The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuahuay, 2022-12-10 21:20:41

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน PM2.5 ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สำนักกรรมาธิการ ๑

(สาเนา)

บนั ทึกข้อความ

สว่ นราชการ คณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม วฒุ สิ ภา โทร. ๙๑๖๒ – ๓

ที่ สว ๐๐๐๙.๐๙ / วนั ท่ี สงิ หาคม ๒๕๖๓ .

เร่ือง รายงานการพจิ ารณาศกึ ษาเรอ่ื ง ปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ี

กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล

กราบเรยี น ประธานวฒุ ิสภา

ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา คร้ังท่ี ๑๗ (สมัยสามัญประจาปีคร้ังที่หน่ึง) วันอังคารท่ี ๑๐

กันยายน ๒๕๖๒ ได้มีมติต้ังคณะกรรมาธิการสามัญประจาวุฒิสภา ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา

พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ (๒๒) คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา โดยมีหน้าท่ี

และอานาจพจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั ิ กระทากจิ การ พิจารณาสอบหาขอ้ เท็จจรงิ หรือศึกษาเรอ่ื งใด ๆ

ท่ีเก่ียวกับการจัดการที่ดิน การจัดการทรัพยากรน้า ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

และการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตอิ ืน่ ๆ ตลอดจนการสง่ เสรมิ บารงุ รักษา และคมุ้ ครองคณุ ภาพ

สิ่งแวดล้อม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ศึกษาปัญหาการใช้ การป้องกัน

การแก้ไข การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ

และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติท่ีอยู่ในหน้าท่ีและอานาจ และอื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ซ่ึงปัจจุบัน

คณะกรรมาธิการ ประกอบด้วย

(๑) พลเอก สรุ ศกั ดิ์ กาญจนรตั น์ ประธานคณะกรรมาธกิ าร

(๒) พลเอก โปฎก บนุ นาค รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทหี่ นง่ึ

(๓) พลเอก มารตุ ปชั โชตะสิงห์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนที่สอง

(๔) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์บญุ ส่ง ไข่เกษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี าม

(๕) นายวรี ะศกั ด์ิ โควสรุ ตั น์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี ่ี

(๖) พลเอก พศิ ณุ พทุ ธวงศ์ เลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ

(๗) นายสาธติ เหลา่ สวุ รรณ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร

(๘) พลเอก สนน่ั มะเรงิ สิทธ์ิ ประธานทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร

(๙) พลเอก ธวัชชัย สมทุ รสาคร ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร

(๑๐) พลเอก กนษิ ฐ์ ชาญปรชี ญา ท่ีปรึกษาคณะกรรมาธิการ

(๑๑) นายกรรณภว์ ธนภรรคภวนิ กรรมาธกิ าร

(๑๒) พลเอก จีระศกั ดิ์ ชมประสพ กรรมาธกิ าร

(๑๓) พลเอก ชยตุ ิ สวุ รรณมาศ กรรมาธิการ

(๑๔) พลเรอื เอก ชยั วฒั น์ เอย่ี มสมทุ ร กรรมาธกิ าร

(๑๕) พลเรือเอก นพดล โชคระดา กรรมาธกิ าร

(๑๖) พลเอก ศุภรตั น์ พฒั นาวสิ ทุ ธ์ิ กรรมาธกิ าร

(๑๗) นายสุรเดช จิรฐั ิตเิ จรญิ กรรมาธกิ าร

บดั น้ี ...



รายนามคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา

พลเอก สุรศกั ดิ์ กาญจนรัตน์
ประธานคณะกรรมาธิการ

พลเอก โปฎก บุนนาค พลเอก มารุต ปัชโชตะสงิ ห์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์บญุ ส่ง ไข่เกษ นายวรี ะศักด์ิ โควสรุ ตั น์

รองประธาน คนท่ีหนึง่ รองประธาน คนท่ีสอง รองประธาน คนทส่ี าม รองประธาน คนทีส่ ่ี

พลเอก พศิ ณุ พทุ ธวงศ์ นายสาธิต เหลา่ สุวรรณ พลเอก สนนั่ มะเริงสิทธ์ิ พลเอก ธวชั ชัย สมทุ รสาคร
เลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ ประธานทปี่ รึกษาคณะกรรมาธกิ าร ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร

นายกรรณภว์ ธนภรรคภวนิ พลเอก กนิษฐ์ ชาญปรชี ญา พลเอก จรี ะศักด์ิ ชมประสพ พลเอก ชยตุ ิ สุวรรณมาศ

กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ

พลเรือเอกชยั วฒั น์ เอยี่ มสมทุ ร พลเรือเอก นพดล โชคระดา พลเอก ศุภรตั น์ พฒั นาวิสทุ ธิ์ นายสุรเดช จริ ฐั ิติเจริญ

กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ



รายนามคณะอนุกรรมาธิการด้านส่ิงแวดล้อม

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์บญุ ส่ง ไขเ่ กษ
ประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นายสาธิต เหลา่ สุวรรณ นายวิจารย์ สิมาฉายา ศาสตราจารย์ธเรศ ศรสี ถติ ย์ นายสพุ ัฒน์ หวังวงศ์วฒั นา

รองประธาน คนทหี่ นึง่ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

นางสาวจงจติ ร์ นรี นาทเมธกี ลุ นางสณุ ี ปยิ ะพันธพ์ุ งศ์ นายกฤษณ์ แสงวิเชียร ว่าที่ร้อยตรี ธชั ชยั ศิรสิ มั พนั ธ์

อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภมู ิ มูลศลิ ป์ นางสวุ รรณา จงุ่ รงุ่ เรอื ง

อนุกรรมาธกิ าร อนกุ รรมาธิการ



รายนามที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการด้านสิ่งแวดล้อม

นายสุโข อุบลทพิ ย์ นางประเสริฐสุข เพฑรู ย์สิทธชิ ยั นางศภุ รตั น์ โชตสิ กลุ รตั น์
ทป่ี รกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ ท่ปี รึกษาคณะอนุกรรมาธกิ าร ทีป่ รกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ

นายรงั สรรค์ ป่นิ ทอง นางสุชาดา นนั ทะพานชิ สกุล นายไชยยศ บญุ ญากจิ
ที่ปรกึ ษาคณะอนกุ รรมาธกิ าร ท่ปี รึกษาคณะอนกุ รรมาธิการ ทปี่ รึกษาคณะอนกุ รรมาธกิ าร




รายงานการพจิ ารณาศกึ ษา
เรือ่ ง ปญั หาฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

ในเขตพ้ืนทีก่ รุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล

ของคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม วฒุ ิสภา
.........................................................

ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา คร้ังที่ ๑๗ (สมัยสามัญประจาปีคร้ังที่หนึ่ง) วันอังคารท่ี
๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ มีมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจาวุฒิสภา ตามข้อบังคับการประชุม
วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๗๘ (๒๒) คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา
โดยมีหน้าที่และอานาจพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กระทากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง

หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเก่ียวกับการจัดการท่ีดิน การจัดการทรัพยากรนา้ ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากร

ทางทะเลและชายฝั่ง และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตลอดจนการส่งเสริม

บารุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม ศึกษาปัญหาการใช้ การป้องกัน การแก้ไข การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม พิจารณาศึกษา
ติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติท่ีอยู่ในหน้าท่ี

และอานาจ และอื่น ๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง

บัดนี้ คณะกรรมาธิการได้ดาเนินการพิจารณาศึกษาเร่ืองปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน

๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงาน
ผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกลา่ วต่อวุฒิสภา ตามข้อบงั คับการประชุมวฒุ สิ ภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ้ ๙๘ ดงั น้ี

๑. การดาเนินการของคณะกรรมาธิการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม วฒุ สิ ภา

๑.๑ คณะกรรมาธกิ าร ประกอบดว้ ย ประธานคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑ พลเอก สุรศกั ด์ิ กาญจนรตั น์

๑.๑.๒ พลเอก โปฎก บนุ นาค รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทห่ี นง่ึ

๑.๑.๓ พลเอก มารุต ปชั โชตะสิงห์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี อง

๑.๑.๔ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยบ์ ญุ สง่ ไขเ่ กษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทีส่ าม

๑.๑.๕ นายวรี ะศักด์ิ โควสรุ ตั น์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่ีสี่
๑.๑.๖ พลเอก พิศณุ พทุ ธวงศ์ เลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ

๑.๑.๗ นายสาธติ เหลา่ สวุ รรณ โฆษกคณะกรรมาธิการ

๑.๑.๘ พลเอก สนน่ั มะเริงสิทธิ์ ประธานทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร

๑.๑.๙ พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร ที่ปรกึ ษาคณะกรรมาธิการ
๑.๑.๑๐ พลเอก กนิษฐ์ ชาญปรีชญา ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
๑.๑.๑๑ นายกรรณภว์ ธนภรรคภวนิ กรรมาธิการ

๑.๑.๑๒ พลเอก จีระศกั ดิ์ ชมประสพ กรรมาธกิ าร

๑.๑.๑๓ พลเอก ชยตุ ิ สวุ รรณมาศ กรรมาธกิ าร

๑.๑.๑๔ พลเรอื เอก ชัยวฒั น์ เอย่ี มสมุทร กรรมาธิการ

๑.๑.๑๕ พลเรอื เอก นพดล โชคระดา กรรมาธกิ าร




-๒-

๑.๑.๑๖ พลเอก ศุภรตั น์ พัฒนาวสิ ทุ ธิ์ กรรมาธิการ

๑.๑.๑๗ นายสรุ เดช จริ ฐั ติ เิ จริญ กรรมาธกิ าร

๑.๒ คณะกรรมาธิการได้มมี ตติ ั้งคณะอนกุ รรมาธิการดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม มหี น้าทแ่ี ละอานาจ

พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กระทากิจการ พิจารณาสอบสวนหาข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เก่ียวกับ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม บารุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิง่ แวดล้อม รวมท้ังการศึกษา

ปญั หาการใช้ การป้องกัน การแก้ไข และการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั้ ดาเนินการอ่ืน ๆ

ตามท่ีคณะกรรมาธิการมอบหมาย ทั้งนี้ ตามข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๘

ซึ่งคณะอนุกรรมาธกิ ารคณะทพี่ จิ ารณาศกึ ษาเรือ่ งนี้ ประกอบด้วย

๑.๒.๑ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์บญุ สง่ ไขเ่ กษ ประธานคณะอนกุ รรมาธิการ

๑.๒.๒ นายสาธิต เหล่าสุวรรณ รองประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร คนทห่ี นงึ่

๑.๒.๓ พลอากาศเอก สุจนิ ต์ แชม่ ช้อย รองประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร คนที่สอง

๑.๒.๔ นางสวุ รรณา จงุ่ รงุ่ เรอื ง อนุกรรมาธกิ ารและเลขานกุ าร

๑.๒.๕ นายวิจารย์ สมิ าฉายา อนุกรรมาธิการ

๑.๒.๖ นายสุพฒั น์ หวังวงศว์ ัฒนา อนกุ รรมาธกิ าร

๑.๒.๗ นางสาวจงจติ ร์ นีรนาทเมธกี ุล อนุกรรมาธิการ

๑.๒.๘ นางสุณี ปยิ ะพันธุพ์ งศ์ อนุกรรมาธกิ าร

๑.๒.๙ ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรสี ถติ ย์ อนุกรรมาธกิ าร

๑.๒.๑๐ นายกฤษณ์ แสงวิเชียร อนกุ รรมาธิการ

๑.๒.๑๑ วา่ ทรี่ อ้ ยตรี ธชั ชยั ศริ สิ มั พันธ์ อนกุ รรมาธิการ

๑.๒.๑๒ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยภ์ ูมิ มลู ศิลป์ อนุกรรมาธิการ

๑.๒.๑๓ นายสโุ ข อบุ ลทพิ ย์ ท่ปี รกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ

๑.๒.๑๔ นางประเสรฐิ สขุ เพฑูรยส์ ิทธชิ ยั ที่ปรกึ ษาคณะอนกุ รรมาธกิ าร

๑.๒.๑๕ นางศภุ รตั น์ โชตสิ กลุ รตั น์ ทปี่ รึกษาคณะอนกุ รรมาธิการ

๑.๒.๑๖ นายรังสรรค์ ปน่ิ ทอง ที่ปรกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ

๑.๒.๑๗ นางสุชาดา นนั ทะพานชิ สกุล ที่ปรึกษาคณะอนกุ รรมาธกิ าร

๑.๒.๑๘ นายไชยยศ บญุ ญากจิ ท่ปี รึกษาคณะอนุกรรมาธิการ

๒. วธิ กี ารพิจารณาศกึ ษา
คณะกรรมาธิการได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาเรื่อง ปัญหาฝุ่นละออง

ขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่กี รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ดาเนนิ การดังนี้
๒.๑ คณะอนุกรรมาธิการไดจ้ ดั ใหม้ ีการประชุม จานวน ๕ ครั้ง
๒.๒ คณะอนุกรรมาธิการได้ดาเนินการโดยเชิญหน่วยงานมาให้ข้อมูลข้อเท็จจริง และประกอบ

การพิจารณา ดังน้ี




-๓-

๒.๒.๑ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

กรมควบคุมมลพิษ

(๑) นายพันศกั ดิ์ ถิรมงคล ผูอ้ านวยการกองจัดการคุณภาพ

อากาศและเสยี ง

(๒) นางสาวนาบญุ ฤทธ์ิรักษ์ นกั วชิ าการสิง่ แวดล้อมชานาญการ

๒.๒.๒ กรงุ เทพมหานคร

สานกั สง่ิ แวดล้อม

(๑) นายชาตรี วฒั นเขจร ผอู้ านวยการสานกั สง่ิ แวดลอ้ ม

(๒) นางนภาพร ศรีเพช็ รพันธ์ุ หัวหนา้ กลุม่ งานควบคมุ มลพษิ ๒

(๓) นางสาวทัศนยี ์ อาจวิชติ นกั วชิ าการสขุ าภบิ าลชานาญการ

(๔) นายสญั ญา พนั ธุ์พิทยตุ ม์ นักวชิ าการสงิ่ แวดล้อมชานาญการ

๒.๒.๓ กระทรวงคมนาคม

กรมการขนสง่ ทางบก

(๑) นายจักรพันธ์ หว้ งสวัสดิ์ นกั วชิ าการขนส่งชานาญการ

(๒) นางสาวฐติ ิมา แสงงาม นกั วทิ ยาศาสตรป์ ฏบิ ัตกิ าร

(๓) นายกรดศิ วร์ บญุ หลกั วศิ วกรเคร่ืองกลปฏบิ ตั กิ าร

(๔) นายณรงค์ เกตุแก้ว นายชา่ งตรวจสภาพรถ

๒.๒.๔ สานักงานตารวจแหง่ ชาติ

กองบังคบั การตารวจจราจร

พันตารวจเอก สมุ ติ ร นนั สถิตย์ ผกู้ ากับการ ๕

๒.๓ ในการประชุมวุฒิสภา ครั้งท่ี ๑๗ (สมัยสามัญประจาปีคร้ังท่ีสอง) วันอังคารท่ี

๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ คณะกรรมาธิการได้เสนอสรุปความคืบหน้าการพิจารณาศึกษาเร่ือง ปัญหา

ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ต่อท่ีประชุมวฒุ ิสภา
โดยมีข้อเสนอแนะจากสมาชิกวุฒิสภา ดงั นี้

(๑) ควรแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ

พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนตามที่กาหนดไว้ในแผนการปฏิรูปประเทศที่จะต้องดาเนินการ

ให้แล้วเสร็จภายใน ๕ ปี โดยเฉพาะหมวด ๔ การควบคุมมลพิษ ส่วนท่ี ๔ มลพิษทางอากาศและเสียง

และจัดทาประมวลกฎหมายส่ิงแวดล้อมหรือประมวลกฎหมายมลพิษ ในลักษณะเดียวกันกับประมวล

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือประมวลกฎหมายอาญาที่มีอยู่ในปัจจุบัน หากจาเป็นอาจพิจารณา

ตรากฎหมายเฉพาะดา้ นเก่ยี วกับเรอื่ งมลพิษทางอากาศ

(๒) ควรเพ่มิ สถานขี นถ่ายสนิ คา้ ชานเมือง เพอ่ื ลดจานวนรถบรรทกุ ขนาดใหญ่ทจี่ ะเขา้ มา

ในเขตพ้นื ท่ีกรงุ เทพมหานคร




-๔-

๒.๔ คณะกรรมาธิการ ได้จัดสัมมนา จานวน ๑ คร้ัง เรื่อง ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ณ ห้องประชุมคณะกรรมาธิการ
หมายเลข ๒๗๐๒ ชั้น ๒๗ อาคารสุขประพฤติ ถนนประชาช่ืน กรุงเทพมหานคร วันศุกร์ที่ ๑๗
กรกฎาคม ๒๕๖๓

๓. ผลการพิจารณาศกึ ษา
คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วุฒิสภา ขอเสนอรายงานการพิจารณาศึกษา

เรื่อง ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
โดยคณะกรรมาธิการได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดาเนินการพิจารณาศึกษากรณี
ดังกล่าว พร้อมท้ังจัดทารายงานการพิจารณาศึกษาเสนอต่อคณะกรรมาธิการ ซ่ึงคณะกรรมาธิการ
ได้พิจารณารายงานของคณะอนุกรรมาธิการด้วยความละเอียดรอบคอบแล้ว และมีมติให้ความเห็นชอบ
กับรายงานดังกล่าว โดยถอื เป็นรายงานการพจิ ารณาศึกษาของคณะกรรมาธกิ าร

จากการพิจารณาศึกษาเร่ืองดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมาธิการจึงขอเสนอรายงานการพิจารณาศึกษา
ของคณะกรรมาธิการ โดยมรี ายละเอียดตามรายงานท้ายนี้ เพื่อให้วฒุ ิสภาได้พจิ ารณาหากวฒุ ิสภาเห็นชอบดว้ ย
กับผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ ขอได้โปรดแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา
และดาเนินการตามแต่จะเหน็ สมควรตอ่ ไป ทัง้ นี้ เพอื่ ประโยชนข์ องประเทศชาติและประชาชนสบื ไป

พลเอก
(พิศณุ พุทธวงศ)์

เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
วฒุ ิสภา




บทสรปุ ผู้บรหิ าร

ความเข้มข้นเฉลี่ยรายปีของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในภาพรวมของเขต
พน้ื ท่ีกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑลมีค่าลดลงต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ต้นมา โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มี
ค่าเท่ากับ ๒๖ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไป
ของประเทศไทย (๒๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) อยู่ ๑ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อย่างไรก็ตาม
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลยังคงมีปัญหาค่าความเข้มข้นเฉล่ียรายวันท่ีเกินค่ามาตรฐานคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปของประเทศไทย (๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ในช่วงฤดูหนาว
ระหว่างเดือนธนั วาคมถึงเดือนกมุ ภาพันธข์ องทุกปี เน่อื งจากสภาพอตุ นุ ิยมวิทยาในบางชว่ งบางเวลาทีไ่ ม่
เอ้ือต่อการกระจายของสารมลพิษอากาศ เกดิ การสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ใน
อากาศ ทาใหค้ วามเขม้ ข้นเฉลีย่ รายวันมคี า่ สงู ข้นึ เกินคา่ มาตรฐานเปน็ ระยะ ๆ

ในความเป็นจริงแลว้ ปัญหามลพิษอากาศเปน็ ปญั หาเรื้อรังของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
มานานกว่า ๒๕ ปี แลว้ มใิ ช่เพ่ิงเกดิ ขึ้นในช่วงปสี องปที ีผ่ ่านมาเท่าน้นั รัฐบาลท่ีผา่ นมาทุกรฐั บาลไดด้ าเนนิ
มาตรการต่าง ๆ เพอื่ แกไ้ ขปัญหามาโดยตลอด ซึ่งทาใหค้ ุณภาพอากาศในกรงุ เทพมหานครและปริมณฑลค่อย
ๆ ดีข้ึนมาอยา่ งตอ่ เนื่อง ความเขม้ ข้นของสารมลพิษอากาศส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ สารตะกวั่ ก๊าซคาร์บอนมอน
นอกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซออกไซดข์ องไนโตรเจน และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน
(PM10) ลดลงอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปของประเทศไทย อยา่ งไรกต็ าม
ยังมสี ารมลพิษอากาศหลาย ๆ ประเภท ไดแ้ ก่ ฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) กา๊ ซโอโซน และ
สารประกอบเบนซีน ทีถ่ งึ แมว้ า่ จะมีความเข้มขน้ คอ่ ย ๆ ลดลงกต็ าม แตก่ ็ยงั มคี ่าเกนิ ค่ามาตรฐานคณุ ภาพ
อากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปของประเทศไทย และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของ
ประชาชนและผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีผ่านมา ถึงแม้ว่าภาครัฐจะได้พยายามแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลแล้วก็ตาม แต่มาตรการต่าง ๆ ที่
ดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ส่วนใหญ่เป็นมาตรการเฉพาะกิจที่แก้ไขปัญหาท่ีปลายเหตุ และหลาย ๆ
มาตรการท่ีดาเนินการ ช่วยลดการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ได้น้อยมาก และ
ไม่ได้ทาให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างย่ังยืน อย่างไรก็ตาม ในระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ภาครัฐได้มีการ
ดาเนินการเตรียมการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในช่วง
วกิ ฤตทจ่ี ะเกดิ ข้ึนระหวา่ งเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงเดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ และเพือ่ การแก้ไข
ปญั หาในระยะยาวต่อไป ซึง่ นาไปสมู่ ตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ทีใ่ ห้ความเห็นชอบ
แผนปฏิบัติการขับเคลือ่ นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษดา้ นฝนุ่ ละออง” พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๗




เพ่อื ใหท้ ุกภาคสว่ นใช้เป็นแนวทางปฏบิ ัตใิ นการดาเนินการเพ่อื แก้ไขปัญหามลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละอองท่ีเกดิ ขึ้น
ในพ้ืนท่ีต่าง ๆ ของประเทศไทย ได้แก่ พื้นท่ีภาคเหนือ ๙ จังหวดั กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล พ้ืนท่ี
เสี่ยงปัญหาหมอกควันภาคใต้ พื้นท่ีตาบลหน้าพระลาน อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี พ้ืนท่ี
จังหวัดอ่นื ๆ ท่ีเส่ียงปัญหาฝุน่ ละออง ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลเป็นรูปธรรม ทั้ง
การแก้ไขปัญหาในช่วงวิกฤต (ธันวาคม - กุมภาพันธ์) ของแต่ละปี และการป้องกันและแก้ไขปัญหาใน
ระยะยาว

คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการ
ด้านส่ิงแวดล้อม ทาการพิจารณาศึกษาเรื่องปัญหาของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมานครและปริมณฑล เพ่ือศึกษา วิเคราะห์และประมวลผลในเชิงลึกถึงสถานการณ์
ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน แหล่งท่ีมาของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) การดาเนินการแก้ไข
ปัญหาท่ีผ่านมา แผนการดาเนินการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล และจัดทาข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา
ต่อไปในอนาคต เพ่ือประกอบการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยในแผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมได้กาหนดตัวชี้วัด ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศลดลงเหลือ ๒๕.๕
ไมโครกรัมตอ่ ลูกบาศก์เมตร ภายใน ๕ ปี

ผลการพิจารณาศึกษาพบว่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพื้นที่
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ร้อยละ ๖๕ มีแหล่งท่ีมาจากแหล่งกาเนิดหลัก ๆ ๒ ประเภท ด้วยกัน คือ
(๑) การคมนาคมขนส่งทางถนน โดยเฉพาะรถทใี่ ชน้ า้ มนั ดเี ซล และ (๒) การเผาชีวมวลประเภทต่าง ๆ ในท่ี
โล่ง ซึ่งครอบคลุมถึงการเผาชีวมวลในท่ีโล่งในจังหวัดในพ้ืนที่ภาคกลางท่ีอยู่โดยรอบกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑลดว้ ย ดังน้ัน การที่จะแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ให้ได้ผลอย่างเปน็
รูปธรรม จะตอ้ งมงุ่ เน้นไปทก่ี ารดาเนนิ มาตรการต่าง ๆ ท่จี ะสง่ ผลให้เกดิ การลดการระบายฝนุ่ ละอองขนาด
ไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จากแหลง่ กาเนดิ หลกั ท้ัง ๒ ประเภทนี้ อย่างยัง่ ยนื

จากการศึกษาวิเคราะห์แผนปฏิบัติการขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษ
ด้านฝุ่นละออง” พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๗ ท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พบว่ามีมาตรการหลาย ๆ มาตรการในแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าว ที่ให้ความสาคัญกับการแก้ไขปัญหาท่ี
ต้นเหตุ คอื การลดการเกิดและปล่อยฝ่นุ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จากแหลง่ กาเนดิ ต่าง
ๆ ออกสู่อากาศในเขตพ้ืนที่กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล และหากมีการดาเนนิ การตามมาตรการตา่ ง ๆ ท่ี
กาหนดไว้ในแผนปฏิบัตกิ ารฯ ดังกลา่ วอย่างจริงจังให้เกิดผลในทางปฏิบัติ จะสามารถนาไปสู่การป้องกัน
และแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและ




ปริมณฑลในระยะยาวที่ย่ังยืนได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม วุฒิสภา มีข้อเสนอแนะมาตรการสาคัญเพื่อให้การดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่น
ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีประสิทธิผลและ
ประสบความสาเรจ็ เพิม่ มากขึน้ ดังตอ่ ไปน้ี

๑) การดาเนินการแก้ไขปัญหาในระยะเร่งด่วนและในช่วงวิกฤตของทุกปี (ธันวาคม -
กมุ ภาพันธ)์

ต้องกาหนดมาตรการท่ีจะดาเนินการในแต่ละระดับสถานการณ์ของฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในช่วงวิกฤตเตรียมไว้ให้ชัดเจน เช่น มาตรการที่หน่วยงานจะดาเนินการ
เข้มงวดมากขึน้ เม่ือระดับ PM2.5 เฉล่ีย ๒๔ ชัว่ โมง มีคา่ ระหว่าง ๕๑ - ๗๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
มาตรการท่ผี ู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผวู้ ่าราชการจังหวดั ปริมณฑลในฐานะผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณ์
ในพื้นท่คี วบคมุ เหตุราคาญจะสัง่ ให้มีการดาเนนิ การ เมอ่ื ระดบั PM2.5 เฉลยี่ ๒๔ ชว่ั โมง มีค่าระหวา่ ง ๗๖
– ๑๐๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และมาตรการท่ีจะเสนอให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาส่ังการให้มีการ
ดาเนินการ เม่ือระดับ PM2.5 เฉลย่ี ๒๔ ชั่วโมง มคี ่ามากกวา่ ๑๐๐ ไมโครกรัมต่อลกู บาศก์เมตร ต่อเนือ่ ง
โดยเริ่มจากมาตรการเบาไปหาหนัก เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการได้ทันทีให้ทันต่อเหตุการณ์
โดยมีมาตรการทีเ่ สนอแนะ ดงั ต่อไปนี้

๑.๑) ต้องนานามันดีเซลเกรดปกติที่มีกามะถันไม่เกิน ๑๐ ppm มาใช้ในเขตพืนที่
กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลให้มากที่สุด โดยมีราคาเท่ากับราคานามันดีเซลปกติ เรมิ่ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
๒๕๖๓ เป็นต้นไป ท้ังน้ีจากการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษพบว่ารถระดับมาตรฐาน Euro 3 และรถ
ระดับมาตรฐาน Euro 4 ที่ใชน้ ้ามันดเี ซล ทีใ่ ช้งานอยู่บนถนน เมอ่ื เปลย่ี นมาใชน้ ้ามันดเี ซลท่ีมีกามะถนั ไม่
เกนิ ๑๐ ppm แทนการใชน้ ้ามันดเี ซลทม่ี ีกามะถนั ไม่เกนิ ๕๐ ppm จะมีการระบายฝ่นุ ละอองลดลงรอ้ ย
ละ ๒๐ และร้อยละ ๑๖ ตามลาดบั

๑.๒) การขยายพืนที่และเวลาในการจากัดรถบรรทกุ ขนาดใหญ่ตงั แต่ ๖ ล้อ ขึนไป
ที่ใช้นามันดีเซล ไม่ให้เข้ามาภายในเขตพืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เช่น ภายในเขตถนนวง
แหวนกาญจนาภเิ ษก โดยดาเนินการเป็นข้ันเป็นตอน คอื ในขัน้ แรกห้ามเข้าในแต่ละวันสลับกันระหว่าง
รถที่มีทะเบียนรถลงท้ายด้วยเลขคู่และเลขค่ี ซึ่งจะสามารถลดจานวนรถบรรทุกขนาดใหญ่ต้ังแต่ ๖ ล้อ
ขึ้นไป ท่ีใช้น้ามันดีเซลท่ีเข้ามาในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลลงได้ร้อยละ ๕๐ ต่อวัน และ
หากสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ไม่ดีขึ้นและเข้าขั้นวิกฤต จึงดาเนินการในขั้นท่ี
สองต่อไป คือ ห้ามรถบรรทุกขนาดใหญ่ตั้งแต่ ๖ ล้อ ข้ึนไปท่ีใช้น้ามันดีเซลเข้ามาในเขตพ้ืนที่
กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลทัง้ หมด คือ ร้อยละ ๑๐๐

๑.๓) ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐซึ่งทางานที่มีลักษณะงานท่ีไม่จาเป็นต้องเข้ามาทางาน
ที่หนว่ ยงาน สามารถทางานจากสถานที่อื่นได้ โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางเขา้ มายังหน่วยงาน ซึ่งจะช่วย




ลดจานวนรถท่ีเข้ามาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทาให้แหล่งกาเนิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕
ไมครอน (PM2.5) ลดน้อยลง และการจราจรมีความคล่องตัวไม่ตดิ ขัด รวมท้ังขอความรว่ มมือภาคเอกชนให้
ดาเนนิ การในทานองเดียวกนั

๑.๔) ดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพ่ือลดการติดขัดของการจราจร และบังคับใช้อย่าง
เข้มงวดจริงจัง เช่น ไม่ให้มีการจอดรถริมถนน คืนพื้นที่ผิวการจราจรจากกิจกรรมต่าง ๆ ทาให้มี
การจราจรคลอ่ งตัวให้มากท่ีสุด เน่ืองจากรถทีใ่ ช้น้ามันดีเซลจะมกี ารระบายฝุน่ ละอองออกมามากขนึ้ เม่ือ
การจราจรมกี ารติดขดั มากข้นึ

๑.๕) ดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อลดจานวนรถท่ีใช้สัญจรใน เขตพืนท่ี
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยเฉพาะรถที่ใช้นามันดีเซล ได้แก่ ส่งเสริมและสนับสนุนการเดินทาง
โดยใช้รถร่วมกัน การเดินทางโดยใช้ระบบขนส่งสาธารณะ การเดินทางโดยไม่ใช้รถยนต์ (Non-motorized
Transportation, NMT ) เชน่ การเดนิ การใช้รถจักรยาน และการใช้ยานพาหนะไฟฟ้า (Electric Vehicles)
การจากดั จานวนและประเภทรถเข้ามาในกรุงเทพมหานคร เปน็ ต้น

๑.๖) หา้ มเผาชีวมวลทกุ ประเภทในท่ีโล่งโดยเด็ดขาดในเขตพนื ที่กรงุ เทพมหานคร
และปริมณฑล และจังหวัดอ่ืน ๆ ในพืนที่ภาคกลางโดยรอบกรุงเทพมหานคร โดยให้ผู้ว่าราชการ
จังหวดั เปน็ ผู้รับผดิ ชอบ กากับ และถา่ ยทอดการปฏิบตั แิ ละการดาเนนิ การไปสู่หนว่ ยงานในระดับจงั หวดั
ท่ีเก่ียวข้องกับประเภทชีวมวลท่ีมีการเผาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบและไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยมี
เป้าหมายและตัวชี้วัดท่ีวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมในทุกระดับ รวมท้ังมีการตรวจสอบ ติดตามและ
ประเมินผลการดาเนินงานท่ีใกล้ชิด เช่น มีการรายงานจานวนจุดความร้อน (Hotspots) เชิงพื้นที่เป็น
ประจาทุกวนั ท้ังในรูปแบบสถติ ติ วั เลขและแผนทีภ่ าพถา่ ยดาวเทยี ม

๑.๗) ให้คาแนะนาแก่ประชาชนในการใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นละอองให้ถูกต้อง
เหมาะสมกับสถานการณ์ พบว่าหากมีการสวมใส่ให้ถูกต้องกระชับกับใบหน้า หน้ากากอนามัยสามารถ
ปอ้ งกันฝุ่นละอองขนาดตง้ั แต่ ๐.๓ ไมครอน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๖ (จากการทดสอบของคณะสาธารณสุข
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)

๑.๘) ในกรณีท่ปี ัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) รุนแรงเข้าขัน
วิกฤต สามารถนามาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๕ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม มาบังคับใช้ โดยมาตรา ๔๕ กาหนดไว้ว่า “ในพื้นท่ีใดท่ีได้มีการ
กาหนดให้เป็นเขตอนุรกั ษ์ เขตผังเมืองรวม เขตผงั เมืองเฉพาะ เขตควบคุมอาคาร เขตนิคมอุตสาหกรรม
ตามกฎหมายว่าด้วยการน้ัน หรือเขตควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัติน้ีไว้แล้ว แต่ปรากฏว่ามีสภาพ
ปัญหาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อมรุนแรงเข้าขั้นวิกฤตซ่ึงจาเปน็ จะตอ้ งได้รับการแก้ไขโดยทันทีและส่วนราชการ
ท่ีเก่ียวข้องไม่มีอานาจตามกฎหมาย หรือไม่สามารถท่ีจะทาการแก้ไขปัญหาได้ ให้รัฐมนตรีโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรีขออนุมัติเข้าดาเนินการเพื่อใช้




มาตรการคุ้มครองอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างตาม มาตรา ๔๔ ตามความจาเป็นและเหมาะสม เพื่อ
ควบคมุ และแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ีน้ันได้” โดยกาหนดระยะเวลาทจี่ ะใช้มาตรการคุ้มครองดังกล่าวในพื้นท่ีนั้น
ทั้งนี้ มาตรการคุ้มครองตามมาตรา ๔๔ ประกอบด้วยมาตรการ อาทิ เช่น การห้ามการกระทาหรือ
กิจกรรมใด ๆ ท่ีอาจเป็นอันตราย หรือก่อให้เกิดผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ของพื้นที่นั้น
จากลักษณะตามธรรมชาติ หรือเกิดผลกระทบต่อคุณค่าของสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม การกาหนดวิธจี ัดการ
โดยเฉพาะสาหรบั พน้ื ที่นัน้

๒) มาตรการระยะยาว
๒.๑) มาตรการลดการเกิดและปลอ่ ยฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

จากแหลง่ กาเนิด (มาตรการระยะยาว)
๒.๑.๑) การคมนาคมขนส่งทางถนน
(๑) ต้องลดสารกามะถันในนามันเชือเพลิง โดยเฉพาะนามันดีเซล

ใหเ้ หลือไมเ่ กนิ ๑๐ ppm ตามท่ีกาหนดในแผนปฏิบตั กิ ารฯ คือ ตงั แต่ วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๗
ซึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมน้ามันในประเทศไทยเห็นด้วยแล้ว และพิจารณาใช้แรงจูงใจเชิงเศรษฐศาสตร์
เพ่ือส่งเสริมให้มีการนาน้ามันดีเซลที่มีสารกามะถันไม่เกิน ๑๐ ppm มาจาหน่ายในเขตพื้นท่ี
กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลให้มากข้ึนโดยเร็วกอ่ นกาหนดวันท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๗

(๒) ต้องบังคับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษอากาศระดับ Euro 6
สาหรับรถใหม่ขนาดเล็กและ Euro VI สาหรับรถใหม่ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงรถที่ใช้นามัน
ดเี ซล ภายในปี ๒๕๖๕ โดยก้าวข้าม (Leapfrog) การบังคับใช้มาตรฐานระดบั การระบายมลพิษอากาศระดับ Euro
5/Euro V ทั้งนี้เนื่องจาก รถท่ีใช้น้ามันดีเซลมาตรฐานระบายมลพิษอากาศระดับ Euro 6/Euro VI จะมี
ปริมาณการระบายฝุ่นละออง (PM) และก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ต่ากว่า รถท่ีใช้น้ามันดีเซล
มาตรฐานการระบายมลพิษอากาศระดับ Euro 5/Euro V เนื่องจากมีอุปกรณ์กรองฝุ่นละออง (Diesel
Particulate Filter, DPF) และอุปกรณ์กาจัดก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (Selective Catalytic Converter,
SCR) ซึ่งมปี ระสทิ ธิภาพการกาจดั มลพษิ สูงมากกว่าร้อยละ ๙๙

(๓) ควรเพิ่มจานวนสถานีขนถ่ายสินค้าชานเมือง เพื่อลดจานวน
รถบรรทุกขนาดใหญ่ท่ีจะเขา้ มาในเขตพ้นื ที่กรงุ เทพมหานคร

(๔) ต้องกาหนดให้รถโดยสารขนาดใหญ่ทังท่ีเป็นรถโดยสารประจาทาง
และรถโดยสารไม่ประจาทางที่จะเข้ามาในเขตพืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ต้องเป็นรถ
โดยสารไร้เขม่าควัน (Soot-Free Buses) ท่ีใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเช้ือเพลิง หรือรถโดยสารไฟฟ้า (Electric
Buses) หรอื รถโดยสารท่ีมีการระบายมลพิษอากาศเป็นไปตามมาตรฐานการระบายมลพิษอากาศสาหรับ
รถขนาดใหญท่ ใ่ี ช้นา้ มนั ดเี ซล ระดบั Euro VI เทา่ น้นั




(๕) ต้องปรับเปล่ียนรถโดยสารและรถบรรทุกขนาดใหญ่ที่ใช้นามัน
ดีเซลที่ภาครัฐใช้ในเขตพืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เช่น รถเก็บขนขยะ รถโดยสารและ
รถบรรทุกต่าง ๆ เป็นต้น เป็นรถโดยสารและรถบรรทุกไร้เขม่าควัน (Soot-Free Buses and
Trucks) ท่ีใช้กา๊ ซธรรมชาติเปน็ เช้อื เพลิง หรอื รถโดยสารและรถบรรทุกไฟฟา้ (Electric Buses and Trucks)
หรือรถขนาดใหญ่ท่ีใช้น้ามันดีเซลที่มีการระบายมลพิษอากาศเป็นไปตามมาตรฐานการระบายมลพิษ
อากาศสาหรบั รถขนาดใหญ่ทใ่ี ชน้ า้ มันดีเซล ระดับ Euro VI เทา่ นนั้

(๖) ตอ้ งเร่งออกกฎกระทรวงตาม มาตรา ๑๔๔ วรรคสองของพระราชบญั ญัติ
จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพมิ่ เติม เพอ่ื กาหนดวิธกี ารตรวจรับรองรถท่ไี ด้รับการซ่อมหรือ
แก้ไขให้มีควันดาเป็นไปตามมาตรฐานแล้ว ภายหลังจากท่ีถูกสั่งเป็นหนังสือตาม มาตรา ๑๔๓ ทวิ ให้ระงับ
การใช้รถเป็นการชว่ั คราวและใหเ้ จา้ ของรถหรือผขู้ ับข่ซี ่อมหรอื แก้ไขรถให้ถูกตอ้ ง เนอื่ งจากมคี วันดาเกิน
เกณฑ์ท่ีผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติกาหนดตาม มาตรา ๑๐ ทวิ แล้วให้นารถไปใหห้ ัวหนา้ เจ้าพนกั งาน
จราจร หรือผู้ท่ีผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติแต่งตั้งให้มีอานาจตรวจรถตรวจรับรองตาม มาตรา ๑๔๔
วรรคหนึ่ง เม่ือได้รับใบตรวจรับรองแล้วจึงจะนารถออกใช้งานในทางได้ ซึ่งในปัจจุบันนี้ยังไม่มี
กฎกระทรวงตามมาตรา ๑๔๔ วรรคสอง ดังกล่าว รถที่มีควนั ดาเกินคา่ มาตรฐานจะเสียค่าปรับ ๑,๐๐๐
บาท เทา่ นัน้ และยังคงสามารถใช้งานบนถนนต่อไปได้โดยที่ยังไม่ได้รับการซ่อมหรือแก้ไขไม่ใหม้ ีควนั ดา
เกินมาตรฐาน จึงไม่ได้มีผลต่อการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ี
กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลแต่อยา่ งใด

(๗) เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการตรวจสอบตรวจจบั รถทมี่ คี วนั ดา โดยใช้
เคร่ืองมือตรวจวัดการระบายมลพิษอากาศแบบอัตโนมัติจากระยะไกล (Remote Sensing) ซ่ึง
สามารถตรวจวัดการระบายควันดาจากท่อไอเสียของรถประเภทต่าง ๆ ท่ีใช้น้ามันดีเซล ในขณะที่ว่ิงใช้
งานอยบู่ นถนนแบบ Real-time เม่อื วิง่ ผ่านจุดทตี่ ดิ ต้งั เคร่ืองมอื ไว้ โดยมีกลอ้ งท่สี ามารถตรวจและบนั ทกึ
ความเร็วของรถและบันทึกภาพรายละเอียดของป้ายทะเบียน สี และรุ่นรถ เพ่ือเรียกตัวเจ้าของรถมา
ดาเนนิ การทางกฎหมายต่อไปในภายหลังได้ ทาให้สามารถตรวจสอบรถตรวจจับรถท่ีมคี วนั ดาไดจ้ านวนมาก
ในเวลาอนั สนั้ และไมก่ ีดขวางการจราจรเหมอื นกบั การตงั้ ดา่ นตรวจสอบตรวจจบั บนถนน

(๘) ต้องปรับปรุงเคร่ืองมือและวิธีการตรวจวัดควันดาท่ีใช้ในการ
ตรวจสภาพด้านมลพิษประจาปีสาหรับรถท่ีใช้นามันดีเซล จากการใช้เคร่ืองมือตรวจวัดควันดาแบบ
กระดาษกรองและวิธีการตรวจวัดแบบเร่งเคร่ืองสูงสุดขณะที่รถอยู่เกียร์ว่างโดยไม่มีภาระ ท่ีใช้อยู่ใน
ปัจจุบันเป็นการใช้เคร่ืองมือตรวจวัดควันดาระบบวัดความทึบแสง และวิธีการตรวจวัดแบบมีภาระบน
แชสซีไดนาโมมิเตอร์ (Chassis Dynamometer) เพ่ือให้การตรวจวัดควันดามีความถูกต้องมากข้ึนและ
สภาวะของรถในการตรวจวัดมีความใกลเ้ คยี งกับการใชง้ านรถจริงบนถนน




(๙) ต้องปรับปรุงข้อกาหนดเกณฑ์อายุรถที่จะต้องผ่านการตรวจ
สภาพด้านมลพิษกอ่ นการเสียภาษีและต่อทะเบียนประจาปี จากเกณฑ์ปัจจุบันอายุตังแต่ ๗ ปีขึนไป
ใหเ้ ร็วขนึ เช่น เปน็ อายตุ ั้งแต่ ๕ ปี ขึ้นไป และเปน็ อายุตัง้ แต่ ๓ ปี ขึน้ ไป ตามลาดบั หรอื ตัง้ แตเ่ มือ่ สนิ้ สุด
ระยะเวลารบั ประกันของบรษิ ัทผผู้ ลิต โดยเฉพาะรถที่ใช้ในเชิงพาณชิ ย์ซ่งึ มกี ารใช้งานหนักเปน็ ประจาทุกวัน
ควรต้องได้รับการตรวจสภาพด้านมลพิษหลังการจดทะเบยี นและใชง้ านครบ ๑ ปี โดยมคี วามถ่ขี องการตรวจ
สภาพด้านมลพิษอย่างน้อยทุก ๖ เดือน นอกจากนี้จะต้องทาการเช่ือมโยงส่งข้อมูลผลการตรวจวัดมลพิษ
แบบ Real-time ผา่ นระบบ On-line ไปยงั กรมการขนส่งทางบกโดยตรง เพือ่ ปอ้ งกนั การแกไ้ ขดดั แปลง
ขอ้ มลู ผลการตรวจวดั ให้ผดิ ไปจากความเป็นจริงโดยมชิ อบ

(๑๐) สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนา การผลิต และการใช้
ยานพาหนะไฟฟ้า (Electric Vehicles) และการพัฒนาแบตเตอรี่ที่ใช้กับยานพาหนะไฟฟ้าอย่าง
จริงจัง รวมถงึ โครงสรา้ งพืน้ ฐานของเครอื ขา่ ยสถานีอดั ประจุ เพอื่ ให้ผใู้ ช้ยานพาหนะไฟฟา้ สามารถเขา้ ถึง
ระบบอัดประจุไดอ้ ย่างท่ัวถงึ และสะดวก และใชม้ าตรการทางเศรษฐศาสตรใ์ นการขบั เคล่อื นให้เกดิ ผลขน้ึ
โดยเร็ว เช่น มาตรการทางภาษี มาตรการสนับสนุนทางการเงิน และมาตรการให้การส่งเสริมการลงทุน
เปน็ ต้น

(๑๑) การเปล่ียนรถเครอ่ื งยนตเ์ กา่ ทกุ ชนิดเป็นรถไฟฟ้าทใ่ี ชแ้ บตเตอรี่
เป็นแหล่งพลังงาน ซ่ึงสามารถทาได้ทันทีในบริบทไทยและช่างไทย โดยใช้เทคโนโลยีไทยร่วมกับ
เทคโนโลยีจากต่างประเทศท่ีมีความเช่ียวชาญด้านรถไฟฟ้าท่ีใช้แบตเตอรี่และความเช่ียวชาญด้าน
แบตเตอร่ี วิธนี นี้ อกจากสามารถลดมลพิษอากาศได้ทกุ ประเภท ซ่งึ รวมทง้ั ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) แล้ว ยังเปน็ การลดขยะที่เกิดจากซากรถเก่าและใช้ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีคุ้มค่ามากข้ึนในลกั ษณะ
เศรษฐกิจหมุนเวยี น (Circular Economy) ท้ังนี้ ภาครัฐจะต้องอานวยความสะดวกให้มาตรการน้ีเกดิ ขึ้น
โดยเร็ว เช่น การสนับสนุนด้านภาษี การอุดหนุนทางการเงิน การขจัดอุปสรรคในการจดและ/หรือต่อ
ทะเบียนรถท่ีเปล่ียนจากเครื่องยนต์เก่าเป็นรถไฟฟ้าท่ีใช้แบตเตอร่ี การอบรมให้ความรู้แก่ช่างในชุมชน
การมีเครือขา่ ยสถานีอดั ประจุท้งั ในเขตเมอื งและนอกเมือง

(๑๒) เร่งรัดการพัฒนาเครือข่ายระบบขนส่งสาธารณะหลักให้
ครอบคลุมพืนท่ีกรงุ เทพมหานครและปริมณฑลและระบบขนสง่ สาธารณะรองที่เช่อื มโยงกัน สามารถ
นาผู้ใช้บริการไปสู่ระบบขนส่งสาธารณะหลกั หรือจากระบบขนส่งสาธารณะหลักไปสู่จดุ หมายปลายทาง
ไดอ้ ย่างสะดวกสบายและปลอดภยั แก่ผู้ใชบ้ ริการอย่างมีประสิทธิภาพ ทง้ั นร้ี วมถึงการเข้าถึงระบบขนส่ง
สาธารณะโดยการเดิน และการใช้จักรยาน เพ่ือสนับสนุนให้เกิดการลดการใช้รถส่วนบุคคลในการ
เดนิ ทางได้จริง




๒.๑.๒) การเผาชวี มวลในท่โี ลง่
(๑) ต้องดาเนินการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหาร

จดั การขยะมลู ฝอยครบวงจรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ท้งั ในสว่ นของการเก็บขน การใช้ประโยชน์ และการ
กาจัดอยา่ งถูกตอ้ ง เพื่อลดการเผาขยะในทโ่ี ล่ง รวมถึงการติดตามตรวจสอบและดาเนินการทางกฎหมาย
กับผู้ลักลอบทงิ้ ขยะอย่างเขม้ งวดจริงจงั

(๒) ต้องดาเนินการให้กรุงเทพมหานครและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นทุกแห่งในเขตจังหวัดปริมณฑลและจังหวัดต่าง ๆ ในพืนที่ภาคกลางออกเทศบัญญัติหรือ
ข้อบัญญัตทิ อ้ งถ่นิ เพื่อควบคุมการเผาชีวมวลประเภทต่าง ๆ ในที่โล่ง และควบคุมมลพิษจากควันไฟ
และฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นจากการเผาดังกล่าว โดยให้ผู้ครอบครองท่ีดินต้องรับผิดชอบท้ังทางกฎหมาย
ผลกระทบ และความเสียหายทีเ่ กดิ ขนึ้ และดาเนินการบังคับใชเ้ ทศบญั ญตั ิหรอื ข้อบญั ญตั ทิ ้องถ่ินดงั กลา่ ว
อย่างเข้มงวดจรงิ จัง

(๓) ตอ้ งสง่ เสรมิ การทาการเกษตรปลอดการเผาอย่างจริงจงั ให้มีการ
ใช้ประโยชน์เศษวัสดุที่เหลือจากการทาการเกษตรกรรมประเภทต่าง ๆ โดยใช้กลไกและเครือข่ายของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกาหนดให้การทาการเกษตรปลอดการเผาเป็นเกณฑ์หรอื องคป์ ระกอบ
ภาคบังคับในการพิจารณามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารและการปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดี (Good
Agriculture Practices, GAP) และใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการขับเคล่ือนให้เกิดการทา
การเกษตรปลอดการเผาขึ้นโดยเร็ว เช่น มาตรการทางภาษี มาตรการสนับสนุนทางการเงิน และ
มาตรการใหก้ ารสง่ เสรมิ การลงทนุ เปน็ ต้น

(๔) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนารวมทังการผลิตอุปกรณ์และ
เคร่ืองมือกลในประเทศ เพ่ือใช้เก็บเกี่ยวผลผลิตการเกษตร การตัดสางกิ่งใบ การอัดมัดเปน็ ก้อน การไถ
พรวนลงดินสาหรับเศษวัสดุการเกษตร เช่น ใบอ้อย ฟาง เพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ของดิน ลดการเผา ลด
มลพิษอากาศ และเปน็ แหล่งเชื้อเพลิงใหโ้ รงไฟฟา้ โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าชมุ ชน

(๕) ในกรณีที่จาเป็นต้องมีการเผาในภาคเกษตรกรรม ต้องพัฒนา
ระบบการบริหารจดั การในการจัดระเบยี บการเผา เพอื่ ควบคมุ ปรมิ าณฝุ่นละอองทเ่ี กิดขึ้น ณ เวลาหน่ึง
เวลาใด ไม่ให้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย โดยคานึงถึงสภาพอุตุนิยมวิทยาซ่ึงมีผลต่อ
ความสามารถในการกระจายของฝุ่นละอองในอากาศและขีดความสามารถของพื้นท่ีในการรองรับฝุ่น
ละอองท่ีเกิดขึน้ และนาระบบดังกลา่ วไปใช้ใหเ้ กดิ ผลในทางปฏิบตั ิ




(๖) กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และการรถไฟแห่งประเทศไทย
ตอ้ งควบคุมดแู ลไมใ่ หเ้ กดิ การเผาในเขตทางท่ีรับผิดชอบอยา่ งเข้มงวด

๒.๑.๓) ภาคอตุ สาหกรรม
(๑) กาหนดค่ามาตรฐานการระบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน

๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สาหรับโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งปรับปรุงค่ามาตรฐานการระบายมลพิษ
อากาศจากโรงงานอตุ สาหกรรมประเภทต่าง ๆ ใหเ้ ทยี บเทา่ กับมาตรฐานสากล

(๒) กาหนดให้มีการติดตังระบบตรวจวัดการระบายมลพิษอากาศ
ท่ีปลอ่ งแบบต่อเนื่องอัตโนมตั ิ (Continuous Emission Monitoring System, CEMs) สาหรับหม้อ
ไอนาและอุตสาหกรรมประเภทท่ีมีการระบายมลพิษอากาศและเช่ือมโยงข้อมูลผลการตรวจวัดไปยัง
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม การนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย และกรมควบคุมมลพิษ

(๓) จัดระบบการจัดการเพื่อการควบคุมมลพิษที่เกิดจากสถาน
ประกอบการที่ไม่อยู่ภายใต้การบังคับของพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีทาให้การประกอบการที่มีการใช้เครื่องจักรมี
กาลังรวมหรือกาลังเทียบเท่าน้อยกว่าห้าสิบแรงม้า หรือใช้คนงานน้อยกว่าห้าสิบคนโดยใช้เคร่ืองจักร
หรอื ไม่กต็ าม ไมเ่ ขา้ ข่ายเปน็ โรงงานอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงงาน

(๔) ปรับปรุงคุณภาพนามันเตา โดยลดปริมาณสารกามะถันในนา
เตาลง ซึ่งจะเป็นการลดปริมาณการระบายก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่จะถูกปฏิกิริยาเคมีในบรรยากาศ
เปลย่ี นไปเปน็ อนุภาคฝุ่นละอองซลั เฟตทีม่ ีขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

(๕) ไม่ให้มีการใช้ถ่านหินเป็นเชือเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม
ที่ตังอยู่ในพืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เวน้ แต่จะตอ้ งใช้ถ่านหินคณุ ภาพดี Bituminous Coal
ท่ีมีปริมาณสารกามะถันต่าไม่เกินร้อยละ ๐.๕ โดยน้าหนัก และมีการติดตั้งระบบควบคุมการระบาย
ฝุน่ ละอองทม่ี ปี ระสิทธภิ าพไม่ต่ากวา่ ร้อยละ ๙๙.๙

๒.๒) การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการมลพษิ อากาศ
๒.๒.๑) ขยายเครือข่ายการติดตามตรวจสอบฝุ่นขนาดละอองขนาดไม่เกิน

๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ท่ีให้ข้อมูลที่ถูกต้องเช่ือถือได้ ให้ครอบคลุมและเป็นตัวแทนของพ้ืนท่ีต่าง ๆ
ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่เหมาะสม เป็นไปตามหลักวิชาการ และเพียงพอกับความ
ตอ้ งการของประชาชน โดยมรี ะบบรายงานผลทป่ี ระชาชนสามารถเข้าถึงไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยให้มี
การพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเข้ามามีส่วนรว่ มในการดาเนินการในระยะยาว
ต่อไป รวมถึงการใช้ประโยชน์และเช่ือมโยงข้อมูลการติดตามตรวจสอบฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕
ไมครอน (PM2.5) กับเครือข่ายการติดตามตรวจสอบฝนุ่ ขนาดละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)




อ่ืน ๆ ที่ผ่านการรับรองว่าให้ข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ตามเกณฑ์ท่ีหน่วยราชการกาหนด เพื่อให้มีข้อมูล
ระดบั ของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ครอบคลมุ พน้ื ที่มากข้ึน

๒.๒.๒) พัฒนาระบบพยากรณ์คุณภาพอากาศ โดยเฉพาะสาหรับฝุ่นละออง
ขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ท่ีมคี วามแมน่ ยาในเชงิ พืน้ ท่ีและเวลาและเปน็ ที่ยอมรับไดต้ ามหลัก
วิชาการ เพื่อใช้ในการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า เตรียมการและกาหนดมาตรการไว้ล่วงหน้าสา หรับ
ตอบสนองกับสถานการณฝ์ ุน่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ทีจ่ ะเกดิ ข้ึน

๒.๒.๓) ออกขอ้ กาหนดสาหรับการตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) โดยเครื่องมือตรวจวัดแบบ Air Sensors ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และจัดทาข้อแนะนา
การใช้เครื่องมือตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) แบบ Air Sensors รวมถึงการ
แปลผลทถี่ กู ตอ้ ง และทาการเผยแพร่และจัดอบรมให้กบั หนว่ ยราชการต่าง ๆ และประชาชนท่วั ไป

๒.๒.๔) สนับสนุนให้มีการพัฒนาและผลิตเครื่องมือตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่
เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ที่ราคาไม่แพง (Low Cost Air Sensors) โดยให้ข้อมูลผลการตรวจวัดที่
ถูกต้องเช่อื ถอื ไดแ้ ละเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน

๒.๒.๕) ปรับปรงุ ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่วั ไป สาหรบั ค่า
ความเข้มข้นเฉล่ียรายปีของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จากค่าปัจจุบัน
๒๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซ่ึงเทียบเท่ากับค่าเป้าหมายชั่วคราว ระยะท่ี ๒ (Interim Target-2, IT-2)
ขององค์การอนามัยโลก ให้เข้มงวดขึ้นตามลาดับ โดยอาจจะเริ่มจากการปรับลดไปเป็น ๒๐ ไมโครกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร และไปเป็น ๑๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเทียบเท่ากับค่าเปา้ หมายชวั่ คราว ระยะท่ี ๓
(Interim Target-3, IT-3) ขององค์การอนามัยโลก ตามลาดับ และวางแผนงานและมาตรการเพ่ือให้
บรรลุค่ามาตรฐานใหม่ท่ีเข้มงวดมากข้ึน เพื่อเป็นการปกป้องสุขภาพอนามัยของประชาชนที่ดีขึ้น
หลังจากน้ัน จึงพิจารณาปรับค่ามาตรฐานสาหรับค่าความเข้มข้นเฉล่ีย ๒๔ ชั่วโมง ให้เข้มงวดขึ้นใน
ภายหลังตามความเหมาะสมตอ่ ไป

๒.๒.๖) พัฒนาดัชนีคุณภาพอากาศและสุขภาพอนามัย (Air Quality Health
Index, AQHI) โดยเพ่ิมมิติของผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยในดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ที่ใช้อยู่ใน
ปจั จุบนั

๒.๒.๗) ศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องตามหลักวิชาการของแหล่งที่มาของ
ฝ่นุ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพืนท่ีกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล โดยในข้ัน
แรกทาการบูรณาการและประมวลผลร่วมกัน (Meta-analysis) ของข้อมูลจากการศึกษาวิจัยท่ีได้มีการ
ทามาแล้วเกีย่ วกบั แหล่งท่ีมาของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑลและแหลง่ กาเนิดของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในพืน้ ท่ีตา่ ง ๆ ท่ีมีผลต่อระดับฝนุ่




ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และทาการศึกษาวิจัย
เพ่มิ เติมเพ่อื ให้ได้ข้อมลู ที่ถูกตอ้ งสมบรู ณต์ ามความเหมาะสมต่อไป

๒.๒.๘) ปรับปรุงระบบการเก็บข้อมูลการเจ็บป่วยของประชาชนในเขตพืนที่
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้สมบูรณ์ขึน เน่ืองจากระบบฐานข้อมูลการเจ็บป่วยที่รวบรวม
โดยกระทรวงสาธารณสุข เป็นข้อมูลการเจบ็ ป่วยท่ีรวบรวมจากโรงพยาบาลและสถานพยาบาลในสังกัด
ของกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น ไม่ได้มีการรวบรวมข้อมูลจากโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชน
โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ
โรงพยาบาลและสถานพยาบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เน่ืองจากไม่มีระเบียบข้อกาหนดตาม
กฎหมายกาหนดให้โรงพยาบาลและสถานพยาบาลเหล่าน้ันต้องส่งข้อมูลให้กับกระทรวงสาธารณสุข
รวบรวมไว้ในฐานข้อมูลการเจ็บป่วย ทาให้สถิติข้อมูลการเจ็บป่วยในระบบฐานข้อมูลของกระทรวง
สาธารณสุขขาดความสมบูรณ์โดยเฉพาะข้อมูลในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ไม่เพียง
พอท่จี ะใช้ในการศึกษาวิจัยถึงความเช่ือมโยงระหว่างฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) กับการ
เจบ็ ปว่ ยของประชาชนทเ่ี กดิ ขึ้นในกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล

๒.๒.๙) ศึกษาวิจัยผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล และผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์

๒.๒.๑๐) พัฒนาระบบบูรณาการข้อมูลสารสนเทศเชื่อมโยงข้อมูลคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศโดยท่ัวไป ข้อมูลการระบายมลพิษอากาศจากแหล่งกาเนิดประเภทต่าง ๆ และข้อมูลการ
เจ็บป่วย เปน็ ระบบขอ้ มลู ขนาดใหญ่ (Big Data) เพ่ือใช้ประโยชนใ์ นการบริหารจัดการคณุ ภาพอากาศให้เป็นไป
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

๒.๒.๑๑) แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ ๒๕๓๕ ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนตามท่ีกาหนดไว้ในแผนการปฏิรูปประเทศท่ีจะต้อง
ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๕ ปี โดยเฉพาะหมวด ๔ การควบคุมมลพิษ ส่วนท่ี ๔ มลพิษทางอากาศและ
เสียง และจดั ทาประมวลกฎหมายส่ิงแวดลอ้ มหรอื ประมวลกฏหมายมลพษิ ในลักษณะเดียวกันกบั ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือประมวลกฎหมายอาญาท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน หากจาเป็นอาจพิจารณาออก
กฎหมายเฉพาะดา้ นเก่ียวกบั เรื่องมลพษิ ทางอากาศ

๒.๑.๑๒) มาตรการอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่
(๑) ส่งเสรมิ การใช้น้ามันไบโอดเี ซล B10 และ B20
(๒) เพ่ิมพื้นที่สีเขียวในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้ได้

อย่างนอ้ ยไม่ตา่ กวา่ เกณฑม์ าตรฐานสากล คือ ๙ ตารางเมตรต่อคน และการปลูกต้นไมช้ นิดท่ีสามารถดูด
จับฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)




(๓) เสริมสร้างความพร้อมของระบบสาธารณสขุ และเตรียมความพร้อม
ในการรับมือภาวะฉกุ เฉนิ ด้านสาธารณสขุ

(๔) จัดทาคู่มือการเลือกและการใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นละอองอย่าง
ถกู ต้องและเหมาะสม ปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ ตลอดจนเผยแพร่ให้แก่ประชาชน

(๕) ปฏิบตั กิ ารทาฝนหลวงเมอ่ื สภาพอากาศเอือ้ อานวย
(๖) ห้ามนาเขา้ รถเก่าและเครื่องยนต์เก่าใชแ้ ลว้ จากตา่ งประเทศ
(๗) พิจารณาความเหมาะสมในการกาหนดอาย/ุ ระยะทางการใช้งานรถ
แตล่ ะประเภท โดยเฉพาะรถท่ีใช้ในเชิงพาณชิ ยท์ ่มี กี ารใชง้ านสูง




สารบญั

หนา้

บทสรปุ ผู้บริหาร.............................................................................................................................. ซ

สารบญั ............................................................................................................................................. ท
สารบัญตาราง................................................................................................................................... น
สารบญั ภาพ..................................................................................................................................... ป
บทท่ี ๑ บทนา............................................................................................................................... ๑

๑.๑ ความเปน็ มาของการพจิ ารณาศึกษา.................................................................... ๔
๑.๒ วตั ถุประสงค์......................................................................................................... ๔
๑.๓ ขอบเขตของการพจิ ารณา..................................................................................... ๔
๑.๔ ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั .................................................................................... ๔
บทที่ ๒ หลกั การและเหตผุ ล.......................................................................................................... ๕
บทที่ ๓ วิธีการพิจารณาศกึ ษา....................................................................................................... ๗
บทท่ี ๔ ผลการศกึ ษา..................................................................................................................... ๙
๔.๑ ตัวชวี้ ัดคา่ ความเขม้ ขน้ ของฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ ในบรรยากาศตามแผนการปฏริ ูป

ประเทศ................................................................................................................. ๙
๔.๒ การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทวั่ ไป

ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล........................................................................ ๑๐
๔.๒.๑ เครือข่ายการตรวจวัดฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขต

พืน้ ทก่ี รงุ เทพมหานครและปริมณฑล........................................................ ๑๐
๔.๒.๒ การตรวจวดั ฝ่นุ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

ด้วยเครอ่ื ง Air Sensors............................................................................ ๑๔
๔.๒.๓ การเผยแพรข่ อ้ มลู คณุ ภาพอากาศในบรรยากาศในเขตพืน้ ท่กี รงุ เทพมหานคร

และปริมณฑลแกส่ าธารณชน.................................................................... ๑๗
๔.๒.๔ ดชั นีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index, AQI)....................................... ๑๘
๔.๓ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทวั่ ไปสาหรับฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)................................................................................. ๒๒
๔.๔ สถานการณค์ ุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทวั่ ไปในเขตพืน้ ที่กรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล........................................................................................................ ๒๕
๔.๕ แหลง่ ท่ีมาของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)................................. ๓๐




สารบญั (ตอ่ )

หน้า

๔.๖ ผลกระทบของฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5).............................. ๔๐
๔.๖.๑ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพอนามยั .................................................................. ๔๐
๔.๖.๒ การศกึ ษาผลกระทบของฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ต่อสุขภาพอนามยั ในกรงุ เทพมหานคร ................................................. ๔๓
๔.๖.๓ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจและผลกระทบอน่ื ๆ......................................... ๔๕

๔.๗ การดาเนนิ มาตรการแกไ้ ขปญั หามลพษิ อากาศทผ่ี ่านมา................................... ๔๕
๔.๘ การดาเนินการทีผ่ า่ นมาเพอื่ แก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

ในเขตพ้ืนที่กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล........................................................ ๕๖
๔.๘.๑ หลกั การในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หามลพษิ อากาศ........................... ๕๖
๔.๘.๒ การดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หาฝุน่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน

(PM2.5) ในชว่ งวกิ ฤตระหวา่ งปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ตอ่ เนอ่ื งตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒. ๕๘
๔.๘.๓ การดาเนนิ การเพื่อเตรียมการรองรบั และแกไ้ ขปญั หาในชว่ งวิกฤตระหวา่ ง

ปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และการแกไ้ ขปญั หาในระยะยาว ๗๑
บทท่ี ๕ สรปุ ผลการศกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ

๕.๑ สรปุ ผลการศึกษา...................................................................................................... ๘๑
๕.๒ ขอ้ เสนอแนะการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5).. ๘๑

๕.๒.๑ การดาเนนิ การแก้ไขปญั หาเร่งดว่ นและในช่วงวิกฤต (ธนั วาคม - กุมภาพนั ธ์)
๕.๒.๒ มาตรการระยะยาว......................................................................................... ๘๒

บรรณานกุ รม...................................................................................................................................... ๘๒




สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา้

๑ จานวนสถานตี รวจวดั คณุ ภาพอากาศในบรรยากาศในพน้ื ท่กี รงุ เทพมหานคร
และปรมิ ณฑลของกรมควบคมุ มลพษิ ทม่ี กี ารตรวจวดั ฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ถงึ พ.ศ. ๒๕๖๒................................................................................. ๑๒

๒ วธิ ตี รวจวดั คา่ เฉลยี่ ของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน ตามประกาศ
ของกรมควบคมุ มลพิษ เร่ือง เครอื่ งวดั และวิธตี รวจวดั ค่าเฉลี่ยของก๊าซหรือฝุน่ ละออง
ในบรรยากาศโดยทว่ั ไประบบอืน่ หรอื วธิ อี นื่ ทก่ี รมควบคมุ มลพษิ เหน็ ชอบ
ลงวันท่ี ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒........................................................................................... ๑๕

๓ ช่วงคา่ ของดชั นคี ุณภาพอากาศ (AQI) เทียบกบั ชว่ งคา่ ความเขม้ ขน้ ของสารมลพิษอากาศ
ชนดิ ต่าง ๆ............................................................................................................................. ๑๙

๔ ช่วงคา่ ของดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ระดบั คุณภาพอากาศและผลกระทบตอ่ สขุ ภาพอนามยั
การแจง้ เตือนและข้อแนะนาการดูแลตนเอง.......................................................................... ๑๙

๕ เกณฑ์ของดชั นีคณุ ภาพอากาศของประเทศไทยทใ่ี ชจ้ นถงึ วนั ที่ ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑........... ๒๐

๖ มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทวั่ ไปของประเทศไทยสาหรับสารมลพิษอากาศ
ชนดิ ตา่ ง ๆ ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิส่งเสรมิ และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อม
พ.ศ. ๒๕๓๕............................................................................................................................ ๒๓

๗ เกณฑแ์ นะนาขององคก์ ารอนามัยโลก (World Health Organization, WHO)
สาหรบั ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)............................................................. ๒๓

๘ คา่ มาตรฐานฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในบรรยากาศโดยท่ัวไป
ของประเทศตา่ ง ๆ บางประเทศ เปรยี บเทยี บกนั คา่ แนะนาขององค์การอนามัยโลก.............. ๒๕

๙ บญั ชีการระบายมลพิษอากาศจากแหล่งกาเนดิ ที่เป็นรถประเภทต่าง ๆ ในกรงุ เทพมหานคร
ปี พ.ศ. ๒๕๓๗........................................................................................................................ ๓๒

๑๐ บญั ชกี ารระบายมลพิษอากาศจากแหล่งกาเนิดประเภทตา่ ง ๆ ในกรงุ เทพมหานคร
ปี พ.ศ. ๒๕๔๐....................................................................................................................... ๓๓




สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี หนา้

๑๑ เปรยี บเทียบผลการศกึ ษาสดั ส่วนร้อยละของแหลง่ ท่มี าของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรงุ เทพมหานครและจังหวดั ปทมุ ธานขี อง Kim Oanh
(๒๕๕๐) และ Kim Oanh (๒๕๖๐)....................................................................................... ๓๗

๑๒ สรปุ ผลการศึกษาทางระบาดวทิ ยาแบบ Panel Study ของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรงุ เทพมหานคร............................................................................ ๔๔

๑๓ สรปุ ผลการศกึ ษาทางระบาดวทิ ยาแบบ Time-Series Study ของฝุ่นละอองขนาด
ไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรงุ เทพมหานคร ระหวา่ ง ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ - พ.ศ. ๒๕๔๕... ๔๔

๑๔ มาตรฐานการระบายมลพิษอากาศสาหรบั รถผลิตใหมท่ บ่ี ังคบั ใช้ในประเทศไทย................... ๔๗

๑๕ มาตรฐานการระบายมลพษิ อากาศสาหรบั รถใชง้ านทบี่ งั คับใช้ในประเทศไทย...................... ๔๙

๑๖ การดาเนนิ การเพือ่ แกไ้ ขปญั หาและเตรียมการรองรบั ปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สาหรบั ชว่ งวกิ ฤตระหวา่ ง ปลาย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ต่อตน้ ปี
พ.ศ. ๒๕๖๓............................................................................................................................. ๗๒

๑๗ ระดบั สถานการณ์ฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) และการดาเนินการ
ในแต่ละระดบั สถานการณ์....................................................................................................... ๗๔

๑๘ กลุม่ มาตรการท่ี ๑ : การเพมิ่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเชงิ พ้นื ท่ี (กรุงเทพมหานคร
และปรมิ ณฑล)......................................................................................................................... ๗๕

๑๙ กลุ่มมาตรการที่ ๒ : การป้องกนั และลดการเกดิ มลพษิ ทต่ี น้ ทาง (แหลง่ กาเนดิ )...................... ๗๗

๒๐ กลมุ่ มาตรการที่ ๓ : การเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การมลพษิ ....................................... ๗๙




สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา้

๑ ปริมาณสะสมของรถประเภทต่าง ๆ ท่จี ดทะเบยี นในกรงุ เทพมหานคร
ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๓๕ - พ.ศ. ๒๕๖๑........................................................................................ ๑

๒ อาคารสงู จานวนมากรายลอ้ มกรุงเทพมหานครเปน็ กาแพงกน้ั การระบายถา่ ยเทอากาศ
ภายในกรุงเทพมหานคร............................................................................................................................ ๒

๓ เครอื ข่ายการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศของกรมควบคมุ มลพิษ
๖๔ สถานี ใน ๓๔ จังหวดั แยกตามภมู ภิ าค ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒............................................ ๑๐

๔ เครอื ขา่ ยการตรวจวดั คุณภาพอากาศในบรรยากาศในพนื้ ทีก่ รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล
ของกรมควบคมุ มลพิษ รวม ๑๙ สถานี โดยมกี ารตรวจวดั ฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในทุกสถานี.......................................................................................................................... ๑๑

๕ สถานตี รวจวดั คณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทวั่ ไปและหนว่ ยตรวจวดั คณุ ภาพอากาศ
ในบรรยากาศโดยทวั่ ไปแบบเคลือ่ นทขี่ องกรมควบคุมมลพิษ................................................ ๑๒

๖ สถานตี รวจวดั ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) รมิ ถนนพระราม ๖ บรเิ วณหนา้ อาคาร
สงเคราะหก์ องทัพบก สว่ นกลาง สามเสน เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร (ก) และรมิ ถนน
หน้าสานักงานเขตสาทร กรงุ เทพมหานคร (ข)...................................................................... ๑๓

๗ เครือขา่ ยการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทวั่ ไปในพนื้ ท่ีกรงุ เทพมหานคร
(บางสถานตี รวจวดั ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๑๐ ไมครอน (PM10) บางสถานตี รวจวดั ฝนุ่ ละออง
ขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)) ดาเนินการโดยกรุงเทพมหานคร................................. ๑๔

๘ สถานการณฝ์ นุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) เฉลีย่ ๒๔ ชั่วโมงยอ้ นหลังในพนื้ ท่ี
กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ทร่ี ายงานใน Air4Thai เมอื่ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒
เวลา ๐๘.๐๐ น. โดยรวมข้อมลู จากการตรวจวดั ของกรมควบคมุ มลพษิ และของกรงุ เทพมหานคร..๑๘

๙ แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของคา่ ความเขม้ ขน้ เฉลย่ี รายปขี องสารมลพษิ อากาศประเภทต่าง ๆ
ในภาพรวมของกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล เทยี บกบั แนวโน้มการเพ่มิ ขน้ึ ของจานวนรถ
สะสมทีจ่ ดทะเบยี นในกรงุ เทพมหานคร.................................................................................. ๒๖

๑๐ แนวโน้มการเปล่ยี นแปลงของค่าความเขม้ ข้นเฉล่ียรายปีของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในภาพรวมของกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล...................................๒๗

๑๑ การเปลีย่ นแปลงของคา่ ความเข้มข้นเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง ของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ตลอดปี ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒...............................๒๘




สารบญั ภาพ (ต่อ)

ภาพท่ี หน้า

๑๒ การผกผนั ของอณุ หภมู ขิ องชัน้ อากาศ (Temperature Inversion) ทเี่ กดิ จากการแผร่ งั สี
ความร้อนจากพน้ื ดนิ ขนึ้ ไปในอากาศ ทาให้มีชน้ั อากาศอ่นุ อยู่เหนอื ชนั้ อากาศทมี่ อี ณุ หภูมิ
ตา่ กวา่ ทอ่ี ยดู่ า้ นลา่ ง ทาใหส้ ารมลพษิ อากาศไมส่ ามารถลอยตวั สงู ขน้ึ และกระจายไป
ในอากาศได้เกดิ การสะสมในอากาศ ทาให้ความเข้มข้นสงู ขึ้น........................................... ๒๘

๑๓ ภาพถา่ ยบรเิ วณสนามบนิ ดอนเมอื งทถี่ กู ปกคลุมดว้ ยกลมุ่ หมอกควนั และสภาวะการผกผนั
ของอุณหภมู ิของชนั้ อากาศ (Temperature Inversion) ทที่ าให้เขม่าควนั ท่ถี กู ระบาย
จากแหลง่ กาเนดิ ไม่สามารถลอยตัวข้นึ สงู และกระจายไปในอากาศได้.................................. ๒๙

๑๔ การกระจายตวั ของขนาดฝนุ่ ละอองทเ่ี กดิ จากแหลง่ กาเนดิ ประเภทตา่ ง ๆ............................ ๓๑

๑๕ บญั ชีการระบายมลพษิ อากาศจากแหล่งกาเนิดทเี่ ปน็ รถประเภทต่าง ๆ ปี พ.ศ. ๒๕๓๗
แยกตามประเภทมลพษิ อากาศ.............................................................................................. ๓๒

๑๖ บัญชีการระบายมลพษิ อากาศจากแหลง่ กาเนดิ ประเภทตา่ ง ๆ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐
แยกตามประเภทมลพษิ อากาศ.............................................................................................. ๓๓

๑๗ สัดสว่ นของแหล่งทมี่ าของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) พืน้ ทีด่ นิ แดง
สถาบนั ราชภัฏจนั ทรเกษม สถาบนั ราชภฏั สมเด็จเจา้ พระยา และบางนา.............................. ๓๔

๑๘ สดั สว่ นของแหล่งทม่ี าของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ท่บี ริเวณดนิ แดง
ในกรงุ เทพมหานคร ซึง่ เปน็ พนื้ ทท่ี ีม่ ีการจราจรหนาแนน่ ....................................................... ๓๕

๑๙ แหล่งทม่ี าของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในฤดฝู นและฤดแู ล้ง
ในกรงุ เทพมหานครและจงั หวดั ปทมุ ธานี............................................................................... ๓๖

๒๐ สดั ส่วนแหล่งทม่ี าของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรุงเทพมหานคร
และปรมิ ณฑล......................................................................................................................... ๓๗

๒๑ สดั ส่วนการระบายฝ่นุ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จากแหลง่ กาเนิด
ประเภทต่าง ๆ ในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล โดยไมไ่ ดร้ วมการระบายฝนุ่ ละออง
ขนาดไม่เกนิ ๒.๕ (PM2.5) จากการเผาชวี มวลในพื้นที่เกษตรเพ่ือเก็บเกี่ยวหรอื เตรียมดิน...... ๓๘

๒๒ สัดสว่ นการระบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จากแหลง่ กาเนิด
ประเภทตา่ ง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมการระบายฝุ่นละออง
ขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ (PM2.5) จากการเผาชวี มวลในพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเพอ่ื เก็บเกย่ี ว
หรือเตรยี มดนิ .......................................................................................................................... ๓๙




สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่ หน้า

๒๓ ขนาดของฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) เทียบกบั เส้นผา่ นศนู ย์กลาง
ของเสน้ ผมมนุษย์และเมด็ ทราย............................................................................................. ๔๑

๒๔ ขนาดของฝนุ่ ละอองทสี่ ามารถผา่ นเขา้ ไปถงึ สว่ นตา่ ง ๆ ของระบบทางเดนิ หายใจของคน..... ๔๑

๒๕ ปัจจัยเส่ยี งตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ สาเหตุทาใหค้ นทว่ั โลกเสียชวี ิตก่อนเวลาอนั ควรสงู ที่สดุ
โดยฝนุ่ ละอองเปน็ ปัจจัยเส่ียงลาดบั ท่ี ๖................................................................................. ๔๒

๒๖ อุปกรณก์ าจัดมลพิษอากาศ Catalytic Converter ในทอ่ ไอเสยี ของรถเบนซนิ ..................... ๔๘

๒๗ สถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ.) ท่ไี ดร้ บั อนญุ าตจากกรมการขนส่งทางบก
โดยมกี ารตรวจสภาพรถด้านความปลอดภัยและการระบายมลพิษอากาศ
และส่งขอ้ มูลผลการตรวจสภาพผ่านระบบออนไลนไ์ ปยังกรมการขนสง่ ทางบกโดยตรง........ ๕๑

๒๘ การตรวจสภาพรถเพื่อเสียภาษแี ละต่อทะเบยี นประจาปี ณ กรมการขนสง่ ทางบก............... ๕๒

๒๙ การตรวจสอบตรวจจับรถทป่ี ลอ่ ยควนั ดาในเขตกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล
โดยเจา้ พนักงานตารวจจราจร............................................................................................... ๕๒

๓๐ ระบบรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนในกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ซง่ึ ประกอบดว้ ยระบบรถไฟฟา้
ขนสง่ มวลชนกรุงเทพของกรุงเทพมหานคร (ด้านซา้ ย) และระบบรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนมหานคร
ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแหง่ ประเทศไทย (ดา้ นขวา) รวมระยะทางประมาณ
๔๐ กิโลเมตร........................................................................................................................ ๕๓

๓๑ ผลของความเรว็ ในการขบั เคลื่อน (กโิ ลเมตรตอ่ ชวั่ โมง) ตอ่ ปรมิ าณการระบายฝ่นุ ละออง
(กรมั ตอ่ กโิ ลเมตร) จากรถขนาดใหญท่ ่ใี ชน้ า้ มนั ดเี ซล (น้าหนกั รถรวมนา้ หนกั บรรทกุ ๗.๕-๑๖).... ๕๔

๓๒ องคป์ ระกอบของปญั หามลพิษอากาศ.................................................................................... ๕๖

๓๓ องค์ประกอบของปญั หามลพิษอากาศ (กรอบสีฟ้า) และหลกั การในการจดั การปอ้ งกนั
และแก้ไขปญั หามลพษิ อากาศ (กรอบสแี ดง)………………………………………………………………… ๕๗

๓๔ ค่าดชั นีคุณภาพอากาศ (AQI) ของฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในบรเิ วณตา่ ง ๆ ของกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล เมอื่ วนั ท่ี ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒........... ๕๙

๓๕ การตรวจสอบตรวจจบั รถที่ใช้น้ามนั ดเี ซลทป่ี ล่อยควนั ดาของกองบงั คับการตารวจจราจร/
สานกั งานตารวจแห่งชาติ รว่ มกบั กรมควบคมุ มลพิษและกรงุ เทพมหานคร........................... ๖๐




สารบญั ภาพ (ต่อ)

ภาพท่ี หนา้

๓๖ การฉีดพ่นน้าแรงดนั สงู ไปในอากาศของกรุงเทพมหานครเพอื่ กาจัดฝนุ่ ละออง
ขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ออกจากอากาศ............................................................ ๖๓

๓๗ กลไกหลักในการกาจัดฝนุ่ ละอองของละอองหยดนา้ ............................................................ ๖๓

๓๘ ประสิทธิภาพของละอองหยดน้าในการกาจดั ฝุน่ ละอองท่ีมขี นาดตา่ ง ๆ กนั และผล
ของขนาดละอองหยดนา้ ต่อประสทิ ธภิ าพการกาจดั ฝ่นุ ละออง............................................. ๖๔

๓๙ การตดิ ตง้ั หัวฉีดน้าแรงดันสงู พืน้ ทีต่ ่าง ๆ และเหนอื ถนนวิภาวดรี ังสติ
เพื่อพน่ ละอองหมอก (Mist) สาหรับกาจดั ฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)............ ๖๕

๔๐ เคร่ืองกรองฝ่นุ ละอองแบบฉดี น้าติดต้งั บริเวณริมถนนพระราม ๖........................................ ๖๖

๔๑ การเผาชีวมวลในทโ่ี ล่งในจงั หวดั ปทมุ ธานีเพอ่ื แผว้ ถางพน้ื ท่ี ทาให้เกดิ การฟุ้งกระจาย
ของฝนุ่ ละอองจานวนมหาศาล............................................................................................. ๖๗

๔๒ การลดลงของการระบายสารมลพษิ อากาศจากรถใช้งานระดบั มาตรฐาน Euro 3
และระดบั มาตรฐาน Euro 4 ทีใ่ ชน้ า้ มนั ดีเซล เมอ่ื เปล่ียนมาใชน้ า้ มนั ดีเซล
ท่ีมีกามะถนั ไมเ่ กิน ๑๐ ppm แทนน้ามนั ดีเซลท่มี กี ามะถนั ไมเ่ กนิ ๕๐ ppm...................... ๘๓

๔๓ ประสิทธภิ าพของหน้ากากปอ้ งกนั ฝนุ่ ละออง หากสวมใสใ่ หถ้ ูกต้องกระชบั กบั ในหน้า......... ๘๕

๔๔ ปริมาณการระบายฝนุ่ ละออง (PM) และกา๊ ซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx)
ของรถขนาดเล็กและรถขนาดใหญ่ทีใ่ ชน้ า้ มนั ดเี ซล เปรยี บเทียบระหว่างมาตรฐานระดับ Euro
5/Euro V กับมาตรฐานระดบั Euro 6/Euro VI.................................................................. ๘๗

๔๕ อปุ กรณก์ รองฝนุ่ ละออง (Diesel Particulate Filter, DPF) ตดิ ตัง้ อย่ใู นท่อไอเสยี ของรถ
ทใี่ ชน้ า้ มนั ดเี ซลมาตรฐานระดับ Euro 6/Euro VI................................................................. ๘๗

๔๖ อุปกรณก์ าจัดกา๊ ซออกไซดข์ องไนโตรเจน (Selective Catalytic Converter, SCR)
ตดิ ตง้ั อยูใ่ นทอ่ เสยี ของรถท่ีใชน้ ้ามนั ดเี ซลมาตรฐานระดบั Euro 6/Euro VI.......................... ๘๘

๔๗ ผลของสารกามะถนั ในน้ามนั ดีเซลและมาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ
Euro ระดบั ตา่ ง ๆ ตอ่ การระบายฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)................... ๘๘

๔๘ การตรวจวดั การระบายมลพษิ อากาศจากทอ่ เสียของรถจากระยะไกล (Remote Sensing)
ในขณะทรี่ ถวิ่งใชง้ านอย่บู นถนน.............................................................................................๙๐




สารบญั ภาพ (ตอ่ )

ภาพที่ หนา้
๔๙ เครอื่ งมอื ตรวจวดั ควนั ดาแบบกระดาษกรอง.......................................................................... ๙๐
๕๐ เครอ่ื งมอื ตรวจวดั ควันดาระบบวดั ความทบึ แสง..................................................................... ๙๑


รายงานการพิจารณาศกึ ษา
ของคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม วุฒสิ ภา

เรือ่ ง ปญั หาฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในเขตพน้ื ที่กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล
บทท่ี ๑ บทนา

๑.๑ ความเป็นมาของการพิจารณาศึกษา
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลประสบกับปัญหามลพิษทางอากาศมานานมากกว่า ๒๕ ปี

โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของเมือง การเพิ่มขึ้นของประชากร
การก่อสร้างอาคาร ถนน และการก่อสร้างประเภทอ่ืน ๆ เพิ่มจานวนข้ึนอย่างต่อเน่ือง การเพ่ิมข้ึน
ของกิจกรรมต่าง ๆ และการเพิ่มข้ึนของรถประเภทต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง จากจานวน ๒ ล้านกว่าคัน
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เพิ่มข้ึนเป็น ๑๐ ล้านกว่าคัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ดังแสดงในภาพที่ ๑ ขณะท่ีจานวน
ถนนมีจากัด ทาให้เกิดปญั หาการจราจรติดขัดเพิ่มขนึ้ อย่างตอ่ เน่ือง

ภาพท่ี ๑ ปริมาณสะสมของรถประเภทต่าง ๆ ที่จดทะเบียนในกรุงเทพมหานคร
ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๓๕ - พ.ศ. ๒๕๖๑

ท่ีมา : จากข้อมูลสถิติการจดทะเบียนรถประเภทต่าง ๆ ในแต่ละปีในกรุงเทพมหานคร
ของกรมการขนส่งทางบก



นอกจากน้ี ยังมีอาคารสูงประเภทต่าง ๆ เกิดข้ึนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นจานวน
มากอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ อาคารโรงแรม อาคารสานักงาน อาคารชุดคอนโดมิเนียม และอาคาร
อเนกประสงคต์ า่ ง ๆ กรุงเทพมหานครจึงถูกรายลอ้ มไปด้วยอาคารสูงจานวนมากเปรยี บเสมอื นกาแพงสูง
ปิดก้ันการระบายถ่ายเทอากาศภายในกรุงเทพมหานคร ดังแสดงในภาพท่ี ๒ ทาให้สารมลพิษอากาศ
ที่ถูกระบายออกจากแหล่งกาเนิดต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานครระบายถ่ายเทออกไปได้ยาก เกิดการสะสม
ตวั และทาให้ความเขม้ ข้นของสารมลพษิ อากาศสงู ขนึ้

ภาพที่ ๒ อาคารสูงจานวนมากรายล้อมกรุงเทพมหานครเป็นกาแพงก้ันการระบาย
ถา่ ยเทอากาศภายในกรุงเทพมหานคร
ท่มี า : ดร. สพุ ัฒน์ หวังวงศ์วฒั นา

รฐั บาลแต่ละรฐั บาล ในชว่ งเวลาท่ีผ่านมาได้ดาเนินการตามมาตรการต่าง ๆ ในการลดปริมาณ
การระบายสารมลพิษอากาศจากแหล่งกาเนิดประเภทต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้สามารถควบคุมและลดปัญหา
มลพษิ อากาศในกรงุ เทพมหานครและปริมณฑลลงไดใ้ นระดบั หนงึ่ โดยพบวา่ ความเขม้ ข้นเฉลี่ยรายปีของ
สารมลพิษอากาศเกือบทุกชนิดมีแนวโน้มลดลงมาอย่างต่อเน่ือง ได้แก่ สารตะกั่ว (Pb) ก๊าซคาร์บอน
มอนน๊อกไซด์ (CO) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สารเบนซีน (C6H6)
และสารประกอบ ๑,๓-บวิ ทาไดอนี (C4H6) ยกเว้นก๊าซโอโซน (O3) เทา่ นั้น ทมี่ ีแนวโนม้ เพมิ่ ข้นึ




ถึงแม้ว่าความเข้มข้นเฉล่ียรายปีของสารมลพิษอากาศส่วนใหญ่รวมถึงฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจะมีแนวโน้มลดลงมาอย่างต่อเนื่องก็ตาม
แต่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลก็ยงั คงประสบปญั หามลพิษอากาศโดยเฉพาะอย่างยงิ่ ฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สาหรับความเข้มข้นในช่วงเวลาเฉลี่ยส้ัน เช่น ๒๔ ช่ัวโมง หรือรายวัน
ซ่ึงเป็นปัญหาที่เกดิ ข้ึนเฉพาะบางฤดูกาลเท่านั้น คือ ในทุก ๆ ปี ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลจะสูงข้ึนเกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย (๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร) เมื่อเรมิ่ เข้าสู่ฤดหู นาวต้ังแต่
เดือนพฤศจิกายนไปจนถึงกลางเดือนมีนาคม เนื่องจากสภาพอากาศปิดไมเ่ อื้ออานวยต่อการกระจายตัว
ของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ทาให้เกิดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในอากาศและทาให้ความเขม้ ขน้ สงู ขึน้ โดยมักจะพบค่าความเขม้ ขน้ ของฝุน่ ละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สูงมากในช่วงระหว่างเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ โดยอาจจะ
สูงเกินค่ามาตรฐานมากกว่าเท่าตัว เม่ือเร่ิมเข้าสู่ฤดูร้อนและฤดูฝนต้ังแต่กลางเดือนมีนาคมเป็นต้นไป
จนถึงเดือนตุลาคม ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ก็จะลดลงและอยู่ใน
เกณฑ์คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย เนื่องจากสภาพอากาศเปิดและมีฝนตก
ทาให้ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) กระจายและเจือจางไดด้ ีขนึ้

ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ท่ีมีค่าสูงเกินมาตรฐานไปมาก
สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ
อีกด้วย โดยเฉพาะด้านการท่องเท่ียวในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เน่ืองจากนักท่องเท่ียว
จา ก ทั้ง ใน แ ละ ต่า ง ป ร ะ เ ทศ จะ ห ลีก เ ล่ียง ก า ร เ ดิ น ทา ง เ ข้ า ม า ท่อ ง เ ที่ยว ใ น พ้ืน ท่ีก รุ ง เ ทพม ห า น ค ร
และปริมณฑลในขณะที่มีปัญหามลพิษอากาศอยู่ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้ประมาณการผลกระทบ
ทางเศรษฐกิจที่เกิดจากปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
และปริมณฑลถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ จากค่าเสียโอกาสในประเด็นสุขภาพ การใช้จ่าย
ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการปรับพฤติกรรมของคนกรุงเทพมหานคร เพ่ือหลกี เลย่ี งหรอื ป้องกนั การเผชิญหนา้
กับฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) เช่น การใช้จ่ายในการซ้ือหน้ากากเพ่ือป้องกัน
ฝนุ่ ละออง ด้านการท่องเทยี่ ว และอื่น ๆ เปน็ จานวนสงู ถึง ๑.๔๕ หมืน่ ล้านบาท นอกจากน้ี ไดป้ ระเมินผล
กระทบจากปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ทเ่ี กิดขึ้นในช่วงระหว่างวันที่ ๒๘ กันยายน
ถึงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีผ่านมา พบว่าน่าจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจคิดเป็นมูลค่า
ประมาณ ๗๐๐ – ๘๐๐ ล้านบาท ขณะท่ีผลกระทบต่อภาคการท่องเท่ียวน่าจะยังไม่ส่งผลชัดเจนนัก
โดยกล่มุ นกั ท่องเทีย่ วตา่ งชาติท่จี ะเดินทางเขา้ มาท่องเท่ียวในพน้ื ที่กรงุ เทพมหานครในช่วงน้ีส่วนใหญ่จะมีการ
วางแผนล่วงหนา้ ไว้กอ่ นแล้ว (ศูนยว์ ิจยั กสิกรไทย, ๒๕๖๒)




๑.๒ วัตถุประสงค์
ในการพิจารณาศึกษาคร้ังนี้ คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา

ไดต้ ้งั วัตถุประสงค์ไว้ดังนี้
๑) เพือ่ ศกึ ษาปญั หาฝุน่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้นื ทกี่ รงุ เทพมหานคร

และปริมณฑล
๒) เพ่ือพิจารณาศึกษาข้อเท็จจริง สภาพปัญหา และอุปสรรคในการดาเนินการลดฝุ่นละออง

ขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนที่กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล
๓) เพ่ือศึกษาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

ในเขตพน้ื ท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

๑.๓ ขอบเขตของการพจิ ารณา
- ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล คือ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม

จังหวดั สมทุ รสาคร จังหวดั สมุทรปราการ จังหวดั ปทมุ ธานี และจังหวดั นนทบรุ ี

๑.๔ ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั
รับทราบข้อมูล ข้อเท็จจริง สภาพปัญหา และอุปสรรคในการดาเนินการลดฝุ่นละอองขนาด

ไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานครและปริมณฑล และนาไปสู่แนวทางการแก้ไข
ปัญหา


บทที่ ๒ หลักการและเหตผุ ล

แผนการปฏิรูปประเทศ ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ (สานักนายกรัฐมนตรี,
๒๕๖๑) ระยะเวลาดาเนินการ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) มีเป้าหมายและผลอันพึงประสงค์
โดยการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม คอื ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ได้รับการรักษา ฟ้ืนฟูให้สมบูรณ์และย่ังยืนเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศ สร้างความสมดุลระหว่าง
การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ โดยในเรื่องส่งิ แวดลอ้ มได้กาหนดตัวชวี้ ัดค่าความเขม้ ข้นของฝุ่นละออง
ขนาดเล็กในบรรยากาศลดลงเหลือ ๒๕.๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ภายใน ๕ ปี หรือภายในปี
พ.ศ. ๒๕๖๕

นอกจากน้ี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗๐ วรรคหน่ึง
ได้กาหนดไว้ดังน้ี “นอกจากจะมีหน้าที่และอานาจตามท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว ให้วุฒิสภา
ตามมาตรา ๒๖๙ มีหน้าท่ีและอานาจติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศ เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายตามหมวด ๑๖ การปฏิรปู ประเทศ และการจัดทาและดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ ในการนี้
ให้คณะรัฐมนตรีแจ้งความคืบหน้าในการดาเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศต่อรัฐสภาเพ่ือทราบ
ทกุ สามเดอื น”

ดังน้ัน เพ่ือเป็นการดาเนินการให้เป็นไปตามวรรคหนึ่งของมาตรา ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วุฒิสภา
จึงได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการด้านสิ่งแวดล้อม ดาเนินการพิจารณาศึกษา เรื่อง ปัญหาฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อศึกษา วิเคราะห์
และประมวลผลในเชิงลึกถึงสถานการณ์ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ผลกระทบที่เกิดขึ้น แหล่งที่มาของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) การดาเนินการแก้ไขปัญหาท่ีผ่านมา แผนการดาเนินการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล
และจัดทาข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาต่อไปในอนาคต เพื่อประกอบการติดตาม เสนอแนะ
และเร่งรัดการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเรื่องส่ิงแวดล้อม โดยตัวชี้วัด
คอื ค่าความเข้มขน้ ของฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศลดลงเหลือ ๒๕.๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ภายใน ๕ ปี


บทที่ ๓ วิธีการพิจารณาศึกษา

การพิจารณาศึกษาเรื่อง ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ี
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลของคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา
ไดด้ าเนนิ การโดย

๑. ศึกษารวบรวมข้อมูลจากรายงานการศึกษาต่าง ๆ รายงานวิจัย เอกสารของทางราชการ
เอกสารประกอบการประชุมของคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการต่าง ๆ คณะกรรมาธิการ
และคณะอนุกรรมาธิการชุดตา่ ง ๆ ของรฐั สภา และเอกสารรายงานอน่ื ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง

๒. ศึกษารวบรวมขอ้ มูลจากการประชมุ สัมมนา และเสวนาต่าง ๆ
๓. การเชญิ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งมาใหข้ อ้ มลู ไดแ้ ก่

๓.๑ กรมควบคมุ มลพษิ
๓.๒ กรมการขนสง่ ทางบก
๓.๓ สานกั งานตารวจแห่งชาติ
๓.๔ กรงุ เทพมหานคร
๔. การตดิ ต่อประสานงานขอขอ้ มูลโดยตรงจากหน่วยงานต่าง ๆ


บทท่ี ๔ ผลการศึกษา

๔.๑ ตวั ช้ีวัดค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเลก็ ในบรรยากาศตามแผนการปฏริ ปู ประเทศ
แผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๑ – พ.ศ. ๒๕๖๕ ในเรื่องส่ิงแวดล้อม ได้กาหนด

ตัวชี้วัดค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศลดลงเหลือ ๒๕.๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์
เมตร ภายใน ๕ ป”ี ซ่ึงตัวชว้ี ัดน้ีมีความไม่ชัดเจน เนื่องจากไมม่ ีการระบอุ ย่างชัดเจนว่าความเข้มข้นของ
ฝ่นุ ละอองขนาดเล็กในบรรยากาศเป็นค่าความเข้มข้นเฉล่ียในช่วงระยะเวลาเท่าใด เป็นค่าความเข้มข้น
เฉลี่ย ๒๔ ช่ัวโมง หรือเป็นค่าความเข้มข้นเฉลี่ย ๑ ปี ท้ังน้ี ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ฉบับท่ี ๓๖ (พ.ศ. ๒๕๕๓) เร่ือง กาหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในบรรยากาศโดยทั่วไป ออกตามความในพระราชบญั ญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๕ กาหนดค่ามาตรฐานฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในบรรยากาศโดยท่วั ไป
ค่าเฉลี่ยในช่วงระยะเวลา ๒๔ ช่ัวโมง จะต้องไม่เกิน ๐.๐๕ มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตรหรือ ๕๐ ไมโครกรัม
ต่อลกู บาศก์เมตร และค่ามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) หรือค่าความเขม้ ขน้ เฉล่ียในช่วงระยะเวลา ๑ ปี
จะต้องไม่เกิน ๐.๐๒๕ มิลลิกรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร หรอื ๒๕ ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศก์เมตร

ดังนั้น ตัวชี้วัดค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศตามแผนการปฏิรูป
ประเทศควรจะตอ้ งระบใุ ห้ชดั เจนว่าเป็นค่าความเข้มขน้ เฉลย่ี ในช่วงระยะเวลาเท่าใด เป็นคา่ ความเขม้ ขน้
เฉล่ยี ๒๔ ชว่ั โมง หรอื ค่าความเข้มขน้ เฉลย่ี ๑ ปี เพอื่ ให้การติดตามและเร่งรดั การปฏิรูปประเทศสามารถ
ดาเนินการได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้าประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศ
พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕

การดาเนินการพิจารณาศึกษา เรื่อง ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลน้ี ไดอ้ นมุ านว่าตวั ชี้วัด “ค่าความเข้มขน้ ของฝุ่นละอองขนาด
เล็กในบรรยากาศลดลงเหลือ ๒๕.๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ภายใน ๕ ปี” ที่กาหนดในแผนการ
ปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕ เปน็ คา่ ความเข้มข้นเฉลีย่ ๑ ปี อยา่ งไรก็ตาม หากค่าตวั ชว้ี ัด
ดังกล่าวเป็นค่าความเข้มข้นเฉล่ีย ๑ ปี ก็ยังขาดความสอดคล้องกับค่ามาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในบรรยากาศโดยท่ัวไป ที่ออกตามพระราชบัญญัติส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
พ.ศ. ๒๕๓๕ ทีก่ าหนดคา่ มัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic Mean) ในเวลา ๑ ปี ต้องไมเ่ กิน ๒๕ ไมโครกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร


๑๐

๔.๒ การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปในกรุงเทพมหานคร
และปรมิ ณฑล
๔.๒.๑ เครือข่ายการตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพื้นท่ี

กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล
ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ใ น ก า ร ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ อ า ก า ศ

ในบรรยากาศในประเทศไทยและได้ดาเนินการพัฒนา ปรับปรุง และติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศในประเทศไทย มามากกว่า ๓๐ ปี โดยในปัจจุบันน้ีมีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศโดยทว่ั ไปทวั่ ประเทศ รวมทัง้ สิน้ ๖๔ สถานี ใน ๓๔ จงั หวัด ดังแสดงในภาพท่ี ๓

ภาคเหนอื ๑๕ สถานี

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๓
สถานี

ภาคกลาง ๒๘
สถานี

ภาคตะวนั ออก ๑๔ สถานี
ภาคใต้ ๖ สถานี

ภาพท่ี ๓ เครอื ขา่ ยการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพอากาศในบรรยากาศของกรมควบคมุ มลพษิ
๖๔ สถานี ใน ๓๔ จังหวดั แยกตามภมู ิภาค ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒

ท่ีมา : กรมควบคุมมลพษิ


๑๑

สาหรับในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศของกรมควบคุมมลพิษทั้งหมด ๑๙ สถานี ตั้งอยู่ท้ังในพื้นท่ีท่ัวไปและพ้ืนที่ริมเส้นทาง
การจราจรท่ีมีการจราจรหนาแน่น ดังแสดงในภาพท่ี ๔ โดยทง้ั ๑๙ สถานี มีการตรวจวดั ฝนุ่ ละอองขนาด
ไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

๑ สถานี

๑ สถานี ๑ สถานี
๒ สถานี ๑๐ สถานี

๔ สถานี

ภาพท่ี ๔ เครือข่ายการตรวจวดั คุณภาพอากาศในบรรยากาศในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร
และปรมิ ณฑลของกรมควบคุมมลพิษ รวม ๑๙ สถานี โดยมกี ารตรวจวัดฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ

๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในทุกสถานี
ทีม่ า : กรมควบคมุ มลพิษ

กรมควบคุมมลพิษเร่ิมมีการตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยได้เพ่ิมจานวนสถานีที่มีการตรวจวัด
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ข้ึนตามลาดับ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจานวนท้ังส้ิน
๑๙ สถานี ดังรายละเอียดในตารางท่ี ๑ นอกจากน้ี กรมควบคุมมลพิษยังได้ทาการติดตั้งรถตรวจวัด
คุณภาพอากาศท่ัวไปเพิ่มเติมในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพ่ือให้ครอบคลุมพื้นท่ีมากข้ึน
ดังแสดงในภาพท่ี ๕


๑๒

ตารางท่ี ๑ จานวนสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในพ้ืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ของกรมควบคุมมลพิษ ที่มีการตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ตั้งแต่ปี
พ.ศ. ๒๕๕๔ - พ.ศ. ๒๕๖๒

ปี พ.ศ. จานวนสถานที ี่มกี ารตรวจวัดฝนุ่ ละออง
๒ ขนาดไมเ่ กนิ .๕ ไมครอน (PM2.5)
๒๕๕๔ ๑
๒๕๕๕ ๑
๒๕๕๖ ๑
๒๕๕๗ ๒
๒๕๕๘ ๓
๒๕๕๙ ๕
๒๕๖๐ ๖
๒๕๖๑ ๑๙
๒๕๖๒ ๑๙
ทม่ี า : ขอ้ มูลจากกรมควบคมุ มลพษิ

ภาพท่ี ๕ สถานีตรวจวดั คณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปและหนว่ ยตรวจวดั คณุ ภาพอากาศ
ในบรรยากาศโดยทั่วไปแบบเคลือ่ นท่ีของกรมควบคมุ มลพษิ
ที่มา : กรมควบคมุ มลพษิ


๑๓
กรุงเทพมหานครในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ทาการตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครเช่นเดียวกัน โดยติดต้ังสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศในเขตต่าง ๆ ของกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ มกี ารตรวจวดั ฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) ดังแสดงในภาพที่ ๖ จานวน ๒๔ เขต ด้วยกัน และรถตรวจวัดคุณภาพอากาศทั่วไปที่มีการ
ตรวจวัดฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) อกี ๔ คัน แผนท่ีแสดงจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ท่ัวไปของกรุงเทพมหานคร ดังแสดงในภาพท่ี ๗ ทั้งน้ี กรุงเทพมหานครอยู่ในระหว่างการติดตั้งเคร่ือง
ตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตท่ีเหลือที่ยังไม่มีการตรวจวัดฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) อีก ๒๓ เขต ได้แก่ เขตห้วยขวาง เขตดุสิต เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
เขตวฒั นา เขตสวนหลวง เขตบางนา เขตลาดพรา้ ว เขตดอนเมือง เขตสายไหม เขตคนั นายาว เขตมนี บรุ ี
เขตหนองจอก เขตสะพานสูง เขตคลองสามวา เขตประเวศ เขตจอมทอง เขตบางกอกใหญ่ เขตตล่ิงชัน
เขตทวีวัฒนา เขตบางแค เขตหนองแขม เขตบางบอน เขตทุ่งครุ เพ่ือให้ครบท้ัง ๕๐ เขต ภายในปี
พ.ศ. ๒๕๖๒

(ก) (ข)
ภาพท่ี ๖ สถานีตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ริมถนนพระราม ๖
บริเวณหนา้ อาคารสงเคราะหก์ องทพั บก สว่ นกลาง สามเสน เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร (ก)

และริมถนนหนา้ สานกั งานเขตสาทร กรงุ เทพมหานคร (ข)
ท่ีมา : ดร. สพุ ัฒน์ หวงั วงศว์ ฒั นา


๑๔

ภาพท่ี ๗ เครอื ข่ายการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัว่ ไปในพื้นท่กี รุงเทพมหานคร
(บางสถานีตรวจวดั ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กิน ๑๐ ไมครอน (PM10) บางสถานตี รวจวดั ฝุ่นละออง

ขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)) ดาเนินการโดยกรงุ เทพมหานคร
ทมี่ า : กรุงเทพมหานคร (www.bangkokairquality.com)

๔.๒.๒ การตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ดว้ ยเครื่อง Air Sensors
เนื่องจากประชาชนมีความต้องการท่ีจะทราบข้อมูลเก่ียวกับระดับของฝุ่นละอองขนาด

ไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในพ้ืนทตี่ ่าง ๆ ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ณ เวลาท่ีเป็นปจั จุบัน
และเครือข่ายการติดตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ของกรมควบคุมมลพิษ
และกรุงเทพมหานครไม่ครอบคลุมทุกพื้นท่ีของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามควา มต้องการ
ของประชาชน จึงทาใหป้ ระชาชนจานวนมากซ้ือเครอื่ งมือตรวจวดั ฝุ่นละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
แบบ Air Sensors ท่ีมีราคาไม่แพงมากและสามารถพกพาได้สะดวกมาใช้กันเอง ซ่ึงมีข้อควรระวัง
ที่ตอ้ งคานงึ เก่ียวกับการใช้งานของเครือ่ งตรวจวดั แบบ Air Sensors ดงั นี้

- เคร่ืองมือตรวจวัดแบบ Air Sensors ตรวจวัดฝุ่นละออง โดยใช้หลักการกระเจิงแสง
จากอนุภาคฝุ่นละออง (Light Scattering) ซึ่งแตกต่างจากวิธีการตรวจวัดมาตรฐานที่กาหนด
โดยกรมควบคุมมลพิษท่ีใช้หลักการ Tapered Element Oscillating Microbalance (TEOM)
หรือ Beta Ray Attenuation หรือ วิธีการกระเจิงของแสง (Light Scattering) หรือ วิธีเก็บตัวอย่าง
ด้วยเครื่องเก็บตัวอย่างอากาศแบบ Dichotomous Air Sampler ที่ต้องเป็นไปตามที่ U.S.EPA กาหนด
(กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒ (ก)) รายละเอียดหลักการของวิธีการตรวจวัดมาตรฐานตามที่กาหนด
โดยกรมควบคุมมลพษิ แสดงในตารางท่ี ๒


๑๕

ตารางที่ ๒ วิธีตรวจวัดค่าเฉลี่ยของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน ตามประกาศของ
กรมควบคุมมลพิษ เรื่อง เครื่องวัดและวิธีตรวจวัดค่าเฉลี่ยของก๊าซหรือฝุ่นละอองในบรรยากาศ
โดยท่ัวไประบบอืน่ หรือวธิ อี ่ืนทก่ี รมควบคมุ มลพษิ เห็นชอบ ลงวนั ท่ี ๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

วธิ ีการตรวจวดั PM2.5 หลกั การตรวจวัด

วธิ ีเบตา้ เรดเิ อชัน แอทเทนนูเอชนั ใช้คุณสมบัติของฝุ่นละอองท่ีดูดซับรังสี Beta ท่ีฉายลงไปบนตัวอย่าง
)Beta Radiation Attenuation ฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒ ไมครอน ๕.(PM2.5) ที่เก็บบนกระดาษกรอง
หรอื Beta Ray) ทาให้ปริมาณรังสี Beta ลดทอนลง(Attenuation) ปริมาณของรังสี
Beta ท่ีลดทอนลงจะเป็นสดั ส่วนกบั มวลของฝนุ่ ละอองตัวอย่าง

วิธีเทปเปอร์ อิลิเมนต์ ออสซเิ ลตงิ เป็นการวัดมวลของตัวอย่างฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒ ไมครอน ๕.
ไมโครบาลานซ์ )Tapered (PM2.5) ที่เก็บบนกระดาษกรองที่ติดอยู่ที่ปลายของ Tapered
Element Oscillating Quartz Tube ท่ีมีความไว (Sensitive) ของการส่ันคล้ายซ่อมเสียง
Microbalance; TEOM) โดยความถ่ีในการส่ันจะเปล่ียนแปลงตามน้าหนักของฝุ่นละอองบน
กระดาษกรอง

เป็นการวัดโดยการฉายแสงเลเซอร์ (Laser) ไปยังตัวอย่างฝุ่นละออง

วธิ กี ารกระเจิงของแสง (Light ขนาดไม่เกิน ๒ ไมครอน ๕.(PM2.5) ที่แขวนลอยอยู่ในตัวอย่างอากาศ
Scattering) ที่ดูดผ่านเข้ามาในช่อง ห้อง/(chamber) ตรวจวัด โดยจานวน/
ปริมาณของฝุ่นละอองจะแปรตามความเข้มของแสงที่กระเจิงจากฝุ่ น

ละออง

เป็นการเก็บตัวอย่างอากาศผ่านอุปกรณ์คัดแยกขนาดฝุ่น ละอองแบบ

เสมือนกระทบ (Virtual Impactor) ซึ่งจะแยกขนาดฝุ่นละออง

วธิ เี กบ็ ตวั อย่างด้วยเครื่องเกบ็ ออกเป็น ๒ กลุม่ คือ ขนาดใหญก่ ว่า ๒ไมครอน และ ๑๐ ถึง ๕.ขนาด

ตวั อย่างอากาศแบบไดโคโตมัส ไม่เกิน ๒น แยกจากกัน แผ่ ๒ ไมครอน ไปลงบนกระดาษกรอง ๕.

(Dichotomous Air Sampler) ๒ แล้วนากระดาษกรองไปชั่งน้าหนักเพ่ือหามวลของฝุ่นละอองทั้ง

กลุ่ม และนาไปคานวนหาค่าความเข้มข้นร่วมกับปริมาตรอากาศ

ตวั อยา่ งต่อไป

ทมี่ า : ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ

- เครื่อง Air Sensors ส่วนใหญ่ไม่มีการคัดแยกขนาดอนุภาคฝุ่นละอองที่ดูดเข้ามา
ในเครื่องตรวจวัด จึงไม่สามารถแยกแยะและสรุปได้ว่าเป็นผลการตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) เทา่ น้ัน

- ไม่มีการรับรองผลการตรวจวัดเทียบเคียงกับวิธีมาตรฐานตามที่กรมควบคุมมลพิษ

กาหนดหรอื ตามข้อกาหนดของ U.S.EPA


๑๖

- การตรวจวัดจะถูกรบกวนจากความช้ืนในตัวอย่างอากาศท่ีดูดเข้ามาตรวจวัด
เน่ืองจากความชื้นหรือไอน้าสามารถกระเจิงแสงได้เช่นเดียวกับอนุภาคฝุ่นละออง ทาให้ผลการตรวจวัด
แปรเปล่ียนไปตามระดบั ความชื้นในอากาศด้วย

- ผลการตรวจวัดขึ้นอยู่กับสถานที่ท่ีตั้งเคร่ืองมือตรวจวัดเป็นสาคัญ หากตั้งในจุด
ที่ไม่เหมาะสม เช่น ต้ังอยู่ใกล้เตาทาอาหาร จะให้ผลการตรวจวัดท่ีสูงมาก จะถือเป็นตัวแทนของการ
ตรวจวดั ไมไ่ ด้

- ให้ผลการตรวจวัด ณ เวลาท่ตี รวจวดั เวลาหนึ่งเวลาใด ซ่ึงไม่มีค่ามาตรฐานคุณภาพ
อากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปสาหรับการตรวจวัดในลักษณะดังกล่าวท่ีสามารถนามาใช้ในการ
เปรยี บเทยี บแปลผลได้

นอกจากน้ี U.S.EPA ไดอ้ ธิบายไวใ้ นเอกสาร Air Sensor Guidebook (U.S.EPA,
2014) เกี่ยวกับการใช้เคร่ืองตรวจวัดแบบ Air Sensors ในการตรวจวัดมลพิษอากาศโดยเฉพาะฝุ่น
ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ไว้ ดังนี้

- It is very important for the user to consider the time period over which
the pollutant level was measured.

- The increasing use of sensors is expected to provide more data on air
pollution than has previously been available, and in shorter time increments.
For example, it will be much easier to track minute-by-minute changes in pollution levels.
As a result, we will become more aware of short-term, peak levels of some pollutants.

- It does not mean that a single PM2.5 measurement taken over a few
minutes, or even hours above 35 mg/m3 (U.S. daily standard of PM2.5) is cause for
immediate concern.

- The actual health effects of very short term elevated levels of most
pollutants are not well understood and EPA has not established health information
defining such short-term pollutant exposures and the health-based interpretation of
sensor measurements.

- Much research has to be performed before it is understood how health
messaging for short periods of data collections should be communicated.

ดังนั้น การใช้ผลการตรวจวัดจากเครื่องตรวจวัดแบบ Air Sensors จึงเป็นเพียงการ
เฝ้าระวังเบื้องต้นเท่าน้นั


๑๗

๔.๒.๓ การเผยแพร่ข้อมูลคุณภาพอากาศในบรรยากาศในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร
และปรมิ ณฑลแก่สาธารณชน

กรุงเทพมหานคร ได้ทาการรายงานข้อมลู ผลการตรวจวัดค่าความเข้มข้นของฝนุ่ ละออง
ขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) และคา่ ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10)
ของแต่ละสถานีตรวจวัดของกรุงเทพมหานครให้กับสาธารณชนได้ทราบผ่านทาง Website
www.bangkokairquality.com/bma โดยรายงานเป็นค่าความเข้มข้นเฉล่ีย ๒๔ ชั่วโมงย้อนหลังจาก
เวลาหนง่ึ เวลาใดอย่างต่อเน่อื งและในรปู ของดชั นคี ุณภาพอากาศ (Air Quality Index, AQI)

ในส่วนของกรมควบคุมมลพิษ ได้รายงานข้อมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศโดยท่ัวไปในประเทศไทย รวมท้ังค่าความเข้มข้นของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้แก่สาธารณชนได้ทราบถึงสถานการณ์มลพิษ
อากาศในแต่ละช่ัวโมงและแต่ละวันผ่านทาง Website www.air4thai.pcd.go.th และใน Mobile
Application ชือ่ Air4Thai ซงึ่ สามารถดาวน์โหลดได้ท้ังในระบบ IOS และระบบ Android โดยรายงาน
ค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ของแต่ละสถานีตรวจวัด
ในเขตพื้นที่กรงุ เทพมหานครและปริมณฑลเป็นค่าความเข้มข้นเฉลี่ย ๒๔ ช่ัวโมง ย้อนหลังจากเวลาหนึ่ง
เวลาใดอย่างต่อเน่ืองและในรูปของดัชนีคุณภาพอากาศ (Air Quality Index, AQI) เพ่ือใช้ในการ
เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานว่าค่าความเข้มข้นท่ีตรวจพบสูงกว่าค่ามาตรฐานหรือไม่ และมีผลกระทบ
ตอ่ สขุ ภาพอนามัยหรอื ไม่ในระดับใด นอกจากน้ี ยังรายงานค่าความเข้มขน้ เฉลยี่ เป็นรายช่ัวโมงตอ่ ชั่วโมง
อย่างตอ่ เนื่อง เพ่ือให้ทราบถึงค่าความเข้มข้น ณ ชว่ั โมงใดช่ัวโมงหนึง่ ที่อาจจะมีค่าความเข้มข้นสงู ท่อี าจ
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยแบบเฉียบพลันโดยเฉพาะสาหรับประชาชนกลุ่มเส่ียง
คือ เด็ก ผู้สูงวัย และผู้ที่มีโรคประจาตัว เช่น โรคหอบหืด และโรคภูมิแพ้ ที่ควรต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ
โดยท่ีไม่ต้องรอผลการตรวจวัดให้ครบ ๒๔ ช่ัวโมง สาหรับค่าความเขม้ ขน้ เฉลี่ย ๒๔ ช่ัวโมง ทงั้ นี้ ระบบ Air4Thai
ของกรมควบคุมมลพิษไดเ้ ช่ือมโยงนาข้อมลู ผลการตรวจวดั ฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ของกรุงเทพมหานครมารายงานรว่ มดว้ ย ดงั ตัวอย่างแสดงในภาพที่ ๘


๑๘

ภาพที่ ๘ สถานการณ์ฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) เฉลี่ย ๒๔ ชวั่ โมงย้อนหลัง
ในเขตพ้นื ทก่ี รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ท่รี ายงานใน Air4Thai เมื่อวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒
เวลา ๐๘:๐๐ น. โดยรวมขอ้ มลู จากการตรวจวดั ของกรมควบคุมมลพษิ และของกรงุ เทพมหานคร

ทมี่ า : กรมควบคุมมลพษิ

๔.๒.๔ ดชั นีคณุ ภาพอากาศ (Air Quality Index, AQI)
ดัชนีคุณภาพอากาศ หรือ Air Quality Index (AQI) เป็นการรายงานข้อมูลคุณภาพ

อากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปในรูปแบบที่ประชาชนทั่วไปสามารถท่ีจะเข้าใจได้ง่าย เพ่ือเผยแพ ร่
ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับทราบถึงสถานการณ์มลพิษอากาศหรือคุณภาพอากาศในแต่ละพ้ืน
ท่ีว่าอยู่ในระดับใด มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยหรือไม่และมากน้อยเพียงใด โดยค่าดัชนีคุณภาพ
อากาศ (AQI) ของสารมลพิษอากาศชนิดใดชนิดหน่ึง จะคานวณจากค่าความเข้มข้นของสารมลพิษ
อากาศชนิดนั้นที่ตรวจวัดได้ในอากาศ ร่วมกับค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปของ
สารมลพิษอากาศชนดิ นั้นของประเทศไทย

ค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ที่ ๑๐๐ ของสารมลพิษอากาศชนิดใดชนิดหน่ึง
จะเทียบเท่ากับค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปท่ีอยูใ่ นรูปความเข้มข้นของสารมลพิษ
อากาศชนิดนั้น เช่น ค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ที่ ๑๐๐ ในช่วงเวลาเฉล่ีย ๒๔ ชั่วโมง ของฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จะเทียบเท่ากบั คา่ มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปใน
รูปความเข้มข้นเฉลี่ย ๒๔ ช่ัวโมง ของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ซ่ึงมีค่าเท่ากับ
๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ดังตารางที่ ๓ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบช่วงค่าของดัชนีคุณภาพอากาศ


๑๙

(AQI) ทั้งในรูปแบบตัวเลขและในรปู แบบสกี ับช่วงค่าความเขม้ ข้นของสารมลพิษอากาศชนิดต่าง ๆ ส่วนตารางที่ ๔
แสดงชว่ งค่าของดชั นีคณุ ภาพอากาศท้ังในรปู แบบตัวเลขและในรปู แบบสที ีส่ อื่ ความหมายถงึ ระดบั คุณภาพอากาศ
และผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามยั การแจ้งเตือนและข้อแนะนาการปฏบิ ัตติ นและการดแู ลตนเอง

ตารางท่ี ๓ ช่วงค่าของดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) เทียบกับช่วงค่าความเข้มข้นของสารมลพิษ
อากาศชนิดต่าง ๆ

ที่มา : กรมควบคมุ มลพิษ

ตารางท่ี ๔ ช่วงค่าของดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ระดับคุณภาพอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามยั การแจ้งเตอื นและข้อแนะนาการดแู ลตนเอง

AQI ความหมาย สที ่ใี ช้ ข้อความแจ้งเตือน

0 - 25 คุณภาพอากาศดมี าก ้า คุณภาพอากาศดีมาก เหมาะส หรบั กจิ กรรมกลางแจง้ และการทอ่ งเทยี่ ว

26 - 50 คณุ ภาพอากาศดี เขียว คุณภาพอากาศดี สามารถท กจิ กรรมกลางแจ้งและการทอ่ งเท่ยี วไดต้ ามปกติ

51 - 100 ปานกลาง ประชาชนทว่ั ไป : สามารถท กจิ กรรมกลางแจ้งได้ตามปกติ
เหลอื ง ผูท้ ตี่ อ้ งดแู ลสขุ ภาพเป็นพิเศษ : หากมีอาการเบ้ืองต้น เช่น ไอ หายใจล บาก

ระคายเคืองตา ควรลดระยะเวลาการท กิจกรรมกลางแจง้

101 - 200 เรม่ิ มผี ลกระทบตอ่ ประชาชนท่ัวไป : ควรเฝ้าระวงั สุขภาพ ถ้ามอี าการเบอื้ งต้น เช่น ไอ หายใจ
สุขภาพ ล บาก ระคายเคอื งตา ควรลดระยะเวลาการท กิจกรรมกลางแจ้ง หรอื ใช้
อุปกรณป้องกนั ตนเองหากมคี วามจ เปน็
สม้ ผู้ท่ีต้องดแู ลสขุ ภาพเปน็ พเิ ศษ : ควรลดระยะเวลาการท กิจกรรมกลางแจง้ หรอื
ใช้อปุ กรณป้องกนั ตนเองหากมคี วามจ เปน็ ถา้ มอี าการทางสขุ ภาพ เชน่ ไอ
หายใจล บาก ตาอักเสบ แนน่ หนา้ อก ปวดศีรษะ หวั ใจเตน้ ไม่เป็นปกติ คล่ืนไส้
ออ่ นเพลยี ควรปรึกษาแพทย

> 200 มผี ลกระทบต่อ ทกุ คนควรหลีกเล่ียงกจิ กรรมกลางแจง้ ทกุ หลกี เลย่ี งพนื้ ที่ท่มี ีมลพิษทางอากาศสูง
สุขภาพ แดง หรือใช้อุปกรณปอ้ งกันตนเองหากมีความจ เปน็ หากมีอาการทางสขุ ภาพควร

ปรกึ ษาแพทย

ท่ีมา : กรมควบคุมมลพิษ


๒๐
ในการรายงานผลคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปในภาพรวมในรูปดัชนีคุณภาพ
อากาศ (AQI) ของสถานท่ีใดสถานท่ีหน่ึงที่มีการตรวจวัดสารมลพิษอากาศหลาย ๆ ชนิด จะทาการ
คานวณค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ของสารมลพิษอากาศทุกชนิดที่มีการตรวจวัดท่ีสถานท่ีนั้น
และรายงานผลคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปในภาพรวมของสถานท่ีนั้นโดยรายงานค่าดัชนี
คุณภาพอากาศ (AQI) ของสารมลพิษอากาศทม่ี ีค่าสงู ท่สี ุด
เกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ที่แสดงในตารางท่ี ๓ และตารางที่ ๔ เป็นเกณฑ์
ที่กรมควบคุมมลพิษได้มีการปรับปรุงใหม่ (กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๑) และประกาศลงในราชกิ ิจจานุเบกษา
เม่ือวันท่ี ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยได้เพ่ิมเกณฑ์ดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) สาหรับฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) และได้ปรับเกณฑ์ดัชนีคุณภาพอากาศให้มีความเข้มงวดมากข้ึน
เกณฑเ์ ดิมของดัชนคี ณุ ภาพอากาศ (AQI) ของประเทศไทยท่ถี ูกยกเลิกไปแลว้ แสดงอยูใ่ นตารางที่ ๕
ตารางที่ ๕ เกณฑข์ องดชั นีคณุ ภาพอากาศของประเทศไทยท่ีใช้จนถงึ วนั ท่ี ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑

ทม่ี า : กรมควบคมุ มลพิษ


๒๑

จะเห็นได้ว่าเกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศท่ีกรมควบคุมมลพิษประกาศใช้ใหม่
หลังวันท่ี ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ มีความเข้มงวดกว่าเกณฑ์เดิมท่ียกเลิกการใช้ไปแล้ว กล่าวคือ
ในกรณีท่ีดัชนีคุณภาพอากาศของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) เฉล่ีย ๒๔ ช่ัวโมง
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีคา่ ๒๐๑ จะแสดงผลในรูปแบบสีเปน็ ระดบั สีแดง (ตารางท่ี ๔) แต่หากพิจารณาตาม
เกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) เดมิ ก่อนวันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ จะแสดงผลในรูปแบบ
สีเป็นระดับสีส้มเท่านั้น (ตารางท่ี ๕) ดังน้ัน การปรับเกณฑ์ของดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย
ให้เข้มงวดขึ้น ได้เร่ิมใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ จึงเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาให้สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ทั้งในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนของประเทศ
ไทย ในช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ดูมีความรุนแรงมากกว่าปีก่อน ๆ แต่หากพิจารณาระดับ
ของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในรูปแบบความเข้มข้น จะพบว่าความเข้มข้นเฉลี่ย
๒๔ ชว่ั โมง ของฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพนื้ ทกี่ รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล
ในช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีผ่านมาไม่ได้แตกต่างไปจากที่ตรวจพบในปีก่อน ๆ หน้านี้ดังจะเห็น
ได้จากในภาพท่ี ๑๑ หัวข้อ ๔.๔

ปัญหาหนงึ่ ที่พบในการรายงานผลคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัว่ ไปในรูปแบบดัชนี
คุณภาพอากาศ (AQI) คือ ในหลาย ๆ Websites มีการรายงานผลดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI)
ณ เวลาตรวจวัดจริง (Realtime) และดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) สาหรับผลการตรวจวัดระยะส้ัน เช่น
ค่าเฉล่ีย ๑ ชั่วโมง ที่ไม่มีการกาหนดค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยท่ัวไปไว้ ซ่ึงเป็นการ
รายงานผลที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการและจะทาให้เป็นค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ที่คานวณได้สูง
กว่าความเป็นจริง ทั้งนี้ เน่ืองจากในการคานวณค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) จะคานวณโดยมีการ
เชอื่ มโยงระหวา่ งค่าความเข้มข้นท่ตี รวจวดั ไดจ้ ริงกบั ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
สาหรับช่วงเวลาการตรวจวัดเดียวกันด้วย ดังน้ัน หากไม่มีค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ
โดยทั่วไปกาหนดไว้สาหรับช่วงระยะเวลาการตรวจวัดนั้น ๆ ก็ไม่สามารถที่จะคานวณค่าดัชนีคุณภาพ
อากาศ (AQI) ได้ ซึ่งในปัจจุบันนี้ยังไม่มีประเทศใด ๆ หรือหน่วยงานใด ๆ ที่มีการกาหนดค่ามาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปสาหรับฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ทั้งสาหรับค่า
ณ เวลาตรวจวดั จรงิ หรือค่าความเขม้ ข้นเฉลีย่ ๑ ชว่ั โมง สาหรบั ฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

ยิ่งไปกวา่ นน้ั องค์การอนามัยโลกกไ็ มม่ ีการกาหนดค่าแนะนา (Guideline) สาหรบั ฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สาหรับค่า ณ เวลาตรวจวัดจริงและค่าความเข้มข้นเฉล่ีย ๑ ช่ัวโมง
และ United States Environmental Protection Agency (U.S.EPA, 2014) ได้อธิบายเก่ียวกับดัชนี
คณุ ภาพอากาศ (AQI) ไว้ดังนี้


Click to View FlipBook Version