The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้ดำเนินงานการพัฒนาการศึกษา ตามภารกิจและทิศทางการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใต้กรอบนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และประเด็นการติดตามผล การขับเคลื่อนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามภารกิจในการบริหารจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อตอบสนองนโยบายให้บรรลุเป้าหมายตามกลยุทธ์และจุดเน้นที่กำหนด โดยดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรและงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ เป็นการรวบรวมและสรุปผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ที่มุ่งพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ และยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสงขลาและสตูลให้ได้มาตรฐานชาติ ซึ่งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในภาพรวมได้รับการตอบรับจากสถานศึกษาในสังกัด และองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานฉบับนี้ให้เสร็จสมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการดำเนินงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sesao16, 2022-01-06 00:50:57

รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได้ดำเนินงานการพัฒนาการศึกษา ตามภารกิจและทิศทางการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใต้กรอบนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และประเด็นการติดตามผล การขับเคลื่อนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามภารกิจในการบริหารจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อตอบสนองนโยบายให้บรรลุเป้าหมายตามกลยุทธ์และจุดเน้นที่กำหนด โดยดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรและงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ เป็นการรวบรวมและสรุปผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ที่มุ่งพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ และยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสงขลาและสตูลให้ได้มาตรฐานชาติ ซึ่งผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในภาพรวมได้รับการตอบรับจากสถานศึกษาในสังกัด และองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานฉบับนี้ให้เสร็จสมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการดำเนินงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

คํานํา

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ไดดําเนินงานการพัฒนาการศึกษา
ตามภารกิจและทิศทางการดําเนินงานของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใตกรอบนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และประเด็นการติดตามผล
การขับเคลื่อนของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามภารกิจในการบริหารจัดการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน เพื่อตอบสนองนโยบายใหบ รรลุเปาหมายตามกลยุทธและจุดเนนท่ีกำหนด โดยดําเนินโครงการ/
กจิ กรรมตามงบประมาณทไ่ี ดรับการจัดสรรและงบประมาณท่ีไดรับการสนับสนนุ จากหนว ยงานตา งๆ

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับนี้ เปนการรวบรวมและสรปุ ผล
การดําเนินงานโครงการและกิจกรรมตางๆ ท่ีมุงพัฒนาการศึกษาใหมีคุณภาพ และยกระดับคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสงขลาและสตูลใหไดมาตรฐานชาติ ซ่ึงผลการดําเนินงานในปงบประมาณ
พ.ศ.2564 ในภาพรวมไดรับการตอบรบั จากสถานศึกษาในสังกัด และองคกรที่เกี่ยวของเปน อยา งดี

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ขอขอบคุณคณะทํางานและผูมีสวน
เก่ียวของทุกทาน ที่มสี วนรว มในการจดั ทาํ รายงานผลการดําเนินงานฉบับน้ีใหเสร็จสมบูรณ และหวังเปนอยางย่ิง
วารายงานผลการดาํ เนินงานฉบับนจี้ ะเปนประโยชนต อการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตอไป

สํานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู



สารบัญ หนา

คํานาํ ก
สารบัญ ข
สารบญั ตาราง ค
บทสรุปสาํ หรบั ผูบริหาร ง
สวนที่ 1 บทนาํ 1
2
 สภาพทั่วไป 5
 ขอมูลพืน้ ฐาน 12
สวนท่ี 2 ทิศทางการพฒั นาการศึกษา สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตลู
ปง บประมาณ พ.ศ.2564 22
สวนที่ 3 ผลการดําเนินงาน สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู
ปง บประมาณ พ.ศ.2564 22
 ยุทธศาสตรท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพือ่ ความม่ันคงของมนุษย 29
 ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 การจัดการศึกษาเพอ่ื เพิม่ ความสามารถในการแขง ขัน 40
 ยุทธศาสตรท ่ี 3 สง เสริมสนับสนนุ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 52
 ยุทธศาสตรท ี่ 4 ขยายโอกาสการเขา ถงึ บริการทางการศึกษาและการเรยี นรู
72
อยางมีคุณภาพ
 ยุทธศาสตรท ี่ 5 จดั การศกึ ษาเพอื่ เสริมสรางคุณภาพชีวติ ท่เี ปน มิตรกับ 73
89
ส่งิ แวดลอ ม 92
 ยุทธศาสตรท ่ี 6 พฒั นาระบบบริหารจัดการและสง เสริมการมสี ว นรว ม
สวนท่ี 4 สรปุ ปญหา อปุ สรรค ขอ เสนอแนะ
คณะผูจดั ทาํ เอกสาร



สารบัญตาราง หนา

ตารางท่ี 1 ขอมลู จาํ นวนสถานศกึ ษา จาํ แนกตามระดับการศึกษาท่ีเปดสอน ปการศึกษา 2564 7
ตารางท่ี 2 ขอมลู จาํ นวนสถานศกึ ษา จาํ แนกตามขนาดของสถานศกึ ษา ปก ารศึกษา 2564 7
ตารางที่ 3 ขอมูลจาํ นวนนกั เรยี น หองเรียน จาํ แนกตามระดบั การศึกษาและช้ันเรียน 7

ปก ารศึกษา 2564 8
ตารางท่ี 4 ขอมูลจํานวนผูบรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทปี่ ฏบิ ตั งิ านในสถานศึกษา
8
ปก ารศึกษา 2564
ตารางท่ี 5 ขอ มูลจาํ นวนขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปฏิบตั งิ านในสาํ นกั งานเขต 9
9
พ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 10
ตารางท่ี 6 ผลการทดสอบระดับชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2563 10
10
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3
ตารางที่ 7 ผลการทดสอบระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปก ารศกึ ษา 2563 11

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 6 11
ตารางที่ 8 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ภาพรวม ปการศึกษา 2563
ตารางท่ี 9 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 รอบส่ี ในสถานการณป กติ (site visite)
ตารางท่ี 10 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

ปงบประมาณ พ.ศ.2564 การประเมินคุณภาพภายนอกในสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (covid-19) ระยะท่ี 1
ตารางท่ี 11 ขอมลู จาํ นวนนกั เรยี นจบช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ศกึ ษาตอ
ปก ารศกึ ษา 2562 - 2563
ตารางที่ 12 ขอมลู จาํ นวนนักเรียนจบชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 6 ศึกษาตอ
ปการศึกษา 2562 - 2563



บทสรปุ สาํ หรับผูบ้ ริหาร

ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ได

ดำเนินการขบั เคล่ือนกลยุทธสูการปฏิบัติผานการดําเนินงานของโครงการและกิจกรรมตามแผนปฏิบัติ
การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทง้ั นโยบายและประเด็นการติดตามผลการขับเคล่ือนของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามภารกจิ ในการบริหารจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อ
ตอบสนองนโยบายใหบรรลเุ ป้าหมายตามกลยุทธและจุดเนนทก่ี ำหนดใหเกดิ ผลการดําเนินงานทแ่ี สดงเปน
ผลสําเร็จของการปฏิบัติงานทง้ั ดานประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งสิ้น 55 โครงการ วงเงินงบประมาณ
รวม 2,963,877 บาท แบงเปน 3 สวน ประกอบดว ย

1. โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสํานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล จํานวน 9 โครงการ วงเงนิ งบประมาณรวม 414,720 บาท

2. โครงการ/กิจกรรม ท่ีไดรับการจัดสรรงบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานตางๆท่ีเก่ียวของ จํานวน 26 โครงการ วงเงินงบประมาณรวม
2,549,157 บาท

3. โครงการ/กิจกรรม ท่ีมีการดาํ เนินงานโดยไมใ ชงบประมาณ จาํ นวน 20 โครงการ
การดําเนินงานโครงการและกิจกรรมของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา
สตูล ไดดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีมีความสอดคลองกับ
แนวนโยบายและประเด็นการติดตามผลการขับเคลื่อนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและ
ภารกจิ ในการบริหารจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสรปุ ผลการดําเนนิ งานตามยุทธศาสตรไ ดดังนี้
ยุทธศาสตรท่ี 1 จัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของมนุษย ประกอบดวย 6 โครงการ/
กจิ กรรม วงเงนิ งบประมาณรวม 963,800 บาท
ยุทธศาสตรที่ 2 การจัดการศึกษาเพ่อื เพม่ิ ความสามารถในการแขงขัน ประกอบดว ย 12 โครงการ/
กิจกรรม วงเงินงบประมาณรวม 1,273,407 บาท
ยุทธศาสตรที่ 3 สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ประกอบดวย
12 โครงการ/กิจกรรม วงเงนิ งบประมาณรวม 163,550 บาท
ยุทธศาสตรท่ี 4 ขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรูอยางมีคุณภาพ
ประกอบดว ย 10 โครงการ/กจิ กรรม วงเงินงบประมาณรวม 77,000 บาท
ยุทธศาสตรที่ 5 จัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ประกอบดวย 1 โครงการ/กจิ กรรม วงเงินงบประมาณรวม 21,600 บาท
ยทุ ธศาสตรที่ 6 พฒั นาระบบบริหารจัดการและสง เสริมการมสี ว นรว ม ประกอบดว ย
14 โครงการ/กิจกรรม วงเงนิ งบประมาณรวม 464,520 บาท



สวนท่ี 1

บทนาํ

1.บทนํา
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวด 5 หนาที่ของรัฐ มาตรา 54 บัญญัติวา

“รัฐตองดําเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปน เวลาสิบสองป ต้ังแตกอนวัยเรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคับ
อยางมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย” และยุทธศาสตรชาติ 20 ป พ.ศ.2561-2580 ไดกําหนดวิสัยทัศนในการ
พัฒนาประเทศ ดังนี้ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรือเปนคติพจน ประจําชาตวิ า “ม่ันคง มง่ั คั่ง ย่งั ยืน” โดยมยี ุทธศาสตรช าตทิ ี่ใช
เปนกรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ 20 ป ประกอบดว ย 6 ยุทธศาสตร คือ

1. ยุทธศาสตรช าติดา นความมั่นคง
2. ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขง ขัน
3. ยุทธศาสตรชาตดิ า นการพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย
4. ยุทธศาสตรช าตดิ านการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
5. ยุทธศาสตรชาติดา นการสรางการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ที่เปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม
6. ยทุ ธศาสตรช าติดานการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
โดยนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดตระหนักถึงความสําคัญของ
ยุทธศาสตรชาติ เพราะเปนแนวทางในการพัฒนาประเทศที่ย่ังยืน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ยุทธศาสตรชาติดานการ
พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปนยุทธศาสตรท่ีเนนการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากร
มนุษยของประเทศอยางเปนระบบ โดยมุงเนนการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปน
ทรัพยากรมนุษยท่ีดี เกง และมีคุณภาพ พรอมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไปขางหนาไดอยางเต็มศักยภาพ
ซง่ึ “คนไทยในอนาคต จะตองมีความพรอมทัง้ กาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการทดี่ ีรอบดาน และมีสุขภาวะที่ดีใน
ทุกชวงวัย มจี ิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอ่นื มธั ยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวนิ ัย รกั ษาศลี ธรรม และ
เปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกตอง มีทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและ
ภาษาที่ 3 และอนุรักษภาษาทองถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง อยางตอเน่ืองตลอดชีวิต สูการ
เปนคนไทย ที่มีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอ่ืน ๆ โดยมี สัมมาชีพตาม
ความถนัดของตนเอง” โดยไดวิเคราะหนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของรัฐบาลจากยุทธศาสตรชาติ
(พ.ศ. 2561 – 2580) เพ่ือนําสูการปฏบิ ัตใิ หป ระเทศไทยบรรลวุ ิสยั ทัศน “ประเทศไทยมีความมัน่ คง มง่ั คัง่ ยั่งยืน
เปน ประเทศพฒั นาแลว ดวยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล จึงรายงานผลการดําเนินงานตาม
แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป นโยบายสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และกลยุทธ ตัวช้ีวัดความสําเร็จ ตามภารกิจที่
รับผดิ ชอบ เพ่ือใหไ ดผลลพั ธความสาํ เร็จในการจัดการศึกษาอยางมีประสิทธภิ าพตอไป

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 1

2. สภาพท่ัวไป
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ชื่อเดิม สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา

มธั ยมศกึ ษา เขต 16 จัดตัง้ ข้นึ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง การกําหนดเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
ท่ีไดกําหนดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และที่ต้ังของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา ประกาศ ณ
วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เพ่ือบริหารและจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานระดับมัธยมศึกษา ประกอบดวยทองที่
จังหวัดสงขลาและสตลู

2.1 จงั หวดั สงขลา
2.1.1 ทีต่ ั้งและอาณาเขต
จังหวัดสงขลาต้งั อยูฝงตะวันออกของภาคใตตอนลาง ระหวางละติจูดที่ 6ํ 17' - 7ํ 56'

องศาเหนือ ลองจิจูด 100ํ 01' - 101ํ 06' องศาตะวันออก สูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง 4 เมตร อยูหางจาก
กรุงเทพฯ ตามเสนทางรถไฟ 947 กิโลเมตร และทางหลวงแผนดิน 950 กิโลเมตร จังหวัดสงขลา มีพื้นที่
7,393.889 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,621,180 ไร มีขนาดเปนอันดับ 27 ของประเทศ และใหญเปน
อนั ดบั ท่ี 3 ของภาคใต มีอาณาเขตตดิ ตอกับจงั หวดั ใกลเคียง ดังน้ี

ทศิ เหนือ ตดิ ตอกับจงั หวดั นครศรีธรรมราชและจังหวัดพัทลุง
ทิศตะวันออก ติดตอ กับอา วไทย
ทศิ ใต ติดตอกับจงั หวัดยะลา จงั หวัดปตตานี และรฐั เปอรลิสของมาเลเซีย
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ กับจังหวัดพทั ลงุ และจังหวดั สตลู
ภาพที่ 1 แสดงที่ตง้ั และอาณาเขตของจังหวดั สงขลา

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 2

2.1.2 ลักษณะภมู ิประเทศ

ทางตอนเหนือเปนคาบสมทุ รแคบและยาวยืน่ ลงมาทางใตเรยี กวา คาบสมุทรสทิงพระ

กบั สวนท่ีเปน แผน ดนิ รูปสเ่ี หลีย่ มผืนผาทางตอนใต แผนดินทั้งสองสวนเช่ือมตอกันโดยสะพานตณิ สูลานนท พื้นท่ี

ทางทิศเหนือสวนใหญเปนท่ีราบลุม ทิศตะวันออกเปนท่ีราบริมทะเล ทิศใตและทิศตะวันตกเปนภูเขาและท่ี

ราบสูง ซ่ึงเปนแหลง กาํ เนิดตนนา้ํ ลําธารทส่ี าํ คญั

2.1.3 ลักษณะภูมอิ ากาศ

จังหวัดสงขลา ตั้งอยูในเขตอิทธิพลของลมมรสุมเมืองรอน มีลมมรสมุ พัดผานประจําป

คือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต เร่ิมตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมและลมมรสุม

ตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มตั้งแตกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ จากการพัดผานของลมมรสุมที่มี

แหลงกําเนิดจากบริเวณแตกตา งกนั ทาํ ใหจังหวัดสงขลา มี 2 ฤดู คือ

- ฤดูรอ น เร่ิมตั้งแตกลางเดือนกุมภาพนั ธถ ึงกลางเดือนพฤษภาคม ระยะนเ้ี ปนชองวาง

ระหวางฤดูมรสุมหลังจากสิ้นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาวแลว อากาศจะเร่ิมรอน และมีอากาศ

รอ นจดั ท่ีสดุ ในเดอื นเมษายน

- ฤดฝู น แบง ออกเปน 2 ระยะ

1) ฤดูฝน จากมรสุมตะวันตกเฉียงใต กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม

ฝนเคล่ือนตัวมาจากดา นตะวนั ตก (ทะเลอันดามัน) สวนมากฝนตกในชวงบายถงึ ค่าํ ปริมาณและการกระจายของ

ฝนจะนอยกวาชว งมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ

2) ฤดูฝน จากมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื กลางเดือนตลุ าคมถึงกลางเดือนกุมภาพนั ธ

ฝนเคลอ่ื นตวั มาจากดานตะวนั ออก (อา วไทย) ฝนจะตกชุกหนาแนน

2.2 จงั หวดั สตูล
2.2.1 ทตี่ ้ังและอาณาเขต

จงั หวดั สตูล เปน จงั หวดั สุดเขตแดนใตของประเทศไทย ดา นฝงทะเลอนั ดามนั หางจาก

กรุงเทพมหานคร 973 กิโลเมตร มีเน้ือที่ประมาณ 2,807,522 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,754,701 ไร

(นับรวมพื้นที่ที่เปนสวนของนํ้าทะเล) เปนลําดับท่ี 63 ของประเทศ และลําดับท่ี 12 ของภาคใต รองลงมา คือ

จังหวัดปตตานีและจังหวัดภูเก็ต ตั้งอยูระหวางเสนรุงท่ี 6 องศา 4 ลิปดาเหนือ ถึง 7 องศา 2 ลิปดาเหนือ และ

เสนแวง ที่ 99 องศา5 ลปิ ดาตะวนั ออก ถึง 100 องศา 3 ลปิ ดาตะวันออกมพี ืน้ ท่ีติดตอ กบั ประเทศมาเลเซียตลอด

แนวชายแดนทางบกยาวประมาณ 56 กิโลเมตร ตดิ ฝง ทะเลอนั ดามนั มชี ายฝงทะเลยาวประมาณ 144.8 กโิ ลเมตร

มีอาณาเขตติดตอ กบั จงั หวัดใกลเ คียง ดังนี้

ทศิ เหนือ ติดตอกบั อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา อําเภอปาบอน จังหวัดพัทลุง

และอําเภอปะเหลยี น จังหวัดตรงั

ทศิ ใต ติดตอ กบั รฐั เปอรลสิ และรัฐเคดาห ประเทศมาเลเซีย

ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอกับ อําเภอสะเดา จังหวัดสงขลาและรัฐเปอรลิส ประเทศ

มาเลเซยี

ทศิ ตะวันตก ติดตอกบั ทะเลอนั ดามัน มหาสมุทรอนิ เดยี

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 3

โดยพน้ื ที่บนบกมเี ทือกเขาบรรทัดและสันกาลาคีรีเปนเสน ก้ันอาณาเขตระหวา งจังหวดั สตลู กบั
จงั หวัดอน่ื ๆ และประเทศมาเลเซีย

ภาพท่ี 2 แสดงท่ีต้งั และอาณาเขตของจังหวัดสตูล

2.2.2 ลักษณะภมู ิประเทศ

จังหวัดสตูล มีลักษณะเปนพ้ืนที่ราบสลับกับภูเขา พ้ืนท่ีทางทิศเหนือและทิศตะวันออก
เปนเนินเขาและภูเขาสูง โดยมีเทือกเขาสําคัญ คือ ภูเขาสันกาลาคีรี พ้ืนท่ีคอยๆ ลาดเอียงลงสูทะเล
ดา นตะวันตก และทศิ ใตมีที่ราบแคบๆขนานไปกับชายฝงทะเล ถดั จากท่ีราบลงไปเปน ปาชายเลน น้ําเค็มขึ้นถึงมี
ปาแสมหรือปาโกงกางอยูเปนจํานวนมาก เปนจังหวัดที่มีลําน้ําสายสั้นๆไหลผานพื้นที่ทางตอนเหนือ และทิศ
ตะวันออกของจังหวัด ประกอบดวยภูเขามากมายสลับซับซอนโดยมีทิวเขานครศรีธรรมราชแบงเขตจังหวัดสตูล
กับจังหวัดสงขลา และทิวเขาสันกาลาคีรีแบงเขตประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย และยังมีภูเขานอยใหญอยู
กระจัดกระจายในตอนลา งและชายฝงตะวันตก ภเู ขาท่ีสําคัญไดแก เขาจนี เขาพญาบังสา เขาหัวกาหมิง เขาใหญ
เขาทะนาน เขาควนกาหลง และเขาโตะพญาวงั

2.2.2 ลักษณะภมู อิ ากาศ
จังหวัดสตูลไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือท่ีพัดอาวไทย และลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใตจากมหาสมุทรอินเดีย ลักษณะภูมปิ ระเทศเปนแบบรอนช้ืนมี 2 ฤดู ฤดูรอนกับฤดูฝน โดยมีชวง
ฤดูฝนยาวนาน ระหวางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนธันวาคม และมีฤดูรอน เพียง 4 เดือน ตั้งแตเดือนมกราคมถึง
เดอื นเมษายน ปริมาณฝนระหวางป 2554 - 2558 ปริมาณฝนเฉล่ีย 2,501.3 มิลลเิ มตรตอ ป ในป 2558 อุณหภมู ิ
สูงสุดเฉลี่ย 32.63 องศาเซลเซียส อุณหภูมิตํ่าสุดเฉลี่ย 24.05 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดวัดได 37.9 องศา
เซลเซียส วันที่ 8 เมษายน 2558 อุณหภูมิต่ําสุดวัดได 18.8 องศาเซลเซียส วันที่ 14 กุมภาพันธ 2558 และ
ปริมาณฝนตกมากท่สี ดุ ใน 1 วัน วดั ได 138.2 มิลลเิ มตร เมื่อวนั ท่ี 27 กนั ยายน 2558

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 4

3. ขอ มลู พน้ื ฐาน
3.1 สถานท่ีตั้ง
สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา

สตลู ตั้งอยูเลขที่ 174 ถนนสงขลา-นาทวี ตําบลเขารปู ชา ง
อําเภอเมือง จงั หวัดสงขลา 90000 โทรศัพท 074-260191-2
โทรสาร 074-260193 Website : https://www.sea16.go.th/
E-mail : [email protected] โดยมีอาคารปฏิบตั ิงาน 2 สว น
ดงั นี้

1. อาคารสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ซ่ึงเปนสวนปฏิบัติงานของ
ผูอ าํ นวยการสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
มัธยมศึกษาสงขลา สตูล กลุมอํานวยการ กลุมบริหารงานการเงินและสินทรัพย กลุมสงเสริมการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา กลุมนโยบายและแผน กลุม
สง เสรมิ การจดั การศึกษา กลมุ บริหารงานบุคคล กลุม กฎหมายและคดี หองประชมุ วิบลู รกั

2. อาคารกลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ซึ่งเปนสวนปฏิบัติงานของรอง
ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา หนวยตรวจสอบภายใน หองประชุมคชาธาร และเปนแหลงเรียนรูที่มีชีวิตของสํานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตลู

3.2 อาํ นาจหนาที่
สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล มีอํานาจหนาที่ดําเนินการใหเปนไปตาม
อาํ นาจหนาที่ของสํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
และมีอํานาจหนาท่ีตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการวาดว ยการแบงสวนราชการในสํานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
พ.ศ. 2560 ดงั ตอ ไปน้ี
1. จัดทํานโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษาใหสอดคลองกับ
นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานและความตอ งการของทองถน่ิ
2. วิเคราะหการจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหนวยงาน
ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และแจงการจัดสรรงบประมาณที่ไดรับใหหนวยงานขางตนรับทราบ รวมท้ังกํากับ
ตรวจสอบ ตดิ ตามการใชจายงบประมาณของหนวยงานดงั กลาว
3. ประสาน สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลกั สูตรรว มกบั สถานศึกษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
4. กาํ กับ ดแู ล ติดตาม และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานและในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
5. ศึกษา วเิ คราะห วจิ ัย และรวบรวมขอ มูลสารสนเทศดานการศกึ ษา ในเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรดานตางๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพ่ือสงเสริม สนับสนุนการ
จดั และพัฒนาการศกึ ษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
7. จัดระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศึกษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
8. ประสาน สงเสรมิ สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทงั้ บุคคล องคกรชมุ ชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อ่นื ที่จัด
การศกึ ษารปู แบบท่หี ลากหลายในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา

รายงานผลการดําเนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 5

9. ดาํ เนินการและประสาน สง เสริม สนับสนุนการวจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษาในเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
10. ประสาน สงเสรมิ การดาํ เนนิ การของคณะอนุกรรมการ และคณะทาํ งานดานการศกึ ษา
11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองคกรหรือหนวยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐ เอกชน และ
องคก รปกครองสว นทอ งถิ่นในฐานะสาํ นักงานผแู ทนกระทรวงศกึ ษาธิการ ในเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
12. การปฏิบัติหนาที่อ่ืนเก่ียวกับกิจการภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่ีมิไดระบุใหเปนหนาที่ของ
หนวยงานใดโดยเฉพาะ หรอื ปฏิบัติงานอนื่ ท่ีไดร บั มอบหมาย
3.3 ผงั โครงสรา งการบรหิ ารจดั การศึกษา

สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
มธั ยมศึกษาสงขลา สตลู

กลมุ กฎหมายและคดี คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ
หนวยตรวจสอบภายใน ประเมินผล และนิเทศการศึกษา

(ก.ต.ป.น.)

กลมุ กลมุ กลมุ สง เสรมิ กลมุ กลมุ พัฒนา กลมุ กลมุ นเิ ทศ กลุม
อาํ นวย นโยบาย การศกึ ษา บริหาร ครูและ สง เสรมิ ติดตาม บรหิ าร
การ ทางไกล งาน บุคลากร การจดั และ งาน
และ เทคโนโลยี บุคคล ทางการ การศึกษา ประเมินผล การเงิน
แผน สารสนเทศและ ศึกษา การจดั การ และ
การส่ือสาร ศกึ ษา สินทรัพย

สถานศึกษา

(ราชกิจจานเุ บกษา เลม 134 ตอนพิเศษ 295 ง ลงวนั ท่ี 29 พฤศจิกายน 2560)
3.4 เขตพืน้ ท่ีบรกิ าร
สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล มีเขตพ้ืนท่ีบริการในการบริหารการจัด
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ระดบั มัธยมศกึ ษา ประกอบดวย 2 จงั หวัด ไดแ ก

จังหวัด พืน้ ท่ี (ตร.กม.) อําเภอ ตําบล หมบู าน
สงขลา 7,394 16 127 1,023
สตลู 2,479 7 36 279

ท่มี า : กรมการปกครอง ณ วนั ที่ 8 กรกฎาคม 2560

รายงานผลการดําเนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 6

3.5 ขอมูลทางการศึกษา
ตารางที่ 1 ขอ มลู จํานวนสถานศกึ ษาสงั กัดสํานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล

จาํ แนกตามระดับการศึกษาท่ีเปด สอน ปก ารศึกษา 2564 (ขอมูล ณ วันที่ 25 มิถนุ ายน 2564)

จังหวดั ระดบั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1-6 ระดับมธั ยมศกึ ษาปที่ 1 – 6 รวม
และประกาศนยี บตั รวิชาชีพ

สงขลา 39 2 41

สตลู 12 - 12

รวม 51 2 53

ตารางท่ี 2 ขอ มูลจํานวนสถานศึกษาสงั กดั สํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล

จําแนกตามขนาดของสถานศึกษา ปการศึกษา 2564 (ขอมูล ณ วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน 2564)

จงั หวัด รวม ขนาดเลก็ ขนาดกลาง ขนาดใหญ ขนาดใหญพเิ ศษ
(นร.1-499 คน) (นร.500-1,499คน) (นร.1,500-2,499 คน) (นร.2,500 คน ขึ้นไป)

สงขลา 41 21 10 4 6

สตูล 12 4 5 3 -

รวม 53 25 15 7 6

รอ ยละ 100 47.17 28.30 13.21 11.32

ตารางที่ 3 ขอ มูลจํานวนนกั เรยี น หองเรียน สังกดั สาํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู
จาํ แนกตาม ระดับการศึกษาและชน้ั เรียน ปการศึกษา 2564
(ขอมูล ณ วนั ที่ 25 มิถุนายน 2564)

ระดับการศึกษา/ชัน้ จังหวัดสงขลา จงั หวัดสตลู รวม

นกั เรียน หอ งเรยี น นักเรียน หอ งเรียน นกั เรยี น หองเรยี น

มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 8,690 245 1,977 60 10,667 305

มัธยมศึกษาปท่ี 2 8,512 245 1,904 57 10,416 302

มัธยมศึกษาปท ่ี 3 7,939 242 1,814 56 9,753 298

รวมมัธยมศกึ ษาตอนตน 25,141 732 5,695 173 30,836 905

มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 6,519 193 1,677 51 8,196 244

มัธยมศึกษาปท่ี 5 6,043 183 1,619 49 7,662 232

มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 5,442 178 1,395 48 6,837 226

รวมมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 18,004 554 4,691 148 22,695 702

ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั ปที่ 1 57 2 - - 57 2

ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั ปที่ 2 41 2 - - 41 2

ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั ปท ่ี 3 40 2 - - 40 2

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 7

ระดับการศึกษา/ช้นั จงั หวดั สงขลา จังหวดั สตูล รวม
นกั เรียน หอ งเรียน นกั เรียน หอ งเรยี น นักเรียน หอ งเรยี น
รวมประกาศนียบัตรวิชาชีพ
รวมท้ังสนิ้ 138 6 -- 138 6

43,283 1,292 10,386 321 53,669 1,613

ตารางที่ 4 ขอมลู จาํ นวนผบู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกดั
สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู ปก ารศึกษา 2564

(ขอ มูล ณ วันที่ 1 ธนั วาคม 2564)

จังหวดั ผูบ รหิ าร ครผู สู อน พนกั งาน ลกู จา ง ครมู าชวย รวม
ราชการ ช่วั คราว ราชการ

สงขลา 99 2,080 49 701 54 2,983

สตูล 33 504 39 222 19 817

รวม 132 2,584 88 923 73 3,800

ตารางที่ 5 ขอ มลู จํานวนขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปฏบิ ัตงิ านในสํานกั งานเขตพ้นื ที่
การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

(ขอ มลู ณ วนั ท่ี 1 ธนั วาคม 2564)

กลมุ /หนวย ขาราชการ พนกั งาน ลูกจา ง ลกู จา ง รวม
ราชการ ประจาํ ชั่วคราว
4
ผบู ริหารการศกึ ษา 4 12
9
กลมุ อํานวยการ 4 26 9
5
กลุมสง เสริมการจัดการศึกษา 81 14
9
กลุม บรหิ ารงานบุคคล 9 2
1
กลุมนโยบายและแผน 5 2
2
กลมุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา 14

กลุมบรหิ ารงานการเงินและสินทรัพย 8 1

กลมุ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 1 1

หนว ยตรวจสอบภายใน 1

กลุมกฎหมายและคดี 2

กลุมสงเสรมิ การศึกษาทางไกล เทคโนโลยี 2

สารสนเทศและการสื่อสาร

รวม 58 1 2 8 69

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 8

ตารางที่ 6 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ปการศกึ ษา 2563 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3

กลุมสาระ คา เฉลย่ี คา เฉล่ียระดับเขตพื้นที่การศึกษา
การเรียนรู ระดบั ประเทศ 2561 2562 2563 ผลตาง +/-

1.ภาษาไทย 54.29 60.06 60.16 59.18 -0.98
34.38 30.63 35.46 37.58
2.ภาษาอังกฤษ 25.46 34.38 31.03 29.00 2.12

3.คณติ ศาสตร 29.89 39.62 31.49 31.88 -2.03

4.วทิ ยาศาสตร 0.39

เฉล่ีย 4 กลุมสาระ 36.01 41.17 39.54 39.41 -0.13

จากตารางที่ 6 ผลการประเมิน (O-NET) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2563 มีคาคะแนน
เฉลี่ยสูงกวาระดับประเทศทุกรายวิชา เมื่อเปรียบเทียบกับคาคะแนนเฉลี่ยระดับเขต ปการศึกษา 2562 - 2563
พบวา คะแนนเฉลี่ยรวมปการศึกษา 2563 ตํ่ากวาคะแนนเฉลี่ยรวมปการศึกษา 2562 (รอยละ 0.33)
เม่ือพิจารณาจําแนกรายวิชา พบวา วิชาภาษาอังกฤษ วิชาวทิ ยาศาสตร มีคะแนนเฉลย่ี สูงข้ึน และวชิ าภาษาไทย
วชิ าคณติ ศาสตร มีคะแนนเฉลยี่ ลดลง

ตารางที่ 7 ผลการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศกึ ษา 2563 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 6

กลมุ สาระ คาเฉล่ีย คา เฉลยี่ ระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
การเรียนรู ระดบั ประเทศ
2561 2562 2563 ผลตา ง +/-
1.ภาษาไทย 44.36 51.63 46.04 49.39
2.สงั คมศึกษาฯ 35.93 37.18 38.23 37.87 3.35
3.ภาษาอังกฤษ 29.94 33.33
4.คณิตศาสตร 26.04 35.04 30.63 31.68 -0.36
5.วทิ ยาศาสตร 32.68 32.09
เฉล่ีย 5 กลุม สาระ 33.79 28.55 28.99 1.05
37.85
30.94 35.30 0.44

4.36

34.88 36.65 1.77

จากตารางที่ 7 ผลการประเมิน (O-NET) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2563 มีคาคะแนน
เฉลี่ยสูงกวาระดับประเทศทุกรายวิชา เมื่อเปรียบเทียบกับคาคะแนนเฉลี่ยระดับเขต ปการศึกษา 2562 - 2563
พบวา คะแนนเฉล่ียรวมปการศึกษา 2563 สูงกวาคะแนนเฉล่ียรวมปการศึกษา 2562 (รอยละ 4.83)
เม่ือพิจารณาจําแนกรายวิชา พบวา วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาคณิตศาสตร วิชาวิทยาศาสตร
มีคะแนนเฉลยี่ สงู ขึน้ และวิชาสงั คมศกึ ษาฯ มคี ะแนนเฉล่ียลดลง

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 9

ตารางท่ี 8 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา (SAR) ภาพรวม ปการศกึ ษา 2563

ระดบั คณุ ภาพ จาํ นวนสถานศึกษา รอยละ
ยอดเย่ียม 12 22.64
ดีเลศิ 40 75.47
ดี 1 1.89
รวม 53 100

จากตารางที่ 8 ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา (SAR) ภาพรวม ปการศึกษา 2563
โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด จํานวน 53 โรงเรียน ไดรับการประเมินคุณภาพภายใน (SAR) ภาพรวม ระดับ
คุณภาพดีเลิศ จํานวน 40 แหง คิดเปนรอยละ 75.47 ระดับคุณภาพยอดเยี่ยม จํานวน 12 แหง คิดเปนรอยละ
22.64 และระดบั คุณภาพดี จาํ นวน 1 แหง คดิ เปนรอยละ 1.89 ตามลําดบั

ตารางที่ 9 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ปงบประมาณ
พ.ศ. 2563 รอบสี่ ในสถานการณป กติ (site visite) มรี ะดับคณุ ภาพ 5 ระดับ คอื “ดีเยี่ยม”
“ดีมาก” “ด”ี “พอใช” และ“ปรบั ปรุง” จํานวน 17 โรงเรียน มผี ลการประเมินปรากฏดังน้ี

ระดบั คณุ ภาพ ผลการประเมิน

มฐ. 1 รอ ยละ มฐ. 2 รอยละ มฐ. 3 รอยละ
ดีเยี่ยม 3 17.65 6 35.29 2 11.76
ดีมาก 8 47.06 10 58.82 13 76.47
ดี 6 35.29 1 5.88 2 11.76
รวม 17 100.00 17 100.00 17 100.00

ตารางที่ 10 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกสถานศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปงบประมาณ
พ.ศ.2564 การประเมินคณุ ภาพภายนอกในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัส
โคโรนา 2019 (covid-19) ระยะท่ี 1 การวเิ คราะหรายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษา (SAR) มรี ะดับคณุ ภาพ 3 ระดับ คือ“ดี” “พอใช” และ “ปรับปรงุ ” จาํ นวน
19 โรงเรยี น มีผลการประเมนิ ปรากฏดงั น้ี

ระดบั คุณภาพ มฐ. 1 รอ ยละ ผลการประเมนิ มฐ. 3 รอยละ
18 94.74 มฐ. 2 รอยละ 19 100.00
ดี 19 100.00
พอใช 1 5.26 0 0.00
รวม 19 100.00 0 0.00 19 100.00
19 100.00

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 10

ตารางท่ี 11 ขอ มลู จํานวนนกั เรยี นจบชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ศึกษาตอ ปก ารศึกษา 2562 - 2563

จังหวัด ปการศึกษา 2562 ปการศกึ ษา 2563
ศกึ ษาตอ ศกึ ษาตอ
นกั เรียนจบ ไมศ กึ ษา นักเรียนจบ ไมศกึ ษา
การศกึ ษา สาย สาย รวม ตอ การศกึ ษา สาย สาย รวม ตอ
ช้ัน ม.3 สามญั อาชีพ ช้ัน ม.3 สามญั อาชีพ
16
สงขลา 7,178 6,447 677 7,124 54 7,589 6,310 1,263 7,573 3
19
สตูล 1,576 1,425 149 1,574 2 1,727 1,581 143 1,724 0.20

รวม 8,754 7,872 826 8,698 56 9,316 7,891 1,406 9,297
84.70 15.09 99.80
รอ ยละ 100 89.92 9.44 99.36 0.64 100

(ที่มา : ขอมูลจากเอกสารสารสนเทศทางการศึกษา สพม.สขสต)

ตารางที่ 12 ขอ มูลจาํ นวนนักเรียนจบชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 6 ศึกษาตอ ปก ารศกึ ษา 2562 - 2563

จงั หวัด ปก ารศกึ ษา 2562 ปการศกึ ษา 2563

นกั เรยี นจบ ศึกษาตอ ไมศึกษา นักเรยี นจบ ศกึ ษาตอ ไมศ กึ ษา
ตอ การศกึ ษา สาย สาย ตอ
การศกึ ษา สาย สาย รวม ช้ัน ม.6 สามัญ อาชพี รวม
ชั้น ม.6 สามัญ อาชพี 57
17
สงขลา 5,047 4,113 872 4,985 62 5,306 3,552 1,697 5,249 74
1.13
สตูล 1,141 1,093 35 1,128 13 1,225 1,010 198 1,208

รวม 6,188 5,206 907 6,113 75 6,531 4,562 1,895 6,457

รอยละ 100.00 84.13 14.66 98.79 1.21 100 69.85 29.02 98.87

(ท่มี า : ขอมูลจากเอกสารสารสนเทศทางการศึกษา สพม.สขสต)

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 11

สว นท่ี 2

ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษา
สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2564

สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ไดกําหนดวิสัยทัศน คานิยมองคการ
พันธกิจ เปาประสงครวม และยุทธศาสตร เพ่ือการพัฒนาและการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาของสํานักงาน
เขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ดังนี้
วิสยั ทศั น (Vision)

สํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู เปนองคก รแหงการเรียนรคู คู ุณธรรมบริหาร
จัดการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพสมู าตรฐานระดับสากลในสงั คมพหุวฒั นธรรม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
นยิ ามวสิ ัยทศั น:

องคก รแหงการเรียนรูคคู ณุ ธรรม หมายถงึ องคก รทีบ่ คุ ลากรมีการแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน
สรางชองทางการเรียนรู เพื่อเอื้อโอกาส ในการพัฒนาตนเองและองคกรสูความเปนเลิศ สรางองคความรูที่ดี
ท่ีสุดขององคกร (best practice) ใหทันและรองรับตอการเปล่ียนแปลงของสังคมโลกมีจิตสํานึกและดํารงตน
อยูใ นความดีงาม

บริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ หมายถึง การประสาน สงเสริม สนับสนุนและพัฒนา
สถานศึกษา ในการพฒั นาผูเรยี น ใหมีทศั นคติทถ่ี กู ตองตอ บานเมอื ง มีพนื้ ฐานชวี ิตท่มี ั่นคง มีคณุ ธรรม มีงานทาํ
มีอาชีพเปน พลเมืองทด่ี ี ใชช ีวติ อยา งมคี วามสุขในสงั คมโลก

มาตรฐานระดับสากล หมายถึง ผูเรียนมีศักยภาพเปนพลโลก การจัดการเรียนการสอน
เทยี บเคยี งมาตรฐานสากล และการบรหิ ารจดั การดว ยระบบคุณภาพ

สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง การจัดการศึกษาใหอยูรวมกันในสังคมท่ีมีวัฒนธรรมที่
หลากหลายอยางสันตสิ ขุ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มาเปนแนวทางในการทํางานเพื่อใหการประสาน สงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ
และเกิดประโยชนสูงสุด
คานยิ มองคการ (Core Values)

“ถอื ประโยชนของนกั เรียนและสถานศึกษาเปน สําคัญ”
(Students and Schools Come First : SSCF)
พันธกิจ (Mission)
1. นอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัวสูการจัด
การศกึ ษาของสถานศึกษา
2. ประสาน สงเสริม สนับสนุนกํากับ ติดตามและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ใหมคี ณุ ภาพ สอดคลอ งและทนั ตอ การเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21
3. พัฒนาการใหบริการทางการศึกษาอยางทั่วถงึ เปน ธรรม และไดมาตรฐานคุณภาพสูส ากล
4. ประสาน สง เสริม สนบั สนุนการจดั การศึกษาของบุคคล องคกร และสถาบนั อ่ืนๆ

รายงานผลการดําเนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 12

5. พัฒนาสํานักงานและสถานศกึ ษาใหเปน องคก รแหง การเรียนรูคคู ณุ ธรรมอยา งมสี วนรวม
6. ปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรมและการอยูรวมกันอยางมีความสุขในสังคมพหุวัฒนธรรม บนพื้นฐาน
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เปา ประสงคร วม (Goals)
1. นักเรียนมีทัศนคติท่ีถูกตองตอบานเมือง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม มีงานทํา มีอาชีพและ

เปนพลเมืองทดี่ ี
2. นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เทียบเคียงมาตรฐานระดับสากลบนพ้ืนฐาน

ของความเปนไทย
3. นกั เรียนทุกคนไดร ับโอกาสทางการศกึ ษาอยางเสมอภาค และเทาเทยี ม
4. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปฏบิ ัติงานตามสมรรถนะวชิ าชพี และมาตรฐานวิชาชพี
5. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล และสถานศึกษา บริหารจัดการศึกษา ท่ีมี

คุณภาพและไดม าตรฐาน
6. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล และสถานศึกษา นําหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกตใชในการบรหิ ารจัดการและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

ยทุ ธศาสตร
ยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ประกอบดวย

6 ยุทธศาสตร ดังน้ี
ยทุ ธศาสตรท่ี 1 จัดการศกึ ษาเพือ่ ความม่นั คงของมนุษย
ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การจดั การศึกษาเพ่อื เพ่ิมความสามารถในการแขงขนั
ยทุ ธศาสตรที่ 3 สง เสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 ขยายโอกาสการเขาถงึ บริการทางการศึกษาและการเรยี นรูอยา งมคี ุณภาพ
ยทุ ธศาสตรที่ 5 จดั การศึกษาเพอื่ เสริมสรา งคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ยุทธศาสตรที่ 6 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและสงเสรมิ การมีสว นรว ม

แนวทางการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรภายใตก ลยทุ ธ ตวั ชวี้ ดั และมาตรการ/แนวทาง
ยุทธศาสตรที่ 1 จัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคงของมนุษย
กลยุทธที่ 1 สงเสริมและสนับสนุนใหสถานศึกษานอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาของ
พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา เจา อยหู ัวสูก ารปฏิบตั ิ
ตัวชี้วัด มาตรการ / แนวทาง
รอ ยละของสถานศกึ ษาที่นอมนําพระบรมราโชบาย ดา น - สนับสนุนการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาใหสอดคลอ งกับ
การศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลาเจาอยูหัวสูการ พระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชริ
ปฏิบตั ิ เกลาเจา อยหู ัวตามความตองการของผเู รียน ชุมชนและบริบท
ของสถานศึกษา

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 13

กลยุทธท่ี 2 เสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ
ตวั ชวี้ ัด มาตรการ / แนวทาง
1. รอ ยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดกิจกรรมสงเสรมิ การเรียนรทู ี่ - สนับสนนุ และเสริมสรางความมัน่ คงของสถาบนั หลกั และ
สะทอ นความรักและธํารงรกั ษาสถาบนั หลักของชาติ และ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ 
การยดึ มน่ั ในระบอบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทรงเปนประมขุ และนอมนําศาสตรพระราชามาใชใ นการ
อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ จัดการเรียนรขู องผูเรียนและชมุ ชน
2. รอ ยละของสถานศกึ ษานาํ ศาสตรพระราชามาใชในการ
จดั การเรยี นรู

กลยทุ ธท ี่ 3. เสริมสรางการอยรู ว มกนั อยา งมคี วามสุขในสังคมพหุวัฒนธรรม มาตรการ / แนวทาง
ตวั ชว้ี ัด
1. รอยละของสถานศกึ ษา ท่ีจัดการเรียนรโู ดยบูรณาการ 1.สงเสริมและสนบั สนนุ การจัดการศึกษาเพอื่ การอยูรว มกนั
หลักสูตรทสี่ อดคลองกับสังคมพหวุ ัฒนธรรม อยา งมีความสขุ ในสังคมพหุวัฒนธรรม
2. รอ ยละของสถานศึกษาในเขตพืน้ ท่ีพเิ ศษมีการพัฒนาการ 2.สง เสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในพื้นที่พิเศษเปน
จัดการศกึ ษาตามบริบทของพื้นที่ การเฉพาะตามสภาพของพนื้ ที่ ในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจ
จงั หวัดชายแดนภาคใตแ ละเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ

กลยุทธที่ 4. ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค การอยูรวมกันและดํารงตนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตวั ช้วี ัด มาตรการ / แนวทาง
1. รอยละของสถานศึกษา ทจ่ี ัดการเรียนรูป ลูกฝง คุณธรรม 1.สงเสรมิ สนับสนุนสถานศึกษาใหป ลูกฝงผเู รยี นดา นคุณธรรม
จรยิ ธรรม และคา นยิ มท่ีพงึ ประสงค การอยรู วมกันและ จรยิ ธรรม ตามคา นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ และการ
ดาํ รงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดาํ รงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. รอยละของนักเรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะอัน 2.สงเสรมิ ใหสถานศกึ ษาจัดกิจกรรมตามเครอ่ื งแบบ
พงึ ประสงคต ามหลักสูตร และคานยิ มหลักของคนไทย 12
ประการ
3. รอ ยละของนกั เรียนทีผ่ า นกิจกรรมในเครือ่ งแบบ

ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การจัดการศึกษาเพอื่ เพิ่มความสามารถในการแขง ขนั
กลยุทธที่ 1. เสรมิ สรางความเขมแข็งในการพฒั นาผเู รยี นอยางมคี ุณภาพ
ตวั ช้ีวัด มาตรการ / แนวทาง
1. รอยละของสถานศึกษา มีกระบวนการวดั และประเมินผล 1.สง เสริม สนับสนนุ การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้น
ดวยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย พ้นื ฐาน(O-NET) และระบบการทดสอบกลางของสาํ นักงาน
2.รอยละของนักเรยี นท่ีมีคะแนนการทดสอบทางการศึกษา คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพรอ มนาํ ผลการประเมินมา
ระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) มากกวา รอ ยละ 50 ใชในการพัฒนาคุณภาพ
เปรยี บเทยี บกบั ปการศึกษาที่ผานมา

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 14

ตวั ช้ีวดั มาตรการ / แนวทาง
3.รอ ยละของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 1,2 เขารับการ 2.สง เสริม สนับสนนุ ใหสถานศึกษาจดั กระบวนการเรยี นรูต าม
ทดสอบกลางของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ หลักสตู รมงุ พัฒนาผเู รียนที่เนนคณุ ลักษณะและทกั ษะใน
พน้ื ฐาน ศตวรรษท่ี 21
4. รอยละของนกั เรียนท่ีอานหนังสอื ตามเกณฑท่ีกําหนด 3.สง เสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศึกษาปรับปรงุ หลักสูตร
5. รอ ยละของสถานศึกษา ทีจ่ ัดการเรยี นรใู นศตวรรษ ที่ สถานศึกษาระเบียบการวดั และประเมนิ ผล
21 ตามสภาพความตอ งการ และบริบทของ แตล ะพื้นท่ี
6. รอ ยละของนกั เรียนทีม่ คี ุณลกั ษณะและทักษะการเรยี นรู
ในศตวรรษท่ี 21
7.รอ ยละของสถานศกึ ษาปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา
8. รอยละของนักเรียนท่ีไดรับการแกไขปญหาอาน ไม
คลอง เขยี นไมคลอ ง

กลยุทธท่ี 2. พัฒนาคุณภาพกระบวนการเรยี นรู
ตวั ชว้ี ัด มาตรการ / แนวทาง
1.รอยละของสถานศกึ ษาทเี่ นนการจัดการเรียนการสอน 1.สง เสริม สนบั สนุนสถานศกึ ษาเนน การจดั การเรียนการสอน
สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) สะเตม็ ศึกษา(STEM Education)
2.รอ ยละของผเู รียนผา นเกณฑการประเมนิ ความสามารถ 2.สง เสริมการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร และ
ดานการใชภ าษาองั กฤษและภาษาตางประเทศที่ 2 เพ่อื การ ภาษาตางประเทศท่ี 2 อยา งนอย 1 ภาษา
ส่อื สาร 3.สงเสรมิ สนับสนุนใหสถานศึกษามกี ารจดั การศึกษาวิทยาการ
3.รอ ยละของสถานศึกษามีการจดั การศึกษาวทิ ยาการ คํานวณ และการออกแบบเทคโนโลยี
คาํ นวณ 4.สงเสริมสนับสนนุ ใหส ถานศึกษาจดั การเรยี นรทู หี่ ลากหลาย
4. รอยละของสถานศึกษามกี ารจดั การเรียนรทู ่หี ลากหลาย

กลยุทธท ี่ 3. สรา งขดี ความสามารถในการแขงขันทุกระดับ
ตัวชี้วดั มาตรการ / แนวทาง
1.จาํ นวนของสถานศกึ ษาท่เี ปดหองเรียนพิเศษหรือแผนการ 1.สง เสรมิ สนับสนนุ สถานศกึ ษา ท่มี ีความพรอม ในการเปด
เรยี นเฉพาะดานเพม่ิ ข้ึน หอ งเรียนพิเศษหรือแผนการเรยี นเฉพาะดาน
2.รอยละของสถานศึกษาทเ่ี ตรียมความพรอมในการ 2.สง เสริม สนบั สนนุ สถานศึกษาในการเตรยี มความพรอมใน
ประเมนิ ระดับนานาชาติ PISA การประเมนิ ระดบั นานาชาติ PISA
3. รอยละของสถานศกึ ษา มกี ารจดั กจิ กรรมเพ่อื การศึกษา 3.สงเสรมิ สนบั สนนุ การจดั กิจกรรม การบรกิ ารเพ่ือการศกึ ษา
ตอ การประกอบอาชพี และการพฒั นาบคุ ลิกภาพอยา ง ตอ การประกอบอาชพี ใหผูเรียนรจู ักและเขาใจตนเอง
เหมาะสม สามารถวางแผนชีวิตดา นการเรียน การประกอบอาชพี ใน
4.รอยละของนักเรียนทีไ่ ดรับการพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรูสู อนาคต รวมทั้งสามารถปรับตัวไดอยางเหมาะสมและ อยู
สากล มีความพรอมในเขาแขงขนั ตามเกณฑมาตรฐาน รว มกบั ผอู น่ื ไดอ ยา งมคี วามสุข
4.สงเสรมิ สนบั สนนุ นักเรยี นที่มคี วามสามารถเขาแขง ขัน
ทุกระดับ

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 15

ตัวชวี้ ัด มาตรการ / แนวทาง
5.สงเสรมิ สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการแขงขนั วชิ าการใหมี
ประสทิ ธิภาพเนน การดาํ เนนิ งานครบวงจร มสี ว นรว มอยาง
ทว่ั ถึง

กลยุทธที่ 4. สง เสรมิ สนบั สนนุ การทาํ วจิ ยั และนาํ ผลการวิจยั ไปใชในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

ตัวชี้วัด มาตรการ / แนวทาง
1.รอ ยละของงานวิจัยหรอื นวัตกรรม ทนี่ าํ ไปใชประโยชนใ น 1.สงเสริม ใหม กี ารวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทเ่ี กี่ยวกับการ
การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา จดั การเรียนรู การเรยี นการสอน การนเิ ทศ การบริหารจัดการ
2.รอ ยละของผลงานวิจยั ทีไ่ ดร ับการเผยแพร ตีพิมพตอ 2.สง เสริมใหส ถานศกึ ษามีความเปน เลศิ ทางวชิ าการ โดยใช
จํานวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา งานวิจยั และสรางนวัตกรรมเพื่อเปน ฐานในการพัฒนา
การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาสรา ง
เครือขายการวิจยั และพัฒนา

ยุทธศาสตรที่ 3 สงเสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
กลยุทธท ่ี 1. พฒั นาระบบการบริหารงานบคุ คลใหมปี ระสทิ ธิภาพ
ตัวชวี้ ดั มาตรการ / แนวทาง
มรี ะบบการบรหิ ารงานบุคคลของขา ราชการครูและบุคลากร 1.การจัดทาํ แผนอัตรากําลงั ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ทางการศกึ ษาทม่ี ีประสิทธิภาพและเปนไปตามเกณฑ ศกึ ษา ระยะ 3 ป
มาตรฐาน 2.การจดั ทํากรอบอัตรากาํ ลังครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ให
เปน ไปตามเกณฑและมาตรฐานวชิ าเอกเพื่อจัดสรรตาํ แหนง ให
สอดคลอ งกับความขาดแคลน ตองการจําเปน ของเขตพ้ืนท่ีและ
สถานศึกษา
3.การสรรหา บรรจแุ ละแตงตั้งขา ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาใหเปน ตามกรอบอัตรากาํ ลัง
4.การจัดระบบการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านขาราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อประกอบการพจิ ารณาเล่ือนขน้ั
เงินเดอื นใหเปน ตามระเบยี บหลักเกณฑแ ละสอดคลองกบั ผล
การปฏิบตั ิงาน
5.การจัดทําระบบขอมลู สารสนเทศนาํ ไปใชในการบรหิ ารงาน
บุคคลใหมีประสทิ ธิภาพ

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 16

กลยทุ ธท่ี 2. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถจัดการเรียนรูอ ยา งมีคณุ ภาพในรปู แบบท่ี
หลากหลาย สอดคลอ งกับบริบทของพนื้ ท่ี
ตวั ชว้ี ดั มาตรการ / แนวทาง
รอ ยละของขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทุก 1.สงเสริม สนับสนุนขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ระดบั ท่ีไดร ับการพฒั นาตามมาตรฐานวชิ าชีพและสามารถ ใหพฒั นาตนอยา งเปน ระบบ
ปฏบิ ัติงานไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 2.ประสานความรวมมือ สถานศกึ ษาและหนว ยงานอ่นื ๆจัดทาํ
หลกั สตู รการพัฒนาขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ใหตรงกบั ความตองการและความขาดแคลน
3.สงเสรมิ และพฒั นาขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาใหมคี วามรูดา นดิจทิ ัล ทกั ษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และ
ทกั ษะส่ือสารภาษาทสี่ าม ใหสอดคลองกบั ภารกิจและหนาที่
4.สง เสริมการจดั การศึกษาโรงเรยี นขนาดเลก็ ใหมี
ประสทิ ธภิ าพ
5.ปรบั ปรุงระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน
ประสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล ขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ใหสอดคลองกับยุทธศาสตร

ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 ขยายโอกาสการเขา ถงึ บริการทางการศกึ ษาและการเรียนรอู ยา งมคี ณุ ภาพ
กลยทุ ธท ี่ 1. เพิม่ โอกาส ในการเขา ถงึ บริการทางการศึกษาที่มคี ณุ ภาพ อยา งเทา เทยี มและทัว่ ถึง
ตัวชวี้ ัด มาตรการ / แนวทาง
1.รอยละของสถานศกึ ษาทม่ี ีการจัดการเรยี นการสอน 1.สง เสริม สนบั สนุนการใชส ื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใน
ทางไกลดว ยระบบ DLIT และ New DLTV การจดั การเรียนรูดวยระบบ DLIT และ New DLTV
2.รอ ยละของประชากรกลมุ อายุ 12-14 ป ไดเ ขาเรียนระดับ 2.สง เสริม สนับสนนุ ใหประชากรกลมุ อายุ 12-14 ป ไดเ ขา
มัธยมศกึ ษาตอนตน หรอื เทียบเทา เรยี น โรงเรียนดีใกลบานตามเขตพน้ื ที่บรกิ าร
3.รอยละของนักเรียนทจ่ี บการศกึ ษาภาคบงั คับไดรบั โอกาส 3.สง เสริม สนับสนนุ ใหน กั เรียนมีโอกาสการศกึ ษาตอดวย
ในการศึกษาตอขัน้ พื้นฐาน วธิ ีการทีห่ ลากหลายใชระบบการสงตอ โดยเครือขายความ
4.รอ ยละของนักเรียนไดรบั การสง เสรมิ การสนับสนุน ให รว มมอื ทุกระดบั
เขา ถึงบริการทางการศึกษาตามความถนดั และความสนใจ 4. สง เสรมิ สนบั สนุนใหผูเรียนเขาถึงบริการทางการศึกษา
ตามความถนัดและสนใจ

กลยทุ ธที่ 2. ลดความเล่ือมลํา้ ทางการศกึ ษา มาตรการ / แนวทาง
ตัวชีว้ ัด 1. สงเสริมการจดั การศึกษาในรูปแบบทีห่ ลากหลายทั้งใน
รปู แบบปกติ รปู แบบเพ่ือความเปน เลศิ รปู แบบเพอ่ื เด็กพกิ าร
1.รอ ยละของนักเรยี นพิการและดอยโอกาสไดรับการ เดก็ ดอยโอกาสและรูปแบบการศึกษาทางเลอื กใหเหมาะสมกับ
พัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาทเ่ี หมาะสม ความตอ งการจําเปนของผูเรียนแตล ะบคุ คลและมคี ณุ ภาพตาม
2. อัตราการออกกลางคนั ของนักเรยี นในระดับการศึกษา มาตรฐานโดยมคี วามเช่ือมโยงระหวางรูปแบบตางๆ
ข้นั พ้นื ฐานลดลง

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 17

3. รอ ยละของนักเรียนไดรับการพัฒนาเตม็ ศักยภาพอยาง 2. สง เสรมิ สนบั สนุน ใหสถานศกึ ษาจัดระบบการดแู ล
เทา เทียมกัน ชวยเหลอื นักเรยี นอยา งเขม แข็งทวั่ ถงึ อยา งมีประสทิ ธิภาพ
3. สง เสริม สนับสนนุ นกั เรยี นใหไดร บั การพัฒนาอยา งเต็ม
ศักยภาพเทา เทยี มและทัว่ ถงึ

ยทุ ธศาสตรท ี่ 5 จดั การศกึ ษาเพื่อเสรมิ สรา งคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอม
กลยุทธ สง เสรมิ การจัดกระบวนการเรยี นรู สรางจิตสํานกึ และสรา งเครือขา ยความรวมมือ เพื่อสรา งเสริม
คณุ ภาพชีวิตท่เี ปนมิตรกบั สิ่งแวดลอมตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชีว้ ัด มาตรการ / แนวทาง
1.รอยละของสถานศึกษาไดรับการพัฒนาใหเ ปน แหลง 1.สง เสริม พฒั นาสถานศึกษาใหเปน แหลงเรยี นรูท่ีมีคณุ ภาพ
เรยี นรทู ่ีมีคณุ ภาพ 2.สง เสรมิ ใหส ถานศกึ ษาจดั การเรยี นรู ใชแหลงเรยี นรเู กย่ี วกับการ
2.รอยละของสถานศึกษาใชแหลง เรียนรู โดยชุมชนมี เสริมสรา งคณุ ภาพชวี ิตและเปนมิตรกบั สง่ิ แวดลอ ม
สว นรว มในการเสริมสรางคณุ ภาพชีวติ เปนมิตรกบั 3.สง เสริม สนับสนนุ ใหสถานศกึ ษาจัดบรรยากาศและส่ิงแวดลอม
สิ่งแวดลอ ม ผา นเกณฑมาตรฐานสถานศึกษานา อยู นาเรยี นรู และยกยองเชิดชู
3.รอ ยละของสถานศึกษา ทีจ่ ัดการเรยี นรเู กย่ี วกับการ เกยี รติ
เสรมิ สรางคณุ ภาพชวี ิตและ เปน มติ รกับสงิ่ แวดลอม 4.สงเสริมการสรา งเครือขายความรวมมอื ระหวา งสถานศึกษากับ
4. รอ ยละของสถานศึกษา ท่ีมีบรรยากาศและ ชุมชนและหนวยงานอื่นที่เกยี่ วของกับการเสริมสรางคณุ ภาพชีวิต
สิง่ แวดลอมผานเกณฑมาตรฐานสถานศึกษานา อยนู า และเปนมติ รกับส่งิ แวดลอ ม
เรียนรู 5.สง เสริม สนับสนนุ ใหสถานศกึ ษาจัดกิจกรรมทีแ่ สดงถึงการ
5.รอ ยละของนักเรยี นประยุกตใชห ลกั ปรชั ญาของ เสริมสรา งคุณภาพชีวิตและเปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอมโดยการ
เศรษฐกิจพอเพยี งในการดําเนินชวี ิต ประยุกต ใชห ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวติ
ของนักเรยี นและบุคลากร

ยุทธศาสตรท่ี 6 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การและสง เสริมการมีสวนรว ม
กลยุทธท ่ี 1. พฒั นาระบบบริหารจดั การใหมีประสทิ ธิภาพ
ตัวชว้ี ัด มาตรการ / แนวทาง
1.สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษามี 1.พัฒนาระบบบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาที่มีประสทิ ธภิ าพ ทง้ั
คุณภาพตามเกณฑมาตรฐานการบรหิ ารจัดการ 4 ดาน (บรหิ ารวิชาการบรหิ ารทว่ั ไป บริหารงบประมาณ บริหาร
2.รอ ยละของสถานศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพตามเกณฑ บคุ คล)ตามหลกั ธรรมาภิบาล
มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน 2.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการบรหิ ารจัดการ
3.รอ ยละของผูรบั บรกิ าร มีความพึงพอใจตอ การบรหิ าร 3. จัดระบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผล
จดั การของ สพม.เขต 16 หลากหลายมิตใิ หมีความเขมแข็งและตอเน่ือง เปน รปู ธรรม ใหมี
ขอมลู ปอนกลับ และสามารถสะทอนคณุ ภาพของผเู รยี น
4.สงเสริมการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ใหมีความ
เขม แข็ง

รายงานผลการดําเนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 18

กลยุทธท ่ี 2. สรางความเขม แข็งในการบรหิ ารจัดการแบบมีสว นรว ม
ตัวชี้วัด มาตรการ / แนวทาง
1.สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ใช 1.มีการบรหิ ารจดั การอยา งมีสว นรว มดานวชิ าการ ดาน
เครือขายการบรหิ ารจดั การแบบมสี วนรว มเพม่ิ ขึ้น ทรพั ยากร และดา นงบประมาณ กบั องคค ณะบุคคลและ
2.รอยละของสถานศึกษาท่ีมีการบรหิ ารจดั การอยา ง เครือขาย กตปน. เครอื ขา ยสงเสรมิ ประสทิ ธิภาพการศึกษา
มคี ุณภาพ จังหวัด สหวิทยาเขต ศนู ยพ ัฒนากลุม สาระการเรียนรู
2. สง เสรมิ สนบั สนุนการพฒั นาผูบริหารสถานศึกษาใหมี
ความสามารถในการบริหารจัดการทุกดา น

กลยุทธท ี่ 3. สง เสริมการมีสว นรว มในการพัฒนาคุณภาพผเู รยี น
ตัวชี้วัด มาตรการ / แนวทาง
1.รอ ยละของสํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและ 1.สง เสรมิ การสรางเครอื ขา ยการเรยี นรู การมีสว นรว ม จากผมู ี
สถานศกึ ษารวมกนั สง เสรมิ สนับสนนุ ใหผปู กครอง ชมุ ชน สวนเก่ยี วของและทกุ ภาคสว นใหเกดิ ชุมชนแหง การเรียนรู
สังคม ฯลฯ มีสวนรว มในการพฒั นาคณุ ภาพผูเรียน 2.สง เสรมิ การมสี ว นรวมในการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา
2. รอ ยละของผูปกครองและชุมชนทมี่ ีความพงึ พอใจใน ของทุกภาคสว น
การบริหารจัดการของสถานศึกษา

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 19

ทศิ ทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
6 วาระการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู ไดก าํ หนดทศิ ทางในการพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษา ในรูปแบบโมเดล 6 วาระการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อใหเกิดการขับเคล่ือนการนํานโยบาย
สกู ารปฏิบตั ิอยางมปี ระสิทธิภาพตอบสนองกบั ยทุ ธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสํานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล ดงั นี้

สพม.สขสต

วาระที่ 1 โรงเรยี นสวย
1.1 มีสภาพแวดลอมรม รืน่ สะอาด สวยงาม
1.2 ปลอดภยั และมีความพรอมในการจัดการเรยี นรู

วาระท่ี 2 การบริหารจัดการ
2.1 การพฒั นาผูบริหารสถานศกึ ษา/ผบู รหิ ารการศึกษา
2.2 การปองกันและแกป ญหาการทุจริต
2.3 การประชาสัมพนั ธ
2.4 การประกนั คุณภาพภายใน

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 20

2.5 การนาํ เทคโนโลยีมาใชในการบรหิ ารจัดการ
2.6 การบริหารจัดการสารสนเทศ
วาระที่ 3 ครูมอื อาชีพ
3.1 การประพฤติตาม วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
3.2 การพฒั นาตนเองและวิชาชีพ
3.3 ความสามารถในการจัดการเรียนรู
3.4 ความกา วหนา ในวิชาชพี
วาระที่ 4 นกั เรยี นเกง
4.1 คาคะแนนการทดสอบการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานสงู ขน้ึ รอยละ 3
4.2 ความสามารถในการใชภ าษาอังกฤษ และภาษาที่สาม
4.3 ความสามารถดานดนตรี กฬี า ศลิ ปะ
4.4 กาวทนั โลกดจิ ทิ ัล
วาระท่ี 5 นกั เรียนดี
คุณลกั ษณะตามหลักสตู รและคณุ ธรรมอัตลกั ษณข องแตละโรงเรยี น
วาระท่ี 6 นักเรยี นมคี วามสุข
6.1 การสง เสรมิ สุขภาวะ
6.2 การยอมรับความแตกตางทางวัฒนธรรมและอยรู ว มกันอยา งมีความสขุ

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 21

สวนท่ี 3

ผลการดาํ เนินงาน

ปงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ไดดำเนนิ การ
ขบั เคลื่อนกลยุทธสูการปฏิบัติผานการดําเนินงานของโครงการและกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทง้ั นโยบายและประเด็นการติดตามผลการขบั เคลอ่ื นของสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ตามภารกิจในการบริหารจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อตอบสนองนโยบายใหบรรลุ
เป้าหมายตามกลยทุ ธและจุดเนนที่กำหนดใหเกิดผลการดําเนินงานที่แสดงเปนผลสําเร็จของการปฏิบัติงานทัง้
ดานประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในรอบปีท่ีผา่ นมา ดงั นี ้
ยุทธศาสตรท ี่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความม่นั คงของมนุษย
1. โครงการปองกนั และแกไขปญหายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

วัตถุประสงค
1. เพอื่ ใหน ักเรยี นมีความรู ความเขา ใจ สรางภมู ิคุมกนั ในการปองกนั และแกไขปญ หายาเสพติด ภายใต
สถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)
2. เพอื่ ใหน ักเรียนสามารถปองกันตนเองจากภัยคุกคามรปู แบบใหม (ภยั ยาเสพติด)
3. เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษาของสํานักงานเขต
พ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล
ผลการดาํ เนินงาน
เชิงปรมิ าณ
นักเรียนในสังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล เขารวมโครงการ ทง้ั สิ้น จํานวน
15,213 คน (จังหวัดสงขลา จํานวน 11,705 คน, จงั หวัดสตูล จํานวน 3,508 คน)
เชิงคณุ ภาพ
1. โรงเรียนไดดําเนินงานตามโครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษา ปงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ซ่ึงไดดําเนินการจัดกิจกรรม ไดแก การอบรมนักเรียนแกนนําตอตานยาเสพติดผานระบบออนไลน,
ประกวดคําขวัญ ประกวดแตงคําประพันธ ประกวดแตงเพลงรองเพลง ประกวดเขียนเรียงความ ประกวด
วาดภาพ ประกวดจัดทํา MY MAP ประกวดจดั ทาํ คลิปวิดีโอ ประกวดออกแบบส่ือ info graphic รณรงคตอตาน
ยาเสพติด, จัดทําสติกเกอรรณรงคตอตานสิ่งเสพติดเพ่ือแจกใหกับนักเรียนนําไปติดที่บานของตนเอง, จัดทํา
แบบทดสอบออนไลนความรูความเขาใจในการตอตานยาเสพติดและลูกเสือตานภัยยาเสพติด, กิจกรรม TIKTOK
ตอตานยาเสพติด”, แขงขันสมรรถภาพทางกาย, จัดปายประชาสัมพันธ รณรงคโครงการการปองกันและแกไข
ปญหายาเสพติดในสถานศึกษา, ลงนามปฏิญาณตนประกาศเจตนารมณตอตานยาเสพติดออนไลน, จัดซ้ือ
อุปกรณกีฬา เพ่ือใชเวลาวางใหหางไกลจากยาเสพติด, รด.จิตอาสาตานยาเสพติด, การแสดงมินิคอนเสิรตแสดง
ดนตรแี ละสอดแทรกความรูพษิ ภยั โทษของยาเสพติดผา นระบบออนไลน
2. นักเรียนกลุมเปาหมาย ในสังกัดสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู มคี วามรู ความ
เขาใจ สรา งภมู ิคุมกันในการปอ งกันและแกไขปญหายาเสพติด ภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID- 19)

รายงานผลการดําเนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 22

3. นกั เรียนกลมุ เปา หมาย ในสงั กัดสํานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล สามารถ
ปองกนั ตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม (ภัยยาเสพติด)

ปญหา อุปสรรค
1. ขอจํากัดของการจัดกิจกรรมภายใตสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เชน
นักเรียนไมสามารถรวมตัวได, นักเรียนเรียนมีภาระในการเรียนออนไลนสงผลใหไมมีเวลาในการจัดทําผลงานสง,
นกั เรยี นบางคนไมม ีความพรอมเคร่ืองมือสื่อสาร ระบบอนิ เตอรเ น็ต สง ผลใหไ มส ามารถเขารว มการอบรมออนไลนได
2. การจัดสรรงบประมาณโครงการเดียวแตจัดสรร 3 รอบ
ขอ เสนอแนะ แนวทางพัฒนา
โครงการเดียวกันควรจดั สรรงบประมาณในครงั้ เดียว

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 23

2. โครงการเสริมสรา งและพัฒนาความเขมแข็งขององคกรสภานกั เรียน
วัตถปุ ระสงค
1. เพ่ือใหองคกรนักเรียน/สภานักเรียน มกี ารจัดโครงการ/กิจกรรม ทีส่ รางสรรค เกิดความรกั สามคั คี

รูจักใชเวลาวางใหเกิดประโยชน มีการพัฒนาในโรงเรียนอยางมีคุณคา และสามารถแกปญหาท่ีเกิดข้ึนภายใน
โรงเรียนได

2. เพื่อสงเสริมการปฏิบัติของงานของสภานักเรียนในสถานศึกษา ในการรวมทํากิจกรรมตาม
ขอคิดเห็นสภานักเรียน จากการประชุมสภานักเรียน ระดับประเทศ ประจําป 2563 จํานวน 4 ขอ คือ การ
สงเสริมใหเด็กไทยเลิกใชถุงพลาสติก การสงเสริมการมีจิตอาสา เพ่ือสรางสังคมแหงความสุข การเสริมให
เดก็ ไทยรูทนั กอ นแบงปน ขา วปลอม (Fake News) และการสง เสรมิ แนวทางปอ งกันความรนุ แรงจากการ Bully

3. เพ่ือคัดเลือกคณะกรรมการสภานักเรียนสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตลู
ผลการดําเนินงาน
กิจกรรมท่ี 1 การตดิ ตามการดําเนนิ งานสภานักเรียนและระบบการดูแลชวยเหลือนักเรยี นใน
สถานศกึ ษาสงั กัดสํานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล
เชิงปรมิ าณ
การตดิ ตามการดําเนินงานสภานกั เรียนและระบบการดูแลชว ยเหลือนกั เรียนในสถานศกึ ษาสังกัด
สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตลู จํานวน 16 โรงเรยี น
เชงิ คุณภาพ
1. สถานศกึ ษา มกี ารขบั เคล่ือนการดําเนนิ งานสภานักเรียน มกี ารกระตุน สง เสรมิ การดําเนินงานสภา
นักเรียนและประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น
2. องคกรสภานักเรียน มีการปฏิบัติของงานของสภานักเรียนในสถานศึกษา การรวมทํากิจกรรม
ตามขอ คิดเห็นสภานักเรียน จากการประชุมสภานกั เรยี น ระดบั ประเทศ ประจาํ ป 2563 จาํ นวน 4 ขอ คอื การ
สงเสริมใหเด็กไทยเลิกใชถุงพลาสติก การสงเสริมการมีจิตอาสา เพื่อสรางสังคมแหงความสุข การเสริมให
เดก็ ไทยรูทนั กอนแบงปน ขาวปลอม (Fake News) และการสง เสรมิ แนวทางปองกันความรนุ แรงจากการ Bully
3. โรงเรยี นมกี ารดาํ เนนิ งานระบบการดูแลชว ยเหลือนกั เรยี น ตามระบบ และมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขน้ึ
4. โรงเรยี น กรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ชมุ ชน องคก รและหนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ มีการทํางาน
รว มกนั ผานกระบวนการทาํ งานท่ชี ดั เจน มีรอ งรอยหลกั ฐานการปฏิบัตงิ าน
กจิ กรรมท่ี 2 การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารคณะกรรมการนักเรียน
เชงิ ปริมาณ
การอบรมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการสภานักเรียน ระหวางวันที่ 12-13 มีนาคม 2564 ณ โรงเรียน
นวมินทราชูทิศ ทักษิณ มีผูเขาอบรมทั้งหมด จํานวน 275 คน ประกอบดวย ครูท่ีรับผิดชอบงานสภานักเรียน
ตวั แทนคณะกรรมการสภานักเรียนจากโรงเรียนในสังกัด จํานวน 53 โรงเรียน,โรงเรียนราชประชานุเคราะห 42
และ 43 วิทยากร เจาหนาท่ี และผูเกี่ยวของ การจัดอบรมมีทั้งการบรรยายใหความรูในเร่ือง สถาบัน
พระมหากษัตรยิ กับการดํารงอยูของประเทศไทย บทบาทและหนาท่ีของสภานักเรียน การสงเสรมิ วินัยการออม
และการเรียนรแู ละปฏบิ ตั ิจรงิ ในเร่อื ง การเลือกตัง้ คณะกรรมการสภานกั เรยี นเขตพืน้ ที่การศึกษา และการประชุม
คณะกรรมการสภานักเรียนเขตพื้นท่ีการศึกษา และการยกรางขอบังคับสภานักเรียนเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 24

สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล มคี ณะกรรมการสภานกั เรยี น จาํ นวน 53 คน
ประกอบดวย

1. ประธานสภานกั เรียน
2. รองประธานสภานกั เรยี น จํานวน 3 คน
3. เลขานุการ
4. ผชู ว ยเลขานกุ าร
5. หัวหนาฝาย ผูช ว ยหวั หนาฝา ย และกรรมฝายตา ง ๆ ไดแก ฝายบริหารงานท่ัวไป ฝายวชิ าการ
ฝา ยประชาสัมพันธ ฝา ยกจิ กรรม ฝายเหรญั ญิก และฝายเครอื ขายสมั พนั ธ
เชงิ คุณภาพ
1. ผูเขารบั การอบรม มคี วามรู ความเขาใจ และไดฝ กปฏิบตั ิจริง นําไปขับเคลื่อนการดําเนนิ งานสภา
นักเรียนของโรงเรียนไดอยา งเปนรปู ธรรม และพัฒนาการดําเนนิ งานไดอยางเขมแข็ง
2. สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล มคี ณะกรรมการสภานกั เรียน เปนไปตาม
ขอบงั คับวา ดวยสภานกั เรยี น
ปญ หา อปุ สรรค
สถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ทําใหก ารจัดกิจกรรม
โครงการ ไมเปน ไปตามแผนที่กาํ หนดไว

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 25

3. โครงการเสริมสรา งคุณธรรม จรยิ ธรรมและ ธรรมาภบิ าล“ปองกันการทุจริต” ระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา
ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564

วตั ถุประสงค
1. เพ่อื สรา งจติ สํานึกของบุคลากรใหตระหนักรถู ึงปญหาและผลกระทบของการทุจรติ
2. เพอ่ื สรา งการรบั รเู กี่ยวกบั บทบาทหนา ท่ี และการดาํ เนินงาน ในดา นการสงเสริมจรยิ ธรรม และ
ตอ ตานการทจุ ริต
3. เพ่อื พฒั นาและยกระดับการทํางานใหสอดคลองกบั การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการ
ดําเนินงานของหนว ยงานภาครฐั (ITA)
4. ปรบั ฐานความคดิ บคุ ลากรใหส ามารถแยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตวั และผลประโยชนสวนรวม
ในการดําเนินงาน
ผลการดาํ เนนิ งาน
กิจกรรมที่ 1 สรา งการรับรูเกี่ยวกับบทบาทหนา ท่ี และการดาํ เนินงาน ในดา นการสงเสรมิ คณุ ธรรม
จริยธรรมและตอ ตานการทุจริต
ไดมีการประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการ และประชุมคณะกรรมการจัดทําแผนปฏิบัติการปองกัน
การทุจริตประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 ซึ่งทําใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล มี
แผนงานโครงการในการสง เสรมิ สง เสรมิ คุณธรรมจริยธรรมและตอตานการทุจริตทเี่ ปนรปู ธรรม
กจิ กรรมที่ 2 จดั ทําส่ือสรา งการรบั รูการไมท นตอการทจุ ริตใหกบั บุคลากรในสังกัดและสถานศกึ ษา
ดาํ เนนิ การจดั ทําส่ือสรา งการรับรูก ารไมทนตอ การทุจริตใหกบั สถานศึกษา ผบู รหิ าร ครู บุคลากร
ทางการศกึ ษาและนักเรียนมีพฤติกรรมท่ีไมทนตอการทจุ ริต
กจิ กรรมที่ 3 สรา งเครือขา ยสุจริตและทาํ ความดี เพ่ือสาธารณะ
จัดกิจกรรมทําความดีเพ่ือสาธารณะ โดยมีบุคลากรในสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเขารวมกิจกรรมรอย
ละ 100 ทาํ ใหบริเวณเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาทั้งภายในและภายนอกสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา
สตูล มีความเปนระเบียบเรียบรอย รมร่ืน สวยงาม สะอาด ปลอดภัย เอื้อตอการใหบริการแกผูมาติดตอ และ
บุคลากรสํานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล มีความรักสามคั คี มีจติ สาธารณะ
กจิ กรรมที่ 4 การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดาํ เนนิ งานของของสถานศึกษาและ
สาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา (ITA Online)
จัดกิจกรรมประชุมปฏิบัติการชี้แจงแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงาน
ของสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาออนไลน โดยมีบุคลากรในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเขา รวมกิจกรรมรอยละ
100 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของสํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาออนไลน ของ
สพม.สงขลา สตูล เพิ่มข้ึน 7.99 มีคุณภาพอยูในระดับ AA (96.17) บุคลากรสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาสงขลา สตูล มีวินัย มีความรับผิดชอบในหนาที่ และมีจิตสาํ นึกการใหบริการท่ีดี มีพฤติกรรมที่ไมทน
ตอ การทุจริต และสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล ไดรับการยอมรบั จากหนวยงานภายนอก
ดานการปอ งกันและตอ ตา นการทุจรติ

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 26

4. การขับเคลือ่ นโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.
วัตถปุ ระสงค
1.เพ่ือสงเสริมคนดีใหบานเมือง (พัฒนาจริยคุณ ,คืนคุณธรรมสูหองเรียน,สงเสริมคายยุวชนคน

คณุ ธรรมระดับโรงเรียน,ครอบครวั คณุ ธรรม)
2.เพือ่ เสริมสรางคุณธรรม ใหกบั ผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา (กิจกรรมคุรุชนคนคณุ ธรรม ,

พัฒนานวัตกรรมสรางสรรคคนดีดานบริหารการศึกษาเพื่อสงเริมคุณธรรม, กิจกรรมนวัตกรรมสรางคนดีดาน
การเรียนการสอนเพอ่ื สงเสริมคุณธรรม

3.เพื่อสงเสริมความเขมแข็งใหโรงเรียนคุณธรรม (กิจกรรมโรงเรียนดีมีที่ยืน,กิจกรรมนิเทศติดตาม
โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.)

ผลการดาํ เนินงาน
ผลการวิจัย พบวา ผลการศึกษาระดบั ปจ จัยที่สงผลตอความสาํ เร็จของโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ระดับ
4 ดาว กรณีศึกษา โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี 2 สงขลา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา
สตูล พบวา ระดับปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จของโรงเรียนคุณธรรมโดยภาพรวม มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.33
ระดับมาก และจําแนกเปนรายขอ พบวา ดานท่ี 6 การบริหารจัดการกิจกรรมการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม มี
คาเฉล่ียเทากับ 4.37 ระดับมาก รองลงมา ดานท่ี 4 การรายงานความกาวหนา มีคาเฉล่ียเทากับ 4.35 ระดับ
มาก และมีคาเฉล่ียนอยท่ีสุด คือ ดานที่ 5 การประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในโรงเรียน มีคาเฉล่ีย
เทากับ 4.29 ระดับมาก และผลการศึกษาระดับความสําเร็จของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ระดับ 4 ดาว
กรณีศึกษา โรงเรียนมธั ยมสริ วิ ัณวรี 2 สงขลา สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล พบวา
ระดับความสําเร็จของโรงเรียนคุณธรรมโดยภาพรวม คาเฉลี่ยเทากับ 4.35 ระดับมาก และจําแนกเปนรายขอ
พบวา ขอท่ี 2 การพัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนํา คาเฉลี่ยเทากับ 4.39 ระดับมาก รองลงมาขอที่ 1 การ
พัฒนาศักยภาพครูแกนนํา คาเฉลี่ยเทากับ 4.39 ระดับมาก และขอที่มีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุด คือ ขอท่ี 3 การ
ออกแบบและจดั การเรียนรู คาเฉล่ียเทากับ 4.30 ระดับมาก

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 27

ขอเสนอแนะ แนวทางพัฒนา
- ควรมกี ารจดั ทําแผนการดาํ เนนิ กจิ กรรมสาํ รอง
5. การขบั เคลอ่ื นโรงเรียนวิถีพทุ ธ
วตั ถปุ ระสงค
เพอ่ื ประชมุ ช้แี จงสรา งการรับรู พฒั นานักเรียนในชวี ติ ประจาํ วัน ในการกนิ อยู ดู ฟง เปน โดยผา น
กระบวนการทางวฒั นธรรม แสวงหาปญ ญาและวิถีวัฒนธรรมเมตตา และสงเสริมใหผ ูบริหาร ครู นักเรียน และ
ผูปกครอง ไดค รองตนภายใตวิถีพทุ ธตามหลักไตรสิกขา
ผลการดําเนินงาน
ผบู รหิ าร คณุ ครผู รู บั ผิดชอบกิจกรรมโรงเรยี นวิถพี ุทธ จํานวน 15 โรงเรยี น เขา รว มประชุม และไดต้ัง
กลมุ ไลนโรงเรยี นวถิ พี ุทธ สพม.สงขลา สตลู เพื่อประสาน ขอ มลู ขาวสาร และแลกเปลี่ยนดา นการพัฒนา
โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ
ปญ หา อุปสรรค
- การสอ่ื สาร ระหวาง สพฐ. ไมชัดเจน
- การดําเนนิ งานไมมีแผนสาํ รอง

6. โครงการสงเสริมความสัมพนั ธโรงเรียนกับชุมชนในจังหวดั ชายแดนภาคใต ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
วตั ถุประสงค
1. เพื่อสรางความสมั พันธอันดรี ะหวางโรงเรียนกับชมุ ชน
2. เพอื่ บูรณาการงานดานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมภายในชมุ ชน
3. เพอ่ื ใหชมุ ชนเขามามีสว นรวมในการบรหิ ารจัดการศึกษา
4. เพ่ือสรางการรับรูเ กี่ยวกับบทบาทภารกิจของหนวยงานทางการศึกษา
ผลการดําเนินงาน
ไดดําเนินการจัดสรรงบประมาณใหแกโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา

สตูล ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต จํานวน 22 โรงเรียน โดยโรงเรียนไดมีการดําเนิน
กิจกรรมประเภท กิจกรรมวัฒนธรรมพื้นฐาน และกิจกรรมสาธารณะประโยชน สงผลใหเกิดการสราง
ความสัมพันธอันดีกับชุมชน ประชาชนรับรูขอมูลขาวสารเก่ียวกับนโยบาย จุดเนน และผลการดําเนินงานของ
โรงเรยี นและหนวยงานที่เก่ียวขอ ง

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 28

ปญหา อุปสรรค
สถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา (COVID-19) ทําใหการจัดกิจกรรมไมเ กิดความ
หลากหลายเทาที่ควร
ขอเสนอแนะ แนวทางพฒั นา
ปรบั เปลยี่ นกิจกรรมใหส อดคลอ งกบั สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา (COVID-19)

ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 การจดั การศกึ ษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน
1. โครงการ/กจิ กรรม การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปที่ 3 ปก ารศึกษา 2563

วตั ถุประสงค
1. เพอ่ื ทดสอบความรู ความคิดของนักเรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2551
2. เพ่ือนําผลการสอบไปใชในการปรบั ปรงุ การเรียนการสอนของโรงเรียน
ผลการดาํ เนนิ งาน
ปการศึกษา 2563 มีนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ของโรงเรียนในสังกัด สพม.สงขลา สตูล สมัครใจ
เขารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) 47 โรงเรียน จํานวนทั้งส้ิน 6,127 คน คิดเปน
รอ ยละ 62.68 และปรากฏผลการทดสอบในภาพรวมของสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 29

* ตารางเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปก ารศึกษา 2561-2563
ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 3 ระดับเขตพ้ืนที่ ระดบั สงั กดั และระดับประเทศ

วชิ า ระดบั เขตพื้นท่ี +/- ระดับสงั กัด +/- ระดบั ประเทศ +/-

2561 2562 2563 2561 2562 2563 2561 2562 2563

ภาษาไทย 60.06 60.16 59.18 -0.98 55.04 55.91 55.18 -0.73 54.42 55.14 54.29 -0.85

ภาษาอังกฤษ 30.63 35.46 37.58 +2.12 29.10 32.98 34.14 +1.16 29.45 33.25 34.38 +1.13

คณิตศาสตร 34.38 31.03 29.00 -2.03 30.28 26.98 25.82 -1.16 30.04 26.73 25.46 -1.27

วทิ ยาศาสตร 39.62 31.49 31.88 +0.39 36.43 30.22 30.17 -0.05 36.10 30.07 29.89 -0.18

รวมเฉล่ีย 41.17 39.54 39.41 -0.13 37.71 36.52 36.33 -0.19 37.50 36.30 36.01 -0.29

2. โครงการ/กิจกรรม การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา นอิสลามศกึ ษา (I-NET) ระดับตอนกลาง
ปการศึกษา 2563
วัตถุประสงค
1. เพอ่ื ทดสอบความรู ความคิดรวบยอดของนกั เรยี น ตามหลักสูตรอิสลามศึกษา พุทธศักราช 2546

และหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ครอบคลุม 8 กลุม
สาระการเรียนรู 14 มาตรฐานการเรยี นรู

2. เพ่อื นําผลการสอบไปใชใ นการปรับปรงุ คุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรยี น
ผลการดําเนินงาน
ปการศึกษา 2563 มีนักเรียนในสังกัด สพม.สงขลา สตูล เขารับดําเนินการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติดานอิสลามศึกษา (I-NET) ระดับตอนกลาง จํานวนท้ังสิ้น 78 คน และปรากฏผลการทดสอบในภาพรวม
ของสํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล ดังน้ี
รายงานผลการสอบ I-NET ปการศึกษา 2563 ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง สํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล

สาระ/วิชา คะแนนเฉลยี่ เปรียบเทียบกับระดับประเทศและระดบั สังกดั คะแนนเฉลย่ี เปรียบเทยี บ คาพัฒนา
ป 2562 - 2563
สพม.สขสต สงั กดั ประเทศ
ป 2562 ป 2563

อลั กรุ อาน 37.53 41.83 33.97 37.53 3.56
อลั ฮะดิษ 43.83
อัลอากีดะห 51.40 44.11 36.03 43.83 7.80
อัลฟก ฮ 35.80
อัตตารกิ 37.30 50.70 54.03 51.40 -2.63
อัลอคั ลาก 37.07
ภาษามาลายู 28.91 39.40 39.53 35.80 -3.73
ภาษาอาหรบั 34.88
37.45 34.44 37.30 2.86

38.21 53.25 37.07 -16.18

35.91 27.2 28.91 1.71

30.04 31.3 34.88 3.58

คะแนนเฉล่ียรวม 38.34 29.22 38.72 38.34 -0.38

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 30

3. โครงการ การนิเทศเชงิ รกุ ในการสงเสรมิ โรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลของสํานักงานเขต
พ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู

วตั ถุประสงค
1. เพอื่ ยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรยี นในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลสูโรงเรียนรางวลั
คุณภาพแหงสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA
2. เพื่อยกระดับคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (รายวิชา IS)
3. เพ่อื พัฒนาผเู รยี นใหม ีสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 (3R8C)
ผลการดําเนินงาน
เชิงปรมิ าณ
โรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล จํานวน 10 โรงเรยี น ขอรับการประเมินโรงเรยี น
มาตรฐานสากล สรู างวัลคุณภาพตามเกณฑ OBECQA ระดับ ScQA ไดแ ก

1. โรงเรยี นทา ผดงุ วทิ ย จังหวัดสตูล
2. โรงเรยี นละงูพิทยาคม จงั หวดั สตลู
3. โรงเรยี นควนโดนวทิ ยา จังหวดั สตลู
4. โรงเรียนระโนด จงั หวดั สงขลา
5. โรงเรียนระโนดวทิ ยา จงั หวัดสงขลา
6. โรงเรยี นนาทววี ทิ ยาคม จงั หวัดสงขลา
7. โรงเรียนสะบายอ ยวทิ ยา จังหวัดสงขลา
8. โรงเรยี นสงขลาวิทยาคม จังหวัดสงขลา
9. โรงเรียนสทิงพระวทิ ยา จังหวัดสงขลา
10. โรงเรียนควนเนียงวทิ ยา จงั หวัดสงขลา
เชิงคุณภาพ
โรงเรียนมาตรฐานสากลจํานวน 10 โรงเรยี นที่ขอรบั การประเมินการประเมนิ รางวลั คุณภาพแหง
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน OBECQA ระดบั ScQA ไดจดั ดาํ เนินการตามแนวทางของ
โรงเรียนมาตรฐานสากลและดําเนนิ การเขยี นรายงานเพื่อขอรบั การประเมนิ ตามเกฑณร างวลั คุณภาพ
OBECQA ระดบั ScQA
ปญหา อปุ สรรค
สถานการณการแพรเช้อื ไวรสั โคโรนา (โควิด 19) จงึ ทาํ ใหก ารดาํ เนนิ การดําเนนิ การไดไ มเ ตม็ ทขี่ าดการ
ลงพืน้ ทเี่ พอ่ื นเิ ทศติดตามยงั โรงเรียนกลุมเปาหมาย
ขอเสนอแนะ แนวทางพัฒนา
ใชร ะบบออนไลนในการสรา งการรบั รู การตรวจเยี่ยม การนเิ ทศติดตาม

รายงานผลการดําเนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 31

4. โครงการ/กจิ กรรม การจัดการศกึ ษาเพอื่ การมงี านทาํ
ผลการดาํ เนนิ งาน
ไดดําเนินการสนับสนุนงบประมาณใหแกศูนยแนะแนวประจําจังหวัด งบประมาณ 10,000 บาท โดย
จัดสรรงบประมาณใหแกโรงเรียนทุงหวาวรวิทย และโรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย ดําเนินการจัดประชุม
เชิงปฏิบัติการออนไลน โครงการยกระดับการขับเคลื่อนงานแนะแนวในสถานศึกษาและเสริมสรางสมรรถนะ
ผูเรียนระดับขั้นพื้นฐานเพื่อการศึกษาตอและมีงานทํา เพื่อนําไปสูการพัฒนางานในพ้ืนท่ีและสงเสริมนักเรียน
คนพบตนเองสามารถตัดสนิ ใจเลอื กและวางแผนเสน ทางการศึกษารวมทั้งประกอบอาชีพใดสอดคลองกับความ
สนใจและศกั ยภาพของตนเองโดยมผี ูเขา รว มอบรม จาํ นวน 500 คน
5. โครงการ/กจิ กรรม บริษัทสรางการดี
ผลการดาํ เนินงาน
ไดด าํ เนนิ การจัดการประกวด บรษิ ทั สรางการดี ในชวงสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัส
โคโรนา 2019 มโี รงเรียนเขา รวมดงั น้ี
ท่ี โรงเรยี น บรษิ ทั /อาชีพ รางวัล

1. ตะเครียะวิทยาคม บริษัทสรางการดี ต.ว. 6 สาขา ชนะเลิศ
-ขาวดีศรี ต.ว.
-ปาลมสวยรวยทรพั ย รองชนะเลิศอนั ดับ 1
-เสาวรสสรางการดี รองชนะเลศิ อันดบั 2
-อบ อบ มหาชนจํากัด
-กวางตงุ จาํ กัด ชมเชย
-กระเจ๊ยี บแดง จาํ กัด ชมเชย
2. พะตงประธานคีรีวฒั น ใสเ ดือนเพ่อื นดิน (ปยุ จากใสเดือน) ชมเชย
3. ทุงหวา วรวทิ ย ผลิตภณั ฑผ ามดั ยอมสธี รรมชาติ
4. สตูลวิทยา งานศลิ ปะเพื่อสังคม
-ภาพวาด สตรีด อารท
-ผามดั ยอมชิโบริ
5. บางกล่าํ วทิ ยา รัชมังคลาฯ เคร่อื งปน ดนิ เผา ดินสามนํ้า
6. คูเตาวิทยา ไรผาสุก (อาชีพทางการเกษตร)
-นา้ํ ออ ยคัน้

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 32

ท่ี โรงเรียน บริษทั /อาชีพ รางวลั
7. สทงิ พระชนูปถัมภ -เชอื กกลว ยรอยถักทอ ชมเชย
8. สะเดา “ขรรชัยฯ” -มะพรา วบอนไซ (ศิลปะเพ่ือชวี ิต) ชมเชย
9. จะนะวทิ ยา การเผาถานไมส น เขารวม
10 คลองแดนวทิ ยา ขาวเหนียวหลามชกั พลดุ เขารว ม
11 วรนารีเฉลิม จ.สงขลา น้ํายาอเนกประสงคส มจุก เขารวม
ไมก า นตาลสําหรบั การนวด
โครงการปลูกเมลอนโดยใชพลงั งานโซลา เซล

6. โครงการเตรียมความพรอ มการประเมินผลรวมกบั นานาชาติ (PISA 2022)
วตั ถปุ ระสงค
เพื่อสงเสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสง เสรมิ ความฉลาดรขู องนกั เรยี นตามแนว PISA
ผลการดําเนินการ
โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล จํานวน 53 โรงเรียน มีการ

สงเสริมใหครูและนักเรียนเขาเรียนรูระบบ PISA Style สงผลใหตัวชี้วัดที่ 11 รอยละของสถานศึกษาท่ีสอน
ระดับ ม.ตน ที่ไดรับการเตรียมความพรอมดานการอาน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตรในการประเมินระดับ
นานาชาตติ ามโครงการ PISA ได 100% โดยมีการเขา เรยี นรรู ะบบ PISA Style รวมท้งั สิน้ 3,723 คร้ัง โรงเรียนที่
มีการเขาเรียนรูระบบ PISA Style มากที่สุด คือ โรงเรียนสะเดา (ขรรคชัยกัมพลานนทอนุสรณ) จํานวน 591 ครั้ง
รองลงมาโรงเรียนหาดใหญว ทิ ยาลยั 2 จํานวน 509 ครง้ั และโรงเรียนเทพา จาํ นวน 491 คร้ัง
7. โครงการ/กจิ กรรม การประกวดนวัตกรรมทเ่ี ปนแนวการปฏิบัติที่เปนเลิศในการจัดการเรยี นการสอนกลุม
สาระการเรียนรภู าษาไทย เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการอาน การเขียน ในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ
เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

วัตถุประสงค
1. เพ่ือพฒั นานักเรยี นในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6 ใหมีสมรรถนะการอา น การเขียนขั้นสูง สามารถ
นําไปเปนเครื่องมือในการเรียนรูว ชิ าอน่ื ๆ ได
2. เพ่ือใหครูผูสอนกลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทยจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู ชิงรุกเพื่อพัฒนาสมรรถนะการ
อาน การเขยี นขัน้ สูงของนักเรียน
3. เพื่อใหโรงเรียนมีนวัตกรรมการเรยี นรูในการพัฒนาสมรรถนะการอาน การเขยี นขั้นสงู ของนกั เรียนท่ี
ประสบความสําเรจ็ เปนแบบอยางได
ผลการดาํ เนินงาน
เชงิ ปริมาณ
1) รอ ยละ 100 ของโรงเรยี นสง เสรมิ ใหครจู ัดกจิ กรรมการเรยี นรูในกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทยเพื่อ
พฒั นาสมรรถนะการอานการเขยี นขั้นสงู ของนักเรยี น
2) รอ ยละ 100 ของครผู สู อนกลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ไดร บั การสง เสริมใหจดั กจิ กรรมการเรียนรู
เชงิ รกุ เพ่ือพฒั นาสมรรถนะการอาน การเขียนข้นั สูงของนักเรยี น
3) รอ ยละ 100 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน /ตอนปลาย ไดร ับการพัฒนา
สมรรถนะการอา น การเขยี น ใหม คี วามสามารถในการอา น การเขยี นข้นั สงู

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 33

เชงิ คณุ ภาพ
1) โรงเรยี นสงเสรมิ ใหนกั เรียนไดร บั การพัฒนาสมรรถนะการอา น การเขียนข้ันสงู อยใู นระดบั ดมี าก
2) ครูผูส อนกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทยไดร บั การสง เสริม นเิ ทศ กาํ กบั ติดตามใหม ี
ความสามารถในการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ ชิงรกุ เพื่อพัฒนาสมรรถนะการอา น การเขยี นขน้ั สงู ในระดับดีมาก
3) นกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน/ตอนปลาย ไดร บั การพฒั นาสมรรถนะการอาน การเขยี น
ขนั้ สงู อยใู นระดบั ดีมาก
ปญ หา อุปสรรค
- เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทําใหการ
ดาํ เนินงาน มขี อจํากัดในเร่ืองเวลา และการส่ือสาร
- งบประมาณที่ใชใ นการดาํ เนินโครงการไมเพยี งพอ
ขอเสนอแนะ แนวทางพฒั นา
- ใชวิธกี ารสื่อสารผา นแอพพลิเคช่ัน ตาง ๆ Zoom และ google Meet

8. โครงการพฒั นากระบวนการเสริมสรา งและประเมินทักษะความคิดสรา งสรรค และการคดิ วเิ คราะห
ในชั้นเรยี นระดับมธั ยมศึกษา
วัตถุประสงค
1. เพ่อื ศกึ ษาแนวทางการดาํ เนินการโครงการพฒั นากระบวนการสรางและสงเสรมิ ทักษะความคิด

สรางสรรคและทักษะการคิดวิเคราะหในช้ันเรียนระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนระโนดและโรงเรียนคลองแดน
วิทยา สาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล

2. เพื่อนเิ ทศ ตดิ ตาม ผลการดาํ เนนิ การพัฒนากระบวนการสรางและสงเสรมิ ทักษะความคดิ สรา งสรรค
และทักษะการคิดวิเคราะหในช้ันเรียนมัธยมศึกษาของโรงเรียนระโนดและโรงเรียนคลองแดนวิทยาสํานักงาน
เขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล

ผลการดําเนินงาน
ผลการนิเทศโครงการพฒั นากระบวนการสรา งและสงเสริมทกั ษะความคดิ สรา งสรรคแ ละทักษะการคดิ
วเิ คราะหใ นชั้นเรียนมธั ยมศึกษา กรณีศึกษา: โรงเรียนระโนดและโรงเรยี นคลองแดนวทิ ยา สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูลมดี ังน้ี
1. แนวทางการดําเนนิ การโครงการพฒั นากระบวนการสรางและสง เสริมทักษะความคิดสรางสรรคและ
ทักษะการคิดวิเคราะหใ นชนั้ เรียนมธั ยมศึกษาของโรงเรยี นระโนดและโรงเรยี นคลองแดนวิทยาสํานกั งานเขต
พืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 34

ผูบริหารและครูแกนนําที่ไดรับการอบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพรอมใชเคร่ืองมือพัฒนาทักษะ
ความคิดสรางสรรคและการคิดวิเคราะหไดวางแผนดําเนินการโดยมีการประชุมวางแผนดําเนินการและจัดทํา
เปน โครงการของโรงเรยี น มขี ้ันตอนดาํ เนินการโดยสรุปดงั นี้

1) ประชมุ ฝายบรหิ ารและหัวหนากลมุ สาระการเรียนรวู ิเคราะหส ภาพปญหาการจัดการเรียนรู
2) มอบหมายคณะกรรมการดําเนินงาน
3) คณะกรรมการรวมกันวางแผนและกําหนดขน้ั ตอนการปฏิบัติ
4) จดั ประชมุ คณะครเู พือ่ สรางความรูแ ละความเขาใจรูปแบบและกระบวนการ
จัดการเรยี นการสอน
5) จดั การเรยี นการสอนในช้ันเรยี นโดยสอดแทรกกระบวนการคิดในกลมุ สาระ
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี คณิตศาสตรแ ละศลิ ปะ
6) การนําเสนอของนกั เรียน
7) สรปุ และรายงานผล
ซงึ่ โรงเรียนระโนดและโรงเรียนคลองแดนวิทยามีแนวทางพัฒนาการจัดการเรียนรูเพื่อสงเสริมการคิด
สรางสรรคในชัน้ เรียนโดยนํากระบวนการเสริมสรา งและประเมินทักษะความคิดสรา งสรรคและการคิดวิเคราะห
ในช้ันเรยี นระดบั มัธยมศึกษา 6 ข้นั ตอน มาประยกุ ตใชด งั รายละเอียดตอ ไปนี้
โรงเรียนระโนด
โรงเรียนระโนดไดนําเทคนิคการจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานนวัตกรรมเพื่อชุมชน 6 ขั้นตอนมา
ประยุกตใชในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศิลปะกลุมเปาหมายเปนนักเรียนระดับ
มธั ยมศึกษาปที่ 2 โดยเริ่มจากการจัดกิจกรรมเสวนา “วิถชี ีวิตชาวระโนด” ใหนักเรียนไดรับรูเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ
ในอําเภอระโนด นําไปสูการรับรูถึงปญหาของการเกิดอาชีพน้ัน ๆ โดยการเชิญวิทยากรที่เช่ียวชาญและผูที่เขาใจ
ถึงอาชีพตาง ๆ ในอําเภอระโนด มารวมใหความรูและรวมเสวนากับนักเรียน จนนักเรียนรับรูถึงปญหาและหา
วธิ กี ารแกป ญ หา ผลการดําเนินการโครงการสรปุ ไดเ ปน 3 ข้นั ตอนดังน้ี
ขน้ั ท่ี 1 สรางแรงบนั ดาลใจ โดยครูใชคาํ ถามกระตนุ ใหน ักเรยี นคดิ เกยี่ วกับปญหาทเ่ี กิดขึ้นในชุมชน ให
นักเรยี นนาํ เสนอหนา ชน้ั เก่ยี วกบั ปญ หาของแตล ะกลุม
ขน้ั ที่ 2 สาํ รวจชมุ ชน วิทยากรในชุมชนมาใหค วามรเู กีย่ วกับอาชีพในอําเภอระโนด

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 35

ขั้นที่ 3 บูรณาการความรู นักเรยี นรวมกันคดิ เกีย่ วกับปญหาในชมุ ชนท่ีตนเองสนใจเรยี นรเู พื่อนาํ ไป
แกปญ หาเพือ่ นําไปสกู ารบรู ณาการตัวชวี้ ัดในรายวิชาที่เกี่ยวขอ ง

โรงเรยี นคลองแดนวทิ ยา
จัดการเรียนรูในรูปแบบบูรณาการขามกลุมสาระฯ ภาษาไทย วิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศิลปะ กับ
นกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 จํานวน 38 คน เวลาที่ใชในการจัดกิจกรรมจะใชคาบ 8 - 9 (เวลา 14.20 น.
– 16.00 น.) ทุกวันศุกร ซึ่งเปนคาบกิจกรรมของนักเรียน โดยนําข้ันตอนการจัดการเรียนรูตามหลักการ high
functioning classroom ขององคการ OECD ดวยกระบวนการ CIP Community innovation project มา
ประยุกตใช ใชชื่อวา KIDDEE Project 6 ขั้นตอน รวมกับการใชแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการที่ชื่อวา
| แดนศลิ ป ถิ่นกังหันลม | ดังน้ี
ขัน้ ท่ี 1 ประเมนิ ระดับความคิด (K: Knowledge) ครทู าํ การวเิ คราะหนักเรยี นวา มีความสามารถดา นการคิด
อยูในระดับใด โดยใชโปรแกรม https://www.galaxyofcreativity.com/
ข้ันท่ี 2 สรางแรงบนั ดาลใจ (I: Inspiration) ครจู ัดกิจกรรมสรา งแรงบนั ดาลใจโดยใชคาํ ถามกระตนุ
เกยี่ วกบั สิ่งทน่ี ักเรยี นสนใจอยากเรียนรใู นชมุ ชน
ขัน้ ที่ 3 พฒั นาความคิด (D: Development) ครแู ละนกั เรียนออกแบบการจัดการเรียนรูร ว มกนั กบั สิ่งที่
นกั เรยี นสนใจกําหนดเนื้อหาวิชาการและเปาหมายการเรยี นรู
ข้ันท่ี 4 ลงมือปฏิบตั ิจริง (D: Doing) นกั เรียนเร่ิมหาขอมูลเร่ืองที่ตนเองอยากรู ลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ ในการ
สรา งแบบจาํ ลองกงั หันลม
ขั้นท่ี 5 การประเมนิ ตนเอง (E: Evaluation) ประเมนิ ความคิดดวยการสะทอ นผลการดาํ เนินการ และ
ประเมินโดยใชกราฟใยแมงมุม
ขั้นที่ 6 การคดิ ตอยอด (E: Extenstion) ครชู วนนักเรยี นคยุ ชวนคิดนาํ สง่ิ ท่ีเรยี นรไู ปใชพัฒนาตนเอง
ตอยอดใหนักเรียนเกดิ คิดวิเคราะหส รา งสรรค

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 36

2. ผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ผลการดําเนินการพฒั นากระบวนการสรา งและสง เสริมทักษะความคิด
สรางสรรคแ ละทักษะการคดิ วเิ คราะหใ นช้นั เรียนมธั ยมศึกษาของโรงเรียนระโนด และโรงเรียนคลองแดนวิทยา
สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล

ครูผูสอน มีความมุงม่ัน ต้ังใจ เปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู เนนบูรณาการแบบมีสวนรวม
ออกแบบกิจกรรมท่ีเนนกระบวนการใหนักเรียนฝกสังเกต ตอบคําถาม นําเสนอ แกป ญหาในสถานการณตาง ๆ
คดิ วิเคราะหจําแนกแยกแยะขอ มลู ออกเปน สวนๆ เช่ือมโยงองคความรูในชีวิตประจําวัน นกั เรียนทุกคนไดล งมือ
ปฏิบตั จิ รงิ ดว ยตนเอง

นักเรียน มีสวนรวมในการเรียนรู รูจักวางแผนการจัดระบบการคิด และนํามาตอยอดใหเกิดความคิด
ใหม ลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ ดวยตนเอง มีอิสระในการคดิ การนําเสนอความคิดของตนเอง มที ักษะ ในการสังเกต การ
ซกั ถาม การตอบคําถาม การคิดหาคําตอบในเร่อื งตาง ๆ รวมท้ังคิดคนหาคําตอบ และวิธีการใหม ๆ ฝกการคิด
รอบดานอยางมีเหตุผล ฝกการระดมสมองในการทํางานรวมกับผูอ่ืน และสามารถนําความรูนี้มาปรับใชใน
ชวี ิตประจําวนั ผลการประเมนิ ความคดิ สรางสรรคและการคิดวิเคราะหของนกั เรยี น ปรากฏดังตาราง

คาเฉลย่ี คาเฉลี่ย คาเฉลย่ี
คะแนน ระดับสถานศึกษา ระดับภาคใต ระดบั ประเทศ
โรงเรียน กอน หลงั ผลตา ง กอ น หลัง ผลตา ง กอน หลัง ผลตา ง
ระโนด 9.30 11.38 2.08
คลองแดนวทิ ยา 10.45 11.24 0.7 10.16 10.42 0.26 8.77 9.16 0.39

ท่ีมา: ผลการประเมนิ ในระบบฐานขอมลู ของมลู นธิ ิเพ่ือทกั ษะแหงอนาคต

สรุปผลจากตาราง นักเรียนโรงเรียนระโนดมีคาเฉล่ียกอนพัฒนาโดยใชโครงงานนวัตกรรมเพ่ือชุมชน
9.30 หลังพัฒนา 11.38 โรงเรียนคลองแดนวิทยามีคาเฉล่ียกอนการพัฒนา 10.54 และหลังพัฒนา 11.24
แสดงวานักเรียนทั้งสองโรงเรียนมีความคิดสรางสรรคและการคิดวิเคราะหสูงขึ้นและเม่ือเทียบกับระดับภาคใต
และระดบั ประเทศนกั เรียนมีคะแนนสงู กวา ทั้งระดับภาคใตแ ละระดบั ประเทศ

9. โครงการวจิ ัยและนวตั กรรมเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา
วัตถปุ ระสงค
1 เพือ่ สงเสริมใหมีการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู การเรยี นการสอน

การนเิ ทศ การบรหิ ารจดั การ
2. เพ่อื สง เสรมิ ใหส ถานศึกษามีความเปน เลศิ ทางวชิ าการโดยใชงานวจิ ัยและสรา งนวัตกรรมเพ่ือ

เปน ฐานในการพัฒนาการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา
3. เพื่อสรางเครือขายการวจิ ัยและนวตั กรรมระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษา
ผลการดาํ เนินงาน
ไดด ําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการผูป ระสานงานวจิ ัยและนวัตกรรมระดบั สถานศึกษา และสง เสรมิ

สนับสนุนใหค ําปรึกษาเปน พี่เล้ียงใหกบั ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทางดานการทําวจิ ยั ของสถานศึกษา
 สงเสรมิ สนับสนุนการทําวจิ ัยในชั้นเรียน โรงเรยี นวรนารีเฉลิม สงขลา

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 37

 สง เสรมิ สนับหนุนการทําวิจยั ของโรงเรียนหาดใหญร ัฐประชาสรรค
การทาํ โพลของเขตพื้นที่การศึกษา (POLL. SKST.)
10. โครงการสงเสริมความเปนเลิศทางวิชาการดานคณิตศาสตร ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาสํานักงานเขต
พื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล

วตั ถปุ ระสงค
1. เพ่ือสรางบรรยากาศทางวิชาการใหผูเกี่ยวของมีสวนรวมพัฒนานวัตกรรมการเรียนจัดการเรียนรู
อยา งตอ เน่ือง และพฒั นาเน้ือหาสาระใหม คี วามทันสมยั เทียบเทา มาตรฐานสากล
2. เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพครูผสู อนคณติ ศาสตร และสรางความเช่ือมั่นในการจัดการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21
3. เพื่อสงเสริมใหสถานศึกษามีความเขมแข็งทางวิชาการ และเปนแหลงเรียนรูในระดับเขตพ้ืนที่
การศึกษา
4. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนไดพัฒนาขีดความสามารถตามศักยภาพของตนสูความเปนเลิศทางวิชาการ
ดา นคณติ ศาสตร
ผลการดําเนนิ งาน
ดาํ เนนิ การสงเสริม สนับสนนุ การพัฒนาการจัดการเรยี นรูกลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 38

11. โครงการสงเสริมเครือขา ยนวัตกรรมคุณภาพสถานศึกษาสาํ นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
สงขลา สตลู

วัตถปุ ระสงค
1. เพ่ือส่ือสาร สรางความเขาใจ และประสานความรวมมือระหวางสถานศึกษาแกนนํา สถานศึกษา
รวมพัฒนา ตลอดจนหนวยงานท่ีเก่ียวของ ในการสงเสริมสนับสนุนการดําเนินงานของเครือขายนวัตกรรม
คณุ ภาพสถานศึกษา
2. เพื่อสงเสริมสนับสนุนสถานศึกษารวมพัฒนาใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เปนไปตามกฎกระทรวง และมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กําหนดไว
ผลการดาํ เนนิ งาน
เชิงปรมิ าณ

1. สถานศึกษาแกนนาํ ทัง้ 3 แหง สถานศึกษารว มพฒั นา 9 แหง และหนวยงานท่ีเกี่ยวขอ งมีความ
เขาใจและใหความรวมมอื ในการสง เสริม สนบั สนนุ การดําเนินงานของเครือขา ยนวัตกรรมคุณภาพสถานศกึ ษา

2. รอยละ 100.00 ของสถานศึกษารวมพัฒนามีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เปนไปตามกฎกระทรวงฯ และมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาทกี่ ําหนดไวใ นระดับดขี ้นึ ไป

เชิงคุณภาพ
1. สถานศึกษาแกนนํา สถานศกึ ษารวมพฒั นา และหนวยงานทเ่ี กย่ี วของ มีความเขาใจและใหความ
รวมมือในการสงเสรมิ สนบั สนุนการดําเนินงานของเครือขา ยนวัตกรรมคณุ ภาพสถานศึกษาเปน อยางดี บรรลุ
วตั ถปุ ระสงคทก่ี าํ หนด
2. สถานศึกษารว มพฒั นามีระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาเปนไปตามกฎกระทรวงฯ
และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาทกี่ าํ หนดไว

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 39

12. โครงการสง เสริมประสบการณอาชพี ของนักเรยี นในจงั หวดั ชายแดนภาคใต
ประจาํ ปงบประมาณ 2564
วัตถุประสงค
เพือ่ สง เสรมิ ทักษะทางดา นอาชพี และมรี ายไดร ะหวางเรยี น ในชวงสถานการณการแพรร ะบาดของโรค

ตดิ เช่ือไวรัสโควดิ – 19 ใหก บั นักเรยี นพน้ื ทจี่ ังหวดั ชายแดนภาคใต
ผลการดําเนินงาน
สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ไดดําเนินการจัดสรรงบประมาณใหกับโรงเรียน

กลุมเปาหมาย เพ่ือดําเนินการตามแนวทางการดําเนินงานโครงการประกอบดวยโรงเรียนในโครงการโรงเรียน
ประชารัฐจังหวัดชายแดนภาคใต จํานวน 4 โรงเรียน และโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นท่ี 4 อําเภอของจังหวัด
สงขลา (จะนะ เทพา นาทวี สะบายอย) จํานวน 10 โรงเรียน ซึ่งทําใหน ักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพื้นท่ี
จังหวัดชายแดนภาคใต และนักเรียนของโรงเรียนในโครงการโรงเรียนประชารัฐจังหวัดชายแดนภาคใต สังกัด
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ไดรับการสงเสริมทักษะทางดานอาชีพ และมีรายได
ระหวางเรยี น ในชวงสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ่ื ไวรัสโควดิ – 19

ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 สง เสรมิ สนับสนุนการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1. โครงการ การจัดทาํ ขอมลู ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (GPA) ผา นระบบ GPAX OBEC

วตั ถปุ ระสงค
1. เพ่ือใหโรงเรียนจัดทําและการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ของนักเรียน โดยใชระบบ
GPAX OBEC
2. เพ่ือใหโรงเรียนจัดทําขอมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและออกเอกสารหลักฐานไดถูกตองและทัน
ตามกําหนดเวลา
3. เพ่อื จัดทาํ ขอมูลสารสนเทศผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลมุ สาระการเรียนรู ของโรงเรยี นในสงั กัด
ผลการดําเนนิ งาน
เชงิ ปรมิ าณ
ผรู บั ผิดชอบงาน GPA ของโรงเรียนในสังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
จํานวน 53 โรงเรียน และคณะทาํ งาน รวมทั้งส้ินจาํ นวน 70 คน
เชิงคณุ ภาพ
ครูมีความรูความเขา ใจและสามารถรายงานผลการเรียนเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน โดยใชร ะบบ GPAX
OBEC ไดถูกตอง

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 40

ขอเสนอแนะ แนวทางพัฒนา
ระบบ GPAX OBEC ของ สพฐ. ยงั ไมสามารถตรวจสอบความถูกตองของขอมูลไดท ้ังหมด บางประเด็น
พิมพผิดพลาด แตระบบประมวลผล “ผาน” เชน จํานวนหนวยกิตรวมไมครบ 77 หนวยกิต ระบบประมวลผล
ใหจบการศึกษาได

2. โครงการ/กิจกรรม การนเิ ทศ ติดตามการจดั การเรียนรขู องครูผูสอนกลมุ สาระวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี

วตั ถปุ ระสงค
1. เพอ่ื นิเทศ ติดตามการจดั การเรียนการสอนของครกู ลมุ สาระวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
2. เพอื่ รว มแลกเปล่ียนเรียนรใู นกิจกรรมชุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (PLC)
3. เพ่อื สรางขวัญ กาํ ลงั ใจ และความเขมแข็งใหก ับครูผูสอนในการจัดการเรยี นรูภ ายใตสถานการณการ
แพรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)
ผลการดําเนนิ งาน
เชิงปริมาณ

ครูผูสอน โรงเรยี นสทงิ พระวิทยา กลมุ สาระวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จํานวน 5 คน
เชิงคุณภาพ

ครูผูสอนไดรวมแลกเปล่ียนเรยี นรู ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนกับเพ่ือนในกลุมสาระฯ และ
การสะทอนคิดจากการสังเกตชั้นเรียนจากฝายบริหาร ฝายวิชาการและศึกษานิเทศก เพ่ือรวมช่ืนชมและให
ขอ เสนอแนะในการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนใหมีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ้
3.โครงการ/กิจกรรม การนเิ ทศเชิงรุกเพ่ือพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเชงิ รุก (Active Learning)
ของครผู านชุมชนแหง การเรียนรทู างวิชาชีพ (PLC)

วัตถปุ ระสงค
1. เพอ่ื พัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู ชงิ รุก (Active Learning) ของครู
2. เพอื่ สรา งเครือขายชุมชนแหง การเรียนรูท างวิชาชีพของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 41

ผลการดาํ เนนิ งาน
เชิงปริมาณ
โรงเรยี นในสหวิทยาเขตนครหาดใหญจ าํ นวน 2 โรงเรียน ไดแ ก
1. โรงเรียนหาดใหญวิทยาลยั
2. โรงเรยี นมธั ยมสิริวณั วรี 2 สงขลา
เชงิ คุณภาพ
1. โรงเรียนสง เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเ ชิงรุก (Active Learning) เพ่อื สงเสริมใหผ เู รียนมีเกิด
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 และไดรับการยกยอ งจากหนว ยงานการศึกษาโดย

1) โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัยไดรับการเผยแพรกิจกรรมในงานมหกรรมทางการศึกษาเพ่ือ
พัฒนาวิชาชีพครู ครั้งท่ี 14 หัวขอการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรูเชิงรุก
ผา นกิจกรรม Learning Walk

2) โรงเรียนมัธยมสริ ิวัณวรี 2 สงขลา ไดรับเลือกจากสํานักงานเลขาธิการคุรสุ ภา ดําเนินการ
เปดช้ันเรียนเพ่ือใหผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานการศึกษาตาง ๆ เขารวมศึกษาเรียนรูผาน
กระบวนการ PLC

2. ครมู เี ครือขายชมุ ชนแหงการเรยี นรูทางวิชาชีพในการแลกเปลย่ี น ชว ยเหลือ แนะนาํ ในการ
พฒั นาการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูเ ชงิ รกุ (Active Learning)

ปญหา อุปสรรค
ขาดการสนบั สนุนดา นงบประมาณ จงึ ทําใหก ารดาํ เนนิ การทําไดเพยี งบางกลมุ โรงเรียนท่ีมีความพรอม
ขอ เสนอแนะ แนวทางพัฒนา
ควรใหความสาํ คัญกับนโยบายการนเิ ทศติดตาม การจัดกจิ กรรมการเรยี นรจู ากหองเรยี น เพราะการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาคือการพัฒนาผเู รียนจากหองเรยี น หากครมู สี มรรถนะในการจัดการเรียนรยู อ มสงผล
ตอประสทิ ธิภาพทจี่ ะเกิดขน้ึ ในการพฒั นาคุณภาพของผเู รียน

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 42

4. โครงการ/กิจกรรม การนเิ ทศเชงิ รุกเพือ่ พัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียนรูฐานสมรรถนะทางวิทยาศาสตร
(สมรรถนะ PISA) ของครผู านชมุ ชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)

วัตถุประสงค
1. เพ่ือพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูฐ านสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร (สมรรถนะ PISA) ของครู
แกนนาํ
2. เพือ่ สรา งเครือขายชมุ ชนแหงการเรยี นรูทางวิชาชีพของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ผลการดาํ เนนิ งาน
เชงิ ปรมิ าณ
ครูแกนนาํ สมัครเขารว ม จํานวน 14 คน จากโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล จาํ นวน 10 โรงเรียน
เชิงคุณภาพ
1. ครูแกนนาํ จํานวน 14 คน สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรูฐานสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร (สมรรถนะ
PISA) เพื่อสง เสริมใหผ ูเรียนมีเกิดสมรรถนะ PISA และทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
2. ครูแกนนําจาํ นวน 14 คน มีเครือขายชุมชนแหงการเรยี นรูทางวิชาชีพในการแลกเปล่ียน ชวยเหลือ
แนะนาํ ในการพัฒนาการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูตามแนวทางวทิ ยาศาสตรฐ านสมรรถนะ PISA
ปญหา อุปสรรค
สถานการณการแพรของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID-19) จงึ ทําใหการดาํ เนนิ การดําเนนิ การไดไมเ ต็มที่
ขาดการลงพ้นื ท่เี พือ่ นิเทศติดตามยังครูแกนนาํ กลุม เปาหมาย
ขอ เสนอแนะ แนวทางพฒั นา
1. ใชระบบออนไลนเ พอ่ื ชวยติดตามชวยเหลอื รว มแลกเปล่ียนเพอ่ื พัฒนาการออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นรตู ามแนวทางวิทยาศาสตรฐ านสมรรถนะ PISA
2. ขยายผลการพฒั นาการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรตู ามแนวทางวิทยาศาสตรฐ านสมรรถนะ PISA
กลมุ เปาหมายครใู นสังกัดสาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2564 43

5. โครงการ การพัฒนาครูผูร วมนเิ ทศ (Co-Supervisor)
วัตถุประสงค
1. เพื่อศึกษาผลการพัฒนาครูผูรวมนิเทศ (Co-Supervisor) ดวยการเสริมพลังอํานาจการทํางาน

สํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู ดังน้ี
1.1 ความรูและทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวัดและประเมินผลการ

เรียนรู การจัดการเรยี นการสอนของครผู ูรว มนิเทศ (Co-Supervisor)
1.2 ศักยภาพในการนเิ ทศของครูผูร ว มนเิ ทศ (Co-Supervisor) หลงั การพฒั นาเพ่อื เสริมพลังอํานาจ
1.3 ความพึงพอใจของครผู รู ับการนิเทศทม่ี ตี อครูผรู ว มการนิเทศ(Co-Supervisor)
1.4 ผลการเรยี นรูของนักเรยี นกอนและหลังการนเิ ทศเพื่อเสริมพลังอาํ นาจ

2. เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของครูผรู ว มนิเทศ (Co-Supervisor) ทมี่ ตี อการนิเทศเพอื่ เสรมิ พลงั อํานาจ
การทาํ งานของครูผรู วมนเิ ทศ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล

ผลการดาํ เนินงาน
ปงบประมาณ พ.ศ.2564 สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล ไดขบั เคลอื่ นการ
ดําเนนิ งานโครงการอยางตอเนือ่ ง โดยสรุปผลความสําเร็จไดดงั น้ี
เชงิ ปรมิ าณ
สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสงขลา สตูล มีครูผูรวมนิเทศ (Co-Supervisor) โรงเรียนละ 6 คน รวม
ท้ังสนิ้ จํานวน 318 คน ครผู รู วมนิเทศ (Co-Supervisor) ขยายเครือขายใหแ กเ พื่อนครูในโรงเรียนครบท้งั 53 โรงเรียน
เชิงคณุ ภาพ
ครูผูร ว มนเิ ทศ (Co-Supervisor) มีความรู ความเขาใจและมีทกั ษะการนเิ ทศในประเด็น
1. การพฒั นาและปรบั ปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
2. การวดั และประเมินผลการเรียนรูต ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
3. การจดั การเรยี นรูแ บบ Active Learning
4. การนิเทศภายในสถานศึกษา
5. การวิเคราะหก ารทดสอบ O-NET และการนาํ ผลการประเมินไปใชในการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
6. การใชก ระบวนการ PLC และวิจัยในช้นั เรยี นเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
7. การออกแบบการจดั การเรียนรรู ายหนว ยการเรยี นรู
8. การใชก ระบวนการชมุ ชนแหงการเรยี นรูท างวิชาชีพ (PLC) ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
แบบ Active Learning
9. การจัดการเรียนการสอนและการวัดประเมินผลในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) Complete Teaching สอนใหครบ จบในคาบ ไมเ พ่มิ ภาระ

CM
CM

CM
CM

รายงานผลการดําเนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 44

6. โครงการ จดั กระบวนการเรยี นรเู พศวถิ ีศกึ ษาและการขับเคล่อื นการเรียนรู แบบ Electronic –
learning เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครใู หส อนเพศวิถศี กึ ษาและทกั ษะชีวิตในระบบการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ปงบประมาณ 2564 (ตอเนอ่ื ง)

วัตถปุ ระสงค
เพ่ือใหโรงเรียนในสงั กดั ไดพฒั นาและขบั เคลอ่ื นตามแนวทางการปฏบิ ตั ิ
1. จดั ใหมีการเรียนการสอนเพศวถิ ีศกึ ษาและทกั ษะชีวติ ใหเหมาะสมกับชวงวัยของนกั เรียน
2. จัดหาและพัฒนาครูผูสอนใหมีความรูความสามารถ มีทัศนคติท่ีดีและมีทักษะการสอนที่เหมาะสม
เพื่อใหสามารถสอนเพศศึกษาและใหคําปรึกษาในเร่ืองการปองกันและแกไขปญหาการต้ังครรภในวัยรุนแก
นกั เรยี น
3. จัดการศึกษาดวยรูปแบบทเี่ หมาะสมสําหรับนักเรียนที่มีปญหาการตั้งครรภเพ่ือใหนักเรียนไดศึกษา
ตอจนจบการศกึ ษาภาคบงั คับ
ผลการดําเนินงาน
เชงิ ปรมิ าณ
โรงเรียนในสังกัด จํานวน 53 โรงเรยี น

รายงานผลการดาํ เนินงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564 45


Click to View FlipBook Version