The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน SAR ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bangon Lektarago, 2023-07-07 00:17:32

รายงาน SAR ปีการศึกษา 2565

รายงาน SAR ปีการศึกษา 2565

Keywords: Sar 2565,sar วิทยาลัยเทคนิคเลย

รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยเทคนิคเลย อาชีวศึกษาจังหวัดเลย ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


ก ค ำน ำ วิทยาลัยเทคนิคเลย ได้ให้ความส าคัญของการจัดท ารายงานผลการประเมินตนเอง เพื่อให้ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และกฎกระทรวง การป ระกันค ุณภ าพก า รศึกษ า พ .ศ. 2561 เพื ่อใช้ก า รป ระกันค ุณภ าพก า รศึกษ าเป็นกลไก ส าคัญในการจัดการศึกษาของวิทยาลัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนด ผลการจัดการศึกษาบรรลุ เป้าประสงค์และการจัดการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วน ที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน โดยมีกระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาในเชิงประจักษ์ที่สอดคล้อง กับมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ที่ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพได้ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา ของวิทยาลัย 5 ด้าน 25 ประเด็นการประเมิน ได้แก่ 1) ด้านผู้เรียนและผู้ส าเร็จการศึกษา จ านวน 8 ข้อ 2) ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน จ านวน 4 ข้อ 3) ด้านครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา จ านวน 5 ข้อ 4) ด้านการมีส่วนร่วม จ านวน 3 ข้อ และ 5) ด้านปัจจัยพื้นฐาน จ านวน 5 ข้อ จากการ ด าเนินการตามกระบวนการดังกล่าวได้ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยจากทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม การด าเนินการจัดท ารายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยเทคนิคเลย (Self Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี อันเกิดจากความร่วมมือของบุคลากร วิทยาลัยเทคนิคเลย และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ วิทยาลัยเทคนิคเลย


ข ค ำชี้แจง การด าเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคเลย ในรอบปีการศึกษา สาม ารถแสดงร ายละเอียดต าม รายง านการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประจ าปีการศึกษา 2565 ที่ประกอบด้วยสาระส าคัญ 7 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 บทสรุปส าหรับผู้บริหาร ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ส่วนที่ 3 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ส่วนที่ 4 ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ส่วนที่ 5 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ส่วนที่ 6 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามบริบทของสถานศึกษา ที่ก าหนดเพิ่มเติม (ถ้ามี) ส่วนที่ 7 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยในภาพรวมของรายงานการประเมินตนเองเล่มนี้ จะแสดงผลการประเมินคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาและประเด็นการประเมินของแต่ละด้าน จะได้ผลสัมฤทธิ์ที่ระบุระดับคุณภาพ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นฐานข้อมูลน าสู่การพัฒนาวิทยาลัยให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาต่อไป


ค สำรบัญ หน้ำ ค าน า ก ค าชี้แจง ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง ส่วนที่ 1 บทสรุปส าหรับผู้บริหาร 1 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 7 ส่วนที่ 3 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 55 ส่วนที่ 4 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 57 ส่วนที่ 5 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามเกณฑการประเมิน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา 75 ส่วนที่ 6 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามบริบทของสถานศึกษา ที่ก าหนดเพิ่มเติม (ถามี) 84 สวนที่ 7 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 85 ภำคผนวก ภาคผนวก ก รางวัลและผลงานสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 93 ภาคผนวก ข ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษา ของ วิทยาลัยเทคนิคเลย ปีการศึกษา 2565 125 ภาคผนวก ค ค าสั่ง วิทยาลัยเทคนิคเลยที่ 213/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ ด าเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 132 ภาคผนวก ง ค าสั่ง วิทยาลัยเทคนิคเลยที่ 73/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบความถูกต้องรายงานการประเมินตนเอง SAR/SSR ปีการศึกษา 2565 147


ง สำรบัญตำรำง หน้ำ ตารางที่ 5.1 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 1 ในแตละประเด็นการประเมิน 75 ตารางที่ 5.2 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 2 ในแตละประเด็นการประเมิน 78 ตารางที่ 5.3 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 3 ในแตละประเด็นการประเมิน 82 ตารางที่ 5.4 สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยภาพรวม 84 ตารางที่ 7.1 ประเด็นเพื่อการพัฒนาและแผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา 86


ส่วนที่ 1 บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาที่จัดท ารายงานการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา ประกอบด้วยการสรุปสาระส าคัญ ดังนี้ 1. กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ 1.1. ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยเทคนิคเลยได้จัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ ระดับประกาศนีย บัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มีผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2563 จ านวน 5 ด้าน 25 ข้อประเมิน 1. ด้ำนผู้เรียนและผู้ส ำเร็จกำรศึกษำ (50 เปอร์เซ็นต์) 1.1 การดูแลและแนะแนวผู้เรียน ผลการประเมิน 2 ระดับคุณภาพ ปานกลาง 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 1.3 ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ ผลการประเมิน 3 ระดับคุณภาพ ดี 1.4 ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ผลการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ ดีเลิศ 1.5 ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ผลการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ ดีเลิศ 1.6 ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 1.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 1.8 การมีงานท าและศึกษาต่อของผู้ส าเร็จการศึกษา ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2. ด้ำนหลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอน (10 เปอร์เซ็นต์) 2.1 กำรพัฒนำหลักสูตรฐำนสมรรถนะ 2.1.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2.1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงวิชาเดิม หรือ ก าหนดรายวิชาเพิ่มเติม ผลการประเมิน 1 ระดับคุณภาพ ก าลังพัฒนา 2.2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 2.2.2 การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญและน าไปใช้ใน การจัดการเรียนการสอน ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3. ด้ำนครูผู้สอนและผู้บริหำรสถำนศึกษำ (20 เปอร์เซ็นต์) 3.1 ครูผู้สอน 3.1.1 การจัดการเรียนการสอน ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม


2 3.1.2 การบริหารจัดการชั้นเรียน ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3.1.3 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3.2 ผู้บริหำรสถำนศึกษำ 3.2.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 3.2.2 การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 4. ด้ำนกำรมีส่วนร่วม (10 เปอร์เซ็นต์) 4.1 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 4.2 การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 4.3 การบริการชุมชนและจิตอาสา ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 5. ด้ำนปัจจัยพื้นฐำน (10 เปอร์เซ็นต์) 5.1 อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 5.2 ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 5.3 แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ ผลการประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 5.4 ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา ผลการ ประเมิน 5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 5.5 การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ผลการ ประเมิน 1 ระดับคุณภาพ ก าลังพัฒนา สรุปผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 จ านวน 5 ด้าน 25 ข้อประเมิน ยอดเยี่ยม จ านวน 19 ข้อ ดีเลิศ จ านวน 2 ข้อ ดี จ านวน 1 ข้อ ปานกลาง จ านวน 1 ข้อ ก าลังพัฒนา จ านวน 2 ข้อ 1.2. จุดเด่น 1.2.1 วิทยาลัยเทคนิคเลยได้จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ซึ่งได้มีการประชุมหัวหน้า แผนกวิชา หัวหน้างานต่าง ๆ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อน าเสนอแผนงาน/โครงการและครุภัณฑ์ ให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการประกันคุณภาพทั้ง สอศ. และ สมศ. โดยครอบคลุมการพัฒนาระยะเวลา 7 ปี (พ.ศ.2561 ถึง พ.ศ.2567) โดยค านึงถึงความสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ ชุมชน 1.2.2 สถานศึกษามีการมอบหมายหน้าที่ครูที่ปรึกษา พร้อมก าหนดปฏิทินการปฏิบัติงานอย่าง ชัดเจน


3 1.2.3 ครูที่ปรึกษา ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีความรับผิดชอบ เคร่งครัด 1.2.4 สถานศึกษามีเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อช่วยประสานการดูแลผู้เรียนทั้งที่บ้านพัก และ สถานศึกษา 1.2.5 สถานศึกษามีการน าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งาน เพื่อติดตาม ดูแลผู้เรียน 1.2.6 นักเรียน นักศึกษา ที่ส าเร็จการศึกษา ได้รับความรู้และประสบการณ์โดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์เป็นที่ยอมรับจากสถานประกอบการ และหน่วยงานต่าง ๆ 1.2.7 ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ทุกสาขาวิชา เป็นอย่างดี 1.2.8 เป็นศูนย์บ่มเพาะ ฯ ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา ผู้เรียนมีสมรรถนะ ในการเป็นผู้ประกอบการหรือประกอบวิชาชีพอิสระ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นอย่างดี 1.2.9 สถานศึกษามีกระบวนการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ในการเข้าร่วมประกวดแข่งขันทั้งในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ 1.3 จุดควรพัฒนำ 1.3.1 สถานศึกษาควรมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมโครงการเป็นผู้ประกอบการหรือประกอบ อาชีพอิสระ ซึ่งการกระจายโครงการผู้ประกอบการยังไม่ครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ 1.3.2 สถานศึกษาควรมีการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือและแนะแนวผู้เรียน ให้ส าเร็จการศึกษา ตามก าหนดและด าเนินการอย่างสม่ าเสมอ 1.3.3 สถานศึกษาควรมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชาหรือปรับปรุง รายวิชาเดิม หรือก าหนดรายวิชาเพิ่มเติม เนื่องจากมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ น้อยกว่าความ ต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งนี้ควรมีการจัดท าแผนงาน โครงการรองรับ เพื่อให้มีคุณภาพสูงขึ้น 1.3.4 สถานศึกษาควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน สร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ ให้ได้ผลงานที่เป็นเลิศ เพื่อเข้าร่วมประกวด ในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ 1.4 ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ 1.4.1 วิทยาลัยเทคนิคเลย ควรจะต้องพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามประเด็นที่มีระดับ คุณภาพต่ า ให้มีระดับคุณภาพที่สูงขึ้น 1.4.2 วิทยาลัยเทคนิคเลย ควรจะต้องมีการฝึกอบรมเพื่อสร้างองค์ความรู้เรื่องประกันคุณภาพทาง การศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ให้บุคลากรทุกภาคส่วนในองค์กรอย่างต่อเนื่อง 1.4.3 วิทยาลัยเทคนิคเลย จะต้องเร่งการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษาตาม มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ให้เข้มแข็งเพื่อรองรับการประเมินในระดับที่สูงขึ้น 2. กำรสร้ำงควำมเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 2.1 วิทยาลัยเทคนิคเลย ให้การบริการด้านจัดการเรียนการศึกษาสายอาชีพให้แก่ชุมชน สังคมและ ให้บริการแก่ส่วนราชการอื่น ๆ 2.2 วิทยาลัยเทคนิคเลยจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษา สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน สังคมและชุมชน 2.3 วิทยาลัยเทคนิคเลย ท าความร่วมมือข้อตกลง (MOU) ร่วมกับสถานประกอบการในจังหวัดและ ต่างจังหวัด เพื่อการจัดการศึกษาในระบบทวิภาคี


4 2.4 วิทยาลัยเทคนิคเลย จัดให้มีการประกันคุณภาพภายในและภายนอก เพื่อพัฒนาผู้เรียนที่ส าเร็จ การศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ที่ก าหนดไว้ 3. กำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำที่บรรลุเป้ำประสงค์ของหน่วยงำนต้นสังกัด สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษามีความรู้และทักษะ คุณธรรม จริยธรรม อันพึงประสงค์ ตามนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4. กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำที่เป็นแบบอย่ำงที่ดี (Best Practice) 4.1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ได้ระบุสาระส าคัญที่เกี่ยวข้องกับ สถานศึกษาไว้ว่า ให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษาในสถานศึกษาโดยก าหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและด าเนินการตาม แผนที่ก าหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา รวมทั้งติดตาม ผลการด าเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเลย มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาฐานการศึกษาของ สถานศึกษา การด าเนินงานของแต่ละมาตรฐาน และข้อประเด็นการประเมิน เพื่อเป็นแนวทางในการ ด าเนินการปรับปรุง เพื่อคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ผู้เรียนที่ส าเร็จการศึกษาในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) อย่างมีประสิทธิภาพ 4.2. วัตถุประสงค์ 4.2.1 เพื่อตอบสนองนโยบายการประกันคุณภาพตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2565 4.2.2 เพื่อให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 4.2.3 เพื่อก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 4.3. กรอบแนวคิด กำรควบคุมคุณภำพ • ประชุม • ก าหนดข้อประเมิน • แก้ไข • ประกาศใช้ • แผนพัฒนาการจัดการศึกษา • แผนปฏิบัติการประจ าปี กำรตรวจสอบคุณภำพ • -ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษา ของวิทยาลัยเทคนิคเลย ปีการศึกษา 2565 • - แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา • - แต่งตั้งคณะกรรมการการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา • แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ความถูกต้องรายงานการประเมิน ตนเอง กำรประเมินคุณภำพ • ประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษา • วิเคราะห์ สังเคราะห์ผล การด าเนินงานตามระบบ ประกันคุณภาพภายใน • สรุปรายงาน


5 4.4. วิธีกำรด ำเนินงำน 4.4.1 ประชุม วางแผน มอบหมายหน้าที่ 4.4.2 แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน 4.4.3 ติดตามรวบรวมผล 4.4.4 วิเคราะห์และประเมินผล 4.4.5 รายงานผล 4.5 ผลกำรด ำเนินกำร วิทยาลัยเทคนิคเลย ได้ประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ดังนี้ มำตรฐำนที่ 1 คุณลักษณะของสถำนศึกษำที่พึงประสงค์ ร้อยละ 66.36 ประเด็นที่ 1.1 ด้ำนควำมรู้ ร้อยละ 100 1.6 ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 1.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (V-NET) ประเด็นที่ 1.2 ด้ำนทักษะและกำรประยุกต์ใช้ ร้อยละ 68 1.3 ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ 1.5 ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ประเด็นที่ 1.3 ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ร้อยละ 30.53 1.1 การดูแลและแนะแนวผู้เรียน 1.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1.8 การมีงานท าและศึกษาต่อของผู้ส าเร็จการศึกษา มำตรฐำนที่ 2 กำรจัดกำรอำชีวศึกษำ ร้อยละ 90.24 ประเด็นที่ 2.1 ด้ำนหลักสูตรอำชีวศึกษำ ร้อยละ 52 2.1.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ 2.1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือ ก าหนดรายวิชาเพิ่มเติม ประเด็นที่ 2.2 ด้ำนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนอำชีวศึกษำ ร้อยละ 90.59 2.2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ 2.2.2 การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และน าไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน 3.1.1 การจัดการเรียนการสอน 3.1.2 การบริหารจัดการชั้นเรียน 3.1.3 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 5.5 การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ประเด็นที่ 2.3 ด้ำนกำรบริหำรจัดกำร ร้อยละ 100 3.2.2 การบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา 5.1 อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม 5.2 ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน


6 5.3 แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ 5.4 ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา ประเด็นที่ 2.4 ด้ำนกำรน ำนโยบำยสู่กำรปฏิบัติ ร้อยละ 100 4.1 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มำตรฐำนที่ 3 กำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ ร้อยละ 95 ประเด็นที่ 3.1 ด้ำนควำมร่วมมือในกำรสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ ร้อยละ 100 3.2.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม 4.2 การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน 4.3 การบริการชุมชนและจิตอาสา ประเด็นที่ 3.2 ด้ำนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งำนสร้ำงสรรค์ งำนวิจัย ร้อยละ 80 1.4 ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย 4.6 ประโยชน์ที่ได้รับ 4.6.1 วิทยาลัยเทคนิคเลย ได้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามนโยบาย การประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 4.6.2 วิทยาลัยเทคนิคเลย น าผลการประเมินที่ได้ระดับคุณภาพต่ ากว่าเกณฑ์จัดท าแผนพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามแผนนโยบายต่อไป


ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ประกอบด้วยสาระที่ส าคัญ ดังนี้ 2.1 ข้อมูลพื้นเกี่ยวกับสถานศึกษา ที่อยู่ วิทยาลัยเทคนิคเลย เลขที่ 272 ถนน เจริญรัฐ ต าบล กุดป่อง อ าเภอ เมือง จังหวัดเลย รหัสไปรษณีย์ 42000 โทรศัพท์042-811591 โทรสาร 042-812568 E-mail [email protected] Website www.loeitech.ac.th สีประจ าวิทยาลัย สีเขียว – ขาว สีเขียว มาจาก สีเหลืองกับสีน้ าเงินผสมกัน สีเหลือง หมายถึง ความสว่าง ปัญญา สีน้ าเงิน หมายถึง ความสูงศักดิ์ สีขาว หมายถึง ความซื่อสัตย์ บริสุทธิ์ ดังนั้นสีเขียว – ขาว จึงหมายความว่า“สถาบันสร้างสมปัญญา เกียรติศักดิ์ ความซื่อสัตย์แห่งตน และวิชาชีพ” ประวัติสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้ตั้ง " โรงเรียนช่างไม้เลย" ขึ้นและได้เปิดท าการสอน เมื่อ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2481 ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ าเลย (หน้าศาลาเทศบาลเมืองเลย) ต่อมาถูกน้ าท่วมกัดเซาะ พังไปหมดจึงได้ย้ายมาตั้งที่ใหม่ คือ บริเวณบ้านติ้ว ( ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งวิทยาลัยเทคนิคเลย ในปัจจุบันนี้ ) เมื่อเริ่มเปิดสอนครั้งแรกนั้น มีครู 2 คน และ มีนักเรียน เพียง 16 คน โดยมีนาย เจริญ หัตถกรรม เป็นครูใหญ่ ซึ่งได้เปิดรับนักเรียนที่จบชั้นประถม 4 เข้าเรียน มีหลักสูตร 3 ปี ซึ่งเรียกว่า " อาชีวศึกษาตอนต้น " ท าการสอนวิชาช่างไม้ เมื่อจบการศึกษาเทียบเท่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2496 ทางกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ขยายหลักสูตรการสอนเพิ่มขึ้นอีก 3 ปีเรียกว่า "อาชีวศึกษา ตอนปลาย" โดยรับนักศึกษาที่เรียนจบ เมื่อจบเทียบเท่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พ.ศ. 2500 กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้สั่งการให้ขยายหลักสูตรการสอน เพิ่มขึ้น อีก 3 ปี เป็น " ประโยคอาชีวศึกษาชั้นสูง " รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และจากผู้ส าเร็จอาชีวศึกษา ตอนปลายท าการสอนวิชาช่างไม้และก่อสร้าง ส่วนอาชีวศึกษาตอนปลายให้ตัดออก ต่อมาเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2502 กรมอาชีวศึกษา ได้สั่งการให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนจากเดิม คือ " โรงเรียนช่างไม้เลย" เป็น "โรงเรียนการช่างเลย" และได้ท าการเปิดป้ายชื่อโรงเรียนอย่างเป็นทางการ เมื่อ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2502 จึงถือได้ว่าวันนี้เป็นวันสถาปนาโรงเรียน ดั้งนั้น พอถึง วันที่ 15 กันยายน ของทุก ๆ ปี จะมีการจัดงานวันคล้าย วันสถาปนาขึ้น พ.ศ. 2516 โรงเรียนการช่างเลยได้งบประมาณในการปรับปรุงพัฒนาโรงเรียนเพิ่มเติมตามล าดับ และ อาคารเก่า ๆ ได้ถูกรื้อถอนออกไปอาคารเก่า ๆ ได้ถูกรื้อถอนออกไป


8 พ.ศ. 2517 ได้งบประมาณ เพื่อจัดซื้อที่ดินเพิ่มเติม จ านวน 19 ไร่ 2 งาน รวมถึงปัจจุบันมีพื้นที่ 25 ไร่ 2 งาน และได้เปิดสอนแผนกวิชาต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอีกตามล าดับดั้งนี้ พ.ศ. 2515 เปิดสอนแผนกวิชาช่าง ยนต์ ( ระดับชั้น ปวช. ) พ.ศ. 2518 เปิดสอนแผนกวิชาช่าง เชื่อมโลหะแผ่น ( ระดับชั้น ปวช. ) และได้ท าการเปิดสอน รอบเช้า - รอบบ่าย โดยเปิดสอนตั้งแต่เวลา 07.30 - 20.00 น. ทุกวัน เว้นวันอาทิตย์และวันหยุดราชการ พ.ศ. 2521 เปิดสอนแผนกวิชาช่าง ไฟฟ้า ( ระดับชั้น ปวช. ) พ.ศ. 2522 วันที่ 1 มกราคม ได้เปลี่ยนชื่อจาก "โรงเรียนการช่างเลย " เป็น " โรงเรียนเทคนิคเลย " พ.ศ. 2522 เปิดสอนแผนกวิชาช่าง อิเล็กทรอนิกส์ ( ระดับชั้น ปวช. ) พ.ศ. 2524 ได้ยกฐานะจาก " โรงเรียนเทคนิคเลย " มาเป็น " วิทยาลัยเทคนิคเลย " พ.ศ. 2525 เปิดสอนแผนกวิชา เทคนิควิศวกรรมโยธา ( ระดับชั้น ปวท. ) พ.ศ. 2529 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาช่างไฟฟ้า พ.ศ. 2530 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2531 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาช่างยนต์ พ.ศ. 2536 เปิดสอนระดับ ปวช. แผนกวิชาช่างกลโรงงาน พ.ศ. 2538 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาช่างก่อสร้าง แผนกวิชาช่างเทคนิคโลหะ พ.ศ. 2539 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาช่างเทคนิคการผลิต พ.ศ. 2549 เปิดสอนสาขาสถาปัตยกรรม แผนกวิชาช่างก่อสร้าง (ระดับ ปวช.) พ.ศ. 2550 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2551 แต่งตั้งแผนกวิชาสถาปัตยกรรม (ยกเลิกในเวลาต่อมา) พ.ศ. 2552 แต่งตั้งแผนกวิชาโยธา (ยกเลิกในเวลาต่อมา) พ.ศ. 2552 ก่อตั้งแผนกวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม (ยกเลิกในเวลาต่อมา) พ.ศ. 2553 ก่อตั้งแผนกวิชาพาณิชยการ (ยกเลิกในเวลาต่อมา) พ.ศ. 2555 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาช่างยนต์ (ระบบทวิภาคี) พ.ศ. 2556 เปิดสอนระดับ ปวช. แผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ) พ.ศ. 2557 เปิดสอนระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาเทคโนโลยีการก่อสร้าง (พ.ศ. 2564 เปลี่ยนชื่อสาขาเป็น สาขาเทคโนโลยีโยธา) พ.ศ. 2558 เปิดสอนระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า พ.ศ. 2559 เปิดสอนระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาเทคโนโลยียานยนต์ (พ.ศ. 2564 เปลี่ยนชื่อสาขาเป็น สาขาเทคโนโลยีเครื่องกล) พ.ศ. 2561 เปิดสอนระดับ ปวส. สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2562 เปิดสอนระดับ ปวช. อิเล็กทรอนิกส์ (สาขาเมคคาทอนิกส์) / เทคโนโลยีสารสนเทศ (สาขาวิชา คอมพิวเตอร์แอนิเมชั่นและเกมส์) พ.ศ. 2563 ก่อตั้งแผนกวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2563 เปิดสอนระดับ ปวส. แผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (สาขางานนักพัฒนาซอฟแวร์คอมพิวเตอร์) พ.ศ. 2564 เปิดสอนระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) สาขาเทคโนโลยีการผลิต พ.ศ. 2564 เปิดสอนระดับ ปวส. สาขาวิชาเทคนิคซ่อมตัวถังและสีรถยนต์ พ.ศ. 2564 เปิดสอน ระดับ ปวส.สาขาวิชาสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2565 แยกแผนกสถาปัตยกรรม ออกจากแผนกก่อสร้าง โยธา


9 วัตถุประสงค์ของวิทยาลัยเทคนิคเลย วัตถุประสงค์ของวิทยาลัย คือ การจัดการศึกษา เพื่อมุ่งให้ผู้ส าเร็จการศึกษา สามารถออกไป ประกอบอาชีพสามารถสร้างงานเพื่อประกอบอาชีพอิสระได้และมีพื้นฐานความรู้เพียงพอส าหรับการศึกษา หาความรู้เพิ่มเติม พัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ประกอบด้วยคุณธรรม เพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญาของ ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา “ทักษะเยี่ยม เปี่ยมคุณธรรม ล้ าเลิศวิชา ใช้เวลาให้เกิดคุณ” เพื่อให้นักศึกษาที่ส าเร็จออกไปมีงานท าตรงตามสายงานมีรายได้เพียงพอต่อการด ารงชีพอันเป็นเป้าหมาย สูงสุดของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การจัดการศึกษา ปัจจุบันวิทยาลัยเทคนิคเลย เปิดท าการสอนใน 3 ระดับ คือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 2 ประเภทวิชา คือ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม และประเภท วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ ระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ท าการเปิดสอนในประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม รวม 10 สาขาวิชา และประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาช่างยนต์ (สาขางานยานยนต์) 2. สาขาวิชาช่างกลโรงงาน (สาขางานเครื่องมือกล) 3. สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ (สาขางานผลิตภัณฑ์) 4. สาขาวิชาช่างไฟฟ้าก าลัง (สาขางานไฟฟ้าก าลัง) 5. สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ (สาขางานอิเล็กทรอนิกส์) 6. สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ (สาขางานเมคคาทรอนิกส์) 7. สาขาวิชาช่างก่อสร้าง (สาขางานก่อสร้าง) 8. สาขาวิชาโยธา (สาขางานโยธา) 9. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (สาขางานสถาปัตยกรรม) 10. สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ (สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์) 11. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (สาขางานซอฟต์แวร์ระบบสมองกลฝังตัวและไอโอที) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ท าการเปิดสอนใน ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม รวม 10 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาเครื่องกล (สาขางานเทคนิคยานยนต์) และ (สาขางานเทคนิคซ่อมตัวถังและสีรถยนต์) 2. สาขาวิชาเทคนิคการผลิต (สาขางานเครื่องมือกล) 3. สาขาวิชาเทคนิคโลหะ (สาขางานเทคโนโลยีงานเชื่อมโครงสร้างโลหะ) 4. สาขาวิชาไฟฟ้า (สาขางานไฟฟ้าควบคุม) และ (สาขางานไฟฟ้าก าลัง) 5. สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (สาขางานคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์) 6. สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ (สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม) 7. สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ (สาขางานเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์) 8. สาขาวิชาการก่อสร้าง (สาขางานก่อสร้าง) 9. สาขาวิชาโยธา (สาขางานโยธา) 10. สาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม (สาขางานเทคนิคสถาปัตยกรรม)


10 ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวม 1 สาขาวิชา คือ 1. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (สาขางานนักพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์) ระดับปริญญาตรีหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) ท าการเปิดสอน จ านวน 4 สาขาวิชา คือ 1. สาขาเทคโนโลยีการก่อสร้าง (ปีการศึกษา 2564 เปลี่ยนชื่อเป็นสาขาเทคโนโลยีโยธา) 2. สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า 3. ปีการศึกษา 2559 เปิดสาขาเทคโนโลยียานยนต์ (ปีการศึกษา 2564 เปลี่ยนชื่อเป็นสาขาเทคโนโลยี เครื่องกล) 4. ปีการศึกษา 2564 เปิดสาขาเทคโนโลยีการผลิต สภาพชุมชน วิทยาลัยเทคนิคเลย ตั้งอยู่พื้นที่ต าบลกุดป่อง เขตเทศบาลเมืองเลย มีสภาพเป็นชุมชนเมืองมี ชุมชนรายรอบ 49 ชุมชน ได้แก่ 1) ชุมชนหนองผักก้าม 1 คุ้มโรงเรียนมหาไถ่ 2) ชุมชนหนองผักก้าม 1 คุ้มโรงเรียนเทศบาล 5 3) ชุมชนหนองผักก้าม 1 คุ้มซอยมะขามหวาน 4) ชุมชนหนองผักก้าม 1 คุ้มตลาดหนองผักก้าม 5) ชุมชนหนองผักก้าม 2 คุ้มวัดศรีวิชัยวนาราม 6) ชุมชนหนองผักก้าม 2 คุ้มโรงเรียนอนุบาลชื่นจิต 7) ชุมชนหนองผักก้าม 2 คุ้มแขวงการทาง 8) ชุมชนนาหนอง - ท่าแพ 1 คุ้มมูลนิธิสว่างคีรีธรรม 9) ชุมชนนาหนอง - ท่าแพ 1 คุ้มบ่อนไก่เก่า 10 ชุมชนนาหนอง - ท่าแพ 2 คุ้มกองร้อย นปพ. 11) ชุมชนนาหนอง - ท่าแพ 2 คุ้มชลประทาน 12) ชุมชนนาหนอง - ท่าแพ 2 คุ้มเลยพิทย์ - ท้ายเหมือง 13) ชุมชนนาเขิน 1 คุ้มสมาคมพ่อค้า 14) ชุมชนนาเขิน 1 คุ้มไฟฟ้า 15) ชุมชนนาเขิน 1 คุ้มป่าไม้ 16) ชุมชนนาเขิน 2 คุ้มซอยชูวงษ์ 17) ชุมชนนาเขิน 2 คุ้มศาลากลาง 18) ชุมชนนาเขิน 2 คุ้มสะพานนาเขิน 19) ชุมชนนาเขิน 2 คุ้มประปา 20) ชุมชนติ้วตลาดเย็น คุ้มจวนผู้ว่าราชการจังหวัดเลย 21) ชุมชนติ้วตลาดเย็น คุ้ม บขส. 22) ชุมชนติ้วเทคนิค คุ้มซอยอินค าดี 23) ชุมชนติ้วเทคนิค คุ้มศาลเจ้าบ้าน 24) ชุมชนติ้วโรงเรียนเทศบาล 2 คุ้มโรงซ่อม 25) ชุมชนติ้วโรงเรียนเทศบาล 2 คุ้มไปรษณีย์


11 26) ชุมชนตลาดเมืองใหม่ คุ้มหนองชุมแสง 27) ชุมชนตลาดเมืองใหม่ คุ้มตลาดเช้า 28) ชุมชนตลาดเมืองใหม่ คุ้มอาชีวศึกษา 29) ชุมชนตลาดเมืองใหม่ คุ้มสถานีต ารวจ 30) ชุมชนแฮ่ 1 คุ้มศาลเจ้าพ่อเมืองแสน 31) ชุมชนแฮ่ 2 คุ้มน้ าสร้างหลวง 32) ชุมชนแฮ่ 2 คุ้มสามแยกทองค า 33) ชุมชนแฮ่ 3 คุ้มโรงเรียนอนุบาลเลย 34) ชุมชนแฮ่ 3 คุ้มตลาดไทยเลย 35) ชุมชนแฮ่ 3 คุ้มวัดศรีภูมิ 36) ชุมชนใหม่ 1 คุ้มริมน้ าเลย 37) ชุมชนใหม่ 2 คุ้มวัดเลยหลง 38) ชุมชนใหม่ 2 คุ้มแยกนาด้วง 39) ชุมชนใหม่ 3 คุ้มโรงเรียนแสงตะวันพัฒนา 40) ชุมชนใหม่ 3 คุ้มโรงเรียนศรีสะอาด 41) ชุมชนใหม่ 3 คุ้มทุ่งนาเมี่ยง 42) ชุมชนฟากเลย 1 คุ้มวัดศรีสว่าง 43) ชุมชนฟากเลย 1 คุ้มบ้านน้อยเริงใหญ่ 44) ชุมชนฟากเลย 2 คุ้มวัดศรีทีปาราม 45) ชุมชนฟากเลย 2 คุ้มโรงเรียนเทศบาล 3 46) ชุมชนภูบ่อบิด คุ้มวัดประชานิมิตร 47) ชุมชนภูบ่อบิด คุ้มโรงเรียนเทศบาล 4 48) ชุมชนภูบ่อบิด คุ้มวนอุทยาน 49) ชุมชนกกม่วงชี สภาพเศรษฐกิจ ประชากรในเขตเทศบาลประกอบอาชีพด้านพาณิชยกรรม รับราชการ รับจ้าง และด้าน เกษตรกรรม ที่ตั้งของชุมชนกระจายตัวตามอาชีพหลักของชุมชน ซึ่งชุมชนที่ประกอบอาชีพด้านการพาณิชย์ จะตั้งตามแนวถนนร่วมใจ ถนนนกแก้ว ถนนเจริญรัฐ ถนนสถลเชียงคาน อาชีพด้านการเกษตรกรรม จะตั้ง รอบนอก เช่น ชุมชนกกม่วงชี ชุนชนบ้านภูบ่อบิด ชุมชนนาเขิน ซึ่งจะมีความหนาแน่นของประชากรน้อย สภาพสังคม สภ าพสังคม มีโครงส ร้ างแบบป ร ะเพณีน า คนพื้นเมืองส่ วนใหญ่ต่ างจ ากคนภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือทั่ว ๆ ไปซึ่งเป็นคนไทยเผ่าพวน แต่ประชากรในจังหวัดเลย เป็นคนไทยเผ่าลื้อจากล้าน ช้างและหลวงพระบาง นิสัยใจคอเหมือนกับชนเชื้อชาติโบราณ ซึ่งไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงไปจากดั้งเดิม มีส าเนียงพูดที่แปลกและนิ่มนวล พูดสุภาพและไม่ค่อยพูดเสียงดัง กิริยามารยาทดีงาม อารมณ์เยือกเย็นไม่ วู่วาม มีนิสัยรักความสงบเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รักถิ่นที่อยู่ไม่ค่อยอพยพไปอยู่ที่อื่น ส่วนทางด้านวัฒนธรรม ประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา คือการท าบุญตามประเพณีทั้งสิบสองเดือนของแต่ละปี ภาษาแตกต่าง จากภาษาพูดของคนในจังหวัดภาคอีสานอื่น ๆ เพราะกลุ่มคนที่อาศัยปัจจุบันนี้มีประวัติการอพยพ เคลื่อนย้ายจากเมืองหลวงพระบาง


12 2.2 แผนภูมิการบริหารของสถานศึกษา


13 2.3 ข้อมูลของสถานศึกษา ข้อมูลผู้เรียน ระดับชั้น ปกติ ทวิภาคี ทวิศึกษา รวม ปวช.1 664 0 0 664 ปวช.2 679 0 0 679 ปวช.3 793 0 55 848 รวม ปวช. 2,136 0 55 2,191 ระดับชั้น ปกติ ทวิภาคี รวม ปวส.1 647 105 752 ปวส.2 821 131 952 รวม ปวส. 1,468 236 1,704 ข้อมูลผู้ส าเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2564 ระดับชั้น แรกเข้า ส าเร็จการศึกษา คิดเป็นร้อยละ ปวช.3 894 380 42.51 ปวส.2 702 383 54.56 รวม 1,596 763 47.81 ข้อมูลผู้ส าเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น แรกเข้า ส าเร็จการศึกษา คิดเป็นร้อยละ ปวช.3 829 443 53.44 ปวส.2 771 407 52.79 รวม 1,600 850 53.13


14 ข้อมูลบุคลากร ประเภท ทั้งหมด (คน) มีใบประกอบวิชาชีพ (คน) สอนตรงสาขา (คน) ผู้บริหาร/ ผู้รับใบอนุญาตผู้จัดการ/ ผู้อ านวยการ/ รองผู้อ านวยการ/ ผู้ช่วยผู้อ านวยการ 5 5 - ข้าราชการครู/ ครูเอกชนที่ได้รับการบรรจุ/ ผู้ที่ ได้รับการรับรอง 82 82 82 ข้าราชการพลเรือน 2 - - พนักงานราชการครู 18 18 18 พนักงานราชการ(อื่น) 0 - - ครูพิเศษสอน 50 44 50 เจ้าหน้าที่ 33 - - บุคลากรอื่นๆ (นักการภารโรง/ ยามรักษาการ/ พนักงานขับรถ/ ฯ) 13 - - รวม ครู 150 144 150 รวมทั้งสิ้น 203 144 150 ข้อมูลหลักสูตรการเรียนการสอน ประเภทวิชา ระดับ ปวช. (สาขาวิชา) ระดับ ปวส. (สาขาวิชา) รวม(สาขาวิชา) อุตสาหกรรม 10 9 19 พาณิชยกรรม 0 0 0 ศิลปกรรม 0 0 0 คหกรรม 0 0 0 เกษตรกรรม 0 0 0 ประมง 0 0 0 อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 0 0 0 อุตสาหกรรมสิ่งทอ 0 0 0 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 1 2 อุตสาหกรรมบันเทิงและดนตรี 0 0 0 พาณิชยนาวี 0 0 0 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตรอุตสาหกรรม 0 0 0 รวมทั้งสิ้น 11 10 21


15 ข้อมูลอาคารสถานที่ ประเภทอาคาร จ านวน(หลัง) อาคารเรียน 9 อาคารปฏิบัติการ 7 อาคารวิทยบริการ 1 อาคารอเนกประสงค์ 2 อาคารอื่น ๆ 6 รวมทั้งสิ้น 25 ข้อมูลงบประมาณ ประเภทงบประมาณ จ านวน(บาท) งบบุคลากร 4,568,370.00 งบด าเนินงาน 7,250,600.00 งบลงทุน 3,378,900.00 งบเงินอุดหนุน 22,566,687.00 งบรายจ่ายอื่น 3,174,800.00 รวมทั้งสิ้น 40,939,357.00 2.4 ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา ปรัชญา "วิชาดี ฝีมือเยี่ยม เปี่ยมคุณธรรม เป็นผู้น าทางอาชีพ" อัตลักษณ์ "ทักษะดี มีจิตอาสา" เอกลักษณ์ "องค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านวิชาชีพ" 2.5 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา วิสัยทัศน์ "พัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานคุณธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" พันธกิจ 1. ผลิตและพัฒนาก าลังคนและจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. ส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพเฉพาะทาง การบริการ ตามความต้องการของชุมชนท้องถิ่น 3. ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรม หุ่นยนต์ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ


16 4. พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพให้มีคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา และสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ 6. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนและประชาชนได้รับการศึกษาและพัฒนาทักษะวิชาชีพตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพได้ มาตรฐาน 2. ผู้เรียนได้รับการศึกษาวิชาชีพที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ 3. ผลิตและพัฒนาก าลังคนด้านอาชีวศึกษาตอบสนองความต้องในการพัฒนาประเทศ 4. ผู้เรียนและประชาชนในจังหวัด ได้รับการศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ 5. เพื่อให้การบริหารจัดการอาชีวศึกษามีประสิทธิภาพสูงขึ้น 6. ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้รับการเผยแพร่หรือน าไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น 7. ผู้เรียนและผู้ส าเร็จการศึกษาวิชาชีพ มีทักษะวิชาชีพตามมาตรฐานช่างฝีมือและช่างเทคนิคเป็น ที่ยอมรับของตลาดแรงงานและประกอบอาชีพอิสระได้ 8. ผู้เรียนมีทักษะด้านวิชาชีพ เมื่อส าเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชีพและด ารงชีวิตได้ อย่างมีความสุข 9. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่ดี 5 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้าน บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และการท านุ บ ารุงศิลปวัฒนธรรม และ ประเพณี 10. ให้บริการวิชาชีพและส่งเสริมความรู้ พัฒนาชุมชมและท้องถิ่น 11. ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้รับการเผยแพร่แล้ว น าไปใช้ประโยชน์ 12. การบริหารของผู้บริหารสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ โดยมีส่วนร่วมของประชาคมอาชีวศึกษา ด้วยความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งผลิตและพัฒนาก าลังคนที่มีคุณภาพตรงตามวิชาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม เพื่อการประกวดแข่งขันในทุกระดับ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา ให้มีคุณธรรม จริยธรรม อ่อนน้อมถ่อมตนและมีจิตสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการบริการวิชาชีพสู่ชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษา มีคุณภาพและสมรรถนะตาม มาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์ 1. พัฒนาความรู้ และทักษะผู้ส าเร็จการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพและหลักสูตร 2. ส่งเสริมกิจกรรมด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม ลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ 3. ส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีที่จ าเป็นในการศึกษาค้นคว้า และปฏิบัติงานวิชาชีพ 4. บริการวิชาชีพที่เหมาะสมกับความต้องการของชุมชนและสังคม


17 5. จัดสรรงบประมาณเพื่อการบริการวิชาชีพที่สอดคล้องกับแผนการบริการวิชาชีพอย่างเป็นระบบ 6. ส่งเสริมและพัฒนาการวิจัย และนวัตกรรม 7. จัดสรรงบประมาณในการสร้างสรรค์งานวิจัย 8. ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวกับการสร้าง และพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม 9. ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 10. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีในวิชาชีพ 12. พัฒนาบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีจิตสาธารณะ เพื่ออยู่ในสังคมได้อย่าง เหมาะสม 13. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาภายในสถานศึกษาในงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง 14. ส่งเสริมครู และบุคลากรทางการศึกษาให้สร้างสรรค์ผลงาน พัฒนาการศึกษา และสามารถ ยกระดับให้สูงขึ้น


18 รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์และระบบสมองกลฝัง ตัว ถังปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนอัตโนมัติ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพ รถเข็นฉีดยา รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ระดับ ปวช. ประเภททีม รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา รางวัลและผลงานของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับ ปวช ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับ ปวส รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


19 รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2564 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายพิชญะ พรมลา นายประจิตร์ เลขตะระโก นางบังอร เลขตะระโก นายศรัณยู ศรีทอง สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์และระบบสมองกลฝังตัว ถุง ปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนอัตโนมัติ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษดา ณัฐธนสกุล นายอนุสรณ์ เรียนทิพย์ นายวีรศักดิ์ ตาทุม นายสุวัฒน์ พรอินทร์ นางสิริวรรณ กริอุณะ สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพรถเข็นฉีดยา ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสิริยากร ปัญญาค า ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอรรถสิทธิ์ ทาขุลี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุเชื่อม ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพิชญะ พรมลา ทักษะการเขียนโปรแกรม รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกิตติศักดิ์ วีระคุณ ทักษะงานมาตรวิทยามิติ รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอนุสรณ์ เรียนทิพย์ ทักษะงานวัดละเอียด รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวนงลักษณ์ พรหมราช ทักษะงานท าหุ่นจ าลอง รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวนงลักษณ์ พรหมราช ทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรม รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสิริยากร ปัญญาค า ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกาญจนา อาจปาสา ทักษะงานท าหุ่นจ าลอง ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพิชญะ พรมลา ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอรรถสิทธิ์ ทาขุลี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบ รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอนุสรณ์ เรียนทิพย์ ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


20 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายกิตติศักดิ์ วีระคุณ ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายคธายุทธ เหล่าสะพาน ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ทีม ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายตุลธร เลขตะระโก ทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรม ทีม ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกัญญาพร ตะนาวศรี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพงศ์ มงคล ดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวพิณ รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวศิริจรรยา คลังกลาง ทักษะงานกลึงชิ้นงาน ระดับ ปวช. รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพงศ์ สาระพันธ์ ทักษะการออกแบบและเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวส. รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางปานจันทร์ ปัญญาสิม การประกวดพูดสาธิตเป็นภาษาอังกฤษ รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยสากลชาย รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงสากลหญิง รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายนรังสรรค์ ศรีน้อย นางอัญชลีพร สารวงษ์ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสิทธิชัย ครุนันท์ การประกวดรักการอ่านภาษาไทย รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางวรรณิดา ผิลาออน การประกวดสุนทรพจน์ภาษาไทย รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวเมตตา อาจมุณี การประกวดเล่านิทานพื้นบ้าน รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


21 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นางพัฒนา อินทะยศ การประกวดมารยาทไทย รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสัญญา สีดารมย์ การประกวดพูดในที่สาธารณะเป็นภาษาอังกฤษ รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวรุ่งทิพย์พร เสน่หา การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) รางวัล อื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวนงลักษณ์ พรหมราช ทักษะงานปูน (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกาญจนา อาจปาสา ทักษะหุ่นจ าลอง (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวอนัญญา ปานนูน ทักษะการส ารวจเพื่อการก่อสร้าง (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายประสิทธิพงษ์ ศรีพล ทักษะงานคอนกรีต (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกษิรา มหาศาลภิญโญ ทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรม (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอานันท์ วงษ์ศรีวอ ืัทักษะงานไม้ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวพันธกานต์ นันทะผา นางสาวปรางทิพย์ บุญประเสริฐ ทักษะประมาณราคางานก่อสร้าง (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพิชญะ พรมลา ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสุรชัย จันทนา ทักษะการเขียนโปรแกรม PLC (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายแคล้ว ทองแย้ม ทักษะการออกแบบระบบไฟฟ้าและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายขวัญชัย เนตรแสงสี ทักษะการติดตั้งและควบคุมไฟฟ้า (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายนพนันท์ พรมสวัสดิ์ ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


22 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายยุทธพงษ์ เพชรเสถียร นางสาวสิริยากร ปัญญาค า ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษณะ ทองยศ นายปิยะ พิมคีรี ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอรรสิทธิ์ ทาขุลี ทักษะงานตรวจสอบและวัสดุงานเชื่อม PT (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกัญญาพร ตะนาวศรี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม MT,VT (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอนุสรณ์ เรียนทิพย์ ทักษะงานวัดละเอียด (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวศิริจรรยา คลังกลาง ทักษะงานกลึงชิ้นงาน (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสุวิทย์ หอมพรมมา ทักษะการออกแบบและเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษฎา ณัฐธนสกุล ทักษะออกแบบผลิตด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกิตติศักดิ์ วีระคุณ ทักษะมาตรวิทยามิติ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพงศ์ สาระพันธ์ ทักษะการออกแบบและเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางเพชรรัตน์ วงษ์มีมา ทักษะงานฝึกฝีมือ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวภัทรลดา ศรีเชียงสา นายวรฤทธิ์ ค าแก้ว ทักษะออกแบบพัฒนาโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอนันต์ สุวรรณชาติ ทักษะไมโครคอนโทรเลอร์ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเอกลักษณ์ แก้วศิริ ทักษะออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์(ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


23 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายประสิทธ์ อินทะยศ นายจิตภาณุ นาคเสน ทักษะประกอบและตรวจสอบซ่อมเครื่องขยายเสียง(ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเสกสรร จ าปาทอง นายกัมปนาท ศรัทธาสุข นายฉลองณรงค์ เดชบุรมย์ ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายรณภูมิ มัฐผา นางสาวสุปรียา ประไพพันธ์ ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์(ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวศิลป์สุภา ศรีสุข ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกรกต ศรีสันต์ ทักษะการจัดการระบบเครือข่าย(ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายวันชัย บุตรดา ทักษะงานจักรยานยนต์ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายประพันธ์ยะค าป้อ ทักษะงานปรับอากาศ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายจารุกิตต์ เรืองเลิศฤทธิ์ ทักษะงานยานยนต์แก๊สโซลีน (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเจริญ ลีตน ทักษะงานยานยนต์ดีเซล (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายบุญมี จันปัญญา ทักษะงานตัวถังและสี ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสัญญา สีดารมย์ การประกวดพูดในที่สาธารณะเป็นภาษาอังกฤษ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสิทธิชัย ครุนันท์ การประกวดรักการอ่านภาษาไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางปานจันทร์ ปัญญาสิม การประกวดพูดสาธิตเป็นภาษาอังกฤษ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางวรรณิดา ผิลาออน การประกวดสุนทรพจน์ภาษาไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


24 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นางสาวเมตตา อาจมุณี การประกวดเล่านิทานพื้นบ้าน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางพัฒนา อินทะยศ การประกวดมารยาทไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวรุ่งทิพย์พร เสน่หา การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายนรังสรรค์ ศรีน้อย การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่งชาย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพงศกร พงค์ค า การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่งหญิง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยสากลชาย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพงศกร พงค์ค า การประกวดร้องเพลงสากลหญิง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


25 รางวัลและผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2565 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายประจิตร์เลขตะระโก ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบังอร เลขตะระโก ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสุวนันท์กอศรีรมย์ ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเสกสรร จันทะนนตรี ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายศรัณยูศรีทอง ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสมยศ ประถานัง รถดูดฝุ่นลดมลภาวะ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางพัชรินทร์ประถานัง รถดูดฝุ่นลดมลภาวะ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวศิลป์สุภา ศรีสุข ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางจรัสศรีแก้วอาสา ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอาณัติศรีบุรินทร์ ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษดา ณัฐธนสกุล ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาววิลัยวรรณ ตระกูลวงศ์ ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอาณัติศรีบุรินทร์ ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสมยศ ประถานัง รถดูดฝุ่นลดมูลภาวะ รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพล โชคเจริญ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายปิยะ พิมคีรี ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


26 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายกฤษณะ ทองยศ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกรรัก พร้อมจะบก ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอนุสรณ์เรียนทิพย์ ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกาญจนา อาจปาสา ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายคนธ์พงษ์ถิ่นมะนาวจิรกุล ทักษะการควบคุมหุ่นยนต์เชื่อมอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยี CNT ระดับ ปวส. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอนุสรณ์เรียนทิพย์ ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกิตติศักดิ์วีระคุณ ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกาญจนา อาจปาสา ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกรรัก พร้อมจะบก ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายปิยะ พิมคีรี ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษณะ ทองยศ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพล โชคเจริญ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง(ชาย) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยสากล(ชาย) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยสากล (หญิง) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงสากล (หญิง) รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


27 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายศราวุธ ไชยกันยา ทักษะงานเครื่องยนต์เล็กดีเซล เครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ว่าที่ ร.ต.กรวัฒน์ราชพัฒน์ ทักษะงานตัวถังและสีรถยนต์ ระดับ ปวช. และปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายจารุกิตต์เรืองเลิศฤทธิ์ ทักษะงานยานยนต์แก๊สโซลีน ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพล วรขันธ์ ทักษะงานยานยนต์ดีเซล ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสมยศ ประถานัง ทักษะงานจักรยานยนต์ไฟฟ้า ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพีรพงษ์อ้วนศิริ ทักษะงานกลึง ชิ้นงาน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอนุสรณ์เรียนทิพย์ ทักษะงานวัดละเอียด ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสุวิทย์หอมพรมมา ทักษะเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด สักนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกิตติศักดิ์วีระคุณ ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพงศ์สาระพันธ์ ทักษะการออกแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษดา ณัฐธนสกุล ทักษะออกแบบและผลิตด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (CAD/CAM) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายปิยะ พิมคีรี ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับชั้น ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกัญญาพร ตะนาวศรี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษณะ ทองยศ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพล โชคเจริญ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


28 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายณรงค์ฤทธิ์มาใจ ทักษะการติดตั้งและควบคุมไฟฟ้า ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายรักชาติเสาร์สูงเนิน ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายแคล้ว ทองแย้ม ทักษะการออกแบบระบบไฟฟ้าและเขียนแบบไฟฟ้าด้วย คอมพิวเตอร์ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึษา นายสุรชัย จันทนา ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิลโทรลเลอร์ PLC ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายประสิทธ์ อินทะยศ ทักษะประกอบและตรวจซ่อมเครื่องขยายเสียง ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเลิศมงคล สุขสมบูรณ์ ทักษะการออกแบบพัฒนาโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายนภัทรพงษ์บุญโสม ทักษะการแข่งขันออกแบบวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายวัชรากร ยศเฮือง ทักษะไมโครคอนโทรลเลอร์ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายวรฤทธิ์ค าแก้ว ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายรณภูมิมัฐผา ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวนงลักษณ์พรหมราช ทักษะงานปูน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอานันท์วงษ์ศรีวอ ทักษะงานไม้และงานสี ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวนิศากร จันทป ทักษะประมาณราคางานก่อสร้าง ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวปรางทิพย์บุญประเสริฐ ทักษะประมาณราคางานก่อสร้าง ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวอนัญญา ปานนูน ทักษะงานส ารวจ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


29 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายประสิทธิพงษ์ศรีพล ทักษะงานคอนกรีต ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายตุลธร เลขตะระโก ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกาญจนา อาจปาสา ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพิชญะ พรมลา ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมาการ การอาชีวศึกษา นายกรรัก พร้อมจะบก ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาววิลัยวรรณ์ตระกูลวงศ์ ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ IOT ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกรกต ศรีสันต์ ทักษะการจัดการ Cloud Computing ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางจรัสศรีแก้วอาสา ทักษะการพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางเพชรรัตน์วงษ์มีมา ทักษะงานฝึกฝีมือ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางวรรณิดา ผิลาออน การประกวดสุนทรพจน์ภาษาไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสิริวรรณ กริอุณะ การประกวดพูดสาธิตเป็นภาษอังกฤษ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวรุ่งทิพย์พร เสน่หา การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง (ชาย) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง (หญิง) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยสากล (ชาย) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงไทยสากล (หญิง) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


30 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นางบุศรา โกมาสถิตย์ การประกวดร้องเพลงสากล (หญิง) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายสิทธิชัย ครุนันท์ การประกวดรักการอ่านภาษาไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางศิริพร ภูพาดแร่ การแข่งขันตอบปัญหาวิชาหน้าที่พลเมืองและประวัติศาสตร์ ชาติไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางพัฒนา อินทะยศ การประกวดมารยาทไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางอุราภรณ์เพียซ้าย การประกวดเล่านิทาน รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายนรังสรรค์ศรีน้อย การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


31 รางวัลและผลงานของผู้เรียน ปีการศึกษา 2564 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายพงศกร จันทร์หล่ม นางสาวนารีรัตน์ จันทนา นางสาวประกายดาว ผลสอน สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์และระบบสมองกล ถังผลิตปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนอัตโนมัติ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกลมชัย แสงหิม นายเมธวิน ค าแพร นายพงษ์ศกร คงทน นางสาวญาดา วงษ์มัน สิ่งประดิษฐ์ด้านการประกอบอาชีพรถเข็นฉีดยา ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกิตติพงศ์ แสนโบราณ นายอดิศักดิ์ พรมราช ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐกิตต์ นันทานี นายปฏิภาณ อินทะผิว ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุเชื่อม ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวประกายดาว ผลสอน นางสาวนารีรัตน์ จันทนา ทักษะการเขียนโปรแกรม รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธวัชชัย ศรีสะอาด นายธนากร กาละพันธิ์ นายธีรเดช คุณเมือง ทักษะงานมาตรวิทยามิติ รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพิชามญชุ์ บุญช่วย นายปุญญพัฒน์ ปัญญาศรี ทักษะงานวัดละเอียด รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวพิรุณ แสนดา นางสาวปัญจพัฒน์ สังฆรักษ์ นางสาวญาณัจฉรา ค าไล้ ทักษะงานหุ่นจ าลอง รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายชัยวัฒน์ สร้อยจันดา นางสาวอารียา แก้วอาษา นางสาวกังสดาล พาค า ทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรม รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


32 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายกิตติพงศ์ แสนโบราณ นายอดิศักดิ์ พรมราช ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสายพิรุณ แสนดา นางสาวปัญจพัตน์ สังฆรักษ์ นางสาวญาณัจฉรา ค าไล้ ทักษะงานท าหุ่นจ าลอง ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวประกายดาว ผลสอน นางสาวนารีรัตน์ จันทนา ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐกิตต์ นันธานี นายปฏิภาณ อินทะผิว ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพันณากรณ์ ผินสูงเนิน นายพิชามญชุ์ บุญช่วย นายปุญญพัฒน์ ปัญญาศรี ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธวัชชัย ศรีสะอาด นายธนากร กาละพันธ์ นายธีรเดช คุณเมือง ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพยุงศักดิ์ ไชยสิทธิ์ นายกฤษฎา เพียค า ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ทีม ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายชัยวัฒน์ สร้อยจันดา นางสาวอารียา แก้วอาษา นางสาวกังสดาล พาค า ทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรม ทีม ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายศราวุธ กุลบุตร นายวุฒิพงษ์ นามวงค์ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพุทธรักษ์ สารมะโน ดนตรีพื้นเมือง เดี่ยวพิณ รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


33 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายเจตนิพัทธ์ แสงค าภา ทักษะงานกลึงชิ้นงาน ระดับ ปวช. รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเสฏฐวุฒิ ทาวงษ์ ทักษะการออกแบบและเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวส. รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐนนท์ ไชยคีนี การประกวดพูดสาธิตเป็นภาษาอังกฤษ รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธีระศักดิ์ แสงบัวเผื่อน การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายศักดิพงศ์ พลเยี่ยม การประกวดร้องเพลงไทยสากลชาย รอง ชนะเลิศ ภาค สส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสมัชญา เมืองสมบูรณ์ การประกวดร้องเพลงสากลหญิง รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายคณิศร ดีบุรี นายวรพงศ์ คงปราบ นางสาวณิชาพัชร์ เพชรนอก นางสาวณัชชา ธีระโชติ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวณัฐลิณี ค าอินทร์ การประกวดรักการอ่านภาษาไทย รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวศศิธร ศรีสร้อย การประกวดสุนทรพจน์ภาษาไทย รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายภาสกร โคตรจินดา การประกวดเล่านิทานพื้นบ้าน รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายทินกร แว่นสว่าง นางสาวศิรประภา ศรีแก้ว การประกวดมารยาทไทย รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกนกนภา อินทรศักดิ์ การประกวดพูดในที่สาธารณะเป็นภาษาอังกฤษ รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายขจรศักดิ์ กัณลา นายธีระวุฒิ ชัยภัทรเศษฐ์ นางสาวศวิมล ตั้งแท่น การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


34 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายธนากร คงพูลทรัพย์ นายผดุงศักดิ์ มรรครมณ์ นายสุทิวัส แก้วหานาม ทักษะงานปูน (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสายพิรุณ แสนดา นางสาวปัญจพัฒน์ สังฆรักษ์ นางสาวญาณัจฉรา ค าไล้ ทักษะหุ่นจ าลอง (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธีระพล ถิ่นสะพุง นายนนทพัทธ์ มูลวัฒน์ นายยุทธนา บุผา นางสาวณัฐธิดา มูลชาติ ทักษะการส ารวจเพื่อการก่อสร้าง (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธีรวัฒน์ สิงห์มหาโพธิ์ นายนิพนธิ์ สาจะลี นายธนพล กันรเรศ ทักษะงานคอนกรีต (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายชัยวัฒน์ สร้อยจันดา นางสาวอารียา แก้วอาษา นางสาวกังสดาล พลค า ทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรม (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเอกรัตน์ วันนิตย์ นายนวพล พิมพ์อ้น นายณิชานนท์ แสนโคตร ืัทักษะงานไม้(ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายทัตเทพ จันเจิง นายวริทธินันท์ บุญลือ นายฉัตรมงคล มีแม่นวิทย์ ทักษะประมาณราคางานก่อสร้าง (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวนารีรัตน์ จันทนา นางสาวประกายดาว ผลสอน ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพสิษฐ์ นารายนะคามิน นายปภพ อ าข า ทักษะการเขียนโปรแกรม PLC (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


35 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายจีระศักดิ์ วรรณไชย นายธนากร ถนอมพงษ์ นายน าชัย ปิ่นสนุล ทักษะการออกแบบระบบไฟฟ้าและเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธณรัฐ สูงยาง นายธนโชติ เกรัมย์ ทักษะการติดตั้งและควบคุมไฟฟ้า (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายกฤษฎา เพียค า นายพยุงศักดิ์ ไชยสิทธิ์ ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอดิศักดิ์ พรมราช นายกิตติพงษ์ แสนโบราณ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐพล กันแพงศรี นายอภิสิทธิ์ สนสุรัตน์ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐกิจ ทัพธานี นายปฏิภาณ อินทะผิว ทักษะงานตรวจสอบและวัสดุงานเชื่อม PT (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายวุฒิพงษ์ นามวงศ์ นายศราวุธ กุลบุตร ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม MT,VT (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายปุญญพัฒน์ ปัญญาศรี นายพันณากรณ์ ผิวสูงเนิน นายพิชามญชุ์บุญช่วย ทักษะงานวัดละเอียด (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายภีรภัทร ศรีสร้อย ทักษะการออกแบบและเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายเมธวิน ค าแพร ทักษะออกแบบและผลิตด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธวัชชัย ศรีสะอาด นายธนากร กาละพันธ์ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


36 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายธีรเดช คุณเมือง ทักษะมาตรวิทยามิติ (ปวส.) นายเสฏฐวุฒิ ทาวงษ์ ทักษะการออกแบบและเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธีรพล สีแสง ทักษะงานฝึกฝีมือ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายอัครวินท์ มีลาภ นายอดิศักดิ์ เชื้อบุญมี นายเอื้อสกุล วรรณสาร ทักษะออกแบบพัฒนาโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายภัทรธร อติสกุล นายพรเทพ สุวรรณชาติ ทักษะไมโครคอนโทรเลอร์ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายบัณฑิต ดานา นายเจษฏา กาวน นายเอกพัฒน์ มาราช ทักษะออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายจักรภัทร สุพรมอินทร์ นายนัฐพงศ์ วัดแพนล า นายธนายุทธ กองสุวรรณ์ ทักษะประกอบและตรวจสอบซ่อมเครื่องขยายเสียง(ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายวิศรุต อินทร์ศิลา นายวุฒิชัย กระบวนสุวรรณ นางสาวรัศมีดาว เดชบุรมย์ ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพฤษธวัช น้อยผึ้ง นายสุริยะ พิลาสุข นายพีรเดช จันทะภา ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์(ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพงศกร ศิริเต็มกุล นายพิทชาพงศ์ วงศ์ทุมมาลา ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุม(ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


37 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายจักรี วันสุพงศ์ นายพิพัฒน์ ค ามี ทักษะการจัดการระบบเครือข่าย(ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายนาวิน พลซา นายธีะพงษ์ พรมเลิศ นายชวนากร แก้วกินยา ทักษะงานจักรยานยนต์ (ปวช.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายจักรกฤษ ศรีธรรมมา นายจิรายุทธ นามจ าปา นายณัฐพงษ์ ไชยศรีฮาด ทักษะงานปรับอากาศ (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายไตรภพ ศรีคุณ นายศราวุธ ปัดซา นายวิศรุต ส่วนเสมอ ทักษะงานยานยนต์แก๊สโซลีน (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธีระยุทธ สุปล้อง นายธนโชติ สุวรรณสิงค์ นายนารินทร์ บุญป้อง ทักษะงานยานยนต์ดีเซล (ปวส.) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายพรชัย สิทธิมา นายภาคิน ชมจันทร์ ทักษะงานตัวถังและสี ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวกนกนภา อินทรศักดิ์ การประกวดพูดในที่สาธารณะเป็นภาษาอังกฤษ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวณัฐลิณี ค าอินทร์ การประกวดรักการอ่านภาษาไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายณัฐนนท์ ไชยคีนี การประกวดพูดสาธิตเป็นภาษาอังกฤษ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวศศิธร ศรีสร้อย การประกวดสุนทรพจน์ภาษาไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายภาสกร โคตรจินดา การประกวดเล่านิทานพื้นบ้าน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


38 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายทินกร แว่นสว่าง นางสาวศิรประภา ศรีแก้ว การประกวดมารยาทไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายขจรศักดิ์ กัณลา นายธีระวุฒิ ชัยภัทรเศรษฐ์ นางสาวยศวิมล ตั้งแท่น การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายจักรินทร์ อุดมพร นายณภพล กองสิงห์ นายวราพงศ์ คงปราบ นางสาวณัชชา ธีรโชติ นางสาวณิชาพัชร์ เพชรนอก การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายธีระศักดิ์ แสงบัวเผื่อน การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่งชาย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวทิวาพร สุวรรณภักดิ์ การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่งหญิง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นายศักดิพงศ์ พลเยี่ยม การประกวดร้องเพลงไทยสากลชาย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา นางสาวสมัชญา เมืองสมบูรณ์ การประกวดร้องเพลงสากลหญิง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา


39 รางวัลและผลงานของผู้เรียน ปีการศึกษา 2565 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายสุเชษฐ์ดิลกลาภ ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวกนกนภา อินทรศักดิ์ ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายพงศกร จันทร์หล่ม ชุดควบคุมอุณหภูมิในโรงเรือน ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวัฒนา บุญทจันทร์ รถดูดฝุ่นลดมลภาวะ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายพิชิตชัย สารวงษ์ รถดูดฝุ่นลดมลภาวะ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธีรศักดิ์ผิวกลม รถดูดฝุ่นลดมลภาวะ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนิติกร ศึกสงคราม รถดูดฝุ่นลดมลภาวะ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษาเลย นายกิตติพงษ์มะฤทธิ์ ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวภัคจิรา ชูรัตน์ ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวสุกัญญา ศรีโทมี ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอภิสิทธิ์วงศ์สง่า ถุงมือฟื้นฟูสมรรถภาพ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


40 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายณัฐกิตต์นันธานี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวพัชราภรณ์อาจหาญ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายญาณพันธ์ค ามะลี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอดิศักดิ์พนาลัย ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายศุภกิจ สระสิงค์ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอัษฎาวุธ พันไชย ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอดิศักดิ์พรมราช ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายกิตติพงศ์แสนโบราณ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐพล กันแพงศรี ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนพรัตน์ค าโกแก้ว ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวนารีรัตน์จันทนา ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


41 ชื่อ -สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นางสาวประกายดาว ผลสอน ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายรัฐภูมิภูมิคอนสาร ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายปุญญพัฒน์ปัญญาศรี ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวกรรณิการ์นวลมะ ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวจิรภิญญา มูลคม ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนราธิป สิงห์เดชา ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธนเกียรติศิโร ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. รางวัลอื่น ๆ ชาติ ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายชาญชัย โสดา ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายรัฐภูมิภูมิคอนสาร ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายปุญญพัฒน์ปัญญาศรี ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธวัชชัย ศรีสะอาด ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


42 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายธีรเดช คุมเมือง ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวกรรณิการ์นวลมะ ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวจิรภิญญา มูลคม ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนราธิป สิงห์เดชะ ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธนเกียรติศิโร ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนพรัตน์ค าโกแก้ว ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวนารีรัตน์จันทนา ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวประกายดาว ผลสอน ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอดิศักดิ์พนาลัย ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายศุภกิจ สระสิงค์ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอัษฎาวุธ พันไชย ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


43 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายอดิศักดิ์พรมราช ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายกิตติพงศ์แสนโบราณ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐพล กันแพงศรี ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTWAW&GMAW ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐกิตต์นันธานี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวพัชราภรณ์อาจหาญ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายญาณพันธ์ค ามะลี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. รอง ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธีระศักดิ์แสงบัวเผื่อน การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง (ชาย) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายศักดิพงศ์พลเยี่ยม การประกวดร้องเพลงไทยสากล (ชาย) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวบุญญาภา บุญสะอาด การประกวดร้องเพลงไทยสากล (หญิง) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวสมัชญา เมืองสมบูรณ์ การประกวดร้องเพลงสากล (หญิง) รางวัลอื่น ๆ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายสิทธิชัย จ าปาสิม ทักษะงานเครื่องยนต์เล็กดีเซล เครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


44 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายทฤษฎีมูลนะที ทักษะงานเครื่องยนต์เล็กดีเซล เครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ ภาค ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณฐภูมิหาญชัย ทักษะงานเครื่องยนต์เล็กดีเซล เครื่องยนต์แก๊สโซลีน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายสิทธิกร น้อยอาสา ทักษะงานตัวถังและสีรถยนต์ ระดับ ปวช. และปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายทินภัทร แสวงแก้ว ทักษะงานตัวถังและสีรถยนต์ ระดับ ปวช. และปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายกฤษณพงศ์ศักดิ์ศิริรัตน์ ทักษะงานตัวถังและสีรถยนต์ ระดับ ปวช. และปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวิศรุต ส่วนเสมอ ทักษะงานยานยนต์แก๊สโซลีน ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายศราวุฒิปัดชา ทักษะงานยานยนต์แก๊สโซลีน ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายเกรียงไกร ผาลี ทักษะงานยานยนต์แก๊สโซลีน ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายชัชนันท์พรมนา ทักษะงานยานยนต์ดีเซล ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายรฐนนท์ลุนวิรัตน์ ทักษะงานยานยนต์ดีเซล ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐพงศ์ถวายชัย ทักษะงานยานยนต์ดีเซล ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


Click to View FlipBook Version