำยงำน สถิติกำรตรวจค้นจับกุมผู้ต้องหำคดีคุกคำมทำงเพศเด็กบนโลกออนไลน์ว่ำมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปีพ.ศ. ๒๕๖๑ จับกุมได้ ๖๘ คดี ปีพ.ศ. ๒๕๖๒ จับกุมได้ ๗๒ คดี และปีพ.ศ. ๒๕๖๓ จับกุมได้ ๙๐ คดีปัญหำดูเหมือนจะรุนแรงขึ้นในช ่วงกำรแพร่ระบำดของโควิด-19 ระลอกแรก ตั้งแต่วันที่ ๑๕ เมษำยน ถึง ๙ มิถุนำยน ๒๕๖๓ ไทแคคสำมำรถจับกุมคนร้ำยได้มำกถึง ๕๓ คดี (จำกตลอดทั้งปี ๙๐ คดี) มีผู้เสียหำยเป็นเด็ก ๔๐ คน ที ่น ่ำตกใจ คือ เด็กที ่ถูกล ่วงละเมิด เป็นเด็กชำยถึง ๓๑ คน และเด็กหญิง ๙ คน มีภำพในสื ่อลำมกที ่ตรวจยึดได้กว ่ำ ๑๐๐ คน และยังยึดไฟล์สื ่อลำมกอนำจำรได้มำกถึง ๑๕๐,๐๐๐ ไฟล์ สื ่อลำมกอนำจำรเด็กเหล ่ำนี้คำดว ่ำ น่ำจะถูกน ำไปเผยแพร่ในตลำดมืดของผู้มีรสนิยมทำงเพศกับเด็ก ซึ่งไม่สำมำรถตำมลบได้หมดแม้ คนร้ำยจะถูกจับกุมด ำเนินคดีแล้วก็ตำม เมื่อเดือน กุมภำพันธ์ ๒๕๖๔ กรมสอบสวนคดีพิเศษ โดยกองกิจกำรต่ำงประเทศ และคดีอำชญ ำกรรมระหว่ำงประเทศ ภำยใต้ควำมร่วมมือของหน่ วยงำนทั้งภำยในประเทศ และต่ำงประเทศ จับกุมผู้ต้องหำคดีเนเน่โมเดลลิ่ง (Nene Modeling) พบคลังภำพลำมกอนำจำรเด็ก มำกกว่ำ ๕๐๐,๐๐๐ ไฟล์ภำพ ซึ่งนับว่ำเป็นกำรได้มำซึ่งภำพลำมกอนำจำรเด็กที่มำกที่สุด และเกี่ยวพัน กับกำรล่วงละเมิดทำงเพศเด็กจ ำนวนหลำยพันรำย


๙ เนเน่โมเดลลิ่ง ถือว่ำเป็นโมเดลลิ่งเด็กที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย คนร้ำยเข้ำหำ เหยื่อเด็กโดยตรงกับผู้ปกครองหรือครู โดยสอบถำมว่ำมีควำมสนใจจะให้บุตรหลำนเข้ำสู่วงกำรหรือไม่ ถ่ำยรูปกรอกใบสมัครทิ้งไว้ จำกนั้นติดต่อนัดหมำยเพื่อสร้ำงสัมพันธ์ตีสนิทกับเด็กด้วยกำรเลี้ยงอำหำร พำเล่นเกม เบี่ยงเบนควำมสนใจ เมื่อสบโอกำสแยกเด็กได้ก็จะท ำกำรล่วงละเมิดทำงเพศแล้ว บันทึกภำพหรือวิดีโอเอำไว้ไปข่มขู่เด็ก รวมถึงกำรน ำไปเผยแพร่ซื้อขำยแลกเปลี่ยนทำงอินเทอร์เน็ต กรณีนี้คนร้ำยถูกด ำเนินคดีในข้อหำน ำเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลำมก และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น ประชำชนทั่วไปอำจเข้ำถึงได้ กระท ำช ำเรำ และพยำยำมกระท ำช ำเรำเด็กอำยุยังไม่เกิน ๑๓ ปีซึ่งมิใช่ภริยำหรือสำมีของตน โดยเด็กนั้น จะยินยอมหรือไม่ก็ตำม กระท ำอนำจำรแก่เด็กอำยุไม่เกิน ๑๓ ปีโดยเด็กนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตำม และพำเด็กอำยุยังไม่เกิน ๑๕ ปีไปเพื่อกำรอนำจำร แม้ผู้นั้นจะยินยอมก็ตำม และพรำกเด็กอำยุ ยังไม่เกิน ๑๕ ปีไปเสียจำกบิดำ มำรดำ ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล


๑๐ ๒.๒ กรณีศึกษาแนวทางการคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์ของต่างประเทศ คณะกรรมำธิกำรได้พิจำรณำศึกษำแนวทำงกำรคุ้มครองเด็กในกำรใช้สื่อออนไลน์ใน ๓ ประเทศ จำก ๓ ทวีป ได้แก่ ประเทศนิวซีแลนด์ สหรำชอำณำจักร และจีน โดยพบข้อมูลแนวทำง กำรคุ้มครองเด็กและเยำวชนจำกสื่อออนไลน์ที่ส ำคัญ ดังนี้ ๒.๒.๑ ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ มีกฎหมำยกำรสื่อสำรออนไลน์ที่เป็นภัย (The Harmful Digital Communications Act) หรือ HDCA มีเป้ำหมำยเพื่อยับยั้ง ป้องกัน และลดผลกระทบจำก กำรสื่อสำรออนไลน์ที่เป็นภัยผ่ำนกำรส่งข้อควำม อีเมล์ เว็บไซต์ หรือกำรโพสต์ในสื่อสังคม ออนไลน์ต่ำง ๆ ซึ่งหมำยรวมถึง กำรกลั่นแกล้งรังแกทำงออนไลน์ (Cyberbullying) กำรคุกคำม (Harassment) กำรละเมิด (Abuse) และกำรแก้แค้นกันทำงภำพลำมกอนำจำร (Revenge porn) เจตนำรมณ์ของกฎหมำย คือ ต้องกำรให้กำรแก้ไขปัญหำเป็นไปอย่ำงรวดเร็ว นอกจำกนั้น นิวซีแลนด์ ยังให้ควำมส ำคัญกับกำรจัดกำรกับปัญหำสื่อลำมกอนำจำรเด็ก โดยกระทรวงมหำดไทยมีหน้ำที่ รับผิดชอบบังคับใช้กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับภำพลำมกอนำจำรเด็กของประเทศ ซึ่งเป็นกำรด ำเนินกำร ผ่ำนองค์กรที่ชื่อว่ำ Netsafe ซึ่งเป็นองค์กรที่ท ำงำนด้ำนควำมปลอดภัยไซเบอร์ ท ำหน้ำที่ เป็นหน่วยงำนพิเศษมีหน้ำที่จัดกำรกับข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับกำรสื่อสำรออนไลน์ที่เป็นภัย Netsafe ยังท ำงำนร่วมมือกับกระทรวง ศึกษำธิกำร และครูในทุกระดับในกำรจัดให้มีหลักสูตรระดับชำติ เพื่อสนับสนุนให้โรงเรียนมีกำรบูรณำกำรเทคโนโลยีเข้ำกับหลักสูตรกำรเรียนกำรสอน ๒.๒.๒ สหราชอาณาจักร สหรำชอำณำจักร มีศูนย์ป้องกันอำชญำกรรมและกำรล่วงละเมิดเด็กออนไลน์ (Child Exploitation and Online Protection Centre) หรือ CEOP เป็นหน่วยงำนหนึ่งในองค์กร ปรำบปรำมอำชญำกรรมแห่งชำติ(National Crime Agency) หรือ NCA กำรด ำเนินงำนของ CEOP ภำยใต้NCA มีกำรจัดท ำแนวทำงเชิงกลยุทธ์ในกำรคุ้มครองเด็กจำกกำรถูกแสวงหำประโยชน์และ จำกกำรถูกละเมิดทำงเพศ และคุ้มครองเด็กและเยำวชนที่อยู่ในภำวะเสี่ยงตกเป็นเหยื่อ และติดตำม ผู้กระท ำควำมผิดที่มีเป้ำหมำยไปที่เด็กในสหรำชอำณำจักรหรือต่ำงประเทศ ในด้ำนกำรเฝ้ำระวัง โดยภำคประชำสังคม สหรำชอำณำจักรมี NSPCC (National Society for the Prevention of Cruelty to Children) ซึ่งเป็นมูลนิธิเด็กที่มีควำมเชี่ยวชำญด้ำนกำรคุ้มครองเด็ก และ NSPCC เป็นมูลนิธิเด็ก เพียงมูลนิธิเดียวที่มีอ ำนำจตำมกฎหมำย (Statutory Powers) ท ำให้NSPCC สำมำรถด ำเนิน มำตรกำรต่ำงๆ เพื่อปกป้องเด็กที่อยู่ในภำวะเสี่ยงต่อกำรถูกละเมิดได้ นอกจำกนี้ สหรำชอำณำจักรยัง มีมูลนิธิเฝ้ำระวังอินเทอร์เน็ต (Internet Watch Foundation) หรือ IWF ซึ่งเป็นองค์กรอิสระไม่ แสวงหำก ำไร ก ำกับดูแลตนเอง โดยได้รับกำรสนับสนุนจำกกลุ่มอุตสำหกรรมอินเทอร์เน็ต และ คณะกรรมกำรยุโรป (European Commission) IWF ยังมีกำรให้บริกำรสำยด่วนอินเทอร์เน็ต (internet Hotline) แก่สำธำรณชน และผู้เชี่ยวชำญทำงด้ำนไอที ในกำรแจ้งข่ำวเนื้อหำออนไลน์ที่มี ควำมสุ่มเสี่ยงต่อกำรผิดกฎหมำย และท ำหน้ำที่เป็นหน่วยงำนในกำร “notice and takedown” เนื้อหำดังกล่ำว เมื่อได้รับกำรแจ้งข่ำว


๑๑ ๒.๒.๓ ประเทศจีน ประเทศจีน มีหน่วยงำน Cyberspace Administration of China หรือ CAC ซึ่งเป็น หน่วยงำนหลักที่ก ำกับดูแลอินเทอร์เน็ตของประเทศ ประเทศจีนได้ออกกฎข้อบังคับที่เกี่ยวกับกำร ปกป้องคุ้มครองข้อมูลส่วนตัวออนไลน์ของเด็ก (Regulation on Cyber Protection of Children’s Personal Information) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในวันที่ ๑ ตุลำคม ๒๕๖๒ กฎหมำยฉบับนี้เป็นกฎหมำย ฉบับแรกที่ก ำกับดูแลกำรใช้ข้อมูลส่วนตัวของเด็กโดยเฉพำะ กฎหมำยดังกล่ำวได้ก ำหนดอำยุของเด็ก ในเรื่องควำมเป็นส่วนตัวออนไลน์ และก ำหนดเงื่อนไขประเภทของกิจกรรมออนไลน์ที่ต้องได้รับ กำรก ำกับดูแลโดยก ำหนดข้อบังคับที่ผู้ให้บริกำรเครือข่ำย (Network Operator) ต้องปฏิบัติ ประเทศจีนยังมีกฎหมำยที่ก ำหนดกลไกควบคุมเกมที่มีลักษณะกำรพนันออนไลน์ กฎหมำยที่เกี่ยวกับ เกมออนไลน์ และกฎหมำยที่ก ำหนดกลไกกำรป้องกันกำรติดเกมออนไลน์ของเด็กและเยำวชน กล่ำวโดยสรุป พบว่ำรัฐบำลในประเทศดังกล่ำวข้ำงต้นได้น ำกฎหมำยและนโยบำย ด้ำนกำรคุ้มครองเด็กจำกเนื้อหำที่ไม่เหมำะสมส ำหรับเด็ก กำรแสวงหำประโยชน์และกำรละเมิดทำง เพศเด็กมำใช้ เช่น กำรก ำหนดให้กำรแสวงหำประโยชน์และกำรละเมิดทำงเพศเด็กในทุกรูปแบบ เป็นอำชญำกรรม ซึ่งหมำยรวมถึงกำรครอบครองสื่อละเมิดทำงเพศเด็กด้วย และกำรกลั่นแกล้ง บนโลกออนไลน์เป็นอำชญำกรรม เป็นต้น นอกจำกกลุ่มกฎหมำยดังกล่ำวแล้ว ยังมีกฎหมำย ที่คุ้มครองข้อมูลและกำรใช้ข้อมูลของเด็กออนไลน์ เป็นต้น โดยประเทศจีนให้ควำมส ำคัญกับกฎหมำย ที่เกี่ยวกับปัญหำกำรติดเกมในเด็กเป็นพิเศษ นอกจำกนั้น ประเทศเหล่ำนี้ยังมีควำมร่วมมือกันระหว่ำง ประเทศและระหว่ำงหน่วยงำนบังคับใช้กฎหมำย ผ่ำนต ำรวจสำกล (INTERPOL) และหน่วย ปฏิบัติกำรเฉพำะกิจเสมือนระดับโลก (VIRTUAL GLOBAL TASKFORCE) หรือVGT ที่เป็นควำมร่วมมือ กันระหว่ำงหน่วยงำนบังคับใช้กฎหมำยของประเทศต่ำง ๆ ในกำรรับมือกับอำชญำกรรมทำงไซเบอร์ ซึ่งหมำยรวมถึงกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศเด็กบนโลกออนไลน์ด้วย ๒.๓ แนวทางการปกป้องคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์ของประเทศไทย คณะกรรมำธิกำรได้พิจำรณำศึกษำแนวทำงกำรปกป้องคุ้มครองเด็กในกำรใช้สื่อออนไลน์ ของประเทศไทย โดยมีกำรด ำเนินกำรภำยใต้ยุทธศำสตร์ส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กและเยำวชน ในกำรใช้สื่อออนไลน์ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ โดยมีสำระส ำคัญ ดังนี้ ๒.๓.๑ ด้านการปกป้องคุ้มครอง ปรำกฏอยู่ในยุทธศำสตร์ที่ ๒ กำรจัดระบบปกป้องคุ้มครองและเยียวยำเด็กและเยำวชน ประกอบด้วย ๔ มำตรกำร ได้แก่ ๑) ด้ำนกำรพัฒนำและปรับปรุงกฎหมำย (๑) ปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยให้ทันต่อสถำนกำรณ์และมีประสิทธิภำพ (๒) ผลักดันให้มีกฎ ระเบียบ หรือกฎหมำยใหม่เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กและ เยำวชน โดยมีสำระส ำคัญเกี่ยวกับกำรกลั่นแกล้งรังแกกันของเด็กและเยำวชนทำงสื่อออนไลน์ (Cyber Bullying) กำรควบคุมเนื้อหำสื่อออนไลน์ที่ไม่เหมำะสมและเป็นอันตรำยต่อเด็กและเยำวชน


๑๒ (Harmful Content) กำรละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กและเยำวชนออนไลน์ (Data Protection) และอื่น ๆ โดยให้สอดคล้องกับมำตรฐำนสำกล และกลุ่มอำยุของเด็กและเยำวชน ๒) กำรบังคับใช้กฎหมำยและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (๑) สร้ำงและพัฒนำกลไกทำงกฎหมำยและให้มีกำรบังคับใช้กฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และแนวปฏิบัติอย่ำงจริงจัง เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กและเยำวชนจำกกำรใช้สื่อออนไลน์ (๒) พัฒนำเครื่องมือทำงเทคโนโลยีเพื่อใช้ในกำรควบคุมดูแลเรื่องเวลำ กำรเข้ำถึง และกำรใช้งำนให้สอดคล้องรองรับกับกฎหมำยและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (๓) ปรับปรุงและพัฒนำคู่มือกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำนในระดับ ต่ำง ๆ เช่น กฎหมำย เทคโนโลยี เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมำยและระเบียบที่เกี่ยวข้อง (๔) กำรก ำหนดให้ผู้ประกอบกำรต้องสนับสนุนข้อมูลพื้นฐำนของผู้ใช้บริกำร เพื่อกำรบังคับใช้กฎหมำย (Basic service information request from Law Enforcement) ๓) ด้ำนกำรส่งเสริมจริยธรรมและจรรยำบรรณของผู้ประกอบกำร (๑) ก ำหนดม ำต รกำรท ำงกฎหม ำยในก ำรลงโทษผู้ป ระกอบกำรที่ผลิต หรือให้บริกำรสื่อออนไลน์ที่ไม่ปลอดภัยและไม่เหมำะสมแก่เด็กและเยำวชน โดยค ำนึงกลุ่มอำยุ ของเด็กและเยำวชน เช่น กลุ่มอำยุ๘ -๑๓ ปี กลุ่มอำยุ๑๔ -๑๘ ปี และกลุ่มอำยุ๑๙ - ๒๕ ปี เป็นต้น (๒) ก ำหนดมำตรกำรทำงกฎหมำยเพื่อส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของผู้ประกอบกำร และผู้ให้บริกำรอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider) มีควำมรับผิดชอบต่อสิทธิมนุษยชน ของเด็ก และเยำวชนในกำรใช้อินเทอร์เน็ต และช่วยขจัดควำมรุนแรงต่อเด็กและเยำวชน บนอินเทอร์เน็ต รวมทั้งก ำหนดให้มีแนวทำงกำรปฏิบัติและมำตรกำรในกำรก ำกับดูแลตน เอง (Self-Regulation) ของผู้ประกอบกำร ๒.๓.๒ ด้านการวิจัยและสร้างองค์ความรู้ ปรำกฏอยู่ในยุทธศำสตร์ที่ ๓ กำรสร้ำงองค์ควำมรู้และกำรวิจัย ประกอบด้วย ๓ มำตรกำร ได้แก่ ๑) ก ำหนดและผลักดันประเด็นกำรรู้เท่ำทันสื่อออนไลน์ให้เป็นประเด็นกำรพัฒนำองค์ ควำมรู้ และกำรวิจัยในระดับประเทศ เช่น กำรศึกษำเกี่ยวกับผลกระทบสื่อที่มีต่อจิตวิทยำพัฒนำกำร ในทุกช่วงวัย งำนวิจัยเชิงประจักษ์ที่สร้ำงควำมเปลี่ยนแปลงด้ำนพฤติกรรมกำรใช้สื่อ กำรส่งเสริม ควำมรู้แนวปฏิบัติ กฎหมำย นโยบำย และงำนวิจัย เพื่อพัฒนำเครื่องมือกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ปรำบปรำม ๒) จัดหำและรวบรวมข้อมูลแหล่งเงินทุนสนับสนุนกำรพัฒนำองค์ควำมรู้และกำรวิจัย ทั้งในและต่ำงประเทศ ส่งเสริมให้เกิดกำรเชื่อมโยงแหล่งทุนและผู้ผลิตองค์ควำมรู้/นักวิจัย และจัดท ำ ควำมร่วมมือในกำรสนับสนุนเงินทุนในทุกภำคส่วน ทั้งในและต่ำงประเทศ ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกำรน ำองค์ควำมรู้จำกกำรวิจัยไปสู่กำรปฏิบัติ และขับเคลื่อนนโยบำยกำรพัฒนำและส่งเสริมกำรรู้เท่ำทันสื่อออนไลน์


๑๓ ๒.๓.๓ ด้านการบ าบัดเยียวยา ดูแลผลกระทบ ปรำกฏอยู่ในยุทธศำสตร์ที่ ๒ กำรจัดระบบปกป้องคุ้มครองและเยียวยำเด็กและเยำวชน “ด้ำนกำรช่วยเหลือ คุ้มครอง และเยียวยำ” ได้แก่ ๑) จัดให้มีระบบกำรช่วยเหลือเยียวยำผู้ก ระท ำผิดที่เป็นเด็กและเยำวชน ในด้ำนกำรแพทย์ สุขภำพจิต กำรสร้ำงควำมตระหนักรู้ กำรแก้ไขปัญหำด้วยตนเอง (Self-help) และกำรกลับคืนสู่สังคม ๒) ก ำหนดมำตรกำรจัดกำรผู้กระท ำควำมผิด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดกำรกระท ำผิดซ้ ำ ในกลุ่มผู้กระท ำควำมผิดตำมกระบวนกำรยุติธรรมทำงอำญำ ทั้งระดับชำติและระดับสำกล ๓) ก ำหนดให้มีมำตรกำรคุ้มครองบุคคล /หน่วยงำนรับแจ้งเหตุ และคุ้มครอง ผู้ที่ท ำหน้ำที่เป็นผู้เสียหำยแทนตัวเด็กและเยำวชน ๔) ก ำหนดมำตรกำรในกำรเยียวยำช่วยเหลือ ชดเชย และกำรจัดกำรข้อร้องเรียน ให้แก่เด็กและเยำวชนที่ได้รับผลกระทบหรือได้รับอันตรำยจำกกำรใช้สื่อออนไลน์ โดยมีกระบวนกำร ที่เข้ำถึงได้ ๕) บูรณำกำรกระบวนกำรสืบสวน สอบสวน และกำรให้ควำมดูแลเด็กและเยำวชน ที่เป็นผู้เสียหำยในระหว่ำงกำรสอบสวนและด ำเนินคดี ๖) จัดให้มีระบบเฝ้ำระวังในชุมชนเพื่อกำรช่วยเหลือคุ้มครองเด็กและเยำวชน ที่ถูกกระท ำควำมรุนแรงบนอินเทอร์เน็ตได้อย่ำงทันท่วงที เช่น สำยด่วนให้เด็กและเยำวชนร้องขอ ควำมช่วยเหลือ และแจ้งข่ำวสำร กำรบริกำรสถำนรองรับฉุกเฉิน เป็นต้น ๒.๓.๔ ด้านกลไกการบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปรำกฏตำมยุทธศำสตร์ที่ ๑ กำรพัฒนำกลไกและเครือข่ำยที่เป็นเอกภำพ และมี ประสิทธิภำพ ได้แก่ ๑) จัดตั้งคณะอนุกรรมกำรส่งเสริมกำรปกป้องคุ้มครองเด็กและเยำวชนในกำรใช้สื่อ ออนไลน์เป็นคณะอนุกรรมกำร ภำยใต้คณะกรรมกำรส่งเสริมกำรพัฒนำเด็กและเยำวชนแห่งชำติ และผลักดันให้เกิดศูนย์ประสำนงำนขับเคลื่อนกำรส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กและเยำวชน ในกำรใช้สื่อออนไลน์ ซึ่งได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรี เพื่อเป็นกลไกในกำรจัดท ำนโยบำย เป้ำหมำย และก ำกับติดตำมกำรด ำเนินงำนในระดับชำติให้บรรลุตำมเป้ำหมำย ๒) จัดตั้งคณะกรรมกำรติดตำมและประเมินผลกำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ฯ ที่เป็นอิสระ และควรประกอบด้วยผู้แทนหน่วยงำนภำครัฐ และภำคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้แทน จำกสภำเด็กและเยำวชน และเครือข่ำยเด็กและเยำวชน ๓) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีเครือข่ำยภำคประชำสังคม ที่ท ำงำนเชื่อมประสำน และบูรณำกำรกับกำรท ำงำนของภำครัฐ และผู้ประกอบกำรทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ ๔) ก ำหนดให้มีมำตรฐำนและแนวปฏิบัติระหว่ำงหน่วยงำนในกำรก ำกับดูแล เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กและเยำวชนในกำรใช้สื่อออนไลน์ รวมทั้งส่งเสริม และสนับสนุนให้เด็กและ เยำวชนมีส่วนร่วมในกำรจัดท ำนโยบำยและกำรน ำไปสู่กำรปฏิบัติ


๑๔ ๕) พัฒนำเชื่อมโยง hotline และ helpline โดยมีกำรพัฒนำมำตรฐำนกำรปฏิบัติ (Standard Operating Procedure : SOP) ของระบบปกป้อง และคุ้มครองเด็กและเยำวชน จำกสื่อออนไลน์และสร้ำงควำมเข้ำใจร่วมกัน ๖) พัฒนำกลไกเพื่อสนับสนุนกำรด ำเนินงำนร่วมกับองค์กรในระดับนำนำชำติ เช่น ให้มีฐำนข้อมูลระดับชำติที่สำมำรถเชื่อมโยงกับระบบฐำนข้อมูลของต ำรวจสำกล ๒.๓.๕ ด้านการเสริมสร้างศักยภาพเด็ก เยาวชน และบุคคลแวดล้อม กรอบในด้ำนนี้เป็นไปตำมยุทธศำสตร์ที่ ๔ กำรเสริมสร้ำงศักยภำพเด็ก เยำวชน และบุคคลแวดล้อม ได้แก่ ๑) สนับสนุนให้เกิดศูนย์ประสำนงำน/ปฏิบัติกำรในกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ พัฒนำทรัพยำกรกำรเรียนรู้ และหน่วยฝึกอบรม ด้ำนกำรรู้เท่ำทันสื่อออนไลน์ ๒) พัฒนำบุคลำกรภำครัฐ ผู้ประกอบกำร และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภำคส่วน ให้มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เชิงบูรณำกำรในบทบำทหน้ำที่ของตนเอง และบทบำทหน้ำที่ของเครือข่ำยกำรท ำงำน ที่เกี่ยวข้อง ๓) สร้ำงมำตรกำรจูงใจเพื่อส่งเสริมสนับสนุนบุคคล และองค์กร ในกำรรู้เท่ำทันสื่อ และกำรปกป้อง คุ้มครองเด็กและเยำวชนจำกกำรใช้สื่อออนไลน์ ๒.๓.๖ ด้านการสร้างความตระหนักสาธารณะ ๑) สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ที่ ๕ กำรสร้ำงควำมตระหนักสำธำรณะ ๒) สอดคล้องกับแผนพัฒนำด้ำนกำรพัฒนำสื่อปลอดภัยและสร้ำงสรรค์ ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) ที่กระทรวงวัฒนธรรมเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำสื่อปลอดภัยและสร้ำงสรรค์ ประกอบด้วย ๔ ประเด็น ยุทธศำสตร์ดังนี้ ยุทธศำสตร์ที่ ๑ กำรสนับสนุนกำรผลิตและเผยแพร่สื่อปลอดภัยและสร้ำงสรรค์ ยุทธศำสตร์ที่ ๒ กำรส่งเสริมควำมรู้เท่ำทันสื่อ พฤติกรรมกำรใช้สื่อเชิงสร้ำงสรรค์ เฝ้ำระวัง และตรวจสอบสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้ำงสรรค์ ยุทธศำสตร์ที่ ๓ กำรบูรณำกำรกลไกกำรท ำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ และสร้ำง กำรมีส่วนร่วม จำกทุกภำคส่วนผ่ำนกำรสื่อสำรสำธำรณะ ยุทธศำสตร์ที่ ๔ กำรพัฒนำและบูรณ ำกำรกำรบังคับใช้กฎหมำยที่เกี่ยวข้อง กับสื่อปลอดภัยและสร้ำงสรรค์


๑๕ ๒.๔ กฎหมายคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์ คณะกรรมำธิกำรได้พิจำรณำศึกษำกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรปกป้องคุ้มครองเด็กได้ข้อมูล ดังนี้ ๒.๔.๑ การประยุกต์ใช้กฎหมายที่มีอยู่ของไทยในการคุ้มครองเด็กบนโลกออนไลน์ จากเอกสารแนวปฏิบัติส าหรับผู้บังคับใช้กฎหมายในกรณีการล่วงละเมิดต่อเด็กในโลกออนไลน์ เขียนโดย พ.ต.ต.ดร.ชวนัสถ์ เจนการ ๓ ในกำรกระท ำบำงประเภท ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมำยเกี่ยวกับกำรล่วงละเมิดต่อเด็ก บนโลกออนไลน์เป็นกำรเฉพำะ ในทำงปฏิบัติจึงจ ำเป็นต้องปรับใช้กฎหมำยเท่ำที่มีอยู่ในกำรคุ้มครอง เด็กบนโลกออนไลน์ ท ำให้ขำดประสิทธิภำพและไม่สำมำรถรับมือกับภัยออนไลน์รูปแบบใหม่ ๆ เช่น กำรพูดคุยหรือสื่อสำรเรื่องทำงเพศที่ไม่เหมำะสม (Sexting) กำรล่อลวงเข้ำหำเด็กเพื่อ วัตถุประสงค์ทำงเพศ (Online Grooming) หรือแม้บำงกำรกระท ำจะมีกฎหมำยก ำหนดไว้แล้วแต่ก็มี อัตรำโทษที่น้อยกว่ำที่ผู้กระท ำผิดควรได้รับ เช่น กำรติดตำมคุกคำมทำงไซเบอร์ (Cyber Stalking) กำรกลั่นแกล้งรังแกทำงออนไลน์ (Cyber Bullying) เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันใช้บทบัญญัติในมำตรำ ๓๙๗ ซึ่งเป็นควำมผิดลหุโทษมำปรับใช้อยู่ ซึ่งอัตรำส่วนของควำมรุนแรงในกำรกระท ำควำมผิด และผู้กระทบที่ผู้เสียหำยได้รับ เมื่อเทียบกับอัตรำโทษแล้วยังไม่เหมำะสมกัน บทบัญญัติของกฎหมำยที่มีอยู่ในปัจจุบันของประเทศไทย ก ำหนดควำมผิดหลำยประกำร ที่มีลักษณะเป็นกำรละเมิดเด็ก หำกมีกำรนัดพบและมีกำรล่วงละเมิดทำงเพศ มีควำมผิดฐำนข่มขืน กระท ำช ำเรำหรือกระท ำอนำจำรกรณีเด็กไม่ยินยอม หรือแม้กรณีเด็กยินยอมในกรณีที่เด็กอำยุ น้อยกว่ำ ๑๕ ปี ก็มีควำมผิดฐำนกระท ำช ำเรำเด็กหรือกระท ำอนำจำรเด็ก แต่ถ้ำหำกไม่ปรำกฏ หลักฐำนว่ำผู้กระท ำผิดมีเพศสัมพันธ์กับเด็กหรือมีกำรกระท ำอนำจำร หรือเป็นกรณีเด็กอำยุ ระหว่ำง ๑๕-๑๘ ปี ก็อำจใช้ข้อหำพรำกผู้เยำว์ในกำรด ำเนินคดีกับผู้กระท ำผิดได้ จะเห็นได้ว่ำ กำรละเมิดทำงเพศออนไลน์ เช่น กำรส่งข้อควำมพูดคุยเรื่องทำงเพศที่ไม่ เหมำะสม ยังไม่มีกฎหมำยก ำหนดเอำผิดเพื่อคุ้มครองผู้ถูกกระท ำในกฎหมำยแต่อย่ำงใด นอกจำกนี้ กำรล่อลวงให้เด็กกระท ำทำงเพศที่ไม่เหมำะสม เช่น หลอกลวงให้เด็กเปลื้องเสื้อผ้ำเพื่อโชว์ของสงวน หรือให้เด็กส ำเร็จควำมใคร่ เพื่อที่จะได้บันทึกภำพกำรกระท ำดังกล่ำวไว้ ถ้ำเด็กมิได้ท ำตำม ก็ยังไม่ เป็นควำมผิดฐำนกระท ำอนำจำรแต่อย่ำงใด ซึ่งจะเป็นได้ว่ำทั้งกำรพูดคุยเรื่องทำงเพศที่ไม่เหมำะสม (Sexting) และกำรล่อลวงให้เด็กกระท ำเรื่องในทำงเพศ (Grooming) ในทำงจิตวิทยำเด็กแล้วเด็ก ล้วนได้รับผลกระทบต่อพฤตินิสัย และส่งผลกระทบต่อจิตใจ ซึ่งเป็นผลกระทบที่แตกต่ำงจำก ผลกระทบที่เกิดจำกควำมผิดฐำนอนำจำรหรือกระท ำช ำเรำตำมที่กฎหมำยก ำหนดไว้ ๓ แนวปฏิบัติส าหรับผู้บังคับใช้กฎหมาย ในกรณีการล่วงละเมิดต่อเด็กในโลกออนไลน์เขียนโดย พ.ต.ต.ดร.ชวนัสถ์ เจนการ ภายใต้โครงการ “ขับเคลื่อนงานคุ้มครองเด็กจากภัยออนไลน์” โดย มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย สนับสนุน โดย ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


๑๖ กรณีกำรกระท ำผิดเกี่ยวกับสื่อลำมกอนำจำรเด็ก มีกฎหมำยก ำหนดควำมผิดเกี่ยวกับ กำรครอบครอง เผยแพร่ จ ำหน่ำย หรือมีไว้เพื่อวัตถุประสงค์ทำงกำรค้ำซึ่งสื่อลำมกอนำจำรเด็ก ก ำหนดไว้ชัดเจน และมีควำมผิดกรณีน ำเข้ำสื่อลำมกอนำจำรสู่ระบบคอมพิวเตอร์ กรณีข่มขู่กรรโชกออนไลน์มีควำมผิดฐำนกรรโชกทรัพย์และรีดเอำทรัพย์ แต่หำกไม่ได้ เรียกร้องเอำทรัพย์ แต่เป็นกำรเรียกร้องหำผลประโยชน์ทำงเพศอื่น ก็ต้องใช้บทบัญญัติกฎหมำยใน ควำมผิดทำงเพศมำปรับใช้ ส่วนกำรกลั่นแกล้งรังแกมีควำมผิดฐำนท ำให้เกิดอันตรำยต่อจิตใจ หมิ่น ประมำท กำรน ำเข้ำข้อมูลอันเป็นเท็จ ซึ่งเป็นโทษหนัก ปัจจุบันมีบทบัญญัติตำมกฎหมำยเป็นกำร เฉพำะเกี่ยวกับกำรข่มเหงรังแกเป็นควำมผิดลหุโทษ สำมำรถใช้บังคับกรณีกำรกลั่นแกล้งรังแกได้ แต่ในบำงกรณีของกำรกลั่นแกล้งรังแกออนไลน์ที่เกิดขึ้น ท ำให้เหยื่อถึงแก่ควำมตำย หรือได้รับ อันตรำยสำหัส ดังนั้น ควำมผิดลหุโทษ อำจถูกมองว่ำไม่เหมำะสมเมื่อเทียบระหว่ำงควำมรุนแรงที่ เหยื่อได้รับกับอัตรำโทษที่ผู้กระท ำผิดควรได้รับ กรณีมีการล่วงละเมิดทางร่างกาย กำรล่วงละเมิดต่อเด็กในโลกออนไลน์ หำกเป็นกำรกระท ำที่คนร้ำยสำมำรถเข้ำถึง ตัวเหยื่อหรือสำมำรถล่อลวงเด็กให้ยอมมีควำมสัมพันธ์ทำงเพศด้วย แม้จะเป็นกำรกระท ำทำงเพศ ในลักษณะของกำรกอด จูบ ลูบ คล ำ ไม่ถึงกับมีเพศสัมพันธ์กับเด็กก็ตำม ก็มีบทบัญญัติตำมประมวล กฎหมำยอำญำในหมวดควำมผิดทำงเพศก ำหนดเป็นควำมผิดไว้ เป็นควำมผิดฐำนข่มขืนกระท ำช ำเรำ หรืออนำจำร แล้วแต่กรณี หรือแม้จะไม่มีหลักฐำนกำรล่วงละเมิดทำงเพศ ก็อำจด ำเนินคดีกับคนร้ำย ในควำมผิดฐำนพรำกผู้เยำว์ได้ ข่มขืนกระท าช าเรา กรณีที่มีกำรล่วงละเมิดต่อเด็กจนถึงขั้นมีเพศสัมพันธ์ด้วย ซึ่งหำกเด็กไม่ยินยอม หรือเป็นกำรใช้ก ำลังบังคับ หรือข่มขู่ว่ำจะท ำให้เกิดอันตรำยทั้งต่อตัวเด็กเองหรือคนที่เด็กรัก (เช่น ครอบครัว เพื่อน) หรือข่มขู่ว่ำจะเปิดเผยควำมลับหรือเปิดเผยภำพถ่ำยหรือคลิปวิดีโอเพื่อบังคับ ให้เด็กยอมมีเพศสัมพันธ์ด้วย สำมำรถด ำเนินคดีกับคนร้ำยในควำมผิดฐำนข่มขืนกระท ำช ำเรำผู้อื่น กำรมีเพศสัมพันธ์ ในที่นี้หมำยรวมถึงกำรร่วมเพศทำงช่องคลอดหรือทวำรหนัก ทั้งกรณีคนร้ำยกระท ำต่อเหยื่อไม่ว่ำจะเป็นกำรกระท ำต่อเด็กหญิงหรือเด็กชำย ข่มขืนกระท าช าเรา มาตรา ๒๗๖ ผู้ใดข่มขืนกระท ำช ำเรำผู้อื่นโดย ขู่เข็ญด้วยประกำรใด ๆ โดยใช้ก ำลังประทุษร้ำย โดยผู้อื่นนั้นอยู่ในภำวะที่ไม่สำมำรถขัดขืนได้หรือโดยท ำให้ผู้อื่นนั้นเข้ำใจผิดว่ำตนเป็นบุคคลอื่น ต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่แปดหมื่นบำทถึงสี่แสนบำท


๑๗ กระท าอนาจาร กรณีที่ยังไม่ปรำกฏว่ำผู้กระท ำผิดได้ล่วงละเมิด ต่อเด็กถึงขั้นมีเพศสัมพันธ์ด้วยแต่มีกำรสัมผัสร่ำงกำย หรือมีกำรกอด จูบ ลูบ คล ำในทำงที่ไม่สมควรทำงเพศ หรือมีกำรใช้อวัยวะหรือวัตถุอื่นที่ไม่ใช่อวัยวะเพศ ล่วงล้ ำอวัยวะเพศหรือทำงทวำรหนักของเด็ก หำกเป็น กรณีที่เด็กไม่ยินยอมหรือถูกบังคับขู่เข็ญก็จะเป็น ควำมผิดฐำนกระท ำอนำจำรตำมกฎหมำย เกณฑ์อายุของเหยื่อ ในกรณีที่เหยื่อยินยอมให้คนร้ำยมีควำมสัมพันธ์ ทำงเพศโดยสมัครใจ จะไม่ถือเป็นควำมผิดฐำนข่มขืน กระท ำช ำเรำหรือกระท ำอนำจำรดังกล่ำวข้ำงต้น แต่หำกเป็นกำรกระท ำต่อเด็กอายุไม่เกิน ๑๕ ปีก็เป็น ควำมผิดฐำน “กระท าช าเราเด็ก” หรือแม้จะเป็น เพียงแค่มีกำรสัมผัสร่ำงกำยหรือกอดจูบลูบคล ำในทำง ที่ไม่สมควรทำงเพศต่อเด็ก แม้เด็กจะยินยอมก็ตำม ก็เป็นควำมผิดฐำน “กระท าอนาจารเด็ก”ตำมกฎหมำย กระท าอนาจาร มาตรา ๒๗๘ ผู้ใดกระท ำอนำจำรแก่บุคคล อำยุกว่ำสิบห้ำปีโดยขู่เข็ญด้วยประกำรใด ๆ โดยใช้ก ำลังประทุษร้ำย โดยบุคคลนั้นอยู่ใน ภำวะที่ไม่สำมำรถขัดขืนได้หรือโดยท ำให้ บุ ค ค ลนั้ น เข้ ำใจผิด ว่ ำตนเป็ นบุ ค ค ลอื่น ต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกินสิบปี หรือปรับ ไม่เกินสองแสนบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ ถ้ำกำรกระท ำควำมผิดต ำมวรรคหนึ่ง เป็นกำรกระท ำโดยใช้วัตถุหรืออวัยวะอื่น ซึ่งมิใช่อวัยวะเพศล่วงล้ ำอวัยวะเพศหรือ ทวำรหนักของบุคคลนั้น ผู้กระท ำต้องระวำง โทษจ ำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ แปดหมื่นบำทถึงสี่แสนบำท กระท าช าเราเด็ก มาตรา ๒๗๗ ผู้ใดกระท ำช ำเรำเด็กอำยุยังไม่เกินสิบห้ำปีซึ่งมิใช่ภริยำหรือสำมีของตน โดยเด็กนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตำม ต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่ห้ำปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ หนึ่งแสนบำทถึงสี่แสนบำท ถ้ำกำรกระท ำควำมผิดตำมวรรคหนึ่ง เป็นกำรกระท ำแก่เด็กอำยุยังไม่เกินสิบสำมปี ต้องระวำง โทษจ ำคุกตั้งแต่เจ็ดปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนสี่หมื่นบำทถึงสี่แสนบำท หรือจ ำคุกตลอดชีวิต กระท าอนาจารเด็ก มาตรา ๒๗๙ ผู้ใดกระท ำอนำจำรแก่เด็กอำยุยังไม่เกินสิบห้ำปี โดยเด็กนั้นจะยินยอม หรือไม่ก็ตำม ต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกินสิบปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ ถ้ำกำรกระท ำควำมผิดตำมวรรคหนึ่ง เป็นกำรกระท ำแก่เด็กอำยุไม่เกินสิบสำมปี ต้องระวำง โทษจ ำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ


๑๘ พรากผู้เยาว์ ทั้งนี้ หำกเป็นกำรกระท ำผิดแก่เด็กที่มีอำยุระหว่ำง ๑๕-๑๘ ปี โดยที่เด็กยินยอม จะไม่เป็น ควำมผิดฐำนข่มขืนกระท ำอนำจำร กระท ำช ำเรำเด็ก หรืออนำจำรเด็ก ตำมที่กล่ำวมำข้ำงต้น ซึ่งยังเป็น ช่องว่ำงของกฎหมำย อย่ำงไรก็ดี ลักษณะควำมผิดดังกล่ำวถือเป็นกำรน ำตัวเด็กไปจำกควำมดูแลของบิดำ มำรดำหรือผู้ปกครอง ซึ่งผู้บังคับใช้กฎหมำยอำจสำมำรถปรับใช้ควำมผิดฐำนพรำกผู้เยำว์ในกำรด ำเนินคดี กับผู้กระท ำผิดได้ โดยแม้จะไม่ปรำกฏหลักฐำนเกี่ยวกับกำรล่วงละเมิดทำงเพศ เพียงแค่พำเด็กไป โดยไม่มีเหตุสมควร ก็ถือเป็นควำมผิดพรำกผู้เยำว์ สำมำรถด ำเนินคดีกับผู้กระท ำผิดได้ บทเพิ่มโทษกรณีผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศถึงแก่ความตายหรือรับอันตรายสาหัส ควำมผิดฐำนข่มขืนกระท ำช ำเรำ กระท ำอนำจำร กระท ำช ำเรำเด็ก หรือกระท ำอนำจำรเด็ก ตำมที่กล่ำวมำข้ำงต้น หำกเป็นกำรกระท ำที่เป็นเหตุให้เหยื่อถึงแก่ควำมตำย หรือได้รับอันตรำยสำหัส กฎหมำยมีบทเพิ่มโทษตำมกฎหมำยให้ผู้กระท ำผิดรับโทษหนักขึ้น ไม่ว่ำเหยื่อผู้ถูกกระท ำ จะให้ควำมยินยอมหรือไม่ก็ตำม พรากผู้เยาว์ มาตรา ๓๑๗ ผู้ใดโดยปรำศจำกเหตุอันสมควร พรำกเด็กอำยุยังไม่เกินสิบห้ำปี ไปเสียจำกบิดำมำรดำ ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล ต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่สำมปีถึงสิบห้ำปี และปรับตั้งแต่หกพันบำทถึงสำมหมื่นบำท ผู้ใดโดยทุจริต ซื้อ จ ำหน่ำย หรือรับตัวเด็กซึ่งถูกพรำกตำมวรรคแรก ต้องระวำงโทษ เช่นเดียวกับผู้พรำกนั้น ถ้ำควำมผิดตำมมำตรำนี้ได้กระท ำเพื่อหำก ำไร หรือเพื่อกำรอนำจำร ผู้กระท ำต้องระวำง โทษจ ำคุกตั้งแต่ห้ำปีถึงยี่สิบปีและปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบำทถึงสี่หมื่นบำท มาตรา ๓๑๘ ผู้ใดพรำกผู้เยำว์อำยุกว่ำสิบห้ำปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปีไปเสีย จำกบิดำมำรดำ ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยผู้เยำว์นั้นไม่เต็มใจไปด้วย ต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่ สองปีถึงสิบปีและปรับตั้งแต่สี่หมื่นบำทถึงสองแสนบำท ผู้ใดโดยทุจริต ซื้อ จ ำหน่ำย หรือรับตัวผู้เยำว์ซึ่งถูกพรำกตำมวรรคแรก ต้องระวำงโทษ เช่นเดียวกับผู้พรำกนั้น ถ้ำควำมผิดตำมมำตรำนี้ได้กระท ำเพื่อหำก ำไร หรือเพื่อกำรอนำจำร ผู้กระท ำต้องระวำง โทษจ ำคุกตั้งแต่สำมปีถึงสิบห้ำปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบำทถึงสำมแสนบำท มาตรา ๓๑๙ ผู้ใดพรำกผู้เยำว์อำยุกว่ำสิบห้ำปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปีไปเสียจำกบิดำ มำรดำ ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล เพื่อหำก ำไร หรือเพื่อกำรอนำจำร โดยผู้เยำว์นั้นเต็มใจไปด้วย ต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่สองปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบำทถึงสองแสนบำท


๑๙ บทเพิ่มโทษกรณีมีการบันทึกภาพหรือเสียง ในกรณีที่มีกำรตรวจค้นพบภำพหรือวิดีโอที่มีกำรบันทึกภำพกำรมีเพศสัมพันธ์หรือกำร กระท ำอนำจำรกับเด็ก หรือเป็นกรณีมีกำรสืบสวนจำกเครือข่ำยสังคมออนไลน์จนได้ภำพกำรร่วมเพศ หรือกระท ำอนำจำรกับเด็กได้ ซึ่งหำกมีกำรรวบรวมภำพดังกล่ำวเป็นพยำนหลักฐำนที่สำมำรถ เชื่อมโยงว่ำมีกำรน ำภำพหรือวิดีโอมำแสวงหำประโยชน์ หรือมีกำรส่งต่อภำพหรือวิดีโอไปยังบุคคลอื่น ก็จะเป็นเหตุให้ผู้กระท ำผิดรับโทษหนักขึ้นได้ บทเพิ่มโทษกรณีบันทึกภาพการกระท าช าเราหรือการกระท าอนาจาร มาตรา ๒๘๐/๑ ถ้ำผู้กระท ำควำมผิดตำมมำตรำ ๒๗๖ มำตรำ ๒๗๗ มำตรำ ๒๗๘ หรือมำตรำ ๒๗๙ ได้บันทึกภำพหรือเสียงกำรกระท ำช ำเรำหรือกำรกระท ำอนำจำรนั้นไว้ เพื่อแสวงหำประโยชน์โดยมิชอบส ำหรับตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวำงโทษหนักกว่ำที่บัญญัติไว้ใน มำตรำนั้น ๆ หนึ่งในสำม ถ้ำผู้กระท ำควำมผิดตำมวรรคหนึ่ง เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งภำพหรือเสียงกำรกระท ำช ำเรำ หรือกำรกระท ำอนำจำรที่บันทึกไว้ ต้องระวำงโทษหนักกว่ำที่บัญญัติไว้ในมำตรำนั้น ๆ กึ่งหนึ่ง กรณีข่มขืนกระท าช าเรา หรือกระท าช าเราเด็ก มาตรา ๒๗๗ ทวิถ้ำกำรกระท ำควำมผิดตำมมำตรำ ๒๗๖ วรรคหนึ่ง หรือมำตรำ ๒๗๗ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระท ำ (๑) รับอันตรำยสำหัส ผู้กระท ำต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่สิบห้ำปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่ สำมแสนบำทถึงสี่แสนบำท หรือจ ำคุกตลอดชีวิต (๒) ถึงแก่ควำมตำย ผู้กระท ำต้องระวำงโทษประหำรชีวิต หรือจ ำคุกตลอดชีวิต กรณีกระท าอนาจาร หรือกระท าอนาจารเด็ก มาตรา ๒๘๐ ถ้ำกำรกระท ำควำมผิดตำมมำตรำ ๒๗๘ หรือมำตรำ ๒๗๙ เป็นเหตุให้ ผู้ถูกกระท ำ (๑) รับอันตรำยสำหัส ผู้กระท ำต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่ห้ำปีถึงยี่สิบปีและปรับตั้งแต่ หนึ่งแสนบำทถึงสี่แสนบำท หรือจ ำคุกตลอดชีวิต (๒) ถึงแก่ควำมตำย ผู้กระท ำต้องระวำงโทษประหำรชีวิต หรือจ ำคุกตลอดชีวิต


๒๐ กรณีการผลิตหรือเผยแพร่สื่อลามกอนาจารเด็ก กรณีผู้กระท ำผิดในลักษณะของสื่อละเมิดทำงเพศเด็ก (CSAM - Child Sexual Abuse Material) ไม่ว่ำจะเป็นกรณีมีสื่อดังกล่ำวไว้ในครอบครอง หรือเป็นผู้ผลิตหรือจัดจ ำหน่ำยสื่อลำมก อน ำจ ำรเด็ก ห รือเผยแพ ร่ส่งต่อสื่อล ำมกอน ำจำรเด็กภ ำยใน กลุ่มผู้มี รสนิ ยมท ำงเพ ศ แบบเดียวกัน หรือท ำให้แพร่หลำยซึ่งสื่อลำมกอนำจำรเด็ก ไม่ว่ำจะอยู่ในรูปแบบรูปภำพ ไฟล์เสียง วิดีโอ หรือกำรถ่ำยทอดสด (Live Streaming) มีควำมผิดฐำนมีไว้ในครอบครองสื่อลำมกอนำจำรเด็ก เพื่อแสวงหำผลประโยชน์ทำงเพศหรือส่งต่อไปให้ผู้อื่น อย่ำงไรก็ดี กรณีกำรจับกุมด ำเนินคดีของสื่อล่วงละเมิดทำงเพศต่อเด็กนั้น จะต้องมีกำร ตรวจสอบพบสื่อลำมกอนำจำรของเด็กก่อน หำกเป็นช่วงระหว่ำงที่มีกำรเชิญชวน โน้มน้ำว ชักจูง ล่อหลอก ให้เด็กตำยใจ (Online Grooming) หรือเป็นช่วงที่ผู้กระท ำผิดก ำลังติดตำมคุกคำม (Cyber Stalking) เพื่อหำเหยื่อ แต่ยังไม่มีกำรผลิตหรือส่งภำพหรือสื่อลำมกอนำจำรของเด็ก ก็ยังไม่มีพยำนหลักฐำนเพียงพอจะเอำผิดกับผู้กระท ำผิด ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมำยเฉพำะ ในเชิงคุ้มครองที่จะน ำมำใช้จัดกำรกับกลุ่มผู้ประสงค์ร้ำยต่อเด็กในลักษณะดังกล่ำว ซึ่งปัจจุบัน อยู่ระหว่ำงกำรยกร่ำงหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมำย ครอบครองหรือส่งต่อสื่อลามกอนาจารเด็ก มำตรำ ๒๘๗/๑ ผู้ใดครอบครองสื่อลำมกอนำจำรเด็กเพื่อแสวงหำประโยชน์ในทำงเพศ ส ำหรับตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกินห้ำปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ ถ้ำผู้กระท ำควำมผิดตำมวรรคหนึ่ง ส่งต่อซึ่งสื่อลำมกอนำจำรเด็กแก่ผู้อื่น ต้องระวำง โทษจ ำคุกไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่นบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ มีสื่อลามกอนาจารเด็กเพื่อประสงค์แห่งการค้า หรือแจกจ่าย เผยแพร่ โฆษณา มำตรำ ๒๘๗/๒ ผู้ใดเพื่อควำมประสงค์แห่งกำรค้ำ หรือโดยกำรค้ำ เพื่อกำรแจกจ่ำย หรือเพื่อกำรแสดงอวดแก่ประชำชน ท ำ ผลิต มีไว้น ำเข้ำหรือยังให้น ำเข้ำในรำชอำณำจักร ส่งออกหรือยังให้ส่งออกไปนอกรำชอำณำจักร พำไปหรือยังให้พำไปหรือท ำให้แพร่หลำย โดยประกำรใด ๆ ซึ่งสื่อลำมกอนำจำรเด็ก (๑) ประกอบกำรค้ำ หรือมีส่วนหรือเข้ำเกี่ยวข้องในกำรค้ำเกี่ยวกับสื่อลำมกอนำจำรเด็ก จ่ำยแจกหรือแสดงอวดแก่ประชำชนหรือให้เช่ำสื่อลำมกอนำจำรเด็ก (๒) เพื่อจะช่วยกำรท ำให้แพร่หลำย หรือกำรค้ำสื่อลำมกอนำจำรเด็กแล้ว โฆษณำหรือ ไขข่ำวโดยประกำรใด ๆ ว่ำมีบุคคลกระท ำกำรอันเป็นควำมผิดตำมมำตรำนี้หรือโฆษณำหรือ ไขข่ำวว่ำสื่อลำมกอนำจำรเด็กดังกล่ำวแล้วจะหำได้จำกบุคคลใด หรือโดยวิธีใด ต้องระวำงโทษจ ำคุกตั้งแต่สำมปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบำทถึงสองแสนบำท


๒๑ ความผิดฐานค้ามนุษย์ กำรผลิตหรือเผยแพร่สื่อลำมกเกี่ยวกับเด็ก ซึ่งอำจได้มำจำกกำรล่อลวงหรือหลอกลวงเด็ก ผ่ำนช่องทำงออนไลน์ เช่น กำรล่อลวงให้ส่งภำพเปลือยหรือมีกำรเปิดเผยร่ำงกำย ซึ่งอำจจะมำจำก กำรล่อลวงโดยหลอกให้ของขวัญ ยำเสพติด หรือหลอกว่ำจะอุปกำระเลี้ยงดู กำรหลอก มีควำมสัมพันธ์ฉันท์คู่รักกับเด็ก หรือหลอกว่ำจะน ำเด็กเข้ำสู่วงกำรบันเทิง หรือล่อลวงว่ำจะให้เด็ก เป็นนำงแบบโฆษณำ ซึ่งเมื่อได้ภำพเด็กแล้วได้มีกำรน ำภำพไปแสวงหำประโยชน์ในทำงมิชอบ ในลักษณะของกำรแลกเปลี่ยนซื้อขำย ก็อำจเข้ำข่ำยเป็นกำรแสวงหำประโยชน์กับเด็ก (Child Exploitation) ในลักษณะของกำรผลิตสื่อลำมกอนำจำร แม้ตัวคนร้ำยกับเด็กอำจจะไม่ได้เจอหน้ำกัน เลยก็ตำม ก็อำจเข้ำข่ำยเป็นควำมผิดฐำนค้ำมนุษย์ ซึ่งในปัจจุบันเริ่มมีค ำพิพำกษำของศำลตัดสินให้ กำรแสวงหำประโยชน์กับเด็ก ในลักษณะของกำรแลกเปลี่ยนซื้อขำยสื่อลำมกอนำจำรเด็กในเว็บไซต์ หรือเครือข่ำยสังคมออนไลน์ก็เป็นควำมผิดฐำนค้ำมนุษย์ด้วย นอกเหนือจำกกำรผลิตหรือเผยแพร่ สื่อลำมกอนำจำรซึ่งเป็นควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ความผิดค้ามนุษย์ พ.ร.บ.ป้องกันและปรำบปรำมกำรค้ำมนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ป้องกัน และปรำบปรำมกำรค้ำมนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๖๒) มาตรา ๖ ผู้ใดกระท ำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นธุระจัดหำ ซื้อ ขำย จ ำหน่ำย พำมำจำกหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้อยู่อำศัย หรือรับไว้ซึ่งบุคคลใด โดยข่มขู่ ใช้ก ำลังบังคับ ลักพำตัว ฉ้อฉล หลอกลวง ใช้อ ำนำจ โดยมิชอบ ใช้อ ำนำจครอบง ำบุคคลด้วยเหตุที่อยู่ในภำวะอ่อนด้อยทำงร่ำงกำย จิตใจ กำรศึกษำ หรือทำงอื่นใดโดยมิชอบ ขู่เข็ญว่ำจะใช้กระบวนกำรทำงกฎหมำยโดยมิชอบ หรือโดยให้เงิน หรือ ผลประโยชน์อย่ำงอื่นแก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลบุคคลนั้น เพื่อให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแล ให้ควำมยินยอมแก่ผู้กระท ำควำมผิดในกำรแสวงหำประโยชน์จำกบุคคลที่ตนดูแล หรือ (๒) เป็นธุระจัดหำ ซื้อ ขำย จ ำหน่ำย พำมำจำกหรือส่งไปยังที่ใด หน่วงเหนี่ยวกักขัง จัดให้อยู่อำศัย หรือรับไว้ซึ่งเด็ก ถ้ำกำรกระท ำนั้นได้กระท ำโดยมีควำมมุ่งหมำยเพื่อเป็นกำรแสวงหำประโยชน์โดยมิชอบ ผู้นั้นกระท ำควำมผิดฐำนค้ำมนุษย์ กำรแสวงหำประโยชน์โดยมิชอบตำมวรรคหนึ่ง หมำยควำมว่ำ กำรแสวงหำประโยชน์ จำกกำรค้ำประเวณี กำรผลิตหรือเผยแพร่วัตถุหรือสื่อลำมก กำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศ ในรูปแบบอื่น กำรเอำคนลงเป็นทำสหรือให้มีฐำนะคล้ำยทำส กำรน ำคนมำขอทำน กำรตัดอวัยวะ เพื่อกำรค้ำ กำรบังคับใช้แรงงำนหรือบริกำร หรือกำรอื่นใดที่คล้ำยคลึงกันอันเป็นกำรขูดรีดบุคคล ไม่ว่ำบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตำม” หมายเหตุ: “เด็ก” ตำมกฎหมำยนี้ หมำยควำมว่ำ บุคคลผู้มีอำยุต่ ำกว่ำสิบแปดปี


๒๒ กำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศกับเด็กนั้น อำจเป็นกำรน ำเด็กมำให้บริกำรทำงเพศหรือ กิจกรรมทำงเพศในรูปแบบอื่น เช่น กำรล่อลวงเด็กมำค้ำประเวณี ล่อลวงมำท ำงำนพิเศษหรือบริกำร ลูกค้ำแล้วมีกำรแสวงหำประโยชน์ทำงเพศแอบแฝง หรือล่อลวงมำถ่ำยท ำสื่อลำมกอนำจำรเพื่อ เผยแพร่หรือจ ำหน่ำย หรือแม้แต่กำรส่งเสียเลี้ยงดูโดยแลกเปลี่ยนกับกำรมีควำมสัมพันธ์ทำงเพศก็อำจ เข้ำข่ำยเป็นควำมผิดค้ำมนุษย์ได้ ในปัจจุบันมีกำรใช้สื่อออนไลน์ทั้งในส่วนของกำรใช้สื่อออนไลน์เป็น เครื่องมือในกำรเป็นธุระจัดหำและโฆษณำเชิญชวนรับสมัครเด็กมำเข้ำสู่กระบวนกำรค้ำประเวณีหรือ กำรผลิตสื่อลำมก หรืออำจใช้สื่อออนไลน์เป็นช่องทำงในกำรติดต่อซื้อขำยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกำรค้ำ ประเวณีหรือสื่อลำมกอนำจำรเด็กก็ได้ กำรด ำเนินคดีข้อหำค้ำมนุษย์จะต้องมีกำรรวบรวมพยำนหลักฐำนที่แสดงให้เห็นถึง “เจตนา” ว่ำเป็นกำรแสวงหำประโยชน์กับเด็กในลักษณะใด มีกำรให้ผลประโยชน์ตอบแทนกับเด็ก หรือมีกำรหลอกว่ำจะมีกำรให้ผลประโยชน์ตอบแทนต่อเด็กในลักษณะใด และตัวคนร้ำยได้รับ ผลประโยชน์ตอบแทนในลักษณะใดด้วย ซึ่งกำรที่คนร้ำยได้ผลประโยชน์ตอบแทนในลักษณะใดนั้น ถือเป็นองค์ประกอบส ำคัญของควำมผิด ค้ำมนุษย์ ในปัจจุบัน แม้จะเป็นกำรค้ำสื่อลำมกอนำจำรเด็ก โดยที่ตัวคนร้ำยกับเด็กอำจไม่ได้เจอกันเลยก็ตำมหรือไม่ได้เป็นกำรน ำตัวเด็กมำค้ำโดยตรง เป็นเพียง กำรค้ำขำยแลกเปลี่ยนภำพ ก็ถือว่ำเป็นควำมผิดฐำนค้ำมนุษย์ได้ มีข้อพึงระวังคือเจตนำในกำรแสวงหำผลประโยชน์ในทำงมิชอบในควำมผิดค้ำมนุษย์นั้น ในบำงครั้งก็มีควำมไม่ชัดเจนและต้องอำศัยกำรตีควำมกฎหมำย ซึ่งหำกพฤติกรรมยังขำดควำมชัดเจน ก็ไม่ควรแจ้งข้อหำ “ค้ำมนุษย์” เพื่อเพิ่มยอดจับกุม ซึ่งหำกพนักงำนมีค ำสั่ง “ไม่ฟ้อง” หรือศำล “ยกฟ้อง” ในภำยหลัง จะเป็นควำมเสียหำยในทำงคดีมำกกว่ำ กรณีข่มขู่กรรโชกออนไลน์ กรณีกำรข่มขู่กรรโชกออนไลน์นั้น กฎหมำยไทยมีกำรก ำหนดเป็นควำมผิดไว้แต่ดั้งเดิม ในข้อหำกรรโชกทรัพย์หรือรีดเอำทรัพย์ โดยหำกเป็นลักษณะของกำรบังคับขู่เข็ญว่ำก่ออันตรำย ไม่ว่ำจะต่อผู้ถูกกระท ำหรือบุคคลอันเป็นที่รัก เช่น เพื่อนสนิท ครอบครัว จะเป็นลักษณะควำมผิด กรรโชกทรัพย์ (Extortion) แต่ถ้ำเป็นลักษณะของกำรข่มขู่ว่ำจะเปิดเผยควำมลับ หรือข่มขู่ว่ำจะ เปิดเผยภำพลับหรือกิจกรรมทำงเพศของผู้ที่ถูกข่มขู่ จะเป็นควำมผิดฐำนรีดเอำทรัพย์(Blackmailing) ควำมผิดในลักษณะกรรโชกทรัพย์หรือรีดเอำทรัพย์ดังกล่ำวจะมีมูลควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ตำมองค์ประกอบควำมผิดจะต้องเป็นกำรข่มขู่เพื่อเรียกร้องผลประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน หำกเป็นกรณีข่มขู่เพื่อแสวงหำผลประโยชน์ทำงเพศ เช่น เรียกร้องให้มำมีควำมสัมพันธ์ทำงเพศด้วย ขอให้ส่งภำพโป๊เปลือยนั้นจะไม่เป็นควำมผิดฐำนกรรโชกทรัพย์หรือรีดเอำทรัพย์ ก็อำจจ ำเป็นต้องปรับใช้ กฎหมำยตำมลักษณะของพฤติกำรณ์ ยกตัวอย่ำงเช่น กรณีมีกำรบังคับขู่เข็ญจนถึงกับมีกำรล่วงละเมิด ทำงร่ำงกำยหรือควำมสัมพันธ์ทำงเพศก็อำจบังคับใช้กฎหมำยข่มขืนกระท ำช ำเรำ อนำจำร หรือพรำก ผู้เยำว์แล้วแต่กรณี หรือหำกเป็นกรณีให้ส่งภำพโป๊เปลือยก็อำจใช้กฎหมำยเกี่ยวกับสื่อลำมกอนำจำร เด็กมำใช้บังคับได้ หรือหำกมีกำรน ำภำพเด็กไปจ ำหน่ำยซื้อขำยแลกเปลี่ยนหรือให้เด็กไปค้ำประเวณี หรือบังคับให้เด็กไปเพื่อแสวงหำผลประโยชน์อื่น ก็อำจด ำเนินคดีค้ำมนุษย์ควบคู่ไปด้วยก็ได้


๒๓ กรณีการกลั่นแกล้งรังแกออนไลน์ ประเทศไทยไม่มีกฎหมำยควบคุมกำรกลั่นแกล้งรังแกกันโดยเฉพำะ ต้องใช้กฎหมำย ปรับตำมพฤติกำรณ์ ซึ่งกำรกลั่นแกล้งรังแกอำจเป็นสำเหตุให้ผู้ถูกรังแกได้รับผลกระทบทำงจิตใจ เช่น มีอำกำรวิตกกังวล ซึมเศร้ำ มีปัญหำสุขภำพจิต หรืออำจส่งผลกระทบต่อเด็กที่ถูกกลั่นแกล้ง ในระยะยำว เช่น มีพฤติกรรม ก้ำวร้ำวรุนแรง หรือพฤติกรรมต่อต้ำนสังคมในอนำคต ในบำงกรณี พบว่ำผู้ถูกกลั่นแกล้งรังแกอำจเก็บกดจนถึงกับท ำร้ำยตัวเองหรือเป็นสำเหตุของกำรฆ่ำตัวตำยได้ การกลั่นแกล้งรังแกอาจเข้าข่ายท าร้ายร่างกายหรือจิตใจ กำรกลั่นแกล้งรังแกโดยทั่วไป อำจน ำฐำนควำมผิดท ำร้ำยร่ำงกำยมำบังคับ ใช้ ได้ ถึง แ ม้ ว่ ำ ก ำ ร ก ลั่ น แ ก ล้ง รัง แ ก ทำงออนไลน์นั้นจะไม่ได้เป็นกำรประทุษร้ำย ต่อร่ำงกำยโดยตรง แต่อำจใช้มูลเหตุกรณี ได้รับ “อันตรำยทำงจิตใจ” มำบังคับใช้ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๒๙๕ แต่อย่ำงไรก็ดีกำรตีควำมกฎหมำยกรณีได้รับ อันตรำยถึงจิตใจนั้นอำจจะตีควำมว่ำจะต้องถึงขั้นถูกท ำร้ำยจิตใจจนถึงกับได้รับกำรบ ำบัดรักษำ ทำงจิตหรือมีควำมเห็นของแพทย์ยืนยัน ทั้งนี้ตำมข้อกฎหมำยในปัจจุบันกำรกลั่นแกล้งรังแก แม้จะเป็นสำเหตุให้เกิดกำรท ำร้ำยตัวเองหรือฆ่ำตัวตำยแต่ก็ยังไม่ถือว่ำผู้กลั่นแกล้งรังแกได้กระท ำกำร อันเป็นกำรท ำร้ำยร่ำงกำยผู้ถูกกลั่นแกล้งรังแกหรือมีพฤติกรรมอันเป็นกำรฆ่ำผู้อื่น การกลั่นแกล้งรังแกที่เป็นการหมิ่นประมาท หำกพฤติกรรมกำรกลั่นแกล้งรังแกมีลักษณะเป็นกำรใส่ร้ำยใส่ควำมจนท ำให้ผู้ถูกรังแก ต้องเสียชื่อเสียงห รือถูกดูหมิ่นเกลียดชัง ก็อำจเข้ ำข่ำยเป็นควำมผิดฐำนหมิ่นป ระม ำท หรือหมิ่นประมำทโดยกำรโฆษณำได้ กรณีกำรกลั่นแกล้งรังแกออนไลน์เข้ำข่ำย “โดยกำรโฆษณำ” นั้นก็เนื่องมำจำก “สื่อออนไลน์” โดยทั่วไปเป็นกำรเผยแพร่ข่ำวสำรให้มีกำรแพร่กระจำยอันมีลักษณะ เป็นกำรโฆษณำโดยตัวมันเอง แต่ถ้ำเป็นกำรกลั่นแกล้งรังแกในลักษณะของกำรส่งข้อควำมหำกัน โดยตรงไม่ได้เผยแพร่ไปยังบุคคลที่สำม ก็ยังไม่เข้ำข่ำยเป็นควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท ท าร้ายร่างกายหรือจิตใจ มาตรา ๒๙๕ ผู้ใดท ำร้ำยผู้อื่นจนเป็นเหตุให้เกิด อันตรำยแก่กำยหรือจิตใจของผู้อื่นนั้น ผู้นั้น กระท ำควำมผิดฐำนท ำร้ำยร่ำงกำย ต้องระวำง โทษจ ำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ รีดเอาทรัพย์ มาตรา ๓๓๘ ผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่น ให้ยอมให้ หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่ เป็นทรัพย์สิน โดยขู่เข็ญว่ำจะเปิดเผยควำมลับ ซึ่งกำรเปิดเผยนั้นจะท ำให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่ สำมเสียหำย จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่ำนั้น ผู้นั้นกระท ำควำมผิดฐำนรีดเอำทรัพย์ ต้องระวำงโทษ จ ำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งสองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท


๒๔ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ก ร ณี ข้ อ ค ว ำ ม ที่ โพ ส ต์ ใน ร ะ บ บ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ เป็ น ข้ อ ค ว ำม อั น เป็ น เท็ จ ก็อำจสำมำรถด ำเนินคดีได้ตำม พ.ร.บ.ว่ำด้วย กำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิ วเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๐) ทั้งนี้โดยทั่วไปกำรกลั่นแกล้งรังแกมักกระท ำ ต่อตั วบุคคลซึ่งเข้ ำข่ ำยเป็นค ว ำมผิด ฐำน หมิ่นประมำท ซึ่งปัจจุบันมีกำรแก้ไขกฎหมำย ว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ว่ำกรณีเป็นควำมผิดหมิ่นประมำทบนช่องทำง ออนไลน์นั้นไม่ถือเป็นกำรก ระท ำผิดท ำง คอมพิวเตอร์ เนื่องจำกกฎหมำยมุ่งจะให้มีกำร ด ำเนินคดีเกี่ยวกับกำรด่ำว่ำร้ำย วิพำกษ์วิจำรณ์ บนช่องทำงออนไลน์ในลักษณะของกำรหมิ่นประมำทอย่ำงเดียว แต่ถ้ำเป็นกรณีเผยแพร่ข่ำวปลอม เช่น กรณีตัวอย่ำงกำรเผยแพร่ข่ำวปลอมทำงช่องทำงออนไลน์เกี่ยวกับชำยคนหนึ่งว่ำมีกำรติดกระจก ที่รองเท้ำเพื่อส่องดูกำงเกงในหญิงสำวบนรถไฟฟ้ำ ซึ่งไม่เป็นควำมจริง แล้วท ำให้ชำยดังกล่ำว ได้รับควำมเสียหำยและถูกประณำมจำกสังคมก็เข้ำข่ำยเป็นกำรกลั่นแกล้งรังแกในลักษณะ ที่เป็นควำมผิดทำงคอมพิวเตอร์ด้วยได้ หมิ่นประมาท มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ควำมผู้อื่นต่อบุคคลที่สำม โดยประกำรที่น่ำจะท ำให้ผู้อื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระท ำควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท ต้องระวำงโทษ จ ำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา มาตรา ๓๒๘ ถ้ำควำมผิดฐำนหมิ่นประมำทได้กระท ำโดยกำรโฆษณำด้วยเอกสำร ภำพวำด ภำพระบำยสีภำพยนตร์ ภำพหรือตัวอักษรที่ท ำให้ปรำกฏไม่ว่ำด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือสิ่งบันทึกเสียง บันทึกภำพ หรือบันทึกอักษร กระท ำโดยกำรกระจำยเสียง หรือกำรกระจำย ภำพ หรือโดยกระท ำกำรป่ำวประกำศด้วยวิธีอื่น ผู้กระท ำต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบำท ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ มาต รา ๑๔ (๑) ผู้ใดโดยทุ จริตห รือโดย ห ลอก ล วง น ำเข้ ำสู่ ระบบ ค อมพิ วเต อ ร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือนหรือปลอม ไม่ ว่ ำทั้งห ม ด ห รื อบ ำงส่ วน ห รื อ ข้ อมู ล คอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประกำรที่น่ำจะ เกิดควำมเสียหำยแก่ผู้อื่นหรือประชำชน อันมิใช่ควำมผิดฐำนหมิ่นประมำทตำมประมวล กฎหมำยอำญำต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกินห้ำปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ


๒๕ ความผิดลหุโทษเกี่ยวกับการข่มแหงรังแก ปั จจุบันได้มีก ำรแก้ไขเพิ่ มเติม ป ระม วล กฎหมำยอำญำตำมพระรำชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลกฎหมำยอำญำ (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ เพิ่มเติมฐำนควำมผิดรังแก ข่มเหง คุกคำม หรือกระท ำ ให้ได้รับควำมอับอำยหรือเดือดร้อนร ำคำญ ซึ่งเป็น พฤติกำรณ์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับค ำว่ำกลั่นแกล้งรังแก (Bullying) โดยหำกเด็กถูกกลั่นแกล้งรังแกผ่ำนโลกออนไลน์ ซึ่งไม่เข้ำข่ำยเป็นฐำนท ำร้ำยร่ำงกำยหรือจิตใจ ควำมผิด หมิ่นประมำท หรือควำมผิดคอมพิวเตอร์ ก็สำมำรถใช้ฐำนควำมผิดข่มเหงรังแกมำบังคับใช้ได้ การปรับใช้กฎหมายคุ้มครองเด็ก กำรล่วงละเมิดต่อเด็กในโลกออนไลน์ ในหลำยประเทศได้มีกฎหมำยเฉพำะเอำผิดกับ กำรกระท ำดังกล่ำว ในขณะที่ประเทศไทยยังใช้กำรปรับใช้กฎหมำยตำมลักษณะพฤติกำรณ์ โดยภัยจำกสื่อออนไลน์ในหลำยลักษณะยังขำดเครื่องมือทำงกฎหมำยที่จะน ำมำจัดกำรกับภัยร้ำย เหล่ำนี้โดยตรง เช่น กำรส่งภำพหรือข้อควำมยั่วยุทำงเพศ กำรสื่อสำรเรื่องเพศที่ไม่เหมำะสม (Sexting) หรือกำรล่อลวงเด็กเพื่อวัตถุประสงค์ทำงเพศ (Online Grooming) ซึ่งอำจเลยเถิดไปถึง กำรนัดหมำยพบเจอเพื่อล่วงละเมิดทำงเพศหรือล่อลวงเด็กเพื่อมำแสวงหำประโยชน์ทำงเพศ หรือก่อนที่ผู้กระท ำจะลงมือท ำอำจใช้วิธีกำรเข้ำมำสืบค้นข้อมูลออนไลน์ เพื่อเกำะติดคุกคำมเด็ก (Cyber Stalking) ซึ่งเป็นควำมเสี่ยงภัยต่อเด็ก ถึงแม้ว่ำประเทศไทยยังไม่มีกฎหมำย เกี่ยวกับกำรล่วงละเมิดต่อเด็กบนโลกออนไลน์ เป็นกำรเฉพำะ แต่มี พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งกฎหมำยดังกล่ำวได้ก ำหนดควำมผิดเกี่ยวกับ กำรท ำรุณ กรรมเด็ก เพื่อคุ้มครองเด็กและ เยำวชนไม่ให้ตกเป็นเหยื่อกำรถูกทำรุณกรรม ซึ่งหำกมีกำรตีควำมเกี่ยวกับกำร “ทำรุณกรรม” ตำมกฎหมำยอย่ำงกว้ำง ก็อำจสำมำรถน ำไปใช้ เป็นเครื่องมือในกำรคุ้มครองป้องกันเด็กจำก กำรถูกล่วงละเมิดบนโลกออนไลน์ได้ รังแก ข่มเหง คุกคาม หรือกระท าให้ ได้ รับความอับอายหรือเดือด ร้อน ร าคาญ มาตรา ๓๙๗ ผู้ใดกระท ำด้วยประกำร ใด ๆ ต่อผู้อื่น อันเป็นกำรรังแก ข่มเหง คุกคำม หรือกระท ำให้ได้รับควำมอับอำย หรือเดือดร้อนร ำคำญ ต้องระวำงโทษปรับ ไม่เกินห้ำพันบำท ทารุณกรรมเด็ก “ทารุณกรรม” หมำยควำมว่ำ กำรกระท ำ หรือละเว้นกำรกระท ำด้วยประกำรใด ๆ จนเป็นเหตุให้เด็กเสื่อมเสียเสรีภำพหรือเกิด อันตรำยแก่ร่ำงกำยหรือจิตใจ กำรกระท ำผิด ทำงเพศต่อเด็ก กำรใช้เด็กให้กระท ำหรือ ประพฤติในลักษณะที่น่ำจะเป็นอันตรำย แก่ร่ำงกำยหรือจิตใจ หรือขัดต่อกฎหมำยหรือ ศีลธรรมอันดี ทั้งนี้ไม่ว่ำเด็กจะยินยอมหรือไม่ ก็ตำม


๒๖ กรณีผู้ปกครองหรือคนในครอบครัวเป็นผู้ล่วงละเมิดต่อเด็ก กำรล่วงละเมิดต่อเด็กในโลกออนไลน์ ในบำงกรณีเป็นกรณีที่บิดำมำรดำหรือผู้ปกครองหรือ บุคคลในครอบครัวเป็นผู้ล่วงละเมิดต่อเด็กเสียเอง แล้วอำจมีกำรข่มขู่คุกคำม ลอบติดตำม ถ่ำยภำพ ส่งข้อควำมหรือมีบทสนทนำทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือมีกำรเผยแพร่ข้อควำมหรือภำพเกี่ยวกับเด็ก ทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งอำจเข้ำข่ำยเป็นกำรกำรล่วงละเมิดต่อเด็กบนโลกออนไลน์ด้วยก็ได้ ลักษณะกำรล่วงละเมิดต่อเด็กบนโลกออนไลน์ที่ผู้กระท ำเป็นบิดำมำรดำหรือผู้ปกครองหรือ เป็นบุคคลในครอบครัวอำจมีได้หลำยลักษณะ ตั้งแต่เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ หรือเป็นเรื่องร้ำยแรงที่เป็น ควำมผิดรุนแรง เช่น กำรล่วงละเมิดทำงเพศหรือมีควำมสัมพันธ์ทำงเพศระหว่ำงคนในครอบครัว (Incest Sexual Abuse) แล้วมีกำรเผยแพร่ข้อควำมหรือภำพลับหรือคลิปวิดีโอ กำร ข่มขู่/ด่ำว่ำ/ทุบ ตี/ท ำร้ำยร่ำงกำย แล้วมีกำรน ำไปเผยแพร่ทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กำรกลั่นแกล้งรังแกกันระหว่ำงพี่น้อง หรือคนในครอบครัวเอง กำรน ำเด็กไปโฆษณำหำรำยได้ในทำงไม่สมควร (เช่น น ำภำพเด็กพิกำรหรือ น่ำสงสำรไปเรี่ยไรเงินทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ น ำเด็กไปซื้อขำยสุรำหรือบุหรี่ น ำเด็กไปโฆษณำในเชิง ไม่สมควรทำงเพศ เป็นต้น) หรือในบำงกรณีตัวผู้ปกครองเองที่น ำเด็กไปแสวงหำรำยได้ในรูปแบบ ต่ำง ๆ เช่น รับจ้ำงน ำเด็กไปขอทำน ยินยอมให้เด็กไปมีควำมสัมพันธ์ทำงเพศกับบุคคลอื่น ยอมให้น ำเด็กไปผลิตสื่อลำมกโดยมีผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่งควำมผิดเหล่ำนี้อำจมีควำมเสี่ยง ที่เด็ ก จ ะถูกล ะเมิ ดใน ก ำรเผยแพ ร่ภ ำพห รือค ลิป วิดีโอห รือข้อค ว ำมที่ อ ำจ ระบุ ตั วตน ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ได้รับควำมอับอำยหรือกระทบกระเทือนต่อจิตใจมำกขึ้นก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ เจ้ำหน้ำที่ต ำรวจจะปรับใช้กฎหมำยที่ระบุควำมผิดไว้เป็นกำรเฉพำะตำมที่กล่ำว มำแล้วก่อนหน้ำ เช่น กรณีควำมผิดทำงเพศฐำนข่มขืนหรือกระท ำอนำจำร แม้ผู้กระท ำเป็นบุคคล ในครอบครัวก็ไม่ได้มีเหตุยกเว้นให้ไม่ต้องรับผิด หรือในกรณีที่น ำเด็กไปแสวงหำผลประโยชน์ในทำงมิชอบ (เช่น ยอมให้ผู้อื่นน ำไปขอทำน ล่วงละเมิดทำงเพศ หรือผลิตสื่อลำมก) ซึ่งเข้ำข่ำยควำมผิดฐำนค้ำมนุษย์ ซึ่งสำมำรถด ำเนินคดีกับผู้ปกครองในควำมผิดฐำนค้ำมนุษย์ได้ รวมถึงสำมำรถปรับใช้ พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มำตรำ ๒๖ ด ำเนินคดีกับผู้ก่อเหตุในควำมผิดฐำน “ทำรุณกรรม” เด็ก หรือบังคับขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือน่ำจะท ำให้เด็กมีควำมประพฤติเสี่ยง ต่อกำรกระท ำผิด หรือควำมผิดอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับกำรยุยงส่งเสริมให้เด็กกระท ำผิดตำมมำตรำ ๒๖ ก็ได้ ลักษณะความผิดที่ห้ามกระท าต่อเด็ก มาตรา ๒๖ ภำยใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมำยอื่นไม่ว่ำเด็กจะยินยอมหรือไม่ ห้ำมมิ ให้ผู้ใดกระท ำกำร ดังต่อไปนี้ (๑) กระท ำหรือละเว้นกำรกระท ำอันเป็นกำรทำรุณกรรมต่อร่ำงกำยหรือจิตใจของเด็ก ...................ฯลฯ ................... (๓) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือน่ำจะท ำ ให้เด็กมีควำมประพฤติเสี่ยงต่อกำรกระท ำผิด มาตรา ๗๘ ผู้ใดฝ่ำฝืนมำตรำ ๒๖ ต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกินสำมเดือนหรือปรับไม่เกิน สำมหมื่นบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ


๒๗ ในกรณีที่บิดำมำรดำหรือผู้ปกครองหรือคนในครอบครัวเป็นผู้ก่อเหตุในกำรล่วงละเมิดต่อเด็ก นั้นนอกจำกมำตรกำรด ำเนินคดีอำญำตำมกฎหมำยแล้ว เจ้ำพนักงำนผู้บังคับใช้กฎหมำยยังอำจใช้ วิธีกำรแจ้ง เจ้ำพนักงำนสวัสดิกำรสังคมเพื่อด ำเนินกำร “คุ้มครองสวัสดิภำพ” ตำม พ.ร.บ. ส่งเสริม กำรพัฒนำและคุ้มครองสถำบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒ (เป็นกฎหมำยออกใหม่แทน พ.ร.บ. คุ้มครอง ผู้ถูกกระท ำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐) หรือใช้ “กำรสงเครำะห์เด็ก” หรือ “กำรคุ้มครองสวัสดิภำพเด็ก” ตำม พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ แทนกำรด ำเนินคดีอำญำหรือ ควบคู่กับกำรด ำเนินคดีอำญำบิดำมำรดำหรือผู้ปกครองหรือคนในครอบครัวก็ได้ ลักษณะความผิดที่ห้ามกระท าต่อเด็กตาม พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๖ ภำยใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมำยอื่นไม่ว่ำเด็กจะยินยอมหรือ ไม่ห้ำมมิให้ผู้ใดกระท ำกำร ดังต่อไปนี้ (๑) กระท ำหรือละเว้นกำรกระท ำอันเป็นกำรทำรุณกรรมต่อร่ำงกำยหรือจิตใจของเด็ก (๒) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งจ ำเป็นแก่กำรด ำรงชีวิตหรือรักษำพยำบำลแก่เด็กที่อยู่ ในควำมดูแลของตน จนน่ำจะเกิดอันตรำยแก่ร่ำงกำยหรือจิตใจของเด็ก (๓) บังคับ เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือน่ำจะท ำให้ เด็กมีควำมประพฤติเสี่ยงต่อกำรกระท ำผิด (๔) โฆษณำทำงสื่อมวลชนหรือเผยแพร่ด้วยประกำรใด เพื่อรับเด็กหรือยกเด็กให้แก่บุคคลอื่น ที่มิใช่ญำติของเด็ก เว้นแต่เป็นกำรกระท ำของทำงรำชกำรหรือได้รับอนุญำตจำกทำงรำชกำรแล้ว (๕) บังคับ เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม ยินยอม หรือกระท ำด้วยประกำรใดให้เด็กไปเป็นขอทำน เด็กเร่ร่อน หรือใช้เด็กเป็นเครื่องมือในกำรขอทำนหรือกำรกระท ำผิด หรือกระท ำด้วยประกำรใด อันเป็นกำรแสวงหำประโยชน์โดยมิชอบจำกเด็ก (๖) ใช้ จ้ำง หรือวำนเด็กให้ท ำงำนหรือกระท ำกำรอันอำจเป็นอันตรำยแก่ร่ำงกำยหรือ จิตใจมีผลกระทบต่อกำรเจริญเติบโต หรือขัดขวำงต่อพัฒนำกำรของเด็ก (๗) บังคับ เข็ญ ใช้ ชกจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กเล่นกีฬำหรือให้กระท ำกำรใด เพื่อแสวงหำประโยชน์ทำงกำรค้ำอันมีลักษณะเป็นกำรขัดขวำงต่อกำรเจริญเติบโตหรือพัฒนำกำร ของเด็กหรือมีลักษณะเป็นกำรทำรุณกรรมต่อเด็ก (๘) ใช้หรือยินยอมให้เด็กเล่นกำรพนันไม่ว่ำชนิดใดหรือเข้ำไปในสถำนที่เล่นกำรพนัน สถำนค้ำประเวณี หรือสถำนที่ที่ห้ำมมิให้เด็กเข้ำ (๙) บังคับเข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กแสดงหรือกระท ำกำร อันมีลักษณะลำมกอนำจำร ไม่ว่ำจะเป็นไปเพื่อให้ได้มำซึ่งค ำตอบแทนหรือเพื่อกำรใด (๑๐) จ ำหน่ำย แลกเปลี่ยน หรือให้สุรำหรือบุหรี่แก่เด็ก เว้นแต่กำรปฏิบัติทำงกำรแพทย์ มาตรา ๒๗ ห้ำมมิให้ผู้ใดโฆษณำหรืเผยแพร่ทำงสื่อมวลชนหรือสื่อสำรสนเทศประเภทใด ซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กหรือผู้ปกครอง โดยเจตนำที่จะท ำให้เกิดควำมเสียหำยแก่จิตใจ ชื่อเสียง เกียรติคุณ หรือสิทธิประโยชน์อื่นใดของเด็ก หรือเพื่อแสวงหำประโยชน์ส ำหรับตนองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ


๒๘ ๒.๔.๒ รายงานการศึกษาและให้ข้อเสนอแนะการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริม และปกป้องคุ้มครองเด็กในการใช้สื่อออนไลน์โดย ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช และ รศ. คณาธิป ทองรวีวงศ์ ๔ รำยงำนกำรศึกษำวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำปัญหำควำมเพียงพอของกฎหมำยไทย ในกำรส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กในกำรใช้สื่อออนไลน์ เปรียบเทียบกับกฎหมำยในต่ำงประเทศ และอนุสัญญำระหว่ำงประเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษำกลไกและประสิทธิภำพในกำรบังคับใช้กฎหมำย รวมทั้งบทบำทของผู้ประกอบกำรภำคเอกชนในกำรส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กในกำรใช้สื่อ ออนไลน์ เพื่อศึกษำและน ำเสนอกรณีหรือคดีตัวอย่ำงที่ประสบควำมส ำเร็จ (highlights best practice) และบทบำทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่ำง ๆ เพื่อระบุช่องว่ำงของกฎหมำย ในแง่ของ มำตรฐำนทำงกฎหมำยระหว่ำงประเทศและในภูมิภำค และเพื่อให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทำงกำร ปรับปรุงหรือยกร่ำงกฎหมำยในประเทศไทย รวมถึงกำรน ำกฎหมำยสู่กำรปฏิบัติให้ประสบผลส ำเร็จ แก่หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง กำรศึกษำวิจัยนี้เป็นกำรวิจัยเชิงคุณภำพ โดยกำรศึกษำทบทวนวรรณกรรม เอกสำร งำนวิจัย บทควำม ข้อกฎหมำยที่มีทั้งในประเทศ ต่ำงประเทศ ระหว่ำงประเทศ กำรสัมภำษณ์เก็บ รวมรวมข้อมูลจำกผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น เจ้ำหน้ำที่ผู้บังคับใช้กฎหมำย อัยกำร นักวิชำกำรด้ำนกฎหมำย นักเทคโนโลยี ผู้ท ำงำนคุ้มครองเด็กทั้งจำกหน่วยงำนภำครัฐและเอกชน ฯลฯ กำรจัดประชุมกลุ่มเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อให้ได้มำซึ่งองค์ควำมรู้และ ข้อแนะน ำในกำรปรับปรุงกฎหมำย นโยบำย และยุทธศำสตร์ส ำหรับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำร ส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กในกำรใช้สื่อออนไลน์ ส ำหรับข้อเสนอแนะในกำรปรับปรุงกฎหมำยไทย ที่ได้จำกงำนศึกษำวิจัยนี้ ได้แบ่งสภำพ ปัญหำและพฤติกรรมที่กระทบต่อเด็กเป็น ๖ กรณี โดยมีผลกำรวิจัยและข้อเสนอแนะส ำหรับแต่ละ กรณีดังนี้ กลุ่มที่ ๑ Cyber Stalking การเฝ้าติดตามคุกคามทางกายภาพ (Physical Stalking) พฤติกรรมดังนี้ กำรเฝ้ำส่ง ดอกไม้ แอบดักรอ เดินตำม นั่งกินข้ำวโต๊ะข้ำง ๆ ปรำกฏตัวทุกที่ที่เหยื่อไป ท ำให้เหยื่อร ำคำญ หวำดกลัว การเฝ้าติดตามคุกคามทางอินเทอร์เน็ต (Cyber Stalking) อำจมีพฤติกรรมดังนี้ ทักไป คุยส่วนตัวโดยไม่มีธุระจ ำเป็น ตำมไปแสดงควำมเห็นทุกโพสต์ ท ำซ้ ำ ๆ ท ำให้เหยื่อเดือดร้อน ร ำคำญ หวำดกลัว ๔ รายงานการศึกษาและให้ข้อเสนอแนะการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมและปกป้องคุ้มครองเด็กในการ ใช้สื่อออนไลน์โดย ดร.ศรีดา ตันทะอธิพานิช และ รศ. คณาธิป ทองรวีวงศ์ สนับสนุนโดย เครือข่ายสิทธิเด็กประเทศไทย และ มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก


๒๙ กฎหมำยไทยในปัจจุบันที่อำจน ำมำปรับใช้ได้คือ ๑) ประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๓๐๙ แต่กำรบังคับใช้กฎหมำยอำญำต้องตีควำมอย่ำงเคร่งครัด บำงกรณีอำจ ไม่เข้ำองค์ประกอบควำมผิดมำตรำนี้ได้ เพรำะ กำรติดต่อ ติดตำมเด็กทำงออนไลน์โดยมิได้มีการข่มขู่ ให้กระท าหรือไม่กระท าการใด ก็ไม่สำมำรถใช้กฎหมำยฉบับนี้ได้ มำตรำ ๓๙๗ ที่วำงหลักไว้ว่ำ “ผู้ใดกระท ำด้วยประกำรใด ๆ ต่อผู้อื่น อันเป็นกำร รังแก ข่มเหง คุกคำม หรือกระท ำให้ได้รับควำมอับอำยหรือเดือดร้อนร ำคำญ ต้องระวำงโทษปรับไม่ เกินห้ำพันบำท” ตำมกฎหมำยมำตรำนี้เป็นกรณีที่อำจจะปรับใช้กับกำรเฝ้ำติดตำมคุกคำมให้อับอำย หรือเดือดร้อนร ำคำญได้ในบำงกรณีแต่ยังมีข้อจ ำกัดอยู่บำงประกำร เช่น ในแง่ของพฤติกรรม อำจไม่ สอดคล้องกับลักษณะของกำรเฝ้ำติดตำมที่มีลักษณะเป็นชุดหรือท ำต่อเนื่อง (Series of act) เนื่องจำกไม่มีองค์ประกอบของกำรกระท ำซ้ ำ ๆ ดังเช่นกฎหมำยต่ำงประเทศ และในแง่ของกำรบังคับ ใช้กับควำมผิดระหว่ำงประเทศ หลักกฎหมำยมำตรำนี้เป็นเพียงลหุโทษ แต่กำรเฝ้ำติดตำม กำรคุกคำมทำงสื่อออนไลน์นั้น บำงกรณีผู้กระท ำควำมผิดอำจมิได้อยู่ในประเทศไทย และหำกว่ำ กำรกระท ำดังกล่ำวไม่ได้เป็นควำมผิดอำญำของประเทศนั้น กำรจะน ำตัวผู้กระท ำควำมผิด มำด ำเนินคดีอำญำโดยส่งผู้ร้ำยข้ำมแดนก็ไม่อำจท ำได้ ๒) พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งเป็น กฎหมำยที่มีวัตถุประสงค์ในกำรป้องกันและปรำบปรำมอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์ ในเชิงพำณิชย์ เช่น กำรส่งอีเมลเพื่อกำรโฆษณำ ซึ่งตำมมำตรำ ๑๑ เป็นกรณีส่งอีเมลข้อควำมซ้ ำ ๆ เป็นกำรรบกวน ถือว่ำเป็น สแปม แต่องค์ประกอบควำมผิดของหลักกฎหมำยนี้ คือต้องปกปิดแหล่งที่มำ กล่ำวคือ อีเมลปลอม เฟซบุ๊กปลอม เป็นต้น จึงใช้กับกรณีCyber Stalking ได้เฉพำะกำรปลอมแปลงปกปิด แหล่งที่มำเท่ำนั้น ข้อเสนอในประเด็น Cyber Stalking แนวทำงที่ ๑ เสนอแก้ไขประมวลกฎหมำยอำญำ โดยเพิ่มเป็นอีกฐำนควำมผิดหนึ่ง โดยเฉพำะ แนวทำงที่ ๒ เสนอแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แต่ผู้วิจัยให้ข้อสังเกตไว้ว่ำในต่ำงประเทศจะไม่น ำควำมผิดฐำนนี้ก ำหนดไว้ใน พ.ร.บ.ว่ำด้วยกำรกระท ำ ควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพรำะกฎหมำยดังกล่ำวเกี่ยวข้องกับอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะ ในต่ำงประเทศจะมองพฤติกรรมนี้เป็นกฎหมำยอำญำธรรมดำ หรือใช้ในกฎหมำย คุ้มครองเด็ก แนวทำงที่ ๓ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ คุ้มครองเด็ก กลุ่มที่ ๒ Cyber Bullying Cyber Bullying เป็นกำรกระท ำควำมผิดโดยเน้นกำรสื่อสำร วำจำ ไม่จ ำเป็นต้องลำมก หยำบคำย แต่ท ำให้หดหู่ ส่งผลกระทบต่อจิตใจ เช่น อ้วน กีดกันไม่ให้เข้ำกลุ่ม เธอไม่เป็นที่ยอมรับ ของกลุ่ม


๓๐ กรณีศึกษำของสหรัฐอเมริกำ เด็กหญิงอำยุ ๑๗ ปี เล่นโปรแกรมสื่อออนไลน์ แล้วทะเลำะ กับเพื่อนโดยมีแม่และแม่ของเพื่อนร่วมทะเลำะด้วย เด็กฆ่ำตัวตำยเพียงเพรำะแม่ของเพื่อนกล่ำวว่ำ โลกนี้จะน่ำอยู่ถ้ำไม่มีเธอ ซึ่งไม่ใช่ค ำด่ำ ค ำหยำบคำยลำมก กรณีศึกษำของประเทศแคนำดำ เด็กหญิงอำยุ ๑๗ ปี อับอำยจนฆ่ำตัวตำย เพรำะมีคนน ำ ข้อมูลข่ำวที่เธอถูกข่มขืนตอนอำยุ ๑๕ ปี มำแชร์ซ้ ำ โดยเรื่องที่เป็นข่ำวนั้นเป็นเรื่องจริง เธอถูกข่มขืนจริง กฎหมำยไทยที่เกี่ยวข้องกับกรณีCyber bullying ๑) ประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๓๒๖ (หมิ่นประมำท) บำงกรณีก็ไม่เป็นหมิ่นประมำทตำมกฎหมำยอำญำ เพรำะไม่มีบุคคลอื่น หรือเป็นกำรกลั่นแกล้งเฉพำะตัว หรือ เป็นเพียงกำรสื่อสำรระหว่ำงบุคคล (Private communication) หรือ เนื้อหำ ไม่ถึงขั้นท ำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง เช่น กำรล้อเลียนซ้ ำ ๆ ต่อเด็ก แต่อำจเป็นกรณีดูหมิ่นซึ่งหน้ำตำมมำตรำ ๓๙๓ แต่บำงกรณีก็ไม่เป็นภัยอันตรำยทันที และมำตรำ ๒๙๓ ใช้ได้กรณีCyber Bullying ที่ท ำให้เด็กฆ่ำตัวตำยและต้องกรณีถึงขั้นยุยง ด้วยจึงจะเข้ำองค์ประกอบตำมกฎหมำยนี้ ๒) พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งก ำหนดไว้ในมำตรำ ๑๔ แต่มีข้อจ ำกัดในกำรปรับใช้กฎหมำยนี้ ต้องเป็นกรณีที่ ปลอม เท็จ บิดเบือน และน่ำจะเสียหำยแก่ประชำชน สรุปว่ำประเทศไทย ไม่มีกฎหมำยเฉพำะ เมื่อเกิดพฤติกรรม จะมีกำรใช้กฎหมำย ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งขึ้นอยู่กับพฤติกรรมแต่ละกรณีเช่น หมิ่นประมำท ดูหมิ่น ฯลฯ ข้อเสนอในประเด็น Cyber bullying เสนอแก้ไขประมวลกฎหมำยอำญำ o เพิ่มฐำนควำมผิดเกี่ยวกับกำรกลั่นแกล้งออนไลน์ o ควรก ำหนดนิยำมค ำว่ำ พฤติกรรมกลั่นแกล้ง ให้ชัดเจนในกฎหมำย o ข้อพิจำรณำในกำรบัญญัติกฎหมำย ผู้กระท ำกำรกลั่นแกล้งในหลำยกรณีเป็นเด็ก ดังนั้น กำรก ำหนดโทษทำงอำญำอำจไม่เหมำะสม o ควรมีมำตรกำรอื่น เช่น มำตรกำรที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน กฎหมำยเกี่ยวกับกำรศึกษำ ดังเช่น กฎหมำยมลรัฐในสหรัฐอเมริกำ กลุ่มที่ ๓ กฎหมายควบคุมสื่อลามกอนาจารเด็ก (Child Pornography) ประเด็นทางกฎหมาย กฎหมายไทยที่บังคับใช้ในปัจจุบัน ข้อเสนอการพัฒนากฎหมาย ฐำนควำมผิดเผยแพร่สื่อ ลำมกอนำจำรเด็ก - กฎหมำยอำญำบัญญัติไว้แล้ว - เป็นควำมผิดตำม พ.ร.บ. ว่ำด้วย ก ำรก ระท ำค ว ำมผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ทั้งสื่อลำมกอนำจำร เด็กและผู้ใหญ่ -


๓๑ ประเด็นทางกฎหมาย กฎหมายไทยที่บังคับใช้ในปัจจุบัน ข้อเสนอการพัฒนากฎหมาย ฐำนควำมผิดครอบครอง สื่อลำมกอนำจำรเด็ก - กฎหมำยอำญำบัญญัติไว้แล้ว - เป็นควำมผิดตำม พ.ร.บ.ว่ำด้วย ก ำรก ระท ำค ว ำมผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ทั้งสื่อลำมกอนำจำร เด็กและผู้ใหญ่ - นิยำมของสื่อลำมก อนำจำรเด็ก มีก ำหนดไว้ในประมวลกฎหมำย อำญำ แต่ไม่มีใน พ.ร.บ.ว่ำด้วย ก ำรก ระท ำค ว ำมผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ก ำหน ดนิ ย ำมใน พ .ร.บ . ว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิด เกี่ ย ว กั บ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ให้สอดคล้องกับกฎหมำยอำญำ นิยำมสื่อลำมกอนำจำร ทั่วไป ประมวลกฎหมำยอำญ ำ และ พ.ร.บ. ว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิด เกี่ ย วกั บ ค อ มพิ วเต อ ร์ ไม่ได้ ก ำหนดไว้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจ ของศำล ก ำห น ด นิ ย ำมให้ ชั ด เจน ทั้งใน ป ระม วลกฎห ม ำย อำญำ และ พ.ร.บ.ว่ำด้วย กำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ มีควำมเสี่ยงที่เด็กจะเป็น ผู้กระท ำควำมผิด เด็กอำจเป็นผู้ครอบครองหรือ เผยแพร่สื่อลำมก และมีควำมผิด ตำมกฎหมำย ควรมีกำรบัญญัติหลักกำร ในกฎหมำยสำระบัญญั ติ เพื่อมิให้เด็กตกเป็นผู้กระท ำ ค ว ำ ม ผิ ด (โป ร ด ดู ก ร ณี Online grooming ที่ เ ด็ ก อำจเป็นผู้กระท ำผิดได้) สรุปจำกกำรศึกษำ พบว่ำ ประเทศไทยมีกฎหมำยเกี่ยวกับสื่อลำมกอนำจำรเด็กเพียงพอ อยู่แล้ว และอำจจะสำมำรถเชื่อมโยงกับกลุ่มที่ ๔ Sexing ได้ กลุ่มที่ ๔ Sexting จำกกำรศึกษำ พบว่ำ ประเทศไทยไม่มีกฎหมำย Sexing โดยเฉพำะ แต่สำมำรถปรับใช้ กับกฎหมำยสื่อลำมกอนำจำรเด็กได้ แต่ในบำงกรณี Sexting เด็กเป็นคนกระท ำเอง เช่น เด็กเป็นผู้ส่ง เด็กเป็นผู้รับ ดังกรณีศึกษำจำกศำลอุทธรณ์รัฐบำลกลำง ประเทศสหรัฐอเมริกำ เด็กถ่ำยรูปตัวเอง ในลักษณะใส่เพียงชุดชั้นในในห้องน้ ำแล้วส่งอวดกันระหว่ำงเพื่อน ซึ่งมีคนไปฟ้องครูใหญ่ เป็นควำมผิด Sexting กฎหมำยไทยที่เกี่ยวข้อง ๑) ประมวลกฎหมำยอำญำ กรณี Sexting เป็นควำมผิดตำม มำตรำ ๒๘๗ และมำตรำ ๒๘๗/๑ ๒) พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๔ (๔) องค์ประกอบควำมผิด คือ ต้องเป็นข้อมูลลำมกอนำจำรที่บุคคลทั่วไปสำมำรถเข้ำถึงได้ จึงไม่สำมำรถครอบคลุมกรณี sexting ที่เป็นกำรส่งเฉพำะเจำะจง


๓๒ ข้อเสนอในประเด็น Sexting เด็กอำจมีควำมผิดตำมกฎหมำยอำญำหำกเป็นผู้ครอบครองหรือเผยแพร่สื่อลำมก อนำจำรเด็ก จึงควรมีมำตรกำรที่เหมำะสมส ำหรับเด็กที่กระท ำควำมผิด ควรมีกำรยกเว้นควำมรับผิดหำกเด็กเป็นผู้รับ ผู้ครอบครอง โดยไม่ได้ส่งต่อ และควรมี กำรก ำหนดมำตรกำรอื่นนอกจำกโทษทำงอำญำ เช่น กำรอบรมหลักสูตรที่จัดเฉพำะส ำหรับกรณีเด็ก ที่เป็นผู้ส่ง กลุ่มที่ ๕ Online Grooming Grooming คือพฤติกรรมที่ผู้ใหญ่ติดต่อสื่อสำร สร้ำงควำมสัมพันธ์ทำงออนไลน์กับเด็ก เพื่อเจตนำในกำรล่วงละเมิดทำงเพศ เป็นพฤติกรรมขั้นก่อนที่จะมีกำรล่วงละเมิดทำงเพศ แม้ว่ำกำร ติดต่อสื่อสำรนั้นอำจจะไม่มีเรื่องลำมกอนำจำรเลย กฎหมำยอำญำของไทย กับพฤติกรรม Grooming พบว่ำ พฤติกรรมนี้บำงกรณีอำจเข้ำ องค์ประกอบควำมผิดฐำนพรำกผู้เยำว์ และจัดหำล่อไป หรือชักพำไป ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๓๑๗ มำตรำ ๓๑๘ มำตรำ ๒๘๓ แต่มีข้อจ ำกัดว่ำบำงกรณี Grooming นั้น ยังไม่ถึงขั้น ที่จะพรำกผู้เยำว์ เพียงแค่นัดหมำยเด็กมำเจอและมีเจตนำพิเศษทำงเพศก็มีควำมผิดแล้ว แต่ในกฎหมำยไทยคือต้องมีกำรชักชวนและพำเด็กไปแล้ว ถึงจะมีควำมผิด ในส่วนของ พระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๔ ต้องเป็นกรณีที่มีกำรสื่อสำรข้อมูลปลอมเท็จ หลอกลวง อันน่ำจะเสียหำยแก่ประชำชน หรือข้อมูลลำมกอนำจำร จึงจะเป็นควำมผิด ข้อเสนอในประเด็น Online Grooming แนวทำงที่ ๑ แก้ไขประมวลกฎหมำยอำญ ำ ก ำหนดควำมผิดในขั้นตอน Online rooming เช่นเดียวกับกฎหมำยของประเทศสิงคโปร์ และ แอฟริกำใต้ แนวทำงที่ ๒ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพิ่มควำมผิดฐำนล่อลวงเด็กผ่ำนสื่อออนไลน์โดยเฉพำะ กลุ่มที่ ๖ กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กในระบบออนไลน์ จำกกำรศึกษำ พบว่ำ ในต่ำงประเทศมีกำรคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กในระบบ ออนไลน์โดยเฉพำะ กล่ำวคือ มีกำรก ำหนดหน้ำที่ผู้ให้บริกำรเว็บไซต์หรือกิจกรรมออนไลน์อื่น ๆ จะต้องได้รับควำมยินยอมจำกผู้ปกครองเด็กก่อนที่จะเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กได้ ซึ่งในประเทศ ไทยยังไม่มีกฎหมำยในลักษณะดังกล่ำว ข้อเสนอในประเด็น กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเด็กในระบบออนไลน์ แนวทำงที่ ๑ ปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้มีกำรก ำหนดหลักเกณฑ์ และมำตรกำรคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเด็กในระบบออนไลน์ และควรมีกำรก ำหนดนิยำม หลักเกณฑ์ กำรกระท ำต่อข้อมูล กำรขออนุญำตผู้ปกครอง รวมไปถึงกำรน ำข้อมูลเด็กไปใช้โดยเฉพำะ แนวทำงที่ ๒ ควรมีบทบัญญัติเพื่อคุ้มครองข้อมูลเด็กในสภำพแวดล้อมออนไลน์ แยกต่ำงหำกจำก พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ควรมีมำตรกำรพิเศษ มีหน่วยงำนดูแลโดยเฉพำะ


Click to View FlipBook Version