The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arunee19, 2019-11-14 03:47:59

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่1

รวมหน่วยการเรียนรู้ที่1

637

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1

ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ เทคโนโลยกี ับมนุษย์

รหสั วชิ า ว22103 รายวชิ า เทคโนโลยี 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 เวลา 8 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัด
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง
อย่างรวดเร็ว ใช้ความรูและทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืนๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สังคม และส่ิงแวดล้อม

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทันและมจี ริยธรรม
ตัวช้ีวัด

ว 4.1 ม.2/1 คาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีที่จะเกิดข้ึน โดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อ
การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี และวเิ คราะห์เปรยี บเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคานึงถึงผลกระทบ
ท่ีเกดิ ขึน้ ตอ่ ชีวติ สงั คม และสิ่งแวดล้อม

ว 4.2 ม.2/3 อภิปรายองค์ประกอบหลักและหลักการงานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
การส่ือสารเพ่ือประยุกตใ์ ช้งานหรอื แกป้ ัญหาเบื้องต้น

ว 4.2 ม.2/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิใน
การเผยแพร่ผลงาน

2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั โดยเลือกแนวทางปฏิบตั เิ ม่อื พบเนอ้ื หาท่ีไมเ่ หมาะสม เชน่

แจ้งรายงาน ผเู้ กี่ยวข้อง ปอ้ งกันการเข้ามาของขอ้ มูลทไี่ มเ่ หมาะสม ไมต่ อบโต้ ไม่เผยแพร่ โดยการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งมคี วามรับผิดชอบ เขา้ ใจการสร้างและแสดงสทิ ธิความเปน็ เจ้าของผลงาน การกาหนดสทิ ธิ์การ
ใชข้ ้อมูล สาเหตหุ รือปจั จัยตา่ งๆ เช่น ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ งๆ การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม
วัฒนธรรม ทาใหเ้ ทคโนโลยีมกี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา ร้เู ท่าทันเทคโนโลยแี ตล่ ะประเภทมผี ลกระทบต่อชีวติ
สังคม และส่ิงแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน จึงต้องวิเคราะห์เปรยี บเทียบข้อดขี ้อเสีย และตดั สนิ ใจเลือกใช้ให้เหมาะสม
เทคโนโลยีการสอ่ื สาร

638

3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี
2. การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
3. ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อชวี ิต สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม
4. ขอ้ ดีและข้อเสีย ของเทคโนโลยี
5. การตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยใี ห้เหมาะสม
6. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภยั
7. การสรา้ งและแสดงสิทธิความเปน็ เจ้าของผลงาน
8. กาหนดสทิ ธิ์การใชข้ ้อมลู
9. เทคโนโลยีการส่อื สาร
ทกั ษะ/กระบวนการ
1. ทักษะในการทางานรว่ มกัน
2. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
3. ทักษะการส่ือสาร
4. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
5. ทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์
เจตคติ
ตะหนักถงึ ประโยชน์ของการใชเ้ ทคโนโลยี

4. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต
2. มวี ินัย
3. ใฝเ่ รยี นรู้
4. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

639

6. การประเมนิ ผลรวบยอด
ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน
- ใบงานที่ 1.1 การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
- ใบงานที่ 1.2 สรปุ องคค์ วามรู้เรอ่ื งการเปลยี่ นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
- ใบงานที่ 2.1 รูปแบบการสื่อสาร
- ใบงานท่ี 2.2 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
- ใบงานที่ 3.1 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งสรา้ งสรรค์
- ใบงานท่ี 3.2 สรปุ องคค์ วามรู้เรอื่ งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์
- ใบงานท่ี 4.1 การสร้างและแสดงสิทธ์คิ วามเป็นเจ้าของผลงาน
- ใบงานท่ี 4.2 การกาหนดสทิ ธิ์การใช้ข้อมูล

7. เกณฑ์การประเมนิ ผลชิน้ งานหรือภาระงาน

ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

เกณฑ์การประเมินดา้ นความรู้

1. การอธบิ ายความรู้ เขียนอธิบายเร่ืองท่ี เขยี นอธิบายเร่ืองท่ี เขยี นอธบิ ายเรื่องท่ี เขียนอธบิ ายเรื่องที่
ศกึ ษา พรอ้ มให้
2. อธบิ ายการ ศึกษามาได้อยา่ ง ศกึ ษามาไดอ้ ยา่ ง ศกึ ษามาได้อย่าง เหตุผล ชี้ใหเ้ หน็
พัฒนาการของการ ความสาคัญของเรื่อง
สอ่ื สาร ชัดเจน พร้อมให้ ชดั เจน พรอ้ มให้ ชัดเจน พร้อมให้ ทศี่ กึ ษา แต่มขี ้อมูล
ที่ไมเ่ ฉพาะเจาะจง
เหตุผลท่หี นักแนน่ เหตุผลทห่ี นกั แนน่ เหตผุ ลท่ีหนักแน่น และไมส่ นบั สนนุ
ข้อสรปุ
ชีใ้ หเ้ หน็ ชี้ให้เห็น ชี้ให้เห็น

ความสาคญั ของ ความสาคญั ของ ความสาคญั ของ

เร่อื งท่ีศกึ ษา เรื่องท่ีศกึ ษา เรื่องที่ศกึ ษา

มีขอ้ มูลที่ มีข้อมูลท่ี มีขอ้ มูลที่

เฉพาะเจาะจง เฉพาะเจาะจง เฉพาะเจาะจง

สนับสนนุ ขอ้ สรุป สนับสนุนขอ้ สรุป สนบั สนนุ ข้อสรปุ

ใชภ้ าษาสื่อสารได้ ใช้ภาษาได้

เหมาะสม พดู เหมาะสม

ชัดเจน

ภาษาท่ีใช้ไม่กากวม

อธบิ ายการ อธิบายการ อธิบายการ

พฒั นาการของการ พัฒนาการของการ พัฒนาการของการ

สอื่ สารไดต้ ามลาดับ สอ่ื สารได้ตามลาดบั สื่อสารได้แตย่ ังไม่

640

ประเด็นการประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดบั คณุ ภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ครบถ้วนชดั เจน ถกู ต้อง เปน็ ลาดับ

และถูกตอ้ ง

3. การตอบคาถาม คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ คะแนนการตอบ
4. สรุปและเขยี น
แผนภาพความคิด คาถามดา้ นความรู้ได้ คาถามดา้ นความรู้ คาถามด้านความรู้ได้ คาถามดา้ นความรู้

5. การจาแนกเน้ือหา เทา่ กบั 9-10 คะแนน เทา่ กับ 7-8 คะแนน เทา่ กบั 5-6 คะแนน ตา่ กว่า 5 คะแนน

6.ทักษะในการทางาน สรุปการศึกษาและ สรปุ การศกึ ษาและ สรปุ การศกึ ษาและ สรุปการศกึ ษาและ
รว่ มกนั
สืบคน้ ได้ตรง สืบค้นไดต้ รง สบื คน้ ไดต้ รง สบื ค้นไดไ้ มต่ รง

ประเดน็ แลว้ นาสู่ ประเดน็ แล้วนาสู่ ประเดน็ การเขียน ประเดน็ การเขยี น

การเขยี นแผนภาพ การเขยี นแผนภาพ แผนภาพความคิด แผนภาพความคิดได้

ความคิดไดถ้ ูกต้อง ความคิดไดถ้ ูกตอ้ ง ไดต้ รงกับเน้อื หา ผลงานไมส่ วยงาม

ตรงเน้ือหา ผลงาน ตรงเน้ือหา ผลงานไมส่ วยงาม

สวยงาม ผลงานสวยงาม

มคี วามคิด

สร้างสรรค์

- จาแนกกลุ่ม - จาแนกกลมุ่ - จาแนกกลุ่ม - ไมจ่ าแนกกลุม่

ความคดิ ได้ชัดเจน ความคดิ ได้ชัดเจน ความคดิ ได้ ความคดิ ได้ชัดเจน

- เหน็ ภาพรวมกว้างๆ - เห็นภาพรวม - เนอ้ื หาไม่กระชับ - เน้อื หาไม่กระชบั

ของหัวข้อใหญ่ กว้างๆของหวั ข้อ สัน้ ไมไ่ ด้ใจความ ไมไ่ ดใ้ จความ

- เนอื้ หากระชบั สนั้ ใหญ่ - ขาดความสมั พันธ์ - ไมม่ ีความสัมพนั ธ์

ไดใ้ จความ - เนือ้ หากระชบั ส้ัน ของเนื้อหา ของเน้ือหา

- มคี วามสัมพันธข์ อง ไดใ้ จความ

เนอ้ื หา - มีความสมั พนั ธ์

- จับประเดน็ ได้ ของเน้ือหา

ชดั เจน

- เข้าใจง่าย

เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ

การแบ่งหนา้ ท่ี ความ การแบง่ หนา้ ท่ี ความ การแบ่งหน้าที่ การแบ่งหนา้ ท่ี ความ

รบั ผดิ ชอบชัดเจน รับผิดชอบชัดเจน ความรับผดิ ชอบ รับผิดชอบชัดเจน

ร่วมคิด ร่วมวางแผน รว่ มคดิ รว่ มวางแผน ชดั เจน รว่ มคดิ รว่ ม วางแผน รว่ มมอื

641

ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรับปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

รว่ มมอื ทางาน ร่วมมอื ทางาน วางแผน ร่วมมอื ทางาน แต่ ขาด

ช่วยเหลือ เอือ้ อาทร ช่วยเหลอื เอ้อื อาทร ทางาน ชว่ ยเหลือ ความรับผิดชอบ ไม่

ในการทางานมีความ ในการทางาน มี เออื้ อาทรในการ ตรงต่อเวลา

รับผิดชอบ ตรงต่อ ความรับผดิ ชอบ ตรง ทางาน มีความ

เวลา รบั ฟงั ความ ต่อเวลา รับฟังความ รับผิดชอบ ตรงต่อ

คดิ เหน็ ซง่ึ กันและกนั คดิ เห็นซ่งึ กันและกัน เวลา

และรว่ มภูมิใจใน

ผลงาน

7. ทกั ษะการคิด วิเคราะหข์ น้ั ตอน วเิ คราะหข์ ้นั ตอน วิเคราะห์ขั้นตอน วเิ คราะหข์ นั้ ตอน
วิเคราะห์
กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน
8. ทกั ษะการสือ่ สาร
ทเี่ ลือกได้ถูกต้อง ท่เี ลอื กไดถ้ ูกต้องแต่ ทเ่ี ลือกไดถ้ ูกต้อง ท่เี ลอื กไม่ถูกต้อง
9. ทักษะการคิดอย่าง
มวี จิ ารณญาณ และครบถว้ น ตาม ไมเ่ ป็นลาดับ บางส่วน

10. ทักษะความคิด ขั้นตอน
สร้างสรรค์
นาเสนอ อภิปราย นาเสนอ อภปิ ราย นาเสนอ อภปิ ราย นาเสนอ อภิปราย

และตอบคาถามได้ และตอบคาถามได้ และตอบคาถามได้ และตอบคาถามได้

เขา้ ใจง่าย และมี เขา้ ใจงา่ ย แตม่ วี ิธีการไม่ ไมเ่ หมาะสมกับ

วิธกี ารน่าสนใจ เหมาะสมกบั เหมาะสมกบั ลกั ษณะข้อมลู

เหมาะสมกบั ลักษณะข้อมลู ลกั ษณะข้อมลู

ลักษณะข้อมลู

วเิ คราะห์และ วเิ คราะห์และ วเิ คราะหแ์ ละ วเิ คราะหแ์ ละ

ประเมิน ประเมิน ประเมิน ประเมนิ สถานการณ์

สถานการณ์ ด้วย สถานการณ์ ดว้ ย สถานการณ์ ดว้ ย แตไ่ ม่มีหลักฐาน ใน

หลักฐานทห่ี ลาก หลกั ฐาน แลว้ ลง หลกั ฐาน แล้วลง การลงข้อสรปุ

หมาย แล้วลง ขอ้ สรปุ ได้อย่าง ข้อสรปุ ได้อยา่ ง

ขอ้ สรุปได้อย่าง สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล

สมเหตุสมผล

มีการคิดแจกแจง มกี ารคดิ แจกแจง มกี ารคดิ แจกแจง ไม่มีการคดิ แจกแจง

รายละเอยี ดของ รายละเอยี ดของ รายละเอียดของ รายละเอียดของ

วธิ กี ารแกป้ ัญหา วิธีการแก้ปัญหา วธิ กี ารแก้ปญั หา วธิ กี ารแกป้ ัญหาหรอื

642

ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรับปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

หรอื ขยายความคดิ หรือขยายความคดิ หรอื ขยายความคิด ขยายความคิด

ได้อยา่ งครบถ้วน ไดส้ มบรู ณ์ แตข่ าดความชดั เจน ไมน่ ากระบวนการ
เทคโนโลยมี าใช้ใน
และมรี ายละเอยี ดที่ และสมบูรณ์ ชีวติ ประจาวนั ได้

สมบรู ณ์ เลอื กใช้วสั ดุ ไมม่ ผี ล
กระบทตอ่
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นเจตคติ สงิ่ แวดลอ้ มมาสร้าง
ชิ้นงาน
11.เหน็ คณุ คา่ ของการ นากระบวนการ นากระบวนการ นากระบวนการ
นากระบวนการ พดู และเขยี น
เทคโนโลยีมาใช้ใน เทคโนโลยมี าใชใ้ น เทคโนโลยมี าใชใ้ น เทคโนโลยมี าใช้ใน ถา่ ยทอดความรสู้ ึก
ชวี ิตประจาวันอย่าง และทศั นะจากสารท่ี
สรา้ งสรรค์ ชีวติ ประจาวันได้ ชีวิตประจาวันได้ ชวี ิตประจาวันได้ ไดร้ ับได้ไม่
สมเหตุสมผล และ
12. ลดการใช้ อย่างถูกต้อง ตาม อย่างถูกต้องตาม บางโอกาส เลอื กรับข้อมลู
ทรัพยากรหรือเลอื กใช้
เทคโนโลยีทไี่ มม่ ี หลกั การ หลักการ
ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดลอ้ ม กระบวนการ กระบวนการ

13.ความสามารถใน เทคโนโลยีสามารถ เทคโนโลยี
การสอื่ สาร
เปน็ ตวั อยา่ งได้

เกณฑ์การประเมินด้านเจตคติ

เลือกใชว้ ัสดุ ทีม่ ี เลอื กใช้วัสดุ ท่มี ี เลอื กใช้วัสดุ ทีม่ ี

ความคมุ้ คา่ มี ความคุ้มค่า มี ความคุ้มคา่ ไมม่ ผี ล

ประโยชน์ใชส้ อย ประโยชนใ์ ช้สอย กระบทต่อ

และสามารถ ไมม่ ีผลกระบทต่อ สง่ิ แวดล้อมมาสรา้ ง

นาไปใช้ประโยชน์ สิง่ แวดล้อม มา ชิ้นงาน

ไดจ้ ริง ไม่มผี ลกระ สร้างชนิ้ งาน

บทตอ่ สง่ิ แวดล้อม

มาสร้างชนิ้ งาน

เกณฑ์การประเมนิ ด้านสมรรถนะ

พูดและเขยี น พูดและเขียน พดู และเขียน

ถ่ายทอดความรู้สึก ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ถา่ ยทอดความรสู้ กึ

และทัศนะจากสาร และทัศนะจากสาร และทัศนะจากสาร

ที่ไดร้ บั ไดอ้ ย่าง ท่ีไดร้ ับได้อย่าง ท่ีได้รับไดอ้ ยา่ ง

สมเหตุสมผล สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล

คล่องแคลว่ ชดั เจน คลอ่ งแคล่วชัดเจน คลอ่ งแคล่วชัดเจน

643

ประเด็นการประเมนิ 4 (ดมี าก) ระดบั คณุ ภาพ 1 (ปรับปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ถูกต้องตามหลัก ถกู ต้องตามหลัก และเลอื กรับข้อมูล ข่าวสารโดยใชว้ ธิ กี าร

ภาษา จนทาใหผ้ อู้ ืน่ ภาษา และเลอื กรับ ขา่ วสารโดยใช้ สอ่ื สารไดไ้ มถ่ ูกต้อง

คล้อยตามและเลือก ข้อมลู ข่าวสารโดย วธิ ีการสอื่ สารได้ ไมเ่ หมาะสม

รบั ขอ้ มูลข่าวสาร ใชว้ ิธีการสื่อสารได้ อยา่ งถูกต้อง

โดยใช้วิธกี ารสอ่ื สาร อย่างถูกต้อง เหมาะสมครบถ้วน

ได้อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสมครบถ้วน

เหมาะสมครบถ้วน อยา่ งมีจิตสานึกต่อ

อยา่ งมีจติ สานึกต่อ ตนเองและสังคม

ตนเองและสงั คม

ทุกครงั้

14.ความสามารถใน เขยี นแผนภาพ เขยี นแผนภาพ เขยี นแผนภาพ เขยี นแผนภาพ
การคดิ
ความคดิ การ ความคดิ การ ความคิดการ ความคดิ การ
15.ความสามารถใน
การแก้ปัญหา ปฏิบตั งิ านทเี่ ลอื กได้ ปฏบิ ตั ิงานที่เลือกได้ ปฏิบัติงานทเ่ี ลอื กได้ ปฏบิ ัตงิ านทเี่ ลือกไม่

16.ความสามารถใน ถูกต้อง ครบถว้ น ถกู ต้องและ ถูกต้องบางประเดน็ ถกู ต้อง
การใชท้ ักษะชวี ิต
ตามขนั้ ตอนทุก ครบถ้วน

ประเด็น

แก้ปัญหาใน แกป้ ญั หาใน แกป้ ญั หาใน ไม่สามารถแกป้ ัญหา

ระหวา่ งการ ระหว่างการ ระหว่างการ ระหว่างการ

ปฏิบตั งิ านได้ตาม ปฏิบัตงิ านไดต้ าม ปฏบิ ัติงานได้ตาม ปฏบิ ัติงานได้

สถานการณ์ เกดิ สถานการณ์ เกิด สถานการณ์

ผลดีตอ่ การ ผลดตี อ่ การ

ปฏิบตั ิงาน ได้รบั ปฏิบตั ิงาน

การยอมรับจาก

เพอ่ื นรว่ มงาน

เลอื กใชว้ สั ดุ เลอื กใช้วสั ดุ เลอื กใช้วัสดุ ไมส่ ามารถเลือกใช้

อุปกรณ์และ อปุ กรณ์และ อปุ กรณ์และ วสั ดุอปุ กรณแ์ ละ

ปฏิบตั ิงานได้ตาม ปฏิบัติงานได้ตาม ปฏบิ ัตงิ านไดต้ าม ปฏิบตั ิงานได้ตาม

กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน

ในแตล่ ะประเภท ในแตล่ ะประเภท ในแต่ละประเภท ในแต่ละประเภทของ

ของงาน ของงาน ของงานแตย่ ังมี งาน

644

ประเดน็ การประเมิน 4 (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรบั ปรุง)
3 (ดี) 2 (พอใช้)

ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ได้อยา่ งถกู ต้อง ผิดพลาด

เพือ่ นรว่ มงานให้

การยอมรับ

17.ความสามารถใน เลือกใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใช้เทคโนโลยี เลือกใชเ้ ทคโนโลยไี ด้
การใช้เทคโนโลยี
ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ใน ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ใน ไมถ่ ูกต้อง ไม่
18. ซื่อสตั ย์สุจรติ
19. การมวี ินยั หลากหลายในการ การลดข้นั ตอนเวลา การลดขั้นตอนเวลา สามารถลดขัน้ ตอน

20. การใฝ่เรยี นรู้ ลดข้ันตอนเวลา ทรพั ยากร ในการ แตใ่ ชท้ รพั ยากรใน เวลา ทรพั ยากร ใน

ทรพั ยากร ในการ ทางาน โดยไม่มี การทางาน การทางานได้

ทางาน โดยไม่มี ผลกระทบกับผูอ้ น่ื สนิ้ เปลือง

ผลกระทบกับผ้อู นื่

และเป็นแบบอยา่ ง

ทด่ี ไี ด้

เกณฑ์การประเมนิ ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

มคี วามซ่ือสตั ยต์ อ่ ความซือ่ สัตย์ต่อ ความซ่ือสัตยต์ ่อ ความซอื่ สัตยต์ ่อการ

การทางานไม่ การทางานไม่ การทางานไม่ ทางานดูผลงานของ

คดั ลอกผลงานของ คัดลอกผลงานของ คดั ลอกผลงานของ ผ้อู ื่นเป็นตวั อยา่ ง

ผูอ้ น่ื และมี ผ้อู ่ืน และมี ผอู้ ่นื

ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคดิ สรา้ งสรรค์

ทาชน้ิ งานสวยงาม

ปฏบิ ตั ิตาม ปฏิบัติตาม ปฏิบตั ิตาม ไมค่ ่อยปฏิบตั ติ าม

กฎระเบยี บ กติกา กฎระเบียบ กติกา กฎระเบยี บ กติกา กฎระเบยี บ กติกา

ของโรงเรียน ของ ของโรงเรยี น ของ ของโรงเรยี น ของ ของโรงเรยี น ของ

หอ้ งเรียน ของกลมุ่ ห้องเรียน ของกล่มุ หอ้ งเรยี น ของกลุ่ม ห้องเรยี น ของกลุ่ม

ด้วยความเต็มใจ ไม่ ไมก่ ่อกวนความ ไดเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ กอ่ กวนความราคาญ

กอ่ กวนความ ราคาญใหค้ รูและ ไมก่ ่อกวนความ ใหค้ รแู ละเพอ่ื นใน

ราคาญให้ครูและ เพอื่ นในห้องเรยี น ราคาญใหค้ รูและ ห้องเรียน

เพือ่ นในห้องเรียน เพอ่ื นในหอ้ งเรยี น เปน็ บางคร้ัง

มีความ มคี วาม มคี วาม ไม่มีความ

กระตือรือร้น กระตือรือร้น กระตือรือรน้ กระตือรอื รน้ ขาด

645

ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ )
3 (ดี) 2 (พอใช้)

อดทน เพยี ร อดทน รจู้ กั อดทน ใน ความอดทน

พยายาม แสวงหาความรจู้ าก บางคร้ัง รจู้ กั อดทน ไม่รู้จกั

มงุ่ มน่ั ร้จู กั แสวงหา แหล่งเรยี นรู้อนื่ ๆ แสวงหาความรจู้ าก แสวงหาความรู้จาก

ความรู้จากแหล่ง อยู่เสมอ ๆ แหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ แหลง่ เรยี นรู้อนื่ ๆ

เรียนรอู้ ื่นๆ อยู่

เสมอๆ

21. มงุ่ มัน่ ในการ ทางานที่ได้รับ ทางานที่ไดร้ ับ ทางานท่ีไดร้ ับ ทางานที่ได้รับ
ทางาน
มอบหมายเสร็จตาม มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายไมเ่ สร็จ

กาหนดเวลา กาหนดเวลา กาหนดเวลา ตามกาหนดเวลา

ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานไม่มีความ

ถูกต้อง ละเอียด ถูกต้อง เรยี บร้อย ถกู ต้อง แตย่ ังไม่ เรียบร้อย

ประณีต เรยี บร้อย เรยี บร้อย

เกณฑค์ ุณภาพ
คะแนน 10 -12 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดมี าก
คะแนน 7-9 หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 4-6 หมายถึง ระดับคณุ ภาพ พอใช้
คะแนน 0-3 หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ
เกณฑ์การตัดสนิ ต้ังแต่ระดับ........ดี................

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรือ่ ง เทค

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า

ขอบเขตเนอื้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้

1. สาเหตุหรือปจั จัยที่ทาใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลง ขน้ั นา

ของเทคโนโลยี 1. นักเรยี นดูสอื่ วดี ิทัศน์

2. ผลกระทบของเทคโนโลยี เทคโนโลยีเปล่ียนโลก”

3. การเลือกใชเ้ ทคโนโลยีให้เหมาะสม 2. ครูและนักเรียนรว่ มกนั

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลย
ดา้ นความรู้ ขน้ั สอน
1. ครนู านกั เรยี นร่วมกันอ
1. บอกปัจจยั ทีม่ ีผลกระทบต่อการเปล่ยี นแปลงของ คาถามดังน้ี
เทคโนโลยไี ด้
- เทคโนโลยมี คี วามสาค
2. เปรยี บเทียบข้อดีข้อเสยี ของผลกระทบของ - เทคโนโลยีมีการเปลยี่ น
เทคโนโลยไี ด้ - เทคโนโลยีมีผลกระทบ
สังคมอย่างไร
3. ตดั สนิ ใจเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม

- นกั เรยี นมีวธิ ีการเลอื ก

โดยเปดิ โอกาสให้นกั เรียนได

2. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มล

ที่ 1.1 เร่อื ง การเปลี่ยนแปล

ประมาณ 5 -10 นาที

646

อง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

คโนโลยีกบั มนษุ ย์ เวลา 2 ชัว่ โมง

า เทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2

สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้

1. ส่อื วดี ิทัศน์ เรอื่ ง สือ่ เทคโนโลยเี ปลย่ี นโลก

Disruptive Classroom “สอ่ื https://www.youtube.com/watch?v=7xQey6

UGDzM

นสนทนาเกีย่ วกับประเด็นการ 2. ใบความรู้ที่ 1 การเปลยี่ นแปลงและผลกระทบ

ยีที่ชมในวดี ิทศั น์ ของเทคโนโลยี

ภาระงาน/ช้ินงาน

อภิปรายเกยี่ วกบั เทคโนโลยโี ดยใช้ 1. ใบงานท่ี 1.1 การเปล่ียนแปลงและผลกระทบ

ของเทคโนโลยี

คญั ตอ่ ชีวิตอย่างไร 2. ใบงานท่ี 1.2 สรปุ องคค์ วามร้เู รือ่ งการ

นแปลงอย่างไร เปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

บต่อการดารงชีวติ ประจาวนั และ หมายเหตุ

สถานท่ี : ห้องคอมพิวเตอร์

กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งไรให้เหมาะสม

ด้ตอบคาถามอย่างอสิ ระ

ละ 4 คน แต่ละกลุม่ ศึกษาใบความรู้

ลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 เร่อื

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เทค

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชา

ด้านทกั ษะและกระบวนการ 3. ให้แต่ละกลุม่ ระดมคว
1. ทกั ษะในการทางานรว่ มกนั 1.1 เร่อื งการเปลยี่ นแปลงแ
2. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ นาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
3. ทักษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
4. ทักษะการสื่อสาร สารสนเทศและเทา่ ทนั ส่ือ 4. เปดิ โอกาสให้นักเรียน
ใหร้ ว่ มกันปรับปรงุ แกไ้ ขผล
ด้านคณุ ลกั ษณะ
1. ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ 5. ครูและนกั เรียนร่วมก
2. มีวินัย เปล่ียนแปลงและผลกระทบ
3. ใฝเ่ รยี นรู้ บันทึกโดยใช้ mind map (
4. มุ่งม่ันในการทางาน แล้วนักเรยี นแต่ละคนบันทึก
ขน้ั สรปุ

1. ใหน้ ักเรียนทาใบงานท

และผลกระทบของเทคโนโล

mind map (decomposi

2. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกัน

อง การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี 647
คโนโลยีกับมนษุ ย์
า เทคโนโลยี เวลา 2 ชวั่ โมง
วามคิด แลว้ ร่วมกันปฏบิ ตั ิในใบงานท่ี ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2
และผลกระทบของเทคโนโลยีและ

นสนทนาซักถามและเสนอแนะ
ลงานของตนเอง
กันอภิปรายและสรุปการ
บของเทคโนโลยี ใหต้ วั แทนกลุ่ม
(decomposition) ท่ีหนา้ กระดาน
กลงในสมุด

ที่ 1.2 จากเร่อื ง การเปลีย่ นแปลง
ลยี โดยสรปุ เป็นองค์ความรโู้ ดยใช้
ition)
นอภปิ รายสรปุ

648

การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครือ่ งมือท่ใี ช้ เกณฑ์
สงิ่ ทตี่ ้องการวัด - ใบงานที่ 1.1 - แบบประเมนิ การคิด - นกั เรียนทกุ คน
- ใบงานท่ี 1.2 วิจารณญาณ ผ่านเกณฑ์ไมต่ ่า
1. ด้านความรู้ (K) -แบบสังเกตพฤติกรรม กวา่ รอ้ ยละ 80
1. วเิ คราะห์ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการ - สังเกตพฤติกรรม -แบบประเมินการคดิ นักเรยี นทกุ คน
เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีได้ การเรยี นรู้ของ วิเคราะห์ ผา่ นเกณฑ์ไมต่ า่
2. วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อดี นักเรยี น -แบบประเมินผงั มโนทัศน์ กวา่ รอ้ ยละ 80
ข้อเสยี ของผลกระทบของ -แบบประเมนิ การทางาน
เทคโนโลยีได้ - สงั เกตพฤติกรรม กล่มุ - นกั เรยี นทุกคน
3. ตดั สนิ ใจเลือกใชเ้ ทคโนโลยีได้ ของนักเรยี น - แบบประเมินผลด้าน ผา่ นเกณฑ์ไมต่ า่
อยา่ งเหมาะสม กระบวนการเรยี นรู้เทยี บกับ กว่ารอ้ ยละ 80
2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) เกณฑ์
1. ทกั ษะในการทางานรว่ มกัน - แบบสงั เกตพฤติกรรม - นักเรียนทกุ คน
2. ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ผา่ นเกณฑ์ไม่ต่า
3. ทักษะการสอื่ สาร - แบบประเมนิ ผล กวา่ รอ้ ยละ 80
4. ทักษะการคิดอย่างมี ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ
วิจารณญาณ ประสงค์เทียบกบั เกณฑ์
5. ทกั ษะความคิดสรา้ งสรรค์
3. ด้านคุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์ (A)
1. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ
2. มวี ินยั
3. ใฝ่เรยี นรู้
4. มุ่งมนั่ ในการทางาน

649

8. บันทึกผลหลงั สอน
ผลการเรยี นรู้

............................................................................................................................. ................................................
ปญั หาและอปุ สรรค

............................................................................................................................. .............................................
ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. ..............................................
ลงชอื่ ......................................ผู้สอน
(.......................................................)

วนั ท.ี่ .....เดือน...............................พ.ศ.............

9. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย
............................................................................................................................. ..............................................

ลงช่อื ......................................ผตู้ รวจ
(.......................................................)
วนั ท.่ี .....เดือน...............................พ.ศ.............

650

ใบความรู้ที่ 1
การเปลีย่ นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
http://gg.gg/c96p1

ปัจจุบันเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีความหลากหลายมากข้ึน ในยุคที่มีสัญญาณ
อินเตอร์เน็ตครอบคลุมไปทุกพื้นที่ มนุษย์ใช้สมาร์ตโฟนสั่งงานต่างๆ ผ่านแอปพลิเคชันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
เช่น การทาธุรกรรมทางการเงินโดยใช้แอปพลิเคชันแทนการเดินทางไปทาที่ธนาคาร การติดต่อส่ือสารแบบ
วีดีโอคอล การซ้ือขายสินค้าออนไลน์ การเรียกใช้บริการแท็กซ่ีผ่านทางแอปพลิเคชันแทนการโทรนัดหมาย
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีจึงเกิดผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบ เราควรตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี
ได้อย่างเหมาะสม

สาเหตุหรอื ปจั จยั ที่ทาให้เทคโนโลยมี ีการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงอย่างต่อเนื่องจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และพัฒนาต่อยอดไปถึงอนาคต

โดยมีสาเหตุหรือปัจจัยที่ทาให้เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงมาจากความก้าวหน้าของศาสตร์ต่างๆ การ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม โดยมีจุดประสงค์เพ่ือช่วยในการแก้ปัญหาหรือสนองความ
ต้องการของมนุษย์ เพ่ิมความสามารถในการทางานของมนุษย์ การเรียนรู้สาเหตุและปัจจัยที่ส่งผลให้
เทคโนโลยเี กดิ การเปล่ยี นแปลงน้ัน ช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึน้ จากการเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยี สามารถแนวทางในการเลือกใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามสถานการณท์ ี่เกิดขนึ้

651

ผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ จากการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี
ผลกระทบดา้ นบวก
1. ด้านอุตสาหกรรมและการพาณิชยกรรม เพ่ิมขีดความสามารถในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลงทุนนอ้ ย รายได้สูง
2. เสริมสร้างความเท่าเทียมในสังคม แม้แต่ถิ่นทุรกนั ดาร ทาให้มีการกระจายโอกาสการเรยี นรู้ มีการ

ใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล (DLTV) มีคลังสื่อการศึกษาที่ทันสมัยมากข้ึน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเองได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ยังมีเวบ็ ไซต์ที่เปน็ ส่ือการเรียนการสอนมากมาย

3. ใหค้ วามบันเทิง เชน่ ดูหนัง ฟังเพลง เกม สามารถดู TV ออนไลน์ได้ และยังมีความบนั เทิงต่างๆ อีก
มากมาย

4. ทาให้มนุษย์มีเคร่ืองมือเคร่อื งใช้ท่ีทนั สมัย ทันตอ่ เหตุการณ์ในยุคปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นเครื่องมอื ด้าน
การแพทย์ การศึกษา การส่ือสาร ด้านเศรษฐกิจ ด้านอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม และด้านอื่นๆ อีก
มากมาย

5. การสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน มีการพัฒนาใช้ระบบส่ือสารโทรคมนาคม เพ่ือติดต่อสื่อสารให้
สะดวกข้ึน ได้มีการประยุกต์มาใช้กับเครื่องอานวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ควบคุมระบบเปิด/ปิด
เครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน หรือ SMART HOME หรอื ในยุคท่ีทกุ ๆ อย่างเชื่อมต่อกับอินเตอรเ์ น็ต (Internet of
Things : IoT)

6. สามารถจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม
การพยากรณอ์ ากาศ การรวบรวมและการเก็บขอ้ มลู ต่างๆ รวมไปถงึ การสร้างแบบจาลอง

7. มรี ะบบคมนาคมทีด่ ขี ึ้น สะดวก รวดเร็ว ปลอดภยั
8. สามารถใช้หนุ่ ยนต์ทางานในที่เส่ยี งภัยหรอื ทมี่ ีสารพษิ แทนมนษุ ยไ์ ด้
9. ด้านการป้องกันประเทศ มีการใช้ระบบป้องกันภัย ระบบเฝ้าระวังที่มีคอมพิวเตอร์ควบคุมการ
ทางานมอี าวธุ ยทุ โธปกรณ์ท่ที นั สมัย
ผลกระทบดา้ นลบ
1. มนษุ ย์ไม่ชอบการเปล่ียนแปลง เคยชินกับการทาอะไรท่ีเหมือนเดมิ แต่เทคโนโลยตี ่างเปลีย่ นแปลง
ไป ทาให้รบั การเปล่ียนแปลงไม่ได้ จึงเกิดความวติ กกังวล เกิดความเครียด
2. มีการแลกเปลยี่ นวัฒนธรรมของคนในสังคมโลก ทาให้พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกดา้ นการแต่งกาย และ
การบริโภคเปลี่ยนแปลงไป การมอมเมาเยาวชนในรูปของเกมอิเล็คทรอนิคส์ ส่งผลกระทบ ต่อการพัฒนา
อารมณ์และจิตใจของเยาวชน เกิดการกลนื วฒั นธรรมดั้งเดมิ ซ่งึ แสดงถึงเอกลกั ษณ์ของสังคมน้นั
3. ก่อให้เกิดผลด้านศีลธรรม บทบาทเหล่านี้มีแนวโน้มที่สาคัญมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุนี้เยาวชนคนรุ่น
ใหมจ่ ึงควรเรยี นรู้ และเข้าใจเกย่ี วกบั เทคโนโลยี เพื่อนาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์
4. การมีส่วนร่วมของคนในสังคมลดน้อยลง การใช้เทคโนโลยีทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ในการ
สื่อสารและการทางาน แต่ในอีกด้านหน่ึงการมีส่วนร่วมของกิจกรรมทางสังคมที่มีการพบปะสังสรรค์กันจะ
น้อยลง ผู้คนมักอยู่แตท่ ีบ่ า้ นหรือทีท่ างานของตนเองมากข้ึน

652

5. การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลโดยการเผยแพร่ข้อมูลหรือรูปภาพต่อสาธารณชน ซ่ึงข้อมูล
บางอย่างอาจไม่เป็นความจริงหรือยังไม่ได้พิสูจน์ความถูกต้องออกสู่สาธารณะชน ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อ
บคุ คลโดยไม่สามารถป้องกันตนเองได้ การละเมดิ สิทธสิ ่วนบคุ คล

6. เกิดช่องว่างทางสังคม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องกับการลงทุน ผู้ใช้จึงเป็นชนช้ันใน
อีกระดับหน่ึงของสังคม ในขณะท่ีชนชั้นระดับรองลงมามีจานวนมากกลับไม่มีโอกาสใช้และผู้ยากจนก็ไม่มี
โอกาสร้จู ักกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ

7. อาชญากรรมบนเครอื ข่าย ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศก่อใหเ้ กิดปญั หาใหม่ขึ้น เชน่
ปัญหาอาชญากรรม ตัวอย่างเชน่ อาชญากรรมในรูปของการขโมยความลบั การขโมยขอ้ มูลสารสนเทศ การ
ใหบ้ รกิ ารสารสนเทศทมี่ กี ารหลอกลวง รวมถึงการบอ่ นทาลายขอ้ มูลและไวรัส

8. กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาดา้ นสขุ ภาพ จากการจ้องมองคอมพวิ เตอรห์ รือสมาร์ทโฟนเปน็ เวลานาน มผี ลเสีย
ต่อสายตา ซ่ึงทาให้สายตาผิดปกติ เวียนศรี ษะ นอกจากน้ันยังมีผลต่อสุขภาพจิต เกิดโรคทางจิตประสาท
การเลือกใช้เทคโนโลยี

ในการเลือกใช้เทคโนโลยใี ห้เหมาะสมกับสถานการณ์ท่ีเกดิ ขนึ้ นั้น จะต้องคานงึ ถึงผลกระทบในหลายๆ
ดา้ นทจี่ ะเกดิ ขึน้ ดังนี้ในการเลือกใช้เทคโนโลยีจะตอ้ งคานงึ ถึงสิง่ ทจ่ี ะเกิดข้ึนต่อไปนี้

1. คานึงถึงชีวิต ในการเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมน้ัน จะต้องพิจารณาถึงความปลอดภัยของของ
ชีวิตมนุษย์ ไม่ส่งผลกระทบต่อชีวิตของมนุษย์ในด้านลบ ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ ทาให้สุขภาพร่างกายของ
มนษุ ยด์ ีขึ้น ลดคา่ ใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล

2. คานึงถึงสังคม ในการเลือกใช้เทคโนโลยใี ห้เหมาะสมนั้น จะต้องคานึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนต่อ
สังคม ทาให้เกิดความรักความสามัคคี สุขภาพจิตดีขึ้น สังคมน่าอยู่ รักษาไว้ซ่ึงประเพณีวัฒนธรรมอันดีงาม
ของสงั คม

3. คานึงถึงสิ่งแวดล้อม ในการเลือกใช้เทคโนโลยีน้ันให้เหมาะสมน้ัน จะต้องคานึงถึงผลกระทบด้าน
ส่งิ แวดลอ้ มและมลภาวะตา่ งๆ ที่จะเกิดข้นึ มลภาวะลดนอ้ ยลง เปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ทาใหภ้ าพลักษณด์ า้ น
สิ่งแวดลอ้ มของประเทศดีขนึ้
ตวั อยา่ งการเลือกใชเ้ ทคโนโลยมี าใชแ้ กป้ ญั หาให้เหมาะสมกบั สถานการณ์

เมืองแห่งความสุข เกิดปัญหาขยะส่งกลิ่นเหม็นทาให้เกิดมลพิษทางอากาศ ทั้งท่ีมีถังขยะท่ีแยกเป็น
ประเภทให้ผู้คนในชุมชนได้ทิ้งขยะแยกตามประเภทแล้วก็ตาม เมืองแห่งสุขจะมีวิธีการแก้ปัญหาขยะส่งกล่ิน
เหมน็ น้ีไดอ้ ยา่ งไร

จากสถานการณ์ข้างต้นเมืองแห่งความสุข ได้ระดมความคิดและประชุมปรึกษาหารือกัน ตามหัวข้อ
ดงั น้ี

653

- เกดิ ปญั หาอะไรในเมืองแห่งความสุข
- ปัญหานี้เกิดจากใคร
- ทาไมจงึ เกิดปัญหานี้
- ปัญหานี้เกดิ ข้นึ เม่ือใด
- ปัญหาน้เี กดิ ขึ้นที่ไหน
- เราจะแกป้ ัญหานี้ได้อยา่ งไร
จากท่ไี ด้ระดมความคดิ และปรึกษาหารือกันแล้ว ชาวเมืองแห่งความสุขได้ข้อสรุปดงั นี้
- เกิดปัญหาอะไรในเมืองแห่งความสขุ : ขยะสง่ กลนิ่ เหมน็ สร้างมลพษิ ทางอากาศ เปน็ แหลง่ แพร่เช้อื
โรค
- ปญั หานี้เกิดจากใคร : ปญั หานี้เกดิ จากทุกคนในเมือง
- ทาไมจึงเกิดปัญหานี้ : ปัญหาการทิ้งขยะท่ไี ม่เอาเศษอาหารหรอื ส่งิ ท่ยี ่อยสลายไดอ้ อกจากพลาสติก
- ปัญหานเ้ี กดิ ขึน้ เม่ือใด : ปัญหานเ้ี กดิ ขนึ้ จากการทงิ้ ขยะทุกชว่ งเวลาของทุกคนในเมือง
- ปญั หานเ้ี กดิ ขนึ้ ท่ไี หน : บริเวณจดุ ทต่ี ั้งถังขยะของเมอื งแหง่ ความสขุ
- เราจะแก้ปัญหาน้ีได้อย่างไร : วิธีการแก้ปัญหาคือจะต้องนาเศษอาหารหรือขยะเปียกออกจาก
ถุงพลาสติกก่อนท่ีจะท้ิง แล้วจะนาเศษอาหารหรือขยะเปียกนั้นมาจัดการอย่างไรจึงจะไม่ส่งกล่ินเหม็น มีผู้
เสนอแนวทางการแก้ปัญหามาหลายวิธี เช่น นาขยะเปียกที่แยกออกมาไปฝังกลบ การนาเศษอาหารหรือ
ขยะเปียกไปทาปุ๋ยหมัก จากน้ันทุกคนในเมืองก็ได้ทาการวิเคราะห์เปรียบเทียบวิธีการจัดการกับขยะเปียกท่ี
แยกออกมาดังนี้

ตารางวเิ คราะห์เปรียบเทียบข้อดขี ้อเสยี ของผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ จากการจัดการกบั ขยะเปยี ก

ลาดบั แนวทางการแกป้ ัญหา ชวี ิต ผลกระทบต่อ ส่ิงแวดล้อม
ที่ สังคม

1 ฝงั กลบขยะ -คุณภาพชีวิตดขี ้ึน -สร้างความสามัคคี -ใชพ้ น้ื ที่ในการฝงั กลบมาก

ในชุมชน -ใชเ้ วลาในการยอ่ ยสลาย

นาน

-หาสถานท่ียากเพราะไม่มี

ใครอยากใหบ้ ่อฝงั กลบขยะ

มาอยู่ใกล้บา้ นเรอื นของ

ตนเอง

-กา๊ ซมีเทนทเ่ี กดิ จากการ

ยอ่ ยสลายของขยะและน้า

ชะขยะมลู ฝอยอาจทาให้

เกิดอนั ตรายได้

ลาดับ แนวทางการแก้ปัญหา ชีวติ 654
ท่ี
ผลกระทบต่อ
สังคม สง่ิ แวดล้อม

-ถา้ ฝงั กลบไมถ่ กู ต้องจะส่ง
กลนิ่ เหม็น

2 เอาขยะเปียกไปทาปยุ๋ -คุณภาพชีวิตดขี นึ้ -สร้างความสามคั คี -ถา้ ดาเนนิ การไม่ถกู ต้องการ

หมัก ในชุมชน ยอ่ ยสลายไมส่ มบูรณ์จะเกิด

-สร้างรายได้ให้กบั กล่นิ เหม็น

ชุมชน -ใช้พน้ื ท่ใี นการทาโรงปุ๋ย

-ชุมชนมปี ุ๋ยหมักใช้ หมักน้อย

เอง -ได้ป๋ยุ หมกั ทเ่ี ปน็ มิตรกบั

ธรรมชาติ

จากการเปรียบเทียบวธิ ีการแกป้ ัญหาขยะสง่ กลิ่นเหม็นของเมอื งแห่งความสขุ ชาวเมืองร่วมกนั สรุป
แล้วเลือกวิธกี ารนาเอาขยะเปียกหรือเศษอาหารมาทาป๋ยุ หมกั เป็นวิธีการที่เหมาะสมท่สี ุดกบั สถานการณท์ ี่
เกดิ ข้นึ

655

ใบงานท่ี 1.1 การเปลีย่ นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
ใหน้ กั เรยี นระดมความคดิ กันในกลุม่ เก่ียวกบั ปัญหาที่เกิดขนึ้ ในโรงเรียนหรอื ชุมชนของนักเรยี น มา
กลุ่มละ 1 ปัญหา จากนั้นให้นามาทาลงในกระดาษบรุ๊ฟ นาเสนอหน้าช้ันเรียน ตามหัวข้อที่กาหนด ดังน้ี
1. ปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ คอื อะไร
2. จะนาเทคโนโลยีมาแก้ไขปัญหานอ้ี ยา่ งไร
3. ใหว้ ิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บข้อดขี ้อเสยี ของเทคโนโลยที จ่ี ะนามาใชใ้ นการแกป้ ัญหา
4. นกั เรียนจะเลอื กใช้เทคโนโลยชี นิดใดใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ทเี่ กดิ ขึ้น

656

ใบงานท่ี 1.2 เร่อื งการเปล่ยี นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
ให้นักเรียนสรุปเป็นองค์ความรู้โดยใช้ mind map (decomposition) จากงานกลุ่มท่ีทาใน
กระดาษบรฟุ๊ ในใบงานท่ี 1.1

657

แบบบันทกึ การประเมนิ ผู้เรยี น ดา้ นความรู้

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง เทคโนโลยกี บั มนุษย์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2

รายการประเมนิ

วิเคราะห์ปัจจัยที่มี วเิ คราะห์ ตดั สินใจเลอื กใช้

เลขที่ ชือ่ -สกลุ ผลต่อการ เปรยี บเทยี บข้อดี เทคโนโลยีได้อย่าง

เปลย่ี นแปลงของ ขอ้ เสียของ เหมาะสม

เทคโนโลยีได้ ผลกระทบของ

เทคโนโลยีได้

1

2

3

4

5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผ้ปู ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู สู้ อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง

*เกณฑ์การผา่ น ระดบั 2 ขนึ้ ไป

658

แบบบันทกึ การประเมินผเู้ รยี น ดา้ นทักษะและกระบวนการ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง เทคโนโลยกี ับมนุษย์

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2

รายการประเมนิ

เลขที่ ช่ือ-สกลุ ทักษะในการทางาน ทกั ษะการคิด ทกั ษะการคิดอย่างมี ทกั ษะการสื่อสาร

ร่วมกัน วิเคราะห์ วิจารณญาณ สารสนเทศและเท่า

ทนั สอื่

1

2

3

4

5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมนิ
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ้สู อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรงุ

*เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ขึ้นไป

659

แบบบันทึกการประเมนิ ผูเ้ รยี น ด้านคณุ ลักษณะ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรื่อง เทคโนโลยีกบั มนษุ ย์
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2

รายการประเมิน
เลขที่ ชอื่ -สกลุ ซื่อสัตยส์ จุ รติ มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่ันใน

การทางาน
1
2
3
4
5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู สู้ อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง

*เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ขึ้นไป

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2 เรื่อง
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง เทคโนโล
รายวิชา เ
ขอบเขตเนื้อหา
1. เทคโนโลยีการส่ือสาร กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นา (10 นาที )
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ด้านความรู้ 1. ครทู บทวนความรเู้ ร่ืองการเปล
เทคโนโลยีในช่วั โมงท่แี ล้ว
1. อภปิ รายถงึ ประวตั คิ วามเป็นมาของ
เทคโนโลยีการสอ่ื สาร 2. นาเสนอวีดิทัศนท์ ่ีเกย่ี วขอ้ งกับ
อดีตทผ่ี ่านมา จนมาถึงปจั จบุ นั และแ
2. อธิบายและเปรียบเทยี บรูปแบบการ วดี ทิ ัศน์ เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ารสื่อสารจ
สือ่ สารจากอดีตถงึ ปจั จบุ นั ดาวน์โหลดไว้ จากนั้นครูและนักเรียน
เทคโนโลยีการส่ือสารจากอดีตถงึ ปัจจ
3. อภิปรายถงึ ความแตกตา่ งของเทคโนโลยี อยา่ งไรบ้าง
การสื่อสารปจั จุบนั (แนวคาตอบ : ปจั จบุ ันมีแนวโนม้ เป็น
อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการสอ่ื สาร มขี นาดเล็ก
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ ประสทิ ธิภาพที่มากขน้ึ เชน่ สนทนาแ
1. ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีการสือ่ สารไดอ้ ย่าง
3. ครูรว่ มกับนักเรียนอภปิ ราย เร
เหมาะสม จากอดีตถงึ ปัจจุบัน วา่ พัฒนาการขอ
2. ใช้เทคโนโลยีการส่อื สารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง อดตี มาถึงปัจจุบันมีความแตกตา่ งอย่า
สื่อสารมีความเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งไร
และปลอดภยั

660

ง พัฒนาการของเทคโนโลยีการส่อื สาร เวลา 2 ช่วั โมง
ลยีกับมนุษย์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
เทคโนโลยี

สอื่ /แหล่งเรยี นรู้

- สอื่ วีดทิ ัศน์ เร่ือง เทคโนโลยกี ารสือ่ สารจากอดตี
ลยี่ นแปลงและผลกระทบของ ถึงปัจจุบนั

https://www.youtube.com/watch?v=Wub43
บเทคโนโลยกี ารส่ือสารใน usEQyc
แนวโน้มในอนาคต จาก - ใบความรูท้ ่ี 2.1 เรอื่ ง ประวัตแิ ละพัฒนาการของ
จากอดตี ถงึ ปัจจบุ นั ที่
เทคโนโลยีการสื่อสาร
นร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั - ใบความรทู้ ่ี 2.2 เรอ่ื ง แนวโน้มของเทคโนโลยี
จุบนั ว่า มีแนวโน้มการพฒั นา สารสนเทศในอนาคต

นการส่อื สารแบบไร้สาย และ ภาระงาน/ชิ้นงาน
ก บางลง และมี - ใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง รูปแบบการส่ือสาร
แบบเห็นหนา้ ได้ เปน็ ต้น) - ใบงานที่ 2.2 เร่อื ง แนวโน้มของเทคโนโลยี
รอ่ื ง เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร สารสนเทศในอนาคต
องเทคโนโลยกี ารสอื่ สารจาก - สรุปองคค์ วามรู้เนื้อหาการเรยี นร้ทู ี่สาคญั ลง ใน
างไร และรปู แบบในการ สมุด
รบ้าง โดยใหน้ กั เรียนแสดง หมายเหตุ
สถานท่ี : หอ้ งคอมพวิ เตอร์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง เทคโนโล
รายวิชา เ
3. เหน็ คุณคา่ และความสาคญั ของเทคโนโลยี
การสือ่ สาร ความคิดเห็นอย่างอสิ ระ
ดา้ นคุณลักษณะ ข้นั สอน

1. ความซ่ือสตั ย์สุจริต 1. นกั เรียนศึกษาใบความรู้ท่ี 2.1
2. มีวินยั พฒั นาการของเทคโนโลยกี ารส่อื สาร
3. ใฝเ่ รยี นรู้ ครูและนักเรยี นร่วมอภิปรายจากเนอ้ื ห
4. มุ่งมนั่ ในการทางาน
2. นกั เรียนแบ่งกล่มุ ๆ ละ 4 คน แ
ท่ี 2.1 เรอ่ื ง รปู แบบของการส่ือสาร (

3. นกั เรยี นร่วมกนั นาเสนอใบงาน
สือ่ สาร ตามลาดับกลุม่ จากนั้นครูและ
ประเด็นเสนอแนะ พรอ้ มกับประเมินช
กล่าวชมเชย

4. ครนู าอภิปรายเกีย่ วกับรปู แบบ
และแนวโนม้ ในอนาคตว่ามีการพฒั นา
โอกาสใหน้ ักเรียนได้แสดงความคดิ เห

5. นักเรยี นศกึ ษาใบความรทู้ ่ี 2.2
เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต ประม
นกั เรียนรว่ มอภปิ รายจากเน้ือหาท่ีนกั

ง พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร 661
ลยกี บั มนุษย์
เทคโนโลยี เวลา 2 ช่ัวโมง
ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
1 เรื่อง ประวตั ิและ
ประมาณ 5 – 10 นาที
หาทนี่ ักเรยี นศึกษา
แต่ละกลุ่มรว่ ม ปฏบิ ตั ิใบงาน
(10 นาที)

นที่ 2.1 รปู แบบของการ
ะนกั เรยี นร่วมกันสรปุ
ชนิ้ งานทสี่ มบรู ณ์ทีส่ ดุ แลว้

บของการสื่อสารในปจั จบุ ัน
าไปอย่างไร พร้อมกับเปดิ
ห็นอย่างอสิ ระ
2 เรื่อง แนวโนม้ ของ
มาณ 5 – 10 นาที ครูและ
กเรียนศึกษา

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 2 เร่อื ง
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เร่อื ง เทคโนโล
รายวชิ า เ

6. นกั เรียนแบง่ กลุ่มๆ ละ 4 คน แ
ความคิด ปฏบิ ัติกิจกรรมใบงานท่ี 2.2
เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

7. ครูและนกั เรียนรว่ มนาเสนอ ใบ
การสอ่ื สารในปจั จบุ นั ผา่ นระบบอินเท
ความถกู ต้องและอธบิ ายเพ่ิมเติมในส่ว
ขั้นสรปุ

ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายสร
โดยครตู ง้ั คาถามในหัวข้อดงั นี้

1. พัฒนาการของเทคโนโลยีการส
มอี ะไรบา้ ง

2. รูปแบบการสื่อสารของเทคโนโล
แนวโน้มอยา่ งไร (แนวคาตอบ จากใบ

ง พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารส่ือสาร 662
ลยกี ับมนษุ ย์
เทคโนโลยี เวลา 2 ชัว่ โมง
แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ระดม ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2
2 เร่ืองแนวโน้มของ

บงานท่ี 2.2 เรื่อง เทคโนโลยี
ทอรเ์ นต็ โดยครูตรวจสอบ
วนที่ยงั ไมค่ รบถว้ นสมบูรณ์

รุปและทบทวนหวั ข้อทีศ่ กึ ษา

ส่ือสารจากอดตี ถึงปจั จุบนั

ลยีการสอื่ สารในปัจจุบันมี
บงานท่ีทา)

663

การวดั และประเมินผล

สง่ิ ท่ีต้องการวดั /ประเมนิ วิธีการ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์

ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบงานท่ี 2.1 เรื่อง - แบบประเมินการ - นักเรยี นทุกคนผ่าน

1. อธบิ ายและ รปู แบบการส่ือสาร นาเสนอผลงาน เกณฑ์ไม่ต่ากวา่ ร้อย

วเิ คราะห์ระบบทาง -ตรวจใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง - แบบสังเกตพฤติกรรม ละ 80

เทคโนโลยไี ด้ แนวโน้มของเทคโนโลยี การทางานรายบคุ คล

สารสนเทศในอนาคต

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ - สังเกตพฤติกรรมการ -แบบสังเกตพฤติกรรม - นกั เรียนทกุ คนผ่าน

(P) เรียนรูข้ องนักเรยี น การทางานกลุ่ม เกณฑ์ไม่ต่ากวา่ รอ้ ย

1. ทักษะกระบวนการ - สังเกตพฤติกรรมกลุ่ม ละ 80

สรา้ งความคิดรวบยอด

2. ทกั ษะกระบวนการ

คิดอย่างมีวิจารณญาณ

3. ทักษะกระบวนการ

เรียนความรู้ ความเขา้ ใจ

4. ทักษะกระบวนการ

แกป้ ญั หา

ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) - สงั เกตพฤติกรรมของ - แบบประเมนิ - นกั เรยี นทุกคนผา่ น
คณุ ลักษณะอนั พงึ เกณฑ์ไมต่ ่ากว่ารอ้ ย
1. ความซื่อสัตยส์ ุจรติ นักเรียน ประสงค์ ละ 80

2. มีวินยั

3. ใฝเ่ รยี นรู้

4. ม่งุ มนั่ ในการทางาน

664

8. บันทกึ ผลหลงั สอน
ผลการเรียนรู้

............................................................................................................................. ................................................
ปัญหาและอปุ สรรค

.................................................................................................................................................................... ......
ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข

............................................................................................. ..............................................................................

ลงชอื่ ......................................ผ้สู อน
(.......................................................)
วันท.ี่ .....เดือน...............................พ.ศ.............

9. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
............................................................................................................................. ..............................................

ลงชอ่ื ......................................ผูต้ รวจ
(.......................................................)
วันท่ี......เดือน...............................พ.ศ.............

665

ใบความรทู้ ่ี 2.1
เร่ือง เทคโนโลยกี ารส่ือสารจากอดีตถึงปัจจุบัน

ย้อนรอยเทคโนโลยีด้านการสื่อสารของโลก นับตั้งแต่จิตรกรรมบนผนังถ้าในยุคหิน จนถึงการ
สือ่ สาร สดุ ล้า ฉับไวทเี่ ชอื่ มโลกทง้ั ใบถึงกันในปจั จุบนั

มนุษย์เราเป็นสัตว์สังคมท่ีอยู่ร่วมกันและมีการส่ือสารกันตลอดเวลา และด้วยความชาญฉลาดของ
มนุษย์ในการถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะด้วยจุดประสงค์ในด้านความเช่ือทางศาสนา
การบันทึกเร่ืองราว หรือแม้แต่การส่งสาร เหล่านี้เองท่ีก่อให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีใน การสื่อสาร
ใหม่ ๆ ท่ีค่อย ๆ เช่ือมโลก จากกลุ่มคนเล็ก ๆ สู่คนในอีกฟากโลกหนึ่ง และเช่ือมต่อกันได้ท้ังโลก ก่อให้เกิด
กระวนการศึกษาเรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ตามมา

1. จติ รกรรมบนผนังถา้ (Cave Painting) พบตามบริเวณแถบตอนใต้ของฝรง่ั เศส ยุค 30,000 ปี
ก่อนคริสตศักราช มักจะวาดเป็นรูปสัตว์หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยมีรูปคนผสมอยู่บางภาพ โดยเรื่องราวของ
ภาพส่วนมากเก่ียวข้องกับความเป็นอยู่ การดารงชีวิต การล่าสัตว์ ตามความเช่ือเรื่องอภินิหารต่าง ๆ โดย
สันนิษฐานว่าผวู้ าดน่าจะเปน็ หัวหนา้ หม่บู ้านหรอื พอ่ มดหมอผี

2. สัญลักษณ์แทนคา (Pictograms) พบได้ในประเทศจีนและอียิปตโ์ บราณ ยุค 5,000 ปี ก่อนค
ริสตศักราช โดยเป็นการวาดรูปภาพที่หรือสัญลักษณ์ที่สื่อถึงแนวคิด วัตถุ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งนาไปสู่การ
เกดิ อักษรภาพไฮโรกลฟิ (Hieroglyphics) ของอียปิ ต์ และตัวอกั ษรจนี นน่ั เอง

3. พิราบส่งสาร (Carrier Pigeons) หรือที่เรียกกันว่า ไปรษณีย์นกพิราบ พบได้ในอาณาจักร
กรีกโบราณ ในยุค 776 ปี ก่อนคริสตศักราช โดยการนาข้อความมาผูกติดไปกับนกพิราบเพ่ือให้บินส่งข้อความ
นีไ้ ปยังจดุ หมาย

666

4. ระบบไปรษณีย์คร้ังแรกของโลก (First Postal Service) ถูกวางระบบขึ้นโดยพระเจ้าไซรัส
มหาราช แหง่ เปอร์เซีย เมือ่ 550 ปี กอ่ นครสิ ตศักราช เพ่อื นามาใช้ในจกั รวรรดิอาคีเมนดิ ของพระองค์

5. กาเนิดมาราธอน (The Marathon Man) ย้อนกลับไปเม่ือ 530 ปี ก่อนคริสตศักราช ในยุค
ของอาณาจักรกรีกโบราณ ทหารกรีกโบราณนาม ฟิดิปปิเดซ (Pheidippides) ได้ออกวิ่งเป็นระยะทางถึง 150
ไมล์ ภายใน 2 วนั โดยไม่ได้หยุดพักผ่อน เพื่อแจ้งข่าวชัยชนะของเอเธนสท์ ี่มเี หนือกองทัพเปอรเ์ ชีย และสง่ สาร
สงครามแหง่ มาราธอน (Battle of Marathon) ไปยังกรุงเอเธนส์

6. เฮลิโอกราฟ (Heliographs) หรือการส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสง อาทิตย์ พบได้ใน
จักรวรรดิโรมัน เม่ือ ค.ศ. 37 (พ.ศ. 580) โดย จักรพรรดิไทบีเรียส หรือ ไทบีเรียส จูเลยี ส ซีซาร์ ออกัสตสั แห่ง
จักรวรรดโิ รมัน ได้สง่ สารด้วยวธิ ีนจี้ ากเกาะคาปรี (Capri) ไปยังแผ่นดนิ ใหญ่ เพอ่ื ออกคาสงั่ ในแต่ละวัน

7. กระดาษ (Paper) ถูกประดิษฐ์คิดค้นข้ึนครั้งแรกในโลกท่ีประเทศจีน เมื่อ ค.ศ. 105 (พ.ศ.
648) โดย ไช่หลุน ปราชญ์เมธีสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก โดยการนาเปลือกของต้นไม้, ป่าน, เศษผ้า และตา
ข่ายดักปลา มาบดผสมกันจนป่น แล้วนามาตากแห้งจนกลายมาเป็นแผ่น ๆ และกระดาษก็ได้กลายมาเป็น
ส่ิงประดษิ ฐ์ช้ินสาคญั ของโลก ทจ่ี ะเป็นตน้ กาเนิดของวทิ ยาการต่าง ๆ ของโลกในเวลาต่อมา

8. คนป่าวประกาศราษฎร (Town Crier/Bellman) เกิดข้ึนในประเทศอังกฤษ เมื่อ ค.ศ.
1540 (พ.ศ. 2083) เป็นเจ้าหน้าที่ของศาลซึ่งทาหน้าที่ป่าวประกาศคาแถลงการณ์ที่บังคับใช้โดยศาลต่อ
สาธารณะ โดยคนปา่ วประกาศราษฎรมักจะแตง่ กายด้วยชุดเสื้อคลุมสแี ดงและทอง สวมกางเกงสีเขียว รองเท้า
บูทสีดา และสวมหมวกสักหลาด มาต้ังแต่ศตวรรษท่ี 18พร้อมสั่นระฆังเพ่ือดึงดูดความสนใจจากประชาชนให้
มาฟงั คาแถลงการณน์ ั้น

9. หนังสือพิมพ์รายวัน (Daily Newspaper) หนังสือพิมพร์ ายวันฉบับแรกน้ันเกิดขึ้นในเยอรมนี
คือ Einkommende Zeitung ออกในปี ค.ศ. 1650 (พ.ศ. 2193) และต่อมาในยุโรปก็ได้กาเนิดหนังสือพิมพ์
รายวนั The Daily Courant ตามมา

10. รหัสมอร์ส (Morse Code) ถือกาเนิดข้ึนเพ่ือใช้สาหรับส่งข้อความทางการทหารของ
สหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ.1835 (พ.ศ. 2378) ด้วยการประดิษฐ์ของ ซามูเอล ฟินเลย์ บรีส มอร์ส ชาวอเมริกัน
โดยรหัสมอร์สนั้นจะถูกกาหนดข้ึนด้วยการใช้รูปแบบสัญลักษณ์ส้ันและยาวท่ีกาหนดข้ึนเป็นมาตรฐาน เพ่ือ
แทนตวั อกั ษรท่ีนามาผสมรวมกนั เป็นข้อความ

667

11. โทรศัพท์ (Telephone) ถือกาเนิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. 1876 (พ.ศ. 2419) อเล็ก
ซานเดอร์ เกร์แฮม เบลล์ วิศวกรชาวสก็อต โดยอาศัยหลังการแปลงคล่ืนสัญญานเสียงเป็นไฟฟ้า และส่งต่อ
สญั ญาณไปตามสายไฟฟา้ จากโทรศพั ทเ์ ครือ่ งหนึ่งไปสูป่ ากกระบอกของโทรศัพท์อีกเครือ่ งหน่ึง

12. กาเนิดเครื่องรับส่งวิทยุโทรเลข (First Transatlantic Signal) หลังจากที่ กูลเยลโม มาร์
โคนี นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี ได้ประดิษฐ์เคร่ืองรับส่งวิทยุโทรเลขเครื่องแรกของโลกข้ึน จนสร้างความตื่น
ตะลึงให้กับคนท้ังโลกมาแล้วด้วยระบบการส่งสัญญาณไร้สาย และได้ถูกนาไปใช้ในกิจการเดินเรือในฐานะ
เครื่องมือส่ือสารท่ีสะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในยุคนั้น ต่อมาเขาก็สามารถพัฒนาเคร่ืองส่ง
สัญญาณวิทยุโทรเลขให้สามารถส่งสัญญาณข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก จากคอร์นวอลล์ ประเทศอังกฤษ ถึง
เกาะนวิ ฟนั ดแ์ ลนด์ ประเทศแคนาดา ได้สาเรจ็ ใน ค.ศ.1902 (พ.ศ. 2445)

13. การแพร่ภาพโทรทัศน์ครั้งแรกของโลก (First TV Broadcast) เม่ือราว ค.ศ. 1927
(พ.ศ. 2470) ในสก็อตแลนด์ จอห์น โลจี เบร์ด วิศวกรชาวสกอตแลนด์ สามารถประดิษฐ์ระบบโทรทัศน์ได้
สาเร็จเป็นคนแรกของโลก ในช่วงเวลาเดียวกับท่ีนักวิทยาศาสตร์จากชาติอื่น ๆ ก็อยู่ในระหว่างทดลองและ
ประดิษฐ์ การรับส่งสัญญาณภาพของโทรทัศน์เช่นกนั และนั่นเป็นผลให้ จอห์น โลจี เบร์ด ได้รับการยกย่องให้
เปน็ บดิ าแห่งโทรทัศน์

14. เร่ิ ม ป ล่ อ ย สั ญ ญ า ณ ARPANET (ARPANET Launched) เค รื อ ข่ า ย ARPANET
(Advanced Research Projects Agency NETwork) เป็นเครือข่ายสานักงานโครงการวิจัยชั้นสูงของ
กระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกา ตัง้ ขน้ึ เม่ือ ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) เพ่ือจุดประสงคท์ างด้านการวิจัย
ขนั้ สูง ท่ีต้องการ ให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมตอ่ และมีปฏิสัมพันธ์กันได้ และตอ่ มาเครอื ข่าย ARPANET ก็ได้
ถกู พฒั นาใหก้ ลายเปน็ เครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตในปัจจบุ นั

668

15. เวิล์ด ไวด์ เว็บ (WWW/World Wide Web) เครื่องข่ายข่าวสารท่ีเช่ือมโลกถึงกันนี้ กาเนิด
ข้ึนในสหรัฐอเมริกา เม่ือ ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) หลังจากท่ีรัฐบาลของสหรัฐอเมริกาได้พัฒนาและปล่อย
ระบบควบคุมอินเทอร์เน็ตออกมา เวิล์ด ไวด์ เว็บ จึงเกิดข้ึน นามาซ่ึงการส่งต่อข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็วท่ัวโลก
มาจนถึงปัจจุบัน

16. AIM Messenger ห รื อ American Online Instant Messenger ถื อ ก า เนิ ด ใน
สหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) เป็นโปรแกรมแชทยอดนิยมในสหรัฐอเมริกาท่ีช่วยให้ผู้ใช้งาน
สามารถส่ือสารกันผา่ นอนิ เทอร์เน็ตไดด้ ้วยการสง่ ขอ้ ความ รปู ภาพ และคลิปวิดีโอถึงกัน

17. บลอ็ ก (Blogging) นับตั้งแต่ Blogger.com ถือกาเนิดขึ้นครงั้ แรกในสหรัฐอเมริกา เม่อื ค.ศ.
1999 (พ.ศ. 2542) ความนิยมในการเขียนบล็อกก็เพ่ิมขึ้นและกระจายไปทั่วท้ังโลก โดยบล็อกนั้นเป็นรูปแบบ
เว็บไซต์ประเภทหน่ึง ซ่ึงถูกเขียนข้ึนในลาดับท่ีเรียงตามเวลาในการเขียน ซ่ึงจะแสดงข้อมูลท่เี ขียนล่าสุดไว้แรก
สุด โดยเปดิ ใหบ้ ุคคลทัว่ ไปเข้ามาชมเนือ้ หาและรว่ มแสดงความคิดเห็นภายในบล็อกได้

18. เฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายโซเชียลเน็ตเวิร์กที่มีผู้ใช้งานมากที่สุด โดยในทุก
วันน้ีมีผู้ใช้งานเฟซบุ๊กถึงประมาณ 850 ล้านคนท่ัวโลก ก่อตั้งข้ึนโดย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก นักศึกษาจาก
มหาวทิ ยาลัยฮาร์เวิร์ด ในสหรัฐอเมริกา เมอ่ื ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547) ร่วมกับเพ่ือน ๆ คือ เอ็ดวารโ์ ด ซาเวริน,
ดิสติน มอสโควิตซ์ และคริส ฮิวส์ โดยในช่วงแรกเฟซบุ๊กได้เปิดให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลยั ฮาร์เวิร์ด
ก่อนท่ีต่อมาจะได้ขยายตัวออกไปยังมหาวิทยาลัยอ่ืน ๆ ท่ัวสหรัฐอเมริกา และขยายมาให้บริการแก่ผู้ใช้ท่ัวไป
ทุกคนเหมอื นในปัจจุบัน

19. ยูทูบ (YouTube) เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการอัพโหลดและและเปลี่ยนคลิปวิดีโอ โดยผู้ใช้ ถือ
กาเนิดข้ึนในสหรัฐอเมริกา จากความร่วมมือในการก่อต้ังของ แชด เฮอร์ลีย์, สตีฟ เชง และ ยาวีด คาริม อดีต
พนักงานบริษัทเพยพ์ าล เมือ่ ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) ปัจจบุ ันเปน็ ส่วนหนงึ่ ของกูเกลิ

20. ทวิตเตอร์ (Twitter) ก่อตั้งเม่ือเดือนมีนาคม พ.ศ. 2549 เปิดตัวเม่ือเดือนกรกฎาคม พ.ศ.
2549 มีบริษัท Obvious Corp ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเจ้าของ แต่ผู้ที่พัฒนาทวิตเตอร์ข้ึนมาคือ Evan
Williams และ Meg Hourihan ja

อา้ งอิง :
https://hilight.kapook.com/view/87986

669

ใบงานท่ี 2.1
รูปแบบการสอ่ื สาร

คาชีแ้ จง ให้นักเรียนพิจารณาการสอ่ื สารท่ีกาหนด แล้วระบรุ ูปแบบและลกั ษณะการสื่อสารให้ถูกต้อง

คาถาม คาตอบ

1) รายการทางโทรทศั น์ รูปแบบ ........................................................................................................

ลักษณะการส่ือสาร.......................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

2) การสง่ ขอ้ ความผ่าน รปู แบบ ........................................................................................................

Facebook ลกั ษณะการสื่อสาร.......................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

3) การสนทนา Video Call รปู แบบ ........................................................................................................

ลกั ษณะการสื่อสาร.......................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

4) การสนทนาทางโทรศัพท์ รปู แบบ ........................................................................................................

ลักษณะการสอ่ื สาร.......................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

5) รายการทางวทิ ยุ รปู แบบ ........................................................................................................

ลักษณะการสื่อสาร.......................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

6) Line รูปแบบ ........................................................................................................

ลักษณะการสือ่ สาร.......................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

......................................................................................................................

670

ใบความร้ทู ี่ 2.2
เร่อื ง แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในระยะเวลาอันใกล้นี้มีแนวโน้มท่ีจะพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มี
ความสามารถใกล้เคียงกับความเป็นตัวตนของมนุษย์ได้เหมือนหรือใกล้เคียงมากท่ีสุด ซึ่งจะดูได้จาก
ความก้าวหน้าของการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ และสรา้ งประสาทสัมผัสเสมอื น ข้ึนมาให้ทางานได้ผลลัพธ์ใกล้เคยี งระบบ
ประสาทสัมผัสจริงๆของมนุษย์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์เกิดการเข้าใจภาษาสื่อสารทุกด้านของมนุษย์ และระบบ
การคดิ โดยใชโ้ ครงขา่ ยประสาทเทยี ม (ปญั ญาประดิษฐ์ / AI / Artificial Intelligence) โดยพยายามนาไปใชใ้ ห้
เกิดประโยชน์มากขึ้น เพื่อลดการสูญเสียประชากรโลก เน่ืองจากผิดพลาดท่ีเกิดจากมนุษย์เอง ซ่ึงการพัฒนานี้
ก่อให้เกิดผลกระทบมากมายต่อสังคมความเป็นอยู่ของมนุษย์มาก โดยปัจจุบันน้ีทาให้มีแนวโน้มหรือทิศทางที่
จะเกิดผลกระทบใน 2 มิติ คอื
1. มิติด้านทเี่ กดิ ผลดี มีอยู่มากมาย แต่กอ่ นอน่ื ต้องมาทราบก่อนว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมีเปา้ หมายกาหนดไว้
ดงั น้ี
- เพิม่ ประสิทธภิ าพการทางาน (Operation Efficiency)
- เพิม่ ผลผลติ (Function Effectiveness)
- เพ่มิ คณุ ภาพบริการลกู ค้า (Quality Customer Service)
- ผลติ สนิ คา้ ใหมแ่ ละขยายผลผลติ (Product Creation and Enhancement)
- สามารถสร้างทางเลอื กเพือ่ แขง่ ขันได้ (Altering the basic of competition)
- สร้างโอกาสทางธุรกิจ (Identifying and Exploiting Business Opportunities)
- ดงึ ดดู ลกู คา้ และป้องกันคแู่ ข่ง (Client Lock-In/Competitor Lock-Out)
จาก เปา้ หมายท้ังทุกข้อ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศถา้ สามารถดาเนินการได้ตามเป้าหมาย ดังกลา่ วก็
ถอื ได้วา่ เป็นข้อดีของเทคโนโลยสี ารสนเทศระบบนี้ได้ท้งั หมด นอกจากนีก้ ็ยังมี
- การพัฒนาอย่างรวดเรว็ ของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตที่เชือ่ มโยงกันทั่วโลก
ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงทุกช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เช่น การศึกษาหาความรู้
และข้อมูลต่างๆในทุกเรื่องที่สนใจของประชาชนทุกระดับอายุ การติดต่อสื่อสารในหลายรูปแบบทั้ง Online
และ Batch Job การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การตกลงซื้อขายสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์ การดูหนัง ฟังเพลง
และบันเทิงต่างๆ
- การพัฒนาให้คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพในการฟัง ประมวลผล และโต้ตอบด้วยตัวอักษรหรือเสียงพูด
เป็นภาษาต่างๆ ได้ อ่านตัวอักษรหรอื ลายมือเขยี นได้ การแสดงผลของคอมพิวเตอร์ไดเ้ สมือนจริง และการรับรู้
ด้วยประสาทสัมผสั ทกุ ดา้ นที่ใกล้เคียงหรือเหมอื นกับมนุษยม์ ากๆ
- การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการอิเล็กทรอนิกสเ์ พื่อสนับสนุนด้านตา่ งๆ เช่น สารสนเทศ ฐานขอ้ มลู
ฐานความรตู้ ่างๆ

671

- การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) การเรียนการสอนด้วยระบบโทรศึกษา
(Tele-Education) การค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ชั่วโมงจากห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) จากท่ัว
โลก

- การพัฒนาเครือข่ายโทรคมนาคมท่ีทันสมัย ระบบการสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สาย เครือข่ายดาวเทียม
ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ ทาให้สามารถค้นหาตาแหน่งไดอ้ ยา่ งแมน่ ยา

- การบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายการสื่อสารเพื่อเพ่ิม
ประสิทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐที่เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) ระบบการจ่าย
เงินเดือนแก่ข้าราชการ และระบบงบประมาณ ของทุกหน่วยงานท้ังประเทศโดยกรมบัญชีกลาง รวมทั้งระบบ
ฐานข้อมลู ประชาชน หรอื E-Citizen และอกี มากมาย
2. มติ ดิ ้านทีเ่ กิดผลเสีย มีอยู่มากมายเชน่

- วงจร ชีวิตของระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่มีวงจรชีวิตค่อนขา้ งจากัด อาจจะอธบิ ายได้วา่ เน่ืองจาการ
เปล่ยี นแปลงทางด้านเทคโนโลยี รวมท้ังสภาพทางเศรษฐกิจและธุรกจิ เช่น ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ทาให้
ต้องมีการปรับเปลี่ยนระบบสารสนเทศไปด้วยหรือ การเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริหาร ก็อาจจะต้อง
เปลี่ยนระบบสารสนเทศไปดว้ ย

- ลงทุนสงู เทคโนโลยสี ารสนเทศเปน็ เคร่ืองมือที่มีราคาแพง และสว่ นมากไม่อาจจะนาไปใชไ้ ด้ทันที แต่
จะตอ้ งมีความรู้ความเข้าใจเสียก่อนจงึ จะใช้ได้อยา่ งถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ

- ก่อให้เกดิ ช่องว่าง (Gap) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกดิ ช่องว่างในการรบั ขา่ วสารระหว่างคนจนกับคน
รวย

- ความผิดพลาดในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ท้ังส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ท่ีเกิดข้ึนจากการ
ออกแบบและพัฒนา ทาให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ ระบบและสูญเสียค่าใชจ้ ่ายในการแกป้ ญั หา

- การละเมิดลิขสิทธ์ิของทรัพย์สินทางปัญญา การทาสาเนาและลอกเลียนแบบ ทาให้เกิดการละเมิดต่อ
กฎหมายแสวงประโยชน์ด้วยการทาสาเนาเพื่อจาหน่ายในราคาถูกโดยเจตนา และจะทาให้เกิดความผิดต่อ
ประชาชนผใู้ ชง้ านทีไ่ ม่เจตนาทาการทาสาเนาแจกกันเองของผู้ใช้งานท่ียังไม่เข้าใจเร่อื งการละเมดิ ทรพั ยส์ นิ ทาง
ปัญญาดีเพยี งพอ

- การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การโจรกรรมข้อมูล การล่วงละเมิด การก่อกวนระบบ
คอมพิวเตอร์ ของหนว่ ยงาน สถาบนั ตา่ งๆทั้งของภาครัฐและเอกชน

ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้บูรณาการเข้าสู่ระบบราชการ และระบบธุรกิจ ดังน้ันทุกองค์กรท่ีจะ
อยู่รอดและมีพัฒนาการเดนิ ต่อไปได้ต้องสามารถปรับตัว และจดั การกับเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม โดยในท่ีน้ี
จะขอกล่าวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะมีผลต่อการดาเนินงานของระบบราชการและการดาเนินงานของภาค
ธุรกิจในอนาคต เพื่อให้ผู้บริหารในฐานะหัวใจสาคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรได้ศึกษา
แต่เนื่องจากการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศอาจทาให้เทคโนโลยีท่ีกล่าวถึงในที่นี้

672

ล้าสมัยได้ในระยะเวลาอันรวดเร็ว ดังน้ันจึงมีความจาเป็นที่ผู้บริหารที่สนใจจะต้องศึกษาติดตามความ
เปลยี่ นแปลงอย่ตู ลอดเวลา โดยเทคโนโลยีสารสนเทศที่สาคญั และจะเกิดขน้ึ ในอนาคต มีดังต่อไปน้ี

1. คอมพิวเตอร์ (Computer) ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาไปจากยุคแรกๆท่ีเครื่องมีขนาดใหญ่
ทางานได้ช้า ความสามารถต่า มีราคาสูงมาก และใช้พลังงานสูง เป็นการใช้เทคโนโลยีวงจรรวมขนาดใหญ่
(Very Large Scale Integrated Circuit : VLSI) ในการผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ทาให้
ประสิทธิภาพของส่วนประมวลผลของเครื่องพัฒนาขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากน้ียังได้มีการพัฒนา
หน่วยความจาให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง ซ่ึงช่วยเพ่ิมศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์
ส่วนบุคคลในปัจจุบัน โดยที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในขณะท่ีมีความสามารถเท่าเทียมหรือมากกว่าเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในสมัยก่อน ตลอดจนการนาคอมพิวเตอร์ชนิดลดชุดคาส่ัง (Reduced Instruction
Set Computer) หรือ RISC มาใช้ในการออกแบบหน่วยประเมินผล ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางาน
ได้เร็วขึน้ โดยใชค้ าสงั่ พนื้ ฐานงา่ ยๆ

2. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ AI เป็นการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มี
ความสามารถท่ีจะคิดแก้ปัญหาและให้เหตุผลได้เหมือนอย่างการใช้ภูมิปัญญาของมนุษย์จริง ปัจจุบัน
นักวิทยาศาสตร์ในหลายสาขาวิชาได้ศึกษาและทดลองที่จะพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางาน ท่ีมี
เหตุผล โดยการเลียนแบบการทางานของสมองมนุษย์ ซ่ึงความรู้ทางด้านน้ีถ้าได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจะ
สามารถนามาประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ อย่างมากมาย เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูก
พัฒนาข้ึนเพ่ือให้ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างผู้เช่ียวชาญ และหุ่นยนต์ (Robotics) เป็นการพัฒนา
ส่ิงประดิษฐ์ให้สามารถปฏิบัตงิ านและใช้ทกั ษะการเคล่ือนไหวไดใ้ กล้เคยี งกบั การทางานของมนุษย์ เปน็ ต้น

3. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information System) หรือ EIS เป็นการ
พัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผู้บริหารในงานระดับวางแผนนโยบายและกลยุทธ์ขององค์การโดยที่ EIS
จะถูกนามาให้คาแนะนาผู้บริหารในการตัดสินใจเมื่อประสบปัญหาแบบไม่มีโครงสร้างหรือก่ึงโครงสร้าง โดย
EIS เป็นระบบทีพ่ ัฒนาข้ึนเพ่ือตอบสนองความต้องการที่พเิ ศษของผู้บรหิ ารในด้านต่าง ๆ เช่น สถานการณ์ต่าง
ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ รวมทั้งสถานะของคู่แข่งขันด้วย โดยท่ีระบบจะต้องมีความละเอียดอ่อน
ตลอดจนงา่ ยตอ่ การใช้งาน เน่อื งจากผ้บู รหิ ารระดับสูงจานวนมากไม่เคยชินกับการติดตอ่ และสั่งงานโดยตรงกับ
ระบบคอมพวิ เตอร์

4. การจดจาเสียง (Voice Recognition) เป็นความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ท่ีจะทาให้
คอมพิวเตอร์จดจาเสียงของผู้ใช้ ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีสาขานี้ยังไม่ประสบความสาเร็จตามที่
นักวิทยาศาสตร์ต้องการ ถ้าในอนาคตนักวิทยาศาสตร์ประสบความสาเร็จในการนาความรู้ต่าง ๆ มาใช้สร้าง
ระบบการจดจาเสียง ก็จะสามารถสร้างประโยชน์ได้อย่างมหาศาลแก่การใช้งานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ โดยทีผ่ ู้ใช้จะสามารถออกคาสง่ั และตอบโต้กับคอมพิวเตอรแ์ ทนการกดแป้นพิมพ์ ซ่งึ จะส่งผลให้ผู้ที่
ไม่เคยชินกับการใช้คอมพิวเตอร์ให้สามารถปรับตัวเข้ากับระบบได้ง่าย เช่น ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร

673

ระดับสูง การส่ังงานระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ และระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เป็นต้น ซึ่งจะช่วยเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการทางานและขยายคณุ คา่ เพมิ่ ของเทคโนโลยีสารสนเทศทมี่ ีต่อธุรกจิ

5. การแลกเปล่ียนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Data Interchange) หรือ EDI เป็นการส่ง
ข้อมูลหรือข่าวสารจากระบบคอมพิวเตอร์หน่ึงไปสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่นโดยผ่านทางระบบสื่อสารข้อมูล
อิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น การสง่ คาสั่งซ้ือจากผู้ซื้อไปยังผู้ขายโดยตรง ปจั จุบนั ระบบแลกเปลี่ยนข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์
กาลังได้รับความนิยมเพิ่มมากข้ึนเรื่อย ๆ เพราะช่วงลดระยะเวลาในการทางานของแต่ละองค์การลง โดย
องค์การจะสามารถส่งและรับสารสนเทศในการดาเนินธุรกิจ เช่น ใบส่ังซ้ือและใบตอบรับผ่านระบบส่ือสาร
โทรคมนาคมที่มีอยู่ ทาให้ท้ังผสู้ ง่ และผู้รบั ไม่ตอ้ งเสยี เวลาเดินทาง

6. เส้นใยแก้วนาแสง (Fiber Optics) เป็นตัวกลางที่สามารถส่งข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็วโดย
อาศัยการส่งสัญญาณแสงผ่านเส้นใยแก้วนาแสงที่มัดรวมกัน การนาเส้นใยแก้วนาแสงมาใช้ในการส่ือสาร
ก่อให้เกิดแนวความคิดเก่ียวกับ “ทางด่วนข้อมูล (Information Superhighway)” ท่ีจะเชื่อมโยงระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและสารสนเทศต่าง ๆ ได้ง่าย
และรวดเร็วข้ึน ปัจจุบันเทคโนโลยีเส้นใยแก้วนาแสงได้ส่งผลกระทบต่อวงการส่ือสารมวลชนและการค้าขาย
สินค้าผ่านระบบเครือขา่ ยอเิ ล็กทรอนิกส์

7. อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีเช่ือมโยงไปทั่วโลก มีผู้ใช้งาน
หลายล้านคน และกาลังได้รับความนิยมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยท่ีสมาชิกสามารถติดต่อส่ือสารแลกเปล่ียน
ข้อมลู ข่าวสาร ตลอดจนคน้ หาข้อมูลต่างๆท่ีสนใจได้จากทัว่ โลก

8. ระบบเครือข่าย (Networking System) โดยเฉพาะระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (Local Area
Network : LAN) เป็นระบบสื่อสารเครือข่ายท่ีใช้ในระยะทางท่ีกาหนด ส่วนใหญ่จะภายในอาคารหรือใน
หน่วยงาน LAN จะมีส่วนช่วยเพิ่มศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้สูงขึ้น รวมท้ังการเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการทางาน การใช้ข้อมูลร่วมกัน และการเพ่ิมความเร็วในการติดต่อส่ือสาร นอกจากนี้ระบบ
เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลยังผลักดันให้เกิดการกระจายความรับผิดชอบในการจัดการเทคโนโลยี
สารสนเทศไปยงั ผูใ้ ช้มากกว่าในอดีต

9. ระบบการประชุมทางไกล (Teleconference) เป็นการนาเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ เช่น
คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายโทรทัศน์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมผสมผสาน เพื่อให้สนับสนุนในการประชุมมี
ประสิทธิภาพ โดยผู้นาเข้าร่วมประชุมไม่จาเป็นที่จะต้องอยู่ในห้องประชุมและพ้ืนท่ีเดียวกัน ซ่ึงจะช่วยให้
ประหยดั เวลาในการเดินทาง โดยเฉพาะในสภาวะการจราจรที่ติดขดั ตลอดจนผู้เข้าประชุมอยู่ในเขตท่ีห่างไกล
กนั มาก

10. โทรทัศน์ตามสายและผ่านดาวเทียม (Cable and Sattleite TV) การส่งสัญญาณโทรทัศน์
ผ่านส่ือต่าง ๆ ไปยังผู้ชม จะมีผลทาให้ข้อมูลข่าวสารสามารถแพร่ไปได้อย่างรวดเร็วและครอบคลุมพื้นท่ีกว้าง
ข้ึน โดยท่ีผู้ชมสามารถเข้าถึงข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ได้มากขึ้น ส่งผลให้ผู้ชมรายการมีทางเลือกมากขึ้นและ
สามารถตดั สนิ ใจในทางเลือกตา่ ง ๆ ได้เหมาะสมข้ึน

674

11. เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) เป็นการนาเอาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
เก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มาจัดเก็บข้อมูลหรือข่าวสารในลักษณะท่ีแตกต่างกันท้ังรูปภาพ ข้อความ เสียง โดย
สามารถเรียกกลับมาใช้เป็นภาพเคล่ือนไหวได้ และยังสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วยการประยุกต์เข้ากับความรู้
ทางดา้ นคอมพิวเตอร์ เช่น หนว่ ยความจาแบบอ่านอย่างเดยี วทบ่ี นั ทึกในแผ่นดสิ ก์ (CD-ROM) จอภาพท่ีมคี วาม
ละเอียดสงู (High Resolution) เข้ากับอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อจัดเก็บและนาเสนอข้อมลู ภาพ และเสียงที่สามารถ
โต้ตอบกบั ผู้ใช้ได้ ปจั จุบันเทคโนโลยีมัลติมเี ดยี เปน็ เทคโนโลยีท่ีต่ืนตวั และได้รับความสนใจจากบุคคลหลายกลุ่ม
เน่ืองจากเลง็ เหน็ ความสาคญั ว่าจะเปน็ ประโยชนต์ ่อวงการศึกษา โฆษณา และบนั เทิงเปน็ อยา่ งมาก

12. การใช้คอมพิวเตอร์ในการฝึกอบรม (Computer Base Training) เป็นการนาเอาระบบ
คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการฝึกอบรมในด้านต่าง ๆ หรือการนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในด้านการเรียนการ
สอนที่เรียกว่า “คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน (Computer Assisted Instruction) หรือ CAI” การใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยในการสอนเปิดช่องทางใหม่ในการเรียนรู้ โดยส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ตลอดจน
ปรชั ญาการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

13. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (Computer Aided Design) หรือ CAD เป็นการ
นาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบข้อมูลเข้ามาช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมท้ังรูปแบบหีบห่อของ
ผลิตภัณฑ์หรือการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยทางด้านการออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมให้มีความ
เหมาะสมกับความต้องการและความเป็นจริง ตลอดจนช่วยลดต้นทุนการดาเนินงานในการออกแบบ
โดยเฉพาะในเรอื่ งของเวลา การแก้ไข และการจดั เกบ็ แบบ

14. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (Computer Aided Manufacturing) หรือ CAM เป็น
การนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิตสินค้าในโรงงานอุตสาหกรรม เน่ืองจากระบบคอมพิวเตอร์จะมีความ
เท่ียงตรงและน่าเช่ือถือได้ในการทางานท่ีซ้ากัน ตลอดจนสามารถตรวจสอบรายละเอียดและข้อผิดพลาดของ
ผลิตภณั ฑ์ได้ตามมาตรฐานท่ตี อ้ งการ ซงึ่ จะช่วยประหยดั ระยะเวลาและแรงงาน ประการสาคัญ ช่วยใหค้ ุณภาพ
ของผลิตภณั ฑ์มคี วามสม่าเสมอตามทก่ี าหนด

15. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) หรือ GIS เป็นการ
นาเอาระบบคอมพิวเตอร์ทางด้านรูปภาพ (Graphics) และข้อมูลทางภูมิศาสตร์มาจัดทาแผนท่ีในบริเวณท่ี
สนใจ GIS สามารถนามาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ในการดาเนินกิจการต่าง ๆ เช่น การวางแผนยุทธศาสตร์
การบริหารการขนส่ง การสารวจและวางแผนป้องกนั ภยั ธรรมชาติ การช่วยเหลอื และกภู้ ยั เป็นต้น

ที่กล่าวมานี้เป็นเพียงส่วนหน่ึงของเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีถูกพัฒนาขึ้นในปัจจุบัน และโลกก็ยังคง
กาลังทาการศึกษาและปรับปรงุ ให้มปี ระสิทธภิ าพเหมาะสมต่อการใช้งานในอนาคต โครงการพฒั นาความรู้ตา่ ง
ๆ เหล่าน้ีจะมีผลไม่เพียงต้องการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น แต่ยังจะส่งผลกระทบต่อการ
ดาเนินงานขององค์การและความเป็นอยู่ของมนุษย์ในสังคมส่วนรวมอีกด้วย เราจะเห็นว่าปัจจุบันเทคโนโลยี
สารสนเทศจะเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์เพิ่มขึ้น ดังน้ันเราต้องพยายามติดตาม ศึกษา และทา

675

ความเข้าใจแนวทางและพัฒนาการท่ีเกิดขึ้น เพื่อท่ีจะนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์
ในการดารงชวี ิตอย่างเหมาะสมต่อไป

อา้ งอิง :
http://www.dstd.mi.th/board/index.php?topic=1239.0

676

ใบงานที่ 2.2
แนวโนม้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

คาชี้แจง ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ีให้ถูกต้อง
1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร
ตอบ............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
2. ให้นักเรยี นยกตวั อย่างอาชีพท่ีเกยี่ วข้องกบั เทคโนโลยกี ารส่ือสาร
ตอบ......................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................ ..............................................
.................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
3. เทคโนโลยกี ารสอื่ สารมีประโยชน์ตอ่ นกั เรียนอย่างไรบา้ ง
ตอบ............................................................................................................................. .........................................
.................................................................................................................................................. ............................
...................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
4. อธิบายวา่ อุปกรณ์เทคโนโลยกี ารสอื่ สารในอนาคตจะมีลักษณะอยา่ งไร ยกตวั อยา่ งประกอบ
ตอบ............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

677

จัดการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารสือ่ สาร

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2

รายการประเมนิ

อภิปรายถงึ ประวตั ิ อธิบายและ อภิปรายถึงความ
ความเป็นมาของ
เลขท่ี ชอื่ -สกลุ เปรียบเทยี บรูปแบบ แตกตา่ งของ

เทคโนโลยีการสอ่ื สาร การส่อื สารจากอดตี ถึง เทคโนโลยีการ

ปัจจบุ ัน ส่ือสารปัจจุบัน

1

2

3

4

5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผูป้ ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผสู้ อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง

*เกณฑ์การผ่าน ระดับ 2 ขน้ึ ไป

678

แบบบนั ทึกการประเมนิ ผเู้ รียน ดา้ นทักษะและกระบวนการ

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรอ่ื ง พัฒนาการของเทคโนโลยีการส่อื สาร

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เร่อื ง เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

รายการประเมิน

เลขท่ี ช่ือ-สกลุ ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ารสอื่ สาร ใชเ้ ทคโนโลยีการสือ่ สารไดอ้ ยา่ ง เห็นคุณคา่ และ
ความสาคญั ของ
ได้อยา่ งเหมาะสม ถกู ตอ้ งและปลอดภัย

เทคโนโลยีการสื่อสาร

1

2

3

4

5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ู้สอน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรงุ

*เกณฑ์การผ่าน ระดับ 2 ข้ึนไป

679

แบบบันทกึ การประเมนิ ผ้เู รยี น ดา้ นคุณลักษณะ
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง พัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสาร

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง เทคโนโลยีกบั มนุษย์
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

รายการประเมนิ
เลขท่ี ช่อื -สกลุ ซ่อื สตั ย์สุจริต มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ ม่นั ในการ

ทางาน
1
2
3
4
5

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผูป้ ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดมี าก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ู้สอน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรงุ

*เกณฑ์การผา่ น ระดบั 2 ขนึ้ ไป

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง เทค
รายวิชา

ขอบเขตเน้อื หา กิจกรรมการเรียนรู้
1. การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศได้อยา่ งปลอดภัย ขัน้ นา

เมือ่ พบเนอ้ื หาท่ไี มเ่ หมาะสม 1. นักเรยี นดสู ่อื วดี ทิ ศั น์ เรื่อ
2. การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความ 2. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สน
วีดิทศั น์
รบั ผดิ ชอบ
3. การสรา้ งและแสดงสิทธิความเป็นเจา้ ของผลงาน ขน้ั สอน
4. การกาหนดสิทธิก์ ารใชข้ ้อมลู 1. ครนู านกั เรียนรว่ มกนั อภิป
คาถามดงั น้ี
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ - ในโลกยุคปัจจุบนั นักเรยี น
ดา้ นความรู้ สารสนเทศได้อย่างปลอดภยั
- นักเรียนจะรับผดิ ชอบในก
1. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ยา่ งปลอดภัย อย่างไร
2. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบ - นักเรียนจะสรา้ งและแสด
3. สร้างและแสดงสิทธิความเปน็ เจา้ ของผลงาน 2. ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเ
4. กาหนดสทิ ธ์ิการใช้ขอ้ มูลได้ ศึกษาใบความรู้ท่ี 3.1 เรอื่ ง กา
ด้านทักษะและกระบวนการ สรา้ งสรรค์ ประมาณ 5 -10 น
1. ทกั ษะในการทางานรว่ มกัน 3. ให้แต่ละกลมุ่ ระดมความค
2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
3. ทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ

680

เรื่อง การใช้เทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์

คโนโลยีกบั มนษุ ย์ เวลา 2 ช่วั โมง

เทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2

สื่อ/แหลง่ เรียนรู้

- สื่อวดี ิทศั น์ เรื่อง ภยั รา้ ยจาก Social Network

อง ภยั รา้ ยจาก Social Network https://www.youtube.com/watch?v=KfKDx3C
นทนาเก่ียวกับประเด็นที่ชมใน 1imM

- ใบความร้ทู ่ี 3.1 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง

สรา้ งสรรค์

ภาระงาน/ชิ้นงาน
ปรายเกี่ยวกบั เทคโนโลยโี ดยใช้ - ใบงานท่ี 3.1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง

นจะมีวิธีการใชเ้ ทคโนโลยี สรา้ งสรรค์
- ใบงานที่ 3.2 สรุปองค์ความรโู้ ดยใช้เทคโนโลยอี ยา่ ง

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สร้างสรรค์

ดงสิทธิความเปน็ เจา้ ของผลงาน
เป็นกลมุ่ ละ 4 คน แต่ละกลุ่ม
ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
นาที
คิด แลว้ รว่ มกันปฏบิ ัติในใบงาน


Click to View FlipBook Version