The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน SAR ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Bangon Lektarago, 2023-07-07 00:17:32

รายงาน SAR ปีการศึกษา 2565

รายงาน SAR ปีการศึกษา 2565

Keywords: Sar 2565,sar วิทยาลัยเทคนิคเลย

45 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายวัฒนา บุญทจันทร์ ทักษะงานจักรยานยนต์ไฟฟ้า ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวชิรวิทย์วงศรี ทักษะงานจักรยานยนต์ไฟฟ้า ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายพิชิตชัย สารวงษ์ ทักษะงานจักรยานยนต์ไฟฟ้า ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวีระวัฒน์เอกนพพระ ทักษะงานกลึง ชิ้นงาน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายชาญชัย โสดา ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายรัฐภูมิภูมิคอนสาร ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายปุญญพัฒน์ปัญญาศรี ทักษะงานวัดละเอียด ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายเจตนิพัทธ์แสงค าภา ทักษะเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธวัชชัย ศรีสะอาด ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธีรเดช คุณเมือง ทักษะงานมาตรวิทยามิติ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐพนธ์อ่อนสุด ทักษะการออกแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


46 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายวุฒิภัทร โพธิ์สาจันทร์ ทักษะออกแบบและผลิตด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (CAD/CAM) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอดิศักดิ์พนาลัย ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับชั้น ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายศุภกิจ สระสิงค์ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับชั้น ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอัษฎาวุธ พันไชย ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW ระดับชั้น ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายจักรพรรณ์วรโคตร์ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวชุลีพร สอนสุภาพ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนทีดีเพชร ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอดิศักดิ์พรมราช ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายกิตติพงศ์แสนโบราณ ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐพล กันแพงศรี ทักษะงานเชื่อม SMAW&GTAW&GMAW ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐกิตต์นันธานี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


47 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นางสาวพัชราภรณ์อาจหาญ ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายญาณพันธ์ค ามะลี ทักษะงานตรวจสอบและทดสอบวัสดุงานเชื่อม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนิติกร คดีพอศาล ทักษะการติดตั้งและควบคุมไฟฟ้า ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธีรพัฒ คลุ่ยทอง ทักษะการติดตั้งและควบคุมไฟฟ้า ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายกฤษฎา เพียค า ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายฉัตรณรงค์ตาสา ทักษะการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายรัชกาล โลขันสา ทักษะการออกแบบระบบไฟฟ้าและเขียนแบบไฟฟ้าด้วย คอมพิวเตอร์ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายพชรพนธ์แสงชัย ทักษะการออกแบบระบบไฟฟ้าและเขียนแบบไฟฟ้าด้วย คอมพิวเตอร์ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายปภพ อ าข า ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิลโทรล เลอร์ PLC ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายพสิษฐ์นารายนะคามิน ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิลโทรล เลอร์ PLC ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนัฐพงค์วัดแพงค า ทักษะประกอบและตรวจซ่อมเครื่องขยายเสียง ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


48 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายรัตนภูมิชาญวิทยานุกุล ทักษะประกอบและตรวจซ่อมเครื่องขยายเสียง ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอัครวินท์มีลาภ ทักษะการออกแบบพัฒนาโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอดิศักดิ์เชื้อบุญมี ทักษะการออกแบบพัฒนาโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายจักรภัทร สุพรมอินทร์ ทักษะการแข่งขันออกแบบวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวิภาส สุทธิจักร์ ทักษะการแข่งขันออกแบบวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอภิวุฒิขวัญเมืองคูณ ทักษะการแข่งขันออกแบบวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายกฤษณา ธรรมมิยะ ทักษะไมโครคอนโทรลเลอร์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธีรภัทร ส้างสิงห์ ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวรัศมีดาว เดชบุรมย์ ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายภานุวัฒน์เศษศิริ ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอภิสิทธิ์สุทธิประภา ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


49 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายคมกริช ค ารังศรี ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวิวรรณ พลซา ทักษะเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวปลายฟ้า สุขเสน ทักษะงานปูน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายเอื้ออังกูล หามณี ทักษะงานปูน ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายเอกรัตน์วันนิตย์ ทักษะงานไม้และงานสี ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนวพล พิมพ์อ้น ทักษะงานไม้และงานสี ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวนันทิชา สารรัมย์ ทักษะประมาณราคางานก่อสร้าง ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายไชยวุฒิวันหากิจ ทักษะประมาณราคางานก่อสร้าง ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายกีรติรัตนมณี ทักษะประมาณราคางานก่อสร้าง ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายชัยยากร ค าแลง ทักษะงานส ารวจ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวณัฏฐธิดา สาริยา ทักษะงานส ารวจ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


50 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายภานุพงษ์อัญชุลี ทักษะงานส ารวจ ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐกิตติ์พิลาแก้ว ทักษะงานคอนกรีต ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธนพล วังคีรี ทักษะงานคอนกรีต ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวีรพงศ์พรหมวงศ์ ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐนนท์ไชยคีนี ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายโอมาลย์สีหะวงศ์ ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวกรรณิการ์นวลมะ ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวจิรภิญญา มูลคม ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนราธิป สิงห์เดชะ ทักษะงานสถาปัตยกรรม ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายปวริศ ดงธงขาว ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธราดล วงษ์ช่างซื้อ ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


51 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายกิตติภัทร สุวรรณศรี ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายนพรัตน์ค าโกแก้ว ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวนารีรัตน์จันทนา ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวประกายดาว ผลสอน ทักษะเทคโนโลยีเครือข่าย ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวราวุธ สุวรรณแสง ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ IOT ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายภานุพงศ์พรบุญ ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ IOT ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวุฒิศักดิ์สุติยะวัน ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ IOT ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวุฒิศักดิ์สุติยะวัน ทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ IOT ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายณัฐกร จุตะโน ทักษะการจัดการ Cloud Computing ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวภัคจิรา ชูรัตน์ ทักษะการจัดการ Cloud Computing ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวจิราภร พิมคีรี ทักษะการจัดการ Cloud Computing ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


52 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายวรกานต์มูลศรี ทักษะการพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธีรวัสส์เกตุพรม ทักษะการพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายภานุพงษ์วงศ์อนุ ทักษะการพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย ระดับ ปวช. หรือ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายจิรภาส สุขจิตร ทักษะงานฝึกฝีมือ ระดับ ปวช. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวอัยดา พิมเพ็ง การประกวดสุนทรพจน์ภาษาไทย ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางธรรมธาดา ศรียะ การประกวดพูดสาธิตเป็นภาษอังกฤษ ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายภูริภัทร ค าไล้ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายโยธิน อินทอง การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวส. จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายโชคชัย สวัสดี การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายอภิสิทธิ์สุขจันดา การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวนิตยา จอมใจ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


53 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายพัฒนพงศ์สิมสวัสดิ์ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวส. ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธีระศักดิ์แสงบัวเผื่อน การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง (ชาย) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวทิวาพร สุวรรณภักดี การประกวดร้องเพลงไทยลูกทุ่ง (หญิง) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายศักดิพงศ์พลเยี่ยม การประกวดร้องเพลงไทยสากล (ชาย) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวบุญญาภา บุญสะอาด การประกวดร้องเพลงไทยสากล (หญิง) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวสมัชญา เมืองสมบูรณ์ การประกวดร้องเพลงสากล (หญิง) ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวประไพร แสงโสดา การประกวดรักการอ่านภาษไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวกนกนภา อินทรศักดิ์ การประกวดพูดในที่สาธารณะเป็นภาษอังกฤษ รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายพฤพัทธ์บรรเทาพิษ การแข่งขันตอบปัญหาวิชาหน้าที่พลเมืองและประวัติศาสตร์ ชาติไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวศิริลักษณ์ปัญญาจันทร์ การแข่งขันตอบปัญหาวิชาหน้าที่พลเมืองและประวัติศาสตร์ ชาติไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายศุภกร เทรทุม การประกวดมารยาทไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


54 ชื่อ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นางสาวจิรัตน์ดา กองกระมุด การประกวดมารยาทไทย รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวสุชัญญา ราชแก้ว การประกวดเล่านิทาน รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวณิชาพัชร์เพชรนอก การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นางสาวณัชชา ธีระโชติ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายวรพงศ์คงปราบ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายคณิศร ดีบุรี การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายจักรินทร์อุดมพร การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา นายธันวา เสนานุช การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM EDUCATION) ระดับ ปวช. รอง ชนะเลิศ จังหวัด ส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา


ส่วนที่ 3 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้สถานศึกษาระบุมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศก าหนด และสถานศึกษาสามารถก าหนดมาตรฐานการศึกษา หรือประเด็นการประเมินเพิ่มเติมตามบริบทของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของ ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้ มี ทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ 1.1 ด้านความรู้ ผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฏี และแนว ปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือท างาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฏี และหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา 1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะชีวิต เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และ การด ารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีสุขภาวะที่ดี 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัย ที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตาม บทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และมีจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและจ านวนตามเกณฑ์ที่ก าหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะใน การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมี ประสิทธิภาพ มีความส าเร็จในการด าเนินการตามนโยบายส าคัญของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ ก ากับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้


55 2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือก าหนดรายวิชาใหม่ หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติมให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถาน ประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจ านวนตามเกณฑ์ที่ก าหนด ได้รับการพัฒนาอย่าง เป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยท างาน ตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัด การศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน ก ากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน การสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ 2.3 ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ งบประมาณของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ 2.4 ด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติ สถานศึกษามีความส าเร็จในการด าเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายส าคัญ ที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดท า นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้ 3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้การบริการทาง วิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ 3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดท านวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครูบุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ที่สามารถน าไปใช้ ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพร่สู่สาธารณชน


ส่วนที่ 4 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สถานศึกษารายงานการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ในแต่ละมาตรฐานและประเด็นการประเมิน ดังนี้ 4.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ 4.1.1 ด้านความรู้ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษา อาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านความรู้ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ 1) ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่ 1 ด้านความรู้ 1. ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เชิงปริมาณ 1. นักเรียน นักศึกษา ที่ส าเร็จการศึกษาในระดับชั้น ปวช.3 และ ปวส.2 ทุกคนได้ เข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ และผ่านมาตรฐานวิชาชีพ ตามนโยบายของ ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2. จ านวนผู้ผ่านการเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ระดับชั้น ปวช.3 จ านวน 496 คน 3. จ านวนผู้ผ่านการเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ระดับชั้น ปวส.2 จ านวน 496 คน เชิงคุณภาพ ผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับชั้น ปวช.3 และ ปวส.2 คิดเป็นร้อยละ 100 ผลสะท้อน ผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับชั้น ปวช. และ ปวส. ทุกสาขาวิชาชีพ มีความรู้ ทักษะ และมีความตระหนักในการเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) เชิงปริมาณ 1. จ านวนผู้เรียน ระดับชั้น ปวช.3 ที่มีผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน อาชีวศึกษา (V-NET) 2. จ านวนผู้เรียน ระดับชั้น ปวช.3 ทั้งหมดจ านวน 498 คน ขาดสอบจ านวน 102 คน เชิงคุณภาพ จ านวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) คิดเป็นร้อยละ 83 ผลสะท้อน องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับ ยกย่อง สถานศึกษาที่ผู้เรียนมีผลการทอสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)


58 4.1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณลักษณะของ ผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ตามรายการประเมินคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่ 1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ 1. ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ เชิงปริมาณ นักเรียน นักศึกษา เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนด้านการอบรม สร้างจิตส านึกการเป็นผู้ประกอบการและเขียนธุรกิจ 50 คน เชิงคุณภาพ สถานศึกษาจัดท าโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนด้านการอบรมสร้างจิตส านึกใน การเป็นผู้ประกอบการและเขียนแผนธุรกิจและโครงการศักยภาพผู้เรียนผ่าน เกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับ 3 ดาว ผลสะท้อน ได้ผู้ประกอบการที่ประสบผลส าเร็จในการประกอบธุรกิจ ซึ่งมีผลจากการเข้าร่วม โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ด้านการอบรมสร้างจิตส านึกในการเป็น ผู้ประกอบการและเขียนแผนธุรกิจ 2. ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ เชิงปริมาณ จ านวนผู้เรียนที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันทักษะวิชาชีพ 56 คน เชิงคุณภาพ ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพในแต่ละระดับ 1. รางวัลการแข่งขันระดับจังหวัด ชนะเลิศ 49 ทักษะ 2. รางวัลการแข่งขันระดับภาค ชนะเลิศ 4 ทักษะ, รองชนะเลิศอันดับ 1 3ทักษะ 3. รางวัลการแข่งขันระดับชาติ ชนะเลิศ 2 ทักษะ, รองชนะเลิศอันดับ 1 2ทักษะ , รองชนะเลิศอันดับ 2 1ทักษะ ผลสะท้อน สถานศึกษาส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพ โดย เป็นที่ยอมรับในผลงานการแข่งขันของสถานศึกษาสามารถน าผลน าผลการสอบ เพื่อไปสมัครเข้าท างานในสถานประกอบการ


59 4.1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ใน การพัฒนาคุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. การดูแลและแนะแนวผู้เรียน เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียน 201 กลุ่มมีครูที่ปรึกษาได้รับการแต่งตั้งให้ท าหน้าที่ดูแล แนะน า แนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม 2. ครูที่ปรึกษาได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ จัดกิจกรรมพบครูที่ปรึกษา (Homeroom) ดังนี้ 2.1 ภาคเรียนที่ 1/2565 จ านวน 18 ครั้ง 2.2 ภาคเรียนที่ 2/2565 จ านวน 18 ครั้ง 2.3 สถานศึกษาจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อดูแลให้ผู้เรียนสามารถส าเร็จ การศึกษาตามระยะเวลาตามหลักสูตรก าหนด จ านวน 3 โครงการ/กิจกรรม 2.4 ผู้ส าเร็จปีการศึกษา 2565 ปวช. 443 ปวส. 407 รวมทั้ง ปวช.และปวส. จ านวน 850 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 14/05/66) เชิงคุณภาพ 1. ครูที่ปรึกษา ท าหน้าที่ดูแลนักเรียน นักศึกษา ให้ค าแนะน าและแนวทางปฏิบัติ ที่เหมาะสมแก่นักเรียน นักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีผลประเมินความพึงพอใจ การปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษา อยู่ในระดับ ดีเลิศ 2. ผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับ ปวช. เทียบกับจ านวนแรกเข้าคิดเป็นร้อยละ 53.44 3. ผู้ส าเร็จการศึกษา ระดับ ปวส. เทียบกับจ านวนแรกเข้าคิดเป็นร้อยละ 57.24 ผลสะท้อน ผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษา มีความพอใจ ยอมรับในการดูแลและแนวผู้เรียนอยู่ ในระดับ ปานกลาง 2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เชิงปริมาณ สมาชิกเข้าร่วมโครงการครบทุกระดับชั้น เชิงคุณภาพ 1. สถานศึกษามีการด าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม การปลูกจิตส านึกด้านการ รักชาติเทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์เป็นประมุข และทะนุบ ารุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม 2. สถานศึกษามีการด าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม การปลูกฝังจิตส านึกด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. สถานศึกษามีการด าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ด้านกีฬาและนันทนาการ 4. สถานศึกษามีการด าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม การปลูกฝังจิตส านึกด้าน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


60 2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผลสะท้อน 1. นักเรียน นักศึกษาแสดงการเทิดพระเกียรติและช่วยกันปกป้องรักษาสถาบัน พระมหากษัตริย์ 2. นักเรียน นักศึกษาได้ความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและน า ความรู้สู่การปฏิบัติจริง เพื่อให้ศาสนาเป็นเครื่องบ าบัดทุกข์และกล่อมเกลาจิตใจได้ อย่างแท้จริง 3. นักเรียน นักศึกษาได้มีจิตส านึกที่ดีต่อการอนุรักษ์ศิลปะ และ วัฒนธรรมประจ าท้องถิ่น 4. นักเรียน นักศึกษามีจิตส านึกในวัฒนธรรมประเพณีของไทย 5. คณะกรรมการชมรม มีส่วนร่วมในการคิด การท างาน ได้มีโอกาส ฝึกฝนตนเองในการที่จะก้าวไปสู่การเป็นผู้น าที่ดีในอนาคต 3. การมีงานท าและศึกษาต่อของผู้ส าเร็จการศึกษา เชิงปริมาณ จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษา ปวช. และ ปวส. ในปีการศึกษาที่ผ่านมา จ านวน 1,014 คน มีงานท าในสถานประกอบการหน่วยงานภาครัฐ ประกอบอาชีพอิสระหรือ ศึกษาต่อ จ านวน 815 คน เชิงคุณภาพ ร้อยละของผู้ส าเร็จการศึกษา ปวช. และ ปวส. ในปีที่ผ่านมา มีงานท าสถาน ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ ร้อยละ 80.37 ผลสะท้อน องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้การยอมรับสถานศึกษาใน การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ส าเร็จการศึกษามีงานท าในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ 2) จุดเด่น 1. สถานศึกษามีการมอบหมายหน้าที่ครูที่ปรึกษา พร้อมก าหนดปฏิทินการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน 2. ครูที่ปรึกษา ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีความรับผิดชอบ เคร่งครัด 3. สถานศึกษามีเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อช่วยประสานการดูแลผู้เรียนทั้งที่บ้านพัก และสถานศึกษา 4. สถานศึกษามีการน าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้งาน เพื่อติดตาม ดูแลผู้เรียน 5. นักเรียน นักศึกษา ที่ส าเร็จการศึกษา ได้รับความรู้และประสบการณ์โดยตรงจากผู้เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์เป็นที่ยอมรับจากสถานประกอบการ และหน่วยงานต่าง ๆ 6. ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ทุกสาขาวิชา เป็นอย่างดี 7. เป็นศูนย์บ่มเพาะ ฯ ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็น ผู้ประกอบการหรือประกอบวิชาชีพอิสระ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นอย่างดี 8. สถานศึกษามีกระบวนการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพในการ เข้าร่วมประกวดแข่งขันทั้งในระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ


61 3) จุดที่ควรพัฒนา 1. จ านวนผู้ส าเร็จการศึกษามีปริมาณน้อย ควรจัดกิจกรรม/โครงการในการดูแลแนะแนวมากขึ้น 2. ควรจัดมีวิจัยส ารวจ สาเหตุ เพื่อวางแผนพัฒนาการด าเนินการดูแลผู้เรียนให้ตรงจุด 3. ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการเป็นผู้ประกอบการหรือประกอบอาชีพอิสระ ยังมีความสนใจน้อย การกระจายผู้ประกอบการยังไม่ครอบคลุมทุกสาขาอาชีพ ขาดแหล่งเรียนรู้และสถานประกอบการดีเด่น ภายในจังหวัด 4. วิทยาลัยเทคนิคเลย ควรมีการสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา ได้มีการเข้าร่วมการแข่งขันทักษะ ทางวิชาชีพในระดับสถานศึกษา เพื่อสร้างความสามัคคี การแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ และสามารถน าไปปรับ ใช้ในการท างานหรือการด าเนินชีวิตให้เกิดประโยชน์ 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. สถานศึกษามีการน าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการติดตามดูแลผู้เรียน และ ประสานงานกับผู้ปกครอง ควรรณรงค์กระตุ้นให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายใช้งานในระบบอย่างเป็นรูปธรรม ยิ่งขึ้น 2. ส่งเสริมสนับสนุน เงินงบประมาณในการจัดโครงการ บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ และ สร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมโครงการผู้ประกอบการ 3. วิทยาลัยเทคนิคเลย ควรเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษาทุกคนมากขึ้นให้ได้เลือกหรือ สอบถามความถนัดด้านวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติเพื่อทางวิทยาลัยจะได้คัดเลือกตัวแทนนักเรียน นักศึกษาที่มี ความพร้อม ไปเข้าร่วมการแข่งขันทักษะวิชาชีพเพื่อน ารางวัลมาให้ทางวิทยาลัยเพิ่มมากขึ้นและน า ประสบการณ์จากการแข่งขันมาปรับใช้ในการเรียนของนักเรียน นักศึกษาได้


62 4.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา 4.2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการ อาชีวศึกษาด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ 1)ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ เชิงปริมาณ จ านวนสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาสูตรสมรรถนะ ปรับปรุงรายวิชา หรือ ปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือก าหนดรายวิชาเพิ่มเติม จ านวน 5 แผนกวิชา เชิงคุณภาพ ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ผลสะท้อน หลักสูตรที่วิทยาลัยเทคนิคเลย ด าเนินการจัดการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาให้ เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เรียน ผู้ปกครอง และสถานประกอบการในการรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน 2. การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะหรือปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือก าหนด รายวิชาเพิ่มเติม เชิงปริมาณ จ านวนสาขาวิชาหรือสาขางานที่มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปรับปรุง รายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเพิ่มเติม หรือก าหนดรายวิชาเพิ่มเติม แผนกวิชาไม่มี การปรับปรุงหลักฐานสมรรถนะรายวิชา เชิงคุณภาพ ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับ คุณภาพ ยอดเยี่ยม ผลสะท้อน หลักสูตรที่วิทยาลัยเทคนิคเลย ด าเนินการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาให้เป็น หลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบสร้างความเชื่อมมั่นให้กับผู้เรียน ผู้ปกครอง และสถานประกอบการในการรับนักเรียน นักศึกษา เข้าฝึกงาน


63 4.2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการ จัดการอาชีวศึกษาด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ 1)ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 1. คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ เชิงปริมาณ ปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยเทคนิคเลยมีครูที่จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การ ปฏิบัติที่มีคุณภาพ จ านวน 150 คน จากจ านวนทั้งหมด 150 คน เชิงคุณภาพ ผลการประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 98.09 ผลสะท้อน ครูผู้สอนจัดท าแผนการสอน มีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาการบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ใช้สื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์ และ เทคโนโลยีที่น ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมมีการวัดและประเมินผลตาม สภาพจริง 2. การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญและน าไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน เชิงปริมาณ วิทยาลัยเทคนิคเลย มีครูผู้สอนจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญและน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน จ านวน 150 คน เชิงคุณภาพ ร้อยละของครูผู้สอนที่จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญและน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 98 ผลสะท้อน ครูผู้สอนได้จัดท าแผนการสอนครบทุกรายวิชาที่สอนและน าแผนการสอนสู่การ ปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญและน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้อง กับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน เพื่อเพิ่ม โอกาส และค้นหาความสามารถให้นักเรียน นักศึกษาได้ประกอบอาชีพตามสาย งานที่ศึกษาและน ามาปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้ดียิ่งขึ้น 3. การจัดการเรียนการสอน เชิงปริมาณ ครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาชาวิชาที่สอน มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ทุกรายวิชาที่สอนและใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทาง การศึกษา แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน และท าวิจัยเพื่อคุณภาพ จัดการเรียนรู้และการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ ในปีการศึกษา 2565 จ านวน เฉลี่ยรวมครูทั้งหมด 156 คน เชิงคุณภาพ ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับ คุณภาพยอดเยี่ยม ผลสะท้อน สถานศึกษาได้ครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีการ จัดท าแผนการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่จัดท าการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการ เรียนรู้ มีการวัดและประเมินตามสภาพจริง รวมถึงใช้สื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ที่ครบถ้วนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน นักศึกษา


64 4. การบริหารจัดการชั้นเรียน เชิงปริมาณ ครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน มีแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ทุกรายวิชาที่สอน และใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการ ศึกษา แหล่งเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน และท าวิจัยเพื่อคุณภาพจัดการ เรียนรู้และแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ ในปีการศึกษา 2565 จ านวนเฉลี่ยรวมครู ทั้งหมด 156 คน เชิงคุณภาพ ผลการประเมินการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับ 5 คุณภาพยอดเยี่ยม ผลสะท้อน สถานศึกษาได้ครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีการ จัดท าแผนการเรียนรู้ทุกรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนตรงตามแผนการจัดการ เรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง รวมถึงใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ที่ครบถ้วนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน นักศึกษา 5. การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ เชิงปริมาณ 1. จ านวนครูผู้สอนที่ท าแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมการพัฒนาชีพ 150 คน 2. จ านวนครูผู้สอนที่ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างน้อย 12 ชั่วโมง 150 คน 3. จ านวนครูผู้สอนที่น าผลการจากพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการ จัดการเรียนการสอน 150 คน 4. จ านวนครูผู้สอนที่มีผลจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 150 คน 5. จ านวนครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพที่ ได้รับการยอมรับหรือเผยแพร่ 8 คน เชิงคุณภาพ จ านวนครูผู้สอนที่น าผลการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการ เรียนการสอนคิดเป็นร้อยละ 78.53 ผลสะท้อน ครูผู้สอนจัดท าแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมกระบวนการพัฒนาวิชาชีพ ได้รับการ พัฒนาแผนพัฒนาตนเองและกระบวนการพัฒนาวิชาชีพมีการน าผลการพัฒนา ตนเองมาใช้ในการเรียนการสอน 6. การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน เชิงปริมาณ วิทยาลัยเทคนิคเลย มีห้องเรียนที่มีการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต จ านวน 137 ห้อง เชิงคุณภาพ ทางสถานศึกษาได้มีการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้มีความพร้อมต่อ การให้บริการ แก่ บุคลากรและนักเรียน นักศึกษา อย่างสม่ าเสมอและมีการ พัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลสะท้อน บุคลากรและนักเรียน นักศึกษามีการยอมรับในหลักการของการเรียนการสอนใน e-Learning และสื่อการสอนแบบไร้สาย


65 4.2.3 ด้านการบริหารจัดการ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษา ด้านการบริหารจัดการ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ 1)ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่2.3 ด้านการบริหารจัดการ 1. การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา เชิงปริมาณ : มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ใช้งาน จ านวน 11 ระบบ ประกอบด้วย 1. เว็บไซต์ (www.loeitech.ac.th) 2. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (AMS-e-Office) 3. ระบบข้อมูลศูนย์ก าลังคนอาชีวศึกษา 4. ระบบ ศธ.02 ออนไลน์ 5. ระบบซอฟต์แวร์บริหารจัดการด้านการอาชีวศึกษา (EnlightSoft EDR) ประกอบไปด้วย ระบบงานวัดผล ระบบงานทะเบียน ระบบงานกิจกรรม ระบบงานปกครอง ระบบงานครูที่ปรึกษา ระบบงานสารบรรณ ระบบประเมิน ครูผู้สอน 6. e-Learning เพื่อพัฒนาอาชีพ ตามพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 7. e-Learning วิทยาลัยเทคนิคเลย 8. ระบบห้องสมุดดิจิตตอล 9. e-Mail ของสถานศึกษา ([email protected]) 10. Facebook ของสถานศึกษา 11. แอพพลิเคชั่น Line ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร เชิงคุณภาพ การรับข้อมูลสารสนเทศ ทั้งผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถน าไปใช้ ได้ในระดับปานกลาง ผลสะท้อน การน าระบบสารสนเทศ มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสาร ท าให้ลดเวลาใน การท างาน ลดปัญหาในการสืบค้นและการจัดเก็บได้ดี 2. อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม เชิงปริมาณ ร้อยละของห้องเรียน ห้องปฏิบัติการหรือโรงฝึกงานที่ได้รับการพัฒนาให้เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้ คิดเป็น ร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ 1. อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองาน ฟาร์ม และสิ่งอ านวยความสะดวกในการให้บริการผู้เรียนเพียงพอต่อความต้องการ 2. การพัฒนาและดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอ านวยความ สะดวกตามแผนงาน โครงการที่ก าหนด 3. สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการ เรียนรู้โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอ านวยความสะดวกที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนรู้ ผลสะท้อน มีองค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาใช้บริหาร อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม


66 3. ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน เชิงปริมาณ ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบปะปา การคมนาคมภายใน สถานศึกษา ระบบการสื่อสารภายในและระบบรักษาความปลอดภัยได้รับ การบ ารุงรักษาและพัฒนาอย่างเป็นระบบ ร้อยละ 100 เชิงคุณภาพ ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบปะปา การคมนาคมภายใน สถานศึกษา ระบบการสื่อสารภายในและระบบรักษาความปลอดภัยได้รับ การ บ ารุงรักษาอยู่สม่ าเสมอ ผลสะท้อน นักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบปะปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา ระบบการสื่อสาร ภายใน และระบบรักษาความปลอดภัยเพียงพอต่อความต้องการ 4. แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ เชิงปริมาณ จ านวนผู้เข้าใช้บริการในศูนย์วิทยาบริการและห้องสมุด ค่าเฉลี่ยรวม คิดเป็น ร้อยละ 77.03 เชิงคุณภาพ แหล่งเรียนรู้จากศูนย์วิทยบริการ จะมีงานห้องสมุด ห้องอินเทอร์เน็ต และห้อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประเมินจากสถานที่จริง ผลสะท้อน ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการทั้งห้องสมุด ห้องอินเทอร์เน็ต และห้องคอมพิวเตอร์ ดูได้จากสถิติรายเดือนแต่ละภาคเรียน และตรวจสอบจากการเข้าใช้บริการของ ห้องคอมพิวเตอร์ 5. ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา เชิงปริมาณ มีเส้นทาง Link สัญญาณ 2 Link รวมเป็น 1,600 Mbps ประกอบด้วย 1. เครื่อข่าย Uninet ความเร็ว 1,000 Mbps 2. เครือข่าย TOT ความเร็ว 600/300 Mbps เชิงคุณภาพ ในเวลาปกติสามารถใช้ Band Width จะอยู่ประมาณ 1,600 Mbps แต่หากเกิด ปัญหาเส้นทางในเส้นทางหนึ่ง ระบบยังสามารถใช้งานได้ ผลสะท้อน การใช้งานจริงในปัจจุบันค่า Band Width จะอยู่ประมาณ 690 Mbps คิดเป็น ประมาณ 43% ของ Band Width ที่ใช้งานได้


67 4.2.4 ด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการ อาชีวศึกษาด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา อาชีวศึกษา ดังนี้ 1)ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่2.4 ด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติ 1. การจัดการอาชีวศึกษาสู่ระบบทวิภาคี เชิงปริมาณ มีนักเรียน นักศึกษาเข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการ เต็ม 100% ตรงตาม สาขาวิชาของนักเรียน นักศึกษา เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้ฝึกอาชีพในสถานประกอบการลักษณะการท างานจริง ได้พัฒนาทักษะ ด้านต่าง ๆ ในสถานประกอบการ ทั้งในระบบปกติ และระบบทวิภาคีอย่างต่อเนื่อง ผลสะท้อน ได้รับความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการ กับสถานศึกษาในการจัดการเรียน การสอนในสถานประกอบการ ทั้งในระบบปกติ และระบบทวิภาคี อย่างต่อเนื่อง และด้วยดีเสมอมา 2) จุดเด่น 1. สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้จากการพัฒนา และมีหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน 2. ครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตรงตามวิชาเอก สามารถจัดการ เรียนรู้ที่หลากหลายบูรณาการกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องตงตามความต้องการของ ผู้เรียน 3. ครูผู้สอนมีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เพื่อก าหนดหน่วยการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ 4. แผนการจัดการเรียนรู้มีการก าหนดการใช้สื่อเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมและน ามาใช้ในการจัดกรเรียนการสอน 5. วิทยาลัยเทคนิคเลยยอมรับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนและน าแผนการ จัดการเรียนรู้มาใช้ในการจัดกิจกรรมการสอนที่องค์ประกอบครบถ้วนรวมถึงการปรับใช้การเรียนการสอน 6. ครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน 7. แผนการจัดการเรียนรู้มีการก าหนดการใช้สื่อ เครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยีที่เหมาะสม และ น าไปใช้ด้วยเทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย 8. มีครูผู้สอนที่จัดท าข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจ าชั้นเรียน และรายวิชาเป็นปัจจุบัน มีเทคนิควิธีการบริหารจัดการชั้นเรียนให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีวิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเรียน และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคลด้านการเรียน และด้านอื่น ๆ 9. สถานศึกษาให้การสนับสนุนในด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการเรียนการ สอนได้อย่างดี รวมถึงการจัดท าผลงานจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 10. มีการใช้ E-Learning การเรียนการสอนออนไลน์ ด้วยวิธีต่าง ๆ ในหลักสูตรการศึกษา และการ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัย โดยให้แต่ละแผนกเป็นผู้ด าเนินการ 11. มีระบบงานพื้นฐานรองรับการพัฒนาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด


68 12. สามารถบริหารจัดการระบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบคมนาคม ระบบการสื่อสาร รวมทั้งการ จัดระบบรักษาความปลอดภัยภายในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิ เพื่ออ านวยประโยชน์ส าหรับให้บริการทาง 13. สนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา เกิดการเรียนรู้และศึกษาด้วยตัวเอง 14. นักเรียน นักศึกษา ทราบถึงแหล่งข้อมูลการเรียนการสอนด้วยตนเอง 15. สร้างนิสัยรักการอ่านให้เกิดแกนักเรียน นักศึกษา 16. นักเรียน นักศึกษา สามารถค้นคว้าข้อมูลจากเทคโนโลยีใหม่ ๆ 17. สถานศึกษามีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส าหรับการบริหารจัดการมีระบบส ารองในการใช้งาน 18. ประสานงานร่วมมือเพื่อเป็นการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ 3) จุดที่ควรพัฒนา 1. ควรมีการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 2. ครูผู้สอนที่จัดท าการปรับปรุงรายวิชา ยังขาดความเข้าใจในการจัดท าหลักฐานที่เก็บหลักฐาน ตามขั้นตอน PDCA 3. ควรมีการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้มีการก าหนดรูปแบบการเรียนรู้สู่การปฏิบัติและกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4. ครูผู้สอนมีการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยมีกิจกรรม ที่หลากหลายสอดแทรกไปในกิจกรรมการเรียนการสอนและน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดแก่นักเรียน นักศึกษา 5. ครูผู้สอนควรมีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้ความรู้หรือวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายเสริมให้ นักเรียน นักศึกษา 6. นักเรียน นักศึกษาบางคนมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่น เบอร์โทรศัพท์ตนเอง หรือผู้ปกครอง ท าให้ไม่สามารถติดตามดูแลช่วยเหลือผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่อง 7. ควรมีการจัดท าแผนพัฒนาตนเองและเข้าร่วมพัฒนาวิชาชีพให้ครบทุกคนในสถานศึกษา 8. ควรมีเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลประจ าเพื่อการศึกษาในการดูแลของวิทยาลัย และการพัฒนา ICT เพื่อการศึกษายังไม่ได้รับการส่งเสริมอย่างเป็นระบบ 9. พัฒนา ปรับปรุง จุดให้บริหารเข้าถึงสัญญาณฯ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุม ทุกพื้นที่ 10. พัฒนาบุคลกร ทั้งผู้ใช้งาน และผู้จัดการข้อมูลสารสนเทศ 11. ผู้บริหาร ควรให้ความส าคัญในการน าระบบต่าง ๆ มาใช้งานให้มากขึ้น 12. การประชาสัมพันธ์จากครูผู้สอนผู้บริหารสถานศึกษา 13. ควรมีอุปกรณ์เทคโนโลยีที่ใช้ในการค้นคว้าที่ดี ทันสมัย เหมาะสม และเพียงพอต่อความ ต้องการของนักเรียน นักศึกษา 14. เพิ่มประสิทธิภาพระบบภายในเชื่อมโยงระหว่างอาคารต่าง ๆ กับศูนย์ควบคุม 15. เพิ่มจุดให้บริการเครือข่ายไร้สายให้ครอบคลุมพื้นที่ที่ใช้งาน ด้วยระบบที่ควบคุมจากส่วนกลางได้ 16. พัฒนาครูฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ตามหลักสูตร 17. พัฒนาครูฝึกในสถานประกอบการ ตามหลักสูตร


69 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. สถานศึกษาควรมีการส่งเสริม สนับสนุน ก ากับ ติดตามให้สาขางานมีการพัฒนาหลักสูตร สมรรถนะอย่างเป็นระบบ 2. ควรมีการพัฒนาปรับปรุงวิชาอย่างต่อเนื่อง และควรมีการจัดประชุมแต่ละแผนกวิชาเกี่ยวกับ เรื่องการจัดท าเอกสารเกี่ยวกับเรื่องการจัดท าเอกสารเกี่ยวกับขั้นตอนตาม PDCA 3. ครูผู้สอนควรจัดแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ จริงเหมาะสมกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน สามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันหรือ เป็นอีกทางเลือกให้นักเรียนได้รู้จักความสามารถและความถนัดของตนเองไปใช้ประกอบอาชีพได้ในอนาคต สร้างรายได้ให้กับตนเองและน าความรู้ไปใช้ประโยชน์สูงสุด 4. วิทยาลัยเทคนิคเลย ควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกคนจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่ปฏิบัติที่เน้น ผู้เรียนเป็นส าคัญและน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชา 5. ครูผู้สอนควรจัดกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายให้ผู้เรียนปฏิบัติจริงเหมาะสมกับความสามารถ หรือความถนัดของนัดเรียน นักศึกษาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ในอนาคต เพื่อสร้างรายได้ให้ตนเองและ ครอบครัวต่อไป 6. ครูผู้สอน หรือครูที่ปรึกษาควรติดตาม นักเรียน นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง 7. กระตุ้นหรือแรงบันดาลใจให้บุคลากรในสถานศึกษาเข้ารับการพัฒนาวิชาชีพ 8. แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการรับผิดชอบด้าน ICT พร้อมเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลประจ า เพื่อพัฒนา ICT รวมถึงการใช้บริการได้รวดเร็วเป็นระบบและดียิ่งขึ้น 9. ระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีใช้งาน ในระบบงานต่าง ๆ ควรได้รับการพัฒนาให้เป็นระบบงาน เดียวกันใช้ฐานข้อมูลร่วมกันได้ เพื่อลกเวลาการน าเข้าข้อมูล และลดเวลาการประมวลผล 10. ครูผู้สอนควรน าน านักเรียน นักศึกษา มาศึกษาค้นคว้าข้อมูลและการใช้บริการในศูนย์ วิทยบริการ โดยมีบรรณรักษ์ และเจ้าหน้าที่ห้องอินเทอร์เน็ตคอยให้ค าแนะน าและช่วยเหลือ 11. ครูฝึกให้นักเรียน นักศึกษา ค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเอง 12. ทางสถานศึกษาควรจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ในการค้นคว้าที่ทันสมัย เหมาะสม และเพียงพอต่อ ความต้องการของนักเรียน นักศึกษา 13. จัดสรรงบประมาณในการพัฒนาระบบ การซ่อมบ ารุง ให้สามารถท าได้อย่างง่ายและรวดเร็ว


70 4.3 มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4.3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการ พัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามรายการ ประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ 1)ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 1. การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม เชิงปริมาณ 1. วิทยาลัยเทคนิคเลย มีการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา และมีการประกันคุณภาพ ในสถานศึกษาซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารสถานศึกษาที่ด าเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีการ ก าหนด จัดท าและจัดส่งรายงาน การประเมินให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน ที่ก ากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจ าทุกปีการศึกษา 2. ผู้บริการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการการจัดท า แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2565-2569) และ แผนปฏิบัติราชการประจ าปี 2565 จ านวน 220 คน 3. มีการประชุมครู และบุคลากรทางการศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเลย จ านวน 2 ครั้ง 4. มีการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเลย จ านวน 6 ครั้ง 5. มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ใช้งาน จ านวน 11 ระบบ ประกอบด้วย 1. เว็บไซต์ (www.loeitech.ac.th) 2. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (AMS-e-Office) 3. ระบบข้อมูลศูนย์ก าลังคนอาชีวศึกษา 4. ระบบ ศธ.02 ออนไลน์ 5. ระบบซอฟต์แวร์บริหารจัดการด้านการอาชีวศึกษา (EnlightSoft EDR) ประกอบไปด้วย ระบบงานวัดผล ระบบงานทะเบียน ระบบงานกิจกรรม ระบบงานปกครอง ระบบงานครูที่ปรึกษา ระบบงานสารบรรณ ระบบประเมิน ครูผู้สอน 6. e-Learning เพื่อพัฒนาอาชีพ ตามพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 7. e-Learning วิทยาลัยเทคนิคเลย 8. ระบบห้องสมุดดิจิตตอล 9. e-Mail ของสถานศึกษา ([email protected]) 10. Facebook ของสถานศึกษา 11. แอพพลิเคชั่น Line ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร เชิงคุณภาพ 1. ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ในสถานศึกษา สถานประกอบการ และหน่วยงาน ภายนอก ส านักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กร มหาชน) ในการด าเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในรายละเอียดการจัดแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ


71 สถานศึกษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2565-2569) และแผนปฏิบัติราชการประจ าปี การศึกษา 2565 ร่วมกันในการบริหารจัดการสถานศึกษา 3. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเลย ตาม เกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ผลการประเมิน คุณภาพระดับสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 4. การน าระบบสารสนเทศ ทั้งผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถ น าไปใช้ประโยชน์ได้ในระดับปานกลาง ผลสะท้อน 1. สถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งเป็น บุคคลภายนอก และได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภายนอก และสถานประกอบการในการบริหารสถานศึกษา 2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษาและร่วมกันจัดท าร่างแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2565-2569) และแผนปฏิบัติราชการ ประจ าปีการศึกษา 2565 ให้คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาพิจารณา เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนา การบริหารจัดการ การเรียน การสอน การจัดกิจกรรม และการปฏิบัติราชการของวิทยาลัยให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และบูรณาการได้อย่างเป็น รูปธรรม 3. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการบริหาร สถานศึกษาในการบริหาร จัดการสถานศึกษา มีการใช้นวัตกรรมในการบริหาร จัดการสถานศึกษา 4. การน าระบบสารสนเทศ มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสาร ท าให้ลดเวลา ในการท างาน ลดปัญหาในการสืบค้นและการจัดเก็บได้ดี 2. การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน เชิงปริมาณ 1. สถานศึกษาแผนงาน โครงการในระดมทรัพยากรที่หลากหลายในการจัดการ อาชีวศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2. สถานศึกษามีประเมินผลการด าเนินงานตามแผนงาน โครงการในการะดม ทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง เชิงคุณภาพ การบริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นการจูงใจให้ผู้มีส่วนร่วมปฏิบัติงานองค์กรได้มีส่วน ร่วมในการตัดสินใจร่วมรับผิดชอบและร่วมมือในการพัฒนาองค์กรที่ปฏิบัติอยู่ด้วย ความเต็มใจ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติขององค์การท าให้เกิดผลดีกับสถานศึกษา ผู้ส าเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถทางด้านวิชาการวิชาชีพ และทันต่อ เทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาองค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากร เพื่อการจัดการเรียนการสอนและ มีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อพัฒนา ศักยภาพครูและครูฝึกในสถานประกอบการ


72 2. การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน ผลสะท้อน การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอนมีความร่วมมือกัน ทั้งภายใน องค์กรและหน่วยงานภายนอก ท าให้มีการพัฒนาศักยภาพนักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา 3. การบริการชุมชนและจิตอาสา เชิงปริมาณ จัดกิจกรรมในการบริการและจิตอาสา มีทั้งหมด 5 กิจกรรม เชิงคุณภาพ 1. นักเรียน นักศึกษา ได้ฝึกการเป็นผู้มีจิตอาสา และช่วยเหลือประชาชน 2. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรได้ช่วยเหลือชุมชน ผลสะท้อน หน่วยงาน องค์กรท้องถิ่นและประชาชนทั่วไป ให้การสนับสนุนและให้ความ ร่วมมือเป็นอย่างดี


73 4.3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการ พัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ตามรายการ ประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้ 1)ผลสัมฤทธิ์ ประเด็นที่3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์งานสร้างสรรค์งานวิจัย 1. ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย เชิงปริมาณ วิทยาลัยเทคนิคเลย ได้มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนจัดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่น ใหม่ จ านวน 8 ผลงาน เชิงคุณภาพ ผู้เรียนมีทักษะและประสบการณ์ในการจัดท าและการเข้าร่วมประกวดในระดับ ต่าง ๆ และยังสามารถใช้ความรู้ที่เรียนมา มาประยุกต์ใช้สร้างสรรค์ผลงานที่จัดท า ขึ้น ผลสะท้อน 1. ผู้เรียนสามารถท างานร่วมกันได้มีการพัฒนาต่อยอดผลงานสิ่งประดิษฐ์ 2. สามารถช่วยเหลือชุมชนในการแก้ปัญหาได้อย่างยั่งยืน 2) จุดเด่น 1. สถานศึกษาด าเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาตามนโยบายส าคัญ ที่หน่วยงานก ากับดูแล สถานศึกษามอบหมายโดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียน รวมทั้งการ ช่วยเหลือส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และเอกชน 2. การจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2565-2569) และ แผนปฏิบัติราชการประจ าปี 2565 งานวางแผนและงบประมาณ ได้มีการประชุมหัวหน้าแผนกวิชา หัวหน้า งานต่าง ๆ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อน าเสนอแผนงาน/โครงการและครุภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการประกันคุณภาพทั้ง สอศ.และสมศ. จึงท าร่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและ แผนปฏิบัติราชการให้คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาพิจารณา เพื่อใช้เป็นแนวทางการทางในการพัฒนา การบริหารจัดการ การเรียน การสอน การจัดกิจกรรม และการปฏิบัติราชการของวิทยาลัยให้เกิดผล สัมฤทธิ์และบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรมจัดท าเป็นรูปเล่ม เพื่อเผยแพร่ 3. ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษา มีส่วนร่วมในการก าหนดมาตรฐานทางการศึกษา จัดท า แผนพัฒนาการจัดการศึกษาและปฏิบัติราชการประจ าปี โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษา 4. มีระบบพื้นฐานรองรับการพัฒนาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 5. ประสานงานความร่วมมือและด าเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา ประสานงานความ ร่วมมือให้ความช่วยเหลือในการร่วมลงทุนเพื่อการศึกษา ประสานงานให้ความร่วมมือต่าง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษาจัดท าปฏิทินการปฏิบัติงานเสนอโครงการและรายงานการปฏิบัติ ดูแล บ ารุงรักษาและ รับผิดชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาที่ได้รับมอบหมาย มีสภาพทางสังคม และสิ่งแวดรอบ ตัวผู้เรียนที่ เอื้ออ านวยต่อการเรียนอย่างเหมาะสมมีความพร้อมในด้านวิชาการและด้านเทคโนโลยีใฝ่เรียนรู้ในสิ่งใหม่ ๆ 6. นักเรียน นักศึกษา ได้พัฒนาเพิ่มทักษะทางด้านวิชาชีพ 7. ประชาชนที่เข้ารับบริหารมีทัศนคติที่ดีต่อสถานศึกษา 8. วิทยาลัยเทคนิคเลยได้รับการชื่นชมในการช่วยแก้ปัญหาให้แก่ชุมชน


74 9. ผู้ปกครองมีความไว้วางใจที่จะส่งบุตรหลานมาเรียนกับวิทยาลัยเทคนิคเลย นอกจากนั้นยังได้ท า รูปเล่มเพื่อประกอบการท าสิ่งประดิษฐ์ ลักษณะเนื้อหาจะต้องมีเอกสารประกอบแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (งานวิจัย 5 บท) และที่ส าคัญจะมีคู่มือประกอบด้วย จะท าให้โครงการ/สิ่งประดิษฐ์มีความสมบูรณ์มาก ยิ่งขึ้น 3) จุดที่ควรพัฒนา 1. การจัดท าแผน/โครงการที่ท านอกแผนงบประมาณประจ าปี จะต้องมีการปรับแผนงบประมาณ ประจ าปี จะต้องมีการปรับแผนอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้น แผนกวิชาและงานต่าง ๆ ควรจะเสนอให้แล้วเสร็จก่อน จะท ารูปเล่มแผนปฏิบัติการประจ าปี เพื่อไม่ให้กระทบกับงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรแล้ว 2. งบประมาณไม่เพียงพอในการพัฒนาตามแผนพัฒนาสถานศึกษา 3. พัฒนา ปรับปรุง จุดให้บริการเข้าถึงสัญญาณ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 4. พัฒนาบุคลกร ทั้งผู้ใช้งาน และผู้จัดการข้อมูลสารสนเทศ 5. ผู้บริหาร ควรให้ความส าคัญในระบบต่าง ๆ มาใช้งานให้มากขึ้น 6. การจัดให้ครูพิเศษ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ครูผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิในสถานประกอบการทั้งใน ประเทศและต่างประเทศร่วมพัฒนาผู้เรียน 7. การประชาสัมพันธ์ถึงกลุ่มประชาชนที่รับบริการยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร 8. ผู้เรียนยังขาดทักษะในการน าเสนอผลงาน ทั้งด้านภาษาและบุคลิกภาพ 9. จ านวนนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ งานวิจัยโครงการ บางสาขาแผนกวิชายังมีจ านวนน้อย จะต้อง เสริมแรง/ความรู้โดยการบูรณาการ แบบข้ามวิชา แบบสอดแทรก เป็นต้น เพื่อให้มีจ านวนสิ่งประดิษฐ์ มีจ านวนเพิ่มขึ้น และนักเรียน นักศึกษา จะได้บูรณาการในรายวิชาต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ต่อไป 10. ส่งเสริมให้อบรม สัมมนา และศึกษาดูงานเกี่ยวกับนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์งานวิจัยและโครงการ ให้มีจ านวนเพิ่มขึ้น 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. การด าเนินโครงการนอกแผนปฏิบัติราชการประจ าปี ควรพิจารณาด าเนินการเฉพาะโครงการที่ ไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจ าปีที่ก าหนดไว้และต้องมีการวางแผนช่วง ระยะเวลาการจัดโครงการ เพื่อให้สามารถ จัดโครงการได้ 2. ควรมีการจัดท าแผนพัฒนาตามล าดับความส าคัญ 3. ระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีใช้งาน ในระบบต่าง ๆ ควรได้รับการพัฒนาให้เป็นระบบงานเดียวกัน ใช้ฐานข้อมูลร่วมกันได้ เพื่อลดเวลาการน าเข้าข้อมูล ลดเวลาการประมวลผล 4. ส่งเสริมให้เกิดเป็นระบบความร่วมมือในการปฏิบัติงาน 5. ควรมีการพัฒนาด้านประชาสัมพันธ์ 6. ควรเพิ่มงบประมาณในการจัดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์หรืองานวิจัย


ส่วนที่ 5 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ให้สถานศึกษารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน การอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 จ านวน 3 มาตรฐาน ตามระดับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้ 5.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 1 ในแต่ละประเด็นการ ประเมิน ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านความรู้ ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 1.1 ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 20 5 100 ผลรวมคะแนนที่ได้ 100 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 1 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 100 100.00 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านความรู้ ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


76 ประเด็นการประเมินที่ 2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 2.1 ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการหรือ การประกอบอาชีพอิสระ 3 3 9 2.2 ผลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ 2 4 8 ผลรวมคะแนนที่ได้ 17 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 25 68.00 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


77 ประเด็นการประเมินที่ 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 3.1 การดูแลและแนะแนวผู้เรียน 2 2 4 3.2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2 5 10 3.3 การมีงานท าและศึกษาต่อของผู้ส าเร็จการศึกษา 15 5 75 ผลรวมคะแนนที่ได้ 89 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 3 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 95 93.68 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


78 5.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา ตารางที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 2 ในแต่ละประเด็นการ ประเมิน ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 1.1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็น ระบบ 2 5 10 1.2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หรือปรับปรุง รายวิชา หรือปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือก าหนด รายวิชาเพิ่มเติม 3 1 3 ผลรวมคะแนนที่ได้ 13 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 1 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 25 52.00 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


79 ประเด็นการประเมินที่ 2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ 2 5 10 2.2 การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติที่ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และน าไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน 3 5 15 2.3 การจัดการเรียนการสอน 5 5 25 2.4 การบริหารจัดการชั้นเรียน 3 5 15 2.5 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ 2 5 10 2.6 การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการ จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน 2 1 2 ผลรวมคะแนนที่ได้ 77 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 85 90.59 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 2 ด้านการจัดการเรียนการสอน อาชีวศึกษา ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


80 ประเด็นการประเมินที่ 3 ด้านการบริหารจัดการ ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 3.1 การบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อ การบริหารจัดการสถานศึกษา 5 5 25 3.2 อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรง ฝึกงาน หรืองานฟาร์ม 2 5 10 3.3 ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน 2 5 10 3.4 แหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการ 2 5 10 3.5 ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการใช้งาน ด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา 2 5 10 ผลรวมคะแนนที่ได้ 65 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 3 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 65 100.00 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 3 ด้านการบริหารจัดการ ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


81 ประเด็นการประเมินที่ 4 ด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติ ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 4.1 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 6 5 30 ผลรวมคะแนนที่ได้ 30 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 4 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 30 100.00 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 4 ด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติ ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


82 5.3 มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตารางที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานที่ 3 ในแต่ละประเด็นการ ประเมิน ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อการประเมิน ค่าน าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน าหนักxค่าคะแนน) 1.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม 5 5 25 1.2 การระดมทรัพยากรเพื่อการจัดการเรียนการ สอน 2 5 10 1.3 การบริการชุมชนและจิตอาสา 2 5 10 ผลรวมคะแนนที่ได้ 45 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 1 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 45 100.00 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


83 ประเด็นการประเมินที่ 2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ข้อการประเมิน ค่าน้ าหนัก ค่าคะแนน คะแนนที่ได้ (ค่าน้ าหนักxค่าคะแนน) 2.1 ผลงานของผู้เรียนด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย 3 4 12 ผลรวมคะแนนที่ได้ 12 ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 15 80.00 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินที่ 2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ งานวิจัย ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


84 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 ร้อยละ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ 93.64 ประเด็นที่ 1.1 ด้านความรู้ 100 ประเด็นที่ 1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ 68 ประเด็นที่ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 93.68 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา 90.24 ประเด็นที่ 2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา 52 ประเด็นที่ 2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 90.59 ประเด็นที่ 2.3 ด้านการบริหารจัดการ 100 ประเด็นที่ 2.4 ด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติ 100 มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 95 ประเด็นที่ 3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 100 ประเด็นที่ 3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย 80 สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 92.37 ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99) ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) ก าลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)


ส่วนที่ 6 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามบริบทของสถานศึกษาที่ ก าหนดเพิ่มเติม สถานศึกษารายงานการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาที่ก าหนดเพิ่มเติม ในแต่ละมาตรฐานและประเด็นการประเมิน ดังนี้ -


ส่วนที่ 7 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ให้สถานศึกษาน าผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มาศึกษา วิเคราะห์เพื่อก าหนดแผนพัฒนายกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้เพิ่มขึ้น โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้อยู่ในระดับคุณภาพ “ยอดเยี่ยม” รายละเอียดดังนี้ มาตรฐานและประเด็นการประเมิน แผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา(แผนงาน โครงการ กิจกรรม) มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์ 1.1 ด้านความรู้ 1. โครงการทดสอบฝีมือมาตรฐานวิชาชีพ 2. โครงการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา V-NET และ PV-NET 3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพร่วมกับองค์กร ภายนอกและประชาคมเครือข่าย 4. โครงการสอนติวเตอร์(Tutor) เพื่อเตรียมความพร้อมก่อน การสอบจริง(V-NET) 5. โครงการวิเคราะห์ข้อสอบ/จัดท าธนาคารข้อสอบ 6. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกฝึกอาชีพ 7. โครงการสัมมนาการฝึกอาชีพ 8. โครงการนิเทศฝึกอาชีพภาคฤดูร้อน 9. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาสามัญ 10. โครงการ English Speaking Day 11. โครงการASEAN Day 12. โครงการจ้างครูต่างประเทศ 13. โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาเพื่อการประกอบอาชีพ หรือศึกษาต่อให้กับนักเรียน นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2 14. โครงการ English Day Camp ให้กับนักเรียน นักศึกษา 15. โครงการติวความรู้ภาษาอังกฤษก่อนสอบV-NET ให้กับ นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2 16. โครงการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนระบบทวิศึกษา 17. โครงการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนระบบทวิภาคี 18. โครงการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี 1.2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้ 1. โครงการส่งเสริมสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา (อินเตอร์เน็ต) 2. โครงการส่งเสริมห้องเรียนพิเศษด้านวิชาการ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ 1. โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชีวศึกษา ผ่านระบบ ออนไลน์ (SMS)


87 2. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (ป.ตรี) 3. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปัจฉิมนิเทศของสถาน ประกอบการ (ป.ตรี) 4. โครงการปัจฉิมนิเทศ มอบใบประกาศนียบัตรและอ าลาพระ วิษณุกรรม 5. โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 6. โครงการส่งเสริมดนตรี กีฬา นันทนาการ 7. โครงการอบรมจริยธรรมน าชีวิต (นักเรียน ระดับ ปวช.๒) 8. โครงการมอบประกาศนียบัตรสอบธรรมะ 9. โครงการสอบธรรมศึกษาชั้นนักธรรมตรี 10. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม(ป.ตรี) 11. โครงการเข้าค่ายปฐมนิเทศนักเรียนนักศึกษาใหม่ 12. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาสามัญ 13. โครงการฝึกอบรมผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ต ารวจงานจราจร 14. โครงการค่ายอาสาสามัญสัมพันธ์ มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา 2.1 ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา 1. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาสามัญ 2. โครงการทดสอบฝีมือมาตรฐานวิชาชีพ 3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพร่วมกับองค์กร ภายนอกและประชาคมเครือข่าย 4. โครงการเสริมทักษะทางคณิตศาสตร์ 5. โครงการปรับพื้นฐานก่อนเรียนของนักศึกษา ป.ตรี ปี 1 6. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรและการ เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะอาชีพตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. โครงการวิจัยรูปแบบการจัดการเรียนการสอน อาชีพ STEM Education การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ 2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 1. โครงการจ้างครูหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ 2. โครงการจัดซื้อสื่อการเรียนรู้หนังสืออ่านประกอบการเรียน การสอน 3. โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์เฉพาะสาขาร่วม ในการสอบมาตรฐานวิชาชีพ 4. โครงการ English Speaking Day 2.3 ด้านการบริหารจัดการ 1. โครงการทดสอบฝีมือมาตรฐานวิชาชีพ 2. โครงการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา V-NET และ PV-NET 3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพร่วมกับองค์กร ภายนอกและประชาคมเครือข่าย


88 4. โครงการสอนติวเตอร์(Tutor) เพื่อเตรียมความพร้อมก่อน การสอบจริง(V-NET) 5. โครงการวิเคราะห์ข้อสอบ/จัดท าธนาคารข้อสอบ 6. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกฝึกอาชีพ 7. โครงการสัมมนาการฝึกอาชีพ 8. โครงการนิเทศฝึกอาชีพภาคฤดูร้อน 9. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาสามัญ 10. โครงการ English Speaking Day 11. โครงการASEAN Day 12. โครงการจ้างครูต่างประเทศ 13. โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาเพื่อการประกอบอาชีพ หรือศึกษาต่อได้กับนักเรียน นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2 14. โครงการ English Day Camp ได้กับนักเรียน นักศึกษา 15. โครงการติวความรู้ภาษาอังกฤษก่อนสอบV-NET ให้กับ นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2 16. โครงการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนระบบทวิศึกษา 17. โครงการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนระบบทวิภาคี 18. โครงการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี 19. โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชีวศึกษา ผ่านระบบ ออนไลน์ (SMS) 20. โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (ป.ตรี) 21. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปัจฉิมนิเทศของสถาน ประกอบการ (ป.ตรี) 22. โครงการปัจฉิมนิเทศ มอบใบประกาศนียบัตรและอ าลา พระวิษณุกรรม 23. โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 24. โครงการส่งเสริมดนตรี กีฬา นันทนาการ 25. โครงการอบรมจริยธรรมน าชีวิต (นักเรียน ระดับ ปวช.) 26. โครงการมอบประกาศนียบัตรสอบธรรมะ 27. โครงการสอบธรรมศึกษาชั้นนักธรรมตรี 28. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม (ป.ตรี) 29. โครงการเข้าค่ายปฐมนิเทศนักเรียนนักศึกษาใหม่ 30. โ ค รง ก า ร ส่ง เ ส ริ ม ส วั ส ดิ ก า ร นั ก เ รี ย น นั ก ศึ กษ า (อินเทอร์เน็ต) 31. โครงการส่งเสริมห้องเรียนพิเศษด้านวิชาการ 32. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างชุมชน (Fix it center) 33. โครงการอาชีวะอาสา 34. โครงการสอนหลักสูตรระยะสั้น


89 35. โครงการพระราชด าริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 36. โครงการช่วยเหลือประชาชน จากภัยพิบัติธรรมชาติฯ 37. โ ค รง ก า ร ส่ง เ ส ริ มพัฒ น า ศั ก ยภ าพ ศูน ย์บ่ ม เพ า ะ ผู้ประกอบการอาชีวศึกษา 38. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างชุมชน (Fix it center) 39. โครงการอาชีวะอาสา 40. โครงการสอนหลักสูตรระยะสั้น 41. โครงการพระราชด าริฯ สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ 42. โครงการช่วยเหลือประชาชน จากภัยพิบัติธรรมชาติฯ 43. โครงการประกวดสื่อนวัตกรรม งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ของ คนรุ่นใหม่และโครงงาน 44. โค รงก า รป ร ะก วดโค รงง าน วิทย าศ า สต ร์สม าคม วิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดเลย 45. โค รงก า รป ร ะก วดโค รงง าน วิทย าศ า สต ร์สม าคม วิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่ ระดับอาชีวศึกษาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 46. โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับ ปวช. และ ปวส. 47. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาสามัญ 48. โครงการเสริมทักษะทางคณิตศาสตร์ 49. โครงการปรับพื้นฐานก่อนเรียนของนักศึกษา ป.ตรี ปี 1 50. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรและการ เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะอาชีพตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 51. โครงการวิจัยรูปแบบการจัดการเรียนการสอน อาชีพ STEM Education การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ 52. โครงการจ้างครูหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ 53. โครงการจัดซื้อสื่อการเรียนรู้หนังสืออ่านประกอบการเรียน การสอน 54. โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์เฉพาะสาขาร่วม ในการสอบมาตรฐานวิชาชีพ 55. โครงการ English Speaking Day 56. โครงการฝึกอบรมผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ต ารวจงานจราจร 57. โครงการค่ายอาสาสามัญสัมพันธ์ 58. โครงการมอบประกาศนียบัตรสอบธรรมะ 59. โครงการสอบธรรมศึกษาชั้นนักธรรมตรี 60. โครงการอยู่ค่ายพักแรมและเดินทางไกลลูกเสือ(กิจกรรม ลูกเสือ)


90 61. โครงการตรวจสุขภาพประจ าปีสุขภาพดีมีความสุข และ ป้องกันปราบปรามสารเสพติดในสถานศึกษา 62. โครงการตรวจเยี่ยมหอพักด้วยความรักศิษย์ 63. โครงการตรวจสารเสพติดนักเรียน นักศึกษา 64. โครงการเยี่ยมบ้านนักเรียนนักศึกษาที่มีปัญหาด้านการเรียน 65. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการ ช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาในการปรับปรุงพฤติกรรม เบี่ยงเบนโดยกระบวนการให้ค าปรึกษา 66. โครงการสานสัมพันธ์ของนักศึกษา ป.ตรี วิทยาลัยเทคนิคเลย 67. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการวัดผล และประเมินผลผู้เรียนแบบอิงฐานสมรรถนะ 68. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการ ช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาในการปรับปรุงพฤติกรรม เบี่ยงเบนโดยกระบวนการให้ค าปรึกษา 69. โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาสถานศึกษา ตามแนวทางนโยบายส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 70. โครงการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี 2561 ตามแนวทาง นโยบายส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายใต้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 71. โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการเรียน การสอนวิทยาลัยเทคนิคและวิชาชีพแบบประสม สปป.ลาว 72. โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาให้กับเจ้าหน้าที่งานและ บุคลากรของ วท.เลย 73. โครงการพัฒนาศักยภาพทางภาษาให้กับครูผู้สอนแผนก ต่าง ๆ ของ วิทยาลัยเทคนิคเลย 74. โ ค รง ก า ร จั ด อ บ ร ม บุ ค ล า ก ร เ กี่ ย ว กั บง า น พั ส ดุ วิทยาลัยเทคนิคเลย 75. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการวัดผลและ ประเมินผลผู้เรียนแบบอิงฐานสมรรถนะ 2. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการ ช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาในการปรับปรุงพฤติกรรม เบี่ยงเบนโดยกระบวนการให้ค าปรึกษา 3. โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาสถานศึกษาตาม แนวทางนโยบายส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


91 4. โครงการจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปี 2561 ตามแนวทาง นโยบายส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายใต้หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. โครงการฝึกอบรมผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ต ารวจงานจราจร 6. โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการเรียนการ สอนวิทยาลัยเทคนิคและวิชาชีพแบบประสม สปป.ลาว 7. โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาให้กับเจ้าหน้าที่งานและ บุคลากรของวิทยาลัยเทคนิคเลย 8. โครงการพัฒนาศักยภาพทางภาษาให้กับกับครูผู้สอนแผนก ต่าง ๆ ของวิทยาลัยเทคนิคเลย 9. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรและการ เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะอาชีพตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 10. โครงการวิจัยรูปแบบการจัดการเรียนการสอน อาชีพ STEM Education การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ 11. โ ค รง ก า ร จั ด อ บ ร ม บุ ค ล า ก ร เ กี่ ย ว กั บง า น พั ส ดุ วิทยาลัยเทคนิคเลย 12. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ 1. โครงการส่งเสริมการจัดกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา 2. โครงการส่งเสริมดนตรี กีฬา นันทนาการ 3. โครงการอยู่ค่ายพักแรมและเดินทางไกลลูกเสือ (กิจกรรม ลูกเสือ) 4. โครงการตรวจสุขภาพประจ าปีสุขภาพดีมีความสุข และ ป้องกันปราบปรามสารเสพติดในสถานศึกษา 5. โครงการตรวจเยี่ยมหอพักด้วยความรักศิษย์ 6. โครงการตรวจสารเสพติดนักเรียน นักศึกษา 7. โครงการเยี่ยมบ้านนักเรียนนักศึกษาที่มีปัญหาด้านการเรียน 8. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการ ช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาในการปรับปรุงพฤติกรรม เบี่ยงเบนโดยกระบวนการให้ค าปรึกษา 9. โครงการสานสัมพันธ์ของนักศึกษา ป.ตรี วิทยาลัยเทคนิคเลย 3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งาน สร้างสรรค์ งานวิจัย 1. โครงการน าผลงานสิ่งประดิษฐ์ไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่สู่ ชุมชน 2. โครงการประกวดสื่อนวัตกรรม งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ของคน รุ่นใหม่และโครงงาน ระดับสถานศึกษา 3. โครงการประกวดสื่อนวัตกรรม งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ของคน รุ่นใหม่และโครงงาน ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด


92 4. โครงการประกวดสื่อนวัตกรรม งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ของคน รุ่นใหม่และโครงงาน ระดับอาชีวศึกษาภาค 5. โครงการประกวดสื่อนวัตกรรม งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ของคน รุ่นใหม่และโครงงาน ระดับอาชีวศึกษาชาติ 6. โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สมาคมวิทยาศาสตร์ ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดเลย 7. โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สมาคมวิทยาศาสตร์ฯ อาชีวศึกษา-เอสโซ่ ระดับอาชีวศึกษาภาตะวันออกเฉียงเหนือ 8. โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับ ปวช. และ ปวส


ภาคผนวก


94 โล่รางวัล ชนะเลิศ การแข่งขันทักษะงานเชื่อมการแข่งขันทักษะงานงานตรวจสอบ(MT,VT) ปวส.ระดับชาติ ณ วิทยาลัยเทคนิคระยอง


Click to View FlipBook Version