The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuahuay, 2022-12-10 21:20:41

รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน PM2.5 ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สำนักกรรมาธิการ ๑

๗๒

ตารางท่ี ๑๖ การดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาและเตรียมการรองรับปัญหาฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สาหรบั ช่วงวกิ ฤตระหวา่ ง ปลาย ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ตอ่ ตน้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓

วป/ด/ การดาเนนิ การ

มกราคม ๒๕๖๒ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ได้จดั ทาแนวทางและมาตรการแก้ไข
ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ในกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล

๔ กุมภาพนั ธ์ คณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาติ มีมติ
๒๕๖๒ ๑) เห็นชอบกับแนวทางและมาตรการแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5
ในเขตพนื้ ทกี่ รงุ เทพมหานครและปริมณฑลระยะเร่งดว่ น ตามทก่ี ระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มเสนอ
๒) ใหก้ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม โดยกรมควบคมุ มลพิษ
นาความเห็นของคณะกรรมการสิง่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ ไปปรับปรงุ มาตรการ
ระยะกลางและระยะยาว เสนอคณะกรรมการควบคมุ มลพิษพิจารณา
ในรายละเอียด
๓) มอบหมายให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม โดยกรมควบคมุ
มลพิษ นาเสนอคณะรฐั มนตรีเพ่อื ทราบเปน็ วาระเร่งดว่ นในวนั ท่ี ๕
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๒

๕ กุมภาพนั ธ์ คณะรัฐมนตรี มมี ติ
๒๕๖๒ ๑) รับทราบแนวทางและมาตรการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองเล็ก PM2.5 ในกรุงเทพมหานคร
และปรมิ ณฑลและในพ้นื ท่ีจงั หวดั ตา่ ง ๆ ตามทก่ี ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมเสนอ โดยให้ปรับปรุงแนวทางและมาตรการต่าง ๆ ให้มี
ความเหมาะสมมากยงิ่ ข้นึ
๒) ให้กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข
และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งเร่งดาเนินการสร้างความเข้าใจแกประชาชนให้
ถกู ต้องและชดั เจนเกี่ยวกบั การดาเนินการตามแนวทางและมาตรการในการ
แกไ้ ขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ดังกล่าว

๑๒ กุมภาพันธ์ คณะรัฐมนตรี มมี ตใิ ห้ “การแก้ไขปัญหามลภาวะดา้ นฝนุ่ ละออง” เปน็ วาระแห่งชาติ
๒๕๖๒


๗๓

วป/ด/ การดาเนนิ การ

๒๖ มีนาคม ๒๕๖๒ คณะกรรมการควบคมุ มลพิษ มีมติให้กรมควบคมุ มลพษิ นาความเห็นของคณะกรรมการ
ควบคมุ มลพษิ ไปปรบั ปรงุ รา่ งแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมมอบหมาย

๒๒ เมษายน ใหก้ รมควบคุมมลพษิ ทาการปรบั ปรุงมาตรการ กาหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน

๒๕๖๒ ทเ่ี กี่ยวข้อง วิธีการดาเนินงาน และกรอบเวลา ในร่างแผนปฏบิ ตั ิการฯ ให้ชดั เจน

เพอ่ื เสนอคณะกรรมการควบคมุ มลพิษพิจารณาต่อไป

๑๕ พฤษภาคม คณะกรรมการควบคุมมลพิษ มีมติเห็นชอบ ร่างแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ตามท่ีกรมควบคุม

๒๕๖๒ มลพษิ เสนอ

๑๕ สิงหาคม คณะกรรมการสงิ่ แวดลอ้ มแห่งชาติ มีมติเห็นชอบ รา่ ง แผนปฏบิ ัติการฯ ตามท่ี

๒๕๖๒ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มเสนอ ตามมตคิ ณะกรรมการควบคมุ มลพษิ

คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบ แผนปฏิบัตกิ ารขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไข

๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ ปัญหามลพิษดา้ นฝุ่นละออง” พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๗ ตามทีก่ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสงิ่ แวดลอ้ มเสนอตามมติคณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาติ

ทมี่ า : กรมควบคุมมลพิษ

แผนปฏิบัตกิ ารขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ดา้ นฝ่นุ ละออง”
พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๗ ท่ีคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบเมื่อวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นแผนปฏิบัติการฯ เพื่อให้ทุกภาคส่วนใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการดาเนินการเพ่ือแก้ไขปัญหามลพิษ
ดา้ นฝุน่ ละอองท่ีเกิดข้นึ ในพ้นื ท่ีตา่ ง ๆ ของประเทศไทย ไดแ้ ก่ พน้ื ทภี่ าคเหนอื ๙ จงั หวัด กรงุ เทพมหานครและ
ปริมณฑล พ้ืนท่ีเสี่ยงปัญหาหมอกควันภาคใต้ พื้นท่ีตาบลหน้าพระลาน อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
สระบุรี พื้นท่ีจังหวัดอื่น ๆ ที่เส่ียงปัญหาฝุ่นละออง ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
เป็นรูปธรรม โดยมีขั้นตอนการปฏิบตั ิงานท่ีชัดเจนในชว่ งสถานการณว์ ิกฤตปัญหาฝนุ่ ละออง โดยมตี วั ช้ีวดั
ดังน้ี (กรมควบคมุ มลพษิ , ๒๕๖๒ (ข))

(๑) จานวนวันทป่ี ริมาณฝุน่ ละอองอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานในช่วงวิกฤต เพม่ิ ข้นึ ร้อยละ ๕ ตอ่ ปี

(๒) จานวนจุดความรอ้ น (Hotspot) ภายในประเทศลดลง

(๓) จานวนผู้ปว่ ยด้วยโรคระบบทางเดนิ หายใจ (ท่เี กยี่ วขอ้ งกับมลพษิ อากาศ) ลดลง

แผนปฏิบัติการขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง”

พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๗ ประกอบดว้ ยมาตรการ ๓ กลมุ่ มาตรการ ด้วยกัน คอื

กลุ่มมาตรการท่ี ๑ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเชิงพ้ืนที่ เป็นการ

แก้ไขปัญหาในระยะเร่งดว่ นและในช่วงวิกฤตในพื้นท่ีที่มีปัญหาและพ้ืนท่ีเส่ียงปัญหาฝุ่นละออง โดยแบ่ง


๗๔

การทางานออกเป็น ๓ ช่วง คือ ๑) ช่วงก่อนวิกฤต ๒) ช่วงระหว่างเกิดสถานการณ์วิกฤต และ ๓) ช่วงหลัง
วิกฤต โดยในช่วงระหว่างเกิดสถานการณ์วิกฤต กาหนดให้มีโครงสร้าง/กลไกการบริหารจัดการ
แผนเผชิญเหตุ/มาตรการตอบโต้สถานการณ์ที่จะดาเนินการในแต่ละช่วงระดับของฝุ่นละอองหรือดัชนี
คุณภาพอากาศ (AQI) ดังแสดงใน ตารางที่ ๑๗ โดยมีมาตรการท่ีจะดาเนินการใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒
และทจี่ ะดาเนนิ การในช่วงวิกฤตฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ของแต่ละปี ดงั แสดงในตารางท่ี ๑๘

ตารางท่ี ๑๗ ระดับสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) และการดาเนินการ
ในแตล่ ะระดับสถานการณ์

ระดบั ระดับ PM2.5 การดาเนินการ
สถานการณ์

ระดับที่ ๑ PM2. 5เฉลยี่ ๒๔ ชัว่ โมง มคี ่าไม่เกิน ๕๐ หนว่ ยงานดาเนนิ ภารกจิ ตามสภาวะปกติ
ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร

ระดบั ที่ ๒ PM2.5 เฉลี่ย ๒๔ ชว่ั โมง มคี า่ ระหวา่ ง ทกุ หนว่ ยงานดาเนนิ มาตรการให้เข้มงวด
๕๑ ไมโครกรมั ตอ่ ลูกบาศกเ์ มตร ๗๕ - ขึ้น

ผ้วู ่าราชการกรงุ เทพมหานครผูว้ า่ ราชการ/

ระดบั ที่ ๓ PM2.5 เฉลยี่ ๒๔ ชว่ั โมง มคี า่ ระหวา่ ง จงั หวดั เป็นผู้บญั ชาการเหตกุ ารณ์ โดยใช้
๗๖ ไมโครกรมั ตอ่ ลูกบาศก์เมตร ๑๐๐ – อานาจตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งควบคุม
พนื้ ท่ีและควบคมุ แหลง่ กาเนดิ และกิจกรรม

ทที่ าใหเ้ กดิ มลพษิ

ใหม้ ีการประชุมคณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ ม

PM2.5 เฉลี่ย ๒๔ ชวั่ โมง มคี ่ามากกวา่ แหง่ ชาติ เพือ่ พิจารณามาตรการแกไ้ ข

ระดับท่ี ๔ ๑๐๐ ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒ ๕.

ต่อเนอ่ื ง ไมครอน(PM2.5) เสนอให้นายกรัฐมนตรี

พจิ ารณาสั่งการ

ทีม่ า : กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. ๒๕๖๒)

จะเห็นได้ว่า มาตรการส่วนใหญ่ท่ีจะดาเนินการในช่วงสถานการณ์วิกฤต ยกเว้น
มาตรการ ๑) ถึง ๓) เป็นมาตรการที่เคยใช้ดาเนินการมาแล้วในช่วงวิกฤตช่วง ปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๑
ต่อ ต้นปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงยังไม่เพียงพอท่ีจะสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนได้ นอกจากนี้ ยังขาดความ
ชัดเจนว่าเมื่อฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) มีค่าความเข้มข้นเฉล่ีย ๒๔ ช่ัวโมง
ถึงในระดับท่ี ๒ แล้ว มาตรการเข้มงวดข้ึนท่ีหน่วยงานต่าง ๆ จะดาเนนิ การคือมาตรการอะไร หรือถึงใน
ระดับท่ี ๓ แล้ว มาตรการท่ีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการจังหวัดต่าง ๆ จะใช้ในการ


๗๕

ดาเนินการควบคุมแหล่งกาเนิดและกิจกรรมท่ีทาให้เกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
คือมาตรการอะไร หรือ ถึงใน ระดับท่ี ๔ แล้ว มาตรการที่จะเสนอให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาส่ังการคือ
มาตรการอะไร ไม่ได้มีการวิเคราะห์จาลองสถานการณ์และพิจารณาเตรียมมาตรการต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า
ซง่ึ จะทาให้ไม่สามารถดาเนนิ การ ไดอ้ ย่างทันทว่ งทเี ม่ือเกิดเหตกุ ารณ์ขึน้ จรงิ ดงั เช่นที่เกดิ ขนึ้ มากอ่ นแล้ว

ตารางที่ ๑๘ กลุม่ มาตรการท่ี ๑ :การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจัดการเชงิ พนื้ ท่ีกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล

การเตรยี มการในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรการท่ีจะดาเนนิ การในช่วงวกิ ฤตแตล่ ะปี

๑) ทบทวน วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินสถานการณ์ ๑) ให้หน่วยงานภาครัฐพิจารณาให้เจ้าหน้าท่ีทางาน
ที่เกิดขึ้นและการดาเนินการที่ผ่านมา เพ่ือถอด จากระยะไกล (Work from remote) โดยไม่ต้อง
บทเรยี นการแกไ้ ขปัญหาฝนุ่ ละอองทผ่ี ่านมา เดินทางเข้ามาท่ีสานักงานในกรุงเทพมหานครและ
ขอความรว่ มมอื จากบรษิ ัทเอกชนให้พนักงานทางาน
๒) ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินและ จากระยะไกล
จดั ทาแผนเผชญิ เหต/ุ แผนตอบโต้สถานการณใ์ นช่วงวิกฤต
ให้มีประสิทธภิ าพยิ่งขนึ้ ช่วงกอ่ นระหว่าง และหลังวิกฤต ๒) นาน้ามันเช้ือเพลิงที่มีปริมาณกามะถันไม่เกิน
๑๐ ppm มาจาหน่ายในกรุงเทพมหานครและ
๒.๑) ปรับปรุงระบบการบรหิ ารจดั การในภาวะฉุกเฉิน ปริมณฑลใหไ้ ด้มากที่สุด
ให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ช่วงก่อน ระหว่าง และภายหลัง
ช่วงวิกฤต (โครงสร้างการบริหารจัดการแผนฉุกเฉิน ๓) ขยายเขตพ้ืนท่ีในการจากัดเวลารถบรรทุกขนาดใหญ่
สาหรับการดาเนินการในช่วงวิกฤต มาตรการตอบโต้ เ ข้ า ม า ใ น พื้ น ท่ี ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร จ า ก ว ง แ ห ว น
(Response Measures) ท่ีจะดาเนินการในแต่ละช่วง รัชดาภิเษก ไปเป็นวงแหวนกาญจนาภิเษก (ปัจจุบันนี้
ระดับของฝุ่นละออง หรือ AQI ทบทวนและปรับปรุง ยงั ไม่มกี ารดาเนนิ การ)
แผนการดาเนินงาน (ไมม่ ีการดาเนนิ การ)
๒.๒) กาหนดระบบ ระเบียบ แนวทาง ข้อบังคับ ๔) การตดิ ตามตรวจสอบและเฝ้าระวังสถานการณ์
เพ่ือขบั เคลือ่ นการดาเนินงาน ตามแผนการ/มาตรการ ๕) ติดตามตรวจสอบและพยากรณ์คุณภาพอากาศ
ในช่วงวิกฤต
ล่วงหน้าและรายงานผลให้สาธารณชนได้ทราบ
- ปรับเปลี่ยนรถโดยสารประจาทางปรับอากาศ เป็นประจาทุกวันอย่างตอ่ เนื่อง
ดีเซลเก่าของ ขสมก. ๔๘๙ คัน ที่เหลือ ให้เป็นรถ ๖) ติดตามเฝ้าระวังผลกระทบด้านสุขภาพอนามัยและ
โดยสารประจาทางปรับอากาศก๊าซธรรมชาติ ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย ท่ี อ า จ เ กิ ด จ า ก ม ล พิ ษ ท า ง อ า ก า ศ
ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยเฉพาะฝุ่นละอองและรายงานผลพร้อมคาแนะนา
- วางระบบการเดินทางร่วมกันของเจ้าหน้าที่ ในการปฏบิ ตั ติ นให้สาธารณชนไดท้ ราบอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ในหน่วยราชการต่าง ๆ (Car Pooling หรือ ๗) ปฏิบัติการทาฝนหลวงภายใต้เงื่อนไขภาวะอากาศ
Ride Sharing) (ไมม่ กี ารดาเนินการ) ทเ่ี อื้ออานวย
- จัดทาระเบียบและระบบเพื่อรองรับการทางาน ๘) ส่ือสารข้อมูลท่ีมีความชัดเจน เพ่ือให้ประชาชนรับรู้
จากระยะไกล ) Work from remote) และเข้าใจง่าย โดยให้จัดเตรียมข้อมูลการสื่อสารให้
ทันสถานการณ์ และจัดลาดับการสื่อสารข้อมูล
รวมถงึ กาหนดช่องทางในการส่อื สารในภาวะวิกฤต


การเตรยี มการในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ๗๖
มาตรการท่จี ะดาเนินการในช่วงวกิ ฤตแตล่ ะปี

- สาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และขยายผล ๙) หน่วยงานราชการต่าง ๆ ดาเนินการระบบ

ในวงกวา้ งต่อไป (ไม่มีการดาเนินการ) ก า ร เ ดิ น ท า ง ร า ช ก า ร ร่ ว ม กั น ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ท่ี

- บังคับใช้เครื่องมือตรวจวัดควันดาแบบความ (Car Pooling หรอื Ride Sharing)

ทึบแสงแทนเครื่องตรวจวดั ควันดาแบบกระดาษ ๑๐) บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดกับรถและเรือ

กรองเพ่อื เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการตรวจสภาพรถ ท่ีมีควันดาและห้ามใช้ชั่วคราวจนกว่าจะได้รับการ

ประจาปี โดยสถานตรวจสภาพรถเอกชนท่ีมีการ ซ่อมหรือแก้ไขให้ถูกต้องและผ่านการตรวจรับรอง

จดั ซ้ือเคร่อื งมอื วดั ควันดาใหม่ และผู้ประกอบการ จากเจ้าหนา้ ทีต่ ามกฎหมายแลว้

ท่ีขออนุญาตจัดต้ังสถานตรวจสภาพรถเอกชน ๑๑) ห้ามจอดรถบนถนนสายหลักและสายรองตลอด

ข้ึนใหม่ กาหนดให้ใช้เครื่องมือวัดควันดาแบบ ๒๔ ชั่วโมง

ความทึบแสงเทา่ นั้น และเปล่ียนเป็นเคร่อื งมือ ๑๒) ห้ามการเผาในที่โล่งและเผาขยะโดยเด็ดขาด

วัดควันดาแบบความทึบแสง ท้ังหมดตั้งแต่ ในกรุงเทพมหานคร จังหวัดปริมณฑลและจังหวัด

วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๘ อนื่ ๆ

- อ อก ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ต า ม ม า ต ร า ๑ ๔ ๔ ๑๓) คืนพ้ืนท่ีผิวจราจรจากโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่
ของพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ .๒๕๒๒
และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อกาหนดวิธีการตรวจ ต่าง ๆ เชน่ การก่อสรา้ งรถไฟฟา้ และการก่อสร้างถนน
รบั รองที่ถกู ส่ังเป็นหนังสือให้ระงับใช้รถเป็นการ และทางพเิ ศษ เป็นต้น

ช่ัวคราว และให้เจ้าของรถหรือผู้ขับขี่ซ่อมหรือ ๑๔) ควบคุมฝุ่นจากโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เข่น

แก้ไขรถให้ถูกต้องตามมาตรา ๑๔๓ ทวิ การก่อสร้างรถไฟฟ้า การก่อสร้างถนนและ
เน่ืองจากมีควันดาเกินเกณฑ์ท่ีผู้บัญชาการ
ตารวจแห่งชาติกาหนดตามมาตรา ๑๐ ทวิ ทางพิเศษ การกอ่ สร้างอาคาร เปน็ ตน้
(ไมม่ ีดาเนินการ) ๑๕) เข้มงวด ตรวจสอบเตาเผ าศพ เต าเผาขย ะ

ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน

๑๖) ตรวจสอบและบังคับใช้กฎหมายกับโรงงาน

อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ห ม้ อ ไ อ น้ า ห รื อ แ ห ล่ ง ก า เ นิ ด

ค ว า ม ร้ อ น ใ น เ ข ต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ จั ง ห วั ด

ปริมณฑลอยา่ งเข้มงวด

๑๗) ขอความร่วมมือโรงงานอตุ สาหกรรมหยุดหรือลด

กาลงั การผลติ

ทมี่ า : กรมควบคุมมลพิษ (พ.ศ. ๒๕๖๒)


๗๗

กลุ่มมาตรการท่ี ๒ การป้องกันและลดการเกิดมลพิษท่ีต้นทาง (แหล่งกาเนิด)
เป็นมาตรการท่ีดาเนินการเพื่อลดการะบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
จากแหล่งกาเนิดประเภทต่าง ๆ ซึ่งใชเ้ วลาในการดาเนินการในระยะสั้น ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๖๒ - พ.ศ. ๒๕๖๔
และในระยะยาว ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๗ โดยมีมาตรการท่ีสาคญั ดังแสดงในตารางท่ี ๑๙

ตารางที่ ๑๙ กลมุ่ มาตรการท่ี ๒ : การปอ้ งกนั และลดการเกดิ มลพิษทต่ี ้นทาง (แหล่งกาเนิด)

ประเภท ระยะส้นั ระยะยาว
แหล่งกาเนิด
(พ.ศ. ๒๕๖๒ – พ.ศ. ๒๕๖๔) (พ.ศ. ๒๕๖๕ – พ.ศ. ๒๕๖๗)
ยานพาหนะ
- บังคับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษ - บังคับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษ
การเผาในท่ีโลง่ /
ภาคการเกษตร อากาศจากรถยนต์ใหม่ Euro 5 ภายในปี อากาศจากรถยนต์ใหม่ Euro 6 ภายใน

พ.ศ. ๒๕๖๔ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕

- ปรับลดอายุรถท่ีจะเข้ารับการตรวจสภาพ - บังคับใช้น้ามันเช้ือเพลิงท่ีมีกามะถัน

รถประจาปี ไม่เกิน ๑๐ ppm ต้ังแต่ วันที่ ๑ มกราคม

- พัฒนาระบบการตรวจสภาพรถยนตแ์ ละ พ.ศ. ๒๕๖๗

พฒั นาการเช่ือมโยงข้อมลู การตรวจสภาพ - เปล่ียนรถโดยสารประจาของ ขสมก.

- ควบคุมการนาเข้าเครื่องยนต์เก่าใช้แล้ว ท้ั ง ห ม ด ใ ห้ เ ป็ น ร ถ โ ด ย ส า ร ไ ฟ ฟ้ า

ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการระบาย NGV/มาตรฐาน Euro VI

มลพิษทางอากาศสาหรับรถผลิตใหม่ที่ - ปรับปรุง/แก้ไขการเก็บภาษีประจาปี

ประเทศไทยบังคับใช้อยู่ ณ เวลาท่ี สาหรับรถใช้งาน

นาเข้า และตอ้ งมอี ายุไมเ่ กนิ ๕ ปี - หา้ มนาเข้าเคร่ืองยนต์ใช้แลว้ ทกุ ประเภท

- ซื้อทดแทนรถราชการเกา่ ดว้ ยรถยนต์ไฟฟ้า

- พฒั นาโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ

- ใชม้ าตรการจูงใจและส่งเสริมการผลิตและใช้รถยนต์ไฟฟ้า

- กาหนดพื้นท่ีปลอดการเผาอ้อย - ไม่ให้มีอ้อยท่ีมีการเผา ๑๐๐% ภายใน

เพ่ือเป็นจังหวัดต้นแบบปลอดการเผา ปี พ.ศ. ๒๕๖๕

อ้อย ตัดอ้อยลดร้อยละ ๑๐๐ จานวน - พจิ ารณาเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อม (ปลอด

๕ จงั หวัด ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ การเผา) ในการกาหนดมาตรฐาน

ทางการเกษตรท่ีดี


๗๘

ประเภท ระยะสั้น ระยะยาว
แหล่งกาเนดิ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – พ.ศ. ๒๕๖๔) (พ.ศ. ๒๕๖๕ – พ.ศ. ๒๕๖๗)

- ให้มีการนาเศษวัสดุการเกษตรมาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพทดแทน

การเผา

- สง่ เสรมิ ให้ปรบั เปลย่ี นการปลกู พืชหรอื ไม้ยนื ต้นอ่นื ทดแทนพืชเชงิ เดี่ยวและพืช

ท่มี ีการเผา

- สรา้ งเครือขา่ ยชุมชนการทาเกษตรปลอดการเผา

- เพิ่มประสิทธิภาพของท้องถิ่นในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อไม่ให้มีการกาจัด

ขยะโดยการเผาในท่โี ลง่

- ห้ามไมใ่ ห้มีการเผาในที่โล่งและเผาขยะโดยเดด็ ขาด

- ป้องกนั ไฟป่าและจดั การไฟปา่ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

- กาหนดมาตรฐานการระบายอากาศเสีย - ปรับปรุงมาตรฐานการระบายอากาศ

ในรูป Loading ตามศักยภาพการรองรับ เสยี ให้เทยี บเท่ามาตรฐานสากล

มลพษิ อากาศของพืน้ ท่ี - เพ่มิ การใช้พลงั งานหมุนเวยี นและพลงั งาน

- จัดทาทาเนียบการปลดปล่อยและ ทางเลือกในการผลิตกระแสไฟฟา้

เคล่ือนย้ายมลพษิ (Pollutant Release - ปรบั ปรุงการใชพ้ ลังงานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

อุตสาหกรรม and Transfer Register, PRTR) ในภาคอุตสาหกรรม

- ให้มีการติดตั้งระบบตรวจวัดการระบาย

มลพิษอากาศจากปล่องแบบต่อเนื่อง

( Continuous Emission Monitoring

System, CEMs) สาหรับโรงงาน จาพวก

๓ และระบบรายงานผลอัตโนมัติ

- ควบคุมฝนุ่ ละอองจากการกอ่ สรา้ งและบังคบั ใชก้ ฎหมายอย่างเข้มงวด

การก่อสร้างและ - เพิ่มพ้ืนทส่ี ีเขียวและส่งเสริม Corporate Social Responsibility (CSR) ในการ

ผังเมอื ง จัดการพนื้ ทีส่ ีเขียว

- สง่ เสริมการกอ่ สรา้ งทเี่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม

ภาคครัวเรือน - ใช้พลังงานสะอาดในครัวเรือน
- พฒั นาและส่งเสรมิ การใชเ้ ตาไรค้ วนั และถา่ นปลอดมลพิษ

ท่มี า : กรมควบคมุ มลพษิ (พ.ศ. ๒๕๖๒)


๗๙

กลุ่มมาตรการที่ ๓ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการมลพิษ เป็นมาตรการ
ที่ดาเนินการเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการมลพิษอากาศ ซ่ึงใช้เวลาในการดาเนินการ
ในระยะสน้ั ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๖๒ - พ.ศ. ๒๕๖๔ และในระยะยาว ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๖๕ – พ.ศ. ๒๕๖๗
โดยมมี าตรการท่สี าคัญ ดงั แสดงในตารางท่ี ๒๐

ตารางที่ ๒๐ กลมุ่ มาตรการที่ ๓ : การเพมิ่ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การมลพษิ

การบรหิ ารจดั การ ระยะส้นั ระยะยาว
(พ.ศ. ๒๕๖๒ - พ.ศ. ๒๕๖๔) (พ.ศ. ๒๕๖๕ – พ.ศ. ๒๕๖๗)

พัฒนาเครือขา่ ย - จดั ทาคมู่ ือตง้ั สถานีตรวจวดั คุณภาพ - ขยายเครือข่าย/พ้ืนท่ีการติดตาม

การตดิ ตาม ตรวจสอบ อากาศ ตรวจสอบครอบคลุม ๗๗ จังหวดั และ

คุณภาพอากาศ - เพ่ิมประสิทธิภาพ/เทคโนโลยกี าร ให้ท้องถิ่นตดิ ตามตรวจสอบในพื้นที่

ตรวจวัด (Light Scattering) ตนเอง

ทบทวน/ปรับปรุง - ปรบั ค่ามาตรฐาน PM2. 5เฉลี่ยรายปี - พจิ ารณาความเหมาะสมในการปรับ

กฎหมาย/มาตรฐาน/ ตาม WHO IT-3 ค่ามาตรฐาน PM2. 5เฉล่ยี ๒๔ ชัว่ โมง

แนวทางปฏบิ ตั ิ - ปรับปรงุ พระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ และ ตาม WHO IT-3

ใหส้ อดคลอ้ ง รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติ

กบั สถานการณ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพ

ในการจัดการมลพิษอากาศรวมทง้ั

ศึกษาความเหมาะสมเร่ืองกฎหมาย

อากาศสะอาด (Clean Air Act)

- พจิ ารณาการจดั ระเบยี บการเผาภาค

การเกษตร

สง่ เสรมิ การวิจัย/ - ทดสอบความเป็นไปได้ในการติดตัง้ - พจิ ารณาความเหมาะสมในการ

พฒั นาองคค์ วามรู้/ อุปกรณ์กรองฝุ่น (Diesel Particulate ตรวจวดั คณุ ภาพอากาศโดยใช้

ด้านเทคโนโลยี Filter, DPF) ในรถใช้งานที่ใช้นา้ มนั ดเี ซล เครือ่ งมือตรวจวัดแบบ Air Sensors

การตดิ ตาม ตรวจสอบ - วิจยั พัฒนาองค์ความรู้/นวัตกรรมใน

การตรวจวิเคราะห์ เร่อื งข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพจาก

และนวตั กรรม มลพษิ อากาศ วิธีการเฝ้าระวงั

เพ่อื ลดมลพิษอากาศ ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพษิ อากาศ

เพอ่ื นาไปประยุกตใ์ ช้ อย่างง่ายสาหรับประชาชน เกณฑ์

ดา้ นการจัดการ พจิ ารณา นวัตกรรมในการป้องกนั

มลพิษอากาศ


๘๐ ระยะยาว
(พ.ศ. ๒๕๖๕ – พ.ศ. ๒๕๖๗)
ระยะสัน้
(พ.ศ. ๒๕๖๒ - พ.ศ. ๒๕๖๔)

ตนเองจากมลพิษทางอากาศ ขอ้ มลู
เศรษฐศาสตร์ดา้ น
สขุ ภาพจากมลพิษอากาศ

- เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ และถา่ ยทอดองคค์ วามรู้

การแก้ไขปญั หา - ขับเคลือ่ นการแกไ้ ขปัญหามลพษิ - ขับเคล่อื นการแก้ไขปญั หามลพิษ

มลพิษข้ามแดน ข้ามแดนภายใต้ ASEAN Haze Free ข้ามแดนภายใต้ ASEAN Haze

Roadmap และแผนปฏิบตั กิ าร Agreement

เชยี งราย

- การป้องกันมลพิษขา้ มแดนจากการขนสง่

เชน่ การพจิ ารณาปรบั ปรุงมาตรฐาน

รถยนตแ์ ละน้ามันในภมู ภิ าคอาเซยี นให้

มรี ะดับใกล้เคียงกนั

จัดทาบัญชี - จดั ทาบัญชกี ารระบายมลพษิ ทาง

การระบายมลพิษ อากาศจากแหล่งกาเนิดพื้นที่วิกฤตเป็น

ทางอากาศ ระยะ ๆ

พฒั นาระบบ - บูรณาการระบบข้อมูล สารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทั้งแหล่งกาเนิด ปรมิ าณมลพิษ

ฐานขอ้ มลู เฝ้าระวัง ในบรรยากาศ และผลกระทบตอ่ สุขภาพ เพอ่ื การวางแผนการบรหิ ารจดั การและส่ือสาร

ที่เปน็ หน่ึงเดยี ว แจง้ เตือน

- พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ผลกระทบต่อสุขภาพทเี่ กิดจากมลพษิ อากาศและการรายงานผล

ระบบคาดการณ์ - พฒั นาระบบคาดการณ์สถานการณ์

สถานการณฝ์ ุ่นละออง ฝ่นุ ละออง

ที่มา : กรมควบคุมมลพษิ (พ.ศ. ๒๕๖๒)


บทที่ ๕ สรุปผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลการศึกษา
ปญั หามลพิษอากาศเปน็ ปัญหาเร้ือรังของกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑลมานานมากกวา่ ๒๕ ปี

แล้ว มิใช่เพิ่งเกิดข้ึนในช่วงปีสองปีที่ผ่านมาเท่าน้ัน รัฐบาลที่ผ่านมาทุกรัฐบาลได้ดาเนินมาตรการต่าง ๆ
เพ่ือแก้ไขปัญหามาโดยตลอด ซงึ่ ทาให้คณุ ภาพอากาศในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลคอ่ ย ๆ ดีขึน้ มา
อย่างต่อเนื่อง ความเข้มข้นของสารมลพิษอากาศส่วนใหญ๋ ได้แก่ สารตะกั่ว ก๊าซคาร์บอนมอน๊อกไซด์
ก๊าซซัลเฟอรไ์ ดออไซด์ กา๊ ซออกไซด์ของไนโตรเจน และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน (PM10) ลดลง
อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม
ยังมีสารมลพิษอากาศหลาย ๆ ประเภท ได้แก่ ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ก๊าซโอโซน
และสารประกอบเบนซีน ที่ถึงแม้ว่าจะมีความเข้มข้นค่อย ๆ ลดลงก็ตาม แต่ก็ยังมีค่าเกินค่ามาตรฐาน
คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของ
ประชาชนและผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีผ่านมา ความเข้มข้นเฉลี่ยรายปีของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีค่าอยู่ท่ี ๒๖ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซ่ึงเกินค่า
มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปของประเทศไทย (๒๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
อยู่ ๑ ไมโครกรัมต่อลกู บาศกเ์ มตร นอกจากน้กี รงุ เทพมหานครและปริมณฑลยงั ประสบปญั หาค่าความเข้มข้น
เฉลี่ยรายวันท่ีเกินค่ามาตรฐานของประเทศไทย (๕๐ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ในช่วงฤดูหนาว
ระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เนื่องจากได้รับอิทธิพลสูงมากจากสภาพอุตุนิยมวิทยา
ในบางช่วงบางเวลาที่ไม่เอ้ือต่อการกระจายของสารมลพิษอากาศ เกิดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในอากาศ ทาใหค้ วามเข้มขน้ เฉลยี่ รายวันมีค่าสูงข้นึ เกนิ คา่ มาตรฐานเป็นช่วง ๆ

จากการรวบรวมผลการศึกษาต่าง ๆ ท่ีผ่านมา พบว่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ร้อยละ ๘๐ มีที่มาจากแหล่งกาเนิดหลัก ๆ
๒ ประเภท ด้วยกัน คือ ๑) การคมนาคมขนส่งทางถนน (ร้อยละ ๔๘) โดยเฉพาะรถที่ใช้น้ามันดีเซล
และ ๒) การเผาชีวมวลประเภทต่าง ๆ ในที่โล่ง (ร้อยละ ๓๒) ซ่ึงครอบคลุมถึงการเผาชีวมวลในท่ีโล่ง
ในจงั หวดั ในพนื้ ท่ภี าคกลางท่ีอยูโ่ ดยรอบกรงุ เทพมหานครและปริมณฑลดว้ ย ดงั นน้ั การทจ่ี ะแก้ไขปัญหา
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ให้ได้ผลอย่างเป็นรูปธรรม จะต้องมุ่งเน้นไปที่การดาเนิน
มาตรการต่าง ๆ ท่ีจะส่งผลให้เกิดการลดการระบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
จากแหลง่ กาเนิดหลักทัง้ ๒ ประเภทน้ี อย่างยัง่ ยืน

ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าภาครัฐจะได้พยายามแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลก็ตาม แต่มาตรการต่าง ๆ
ที่ดาเนินการใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ส่วนใหญ่เป็นมาตรการเฉพาะกิจท่ีแก้ไขปัญหาท่ีปลายเหตุ และหลาย ๆ


๘๒

มาตรการที่ดาเนินการ ช่วยลดการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ได้น้อยมาก
และไม่ได้ทาใหเ้ กิดการแกไ้ ขปัญหาอย่างยัง่ ยนื

อย่างไรก็ตาม ในระหว่าง ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ภาครฐั ได้มีการดาเนินการเตรียมการเพ่ือปอ้ งกันและ
แกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในชว่ งวกิ ฤตทจี่ ะเกิดข้นึ ระหว่างเดือนธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ ๒๕๖๓ และเพ่ือการแก้ไขปัญหาในระยะยาวต่อไป ซ่ึงนาไปสู่มติ
คณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ให้ความเห็นชอบ แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระ
แห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๗ เพ่ือให้ทุกภาคส่วนใช้เป็น
แนวทางปฏิบัติในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละอองท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีต่าง ๆ
ของประเทศไทย ได้แก่ พ้ืนที่ภาคเหนือ ๙ จังหวัด กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พ้ืนที่เสี่ยงปัญหา
หมอกควันภาคใต้ พื้นท่ีตาบลหน้าพระลาน อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี พ้ืนที่จังหวัดอ่ืน ๆ
ที่เส่ียงปัญหาฝุ่นละออง ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเป็นรูปธรรม ท้ังการแก้ไข
ปัญหาในชว่ งวิกฤต (ธันวาคม ถึง กมุ ภาพนั ธ์) ของแต่ละปี และการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาในระยะยาว

๕.๒ ขอ้ เสนอแนะการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
คณะรัฐมนตรไี ด้มมี ติเห็นชอบให้ “การแกไ้ ขปญั หามลภาวะดา้ นฝ่นุ ละออง” เปน็ วาระแห่งชาติ

เม่ือวนั ท่ี ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ และต่อมาไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบ แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแหง่ ชาติ
“การแก้ไขปญั หามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๗ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วุฒิสภา เห็นว่ามีมาตรการหลาย ๆ
มาตรการในแผนปฏิบัติการฯ ดังกลา่ ว ที่ใหค้ วามสาคัญกับการแก้ไขปญั หาทตี่ ้นเหตุ คือ การลดการเกิด
และปล่อยฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จากแหล่งกาเนิดต่าง ๆ ออกสู่อากาศในเขตพื้นที่
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ถ้าหากมีการดาเนินการตามมาตรการต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ
ดังกล่าวอย่างจริงจังให้เกิดผลในทางปฏิบัติ จะสามารถนาไปสู่การป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในระยะยาวที่ยั่งยืนได้
ในระดับหน่ึง คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วุฒิสภา ได้มีข้อเสนอแนะมาตรการ
สาคัญเพื่อให้การดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ในเขตพ้นื ที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีประสทิ ธผิ ลและประสบความสาเรจ็ เพมิ่ มากข้นึ ดังตอ่ ไปน้ี

๕.๒.๑ การดาเนินการแกไ้ ขปญั หาในระยะเร่งดว่ นและในชว่ งวิกฤต (ธนั วาคม - กุมภาพนั ธ์)
ต้องกาหนดมาตรการที่จะดาเนินการในแต่ละระดับสถานการณ์ของฝุ่นละอองขนาด

ไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในช่วงวิกฤตเตรียมไว้ให้ชัดเจน เช่น มาตรการท่ีหน่วยงานจะดาเนินการ
เข้มงวดมากขนึ้ เมื่อระดับ PM2.5 เฉล่ีย ๒๔ ชวั่ โมง มีคา่ ระหวา่ ง ๕๑ - ๗๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
มาตรการทผ่ี ู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผวู้ ่าราชการจังหวัดปรมิ ณฑลในฐานะผู้บญั ชาการเหตกุ ารณ์
ในพ้ืนท่ีควบคุมเหตุราคาญจะส่ังให้มีการดาเนินการ เม่ือระดับ PM2.5 เฉล่ีย ๒๔ ชั่วโมง
มีคา่ ระหวา่ ง ๗๖ – ๑๐๐ ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร และมาตรการท่จี ะเสนอใหน้ ายกรัฐมนตรีพิจารณา


๘๓

สั่งการให้มีการดาเนินการ เมื่อระดับ PM2.5 เฉล่ีย ๒๔ ชั่วโมง มีค่ามากกว่า ๑๐๐ ไมโครกรัม
ต่อลกู บาศกเ์ มตร ตอ่ เน่อื ง โดยเรม่ิ จากมาตรการเบาไปหาหนกั เพ่อื ให้หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งดาเนินการได้
ทนั ทีใหท้ นั ตอ่ เหตุการณ์ โดยมีมาตรการท่ีเสนอแนะ ดังต่อไปนี้

(๑) ต้องนานามันดีเซลเกรดปกติท่ีมีกามะถันไม่เกิน ๑๐ ppm มาใช้ใน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้มากท่ีสุด โดยมีราคาเท่ากับราคานามันดีเซลปกติ เริ่มตั้งแต่ปี
พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นต้นไป ทั้งนี้จากการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษพบว่ารถระดับมาตรฐาน Euro 3
และรถระดับมาตรฐาน Euro 4 ท่ีใช้น้ามันดีเซล ท่ีใช้งานอยู่บนถนน เมื่อเปล่ียนมาใช้น้ามันดีเซล
ที่มีกามะถันไม่เกิน ๑๐ ppm แทนการใช้น้ามันดีเซลที่มีกามะถันไม่เกิน ๕๐ ppm จะมีการระบาย
ฝุ่นละอองลดลงรอ้ ยละ ๒๐ และรอ้ ยละ ๑๖ ตามลาดบั ดังแสดงใน ภาพที่ ๔๒ และยังทาให้การระบาย
สารมลพิษอากาศประเภทอื่น ๆ ได้แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน (HC) ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน
(NOx) และก๊าซคาร์บอนมอน๊อกไซด์ (CO) รวมถึงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซมีเทน (CH4)
ท่ีเป็นก๊าซเรอื นกระจก ลดลงดว้ ย

ภาพท่ี ๔๒ การลดลงของการระบายสารมลพษิ อากาศจากรถใชง้ านระดับมาตรฐาน Euro 3
และระดับมาตรฐาน Euro 4 ท่ใี ช้นามนั ดเี ซล เมอ่ื เปลยี่ นมาใชน้ ามนั ดีเซลทมี่ ีกามะถนั
ไม่เกนิ ๑๐ ppm แทนนามันดีเซลที่มกี ามะถันไมเ่ กนิ ๕๐ ppm
ทมี่ า : ดร. สพุ ัฒน์ หวังวงศว์ ัฒนา ใชข้ ้อมลู จากกรมควบคมุ มลพษิ
(๒) การขยายพืนที่และเวลาในการจากัดรถบรรทุกขนาดใหญ่ตังแต่ ๖ ล้อ ขึนไป

ท่ีใช้นามันดีเซล ไม่ให้เข้ามาภายในเขตพืนที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เช่น ภายในเขตถนน
วงแหวนกาญจนาภิเษก โดยดาเนนิ การเปน็ ข้ันเป็นตอน คือ ในขั้นแรกห้ามเข้าในแตล่ ะวันสลับกันระหวา่ ง
รถที่มีทะเบียนลงท้ายด้วยเลขคู่และเลขค่ี ซึ่งจะสามารถลดจานวนรถบรรทุกขนาดใหญ่ตั้งแต่
๖ ล้อ ข้ึนไปท่ีใช้น้ามันดีเซลที่เข้ามาในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑลลงได้ร้อยละ ๕๐ ต่อวัน
และหากสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ไม่ดีขน้ึ และเขา้ ขั้นวกิ ฤต จงึ ดาเนินการ


๘๔

ในขั้นที่สองต่อไป คือ ห้ามรถบรรทุกขนาดใหญ่ต้ังแต่ ๖ ล้อ ขึ้นไปท่ีใช้น้ามันดีเซลเข้ามาในเขตพ้ืนท่ี
กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑลทั้งหมด คอื ร้อยละ ๑๐๐

(๓) ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งทางานที่มีลักษณะงานท่ีไม่จาเป็นต้องเข้ามาทางาน
ท่หี น่วยงาน สามารถทางานจากสถานที่อื่นได้โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางเขา้ มายังหน่วยงาน ซึ่งจะช่วย
ลดจานวนรถที่เข้ามาในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทาให้แหล่งกาเนิดฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ลดน้อยลง และการจราจรมคี วามคล่องตวั ไม่ตดิ ขดั รวมท้ังขอความร่วมมือ
ภาคเอกชนใหด้ าเนนิ การในทานองเดยี วกนั

(๔) ดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพ่ือลดการติดขัดของจราจร และบังคับใช้อย่าง
เข้มงวดจริงจัง เช่น ไม่ให้มีการจอดรถริมถนน คืนพ้ืนที่ผิวการจราจรจากกิจกรรมต่าง ๆ ทาให้มี
การจราจรคลอ่ งตวั ให้มากทีส่ ดุ เน่ืองจากรถท่ีใชน้ า้ มนั ดีเซลจะมกี ารระบายฝุน่ ละอองออกมามากข้ึนเมื่อ
การจราจรมีการติดขัดมากขึน้

(๕) ดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพ่ือลดจานวนรถที่ใช้สัญจรในกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล โดยเฉพาะรถท่ใี ชน้ ามันดีเซล ได้แก่ ส่งเสริมและสนบั สนนุ การเดนิ ทางโดยใช้รถร่วมกัน
การเดินทางโดยใช้ระบบขนส่งสาธารณะ การเดินทางโดยไม่ใช้รถยนต์ (Non-Motoriztion
Transportation, NMT) เช่น การเดิน การใช้รถจักรยานแ ละการใช้ยานพาหนะไฟฟ้า (Electric
Vehicles) การจากัดจานวนและประเภทรถเขา้ มาในกรุงเทพมหานคร เป็นต้น

(๖) ห้ามเผาชีวมวลทุกประเภทในที่โล่งโดยเด็ดขาดในเขตพืนที่กรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล และจังหวัดอ่ืน ๆ ในพืนที่ภาคกลางโดยรอบกรุงเทพมหานคร โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
เป็นผู้รับผิดชอบ กากับ และถ่ายทอดการปฏิบัติและการดาเนินการไปสู่หน่วยงานในระดับจังหวัด
ท่ีเก่ียวข้องกับประเภทชี วมวลที่มีการเผาในพ้ืน ที่รับผิดชอบและ ไปสู่อง ค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิ น
โดยมีเป้าหมายและตัวชี้วัดที่วัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมในทุกระดับ รวมทั้งมีการตรวจสอบ ติดตาม
และประเมินผลการดาเนินงานท่ีใกล้ชิด เช่น มีการรายงานจานวนจุดความร้อน (Hotspots) เชิงพ้ืนท่ี
เปน็ ประจาทกุ วนั ทง้ั ในรปู แบบสถติ ิตวั เลขและแผนท่ภี าพถ่ายดาวเทยี ม

(๗) ให้คาแนะนากับประชาชนในการใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นละอองให้ถูกต้อง
เหมาะสมกับสถานการณ์ พบว่าหากมีการสวมใสให้ถูกต้องกระชับกับใบหน้า หน้ากากอนามัยสามารถ
ป้องกันฝุ่นละอองขนาดต้ังแต่ ๐.๓ ไมครอน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๖ (จากการทดสอบของ
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์) ดังแสดงในภาพท่ี ๔๓


๘๕

ประสิทธภิ าพการป้องกนั ฝนุ่ ละอองขนาดตงั แต่ ๐.๓ ไมครอน ขนึ ไป

ภาพที่ ๔๓ ประสทิ ธภิ าพของหนา้ กากปอ้ งกันฝุน่ ละออง หากสวมใส่ใหถ้ กู ตอ้ งกระชบั กับใบหน้า
ที่มา : คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

(๘) ในกรณที ี่ปัญหาฝ่นุ ละอองขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) รนุ แรงเข้าขนั วกิ ฤต
สามารถนามาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕
และท่ีแก้ไขเพ่มิ เติม มาบังคบั ใช้ โดยมาตรา ๔๕ กาหนดไว้ว่า “ในพ้ืนที่ใดท่ีได้มีการกาหนดให้เป็นเขต
อนุรักษ์ เขตผังเมืองรวม เขตผังเมืองเฉพาะ เขตควบคุมอาคาร เขตนิคมอุตสาหกรรม ตามกฎหมาย
ว่าด้วยการนั้น หรือเขตควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัติน้ีไว้แล้ว แต่ปรากฏว่ามีสภาพปัญหาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมรุนแรงเข้าข้ันวิกฤต ซ่ึงจาเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขโดยทันทีและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีอานาจตามกฎหมาย หรือไม่สามารถท่ีจะทาการแก้ไขปัญหาได้ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรีขออนุมัติเข้าดาเนินการเพ่ือใช้มาตรการ
คุ้มครองอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างตามมาตรา ๔๔ ตามความจาเป็นและเหมาะสม เพื่อควบคุม
และแก้ไขปญั หาในพนื้ ทนี่ ั้นได้” โดยกาหนดระยะเวลาทจี่ ะใช้มาตรการคมุ้ ครองดงั กลา่ วในพ้ืนที่น้นั ทงั้ นี้
มาตรการคุ้มครองตาม มาตรา ๔๔ ประกอบด้วยมาตรการ อาทิ เช่น การห้ามการกระทาหรือกิจกรรม
ใด ๆ ทอี่ าจเป็นอันตราย หรือกอ่ ให้เกิดผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์ของพืน้ ทนี่ ้นั จากลักษณะ
ตามธรรมชาติ หรือเกิดผลกระทบต่อคุณค่าของสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม การกาหนดวิธีจัดการโดยเฉพาะ
สาหรบั พ้นื ทน่ี ้นั


๘๖

๕.๒.๒ มาตรการระยะยาว
(๑) มาตรการลดการเกิดและปล่อยฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

จากแหลง่ กาเนิด
(๑.๑) การคมนาคมขนส่งทางถนน
ก) ต้องลดสารกามะถันในนามันเชือเพลิง โดยเฉพาะนามันดีเซล

ให้เหลือไม่เกิน 10 ppm ตามที่กาหนดในแผนปฏิบัติการฯ คือ ตังแต่ วนั ท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๗
ซึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมน้ามันในประเทศไทยเห็นด้วยแล้ว และพิจารณาใช้แรงจูงใจเชิงเศรษฐศาสตร์
เพ่ือส่งเสริมให้มีการนาน้ามันดีเซลท่ีมีสารกามะถันไม่เกิน ๑๐ ppm มาจาหน่ายในเขตพื้นที่
กรงุ เทพมหานครและปริมณฑลให้มากข้ึนโดยเร็วก่อนกาหนดวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๗

ข) ต้องบงั คับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษอากาศระดบั Euro 6 สาหรับ
รถใหม่ขนาดเล็กและ Euro VI สาหรับรถใหม่ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรถที่ใช้นามันดีเซล
ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยก้าวข้าม (Leapfrog) การบังคับใช้มาตรฐานระดับการระบายมลพิษอากาศ
ระดับ Euro 5/Euro V ท้ังนี้เนื่องจาก รถท่ีใช้น้ามันดีเซลมาตรฐานระบายมลพิษอากาศระดับ Euro
6/Euro VI จะมีปริมาณการระบายฝุ่นละออง (PM) และก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ต่ากว่ารถท่ี
ใช้น้ามันดีเซลมาตรฐานการระบายมลพษิ อากาศระดบั Euro 5/Euro V ดงั แสดงในภาพท่ี ๔๔ เนอื่ งจาก
มีอุปกรณ์กรองฝุ่นละออง (Diesel Particulate Filter, DPF) ดังแสดงในภาพที่ ๔๕ และอุปกรณ์กาจัด
ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (Selective Catalytic Converter, SCR) โดยจะเปลี่ยน NOx ไปเป็น
ก๊าซไนโตรเจนและน้า ดังแสดงในภาพท่ี ๔๖ ซ่ึงมีประสิทธิภาพการกาจัดมลพิษสูงมากกว่าร้อยละ ๙๙
ทง้ั น้ี ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน เม่ือถูกระบายออกสู่อากาศ จะถูกปฏิกิริยาเคมีในอากาศเปลี่ยนแปลง
ไปเปน็ ฝุ่นละอองได้ สาหรบั ภาพท่ี ๔๗ แสดงผลของสารกามะถันในน้ามันดีเซลและมาตรฐานการระบาย
มลพษิ อากาศ Euro ระดับต่าง ๆ ของรถขนาดใหญท่ ่ใี ช้น้ามันดีเซลตอ่ ปริมาณการระบายฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) (Climate and Clean Air Coalition, 2016) โดยจะเห็นได้ว่านา้ มนั ดีเซล
ท่ีมีสารกามะ ถั น ๑๐ ppm เม่ือใช้ร่ ว มกับมาต ร ฐ าน การ ร ะ บายมลพิษอากาศ Euro VI
ในรถขนาดใหญ่ท่ีใช้น้ามันดีเซล จะสามารถลดการระบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ได้มากถึงร้อยละ ๙๙ เม่ือเทียบกับกรณีท่ีน้ามันดีเซลมีสารกามะถัน ๒,๐๐๐ ppm กับรถขนาดใหญ่ที่ใช้
น้ามันดีเซลที่มีการควบคุมการระบายฝุ่นละออง ก่อนท่ีจะมีการบังคับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ
ระดับ Euro I ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลของสารกามะถันในน้ามันดีเซล
และระดับของมาตรฐานการระบายมลพิษอากาศต่อการระบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) ได้จากรายงาน Guidance to Fuel Importing Countries for Reducing On-Road Fuel
Sulfur Levels, Improving Vehicle Emission Standards (Wangwongwatana and Dumitrescu,
2019)


๘๗

รถขนาดเล็กทใ่ี ช้นามันดีเซล รถขนาดใหญท่ ีใ่ ช้นามนั ดเี ซล

ภาพที่ ๔๔ ปรมิ าณการระบายฝ่นุ ละออง (PM) และก๊าซออกไซดข์ องไนโตรเจน (NOx)
ของรถขนาดเลก็ และรถขนาดใหญท่ ่ใี ช้นามนั ดเี ซล เปรยี บเทยี บระหว่างมาตรฐาน
ระดบั Euro 5/Euro V กับมาตรฐานระดับ Euro 6/Euro VI
ท่มี า : ดร. สุพัฒน์ หวงั วงศว์ ัฒนา

Diesel Particulate Filter, DPF

ภาพที่ ๔๕ อปุ กรณก์ รองฝนุ่ ละออง (Diesel Particulate Filter, DPF) ตดิ ตงั อยูใ่ นทอ่ ไอเสีย
ของรถทใ่ี ชน้ ามนั ดเี ซลมาตรฐานระดบั Euro 6/Euro VI
ทมี่ า : ดร. สุพัฒน์ หวงั วงศ์วฒั นา


๘๘

Selective Catalytic Converter, SCR

Selective Catalytic Converter, SCR

ภาพท่ี ๔๖ อปุ กรณก์ าจดั กา๊ ซออกไซด์ของไนโตรเจน (Selective Catalytic Converter, SCR)
ตดิ ตังอยใู่ นท่อเสียของรถทใี่ ชน้ ามันดีเซลมาตรฐานระดบั Euro 6/Euro VI
ท่มี า : ดร. สพุ ัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา

ภาพที่ ๔๗ ผลของสารกามะถันในนามนั ดเี ซลและมาตรฐานการระบายมลพษิ อากาศ
Euro ระดบั ตา่ ง ๆ ตอ่ การระบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิดน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)
ที่มา : Climate and Clean Air Coalition (2016)


๘๙

ค) ต้องกาหนดให้รถโดยสารขนาดใหญ่ทังท่ีเป็นรถโดยสารประจาทาง
และรถโดยสารไมป่ ระจาทางที่จะเขา้ มาในเขตพนื ทก่ี รุงเทพมหานครและปริมณฑล ต้องเปน็ รถโดยสาร
ไร้เขม่าควัน (Soot-Free Buses) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ (NGV) เป็นเช้ือเพลิง หรือรถโดยสารไฟฟ้า
(Electric Buses) หรือรถโดยสารท่ีมีการระบายมลพิษอากาศเป็นไปตามมาตรฐานการระบายมลพิษ
อากาศสาหรบั รถขนาดใหญ่ทใ่ี ชน้ ้ามนั ดีเซล ระดบั Euro VI เทา่ นั้น

ง) ต้องปรับเปล่ียนรถโดยสารและรถบรรทุกขนาดใหญ่ท่ีใช้นามันดีเซล
ท่ีภาครัฐใช้ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เช่น รถเก็บขนขยะ รถโดยสารและรถบรรทุกต่าง ๆ
เป็นต้น เป็นรถโดยสารและรถบรรทุกไร้เขม่าควัน (Soot-Free Buses and Trucks) ที่ใช้ก๊าซ
ธรรมชาติ (NGV) เป็นเชื้อเพลิง หรือรถโดยสารและรถบรรทุกไฟฟ้า (Electric Buses and Trucks)
หรือรถขนาดใหญ่ที่ใช้น้ามันดีเซลท่ีมีการระบายมลพิษอากาศเป็นไปตามมาตรฐานการระบายมลพิษอากาศ
สาหรับรถขนาดใหญ่ที่ใชน้ า้ มนั ดเี ซล ระดับ Euro VI เท่าน้ัน

จ) ต้องเร่งออกกฎกระทรวงตาม มาตรา ๑๔๔ วรรคสองของพระราชบัญญัติ
จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อกาหนดวิธีการตรวจรับรองรถท่ีได้รับการซ่อม
หรื อแก้ ไขให้ มี ควั นด า เ ป็ น ไ ป ต า ม ม า ต ร ฐ า น แ ล้ ว ภ า ย ห ลั ง จ า ก ที่ ถู ก สั่ ง เ ป็ น ห นั ง สื อ
ตาม มาตรา ๑๔๓ ทวิ ให้ระงับการใช้รถเป็นการช่ัวคราวและให้เจ้าของรถหรือผู้ขับข่ีซ่อมหรือแก้ไขรถ
ให้ถูกต้อง เนื่องจากมีควันดาเกินเกณฑท์ ผ่ี ู้บัญชาการตารวจแหง่ ชาติกาหนดตาม มาตรา ๑๐ ทวิ แล้วให้
นารถไปให้หัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร หรือผู้ที่ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติแต่งตั้งให้มีอานาจตรวจรถตรวจ
รับรองตามมาตรา ๑๔๔ วรรคหน่ึง เม่ือได้รับใบตรวจรับรองแล้วจึงจะนารถออกใช้งานในทางได้
ซึ่งในปัจจุบันนี้ ยังไม่มีกฎกระทรวงตามมาตรา ๑๔๔ วรรคสอง ดังกล่าว รถที่มีควันดาเกินค่ามาตรฐาน
จะเสียค่าปรับ ๑,๐๐๐ บาท เท่าน้ัน และยังคงสามารถใช้งานบนถนนต่อไปได้โดยที่ยังไม่ได้รับการซ่อม
หรือแก้ไขไม่ให้มีควันดาเกินมาตรฐาน จึงไม่ได้มีผลต่อการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้นื ที่กรงุ เทพมหานครและปริมณฑลแต่อยา่ งใด

ฉ) เพ่ิมประสิทธิภาพในการตรวจสอบตรวจจับรถที่มีควันดา โดยใช้
เครื่องมือตรวจวัดการระบายมลพิษอากาศแบบอัตโนมัติจากระยะไกล (Remote Sensing)
ซ่ึงสามารถตรวจวัดการระบายควันดาจากท่อไอเสียของรถประเภทต่าง ๆ ท่ีใช้น้ามันดีเซล ในขณะท่ี
วง่ิ ใช้งานอยบู่ นถนนแบบ Real-time เม่อื ว่ิงผ่านจุดท่ีติดต้ังเครอื่ งมอื ไว้ ดังแสดงในภาพท่ี ๔๘ โดยมีกลอ้ ง
ท่ีสามารถตรวจและบันทึกความเร็วของรถและบันทึกภาพรายละเอียดของป้ายทะเบียน สี และรุ่นรถ
เพอื่ เรียกตัวเจ้าของรถมาดาเนินการทางกฎหมายตอ่ ไปในภายหลังได้ ทาให้สามารถตรวจสอบรถ ตรวจจับรถ
ท่มี คี วนั ดาไดจ้ านวนมากในเวลาอนั สน้ั และไม่กีดขวางการจราจรเหมือนกบั การตัง้ ดา่ นตรวจสอบตรวจจับ
บนถนน


๙๐

ภาพท่ี ๔๘ การตรวจวดั การระบายมลพิษอากาศจากท่อเสยี ของรถจากระยะไกล
(Remote Sensing) ในขณะทรี่ ถวิง่ ใช้งานอยู่บนถนน
ท่มี า : Borken-Kleefeld J and Dallman T. (2018)
ช) ต้องปรับปรุงเครื่องมือและวิธีการตรวจวัดควันดาที่ใช้ในการตรวจ

สภาพด้านมลพิษประจาปีสาหรับรถท่ีใชน้ ามันดีเซล จากการใชเ้ ครือ่ งมือตรวจวัดควนั ดาแบบกระดาษ
กรอง ดังแสดงในภาพท่ี ๔๘ และวิธีการตรวจวัดแบบเร่งเคร่ืองสูงสุดขณะท่ีรถอยู่เกียร์ว่างโดยไม่มีภาระ
ท่ีใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นการใช้เครื่องมือตรวจวัดควันดาระบบวัดความทึบแสง ดังแสดงในภาพท่ี ๔๙
และวิธีการตรวจวัดแบบมีภาระบนแชสซีไดนาโมมิเตอร์ (Chassis Dynamometer) เพ่อื ให้การตรวจวัด
ควันดามีความถูกต้องมากข้ึนและสภาวะของรถในการตรวจวัดมีความใกล้เคียงกับการใช้งานรถจริง
บนถนน

ภาพท่ี ๔๙ เครอ่ื งมอื ตรวจวัดควันดาแบบกระดาษกรอง
ทมี่ า : ดร.สพัฒน์ หวังวงศว์ ฒั นา


๙๑

ก) เครื่องตรวจวัดควนั ดาระบบวดั ความทบึ แสงแบบควนั ไหลผ่านทังหมด (Full Flow Opacimeter)

ข) เครอื่ งตรวจวัดควนั ดาระบบวดั ความทบึ แสงแบบควันไหลผ่านบางส่วน (Partial Flow Opacimeter)

ภาพท่ี ๕๐ เครื่องมอื ตรวจวดั ควันดาระบบวดั ความทึบแสง
ทม่ี า : ดร. สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา

ซ) ต้องปรับปรุงข้อกาหนดเกณฑ์อายุรถที่จะต้องผ่านการตรวจสภาพ
ด้านมลพิษก่อนการเสียภาษีและต่อทะเบียนประจาปี จากเกณฑ์ปัจจุบันอายุการใช้งานตังแต่
๗ ปขี นึ ไป ให้เร็วขนึ เช่น เป็นอายตุ ้งั แต่ ๕ ปี ข้นึ ไป และเปน็ อายุตงั้ แต่ ๓ ปี ขนึ้ ไป ตามลาดบั หรอื ต้ังแต่
เม่ือส้ินสุดระยะเวลารับประกันของบริษัทผู้ผลิต โดยเฉพาะรถท่ีใช้ในเชิงพาณิชย์ซึ่งมีการใช้งานหนักเป็น
ประจาทุกวัน ควรตอ้ งได้รับการตรวจสภาพด้านมลพิษหลังการจดทะเบยี นและใช้งานครบ ๑ ปี โดยมคี วามถี่
ของการตรวจสภาพด้านมลพิษอย่างน้อยทุก ๖ เดือน นอกจากนี้จะต้องทาการเช่ือมโยงส่งข้อมูลผลการ
ตรวจวัดมลพิษแบบ Real-time ผ่านระบบ On-line ไปยังกรมการขนส่งทางบกโดยตรง เพ่ือป้องกันการ
แก้ไขดัดแปลงขอ้ มลู ผลการตรวจวดั ใหผ้ ดิ ไปจากความเป็นจรงิ โดยมิชอบ

ฌ) สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนา การผลิต และการใช้ยานพาหนะไฟฟ้า
(Electric Vehicles) และการพัฒนาแบตเตอร่ีท่ีใช้กับยานพาหนะไฟฟ้าอย่างจริงจัง รวมถึงโครงสร้าง
พืน้ ฐานของเครือข่ายสถานีอัดประจุ เพ่ือให้ผู้ใช้ยานพาหนะไฟฟ้าสามารถเข้าถึงระบบอัดประจุได้อย่าง
ท่ัวถงึ และสะดวก และใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตรใ์ นการขบั เคล่อื นให้เกดิ ผลขึน้ โดยเร็ว เชน่ มาตรการ
ทางภาษี มาตรการสนับสนนุ ทางการเงิน และมาตรการให้การสง่ เสรมิ การลงทนุ เปน็ ต้น


๙๒

ญ) การเปล่ยี นรถเครอื่ งยนตเ์ ก่าทกุ ชนิดเป็นรถไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอร่เี ป็น
แหล่งพลงั งาน ซ่ึงสามารถทาไดท้ นั ทใี นบริบทไทยและชา่ งไทย โดยใช้เทคโนโลยีไทยร่วมกบั เทคโนโลยี
จากต่างประเทศที่มีความเช่ียวชาญด้านรถไฟฟ้าท่ีใช้แบตเตอร่ีและความเช่ียวชาญด้านแบตเตอร่ีวิธีนี้
นอกจากจะสามารถลดมลพิษอากาศได้ทุกประเภท ซ่ึงรวมถึงฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) แล้ว ยงั เป็นการลดขยะท่ีเกิดจากซากรถเก่าและใช้ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีค้มุ ค่ามากข้นึ ในลกั ษณะ
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ทั้งนี้ ภาครัฐจะต้องอานวยความสะดวกให้มาตรการนี้เกิดขึ้น
โดยเร็ว เช่น การสนับสนุนด้านภาษี การอุดหนุนทางการเงิน การขจัดอุปสรรคในการจดและ/หรือต่อ
ทะเบียนรถท่ีเปล่ียนจากเครื่องยนต์เก่าเป็นรถไฟฟ้าท่ีใช้แบตเตอรี่ การอบรมให้ความรู้แก่ช่างในชุมชน
การมีเครอื ข่ายสถานอี ดั ประจุท้ังในเขตเมอื งและนอกเมอื ง

ฎ) เรง่ รัดการพัฒนาเครอื ข่ายระบบขนส่งสาธารณะหลกั ให้ครอบคลุมพืนที่
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลและระบบขนสง่ สาธารณะรองทีเ่ ชอื่ มโยงกนั สามารถนาผใู้ ชบ้ รกิ ารไปสู่
ระบบขนส่งสาธารณะหลักหรือจากระบบขนส่งสาธารณะหลักไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่าง
สะดวกสบายและปลอดภัยแก่ผู้ใช้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีรวมถึงการเข้าถึงระบบขนส่ง
สาธารณะโดยการเดิน และการใช้รถจักรยาน เพ่ือสนับสนุนให้เกิดการลดการใช้รถส่วนบุคคลในการ
เดินทางได้จรงิ

(๑.๒) การเผาชวี มวลในทโี่ ล่ง
ก) ต้องดาเนินการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการ

ขยะมูลฝอยครบวงจรอย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังในส่วนของการเก็บขน การใช้ประโยชน์ และการกาจัด
อย่างถูกต้อง เพ่ือลดการเผาขยะในท่ีโล่ง รวมถึงการติดตามตรวจสอบและดาเนินการทางกฎหมายกับ
ผลู้ กั ลอบทงิ้ ขยะอย่างเข้มงวดจรงิ จัง

ข) ต้องดาเนินการให้กรุงเทพมหานครและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ทุกแห่งในเขตจังหวัดปริมณฑลและจังหวัดต่าง ๆ ในพืนที่ภาคกลางออกเทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติ
ท้องถน่ิ เพ่อื ควบคุมการเผาชวี มวลประเภทตา่ ง ๆ ในทโี่ ล่ง และควบคมุ มลพิษจากควันไฟและฝุ่นละออง
ที่เกิดขึ้นจากการเผาดังกล่าว โดยให้ผู้ครอบครองที่ดินต้องรับผิดชอบท้ังทางกฎหมาย ผลกระทบ
และความเสียหายท่ีเกิดขึ้น และดาเนินการบังคับใช้เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถ่ินดังกล่าวอย่าง
เขม้ งวดจริงจงั

ค) ต้องส่งเสริมการทาการเกษตรปลอดการเผาอยา่ งจริงจงั ให้มีการใช้
ประโยชน์เศษวัสดุท่ีเหลือจากการทาการเกษตรกรรมประเภทต่าง ๆ โดยใช้กลไกและเครือข่ายของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกาหนดใหก้ ารทาการเกษตรปลอดการเผาเป็นเกณฑห์ รือองค์ประกอบ
ภาคบังคับในการพิจารณามาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารและการปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดี (Good
Agriculture Practices, GAP) และใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ในการขับเคลื่อนให้เกิดการทา


๙๓

การเกษตรปลอดการเผาขึ้นโดยเร็ว เช่น มาตรการทางภาษี มาตรการสนับสนุนทางการเงิน
และมาตรการให้การส่งเสริมการลงทุน เปน็ ต้น

ง) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา รวมทังการผลิตอุปกรณ์และ
เคร่ืองมือกลในประเทศ เพ่ือใช้เก็บเกี่ยวผลผลิตการเกษตร การตัดสางกิ่งใบ การอัดมัดเป็นก้อน การไถ
พรวนลงดิน สาหรับเศษวัสดุการเกษตร เช่น ใบอ้อย ฟาง เป็นต้น เพ่ือเพิ่มความสมบูรณ์ของดิน ลดการ
เผา ลดมลพิษอากาศ และเป็นแหล่งเช้อื เพลิงใหโ้ รงไฟฟ้า โดยเฉพาะโรงไฟฟา้ ชุมชน

จ) ในกรณีท่ีจาเป็นต้องมีการเผาในภาคเกษตรกรรม ต้องพฒั นาระบบ
การบริหารจัดการในการจัดระเบียบการเผา เพ่ือควบคุมปรมิ าณฝุ่นละอองที่เกิดข้ึน ณ เวลาหน่ึงเวลา
ใด ไมใ่ ห้กอ่ เกิดผลกระทบต่อสขุ ภาพอนามัย โดยคานึงถงึ สภาพอตุ นุ ิยมวทิ ยา ซ่งึ มีผลต่อความสามารถใน
การกระจายของฝ่นุ ละอองในอากาศและขีดความสามารถของพ้ืนทใี่ นการรองรบั ฝ่นุ ละอองทเ่ี กดิ ขนึ้ และ
นาระบบดงั กลา่ วไปใช้ใหเ้ กดิ ผลในทางปฏบิ ัติ

ฉ) กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท และการรถไฟแห่งประเทศไทย
ต้องควบคมุ ดแู ลไม่ให้เกดิ การเผาในเขตทางทร่ี บั ผดิ ชอบอยา่ งเข้มงวด

(๑.๓) ภาคอตุ สาหกรรม
ก) กาหนดค่ามาตรฐานการระบายฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน

๒.๕ ไมครอน (PM2.5) สาหรับโรงงานอุตสาหกรรม รวมท้ังปรับปรุงค่ามาตรฐานการระบายมลพิษ
อากาศจากโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ให้เทยี บเทา่ กบั มาตรฐานสากล

ข) กาหนดให้มีการติดตังระบบตรวจวัดการระบายมลพิษอากาศ
ท่ปี ล่องแบบต่อเนือ่ งอัตโนมัติ (Continuous Emission Monitoring System, CEMs) สาหรับหม้อ
ไอนาและอุตสาหกรรมประเภทที่มีการระบายมลพิษอากาศและเชื่อมโยงข้อมูลผลการตรวจวัด
ไปยงั กรมโรงงานอุตสาหกรรม การนิคมอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย และกรมควบคุมมลพษิ

ค) จัดระบบการจัดการเพื่อการควบคุมมลพิษท่ีเกิดจากสถาน
ประกอบการท่ีไม่อยู่ภายใต้การบังคับของพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญัติโรงงาน ฉบับท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีทาให้การประกอบการที่มีการใช้เครื่องจักร
มีกาลังรวมหรือกาลังเทียบเท่าน้อยกว่าห้าสิบแรงม้า หรือใช้คนงานน้อยกว่าห้าสิบคนโดยใช้เคร่ืองจักร
หรือไม่ก็ตาม ไมเ่ ข้าขา่ ยเปน็ โรงงานอตุ สาหกรรมตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงงาน

ง) ปรบั ปรงุ คุณภาพนามันเตา โดยลดปรมิ าณสารกามะถนั ในนามนั เตา
ลง ซ่ึงจะเป็นการลดปริมาณการระบายก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่จะถูกปฎิกิริยาเคมีในบรรยากาศ
เปลี่ยนไปเป็นอนภุ าคฝุ่นละอองซัลเฟตที่มีขนาดไมเ่ กนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

จ) ไม่ให้มีการใช้ถ่านหินเป็นเชือเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมที่ตังอยู่
ในเขตพืนท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เว้นแต่จะต้องใช้ถ่านหินคุณภาพดี Bituminous Coal


๙๔

ท่ีมีปริมาณสารกามะถันต่าไม่เกินร้อยละ ๐.๕ โดยน้าหนัก และมีการติดต้ังระบบควบคุมการระบาย
ฝุน่ ละอองที่มีประสทิ ธภิ าพไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๙๙.๙

(๒) การเพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการมลพิษอากาศ
(๒.๑) ขยายเครือข่ายการติดตามตรวจสอบฝุ่นขนาดละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕

ไมครอน (PM2.5) ท่ีให้ข้อมูลที่ถูกต้องเช่ือถือได้ ให้ครอบคลุมและเป็นตัวแทนของพ้ืนท่ีต่าง ๆ ในเขตพ้ืนท่ี
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลท่ีเหมาะสม เป็นไปตามหลักวิชาการ และเพียงพอกับความต้องการของ
ประชาชน โดยมีระบบรายงานผลที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้มีการพัฒนา
ศกั ยภาพขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ และเข้ามามีสว่ นรว่ มในการดาเนินการในระยะยาวต่อไป รวมถึงการ
ใช้ประโยชน์และเช่ือมโยงข้อมูลการติดตามตรวจสอบฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) กับ
เครือข่ายการติดตามตรวจสอบฝุ่นขนาดละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) อ่ืน ๆ ท่ีผ่านการ
รับรองว่าให้ข้อมูลท่ีถูกต้องเชื่อถือได้ตามเกณฑ์ท่ีหน่วยราชการกาหนด เพ่ือให้มีข้อมูลระดับของฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ครอบคลุมพน้ื ท่ีมากขน้ึ

(๒.๒) พัฒนาระบบพยากรณ์คุณภาพอากาศ โดยเฉพาะสาหรับฝุ่นละอองขนาด
ไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ทมี่ คี วามแม่นยาในเชิงพนื้ ทแ่ี ละเวลาและเปน็ ท่ียอมรับไดต้ ามหลักวิชาการ
เพ่ือใช้ในการแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า เตรียมการและกาหนดมาตรการไว้ล่วงหน้าสาหรับตอบสนองกับ
สถานการณ์ฝุ่นขนาดละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ที่จะเกิดขึ้น

(๒.๓) ออกขอ้ กาหนดสาหรบั การตรวจวัดฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน
(PM2.5) โดยเครอ่ื งมอื ตรวจวัดแบบ Air Sensors ที่ถูกต้องตามหลกั วิชาการ และจัดทาขอ้ แนะนาการ
ใช้เครื่องมือตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) แบบ Air Sensors รวมถึงการแปลผล
ท่ีถูกต้อง และทาการเผยแพร่รวมทั้งการจัดอบรมให้กบั หนว่ ยราชการต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป

(๒.๔) สนับสนุนให้มีการพัฒนาและผลิตเครื่องมือตรวจวัดฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ท่ีราคาไม่แพง (Low Cost Air Sensors) ท่ีให้ข้อมูลผลการตรวจวัด
ท่ีถกู ตอ้ งเชอ่ื ถอื ได้และเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ของการใชง้ าน

(๒.๕) ปรับปรุงค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
สาหรับค่าความเข้มข้นเฉลย่ี รายปีของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) จากค่าปัจจุบัน
๒๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซ่ึงเทียบเท่ากับค่าเป้าหมายชั่วคราว ระยะที่ ๒ (Interim Target-2, IT-2)
ขององค์การอนามัยโลก ให้เข้มงวดขึ้นตามลาดับ โดยอาจจะเร่ิมจากการปรับลดไปเป็น ๒๐ ไมโครกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร และไปเป็น ๑๕ ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งเทียบเท่ากับค่าเป้าหมายชั่วคราว
ระยะที่ ๓ (Interim Target-3, IT-3) ขององค์การอนามัยโลกตามลาดับ และวางแผนงานและมาตรการ
เพื่อใหบ้ รรลุค่ามาตรฐานใหม่ที่เข้มงวดมากข้นึ เพอ่ื เป็นการปกป้องสขุ ภาพอนามัยของประชาชนท่ีดีข้ึน
หลังจากน้ัน จึงพิจารณาปรับค่ามาตรฐานสาหรับค่าความเข้มข้นเฉล่ีย ๒๔ ช่ัวโมง ให้เข้มงวดข้ึน
ในภายหลงั ตามความเหมาะสมต่อไป


๙๕

(๒.๖) พฒั นาดชั นีคณุ ภาพอากาศและสุขภาพอนามัย (Air Quality Health Index,
AQHI) โดยเพิ่มมิติของผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยในดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
เช่นเดยี วกับประเทศแคนาดาและฮ่องกง

(๒.๗) ศึกษาวิจัยเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตามหลักวิชาการของแหล่งที่มาของ
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยในข้ันแรก
ทาการบูรณาการและประมวลผลร่วมกัน (Meta-analysis) ของข้อมูลจากการศึกษาวิจัยที่ได้มีการ
ทามาแล้วเกี่ยวกบั แหลง่ ทมี่ าของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนที่กรงุ เทพมหานคร
และปริมณฑล และแหลง่ กาเนดิ ของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในพื้นท่ตี ่าง ๆ ที่มผี ล
ต่อระดับฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานครแลปริมณฑล
และทาการศึกษาวิจัยเพม่ิ เตมิ เพอื่ ให้ได้ขอ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งสมบรู ณต์ ามความเหมาะสมตอ่ ไป

(๒.๘) ปรับปรุงระบบการเก็บข้อมลู การเจ็บป่วยของประชาชนในกรงุ เทพมหานคร
และปรมิ ณฑลให้สมบรู ณข์ ึน เนือ่ งจากระบบฐานข้อมูลการเจบ็ ป่วยทีร่ วบรวมโดยกระทรวงสาธารณสุข
เ ป็ น ข้ อ มู ล ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย ท่ี ร ว บ ร ว ม ม า จ า ก โ ร ง พ ย า บ า ล แ ล ะ ส ถ า น พ ย า บ า ล ใ น สั ง กั ด ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง
สาธารณสุขเท่านั้น ไม่ได้มีการรวบรวมข้อมูลจากโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชน โรงพยาบาล
สังกัดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และกองบัญชาการ
ตารวจแห่งชาติ โรงพยาบาลและสถานพยาบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เน่ืองจากไม่มีระเบียบ
ข้อกาหนดตามกฎหมายท่ีกาหนดให้โรงพยาบาลและสถานพยาบาลเหลา่ นั้นตอ้ งส่งขอ้ มูลใหก้ ับกระทรวง
สาธารณสุขรวบรวมไว้ในฐานข้อมูลการเจ็บป่วย ทาให้สถิติข้อมูลการเจ็บป่วยในระบบฐานข้อมูล
ของกระทรวงสาธารณสุขขาดความสมบูรณ์โดยเฉพาะข้อมูลในเขตพนื้ ที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ไม่เพยี งพอทจี่ ะใช้ในการศึกษาวจิ ัยถึงความเชือ่ มโยงระหว่างฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) กับ
การเจ็บปว่ ยของประชาชนทีเ่ กิดขึ้นในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล

(๒.๙) ศึกษาวิจัยผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน
๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ในกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล และผลกระทบเชิงเศรษฐศาสตร์

(๒.๑๐) พัฒนาระบบบูรณาการข้อมลู สารสนเทศเชื่อมโยงข้อมูลคุณภาพอากาศ
ในบรรยากาศโดยทั่วไป ข้อมูลการระบายมลพิษอากาศจากแหล่งกาเนิดประเภทต่าง ๆ และข้อมูล
การเจ็บป่วย เป็นระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพ่ือใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการคุณภาพ
อากาศใหเ้ ป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ

(๒.๑๑) แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ ๒๕๓๕ ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนตามที่กาหนดไว้ในแผนการปฏิรูปประเทศที่จะต้อง
ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๕ ปี โดยเฉพาะหมวด ๔ การควบคุมมลพิษ ส่วนท่ี ๔ มลพิษทางอากาศ
และเสียง และจัดทาประมวลกฎหมายส่ิงแวดล้อมหรือประมวลกฏหมายมลพิษ ในลักษณะเดียวกันกับ


๙๖

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หรือประมวลกฎหมายอาญาที่มีอยู่ในปัจจุบัน หากจาเป็น
อาจพจิ ารณาออกกฎหมายเฉพาะดา้ นเก่ียวกับเรอ่ื งมลพิษทางอากาศ

(๒.๑๒) มาตรการอ่นื ๆ ได้แก่
ก) สง่ เสริมการใชน้ ้ามันไบโอดเี ซล B10 และ B20
ข) เพ่ิมพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้ได้อย่างน้อย

ไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานสากล คือ ๙ ตารางเมตรต่อคน และการปลูกต้นไม้ชนิดที่สามารถดูดจับ
ฝ่นุ ละอองขนาดไมเ่ กิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5)

ค) เสริมสร้างความพร้อมของระบบสาธารณสุขและเตรียมความพร้อมใน
การรบั มือภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข

ง) จัดทาคูม่ ือการเลือกและการใชห้ นา้ กากปอ้ งกันฝนุ่ ละอองอย่างถูกตอ้ ง
และเหมาะสม ปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ ตลอดจนเผยแพรใ่ ห้แก่ประชาชน

จ) ปฏิบตั ิการทาฝนหลวงเมอ่ื สภาพอากาศเอื้ออานวยต่อการทาฝนหลวง
ฉ) ห้ามนาเข้ารถเกา่ และเคร่อื งยนต์เก่าใช้แล้วจากต่างประเทศ
ช) พจิ ารณาความเหมาะสมในการกาหนดอายุ/ระยะทางการใช้งานรถแต่
ละประเภท โดยเฉพาะรถทใ่ี ช้ในเชิงพาณิชยท์ ่มี กี ารใชง้ านสงู

----------------------------------------------------------


๙๗

บรรณานกุ รม

กรมควบคมุ มลพิษ (๒๕๔๗). ระเบยี บและขอ้ ปฏบิ ตั ิในการควบคุมฝนุ่ ละอองจากการก่อสร้างประเภทต่าง ๆ .
กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

กรมควบคุมมลพิษ (๒๕๔๘). โครงการจัดทา (ร่าง) มาตรฐานฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า ๒.๕ ไมครอน.
กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

กรมควบคุมมลพิษ (๒๕๕๓). ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓๖ (พ.ศ. ๒๕๕๓)
เร่ือง กาหนดมาตรฐานฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน ในบรรยากาศโดยท่ัวไป. ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกาศในราช
กจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๓๗ง วันที่ ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓

กรมควบคุมมลพิษ (๒๕๖๑). ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เร่ือง ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทย.
ประกาศลงในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๒๘๓ ง ลงวนั ท่ี ๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑

กรมควบคมุ มลพิษ (๒๕๖๒)(ก). ประกาศกรมควบคุมมลพษิ เร่ือง เครอ่ื งวัดและวธิ ีตรวจวัดค่าเฉลีย่ ของ
ก๊าซหรือฝุ่นละอองในบรรยากาศโดยท่ัวไป ระบบอ่ืนหรือวิธีอื่นท่ีกรมควบคุมมลพิษเห็นชอบ
ประกาศลงในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๕๙ ง ลงวันที่ ๑๘ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๒

กรมควบคุมมลพิษ (๒๕๖๒)(ข). แผนปฏิบัติการขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้าน
ฝุ่นละออง”. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

กรุงเทพมหานคร (๒๕๓๙). ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ในการก่อสร้างอาคาร
และสาธารณูปโภค. ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๑๔ ตอนที่ ๕ ง ลงวนั ท่ี ๑๖ มกราคม ๒๕๔๐

กรุงเทพมหานคร (๒๕๖๒). ประกาศกรุงเทพมหานคร เร่ือง กาหนดพ้ืนท่ีควบคุมเหตุราคาญ. ลงวันท่ี
๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒

เครือขา่ ยอากาศสะอาด ประเทศไทย (๒๕๖๒). สมดุ ปกขาวอากาศสะอาด.

นเรศ เชื้อสุวรรณ (๒๕๕๒). การศึกษาหาสัดส่วนของแหล่งกาเนิดฝุ่นขนาด ๑๐ และ ๒.๕ ไมครอน
ในพ้ืนทก่ี รงุ เทพมหานคร. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (๒๕๖๒). https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-socialmedia/Pages/FB-
dust-30-09-19.aspx. ธนาคารกสกิ รไทย กรงุ เทพมหานคร


๙๘

สาวิตรี การีเวทย์ (๒๕๖๑). โครงการศึกษาการระบายมลพิษทางอากาศในเขตกรุงเทพและปริมณฑล.
บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Joint Graduate School of Energy and
Environment – JGSEE). มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

สานักนายกรัฐมนตรี (๒๕๖๑). ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนการปฏิรปู ประเทศ.
สานกั นายกรัฐมนตรี

Aekplakorn, W. (2004). Acute Effects of PM2.5 on respiratory Symptoms: Analysis of Data
from Two Panel Studies in Bangkok, Thailand 1998. (Unpublished Manuscript)

Borken-Kleefeld J and Dallman T. 2018. Remote Sensing of Motor Vehicle Exhaust
Emissions. Washington, DC.: International Council on Clean Transportation. Retrieved
from https://www.theicct.org/publications/vehicle-emission-remote-sensing

Chulalongkorn University (2004). Particle Exposure in Northern Thailand: Health Risks,
College of Public Health, Bangkok. (Unpublished Manuscript)

Climate and Clean Air Coalition (CCAC). 2016. Cleaning Up the Global On-Road Diesel Fleet:
A Global Strategy to Introduce Low-Sulfur Fuels and Cleaner Diesel Vehicles. Paris.: Climate
and Clean Air Coalition. http://www.ccacoalition.org/en/activity/global-sulfur-strategy

Health Effects Institute (2018). State of Global Air/2 0 1 8: A Special Report on Global
Exposure to Air Pollution and Its Disease Burden. Boston, USA

International Agency for Cancer Research, IARC (2012). IARC: Diesel Engine Exhaust Carcinogenic.
Press Release No. 213. International Agency for Cancer Research, Lyon, France

International Agency for Cancer Research, IARC (2013). IARC: Outdoor Air Pollution a Leading
Environmental Cause of Cancer Deaths. Press Release No. 221. International Agency for
Cancer Research, Lyon, France

Kim Oanh (2007). Improving Air Quality in Asian Developing Countries (AIRPET). Asian
Institute of Technology, Thailand

Kim Oanh (2017). A Study in Urban Air Pollution Improvement in Asia AIT. Asian Institute
of Technology, Thailand


๙๙

Ostro, B. D. (2004). Outdoor Air Pollution: Assessing the Environmental Burden of Disease
at National and Local Levels. World Health Organization

United Nations Development Programme and World Bank Energy Sector Management
Assistance Programme (2008), Developing Integrated Emissions Strategies for
Existing Land-transport (DIESEL), Bangkok, Thailand

United States Environmental Protection Agency (2012), Revised Air Quality Standards for Particle
Pollution and Updates to the Air Quality Index (AQI). United States Environmental
Protection Agency, Washington, D.C., U.S.A.
https://www.epa.gov/sites/production/files/2016-04/documents/2012_aqi_factsheet.pdf

United States Environmental Protection Agency (2014). Air Sensor Guidebook. United
States of Environmental Protection Agency, Washington, D.C., U.S.A.
https://cfpub.epa.gov › si_public_record_report

Vajanapoom, N. (2004). Time-Series Analysis for Mortality and Hospital Admissions in Bangkok.
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลภายใต้ กรมควบคุมมลพษิ (๒๕๔๘), โครงการจัดทา (ร่าง) มาตรฐานฝ่นุ ละออง
ขนาดเล็กกว่า ๒.๕ ไมครอน, กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม

Vichit-Vadakan, N., Ostro, B. D., Chesnut, L. G., Mills, D. M., Aekplakorn, W., Wangwongwatana,
S., Panich, N. (2001). Air Pollution and Respiratory Symptoms: Results from Three Panel
Studies in Bangkok, Thailand. Environmental Health Perspectives. 109, 3, 381-387,

Wangwongwatana S. and Dumitrescu E. (2018). Guidance to Fuel Importing Countries for
Reducing On-road Fuel Sulfur Levels, Improving Vehicle Emission Standards. Report
developed by Regional Resource Centre for Asia and Pacific (RRCAP) and United Nations
Environment for Clean Air and Climate Coalition (CCAC)

World Health Organization (2006), Air Quality Guidelines. Global update 2005. World
Health Organization 2006. http://www.euro.who.int/Document/E90038.pdf

Yu, S. (2014). Water Spray Geoengineering to Clean Air Pollution for Mitigating Haze in China’s
Cities. Environmental Chemistry Letters, 12(1), 109-116.doi:10.1007/s10311-013-0444-0


Click to View FlipBook Version