The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by E-book สสว.10, 2020-11-12 11:49:57

รายงานวิจัยการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบพื้นที่สร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก

รายงานวิจัยพื้นที่ต้นแบบเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก

ik

Fun

เรื่อง
การพฒั นาพ้ืนท่ีตน้ แบบสรา้ งสรรคเ์ ดก็ ไทยเล่นเปลย่ี นโลก
กรณีศกึ ษา:ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ๔ ภาค

โดย
นางทบั ทมิ ศรีวิไล
นางสาวชลธชิ า ชัยหนองแปน

สถาบนั พฒั นาอนามัยเด็กแหง่ ชาติ กรมอนามัย
ปงี บประมาณ ๒๕๖๓



บทคดั ย่อ

การวจิ ยั เชิงคุณภาพเร่อื ง “การพัฒนาพ้นื ท่ีตน้ แบบสรา้ งสรรค์เดก็ ไทยเล่นเปลีย่ นโลก กรณีศึกษา:

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค” มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค ให้เป็นพ้ืนที่ต้นแบบพื้นท่ีสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก พร้อมทั้ง

พัฒนาศักยภาพเก่ียวกับกระบวนการเล่นกับเด็กปฐมวัย ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูพ่ีเล้ียง และผู้ดูแลเด็ก
และเพ่ือใหพ้ ้ืนทตี่ ้นแบบสรา้ งสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกเกดิ ความย่ังยืนในชุมชน เปน็ การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) โดยใช้การวิจัยแบบตัดขวาง (Cross sectional research) เก็บรวบรวมข้อมูล

ด้วยวิธีการทาแบบประเมิน การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม (Focus group) และการเล่าเรื่องจากของ
พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูพ่ีเลี้ยง ผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค เขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีมีพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ จานวน
๔ พน้ื ท่ี ได้แก่ ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กวัดพุทธกาญจนนมิ ิต จังหวัดกาญจนบุรี, ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กเทศบาลเมือง
สตลู จังหวดั สตูล, ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นหวั ชา้ ง จังหวัดศรีสะเกษ และศูนย์โรงเรยี นอยู่เมืองแกลง จังหวัด

ระยอง ผลการศึกษามีดงั น้ี
๑. การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค ให้เป็นพื้นท่ีต้นแบบสร้างสรรค์

“เด็กไทยเลน่ เปล่ียนโลก” มแี นวทางการพัฒนาองค์ประกอบท่ีสาคญั ๔ สว่ น ได้แก่
- ผู้อานวยการเล่น (Play worker) ต้องพัฒนาผู้ปกครอง ครูผู้ดูแล และผู้เกี่ยวข้อง

เพ่อื ใหม้ ที ักษะและความสามารถในการสร้าง SOFT SKILL ใหก้ ับเดก็ รองรบั การใช้ชีวติ ในยุคศตวรรษที่ ๒๑

- กระบวนการเล่น (Play process) ให้คาแนะนาและสร้างความตระหนักแก่พ่อแม่
ครูพี่เล้ียง ผู้ดูแลเด็ก และส่งเสริมกิจกรรมสัมพันธ์ระหว่างเด็ก ครอบครัว ผูป้ กครอง รวมถึงการสร้างพื้นที่

เล่นในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั /หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข และทบ่ี า้ นเพ่อื ใหเ้ ดก็ สามารถเล่นไดท้ ุกเวลา
- พ้ืนที่เล่น (Play space) จะต้องเป็นพ้ืนที่เล่นสร้างสรรค์ ปลอดภัย และเปิดโอกาส

ใหเ้ ด็กเขา้ ถงึ ได้ง่าย มีความเป็นธรรมชาติ หรือสร้างขนึ้ ให้เปน็ ธรรมชาติ เพ่ือส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั

- หน่วยบริหารจัดการการเล่น (Play management unit) ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หน่วยบริการสาธารณสุข และครอบครัว โดยมีการบริหารจัดการดูแล

และพฒั นาระบบการสรา้ งโอกาสการเลน่ ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งต่อเนอ่ื งและยง่ั ยนื
๒. การพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับกระบวนการเล่นกับเดก็ ปฐมวัยของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครพู ่ีเลี้ยง

และผู้ดูแลเด็ก ต้องมีหลักสูตรคู่มือผู้อานวยการเล่น (Play worker) เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจถึง

ความสาคัญของการเล่น และมีทักษะในการเล่นกับเด็ก ที่เน้นกระบวนการเล่น (Play process) ภายใต้
concept 3F ได้แก่

- Family คือ การเล่นกับครอบครัว/เพ่ือน พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเล็กมีทกั ษะ/ สร้างแรงจงู ใจใน
การเลน่ - Free คือ การเปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามความต้องการอยากจะเล่น โดยมีมุมเล่น
ลานเลน่ สนามเดก็ เลน่ ท่บี ้าน โรงเรียน ชมุ ชน ใหเ้ ด็ก “เลน่ ทไ่ี หนก็ได้ขอใหป้ ลอดภยั ”

- Fun คือ การเลน่ ใหส้ ุข สนุก เปน็ ไปตามวัย
๓. พื้นที่ต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลกเกิดความย่ังยืนในชุมชน เกิดจากการ

มสี ่วนร่วมของ ๓ องคป์ ระกอบ ได้แก่ บ้าน/ครอบครัว สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หน่วยบริการสาธารณสุข
และชุมชน โดยมีส่วนร่วมต้ังแต่เริ่มต้นในการตัดสินใจ วางแผนกิจกรรม ดาเนินกิจกรรม รับผลประโยชน์
และประเมนิ ผล เพ่ือให้ลกู หลานในชมุ ชนมพี ัฒนาการท่ดี อี ยา่ งสมวยั



ขอ้ เสนอแนะ “เด็กไทยเลน่ เปล่ยี นโลก” มี ๕ ประเด็น ดงั นี้
๑. จัดทาคู่มือผู้อานวยการเล่น (Play worker) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ของพ่อแม่

ผปู้ กครอง ครพู ีเ่ ลีย้ ง และผดู้ แู ลเดก็ ในการสนับสนนุ การเลน่ ของเด็กทยี่ ดึ เด็กเป็นศนู ยก์ ลาง
๒. รณรงค์ประชาสัมพันธ์การพัฒนาหลักสตู ร Play worker เพื่อปรบั mindset ของครอบครัว

และชุมชน เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้กระบวนการคิด
เก่ียวกับส่ิงที่เขาได้กระทาลงไป (Active Learning) โดยวิธีการจัดทาหนังส้ันสร้างความรอบรู้
และความตระหนัก “เดก็ ไทยเล่นเปลีย่ นโลก” หรือทาวารสารการสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ผา่ นการเล่น

๓. ขยายการพฒั นาพ้ืนที่ตน้ แบบ “เดก็ ไทยเลน่ เปล่ียนโลก” ให้ครอบคลมุ ทกุ เขตสุขภาพ
๔. ขยายการพัฒนา “เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก” ให้ครอบคลุมถึงเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ ซ่ึงอยู่ใน
ประเทศไทย
๕. สร้างเครือข่ายในชุมชนทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม กลุ่มองค์กร
ในชุมชน เพือ่ ร่วมกันดูแลและเขา้ มามสี ว่ นร่วมในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั /หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ

คำสำคญั : พ้ืนที่สรำ้ งสรรค์, ผู้อำนวยกำรเล่น, กระบวนกำร, พ้ืนทเ่ี ล่น, หนว่ ยบริหำรจดั กำรกำรเลน่



Abstract

The purpose of this qualitative research is to implement the prototype play area
in child development centers of Subdistrict Administrative Organization in four regions in
order to improve the efficiency of the play process in early childhood. This research also
aims to raise awareness among parents, guardians and teachers as well as to ensure
sustained benefits for children from the prototype play area. This research is carried out
in a form of cross-section by doing a survey, focus group and collecting information from
parents, guardians, teachers, staff and Public Health staff in four child development
centers. It covers four regions under Education Sandbox Act B.E. ๒ ๕ ๖ ๒ , that is,
Wat Bhuddhakanchananimit Child Development Center, Kanchanaburi, Satun Tow
Municipality Child Development Center, Satun, Huachang Child Development Center,
Srisaket and Yumueangklang Child Development Center, Rayong. In summary, it can be
demonstrated as follows;

๑. Four components enabling child development centers to follow the prototype
play area;
- Play worker: it is the responsibility of parents, guardians, teachers to create

SOFT SKILL for children as it is an essential tool in the ๒๑st century
- Play process: educating and raising awareness for parents, guardians on the

importance of play-based approach for learning and development of children
as well as increasing play spaces either in child development centers / health
service units or home
- Play space: this concerns about creativity, safety, easy accessibility for children
to play anytime and anywhere
- Play management unit: increasing the engagement between community, child
development centers, and families to maximize the capacity of children
continuously and sustainably
๒ . In order to maximize the play process, the play worker guideline must be
distributed to parents, guardians and teachers enabling them for understanding
the prototype play area. This can be done under 3F concept which is ‘Family’:
encouraging children to play with someone, such as families, friends, guardians or
teachers, ‘Free’ free playing that child-centered anytime and anywhere
(e.g. home, school or community) and lastly ‘Fun’: playing generates fun and
happiness
๓ . The prototype play area leads to a sustainable community via cooperation
between families, child development centers/ public health service units and
communities



Recommendations for the prototype play area as follows;
๑. Publishing a play worker’s guideline for parents, guardians and teachers to

understand the prototype play area
๒. Promoting the prototype play area to activate growth mindset of guardians and

community regarding active learning skills by creating short films or journals about
playing that promote child’s development.
๓. Extending the prototype play area to cover all related areas
๔. Extending the prototype play area to cover ethnic minority children in Thailand
๕. Networking among the community including government sector, private sector,
social organizations in order to maximize the efficiency of child development from
this model

Keywords: Prototype play area, Play worker, Play Process, Play space,
Play management unit,



กติ ติกรรมประกำศ

รายงานวิจัยฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความอนุเคราะห์จากทีมท่ีปรึกษาโครงการวิจัย
ที่ให้การสนับสนุนช่วยเหลือและให้คาแนะนาในด้านองค์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์อย่างยิ่งทาให้งานวิจัยน้ี
มีความสมบรูณ์มากย่ิงข้ึนจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ไพรัช บวรสมพงษ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดร.ธันยนันท์ จันทร์ทรงพล, ดร.ญาณกร โท้ประยูร สมาคมนักวิจัยแห่งประเทศไทย, แพทย์หญิงพรรณวิมล
วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย, นายแพทย์อรรถพล แก้วส้มฤทธ์ิ รองอธิบดี กรมอนามัย, แพทย์หญิงธนิกา
สุจริตวงศานนท์ รองผู้อานวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ และนายวินัย รอดไทร ผู้อานวยการ
ศนู ยส์ ่ือสารสาธารณะ และนางสาวพวงทพิ ย์ พูลสวสั ดิ์ สานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ ๑๐

ขอขอบคณุ ทีมวิจัยของสานักส่งเสริมสุขภาพ และกองกิจกรรมทางกายเพือ่ สุขภาพ ศนู ย์อนามัยที่
๕, ๖, ๑๐ และ ๑๒ ที่ประสานงานและช่วยลงพ้ืนที่เก็บข้อมูล ขอขอบคุณผู้บริหารและเจ้าหน้าที่
จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด สานักสาธารณสุขอาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
องค์การบริหารส่วนตาบล และศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ในจังหวัดพนื้ ทีเ่ ป้าหมายทั้ง ๔ พื้นท่ี ที่ได้ให้ความรว่ มมือ
และอานวยความสะดวกในการเก็บข้อมูลเป็นอย่างดี

ขอขอบคุณผู้อานวยการสถาบันพัฒนาเด็กแห่งชาติท่ีโอกาสสนบั สนุนให้กาลงั ใจในการดาเนินงาน
และสดุ ท้าย ขอขอบคณุ ทมี งานกลุ่มนวตั กรรม วิจัย ถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่สนบั สนนุ และร่วมดาเนินงานวจิ ัย
จนประสบความสาเร็จ

คณะผ้วู ิจยั
สถาบนั พัฒนาอนามยั เดก็ แหง่ ชาติ



กำรพฒั นำพื้นที่ตน้ แบบสร้ำงสรรค์เดก็ ไทยเลน่ เปล่ียนโลก
กรณีศกึ ษำ : ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ๔ ภำค

ท่ีปรกึ ษำ

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช บวรสมพงษ์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ

ดร.ธนั ยนันท์ จนั ทร์ทรงพล สมาคมนักวจิ ยั แหง่ ประเทศไทย

ดร.ญาณกร โท้ประยรู สมาคมนักวจิ ัยแห่งประเทศไทย

แพทยห์ ญิงพรรณพมิ ล วปิ ลุ ากร อธิบดีกรมอนามยั

แพทย์หญงิ ธนิกา สจุ รติ วงศานนท์ รองผอู้ านวยการสถาบันพัฒนาอนามัยเดก็ แห่งชาติ

นายวินัย รอดไทร ผู้อานวยการศนู ยส์ อ่ื สารสาธารณะ

นางสาวพวงทพิ ย์ พูลสวัสดิ์ นักพัฒนาสังคมชานาญการ

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ ๑๐

ผวู้ ิจัยหลัก

นางทับทมิ ศรวี ิไล พยาบาลวิชาชีพชานาญการ

สถาบันพัฒนาอนามยั เด็กแหง่ ชาติ

ผรู้ ่วมวิจยั

นางสาวชลธิชา ชยั หนองแปน ผูป้ ระสานโครงการ

สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแหง่ ชาติ

ผู้รว่ มวจิ ยั ในกำรลงพนื้ ที่

นางประภาภรณ์ จังพานิช นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ

สานกั ส่งเสรมิ สุขภาพ

นายวชั รินทร์ แสงสมั ฤทธผิ์ ล นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ

กองกจิ กรรมทางกายเพอ่ื สุขภาพ

จัดทำโดย

กล่มุ นวตั กรรม วิจัย ถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันพฒั นาอนามยั เด็กแหง่ ชาติ กรมอนามัย

สารบัญ ช

บทคดั ย่อ หน้า
กิตตกิ รรมประกาศ ก
สารบญั จ
สารบัญตาราง ช
สารบัญภาพ ซ
บทที่ ๑ บทนา ฌ

๑.๑ ทีม่ าและความสาคญั ของปัญหา ๑
๑.๒ มูลเหตุจงู ใจ ๓
๑.๓ คาถามการวิจัย ๔
๑.๔ วัตถปุ ระสงค์ ๔
๑.๕ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ ๔
๑.๖ ขอบเขตการวิจยั ๕
๑.๗ นิยามศัพทท์ ี่ใชใ้ นการวจิ ัย ๕
บทท่ี ๒ ทบทวนวรรณกรรม ๖
๒.๑ แนวคดิ เกยี่ วกับเด็ก ๖
๒.๒ แนวคิด/ทฤษฎเี กีย่ วกับการเล่น ๙
๒.๓ งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๒๑
๒.๔ ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผน ๒๒
บทที่ ๓ วธิ ีดาเนินการวิจัย ๒๔
๓.๑ รปู แบบการวจิ ยั ๒๔
๓.๒ พื้นท่ีทาการวิจัย ๒๔
๓.๓ ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ๒๔
๓.๔ เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ยั ๒๕
๓.๕ การดาเนนิ การวจิ ัย ๒๕
๓.๖ วธิ ีเก็บรวบรวมขอ้ มูล ๒๖
๓.๗ การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๒๖
๓.๘ ระยะเวลาในการดาเนินการ ๒๗
๓.๙ การพทิ กั ษส์ ิทธผิ รู้ ่วมวิจยั ๒๗
บทที่ ๔ ผลการวจิ ัย ๒๘
บทที่ ๕ สรุปผลการวจิ ัยและข้อเสนอแนะ ๓๖
๕.๑ สรุปผลการวจิ ัย ๓๖
๕.๒ ข้อเสนอแนะ ๔๒
บรรณานุกรม ๔๓
ภาคผนวก ๔๔

สารบัญตาราง ซ

ตารางที่ ๑ ผลการศกึ ษาแนวทางในการพฒั นาเพ่อื พฒั นาพื้นที่สร้างสรรค์ หน้า
“เดก็ ไทยเลน่ เปลีย่ นโลก” ในพน้ื ทีต่ ้นแบบ ๔ ภาค ๓๐



สารบญั ภาพ

ภาพที่ ๑ แสดงต้นแบบพืน้ ท่ีสร้างสรรค์ “เดก็ ไทยเลน่ เปล่ยี นโลก” ทย่ี ัง่ ยืนในชุมชน หน้า
ภาพที่ ๒ ต้นแบบพน้ื ท่สี รา้ งสรรค์ “เด็กไทยเล่นเปลีย่ นโลก” ๓๕
๓๙
ภาพที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพเกีย่ วกบั กระบวนการเล่นกับเดก็ ปฐมวยั
ภาพที่ ๔ ต้นแบบพ้ืนที่สรา้ งสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลกทีย่ งั่ ยนื ๔๐
๔๑



บทท่ี ๑
บทนำ

๑.๑ ทมี่ ำและควำมสำคญั ของปญั หำ
การศึกษาท่ีดีในช่วงปฐมวัยคือการเล่น การเล่นเป็นส่ิงสาคัญสาหรับการพัฒนาเด็ก การเล่น

เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ ในขณะที่พวกเขาเล่นกัน หมายความว่าเด็ก ๆ กาลังสารวจโลกรอบตัว

และความสัมพันธ์ระหว่างพวกเขากับโลกใบนี้ มันช่วยให้พวกเขาพัฒนาความสามารถทางกายภาพ
กระบวนการคดิ ความรู้ ความเข้าใจทางภาษาและอารมณข์ องเดก็ และยงั พฒั นาในดา้ นความคิดสร้างสรรค์

และจินตนาการของพวกเขาอีกด้วย แต่จากการที่สภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปจากแต่ก่อน ส่งผลให้มี
การปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะในสถาบันครอบครัว ซ่ึงเป็นสถาบันที่เล็กและใกล้ชดิ
ที่สุดในการดูแล อบรมสั่งสอนในเร่ืองต่าง ๆ ให้แก่เด็กปฐมวัย ซึ่งทาให้เกิดปัญหาต่อพัฒนาการ

ของเดก็ ปฐมวัยและเป็นอปุ สรรคตอ่ การศึกษาของเด็กปฐมวยั หรือการเลน่ ดงั น้ี
ปญั หาด้านสังคมและการเล้ียงดูของผ้ปู กครอง ปจั จบุ นั สถานภาพของครอบครวั ไทยเปลีย่ นแปลง

ไปมาก จากการท่ีประเทศเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทาให้
ครอบครัวมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน โดยเฉพาะในชุมชนเมืองใหญ่ๆ ท้ังพ่อและแม่ทางานหนักเพ่ือจัดหา
เครื่องอานวยความสะดวกสบายนานาชนิดตามค่านิยมใหม่ที่เน้นในทางวัตถุและความภูมิฐานในสังคม

ส่ิงเหล่านสี้ ง่ ผลกระทบตอ่ ความคาดหวังของพอ่ แม่ที่มตี ่อลูก ซ่ึงนบั วนั จะแปรเปลี่ยนไปในลักษณะท่ีเร่งเด็ก
ใหค้ รา่ เคร่งกบั การเรียนรูว้ ิชาการต่าง ๆ อยา่ งหนัก และมงุ่ เน้นพัฒนาการทางด้านสติปัญญาเพียงด้านเดียว

ด้วยความหวงั ให้ลูกเป็น “เด็กเก่ง” “เด็กฉลาด” โดยท่ีพ่อแม่ลืมนกึ ถึงความสุขและความต้องการที่แท้จริง
ของเด็ก โดยเฉพาะในช่วงปฐมวัย ซ่ึงเป็นระยะท่ีสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เด็กมีวุฒิภาวะทาง
รา่ งกายและจติ ใจเพมิ่ มากขน้ึ ทีละเลก็ ละนอ้ ย เปน็ วัยทีเ่ ด็กเรมิ่ เรียนรู้การรู้จักชว่ ยเหลอื ตนเอง มีความอยาก

รู้อยากเห็นและสนใจสารวจทดสอบทดลองสิ่งต่าง ๆ รอบตัว มีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และ
จินตนาการ รู้จักการใช้ภาษาส่ือความหมายและสื่อสารกับผู้อ่ืน สิ่งหลักในช่วงวัยน้ี คือ เด็กควรได้รับ

การสนับสนุนการเล่นที่กระตุ้นประสาทสัมผัสและโอกาสของการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน
ผา่ นกระบวนการเลน่ ตามวัย หากเดก็ ไม่ไดร้ ับการสง่ เสรมิ พัฒนาอย่างเต็มท่ี ในทกุ ๆ ดา้ นอยา่ งเท่าเทียมกัน
และด้วยวิธีการท่ีเหมาะสมกับธรรมชาติของเด็ก อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนา

คุณภาพชีวิตของเด็กในอนาคตได้ ซ่ึงพบว่า เด็กไทย ๑ ใน ๕ ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อและแม่ผู้ให้กาเนิด
คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๗ เมื่อพิจารณารายภาค พบว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเด็กท่ีไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อ

และแม่ผู้ให้กาเนิดสูงถึงร้อยละ ๓๓.๒ จากการวิจัยเร่ืองการอบรมเล้ียงดูเด็กตามวิถีชีวิตไทย
(สุมน อมรวิวัฒน์ และคณะ ๒๕๓๔ : ๒๐๓-๒๓๘) พบว่า เด็กปฐมวัยเล่นกับส่ิงของต่าง ๆ รอบตัวที่เด็ก
หาได้ โดยผู้ใหญ่ปล่อยให้เด็กเล่นอย่างอิสระ ในขณะท่ีตนเองทางาน และผลการสารวจความคิดเห็น

ของผปู้ กครองต่อการเล่นของเด็ก พบวา่ ผปู้ กครองให้ความสาคญั กับการเล่าเรียนอย่างจริงจงั ของเดก็ ก่อน
วัยเรียนท่ีโรงเรียนมากกว่าการเล่นเพื่อพัฒนาการ โดยท่ีครูตระหนักถึงความสาคัญของการเล่นเพอื่ พฒั นา

เด็กมากกว่าการเรียน ซ่ึงการที่เด็กมีโอกาสอยู่กับพ่อแม่น้อยลง โดยเฉพาะเด็กในครัวเรือนยากจน
และครัวเรือนแหวง่ กลางน้ัน มีผลกระทบต่อการศึกษาและความเป็นอยู่ของเด็ก ถ้าเด็กไม่อยู่กับพ่อแม่โอกาส
ของเด็กผู้ชายจะเรียนต่อมหาวิทยาลัยลดลงร้อยละ ๒๕ และโอกาสของเด็กผู้หญิงจะเรียนต่อมัธยมปลาย

ลดลงร้อยละ ๐.๒



ปัญหาพัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว และพฤติกรรมเล่นโทรศัพท์มือถือ สถานการณ์การตรวจ
คัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยปีงบประมาณ ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑ พบว่าเด็กท่ีมีพัฒนาการสมวัย มีแนวโน้ม

ลดลง คือ ปี ๒๕๕๙ ร้อยละ ๘๖.๒๒ ปี ๒๕๖๐ ร้อยละ ๘๓.๖๑ และปี ๒๕๖๑ ร้อยละ ๗๘.๘๒ ซ่ึงไม่สมวัย
ท้ังด้านการเคลื่อนไหว (GM) และ ด้านกล้ามเน้ือมัดเล็ก (FM) หลังได้รับการส่งเสริมกระตุ้นซ้าในภาพรวม
ต่างก็มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น เน่อื งจากผปู้ กครอง หรือผูเ้ ลีย้ งดูเด็กใช้เวลาเล่นกับเดก็ น้อย โดยพบวา่ ใชเ้ วลาเล่น

กับเด็กมากกว่า ๓๐ นาทีต่อคร้ัง มีเพียงร้อยละ ๑๙.๗ และใน ๑ สัปดาห์เล่นกับเด็กเกิน ๓ วัน มีเพียง
ร้อยละ ๓๗.๙๐ เท่าน้ัน และพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้เล้ียงดูเด็กมีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเล่นและ

ทากิจกรรมต่าง ๆ กับเด็กมีถึงร้อยละ ๖๗.๓๐ โดยมีระยะเวลาการใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ในการเล่นและ
ทากิจกรรมต่าง ๆ กับเด็กมากกว่า ๑ คร้ังต่อวันมีถงึ ร้อยละ ๘๘.๑ ซ่ึงสอดคล้องกบั การสารวจสถานการณ์
เด็กและสตรีของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ ของสานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ร้อยละ ๕๐.๙

ของเด็กอายุต่ากว่า ๕ ปี ที่เล่นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเลต เคร่ืองเล่นเกม ทาให้
เด็กเคลือ่ นไหวร่างกายน้อย สง่ ผลตอ่ พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว

ปัญหาระดับสติปัญญาเด็กไทย และความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก การสารวจสถานการณ์
ระดับสติปัญญาเด็กไทย ความฉลาดทางอารมณ์ ภาวะขาดสารไอโอดีน และภาวะโลหิตจางของเด็กไทย
ปี ๒๕๕๗ พบว่า จากการสารวจ IQ นักเรียนไทยท่ัวประเทศ เมอื่ ปี ๒๕๕๔ พบ IQ เฉลีย่ ๙๘.๕๙ ซึง่ ตา่ กว่า

คา่ กลางมาตรฐานสากล (IQ=๑๐๐) และเมือ่ ดใู นภาพรวมของประเทศ พบว่า เด็กจานวน ๔๘.๕ % มีระดบั
สติปัญญาอยู่ในเกณฑ์ตา่ (IQ<๑๐๐) รวมท้ังมีระดับสติปัญญาบกพรอ่ ง (IQ<๗๐) อยู่ถึง ๖.๕ % ซ่ึงสูงกว่า

มาตรฐานสากลที่ไม่ควรเกิน ๒% ขณะที่ระดับความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) เด็กไทยวัย ๓ - ๕ ปี ที่สารวจ
เม่ือ ปี ๒๕๔๕ พบว่า อยู่ท่ี ๑๓๙ – ๒๐๒ คะแนน และลดลงเป็น ๑๒๕ – ๑๙๘ คะแนน ในปี ๒๕๕๐
ดา้ นทลี่ ดลง คอื ด้านการปรบั ตวั ต่อปัญหาและความกระตือรือรน้ ส่วนเดก็ วยั ๖ – ๑๑ ปี ๑๔๘ – ๒๒๕ คะแนน

จากการสารวจเมือ่ ปี ๒๕๔๕ และลดลงเป็น ๑๒๙ – ๒๑๘ คะแนน ในปี ๒๕๕๐ ด้านท่ีลด คือ ด้านความ
ม่งุ ม่ันพยายาม

จากสถานการณ์ดังกล่าว ชี้ให้เห็นปัญหาสังคมที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
ท่ีจะเติบโตเป็นมนุษยท์ ี่มีศักยภาพในอนาคต และเป็นอุปสรรคสาคัญต่อการบรรลุเป้าหมายประเทศไทย ๔.๐
ตามยทุ ธศาสตรข์ องประเทศ และต้องไดร้ บั การจัดการแกไ้ ขอยา่ งเร่งด่วน นอกจากน้ีได้มีการสารวจพฒั นาการ

เด็กปฐมวัยไทยใน ๕ กลุ่มวัยได้แก่ ๙ ๑๘ ๓๐ ๔๒ และ ๖๐ เดือน โดยใช้เครื่องมือ DSPM พบว่า เด็กไทย
มีพัฒนาการสมวัย คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๖ (จินตนา พัฒนพงศ์ และ วันวิสาห์ แก้วแข็งขัน ; ๒๕๖๑) เมื่อแยก

รายดา้ นพบวา่ เดก็ ไทยมพี ฒั นาการล่าช้าทางด้านภาษามากที่สุด ทง้ั ท่ีภาษาท่ีสอง = ความฉลาด ๒ (second
language = intelligence ๒) ด้วยเหตุน้ี โอกาสท่ีคนไทยในอนาคตจะต้องแข่งขันกับคนชาติอื่นจึงอยู่ใน
ฐานะลาบาก การพัฒนาการคนต้องเร่ิมต้นที่สมอง ของเด็กปฐมวัย (๐ – ๕ ปี) แต่เนื่องจากธรรมชาติให้

โอกาสสมองท่ีจะปรับเปลี่ยน ได้ในช่วง ๘ ปีแรกของชีวิต ตามปัจจัยท่ีสาคัญ คือ พันธุกรรม (Gene)
ประสบการณ์ (Experiences) และ สัมพันธภาพ (Relationship) การดูแลสมองของเด็กปฐมวัยให้ทางาน

เตม็ ตามศกั ยภาพจึงสาคัญมาก ประสบการณ์เร่มิ แรก (Early Experience) เปน็ ความประทบั ใจทีเ่ ดก็ ทุกคน
จาได้ไม่มีวันลืม โดยเฉพาะการเลี้ยงลูกด้วยน้านมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน เป็นการสร้าง
ความไว้วางใจ (Trust) และเป็นการเร่ิมต้นของพัฒนาการด้านสังคม (Psychosocial Development)

ที่ดี ท่ีจะทาให้เด็ก เกิดความมั่นใจ เป็นตัวของตัวเอง (Autonomy) และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ได้ในชีวิต
การฝกึ ทกั ษะ (Skills Training) เพอื่ ให้ได้เดก็ ดีตามท่หี วงั ไมม่ ีสูตรตายตวั ประสบการณม์ ีความหมายกบั เด็ก

ไปตลอดชีวิต ประสบการณ์ท่ีดีจะทาให้เกิดสิ่งต่าง ๆ ที่ดีตามมา เพ่ือเป็นการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น จึงได้มี
ความรว่ มมอื จากหลายหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ กระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมอนามยั กบั กรมสขุ ภาพจิต



ประสานความร่วมมือกับเครอื ข่ายสมาคมการเลน่ นานาชาติ และสานกั งานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ ร่วมกับกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ดาเนินงานโครงการ “พื้นที่ต้นแบบการเล่น
เปลี่ยนโลก (prototype play area)” เป็นโครงการท่ีจะมาช่วยเติมเต็มการพัฒนาเด็กปฐมวัยไทยผ่าน
การเลน่ ซ่งึ เปน็ การเรียนรู้ทีด่ ที ส่ี ุดของเด็กปฐมวยั ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับที่สาคญั คือ ทาให้เกดิ พ้นื ท่เี ล่นท้ังใน
บ้าน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และชุมชน สร้างความรอบรู้ ปรับทัศนคติพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก
และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ได้เห็นความสาคัญของการเล่นอิสระ เล่นอย่างมีความสุข เล่นสนุก เล่นกับ
ครอบครัว และเกิดกลุ่มอานวยการเล่น โดยชุมชนมีส่วนร่วมให้การเล่นมคี วามต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดไป
เพื่อส่งเสริมให้เด็กไทยมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ พัฒนา IQ EQ และ EF เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ
และเตมิ ศกั ยภาพให้กบั ประเทศไทยและโลกในอนาคตตอ่ ไป

ปัจจุบันโลกมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะความก้าวหน้าของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ได้เกิดขึ้นมาพร้อมกับการเติบโตของเด็กไทยยุคใหม่ ทักษะและพฤติกรรมของเด็กยุคน้ีจึงแตกต่างจาก
ยคุ ก่อน ๆ มีการเรยี นรู้เรว็ ใชช้ ีวติ อยู่กับโลกออนไลน์ ปรบั ตวั เกง่ ความอดทนต่า สมาธสิ ัน้ และเป็นตวั ของ
ตัวเองสูง การพัฒนาเด็กปฐมวัยไทยให้มีทักษะท่ีเข้ากับโลกท่ีเปลี่ยนแปลง มี IQ ท่ีสามารถสร้างสรรค์
นวัตกรรมให้โลก ควบคู่กับ EQ EF มีคุณธรรมจริยธรรม และมีจิตสานึกท่ีดี ช่วยเหลือสังคม เป็นเด็กไทย
ท่ีเติบโตอยู่ในโลกท่ีเปลี่ยนแปลงได้อย่างชาญฉลาดและเปลี่ยนโลกให้ก้าวล้าด้วยเทคโนโลยีและเป็นโลก
ที่น่าอยู่ สวยงามได้น้ัน จึงเริ่มต้นที่ผู้ใหญ่ในวันน้ีร่วมมือกันพัฒนาเด็กปฐมวัยไทย ด้วยการเติมเต็ม
การเรยี นรู้ผ่านการเล่นตามแนวคดิ “เด็กไทยเลน่ เปลี่ยนโลก”

๑.๒ มลู เหตุจูงใจ
ด้วยในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงในสังคมเกิดขึ้นมากมาย ทั้งบริบททางสังคมท่ีเปลี่ยนไป

ตามยุคสมัย เกิดการเปล่ียนแปลงระบบทางสังคมเร่ิมจากสถาบันท่ีเล็กท่ีสุดคือ สถาบันครอบครัว
มีการเปล่ียนแปลงไปตามกระแสของสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เร่ิมจากการเล้ียงดูเด็ก หลายครอบครัว
สมาชิกในวัยทางานต้องออกไปประกอบอาชีพท้ังพ่อและแม่ ส่วนใหญ่เด็กจะได้รับการดูแลจากผู้สูงอายุ
ในบ้าน เช่น ปู่ย่า ตายาย ไม่ว่าจะเป็นสังคมเมืองหรือสังคมชนบท พ่อแม่ทุกคนคาดหวังว่าลูกต้องเก่ง
ในขณะที่พ่อแม่ไม่มีเวลาและใช้สื่อหรืออุปกรณ์ดิจิทัล ในการเล้ียงดูเด็กแทนเพราะง่ายเด็กไม่ออกจากบา้ นไป
เล่น ไม่ด้ือ ไม่ซน เด็กในยุคปัจจุบันจะติดเคร่ืองมือใหม่ ๆ ที่ด้านหน่ึงก็มีส่วนท่ีดี แต่อีกด้านหน่ึง
หากไม่ได้รับการดูแลแนะนาอย่างใกล้ชิด และใช้อย่างถูกวิธีก็กลายเป็นส่ือที่ทาลายเด็กทางอ้อมได้เช่นกัน
นอกจากครอบครวั มีความคาดหวังวา่ ลูก ตอ้ งเก่ง กอ่ ให้เกิดแนวทางการปฏิบตั ิของพ่อแม่ท่ีมีความคาดหวัง
ต่อลูก โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้ลูกเรียนอย่างเดียว เรียนในห้องเรียนและเรียนพิเศษหลังเลิกเรียน
เพื่อการแข่งขันและคัดเลือกเด็กที่เรียนเก่ง สอบเข้าโรงเรียนชื่อดังหรือมหาวิทยาลัยช่ือดัง ซ่ึงเป็น
ความต้องการของผู้ใหญ่ โดยท่ีมองข้ามพัฒนาการสาคัญอีกด้านของเด็กไป ไม่เพียงแต่การเลี้ยงดูเท่านั้น
ที่ปิดกั้นการเล่นของเด็กท่ีจะเป็นกลไกลสาคัญในการพัฒนาศักยภาพของเด็ก จินตนาการ การคิดอย่าง
อิสระของเด็ก ในสังคมที่กว้างข้ึนก็เช่นกันแทบไม่เหลือพื้นที่สาหรับเด็ก เช่น หมู่บ้านอย่างหมู่บ้านจัดสรร
กก็ ลายเป็นพน้ื ที่ธรุ กจิ พ้นื ทีข่ องผ้ใู หญไ่ ปหมด ฉะน้ันโอกาสของเด็ก ๆ ทจ่ี ะไดเ้ ล่นจึงนอ้ ยลง หลายประเทศ
ทั่วโลกไม่เฉพาะในประเทศไทย จึงเรียกร้องโอกาสที่จะช่วยให้เด็กสามารถเข้าถึงการเล่นอิสระด้วย
ตัวของเขาเอง ย่ิงไปกว่านั้นหลายประเทศยังรณรงค์ให้ผู้ใหญ่ออกมาเล่นด้วย เพราะเขาเห็นว่าการเล่นคือ
ส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ไม่เฉพาะเด็ก ๆ แต่รวมถึงทุกวัย นักคิดหลายประเทศพบว่า ถ้าเด็กได้เล่นมากข้ึน
โลกน้ีจะมีสันติภาพแล้วก็มีงานวิจัยที่เขาไปศึกษาและพบว่า ความรุนแรง อาชญากรรมหรือ ปัญหาสังคม
ต่าง ๆ มนั เรมิ่ ขึน้ เพราะเด็กมโี อกาสได้เล่นนอ้ ยลง คาว่า “โอกาส” มคี วามสาคญั มาก ๆ เพราะตอนนสี้ งั คม



ได้พรากโอกาสในการเล่น ของเด็กไป ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการแข่งขันท่ีสูง เด็ก ๆ ต้องเรียนหนัก พ่อแม่
คาดหวังว่าลูกตอ้ งเกง่

ปัจจุบัน เร่ืองการเล่นในประเทศไทยมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบหลายอย่างเช่น ขาดการตระหนัก
ถึงความสาคัญของการเล่นเพ่อื สร้างสขุ ภาวะเด็กของครอบครวั และคนในสังคม ขาดการออกแบบพ้นื ทีเ่ ล่น
หรือการพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็ก ขาดการจัดการดูแลเร่ืองการเล่นและกิจกรรมที่เหมาะ
สาหรับเด็กอย่างมีส่วนร่วม รวมท้ังขาดพลังการขับเคล่ือนนโยบายส่งเสริมสิทธิการเล่นของเด็ก และ
ขาดกลไกผู้ดูแลการเล่นท่ีจะเป็นพลังและเป็นเครือข่ายในการขับเคล่ือนนโยบาย เพื่อก่อให้เกิดการเล่น
อย่างเป็นอิสระสาหรับเด็ก ๆ เพราะการเล่นมีความหมายและคุณค่าสาหรับเด็ก ๆ ไม่เพียงแค่ความสุข
แตก่ ารเลน่ เปน็ ส่งิ มหศั จรรย์ทสี่ ่งเสรมิ พัฒนาการการเรยี นรูข้ องเด็กได้

ด้วยสถานการณ์ดังกล่าวผู้วิจัยได้เล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาเด็กทุกช่วงวัยผ่านการเล่น
โดยให้ความสาคัญของการมีส่วนร่วมในการสร้างพ้ืนที่สร้างสรรค์ อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาเด็ก
ครอบครัว และชุมชน อย่างเป็นรูปธรรมและย่ังยืน ที่จะส่งผลให้เด็กและครอบครัว ชุมชน องค์กรหรือ
เครอื ขา่ ยที่เกีย่ วขอ้ งมสี ่วนรว่ มและมพี ืน้ ท่ีในการพัฒนาเดก็ ตอ่ ไปในระยะยาว

๑.๓ คำถำมกำรวิจยั
๑.๓.๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค พัฒนาเป็นต้นแบบพ้ืนท่ี

สรา้ งสรรค์เดก็ ไทยเลน่ เปลีย่ นโลกได้หรอื ไม่
๑.๓.๒ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูพ่ีเลี้ยง และผู้ดูแลเด็กสามารถพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับ

กระบวนการเลน่ กบั เด็กปฐมวัยได้หรือไม่
๑.๓.๓ จะทาให้ต้นแบบพื้นที่สร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก เกิดความย่ังยืนในชุมชนได้

อย่างไร

๑.๔ วัตถุประสงค์
๑.๔.๑ เพ่ือพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค ให้เป็นต้นแบบพ้ืนที่

สรา้ งสรรคเ์ ดก็ ไทยเล่นเปลย่ี นโลก
๑.๔.๒ เพ่ือพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับกระบวนการเล่นกับเด็กปฐมวัย ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง

ครูพเี่ ลีย้ ง และผู้ดแู ลเด็ก
๑.๔.๓ เพือ่ ให้ตน้ แบบพ้ืนทส่ี รา้ งสรรค์เด็กไทยเลน่ เปล่ียนโลก เกดิ ความยัง่ ยนื ในชุมชน

๑.๕ ประโยชนท์ คี่ ำดวำ่ จะไดร้ ับ
๑.๕.๑ เกิดต้นแบบพ้ืนที่สร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก ๔ ภาค นาไปสู่การขยายผลเพ่ือ

พัฒนาต้นแบบเด็กไทยเลน่ เปล่ยี นโลกใน ๗๗ จงั หวัดท่ัวประเทศไทย
๑.๕.๒ ครอบครวั ชมุ ชนเกดิ ความรอบรู้ และปรับความคิดเกี่ยวกับการเล่นกับเดก็ ตามแนวคิด ๓F
๑.๕.๓ หนว่ ยบรกิ ารตา่ ง ๆ ในชมุ ชน เชน่ วดั โรงเรยี น โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล รวมท้ัง

เครือข่ายชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาต้นแบบพื้นที่สร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก ทาให้เกิดความ
ยัง่ ยนื ในระดับพ้นื ที่



๑.๖ ขอบเขตกำรวิจัย
การวิจัยคร้ังนี้เป็นการพัฒนาต้นแบบพ้ืนที่สร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก กรณีศึกษา

ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กองคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ๔ ภาค ไดแ้ ก่ ศูนย์พัฒนาเดก็ บ้านหัวช้าง จงั หวดั ศรสี ะเกษ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดพุทธกาญจนนิมิต จังหวัดกาญจนบุรี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสตูล
จังหวัดสตูล โรงเรียนอยู่เมืองแกลง จังหวัดระยอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยทั้งหมด ๓๖ คน
โดยมรี ะยะเวลาในการวจิ ยั ระหว่าง เดอื นมกราคม ถึง เดือน มนี าคม ๒๕๖๓

๑.๗ นิยำมศพั ทท์ ่ีใช้ในกำรวจิ ยั
๑.๗.๑ พ้ืนท่สี รา้ งสรรค์ หมายถงึ พืน้ ทีใ่ นศูนยพ์ ัฒนาเดก็ ปฐมวยั หรือโรงเรยี น โดยมอี งคป์ ระกอบ

ที่สาคญั ดงั น้ี
๑) พ้ืนท่ีเล่น (Play space) ต้องมีส่ิงแวดล้อมพ้นื ท่ีท่ปี ลอดภัยสาหรบั เด็ก
๒) ผ้ดู ูแลการเล่น (Play Worker)
๓) กระบวนการเล่น เลน่ อิสระครอบครัวมสี ่วนรว่ ม
๔) หน่วยบริหารจดั การการเล่นใหเ้ กดิ ความต่อเน่อื งคงอยู่ตลอดไป

๑.๗.๒ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค หมายถึง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๓
แหง่ โรงเรียน ๑ แห่ง ได้แก่

๑) ศูนยพ์ ฒั นาเด็กบ้านหวั ช้าง ตาบลหวั ชา้ ง อาเภออุทุมพรพิสยั จงั หวัดศรสี ะเกษ
๒) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดพุทธกาญจนนิมิต วัดวังด้ง ตาบลวังด้ง อาเภอเมือง
จังหวดั กาญจนบุรี
๓) ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กเทศบาลเมอื งสตลู อาเภอเมือง จังหวัดสตลู
๔) โรงเรยี นอยูเ่ มอื งแกลงเทศบาล ตาบลเมืองแกลง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
๑.๗.๓ การพฒั นาศกั ยภาพพอ่ แม่ ผู้ปกครอง หมายถึง การพัฒนาศักยภาพเก่ยี วกับกระบวนการ
เล่นกับลูก โดยให้มีการสร้างบรรยากาศในการเล่น เปิดใจและเปิดโอกาสในการเล่น เคารพสิทธิของเดก็ ใน
การเล่นและให้กาลังขณะท่เี ด็กกาลงั เล่น
๑.๗.๔ การพัฒนาศักยภาพครู พี่เล้ียง ผู้ดูแลเด็ก หมายถึง การพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับ
กระบวนการเล่นกับเด็ก โดยให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องธรรมชาติการเล่นของเด็ก ยอมรับความแตกต่าง
และความสามารถของเด็กแต่ละคน สร้างบรรยากาศในการเล่น ยืดหยุ่น รับฟัง เปิดโอกาส เปิดกว้างให้
เดก็ ในการเล่น
๑.๗.๕ ความยั่งยนื ในชุมชน หมายถึง การพฒั นาตน้ แบบพน้ื ท่สี รา้ งสรรค์ “เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก”
โดยเกิดความรว่ มมือจาก ๓ ส่วน ได้แก่ บา้ น/ครอบครวั สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั /หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข
และชุมชน



บทท่ี ๒
ทบทวนวรรณกรรม

การวิจัยครั้งน้ีเป็นการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก กรณีศึกษา
ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ๔ ภาค ได้ทบทวนวรรณกรรมทเี่ กีย่ วข้องดังน้ี แนวคิด
เกย่ี วกับเดก็ แนวคดิ /ทฤษฎเี ก่ยี วกบั การเล่น และผลงานวิชาการท่ีเกี่ยวข้อง

๒.๑ แนวคิดเก่ยี วกบั เดก็

๒.๑.๑ แนวคิดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวยั
คณะกรรมาธิการนานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ แห่งยูเนสโก ได้กล่าวถึง

“สี่เสาหลักทางการศึกษา” ประกอบด้วยการเรียนรู้ ๔ รูปแบบ (Wungsrikoon A.๒๐๑๖ อ้างถึงใน

ปยิ นันท์ พลู โสภา ๒๕๖๐) ประกอบด้วย
๑) การเรียนรู้เพื่อรู้ หมายถึง การเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การฝึกสติสมาธิ

มากกวา่ การมอบความรูใ้ ห้แก่เดก็ เพือ่ ให้สามารถเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต
๒) การเรียนรู้เพื่อให้นาไปปฏิบัติได้หมายถึง การเรียนรู้เพื่อมุ่งพัฒนาความสามารถ

โดยกระบวนการเรียนรู้จะเป็นการบูรณาการระหว่างความรู้และการฝึกปฏิบัติท่ีเป็นประสบการณ์ต่าง ๆ

ทางสงั คม
๓) การเรียนรู้ท่ีจะอยรู่ ่วมกัน หมายถึง การเรียนรู้ท่ีทาให้ผู้เรียนสามารถดารงชีวติ อย่รู ่วมกับ

ผู้อน่ื ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข
๔) การเรียนรู้เพื่อชีวิต หมายถึง การเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และ

สติปญั ญา ให้ความสาคัญกับจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

นอกจากน้ียังมีนักจิตวิทยาอีกหลายท่านท่ีได้มีการกล่าวถึงการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
ว่าการเรียนรนู้ ั้นเป็นการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตเด็กจะเรียนรผู้ ่านประสบการณ์

ทีไ่ ดผ้ า่ นกิจกรรมทีก่ ระทาและการเลน่ ดงั น้ี
Dachakup, Y ๑๙๙๙ อ้างถึงใน ปิยนันท์ พูลโสภา ๒๕๖๐ กล่าวว่า ในการเรียนรู้ของเด็ก

ปฐมวยั น้นั เด็กในวัยนีค้ วรได้รับการฝกึ ฝนให้พัฒนาทกั ษะทางด้านตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๑) ทักษะท่เี ก่ยี วกับประสาท

สัมผัสและการเคล่ือนไหวพื้นฐาน (Basic Sensory Motor Skills) ๒) กระบวนการในการคิด (Thinking
Process) ๓) การเกิดความคิดรวบยอด (Concepts) และ ๔) การฝึกรูปแบบในการพูด (Speech

Form) ทั้งน้ีเพ่ือให้เด็กเกิดความเข้าใจและเกิดการเรียนรสู้ ่ิงต่าง ๆ รอบตัวจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า
ในการเรียนรู้ของเด็ก ครูควรมีความเข้าใจถึงแต่ละช่วงของพัฒนาการว่าสามารถเรียนรู้อะไรได้โดยวิธีใด
ทง้ั น้ีเพื่อช่วยสง่ เสรมิ ให้เดก็ พฒั นาการเรียนรไู้ ด้ดีย่ิงขน้ึ

เพียเจต์ Piaget ๑๙๖๗ อ้างถึงใน ปิยนันท์ พูลโสภา ๒๕๖๐ กล่าวว่า เป็นกระบวนการการ
ปรับตัว หรือการปรับโครงสร้าง โดยการดูดซึมประสบการณ์(Assimilation) และการขยายประสบการณ์เข้าสู่

โครงสร้าง (Accommodation) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้จากการที่เด็กพร้อมท่ีจะเรียน (Learning Through
Being Ready to Learn) เพียเจตเ์ ช่อื ว่าเดก็ จะเรียนรู้ไดด้ ีเม่อื มคี วามพรอ้ ม (Readiness) หรอื เกดิ วุฒภิ าวะ
(Maturity) ทเี่ กดิ มาจากการทาหน้าท่ีของสมองหรอื วัยวะต่าง ๆ ท่เี กดิ จากการควบคุมของสมอง

แลนด์เดร็ธ ๑๙๕๑ อ้างถึงใน ปิยนันท์ พูลโสภา ๒๕๖๐ ได้เสนอรูปแบบในการเรียนของเด็ก
ปฐมวัยว่าเป็นกระบวนการท่ี “กา้ วหนา้ จากจุดหนึง่ ไปยังอีกจดุ หนง่ึ ” (Form-to-To Process) ซึง่ ประกอบ

ไปด้วย กระบวนการในการเรียนรู้ท่ีมีความสัมพันธ์กัน ๑๗ ประการ ดังน้ี ๑) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้การใช้



ประสาทสัมผัสเพื่อนาไปสู่การแยกประเภทและการเรียนรู้สัญลักษณ์ ๒) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้ส่ิงที่เป็นไป
โดยธรรมชาติ เพื่อนาไปสู่การควบคุมการสร้างความสัมพันธ์ การหาแนวทางของตน และการเลียนแบบใน

การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ๓) เด็กปฐมวัยจะพัฒนาการการออกเสียงอ้อแอ้ เพื่อนาไปสู่การ
เรียนรู้ภาษา ๔) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้จากการอ่านภาพที่เป็นสัญลักษณ์ เพื่อนาไปสู่การอ่านหนังสือ
๕) เด็กปฐมวยั จะเรยี นรู้จากการขดี เขยี นเพือ่ นาไปสกู่ ารเรยี นหนงั สือ ๖) เดก็ ปฐมวัยจะเรยี นรู้จากการได้รับ

ประสบการณเ์ พ่ือนาไปสกู่ ารศกึ ษาข้อมูล ๗) เดก็ ปฐมวัยจะเรยี นรสู้ ิ่งท่ปี ระหลาดมหัศจรรย์ เพอื่ จะเขา้ ใจส่ิง
ที่เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ๘) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์และพืช เพ่ือนาไปสู่การเรียนรู้ระบบ

ของร่างกายและระบบนิเวศวิทยา ๙) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้จากการลากเส้นการแต้มสีและการละเลงสี
เพ่ือนาไปสูก่ ารวาดภาพ ๑๐) เดก็ ปฐมวัยจะเรยี นร้จู ากการทาสิง่ ตา่ ง ๆ เพ่ือไปสกู่ ารใช้เคร่อื งมอื ง่าย ๆ และ
การพัฒนาทักษะในการสร้างงานฝีมือ ๑๑) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้จากการเขย่าและโยกตัวไปสู่การเต้นรา

๑๒) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้จากการฮมั เพลงไปสู่การรอ้ งเพลง ๑๓) เด็กปฐมวัยจะเรียนรกู้ ารได้ยินเน้อื เพลง
เพื่อนาไปสู่การฟังเพลง ๑๔) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้ที่จะตระหนักถึงความต้องการของผู้อื่น เพ่ือนาไปสู่

การอยู่ร่วมกับผู้อื่น ๑๕) เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้จากการได้รับการดูแลเพื่อนาไปสู่การดูแลตนเอง ๑๖) เด็ก
ปฐมวยั จะเรียนรทู้ ่จี ะเปน็ สมาชกิ ของบ้านหรือศนู ย์เดก็ เพอื่ นาไปสกู่ ารเป็นสมาชกิ ของชุมชนและ ๑๗) เด็ก
ปฐมวยั จะเรียนรสู้ ่ิงท่เี ป็น “ของฉัน” เพอื่ นาไปสู่การรู้สึกวา่ “ฉนั เปน็ ใคร” เดก็ จะเรยี นรู้จากการใช้ประสาท

สัมผัสทั้ง ๕ โดยอาศัยประสบการณ์เดิมเพ่ือจานามาพัฒนาการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ และนามาปรับใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั ได้

ฟีนีย์และคณะ (Feeney and others, ๑๙๘๗ อ้างถึงใน ปยิ นันท์ พลู โสภา ๒๕๖๐) กล่าวถึง
วิธีการท่ีเด็กปฐมวัยจะเกดิ การเรียนรู้ว่า เด็กปฐมวัยจะเกดิ การเรยี นรู้ผ่านประสบการณ์ที่หลากหลายซ่ึงจะ
ช่วยให้เด็กสามารถพัฒนาทักษะหรือความคิดรวบยอดเกินกว่าหนึ่งอย่าง ในการเรียนรู้ของเด็กนั้นเด็กจะ

เรียนรู้โดยวิธตี ่าง ๆ ดังน้ี ๑) การเรียนรู้จากการเล่น (Learning Through Play) การเล่นเป็นวธิ ีการเรยี นรู้
อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งนับได้ว่าเป็นการทางานของเด็ก การเล่นเป็นวิธีท่ีสาคัญมากท่ีเด็กจะทาความเข้าใจและ

รวบรวมประสบการณ์ทั้งหมดที่ได้รับเข้าด้วยกัน การเล่นเป็นกิจกรรมท่ีน่าสนุกสนานท่ีเด็กเล่นเพื่อความ
พอใจของตนและผลงานท่ีได้รับเป็นเป้าหมายรอง ขณะที่เด็กเล่นเด็กจะได้รับการกระตุ้นและเกิดสมาธใิ น
การเล่น เดก็ จะแสวงหาและเรียนรโู้ ลกทีเ่ ขาอยู่ ขณะเลน่ มีกิจกรรมหลากหลายที่เกิดตามมาโดยไมร่ ู้ตวั เชน่

การเล่นสมมุติ เด็กจะได้พัฒนาทางด้านร่างกายสังคม ได้แสดงออกซึ่งความคิดเรียนรู้ ความคิดรวบยอด
และสร้างสรรค์ โดยครูไม่ต้องมีส่วนร่วม การเล่นจะเป็นการแสดงออกซึ่งความคิดและความรู้สึกของเด็ก

บทบาทของครูคือ ควรส่งเสริมการเล่น โดยจัดหาอุปกรณ์นานาชนิดใหม่ เช่น ทราย น้า บล็อก การวาด
ภาพ การเล่นสมมุติและส่งเสรมิ ให้เด็กใช้สิ่งเหล่านใ้ี นการเล่น ประสบการณ์ตรงเป็นพ้ืนฐานสาคัญของการ
เลน่ กจิ กรรมทคี่ รูควรจัด ได้แก่ การไปทัศนศึกษา การเชญิ วิทยากรมาบรรยาย และการจัดกจิ กรรมที่ต้องมี

การกระทาจริง เวลาเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของการเล่น เพราะถ้ามีเวลามาก การเล่นและการเรียนรจู้ ะ
เป็นกิจกรรมที่มีคุณค่า ถ้ามีเวลาในการเล่นน้อยไป การเล่นก็จะไม่ช่วยให้เด็กเกิดประสบการณ์และ

ไม่ช่วยให้เกิดพัฒนาการใด ๆ แต่จะเป็นการเสียเวลา เสียพลังงานไปเปล่า ๆ ถ้าเด็กได้เล่นแค่
๑๐ – ๑๕ นาทีในการเล่น ขณะที่เล่นครูอาจจะตั้งคาถามท่ีกระตุ้นให้เด็กคิดและสร้างจินตนาการไปด้วย
แต่ไม่ควรถามคาถามท่ียากจนเกินไปการสนทนาและการตอบสนองของเด็กเป็นวิธีการท่ีเหมาะสมสาหรับ

การประเมินความรู้และทักษะของเด็ก ถ้าครูจะสอนทักษะเรื่องใดเร่อื งหนึ่ง ครูอาจจะต้องเตรียมกิจกรรม
เสนอให้เด็กเป็นรายบุคคลสาหรับเด็กพิเศษ การสอนเด็กแบบหนึ่งต่อหน่ึงครูควรให้เด็กอื่น ๆ ทางานอ่ืน

โดยมผี ้ชู ่วยหรอื ครูหรืออาสาสมคั รช่วยดแู ลเด็กทั้งชัน้ ขณะที่ครูสอนเด็กเปน็ รายบุคคลการจดั ประสบการณ์
แบบหน่ึงต่อหน่ึงเป็นการสอนที่ดี ได้ผลเร็วและมีคุณค่า และยังสร้างความสนใจ ทาให้เด็กเข้าใจได้ดีขึ้น



เม่ือครูพูดถึงเด็กกับอุปกรณ์การเล่นการอ่านนิทาน และการแลกเปล่ียนประสบการณ์เก่ียวกับสีใดสีหนึ่ง
ซึ่งนนั่ เปน็ ประสบการณ์การเรียนรู้ที่มีความหมายมากที่สดุ แมว้ ่าครูจะไม่สามารถจดั ประสบการณ์ดังกล่าว

ให้แกเ่ ด็กทกุ คน ครูก็ควรหาโอกาส เช่นนใ้ี หก้ บั เด็กนักเรียนบา้ งเปน็ ครงั้ คราว
การเรียนรู้โดยการมีปฏิสัมพันธ์กับครู (Learning Throughly reaction With Teacher)

การเรยี นรูใ้ นลกั ษณะน้ีคอื การเรียนรู้จากกิจกรรมท่คี รูเตรยี มขึ้น สามารถจดั ได้ใน ๓ ลกั ษณะ ดังน้ี

๑) การจัดประสบการณ์แบบหน่ึงต่อหน่ึง ในการมีปฏิสัมพันธ์แบบหน่ึงต่อหนึ่งครูจะสังเกต
อารมณ์กระบวนการการเรียนรู้ของเด็กและการมีส่วนร่วมของเด็กจากการสนทนาและการตอบสนอง

ของเด็ก วิธีการน้ีเป็นวิธีการที่เหมาะสมสาหรับการประเมินความรู้และทักษะของเด็ก ถ้าครูจะสอนทักษะ
หรอื เรอ่ื งใดเรือ่ งหนงึ่ ครจู ะสงั เกตอารมณ์ กระบวนการเรยี นรขู้ องเด็กและการมสี ่วนร่วม เดก็ ๆ ชอบ
เลยี นแบบ มกั จะทาส่งิ หน่งึ ส่งิ ใดซา้ ๆ ชอบคน้ หา ปฏบิ ตั ิ ทดลอง เปรยี บเทียบ และหาความสัมพันธ์ของสิ่ง

ต่าง ๆ เขาสามารถแยกแยะหาวิธีการเพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังน้ันการจัดประสบการณ์เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ
และการเรียนรู้ในช่วงวยั น้ีจะมุ่งเน้นการตอบสนองธรรมชาติ และความต้องการตามวยั ของเด็กอยา่ งสมดลุ

เพราะเด็กจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อเด็กได้รับประสบการณ์ตรงได้ฝึกการคิด แสดงออกอย่างอิสระ
และสามารถนาความรู้ท่ไี ด้รับจากประสบการณ์นน้ั ทาใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรู้ เดก็ ปฐมวยั พร้อมที่จะเรียนร้สู ิ่ง
ต่าง ๆ และพร้อมเรียนรู้ในส่ิงที่ยากขึ้น เด็กปฐมวัยควรได้รับการฝึกฝนทักษะท่ีเขาได้เรียนรู้แล้ว เราจึง

มงุ่ เนน้ พัฒนาทกั ษะใหแ้ ก่เดก็ มากกวา่ การมอบความรู้ ประกอบกบั การเรยี นร้ใู นสงั คมปจั จุบันที่มกี ารพัฒนา
และกา้ วหนา้ ไปอย่างรวดเร็ว ครูและผู้ปกครองควรจัดประสบการณ์ที่แตกตา่ งออกไปจากทักษะเดิมโดยเพิ่ม

ความยากขึ้นไปเล็กน้อยจากส่ิงท่ีเด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้ได้ ดังนั้นการจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ จึงมี
ลกั ษณะผสมผสานเชิงบูรณาการให้มคี วามทา้ ทายตามชว่ งวยั ตามแนวคิดเกี่ยวกับการเลน่ ของเดก็ ปฐมวยั

๒) การจัดประสบการณ์แบบกลุ่มย่อย การจัดกิจกรรมเป็นกลุ่มย่อยนี้ควรจัดให้เด็ก ๘ คน

หรือน้อยกวา่ นั้น ซงึ่ ในการจดั กิจกรรมกลุม่ ยอ่ ยนค้ี รูอาจใช้สาหรบั แนะนากิจกรรม เนอ้ื หาหรือแนะแนวทาง
ความสมั พันธ์กบั เด็กอ่ืน ๆ การจดั กิจกรรมดังกล่าวควรมีขนาดเล็กพอที่เดก็ แต่ละคนจะสามารถแลกเปล่ียน

ประสบการณ์หรือความคิดกับเด็กคนอื่น ๆ เพราะเด็กจะได้อดทนรอคอยได้และครูสามารถจะสังเกตการ
แสดงออกของเด็ก หรือสามารถประเมินและอธิบายส่ิงต่าง ๆ ได้ทันที ในกลุ่มย่อย เด็กจะมีโอกาสพัฒนา
ทักษะที่สาคัญบางประการท่ีเขาไม่สามารถทาได้ในกลุ่มใหญ่ ทักษะดังกล่าวได้แก่ การฟัง การพูด การ

แก้ปัญหา การตัดสินใจอย่างมีเหตุผล การเป็นผู้นาและผู้ตาม การทาตามกฎเกณฑ์ การทาข้อตกลง
ทกี่ ลุ่มเลอื กในกลุ่มยอ่ ย เด็กจะมคี วามร้สู ึกเป็นสว่ นหนึ่งของกลุ่ม และมคี วามรับผดิ ชอบร่วมกนั

๓) กิจกรรมกลุ่มใหญ่ (Large Group Experiences) กิจกรรมกลุ่มใหญ่จะเป็นกิจกรรมท่ี
รวมเด็กทั้งหมดในชั้นเข้าไว้ด้วยกันเพื่อให้เด็กมีโอกาสทากิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึง เช่น แลกเปล่ียน
ประสบการณ์ หรอื รับฟังเรื่องราวตา่ ง ๆ การจดั กจิ กรรมกลุ่มใหญ่จะดีในแง่การประหยัดเวลา และแรงงาน

แต่ก็ไม่ใช่วิธีการท่ีดีที่สุดท่ีจะใช้สอนเด็กได้ทุกอย่าง การจัดกิจกรรมกลุ่มใหญ่จะได้ผลดีต่อเมื่อเด็กได้มี
ส่วนร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่หรือทากิจกรรมอย่างหน่ึงอย่างใดร่วมกัน เช่น ร้องเพลง สังเกตหรือชมการ

แสดงท่ีเด็กสนใจ เช่น ฟังนิทาน หรือดูการเชิดหุ่น เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการอย่างรวดเร็วท้ังทางร่างกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา เดก็ ปฐมวัยจะเรียนร้จู ากการกระทา และการเล่น (Learning Through
Doing)

สรุปการพัฒนาเด็กปฐมวัยเกิดข้ึนจากการเรียนรู้ ซึ่งการเรียนรู้ของเด็กกระทาผ่านการเล่น
การท่ีเด็กได้เล่นเป็นการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของสมอง ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ฉะนั้นการเรียนรู้

จากประสบการณ์จริง การได้ใช้ประสาทสัมผัสของเด็กช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟัง การมอง
การได้ใช้รา่ งกาย ทากิจกรรมอย่างใดอยา่ งหน่ึงมผี ลต่ออารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญาของเดก็



๒.๒ แนวคิด/ทฤษฎีเกีย่ วกับกำรเล่น
๒.๒.๑ ควำมหมำยของกำรเล่น
นักจิตวิทยาเด็กและนักการศึกษาในต่างประเทศ ได้ให้คาจากัดความของ “การเล่น”

ไว้หลากหลายตามแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับการเล่นที่แตกต่างกันไปดังน้ี (Fromber, Johnstie
and Yawkey ๑๙๘๗ ; Rubin, Fein and Vandenberg ๑๙๘๓)

การเลน่ คอื การแสดงออกโดยเสรี เกิดความเพลิดเพลิน (Seashore)
การเลน่ คือ ธรรมชาตขิ องเดก็ (Froebel)
การเลน่ คือ สัญชาตญิ าณการแสดงออกท่ีปราศจากความเครียด (Groos)
การเล่น คือ การสรา้ งสมประสบการณแ์ ละการรู้จักปรบั ตัวให้เข้ากบั สถานการณต์ ่าง ๆ
การเล่น คือ การระบายพลังงานสว่ นเกนิ (Schiller)
การเลน่ คอื จิตใจและการกระทาทฝ่ี งั แนน่ อยใู่ นชวี ติ เด็กตราบจนปัจจุบัน (Hall)
การเล่น คือ กระจกเงาและงานของเดก็ ท่ีสะท้อนให้เหน็ ถึงพัฒนาการ (Gordon and Brown)
การเล่น คือ กจิ กรรมทเ่ี ป็นอสิ ระ ไมม่ จี ุดมงุ่ หมาย สนุกสนาน (Lazarus)
การเลน่ คือ กิจกรรมท่ีทาใหเ้ กิดพฒั นาการทางสตปิ ัญญา (Piaget)
การเล่น คอื กิจกรรมทีม่ แี รงจูงใจสงู ปราศจากความขดั แย้งใด ๆ (Curtis)
ฮาร์ลีย์ และคณะ (Hartley et al ๑๙๕๒ อ้างถึงใน Gordon และ Browne ๑๙๘๕)
ไดส้ รปุ ลกั ษณะของการเล่นไว้ ดงั นี้
๑. การเล่น คือ การเลียนแบบผใู้ หญ่ (To imitate adult)
๒. การเล่น คือ การเลียนแบบบทบาทชีวิตจริง (To play out real-life roles in
intensive ways)
๓. การเล่นสะท้อนถึงความสัมพันธ์ในบ้าน และประสบการณ์ชีวิตจริง (To reflect
home relationships and real-life experiences)
๔. การเล่น คือ การระบายความกดดนั (To express pressing needs)
๕. การเล่น คือ การผ่อนคลายการกระทาที่ไม่เป็นที่ยอมรับ ( To release
unacceptable impulse)
๖. การเล่นเปน็ การเปลย่ี นบทบาททีซ่ ้าซาก (To reverse roles usually taken)
๗. การเล่นเปน็ กระจกสะทอ้ นให้เห็นถึงการเจรญิ เติบโต (To mirror growth)
๘. การเล่นคือการทดลองและแก้ไขปัญหา (To work out problems and experiment
with solutions)
สุชา จนั ทร์เอม (๒๕๓๘) ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะการเลน่ ของเด็กในประเด็นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่
๑. การเล่นของเด็กเป็นไปตามแบบแผนพัฒนาการ ไม่ว่าเด็กจะอยู่ในส่ิงแวดล้อมชนิดใด
เชื้อชาติหรือเศรษฐกิจชนิดใดก็ตาม จะมีแนวการเล่นเหมือนกับอยู่ในระยะเด็กเล็ก การเล่นนี้จะค่อย
เปล่ียนไปเม่ือโตขนึ้ ในระยะแรก การเล่นของเด็กได้แก่ การเคลื่อนไหวประสาทสมั ผัส ตอ่ มาเมือ่ มสี ตปิ ญั ญา
พฒั นาขน้ึ การเล่นจะซบั ซ้อนมากขนึ้ จนรูจ้ กั เลน่ สง่ิ ท่มี ีกฎเกณฑ์ท่ียากขึน้ ตามลาดับ
๒. การเล่นของเดก็ จะลดลงเมอ่ื เดก็ มีอายุเพิ่มข้ึน เนือ่ งจากเด็กมีกิจกรรมอน่ื ท่ีตอ้ งทามากข้ึน
การเลน่ กจ็ ะลดลงเพราะเดก็ มีเวลาเล่นน้อยลง
๓. เด็กจะใช้เวลาในการเล่นมากข้ึนเมื่ออายุเพิ่มข้ึน เด็กอายุ ๒ ขวบ โดยเฉลี่ยจะเล่นในส่ิงที่
ตนชอบประมาณ ๖.๙ นาที ส่วนเดก็ อายุ ๕ ขวบ จะเลน่ ในสง่ิ เดยี วกนั นาน ๑๒.๖ นาที

๑๐

๔. การเล่นของเด็กไม่มีแบบแผน การเล่นของเด็กเป็นไปตามธรรมชาติและไม่มีแบบแผน
เด็กจะเล่นอะไรนั้นย่อมขึ้นอยู่กับความพอใจของเด็ก การเล่นของเด็กจะค่อยๆ มีแบบแผนข้ึนเม่ือ
เขา้ สวู่ ัยรุ่น

๕. การเล่นท่ีต้องใช้กาลังกายจะลดลงเมื่อเด็กโตข้ึน การเล่นที่ใช้พลังงานของเด็กวัยรุ่น
จะลดลงเพราะเด็กอาจจะสนใจในกิจกรรมอ่ืนเพ่ิมขน้ึ

จะเห็นไดว้ า่ การเลน่ ไม่มีขีดจากัดในเร่อื งความสามารถของการเล่น การเลน่ เป็นส่งิ มหศั จรรย์
สาหรับเด็กในการเสริมสร้างทักษะทางด้านจิตใจ อารมณ์ สงั คมและร่างกายของเดก็ ใหม้ พี ฒั นาการท่ดี ีเมื่อ
ได้เล่น เป็นการได้ปลดปล่อยอารมณ์และความรู้สึกนึกคิดออกมาเป็นจินตนาการผ่านการเล่นที่สามารถ
ออกแบบได้ ไมว่ า่ จะอยู่ในสถานการณ์หรอื สิง่ แวดล้อมใดก็ตาม

๒.๒.๒ ควำมสำคญั ของกำรเลน่
นักจิตวิทยา ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการเล่นของเด็กและได้อธิบายให้เห็นว่าทาไม

เดก็ จึงเล่น สรปุ สาระสาคัญได้ ดังน้ี (นริ มล ชยตุ สาหกิจ. ๒๕๒๔:๑ – ๒)
๑. การเล่นเป็นการใช้พลังส่วนเกินของเด็ก เด็กเล่นเพราะเด็กมีพลังส่วนเกินของกล้ามเนื้อ

จงึ ต้องปลดเปล้อื งพลังส่วนเกินนน้ั ด้วยการเลน่
๒. การเลน่ เป็นการฝกึ ซอ้ มตามสญั ชาตญาณ เป็นการเตรยี มตวั เพือ่ ปฏบิ ัติกจิ กรรมแบบผูใ้ หญ่
๓. การเล่นเป็นการทบทวนการปฏิบัติตามวัฒนธรรม ดังน้ัน การเล่นจึงเป็นไปตาม

สัญชาตญาณและตามชาติพันธุ์ การเล่นเป็นการนาเอากิจกรรมของบรรพบุรุษออกมาแสดงและเป็น
การกระทาตามวิถีชวี ิตทีค่ นรุ่นเกา่ เคยกระทามาแลว้

๔. การเล่นเป็นแนวทางการแสดงออกทางอารมณ์ท่ีผู้แสดงรู้สึกว่าปลอดภัย การแสดงออก
บางอย่างหากแสดงออกมาในรูปแบบของการเล่นก็จะไม่มีใครว่ากระไร เพราะถือว่าเป็นเพียงแค่การเล่น
แตห่ ากการแสดงออกน้ันเป็นรูปแบบอนื่ ผลท่ีตามมาอาจจะไม่เปน็ ทย่ี อมรับของคนอน่ื

๕. การเล่นเป็นกิจกรรมใด ๆ ก็ได้ที่ผู้เล่นเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินโดยไม่ต้องคำนึง
ถึงผลที่จะตามมา การเล่นเป็นการกระทาท่ีก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินในตัวของการกระทา
น้นั ๆ เอง

๖. การเลน่ เป็นการลองผิดลองถกู เปน็ การคน้ คว้าดว้ ยการสมั ผัสและเปน็ การทดสอบทดลอง
สิง่ ท่ีสงสยั

๗. การเล่นเป็นการกระทำที่เป็นผลรวมของพฤติกรรมทั้งหมดของเด็ก เป็นการปรับตัวเพื่อ
ให้เกิดความรู้ความเข้าใจกับสิ่งรอบตัว และหาข้อมูลท่ีรู้และเข้าใจนั้นเข้าไปเก็บสะสมไว้ในโครงสร้าง
ทางสติปัญญา เพ่ือปรับขยายโครงสร้างเดิมให้กวา้ งใหญข่ ึ้น อันเป็นการเตรียมพร้อมที่จะรับการเรยี นร้ขู น้ั
ต่อไปอีก การเล่นเปน็ ส่วนสาคัญของพัฒนาการทางสตปิ ญั ญาซึง่ เกดิ ขึ้นเป็นลำดับต่อเน่อื งกัน

สรุปได้ว่า การเล่นของเด็กมีความหมายและความสำคัญต่อชีวิตของเด็กหลายประการ
โดยกอ่ ให้เกิดคณุ คา่ ตอ่ พฒั นาการทางด้านรา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์ จติ ใจ และสังคมของเดก็

๒.๒.๓ ทฤษฎเี ก่ยี วกับกำรเล่น
๑. ทฤษฎีจิตวิเครำะห์ (Psychoanalytic Theory) ผู้ที่เป็นต้นกาเนิดของทฤษฎี

จิตวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการเล่น ได้แก่ ซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) และ แอนนา ฟรอยด์
(Anna Freud) ฟรอยด์ มีความเห็นว่า คุณค่าของการเล่นที่สาคัญคือ การเล่นมีผลต่ออารมณ์ของเด็ก
โดยเฉพาะความวิตกกังวลในเด็ก ฟรอยด์ได้กล่าวถึงความวิตกกังวลท่ีเกิดขึ้นในระยะขวบปีแรกของชีวิต
ดงั น้ี (Singmund Freud,๑๘๕๖ – ๑๙๓๙ )

๑๑

ความกังวลท่ีเกิดขึ้นอย่างจงใจ (Objective Anxiety) หรือความกลัวต่อโลกภายนอกและ
สิ่งต่าง ๆ รอบตัว อาจเป็นผู้คน สิ่งของ หรืออาการต่าง ๆ เน่ืองจากเด็กวัยทารกและเด็กเล็กยังไม่สามารถ

ช่วยเหลอื ตนเองได้ และเปน็ วัยทย่ี งั ต้องพึง่ พาผ้ใู หญ่ เพื่อสนองตอบตอ่ ความตอ้ งการพื้นฐาน เดก็ เลก็ มคี วาม
กลัวในการถูกทอดท้ิง และยังคงต้องการความเอาใจใส่ดูแลจากผู้ใหญ่ในการดารงชีวิต ฟรอยด์เช่ือว่า
การเล่นช่วยลดความกลัว ความกังวลเก่ียวกับวัตถุ จากการเล่น เด็กจะพัฒนาความรู้สึกมั่นใจในตนเอง

ร้สู กึ วา่ ตนมีอานาจที่จะควบคมุ วัตถตุ ่าง ๆ ได้ การที่เดก็ เขยา่ ของเล่นให้เกิดเสียง ทาใหเ้ ดก็ เขา้ ใจว่าสามารถ
ควบคุมเสียงนั้นได้ หรือการท่ีเด็กเล่นไม้บล็อกและเล่นกับตุ๊กตาที่จาลองจากของจริง ทาให้เด็ก

เกิดความรู้สึกว่าสามารถจัดการกับไม้บล็อกและตุ๊กตาท่ีตนเล่นได้ การเล่นจึงเปรียบเสมือนการจาลอง
สถานการณแ์ ละความร้สู ึกในการแสดงความมอี านาจเหนอื สง่ิ ของ ในทานองเดยี วกันเดก็ ท่เี ลน่ ความสัมพนั ธ์
ระหว่างการเล่นกับพัฒนาการเด็กในช่วงปฐมวัย สมมติตัวเองเป็นสัตว์ประหลาดต่าง ๆ ทำให้ความกลัว

ในสตั วป์ ระหลาดนน้ั ลดลง หรือการที่เดก็ เลน่ ลงโทษตุ๊กตาหลังจากถกู ลงโทษจากพ่อแม่ ทำใหเ้ ด็กลดความ
คบั ข้องใจลงได้ เปน็ ตน้

ความกังวลใจอีกประเภทหนึ่งท่ีเกิดในเด็กเล็ก ได้แก่ ความกังวลใจท่ีเกิดข้ึนเอง
โดยสัญชาตญาณ (Instinctual Anxiety) ซ่ึงเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เม่ือเด็กเผชิญกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีทา
ให้เกิดความกังวลใจ สามารถขจัดความกังวลใจได้โดยการใช้กลไกการป้องกันตัว (Defense Mechanisms)

แบบตา่ ง ๆ นกั จิตวิเคราะหเ์ ชื่อว่า ความร้สู ึกตา่ ง ๆ ที่เกิดข้นึ ในเด็ก เช่น ความรสู้ ึกโกรธ กลัวสิ่งต่าง ๆ โดยไม่
มีเหตุผล ความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องเพศ ความก้าวร้าวอยากทำลายสิ่งของ หรือการเล่นสกปรกเลอะ

เทอะ เหล่าน้ีเกิดข้ึนเนื่องจากผู้ใหญ่เป็นตัวกำหนด และผู้ใหญ่เองไม่ยอมรับในความรู้สึกเหล่านี้ จึงทำให้เด็ก
เก็บกด และกอ่ ใหเ้ กิดความกังวลใจข้นึ การเลน่ ช่วยใหเ้ ด็กลดความคบั ขอ้ งใจลง ยกตวั อยา่ งเช่น เด็กทกี่ ้าวร้าว
ต้องการทำลายของ หรืออยากรังแกเพ่ือน แต่ต้องยับย้ังใจไว้ไม่กล้าทำ จะลดความคับข้องใจได้เมื่อได้มี

โอกาสทุบ หรือเล่นกับส่งิ ของ หรอื เลน่ กับดิน ทราย นา้ เปน็ ตน้ (Hughes, ๑๙๙๑)
ฟรอยด์ (Freud อ้างถึงใน พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์, ๒๕๓๐) กล่าวว่า การเล่นของเด็กน้ัน

เกิดจากการต้องการความพึงพอใจ ซึ่งการที่เด็กจะบรรลุถึงความพึงพอใจได้น้ันจะต้องสนองด้วยการเล่น
นั่นเอง เช่น การท่ีเด็กเล่นเป็นมนุษย์อวกาศ นักขับรถแข่ง พยาบาล หรือแม่ ก็เพ่ือท่ีจะแสดงออกถึงความ
ต้องการที่ทาให้ตนเองมีความพึงพอใจมากข้ึน ฟรอยด์ยังมีความเห็นอีกว่า การเล่นน้ีมีคุณค่าอย่างมากใน

แง่ของการบาบัด เพราะการเล่นจะช่วยให้เด็กสามารถลดความไม่พึงพอใจอันเกิดจากประสบการณ์ได้
โดยคอ่ ย ๆ ลดความวิตกกังวลลง

วัลเดอร์ (Walder อ้างถงึ ใน ประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษติ ๒๕๒๖) มีความคิดเหน็ เชน่ เดียวกับ
ฟรอยด์ แต่เขาคิดว่าการเล่นเพ่ือลดความวิตกกังวลน้นั ไม่สามารถอธิบายถงึ กจิ กรรมการเลน่ ท่ีเกี่ยวข้องกับ
ประสบการณ์ท่ีไม่พึงพอใจอย่างซ้า ๆ ซาก ๆ ของเด็กได้ วัลเดอร์กล่าวว่า เม่ือเด็กมีประสบการณ์ท่ีไม่พึง

พอใจ เขาไม่สามารถท่ีจะลดมนั ได้หมดทันทีในเวลานัน้ ๆ แต่เขาจะตอ้ งสร้างประสบการณน์ ้นั ซา้ แล้วซ้าอีก
โดยการเลน่ เพือ่ ที่จะลดความเข้มขน้ ของประสบการณท์ ไี่ ม่พึงพอใจน้ันลง

แนวคิดจากทฤษฎีจิตวิเคราะห์เห็นได้จากงานเขียนของ อีริคสัน ( Erikson อ้างถึงใน
พรรณทพิ ย์ ศิริวรรณบศุ ย์, ๒๕๓๐) ซ่งึ กล่าวถงึ การเลน่ ว่าการเล่นไม่เพียงแตช่ ่วยลดความกังวลใจ แต่ยงั ช่วย
สร้างความเป็นตนปัจจุบัน (ego) ด้วยเนื่องจากตนปัจจุบันช่วยสร้างพฒั นาการทางรา่ งกายและทักษะทาง

ร่างกาย ระบบความเป็นตน และระบบของสังคมท้ัง ๓ ระบบน้ีเสมอ สิ่งเหล่านี้ทาให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อ
ตนเอง เด็กต้องพยายามปรับตัวโดยปรับสภาพจิตใจ ร่างกายให้เข้ากับสังคม เม่ือเด็กอายุมากข้ึน ร่างกาย

เจริญข้ึน เด็กก็ต้องปรับตัวอยเู่ รื่อย ๆ เพราะวา่ สังคมกาหนดให้มนษุ ย์แตล่ ะวัยมีบทบาทต่างกันไป อีริคสัน
เห็นด้วยกับ ฟรอยด์ที่ว่า ลักษณะของแรงขับ (Libidolinal) จะแทรกซึมอยู่ในหน้าที่และการทางานของ

๑๒

ระบบตา่ ง ๆ อารมณ์เป็นสิง่ ทีเ่ กิดจากการทีบ่ คุ คลไดม้ ีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับคนอ่นื ๆ แกนกลางของ
พฤติกรรมมนุษย์ศึกษาได้จากการเล่นของเด็ก เวลาที่เดก็ เลน่ น้ัน สิง่ ที่น่าสนใจกค็ อื คาถามต่อไปนี้

๑. เดก็ เล่นเกมประเภทไหน
๒. ในการเลน่ เด็กใช้ภาษาท้งั ที่เป็นคาพดู และไมเ่ ป็นคาพูดอย่างไร
๓. เดก็ พยายามดาเนินการเลน่ กับเด็กคนอื่นให้เป็นไปในรปู ใด และใชว้ ธิ ีการอย่างไร

การเลน่ ของเดก็ เปน็ เครอื่ งสะท้อนถึงโครงสร้างของสงั คมแตล่ ะสังคมได้อยา่ งดี เพราะสง่ิ ทเ่ี ด็ก
สมมติข้ึนมาเล่นนั้นจาลองมาจากสภาพชีวิตจริง ๆ ของสังคมน้ัน กล่าวคือ ในการเล่นเด็กจะพบกับ

ความพ่ายแพ้ ความผิดหวัง และความคับข้องใจเหมือนประสบการณ์ในชีวิตจริงด้วย อีริคสันกล่าวว่า
การเล่นเป็นการฝึกตนปัจจุบัน (ego) ให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ดังน้ัน อีริคสันให้ความสนใจในระยะ
๒ ปีแรกของชีวิตมาก เพราะถือว่าระยะน้ีเป็นระยะที่บุคคลจะสร้างลักษณะต่าง ๆ ขึ้นมา และในระยะน้ี

ความสัมพันธ์ระหวา่ งเด็กกับบุคคลอ่ืน ๆ มีอิทธพิ ลตอ่ พัฒนาการของเดก็
นอกจากน้ี อีริคสัน (Erikson อ้างถึงใน Johnson and others, ๑๙๘๗) ยังได้ขยายผลงาน

ของฟรอยดท์ ี่มตี ่อการเลน่ โดยอธบิ ายว่าการเลน่ มีผลต่อพัฒนาการทางบุคลิกภาพของเด็ก การเลน่ ของเด็ก
มีลาดับขั้นพัฒนาการ พัฒนาการของการเล่นในแต่ละขั้นสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการทางจิตใจ และสังคม
ของเด็ก อีรคิ สนั แบ่งการเล่นของเด็กออกเป็น ๓ ขั้น ไดแ้ ก่

๑. การเล่นเก่ียวกับตนเอง (Autocosmic Play) เกิดข้ึนในระยะขวบปีแรกของชีวิต การเล่น
เกิดจากการสารวจอวัยวะของตนเอง เช่น เล่นกับมือและเท้าของตัวเอง จากการสัมผัส และจากทักษะ

การเคลื่อนไหว (การมอง การพูด การฟัง การเดิน) การเล่นสารวจอวัยวะของตนเองน้จี ะช่วยให้เด็กเข้าใจ
ตัวเองดขี ้ึน (Hughes, ๑๙๙๑) ในระยะแรกผู้ใหญ่อาจจะไมค่ ดิ วา่ ส่งิ ท่ีเด็กทานนั้ เป็นการเลน่ ของเดก็ เพราะ
การเล่นของเด็กในระยะนจ้ี ะเร่ิมโดยการเคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายซ้า ๆ ซาก ๆ ตลอดจนส่งเสียง

ซ้า ๆ ซาก ๆ อยู่ตลอดเวลา ต่อมาเด็กทารกจะมุ่งความสนใจในการเล่นออกไปท่ีคนอ่ืนหรือของสิ่งอื่น ๆ
เชน่ การใชเ้ สยี งระดับต่าง ๆ กนั เพอ่ื ดูการสนองตอบของแม่หรือการสารวจหน้าตาและร่างกายของแม่ด้วย

มือ เป็นต้น การเล่นเกี่ยวกับตนเองนั้นเป็นการเริ่มต้นที่จะเรียนรู้ลักษณะต่าง ๆ ของโลก
ทเ่ี ดก็ อาศยั อยู่

๒. การเล่นในโลกเล็ก ๆ ของเด็ก (Microsphere Play) ในระยะขวบปีที่สองเด็กจะหันเห

ความสนใจจากอวยั วะของตนเองไปสู่สิง่ รอบ ๆ ตัว ซึง่ การเลน่ ในโลกเล็ก ๆ ของเดก็ จะเป็นการช่วยปรบั ปรงุ
ตนเอง ซึง่ ในโลกของสง่ิ ของนั้นมีกฎเกณฑ์บางอย่างท่ีเดก็ จะต้องเรยี นรู้ คอื ของนน้ั อาจจะแตกสลายได้ ของ

น้ันอาจเป็นของคนอื่นได้ หรืออาจถูกควบคุมโดยอานาจของผู้ท่ีเหนือกว่าได้ ถ้าเด็กไม่สามารถจัดการกับ
โลกเล็ก ๆ ของเขาไดแ้ ลว้ จะทาให้เขากลบั ไปสกู่ ารเลน่ ในชว่ งแรก คือ การเลน่ เกย่ี วกับตนเอง

๓. การเล่นในสังคมที่กว้างข้ึน (Macrosphere Play) การเล่นประเภทน้ีเกิดขึ้นในระยะปฐมวัยหรือ

เดก็ เริ่มเข้าไปสู่สังคมที่กว้างกว่า เด็กจะสนใจการเล่นที่มีปฏิสัมพันธ์รว่ มกับผอู้ ่ืน เด็กชอบเล่นเป็นกลุ่ม..รจู้ ักแสดง
ความคิดเห็นและจินตนาการ รู้จักกาหนดบทบาทในการเล่น ทาให้เด็กเรียนรู้ที่จะแบ่งปันของเล่นกับผ้อู นื่

ความสาเร็จในการพัฒนาขั้นตอนน้ีเป็นผลเน่ืองมาจากความสาเร็จในการพัฒนาสองข้ันตอนแรก ในขั้นน้ี
เด็กจะต้องเรียนรู้ว่าเมื่อไรท่ีเขาควรจะเล่นคนเดียว และเมื่อไรท่ีควรจะเล่นในสังคม ตัวอย่างเช่น เม่ือเขา
เกดิ ความคบั ข้องใจในการเลน่ รว่ มกับผูอ้ นื่ เขากจ็ ะหลบออกมาเล่นคนเดียว ซ่ึงการหลบออกมาเลน่ คนเดียว

น้ันเป็นการช่วยพัฒนาด้านอารมณ์ของเด็ก ทาให้เด็กมีอารมณ์ดีขึ้น ( Hughes, ๑๙๙๑; อ้างถึงใน
ประภาพรรณ เอ่ยี มสภุ าษิต, ๒๕๒๖)

๑๓

สรุปได้ว่า การเล่นเกิดจากความต้องการความพึงพอใจ และมีผลต่อบุคลิกภาพของเด็ก
แสดงให้เห็นพัฒนาการทางจิตใจ และสังคม จะทาให้เด็กเข้าใจบทบาทของตนเองในสังคมและวัฒนธรรม
ได้ดียิง่ ข้นึ ซ่ึงเปน็ รากฐานของพัฒนาการทางด้านบคุ ลิกภาพในวยั ผู้ใหญ่ตอ่ ไป

๒. ทฤษฎพี ฒั นำกำรทำงสตปิ ญั ญำ (Cognitive Developmental Theory)
พีอาเจท์ (Piaget, ๑๙๖๒ อ้างถึงใน นิรมล ชยุตสาหกิจ, ๒๕๒๔) นักจิตวิทยาชาวสวิส
มีแนวคิดว่า การเล่นเป็นเคร่ืองมือนาไปสู่พัฒนาการทางสติปัญญา กระบวนการคิดของเด็กเกิดข้ึน
ตามลาดับข้ันพัฒนาการทางสติปัญญา ลักษณะของการเล่นของเด็กก็เช่นเดียวกัน พีอาเจท์กล่าวว่า
ส่ิงมีชีวิตทั้งหลายดารงชีวติ อยู่ได้เพราะสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมอยู่เสมอ ท้ังทางด้านสรีระ
(ร่างกาย) และความคิดความเข้าใจ เพื่อให้เกิดความสมดุล การปรับตัวทางร่างกายมีความจาเป็นต่อการ
ดารงชีวิตและการเจริญเติบโต ส่วนการปรับตัวทางความคิดความเข้าใจทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของ
โครงสร้างทางสติปัญญา การปรับตัวน้ันอาศัยกระบวนการพ้ืนฐานสองแบบ ซึ่งทางานประสานสัมพนั ธก์ ัน
มิอาจขาดจากกันได้ ซึ่งเรียกว่า กระบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้าง (Assimilation) และกระบวนการปรับ
ขยายโครงสร้าง (Accommodation) กระบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้างน้ันจะทาหน้าที่เม่ือเรารับรู้
ข้อมูลใด ๆ ก็ตามเกี่ยวกับส่ิงของหรือเหตุการณ์จากภายนอกตัวเรา เข้ามาตีความหมายตามระดับ
ความสามารถเท่าท่ีเรามีอยู่ในตัว ตามระดับสติปัญญาของเราเท่าที่จะรับรู้ต่อสิ่งนั้น ๆ ได้พยายามท่ีจะ
นาเอาข้อมูลท่ีได้รับจากสิ่งของและเหตุการณ์นั้นมาปรับให้เข้ากับความรู้เดิมท่ีมีอยู่ ดังนั้นถ้าข้อมูลใหม่
แตกตา่ งมากเกนิ ไปจากข้อมูลเดิมท่ีเรามีสะสมอยูใ่ นโครงสร้างของสติปัญญา จะไมส่ ามารถเขา้ ใจข้อมูลใหม่
ได้ทั้งหมด ต้องปรับข้อมูลก่อนจึงจะรับเข้าไปในโครงสร้างของสติปัญญาได้ กระบวนการปรับขยาย
โครงสร้าง ทาหน้าที่ตรงกันข้าม คือ ปรับโครงสร้างที่มีอยู่แล้วภายในให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกได้ คือ
มนษุ ย์จะตอ้ งปรับโครงสรา้ งความคิดหรอื โครงสร้างทางสติปัญญาของตนเองให้เหมาะกับประสบการณ์ท่ีจะ
รบั เข้าไป เปรียบเสมอื นเมื่อเวลารับประทานอาหาร ถ้าจะเค้ยี วอาหารขนาดชนิ้ ใหญ่ ๆ และแขง็ ก็ตอ้ งปรบั
การทางานของอวัยวะและกล้ามเน้ือให้เหมาะกับขนาดและความแข็งของอาหารน้ัน ท้ังกระบวนการปรับ
เข้าสู่โครงสร้างและกระบวนการปรับขยายโครงสร้าง ทางานร่วมกันตลอดเวลาเพื่อช่วยรกั ษาความสมดลุ
ความสมดลุ นนั้ จะเกิดข้ึนชัว่ ระยะเวลาหนง่ึ เท่านัน้ เมือ่ กระบวนการทงั้ สองอยา่ งน้เี กดิ ขน้ึ ในภาวะเทา่ ๆ กัน
ก็จะเกิดความสมดุลข้ึน อันแสดงถึงการรับรู้ข้อมูลจากภายนอกและการปรับโครงสร้างจากภายในเกิด
ความลงรอยกันพอดี กระบวนการทั้งสองนี้ไม่จาเป็นจะต้องลงรอยสมดุลกันอยู่ตลอดไป ในบางกรณี
กระบวนการหน่ึงอาจเกิดขึ้นมากกว่าอีกกระบวนการหน่ึง ในกรณีกระบวนการปรับขยายโครงสร้าง
เกิดข้ึนมากกว่า พฤติกรรมจะออกมาในรูปแบบของการลอกเลียนแบบ การเอาอย่าง การเอาความคิด
ของผู้อ่ืนมาเป็นของตนอย่างไม่เปล่ียนแปลงเลย เม่ือกระบวนการปรับเข้าสู่โครงสร้างเกิดข้ึนมากกว่า
พฤติกรรมจะแสดงออกในรูปแบบของการเล่น การแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนออกมา ซ่ึงอาจจะไม่
เหมือนความจริงตามของเดิมเสียทีเดียว มีความแตกต่างแปลกใหม่ออกไปบ้าง อันได้แก่การมีจินตนาการ
การคดิ สร้างสรรค์ เปน็ ต้น
พอี าเจท์ เห็นว่า การเล่นเป็นสว่ นสาคัญของวิวัฒนาการทางสติปัญญา การเล่นเป็นการกระทา
และเป็นการคดิ ท่ีเจ้าตัวพอใจ และเป็นกิจกรรมที่เกดิ จากตนเป็นผ้กู าหนดเองมากกว่าไดร้ ับอิทธิพลโดยตรง
จากส่ิงแวดล้อม การเล่นของเด็กจะพัฒนาไปตามลาดับขั้นของพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก เป็นไป
ตามลาดับต่อเนื่องกันไป เม่ือพัฒนาการขั้นต้นเกิดความสมดุลกจ็ ะก้าวไปสู่พฒั นาการข้ันต่อไป พัฒนาการ
ขั้นหน่ึง ๆ แสดงให้เห็นถึงแบบแผนของการจัดหมวดหมู่ของความคิดในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ โครงสร้าง
ของสติปัญญาในพัฒนาการแต่ละข้ันนั้นมีโครงสร้างและลักษณะของพฤติกรรมท่ีแสดงออกแตกต่างกัน

๑๔

จากลักษณะพัฒนาการในแต่ละขั้นดังกล่าว พีอาเจท์ได้กาหนดประเภทของการเล่นที่พัฒนาไปตามลาดบั
ขั้นของพัฒนาการทางสตปิ ัญญา ดังนี้

๑. การเล่นที่เกิดจากการฝึกซ้อมทาซ้าแล้วซ้าอีก (Practice Play) ในระยะนี้เน่ืองจากเด็ก
ยังไม่สามารถแยกตนเองและส่ิงแวดล้อมให้ออกจากกันได้ เด็กเชื่อว่าทุกอย่างจะต้องรวมอยู่ที่ตนเอง
ตนเองต้องมีส่วนเก่ียวข้อง ต้องเป็นผู้กระทา เช่น มีความเข้าใจว่าความคงท่ีของวัตถุจะไม่มีถ้าตัวเขาเอง

ไม่ได้รับรู้ มองเห็น หรอื จับตอ้ งวัตถุน้ันอยู่ ประกอบกบั กล้ามเนือ้ แขน ขา และอวยั วะส่วนต่าง ๆ ตอ้ งการ
ถูกฝึกฝน ถูกใช้เพื่อให้พัฒนา การเล่นของเด็กในระยะนี้จึงมุ่งที่การนาตัวออกไปประสบกับส่ิงที่ต้องการ

เรียนรู้นั้น ๆ ด้วยตนเอง บางครั้งจึงเรียกการเล่นในข้ันน้วี ่า การเล่นท่ีใช้ประสาทสัมผัส (Sensory Motor
Play) ลักษณะการเล่นของเด็กในระยะนี้จึงเป็นการกระทาที่เคลื่อนไหว มีอิริยาบถ มีการใช้ประสาท
รับรู้มาก และมีการย้าซ้าทวนการกระทาหรือการเล่นนั้นบ่อย ๆ โดยไม่เบื่อหน่าย การเล่นในระยะน้ี

เด็กจะแสดงพฤตกิ รรมเลยี นแบบ สารวจ ทดสอบ และพฤตกิ รรมจะซับซ้อนขนึ้ เม่ือเด็กมีความเจรญิ เติบโต
ทางวุฒิภาวะ

๒. การเล่นท่ีใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) เมื่อเด็กมีพัฒนาการในด้านสติปัญญาเพ่ิมข้ึน
ตามวุฒิภาวะ เดก็ จะมีความสามารถในการตอบสนองความกระตือรอื ร้น ใคร่รู้ ใคร่เรียน และความต้องการ
ใช้ความสามารถที่มีเพ่ิมข้ึน เป็นไปในแนวที่เร่ิมรู้จักใช้ความคิด มโนภาพ และจินตนาการ ให้เข้ามา

เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเล่นของตน ระหว่างอายุ ๒ ถึง ๗ ปี จะเป็นระยะท่ีความคิดในด้านสัญลักษณ์
ของเดก็ จะกอ่ รปู และพัฒนาขน้ึ เดก็ จะเอาใจใสก่ ับการเลน่ ทีม่ ีการสมมติหรือกาหนดใหส้ ่ิงเรา้ ต่าง ๆ รวมทงั้

วัตถุของเล่นและตัวบุคคลมีฐานะเป็นตัวแทนของส่ิงและสภาพท่ีเป็นจริงในชีวิต อายุ ๔ ถึง ๗ ปี การเล่น
ซ่ึงเกิดจากความคิดคานึงจะเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากสังคมของเด็กกว้างขวางขึ้น เด็กจะเล่นเลียนแบบ
ตามความเปน็ จรงิ ของสง่ิ แวดลอ้ ม

๓. การเล่นที่มีกฎเกณฑ์ (Games with Rules) เมื่อเด็กอายุประมาณ ๗ ปี การต่อเติม
ความคิด การเกิดความคิดรวบยอดมีมากข้ึนและสลับซับซ้อน เด็กจะมีพัฒนาการการรับรู้ท่ีสามารถ

จัดหมวดหมู่หรือประเภทของวัตถุและเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ (Categorization) ตลอดจนมีพัฒนาการ
ทางด้านภาษามากพอที่จะสื่อความเข้าใจกับบุคคลอ่ืน การเล่นส่วนใหญ่ในระยะนี้จึงเป็นไปในรูปของ
การเล่นที่มีกฎเกณฑ์และข้ันตอนเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น การเล่นบทบาทสมมติ พ่อ แม่ ลูก และหมอ

จะมีการเขียนบทละครเป็นเรื่อง มีการขึ้นต้น ดาเนินเร่ือง และสรุปลงท้ายเร่ือง ภาษาที่ใช้ การลาดับบท
และข้ันตอนของเรื่องสะท้อนให้เห็นถึงการที่เด็กต้องรวบรวมและวางแนวความคิด เพื่อให้สอดคล้องกัน

อย่างมีเหตุผลและความเป็นไปได้ และเพื่อให้ส่ือความคิดของตนเองให้ผู้อื่นรับ รู้และเข้าใจ
(เลขา ปยิ ะอัจฉริยะ ๒๕๒๔)

พีอาร์เจท์ (Piaget อ้างถึงในเลขา ปิยะอัจฉริยะ ๒๕๒๔) กล่าวว่า การเล่นเพื่อพัฒนา

ทางสติปัญญาน้ันเกิดข้ึนตั้งแต่วยั ทารกและมีความสาคัญเรอ่ื ยมาจนกระทั่งถึงวัยเด็กตอนปลาย การที่เด็ก
บางคนมพี ัฒนาการทางการเลน่ ชา้ เป็นเพราะสาเหตุใหญ่ ๒ ประการ ได้แก่

๑. พัฒนาการของเด็กไม่เป็นไปตามปกติ ทาให้เด็กขาดความสามารถในการเลียนแบบ
และรับรู้ข้อมูลจากภายนอกเข้ามาปรับ เพ่ือสะสมไว้ในโครงสร้างสติปัญญา เด็กจะหมกมุ่นเอาแต่ตนเอง
เป็นศูนย์กลาง ไม่ค่อยยอมหรือไม่ยอมเก่ียวข้องกับโลกภายนอกตนเอง ขาดความรู้จากสิ่งแวดล้อม

และสังคม เด็กเหล่านี้จะเล่นเครื่องเล่นหรือทากิจกรรมเดิมซ้าซาก ไม่เปล่ียนวิธีการเล่นหรือไม่พัฒนา
การเล่นไปจากวิธเี ดมิ ได้มากนกั

๑๕

๒. การจัดสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม ซึ่งเกิดจากการขาดแคลนโอกาสในส่ิงแวดล้อมหรือ
การจัดส่ิงแวดล้อมให้มากเกินไป การขาดแคลนโอกาสในส่ิงแวดล้อม ทาให้เด็กขาดโอกาสท่ีจะรับ

ประสบการณ์ใหม่ ขาดการกระตุ้นให้เกิดการสารวจค้นคว้า ขาดโอกาสในการเปรียบเทียบข้อมูลใหม่กับ
ขอ้ มลู เดิม จงึ ทาให้พฒั นาการทางสติปัญญาไมก่ ้าวหน้าเท่าที่ควร ในกรณีทสี่ ง่ิ แวดล้อมมากเกนิ ไป เชน่ เด็ก
มีเครื่องเล่นเต็มห้องไปหมด จนเลือกเคร่ืองเล่นไม่ถูกเพราะเกิดความสับสน หากจะมีการจัดเครื่องเล่นให้

เหมาะสมกับวัยเด็ก ไม่ต้องมีมากชิ้นนัก เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้และพัฒนาการเล่นกับเครื่องเล่นช้ินนั้นไป
จนเล่นสาเร็จแล้ว จะให้ประโยชน์กับเด็กมากกว่า ส่วนการจัดสิ่งแวดล้อมที่ยากเกินไปสาหรับเด็กน้ัน

ทาให้เด็กไม่สามารถเลียนแบบและไม่สามารถปรับส่ิงนั้นให้เข้ากับความรู้เดิมท่ีมีอยู่ได้ จึงขาดสะพาน
เช่อื มโยงประสบการณ์เกา่ กับใหม่ให้ติดต่อกันได้ การจัดการเล่นและเครอ่ื งเลน่ ทย่ี ากเกินระดบั ความเข้าใจ
ของเด็ก เด็กจะไม่อยากเล่นหรือไม่สนใจเลย การจัดการเล่นที่เหมาะสมสาหรับเด็กจึงมีความสาคัญย่ิง

เพราะการเลน่ จะชว่ ยสง่ เสริมพัฒนาการของการเรียนรแู้ ละสติปัญญาของเดก็ นอกจากนย้ี ังช่วยใหเ้ ขา้ ใจถึง
ระดบั พัฒนาการของเดก็ อีกด้วย

นอกจาก Piaget แล้ว ยังมีผู้ให้ความสนใจในเรื่องของการเล่นท่ีมีบทบาทสาคัญของ
พัฒนาการทางสติปัญญา เช่น ไวก๊อตสกี้ (Vygotsky) นักจิตวิทยาชาวรัสเซีย กล่าวว่า เด็กเล็กยังไม่มี
ความสามารถในการใช้ความคิด และความเข้าใจในเรื่องของนามธรรม เด็กจะรู้จักสิ่งของ แต่ละอย่างได้

กต็ ่อเม่อื เด็กได้เหน็ ของจริง เด็กจะนกึ ถงึ ส่ิงต่าง ๆ ไมไ่ ดเ้ ลย ถ้าเขายังไมเ่ คยเห็นของสงิ่ น้ัน เมื่อเดก็ เร่ิมรู้จัก
ทจ่ี ะเลน่ บทบาทสมมติ เชน่ ร้จู กั ใชไ้ ม้แทนตัวตนของมา้ แสดงให้เห็นวา่ เด็กเรม่ิ ร้จู ักแยกความหมายจากส่ิงท่ี

เด็กใช้แทนของจริง (ใช้ไม้เป็นสัญลักษณ์แทนม้า) นั่นคือ รู้จักใช้ของส่ิงหนึ่งเป็นสัญลักษณ์หรือแทนของ
อีกส่ิงหนึ่ง ไวก๊อตสกี้ เช่ือว่า การเล่นสัญลักษณ์มีบทบาทสาคัญต่อพัฒนาการความคิดท่ีเป็นนามธรรม
ของเด็ก (Johnson and others, ๑๙๘๗)

บรูเนอร์ (Bruner) ยังเช่ือว่า การเล่นยังช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความคิด
หลากหลาย Bruner ให้ความสาคัญต่อการเล่นในแง่ของกระบวนการในการเล่นมากกว่าผลท่ีได้รับ

กล่าวคือ เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมการเล่น เด็กไม่จาเป็นจะต้องเล่นให้เป็นไปตามท่ีตนตั้งใจไว้ เด็กจะมี
โอกาสทดลองประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่หลากหลาย หรือท่ีไม่เคยเล่นมาก่อน หากเด็กมีอิสระในการเล่น
ประสบการณ์เหลา่ นี้จะช่วยให้เดก็ ร้จู ักแก้ปัญหาในชีวติ จรงิ ได้ (Johnson and others, ๑๙๘๗)

ซัททัน (Sutton – Smith อ้างถึงใน เลขา ปิยะอัจฉริยะ ๒๕๒๔) ได้กล่าวถึงพฤติกรรม
ก า ร เ ล่ น ข อ ง เ ด็ ก ว่ า มี ค ว า ม ซั บ ซ้ อ น แ ล ะ ต่ อ เ นื่ อ ง ข อ ง ก า ร ใ ช้ ทั ก ษ ะ ท า ง ก า ย แ ล ะ ท า ง ค ว า ม คิ ด

ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามพัฒนาการของเด็กแต่ละคน พฤติกรรมการเล่นจึงเป็นเครื่องช้ีวุฒิภาวะ
ทางรา่ งกาย สมอง บคุ ลิกภาพ และสังคมของเดก็ ด้วย พฤติกรรมการเล่นของเดก็ แยกออกเป็น ๔ แบบ ดังน้ี

๑. การเลียนแบบ (Imitation) การเล่นเลียนแบบเป็นการสะท้อนให้ผู้อื่นเห็นและทราบถึง

การรับรู้สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ของผู้เล่นในด้านที่เกี่ยวกับตัวผู้เล่นหรือเด็ก การเล่นเลียนแบบช่วยให้เด็ก
เกิดการเรียนรู้ส่ิงรอบตัวต่าง ๆ ท่ีได้รับรู้ผ่านเข้าไปทางประสาทสัมผัส แต่ยังไม่อาจจะเข้าใจหรือ

รู้ความหมายได้ทันทีที่รับรู้ ในการเล่นเลียนแบบ เด็กจะผสมผสานกลมกลืนหรือปรุงแต่งสิ่งที่ได้รับรู้ใหม่
ให้สอดคล้องเข้ากับสิ่งที่เด็กเรียนรู้แล้ว คุ้นเคยแล้ว จะเห็นได้จากการท่ีเด็กมักจะเล่นเลียนแบบสิ่งที่
ตนคุ้นเคยก่อน และเห็นว่าสาคัญ แต่สถานการณ์หรือสิ่งท่ีเด็กนามาเล่นจะแตกต่างกันไปแล้วแต่ภูมิหลัง

ของเดก็ แต่ละคน
๒. การสารวจ (Exploration) เด็กวัย ๓ ถึง ๖ ปี เป็นวัยท่ีสนใจ สงสัย กระตือรือร้น ใคร่รู้

ในส่ิงต่าง ๆ รอบตัว และเป็นรากฐานของการเล่นแบบสารวจ ในการเล่นแบบสารวจเด็กจะได้ใช้ประสาท
รับรูค้ วามร้สู ึกมากกว่าเพียงการสมั ผัสจับตอ้ งหรอื ดูเฉย ๆ เด็กจะจับของเล่นกลง้ิ ไปกล้ิงมา

๑๖

ลองดม ลองดูดดู เขย่าฟงั วา่ มีเสียงมาจากสว่ นไหนของของเล่น แลว้ คน้ หาต้นเหตุท่มี าของเสยี งดว้ ยการแกะ
ของเลน่ ออกดู ซ่ึงบางครั้งอาจทาให้ของเล่นเสีย แตเ่ ดก็ จะเรียนรู้วา่ ตนเองสามารถทาใหส้ ่งิ และสถานการณ์

ต่าง ๆ ให้เกิดขน้ึ หรือเปล่ยี นแปลงได้ ความไวของประสาทรบั ความร้สู ึกจะเกดิ หรอื พัฒนาตามประสบการณ์
ใหมๆ่ ของการเลน่ สารวจอยู่เสมอ การเลน่ สารวจน้ีจะเปน็ พฤติกรรมข้นั ท่ีจะนาเดก็ ไปสู่การคน้ พบ และการ
แกป้ ัญหาในส่ิงหรอื สถานการณท์ ี่เด็กไมเ่ คยเรียนรแู้ ละมีประสบการณม์ าก่อน

๓. การทดสอบ (Testing) ในการเลน่ แบบทดสอบ เด็กจะอาศัยความรู้ใหม่ท่ไี ด้จากการสารวจ
และความรู้เดิมจากประสบการณ์ท่ีคุ้นเคยเป็นรากฐาน สิ่งท่ีเด็กได้สารวจศึกษาแล้วจะเป็นอุปกรณ์ท่ีเด็ก

นามาเล่นเพ่ือทดสอบดูว่าคุณสมบัติของของเล่นและวิธีการเล่นที่วางไว้จะเป็นไปตามท่ีคิดหรือไม่ อย่างไร
เช่น ถ้าเอาแท่งไม้ส่ีเหลี่ยมมาต้ังเป็นรูปต่าง ๆ จะเป็นรูปอะไรได้บ้าง และจะตั้งได้สูงมาก ๆ ตามที่คิดที่
ต้องการหรือไม่ เป็นต้น ก่อนการทดสอบเด็กจึงควรมีโอกาสท่ีจะได้เรียนรู้เก่ียวกับวัตถุหรือสถานการณ์

ที่เลน่ กอ่ น โดยการเล่นสารวจและเล่นเลยี นแบบ ในกรณที ่ีการทดสอบไมไ่ ด้ผลตามที่คิดไว้ ปัญหาทีต่ ามมา
คือ การท่ีจะแก้ไขอย่างไรเก่ียวกับวิธีการเล่น เช่น พิจารณาแก้ไขจังหวะและลักษณะของการวางแท่งไม้

ต่อ ๆ กันที่ทาให้มีการทรงตัวท่ีดี เมื่อต่อกันสูง ๆ หรือศึกษาใหม่เกี่ยวกับคุณสมบัติของของเล่นนั้น เช่น
พิจารณาถึงรปู รา่ ง ขนาด ความหยาบ ความละเอียดของแท่งไมท้ ี่ให้ผลดีตอ่ การทรงตัว เม่ือถูกนามาตั้งเป็น
รูปต่าง ๆ ท่ีสูงมาก ๆ เป็นต้น ถ้าการทดสอบเป็นไปในรูปของการเล่นแล้ว ความเป็นไปได้อาจจะสูงมากท่ี

เด็กจะไม่ล้มเลิกการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น และมีความอดทนสนใจเป็นพิเศษท่ีจะพยายามทางาน
ให้สาเร็จ ท้ังน้ีเพราะในการเล่นเด็กไม่ต้องแข่งกับใครนอกจากตัวเอง หรือถ้าจะแข่งกับผู้อ่ืนก็เพ่ือความ

สนุกสนานเพลิดเพลิน ความล้มเหลวผิดพลาดที่เกิดข้ึนมิได้เป็นเครื่องแสดงว่าตัวเขาไม่มีความสามารถ
เอาเสียเลย เพราะเด็กมีอิสระท่ีจะทดลอง ค้นคว้า สารวจ และทดสอบใหม่ได้เสมอ คุณค่าของการเล่น
ทดสอบท่ีเห็นเด่นชัดคือ ส่งเสริมพัฒนาการ การรู้จักคิดอย่างมีเหตุผล เหตุและผล จะได้จากการสรุป

จากปรากฏการณ์ท่ีเกิดจากการทดสอบ และผู้เล่นได้มีโอกาสเรียนรู้เกี่ยวกับตนเองและเรียนรู้ที่จะ
ชว่ ยตวั เองดว้ ย

๔. การสร้าง (Construction) การเล่นสร้าง หมายถึง การท่ีผู้เล่นสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
ตนเองกับสิง่ แวดล้อมในลักษณะตา่ ง ๆ เช่น การจัดทาของเล่นโดยการเอาก้านกล้วยมาหกั ส่วนบนลงตกแต่ง
ทาเป็นส่วนหัว แล้วใช้ข่ีเล่น การสร้างสถานการณ์การเล่นโดยการสร้างเร่ืองและเล่นตามเร่ือง

การวางกฎเกณฑ์การเล่นโดยกาหนดบทบาทของผู้เล่นใหม่หรือเปลี่ยนแปลงจากของเดิม เป็นต้น การเลน่
สรา้ งเร่มิ จากการท่ีเด็กสามารถแยกสงิ่ แวดล้อมต่าง ๆ ออกไดว้ ่าต่างกันหรอื เหมอื นกันอยา่ งไร โดยมีเหตุผล

พอท่ีจะสรุปแยกแยะความแตกต่างและความเหมือนน้ันได้ (Differentiation Process) เด็กจะเร่ิมใช้
อารมณ์และความคิดเห็นออกมาเป็นการกระทาโดยไม่รู้ตัว การเล่นสร้างน้ีจะสะท้อนให้เห็น ถึง
ความสามารถของเด็กในการรวบรวมอารมณ์ ความคิด และเหตุผล ให้มาสัมพันธ์กันขึ้นในรูปรวมใหม่

เพื่อก่อให้เกิดความคิดและประสบการณ์ใหม่ ๆ ในด้านสร้างสรรค์ (Creative Imagination) เพ่ือให้
เป้าหมายของการกระทาหรือการเล่นสร้างประสบความสาเรจ็ เด็กจะต้องใช้ความคิดความสามารถอน่ื อีก

เช่น การแปลความหมายของความคิดเห็นและความรู้สึกของตนออกมาในรูปของสัญลักษณ์ (Symbolic
Representation) การส่ือความหมายของการเล่นให้ผู้อื่นเกิดความเข้าใจได้โดยการใช้ภาษาพูด (Verbal)
และกริ ิยาท่าทาง สีหนา้ (Non-verbal) เชน่ ตวั อย่างการเล่นเลียนแบบพ่อ แม่ ลกู และหมอ การเล่นสร้าง

เรอ่ื งตามความคดิ คานงึ เปน็ ตน้
กล่าวโดยสรุป การเล่นมีความสัมพันธ์กันกับพัฒนาการทางด้านร่างกาย สมอง สติปัญญา

ของเด็ก เนือ่ งจากการเล่นชว่ ยกระตุ้นการคิด เกิดการทางานของระบบประสาทและสมองให้เกดิ การเรียนรู้
และพัฒนาระบบสติปัญญาให้มีพัฒนาการที่เหมาะสม การเล่นถือได้ว่าเป็นส่วนสาคัญท่ีช่วยส่งเสริมให้

๑๗

เกดิ ความคิดอยา่ งสร้างสรรค์ เกดิ กระบวนการคดิ วางแผนและการจัดการในหลายมติ ิ ทงั้ ทางดา้ นร่างกาย
ความคดิ สตปิ ญั ญา ซึ่งเป็นตวั บง่ ช้พี ฤตกิ รรมทเี่ ปลย่ี นแปลงของเดก็ ได้

๓. ทฤษฎกี ำรเลน่ ของเบทสัน( Bateson’s Theory of Play and Fantasy)
การเล่นตามแนวคิดของเบทสัน (Bateson) เป็นการกระทาท่ีตรงกันข้ามกับความเป็นจริง
(Paradoxical) พฤติกรรมท่ีแสดงออกระหว่างการเล่นไม่ได้หมายความว่าจะเป็นเช่นนั้นในชีวิตจริง
ยกตัวอย่างเช่น การเล่นต่อสู้ของเด็กจะแตกต่างไปจากการต่อสู้ท่ีเกิดขึ้นจริง ๆ ในการเล่น เด็กจะต้อง
สรา้ งกรอบ (Frame) หรือสถานการณ์ (Context) ขน้ึ ก่อนที่จะเรมิ่ เล่น เพือ่ ใหผ้ ้อู ่ืนรวู้ ่าส่ิงทก่ี าลังจะเกิดข้ึน
นน้ั คือการเลน่ เราจะทราบไดว้ ่าการกระทาน้นั เป็นการเล่นก็จากการสังเกตสหี น้า ท่าทาง การหวั เราะ หรอื
การย้ิมอย่างสนุกสนานของเด็กนั่นเอง ในสถานการณ์การเล่นบทบาทสมมติ เด็กจะเรียนรู้ท่ีจะจัดการกับ
การเลน่ โดยการสมมติส่ิงของหรือท่าทาง ในขณะเดียวกนั เดก็ กจ็ ะสนใจในความเปน็ ตัวตนจริง ๆ ของตวั เอง
และความเปน็ ตวั ตนจริง ๆ ของผ้อู ่นื และสิ่งของด้วย
ทฤษฎขี องเบทสนั เป็นทฤษฎีทก่ี ระตุ้นใหเ้ กดิ การศึกษาแก่นกั จิตวิทยาในเรื่องของการเล่น เช่น
การ์วีย์ (Garvey อ้างถึงใน Johnson and others, ๑๙๘๗) ได้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างและ
การคงไว้ของสถานการณ์การเล่น ตลอดจนการสิ้นสุดของสถานการณ์การเล่น เป็นต้น การศึกษาของ
การ์เวย์ พบว่า ในขณะที่เด็กเล่นบทบาทสมมติเดก็ จะเปล่ียนบทบาทกลับไปกลับมาระหว่างการเล่นสมมติ
กับการเป็นตัวตนจริง ๆ เม่ือใดก็ตามที่เด็กประสบปัญหาระหว่างการเล่น เด็กจะทาลายกรอบของ
การเลน่ ทนั ที โดยไม่ยึดตามบทบาทที่ตนสมมติ แต่หนั มายึดเอาความเปน็ ตัวตนจริง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาและ
อุปสรรคตา่ ง ๆ
เบทสันกล่าวว่า กิจกรรมการเล่น (Play Texts) เกิดข้ึนจากสภาพการณ์รอบตัวเด็กในขณะท่ี
เด็กเล่น (Contexts) การเล่นจะไม่เกิดข้ึนถ้าสภาพการณ์นั้นว่างเปล่า (Vacuum) ความแตกต่างในเร่ือง
กิจกรรมการเล่นและสภาพแวดล้อมทาให้เกิดการศึกษาในเรื่องดังกล่ าว เช่น ไฟน์ (Fein อ้างถึง
ใน Johnson and others, ๑๙๘๗) ได้ศึกษาพัฒนาการในการใช้ส่ิงของเป็นสัญลักษณ์แทนส่ิงต่าง ๆ
ในขณะที่เด็กเล่นบทบาทสมมติ ผลการศึกษาพบว่า เด็กอายุ ๑๒ ปี ใช้สัญลักษณ์ที่มีรูปร่างลักษณะคล้าย
ของจริงแทนสิ่งท่ีตนเองต้องการ เช่น ใช้ไม้ขนาดเล็กรูปทรงสี่เหล่ียมแทนหวี ในขณะท่ีเด็กโตกว่าใช้ส่ิงทม่ี ี
รูปรา่ งลักษณะอืน่ ๆ ทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป เช่น เดก็ อาจใชร้ ถของเล่นหรือลูกบอลยางเป็นสัญลักษณ์แทนหวี
เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมการเล่นที่เปลี่ยนแปลงไปตามอายุ เช่น การศึกษา
ของวูลฟ์และโกรลแมน (Wolf and Grollman อ้างถึงใน Johnson and others, ๑๙๘๗) ได้ศึกษา
แนวโน้มของอายุเด็กในการเล่นท่ีมีการลาดับเรอ่ื ง และการเล่นเร่ืองราว ผลการศึกษาพบว่า เมื่อเด็กมีอายุ
มากข้นึ บทบาททีเ่ ด็กสร้างข้ึนจะเก่ียวข้องกับการนาเอาสิง่ ต่าง ๆ มาผสมผสานกันไดด้ ีขนึ้ และซับซอ้ นข้นึ

๔. ทฤษฎกี ำรเลน่ ทำงสังคม
นอกจากท่ีกล่าวข้างต้น ยังมีการสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเด็กที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการ
ทางสังคมอยา่ งแพรห่ ลาย โดยใช้หลักการเลน่ เชงิ สังคมของพารเ์ ทน (Parten,๑๙๓๒) ดงั นี้
พารเ์ ทน (Parten, ๑๙๓๒) ไดศ้ กึ ษาการเลน่ ของเด็กต้ังแตป่ ี ค.ศ. ๑๙๒๖ แม้ว่าระยะเวลาท่ีได้
ทาการศึกษาล่วงเลยมากว่า ๕๐ ปีแลว้ แตท่ ฤษฎนี ย้ี งั เป็นที่ยอมรับ และนักการศึกษาท่านอ่ืนไดน้ ามาใชอ้ ้างอิง
ในการศึกษาท่ีเกีย่ วขอ้ งเสมอ พารเ์ ทน ไดแ้ บง่ พฒั นาการการเล่นทางสงั คมออกเปน็ ๖ ระดบั ขัน้ ไดแ้ ก่
ระดับขั้นท่ี ๑ ข้ันการอยู่น่ิงเฉย (Unoccupied Behavior) หมายถึง การท่ีเด็กไม่เล่นกับใคร
และไม่ได้เล่นกับของเล่น แต่จะสนใจดูส่ิงใดส่ิงหนึ่งที่เกิดข้ึนชั่วระยะเวลาส้ัน ๆ เมื่อไม่มีส่ิงใดน่าสนใจเด็ก

๑๘

ก็จะเล่นกับร่างกายของตนเอง บางคร้ังอาจปีนขึ้นลงเก้าอี้ ยืนเฉย ๆ เดินตามครู หรือน่ังอยู่ที่ใดท่ีหน่ึง
แล้วมองไปรอบ ๆ ห้อง

ระดับขั้นที่ ๒ ข้ันมองดูคนอื่นเล่น (Onlooker Behavior) หมายถึง การที่เด็กใช้เวลา
ส่วนใหญ่มองดูการเล่นของเด็กอ่ืน ในบางคร้ังเด็กอาจจะพูดคุยซักถามหรือให้ข้อเสนอแนะแก่กลุ่มท่ี
ตนมองดูอยู่ แต่ไม่เข้าไปร่วมเล่นด้วย เด็กจะอยู่ในระยะห่างพอที่จะพูดกับกลุ่มได้ เพื่อตนจะได้เห็นและ
ได้ยินทกุ อยา่ งทเี่ กดิ ขน้ึ ในกล่มุ

ระดับขั้นท่ี ๓ ข้ันเล่นคนเดียว (Solitary Play) หมายถึง การท่ีเด็กเล่นตามลาพังและเล่นกับ
ของเล่นเพียงคนเดียว ซ่ึงของเล่นนั้นแตกต่างจากเด็กคนอ่ืนซึง่ อยู่ใกล้เคียงกัน เด็กไม่พยายามเข้าใกลห้ รอื
พูดกบั เดก็ อืน่ ไมส่ นใจตอ่ การเลน่ ของเดก็ อ่ืน และไม่ทาตามการเล่นของเดก็ อนื่

ระดับข้ันที่ ๔ ขั้นต่างคนต่างเล่น (Parallel Play) หมายถึง การท่ีเด็กเล่นอย่างอิสระ
แตเ่ ดก็ เลน่ กบั ของเลน่ ทีเ่ หมือนกับที่เด็กอืน่ ๆ รอบข้างเลน่ อยู่ เดก็ เล่นตามความต้องการของตนไม่พยายาม
แทรกแซงหรือเปล่ียนแปลงการเล่นของเพ่อื นท่ีอยู่ใกล้ ๆ เด็กเล่นอยู่ข้าง ๆ เพ่ือนมากกว่าที่จะเล่นดว้ ยกัน
และไม่แสดงความสนใจในการเข้ามาหรอื ออกไปจากกลมุ่ ของเพอื่ นทีอ่ ย่รู อบขา้ ง

ระดับข้ันท่ี ๕ ข้ันเล่นร่วมกับเพ่อื น (Associative Play) หมายถึง การท่ีเด็กร่วมเล่นกับเพ่อื น
มีความสนใจสมาชกิ ของกลมุ่ มกี ารพูดคุยเรอ่ื งเดยี วกนั เลน่ คล้ายกันในกลุ่ม มกี ารขอยืมและให้ยืมของเล่น
ไม่มีการแบ่งหน้าท่ีหรือจัดกลุ่มเพื่อนให้บรรลุจุดประสงค์ของการเล่น เด็กเล่นตามความสนใจของตน
เป็นหลัก

ระดับข้ันที่ ๖ ข้ันเล่นร่วมกับเพ่ือนอย่างมีจุดหมาย (Cooperative or Organized
Supplementary Play) หมายถึง การที่เด็กเล่นในกลุ่มเพื่อน มีการสร้างกิจกรรมการเล่นอย่างมี
จุดมุ่งหมาย มีการสมมติบทบาท มีการสร้างสถานการณ์การเล่น มีการแข่งขันในเกมการเล่น และมีผู้นา
กลมุ่ หนึ่งหรือสองคนท่ีจะช้ีนาการเล่นของสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลมุ่

จะเห็นได้ว่าการเล่นเป็นพฤติกรรมตามธรรมชาติของเด็กที่สอดคล้องกับพัฒนาการ หรือ
ความสามารถตามวยั ของเดก็ การเล่นของเด็กในชว่ งอายเุ ดียวกันจะมกี ารเลน่ ท่คี ล้ายเคียงกนั และการเล่นของเด็ก
จะเร่ิมนาไปสคู่ วามสามารถทางสังคมเมือ่ เด็กโตข้นึ ผา่ นการเล่นท่ีมีการเล่นเป็นกล่มุ มกี ารสมมติบทบาทต่าง ๆ

๕. แนวคดิ Model ๓F

สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ สังกัดกรมอนามัย ๒๕๖๓ ได้ดาเนินงานตามนโนบายของ
กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เร่ือง “เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก” โดยได้จัดทาการเล่น
รูปแบบใหม่ ท่ีพัฒนาข้ึนด้วย concept ๓F ได้แก่ Family Free Fun เพ่ือพัฒนาต้นแบบ “เด็กไทย
เลน่ เปลีย่ นโลก” ประกอบดว้ ย ๔ องค์ประกอบสาคัญ ไดแ้ ก่

๑. ผู้อานวยการเล่น (play worker) คือ ผู้ที่สนับสนุนการเล่นของเด็ก โดยยึดเด็กเป็น
ศูนย์กลางดูแลเด็กเล่น และเล่นสนุกสนานไปกับเด็กในบางครั้ง อานวยการเล่นของเด็กให้เกิดความสุข
สนุกสนาน และความปลอดภัย มีส่วนช่วยในการพัฒนาศักยภาพ ทักษะชีวิตต่าง ๆ ท้ังร่างกาย จิตใจ
ความคิด ท่ีเป็นพ้ืนฐานต่อการใช้ชีวิตในอนาคตของเด็ก ให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ช่วยเสริมสร้าง
คุณค่า ความภาคภูมิใจในตนเอง และเกิด self esteem โดยครูผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่
สาธารณสขุ จะมีบทบาทในการสร้าง SOFT SKILL ให้กบั เด็ก ดังนี้

๑.๑ ผู้อานวยการเล่นชว่ ยเพ่ิมการเรียนรู้ ความคิดสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ใหก้ ับเด็ก (Creator)
๑.๒ ผู้อานวยการเล่นช่วยจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริม
บรรยากาศการเรียนรู้ของเด็ก (Facilitator)

๑๙

๑.๓ ผอู้ านวยการเล่นช่วยเติมเตม็ การเรยี นรูใ้ ห้แก่เดก็ อยา่ งตอ่ เน่ือง (Learner)
๑.๔ ผู้อานวยการเล่นช่วยพฒั นาทักษะการสื่อสารการเจรจาพูดคุยกับเด็กอย่างเข้าใจ
ด้วยเหตุและผล (Communication)
๑.๕ ผู้อานวยการเล่นสง่ เสรมิ ความสามารถของเด็กไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ (Developer)
๑.๖ ผู้อานวยการเล่นช่วยให้เด็กทุกคนปลดปล่อยผ่อนคลายภาวะกดดันภายใน
ด้วยตวั เอง รสู้ ึกปลอดภยั ทางด้านจิตใจ และมีตัวตน (Resilience)
๑.๗ ผู้อานวยการเลน่ ชว่ ยใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภัยระหว่างการเลน่ (Safe area)
๒.กระบวนการเล่น
๒.๒ เล่นอิสระ เด็กเปน็ ผู้นาการเลน่ มโี อกาสเลอื กและมีความยืดหยนุ่ เดก็ ได้เลน่ อยา่ ง
เปน็ ตัวของตัวเอง
๒.๒ การเล่นที่ครอบครัวมีส่วนร่วม ภายใต้แนวคิด Home based program และ
positive parenting
๒.๓ เลน่ ดว้ ยกจิ กรรมทางกาย
๓. พ้ืนท่เี ลน่ (Space)
๓.๑ พ้ืนที่เล่นสร้างสรรค์ ตามบริบทของพ้ืนที่ สภาพแวดล้อมรอบตัวเด็กต้องกระตุน้
ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ บรรยากาศในการเลน่ ควรเต็มไปดว้ ยความรกั และความอบอุน่
๓.๒ สถานท่ปี ลอดภัย (Safety)
๓.๓ พื้นทเ่ี ลน่ เข้าถงึ ได้ง่าย (Accessibility) ไม่ถูกจากัดดว้ ยกฎระเบียบหรือข้อห้ามใน
การเขา้ ถึง “เล่นได้ทกุ ท่ี ทุกช่วงเวลา”
๔. หน่วยบริหารจัดการการเล่น เป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีจะทาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน
ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของครอบครัว และชมุ ชน
สรุป กระบวนการส่งเสริมการเล่นของเด็กไทย ท้ังในบ้าน และโรงเรียน โดยให้ผู้ใหญ่
เปิดโอกาสให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระด้วยความสนุกสนาน มีความสุข คอยสนับสนุนการเล่นใกล้ ๆ หรือ
เล่นรว่ มกับเด็ก มกี ารจดั พื้นทีเ่ ล่น ลานเลน่ ทเ่ี อือ้ ใหเ้ ด็กได้เล่นอย่างปลอดภัย พร้อมท้ังเป็นผู้นาการเล่นให้
เด็กได้เล่นร่วมกับเพ่ือนๆ ในชุมชนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและเอ้ือให้เด็กและครอบครัวได้ใช้
เวลาในการทากิจกรรมเสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธ์ท่ดี ีในครอบครวั โดยอาศัยความรว่ มมอื ของภาคีเครือข่ายท่ี
เก่ียวข้อง นาไปสู่การพัฒนารอบด้าน ความสาเร็จของการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่น
เปล่ียนโลก เกิดจากความร่วมมือกันใน ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ บ้าน/ครอบครัว สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/
หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ และชมุ ชน

๒.๒.๔ กำรพฒั นำกำรเลน่ เพือ่ เดก็ ปฐมวัยในศตวรรษที่ ๒๑
Palitthapolkanphim, P. (๒๐๑๒: ๑๙ – ๒๐) กล่าวว่า ทักษะของคนในศตวรรษท่ี ๒๑

ท่ีคนทุกคนต้องเรียนรู้ต้ังแต่ชั้นอนุบาล ไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ ๓R x ๗C ๓R ได้แก่
Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้) และ (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น) ๗C ได้แก่ Critical thinking
& problem solving (ทักษะด้านการคิด อย่างมีวจิ ารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ญั หา) Creativity and
innovation ( ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ) Cross- cultural understanding
(ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, team work & leadership
(ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา) Communications, information and
media literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันส่ือ) Computing and ICT literacy

๒๐

(ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and learning skills
(ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้)

กำรส่งเสริมกำรเล่นเพ่อื เดก็ ปฐมวยั ในศตวรรษท่ี ๒๑
ครผู ปู้ กครองควรปล่อยให้เด็กได้เล่น สาหรับเด็กแลว้ การเล่นเป็นสว่ นสาคัญของชีวิตมีคุณค่า
ต่อการพัฒนาท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การเล่นช่วยส่งเสริมการทางานเป็นทีม

เป็นกลุ่ม เพื่อความสาเร็จของเป้าหมายเดียวกัน ทั้งน้ีเด็กจะเรียนรู้การแบ่งปัน เรียนรู้การระวงั รักษาของ
เล่นร่วมกันกับเพื่อนและเรียนรู้การเข้าสังคม การเล่นทาให้เด็กเรียนรู้การรู้จักดัดแปลง คิดยืดหยุ่น เช่น

การเล่นสร้างจากไมบ้ ล็อกเป็นบา้ น ก้านกล้วยเป็นมา้ การเล่นยังชว่ ยฝกึ ให้เด็กเรียนรู้การรอคอย ฝึกความ
อดทน ซึ่งจะเป็นลักษณะนิสัยท่ีติดตัวและเป็นประโยชน์ต่อเด็กในอนาคต การเล่นเก่ียวกับบทบาทและ
อาชพี ต่าง ๆ ของบคุ คลในชมุ ชน ทาใหเ้ ดก็ เรยี นร้เู ก่ียวกับอาชพี รวมถงึ การเรียนรเู้ ก่ียวกับสงั คม ซึง่ จะมผี ล

ทาให้เด็กคิดถึงอนาคตและบทบาทของบุคคลต่าง ๆ ในสังคม เพราะการเล่นทาให้เด็กเกิดการเรยี นรู้ผา่ น
ประสาทสัมผัสท้ัง ๕ เช่น การเล่นทราย การวาดภาพ การเล่นสีน้า จะทาให้เขาได้พัฒนากล้ามเนื้อ

ได้ฝึกการจาแนก การสังเกต และที่สาคัญคือเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้ใช้ความคิดสรา้ งสรรค์ ให้เด็กได้
ทากิจกรรมกลางแจ้งท่ีอาจต้องอยู่กลางแดดลม เช่น เล่นเครื่องเล่นสนาม การข่ีจักรยาน ซึ่งเป็นกิจกรรม
ที่จะทาให้เด็กได้ฝึกทักษะท้ังทางการมองเห็น การคิดตัดสินใจ และได้ฝึกการทรงตัว ส่ิงสาคัญถัดมา

ครผู ู้ปกครองควรสอ่ื สารกับเดก็ สอนใหเ้ ด็กมสี ตมิ สี มาธิในการฟงั โดยการเงยี บและตัง้ ใจฟังสิ่งทไี่ ด้ยิน หรือ
การสอนให้ลูกฟังเพลงเพียงอย่างเดียว โดยไม่ทากิจกรรมอ่ืนควบคู่ไปด้วย นอกจากน้ีเมื่อลูกสามารถ

ฟังได้แล้ว ครูผู้ปกครอง ควรให้โอกาสเด็กได้พูด สื่อความรู้สึกของตนเองออกมาด้วย ซึ่งน่ันจะช่วยสอน
การสือ่ สารของเดก็ ท่จี ะพยายามบอกใหร้ ้ถู ึงความรู้สึกและความตอ้ งการของตนเอง ยิ่งไปกวา่ น้นั เด็กยังได้
เรียนร้มู ารยาทและจริยธรรมเบอ้ื งต้น ซึง่ คอื เรอ่ื งของการให้เกียรตกิ ันในการรับฟังสง่ิ ท่ีผู้อืน่ พูด และผู้อืน่ ก็

ต้องฟังเราพูด ครู ผู้ปกครองควรต้ังคาถามเพิ่มเติมให้แก่เด็กเพ่ือฝึกทักษะทางการคิ ดวิเคราะห์
ควรตง้ั คาถามแบบปลายเปดิ ตัง้ คาถามเกย่ี วกับส่ิงทเ่ี ดก็ เห็นหรือสงิ่ ที่เด็กเล่นและทากจิ กรรมหรอื ตงั้ คาถาม

เกี่ยวกับเพลง เมื่อเด็กเข้าใจในการท่ีจะส่ือสารแล้ว ส่ิงสาคัญถัดมาครูและผู้ปกครองควรสอนเด็กเกี่ยวกบั
วัฒนธรรมประเพณีและปลูกฝังจิตสานกึ ที่ดีงามให้กับเด็ก เพราะเป็นเร่ืองที่สาคัญท่ีเด็กยุคปัจจุบันขาดไป
คือ เรอื่ งของวัฒนธรรม มารยาททางสงั คม และจิตสานึก สง่ิ เหล่านี้เป็นส่ิงที่จะต้องเร่มิ ปลูกฝงั ต้งั แต่วัยเด็ก

เพอื่ ใหต้ ิดตัวของพวกเขาไปเมอ่ื โตข้ึน ดงั นัน้ พอ่ แมไ่ ม่ควรเพิกเฉยตอ่ สงิ่ เหล่านี้ สอนให้รจู้ กั ขอบคุณ ขอโทษ
และสอนให้เห็นใจผู้อื่น ตักเตือนและบอกเหตุผลเม่ือเขาทาผิดเพ่ือให้ลูกเข้าใจและไม่ทาอยา่ งน้ันอีก ท้ังนี้

การควรปลูกฝังควรเริ่มสร้างระเบียบ ข้อตกลง เงื่อนไข อย่างง่าย ๆ ในเบ้ืองต้น เพื่อให้เด็กเรียนรู้ในการ
ปรับตัวและทาตามขอ้ ตกลงหรอื เงื่อนไข วัยเดก็ ไมใ่ ช่แค่เล่นเพียงอย่างเดียวแตเ่ ดก็ ๆ จะตอ้ งเริ่มหัดทีจ่ ะใช้
ชีวิตอย่างมีระบบระเบียบบ้าง รวมไปถึงการเร่ิมฝึกเร่ืองระเบียบวินัย เพื่อเป็นการเรียนรู้ที่จะจัดการชีวติ

อย่างเปน็ ข้ันตอน การเรียนร้ทู จี่ ะปฏิบัตติ ามกฎ ซ่ึงต่อไปจะทาให้พวกเขาสามารถทาตามกฎหมายและอยู่
ร่วมกับผู้อืน่ ในสงั คมได้ ผ้ปู กครองควรควบคุมการใชส้ ่ือและเทคโนโลยี รวมไปถึงอปุ กรณ์และเทคโนโลยีซ่ึง

เป็นส่ิงท่ีเข้าถึงง่าย ทั้งโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตและอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีท้ังข้อดีและข้อเสีย เม่ือหาก
จาเป็นต้องใช้ควรมีการเลือกเกมที่เหมาะสมกับการพัฒนาสมองและทักษะของเด็ก มีการจากัดการใช้ให้
เหมาะสมเพ่ือไม่ให้มีปัญหากับสายตา พ่อแม่เองก็จะควรเป็นตัวอย่างในการใช้เทคโนโลยีเหล่าน้ีด้วย

โดยไมใ่ ชอ้ ุปกรณ์และเทคโนโลยีเหล่าน้ีตลอดเวลา เช่น ไม่เล่นหรอื ใช้งานในเวลาทานข้าว หรือทาการบ้าน
ดังน้ันพวกเขาควรจะตอ้ งได้รบั การฝึกให้ช่วยเหลือตัวเอง ได้ลองตัดสินใจอะไรเองบ้างเพราะจะทาให้พวก

เขาได้ฝึกทกั ษะในการคิดวิเคราะห์ และการตดั สนิ ใจ ซ่งึ อาจนาไปสู่ทกั ษะการเป็นผู้นาหรือทักษะอ่ืน ๆ เช่น

๒๑

การเลือกของเล่น การเลือกสีที่ชอบ หรือการอดทนรอ ลองให้เด็กคิดหาวิธีการผ่านอุปสรรคบางอย่างเอง
บ้าง เพราะการเรยี นรู้ผา่ นประสบการณจ์ ะเกิดขน้ึ หลงั จากท่ีพวกเขาได้ใช้ความคดิ ในการตัดสินใจ

ดังนั้นการพัฒนาการเล่นของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ ๒๑ จึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีมีคุณค่า
อย่างมากเป็นการวางรากฐานการเรียนร้ใู ห้เด็กเพื่อให้เกดิ การพัฒนาทักษะให้เต็มศักยภาพสามารถเผชิญ
และดารงอยู่ในสังคมโลกที่มีกระแสของการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
อยา่ งมีความสุข

สรุป การเปิดโอกาสให้เด็กได้มีพื้นที่การเล่นอย่างไม่จากัดไม่ว่าจะในส่ิงแวดล้อมใด ๆ ก็ตาม
การออกแบบการเล่นในพื้นท่ีที่มีนั้น เป็นการช่วยเสริมสร้างจินตนาการด้านความคิด และให้เด็กได้ใช้
ประสาทสมั ผสั ท้ัง ๕ ไดอ้ ยา่ งไม่มขี ีดจากดั การใช้ร่างกายเลน่ ปน่ั จกั ยาน วิ่งเล่นแข่งขนั เปน็ การเรียนรูก้ าร
เล่นเป็นทีม การเล่นกับผู้อ่ืน มีอิสระในการเล่น ไม่ว่าจะเป็นการเล่นเลียนแบบบทบาทอาชีพ ต้นแบบ
ทเี่ หน็ จากผใู้ หญ่ เกดิ ความร้สู ึกอยากเปน็ ตามบทบาททีเ่ ลน่ มบี ทบาทสมมุติให้เกิดการจนิ ตนาการเช่ือมโยง
ไปในการใชช้ วี ิตจริง มกี ารเปรยี บเทยี บและเลือกทจี่ ะเล่นและเป็นในแบบไหน

๒.๓ งำนวิจัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง
อาทิตยา เสมอ่วม (๒๕๕๘) ศึกษาเรื่อง พื้นที่สร้างสรรค์กับการพัฒนาเด็กในสภาวะ

ยากลาบาก: กรณีศึกษาชุมชนวัดดวงแข กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า การเปิดพื้นที่เล่นให้เด็ก
ในชุมชนวัดดวงแขทาให้พบว่าการเปิดพืน้ ท่ีใหเ้ ด็กได้เข้ามาเล่นและการมีผู้อานวยความสะดวกในการเล่น
(Play Worker) ที่มีวิธีการทางานกับเด็กในเชิงบวกสามารถลดความรุนแรงทางอารมณ์ของเด็กท่ีได้รับ
จากครอบครัวและชุมชนลงได้ และในการสรา้ งและพฒั นาพ้ืนท่ีสรา้ งสรรค์ ชุมชนวัดดวงแขภายใต้โครงการ
“รองเมือง . . . เรืองย้ิม” ผ่านการสร้างการรับรเู้ รื่องแนวคิดพื้นที่สร้างสรรค์และเป็นผู้เชื่อมประสานงาน
กับเด็ก ชุมชน โดยผ่านการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องกับเด็กและชุมชนเครือข่าย ให้สอดคล้องตาม
ความต้องการของเด็กและชุมชน โดยผลักดันให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ ทุกกิจกรรม
ต้งั แตร่ ว่ มคดิ ร่วมตดั สินใจ ร่วมดาเนนิ การ รว่ มตดิ ตาม และร่วมรับผลประโยชน์ ไปพร้อม ๆ กนั จงึ กอ่ เกิด
พ้นื ที่สรา้ งสรรค์ในชุมชนที่ชว่ ยส่งผลให้เด็กและคนในชุมชนเกิดการพัฒนาในเชิงบวก เช่น เกิดความมั่นใจ
ในตนเอง และความภาคภมู ใิ จตอ่ ชมุ ชน

จิตตินันท์ เดชะคุปต์ และคณะ (๒๕๕๘) โครงการวิจัย “การเล่นของเด็กในครอบครัวไทย :
ลักษณะและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็กในช่วงปฐมวัย” ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะการเล่นของ
เด็กปฐมวัยในครอบครัวไทยมีความหลากหลาย อันเนื่องมาจากภูมิหลังของครอบครัวและคุณลักษณะตัว
เดก็ ทแี่ ตกต่างกัน ปัจจัยสาคัญทีม่ ีอทิ ธิพลต่อลกั ษณะการเลน่ ของเด็กปฐมวัยในครอบครัวไทย ไดแ้ ก่ ปจั จัย
ด้านพัฒนาการเด็ก โดยท่ีพฤติกรรมการเล่นของเด็กอายุต่ากว่า ๓ ปี เป็นการเล่นสารวจ ซ่ึงใช้อวัยวะ
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ในขณะที่พฤติกรรมการเล่นของเด็กอายุ ๓-๖ ปี เป็นการเล่นสร้างสรรค์ ซึ่งต้อง
อาศัยความคดิ จินตนาการของเด็ก และปัจจยั ด้านความแตกต่างทางเพศของเด็ก โดยที่เด็กชายแสดงออกถึง
การเล่นใช้กาลังและออกแรงมากกว่า ในขณะที่เด็กหญิงแสดงถึงการเล่นคิดจินตนาการมากกว่า และการ
ส่งเสริมการเล่นของเด็กปฐมวยั ในครอบครวั ไทยทั้งสองกลุ่มอายุ มีความคล้ายคลึงและแตกต่างกัน ข้ึนอยู่
กับคนทีเ่ ล่นกบั เด็ก การจัดหาของเล่นใหก้ ับเด็ก และการจัดสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ดก็ เล่น

สรุปการให้ความสาคัญของเด็กท่ีอยู่ในชุมชน หรือเด็กอื่น ๆ ท่ัวไป พ้ืนท่ีสาหรับการเล่นเป็น
องค์ประกอบสาคัญของการเล่น การกาหนดให้มีพื้นท่ีสร้างสรรค์สาหรับการเล่นให้เด็กได้มีกิจกรรม
ที่หลากหลาย ได้เล่นอย่างปลอดภัย โดยมีผู้ใหญ่ให้การสนับสนุนการเล่นด้วยการจัดพื้นท่ีสร้างสรรค์

๒๒

สาหรบั เดก็ และไม่เพยี งแตก่ ารจดั พ้ืนทสี่ ร้างสรรค์สาหรบั เดก็ เท่านั้นลกั ษณะการเลน่ ของเดก็ ก็เป็นปัจจัยที่มี
อทิ ธพิ ลตอ่ พฒั นาการของเดก็ ในช่วงปฐมวยั เช่นกัน

๒.๔ ยทุ ธศำสตร์และแผน
ยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของประชาชนทุกกลุ่มวัยด้วย

การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อพัฒนาคนไทย

เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือและ
สนับสนุนต่อการพฒั นาคนตลอดชว่ งชีวติ ต้ังแตช่ ว่ งการตง้ั ครรภ์ปฐมวยั วยั เดก็ วัยรุน่ วัยเรียน วัยผใู้ หญ่ วัย

แรงงานและวัยผู้สูงอายุ เพื่อสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพ ครอบคลุมทั้งด้านกายใจสติปัญญาและ
สงั คมมงุ่ เนน้ การเสรมิ สรา้ งการจดั การสขุ ภาวะในทกุ รูปแบบทนี่ าไปสู่การมีศกั ยภาพในการจัดการสุขภาวะ
ท่ีดีได้ด้วยตนเอง พร้อมท้ังสนบั สนุนให้ทุกภาคส่วนมสี ่วนรว่ มในการสร้างเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดแี ละ

มีทักษะด้านสุขภาวะที่เหมาะสม รวมท้ังการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้าง
ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ โดยมุ่งเน้นการสร้างความอยูด่ มี ีสขุ ของครอบครัวไทย การสง่ เสริมบทบาทในการ

มีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ครอบครัว และชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การปลูกฝังและ
พัฒนาทักษะนอกห้องเรียนและการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายตามท่ีกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตรช์ าตแิ ตล่ ะด้านได้จดั ทา

แผนแม่บทจานวน ๒๓ แผน ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่
๑๘ เมษายน มแี ผนแมบ่ ทท่เี ก่ียวข้อง

แผนท่ี ๑๑ ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และได้มาตรฐานของเด็กปฐมวัย โดยครอบครัว ชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน
และสถานประกอบการ การออกแบบกระบวนการพัฒนาทักษะทางสมองและทักษะทางสังคมแกก่ ลุ่มเด็ก

ปฐมวัย โดยเป็นไปตามหลักการและมาตรฐานกลางในการพัฒนาเด็กปฐมวัย เน้นการเรียนรู้สาหรับเด็ก
ปฐมวัยด้วยวิธีการที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ตามธรรมชาติของเด็ก อาทิ การเรียนรู้ผ่านการเล่น เรียนรู้

จากประสบการณ์จริง เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสท่ีหลากหลาย โครงการพัฒนาคุณภาพสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัย ด้วยการปรับปรุงคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยใช้การบูรณาการระดับอาเภอด้วยกลไก
ประชารฐั ในเรื่องของกายภาพ เชน่ เคร่อื งเล่นสนาม สภาพหอ้ งเรียน

แผนท่ี ๑๒ การพัฒนาการเรียนรู้ โครงการพัฒนานวตั กรรมและออกแบบกระบวนการเรียนรู้
ในทุกระดับชั้นสาหรับศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยการพัฒนาระบบการเรยี นรู้เชิงบูรณาการที่เน้นการลงมอื ปฏบิ ัติ

และกิจกรรมเพอ่ื พัฒนาทักษะสาหรบั ศตวรรษที่ ๒๑ ควบคู่กบั สง่ เสรมิ พฒั นากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผ่านการเรียนรู้รูปแบบสเต็มศึกษา และบูรณาการด้านกีฬา ศิลปะและดนตรี (SAM : Sport Art Music)
ในการพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์ การแกป้ ญั หา คดิ สร้างสรรค์

แผนที่ ๑๓ การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี แผนงานบูรณาการการสร้างความรอบรู้
ดา้ นสุขภาวะ และการป้องกนั และควบคุมปจั จัยเส่ียง เพอ่ื สรา้ งความรอบรู้ทางสุขภาพ แผนงานบรู ณาการ

การใช้ชุมชนเป็นฐานในการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะท่ีดี ได้แก่ โครงการปรับปรุง
กฎหมายเพ่ือสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมีสุขภาวะที่ดี ได้แก่ ปรับปรุงกฎหมายผังเมือง ให้มีพื้นที่
สวนสาธารณะ ปรับปรุงกฎหมายสนับสนนุ สินค้าท่ีเปน็ มิตรต่อสุขภาพประชาชน โครงการพัฒนามาตรฐาน

สถานที่ทางานเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ โดยสถานท่ีทางานทุกประเภทตั้งแต่โรงเรียน มหาวิทยาลัย สานักงาน
ไปจนถึงโรงงาน ต้องกาหนดมาตรฐานสถานท่ีทางานอย่างเหมาะสมเพื่อส่งเสริมให้ผู้ท่ีอยู่ในสถานที่นั้น ๆ

มสี ุขภาวะ ปลอดโรค ปลอดภัย ซ่งึ การจะบรรลยุ ุทธศาสตร์และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตินั้น
จาเป็นต้องมีการพฒั นาศักยภาพมนุษย์ของประเทศตั้งแต่ต้นนา้ คือ เด็กปฐมวัย ผ่านกระบวนการเลน่ เพ่ือ

๒๓

พัฒนาสมองและยกระดับศักยภาพในการทางานของประชากรไทยในการสร้างผลิตภาพ (Productive
Growth Engine) ให้ประเทศอย่างเต็มศักยภาพ

สรุปการพฒั นาคนในทุกช่วงวยั ต้งั แตว่ ยั ทารกถึงวัยผูส้ งู อายุ ซึ่งในแตล่ ะช่วงวัยมีความต้องการ
ที่แตกต่างกันนั้น การออกแบบกิจกรรมเพื่อให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยต้องมีความเหมาะสมสาหรับ
สร้างศักยภาพให้กับทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละช่วงวัย และในวัยเด็กน้ันการออกแบบกระบวนการพัฒนา

ทักษะทางสมองและทักษะทางสังคมแก่กลุ่มเด็ก โดยให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ตามธรรมชาติของเด็ก
ไดเ้ รียนรู้จากประสบการณจ์ รงิ ผา่ นการเลน่ อยา่ งเหมาะสม สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรแ์ ผนในศตวรรษท่ี ๒๑

กลา่ วว่าการเรียนร้ตู ามธรรมชาติของเด็ก อาทิ การเรยี นรผู้ า่ นการเล่น เรยี นรู้จากประสบการณ์จริง เรยี นรู้
ผา่ นประสาทสัมผสั ท่ีหลากหลาย ชว่ ยเสริมสรา้ งพฒั นาการของเด็ก

๒๔

บทที่ ๓
วธิ ดี ำเนินกำรวจิ ัย

การวิจัย “การพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก (prototype play area)
กรณีศึกษา:ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค” มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาศูนย์พฒั นา

เด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค ให้เป็นพื้นท่ีต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก
พฒั นาศักยภาพเกีย่ วกบั กระบวนการเล่นกับเด็กปฐมวยั ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครพู ่เี ลย้ี งและผูด้ ูแลเดก็ และ
เปน็ พ้นื ท่ีตน้ แบบสรา้ งสรรคเ์ ด็กไทยเลน่ เปลีย่ นโลก เกิดความยั่งยืนในชุมชน

๓.๑ รูปแบบกำรวจิ ัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การวิจัยแบบตัดขวาง

(Cross-sectional research) เก็บรวบรวมข้อมลู ดว้ ยวธิ ีการทาแบบประเมิน การสมั ภาษณ์ การสนทนากลุ่ม
(Focus group) และการเล่าเร่ืองจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
และนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพ่ือพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกในศูนย์พฒั นาเด็กเลก็
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค เขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีมีพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา

พ.ศ. ๒๕๖๒

๓.๒ พนื้ ทที่ ำกำรวิจัย

คัดเลอื กพน้ื ทศี่ ึกษาจากศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กทีม่ ีความเข้มแขง็ และมีสว่ นรว่ มจากชมุ ชนในการจัดการ
เรียนการสอน จานวน ๔ พื้นท่ี ไดแ้ ก่

๑) ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ วัดพุทธกาญจนนมิ ติ จงั หวัดกาญจนบรุ ี
๒) ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ เทศบาลเมอื งสตูล จังหวดั สตลู
๓) ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านหวั ช้าง จงั หวดั ศรสี ะเกษ
๔) ศนู ย์โรงเรียนอยเู่ มืองแกลง จังหวดั ระยอง

๓.๓ ประชำกรและกล่มุ ตัวอยำ่ ง
ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ เจ้าหน้าท่ีด้านสาธารณสุขจากศูนย์อนามัย สานักงาน

สาธารณสุขจังหวัด และหน่วยบริการสาธารณสุขในพ้ืนที่ที่รับผิดชอบงานเด็กปฐมวัย ครูพี่เล้ียงผู้ดูแลเด็ก

ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน เครือข่ายชุมชนต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ รวมทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็ก
ทีอ่ ยู่ในพืน้ ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา ๔ ภาค

กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปฏิบัติงานดูแลใกล้ชิดเด็กปฐมวัยและกลุ่มผู้บริหาร และผลักดันเชิงนโยบาย
ในพ้ืนที่คัดเลือกจาก ๔ พื้นที่ที่อยู่ในพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา ๔ ภาค ได้แก่ ภาคตะวันตก
(จังหวัดกาญจนบุรี) ภาคใต้ (จังหวัดสตูล) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (จังหวัดศรีสะเกษ)

ภาคตะวนั ออก(จังหวัดระยอง) โดยมเี กณฑ์การคดั เลือกกลุ่มตวั อยา่ ง (Inclusion criteria) ดงั น้ี
๑. เป็นเพศชายและหญิง ท่ีมีอายุอายุ ๑๘ ปีข้ึนไป ปฏิบัติงานดูแลใกล้ชิดเด็กปฐมวัย

และกลมุ่ ผู้บริหารและผลักดันเชงิ นโยบายในพืน้ ที่
๒. สามารถพูดคยุ สือ่ สารโตต้ อบได้ดี เข้าใจภาษาไทย อ่านออกเขียนได้
๓. ถามตอบรเู้ ร่ือง มกี ารรับรู้ดี

๔. ยินดใี ห้ความรว่ มมือในการวิจัย

๒๕

กลมุ่ ตวั อย่างในการศึกษาครั้งนม้ี จี านวนทงั้ หมด ๓๖ คน แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มท่ี ๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ปฐมวัย ๔ ภาค แบ่งเปน็ ทลี่ ะ ๕ คน รวม ๒๐ คน

- ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ วดั พุทธกาญจนนิมติ ต.วังดง้ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
- ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมอื งสตลู อ.เมือง จ.สตลู
- ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็กบา้ นหัวช้าง ต.หวั ชา้ ง อ.อทุ มุ พรพสิ ยั จ.ศรีสะเกษ
- โรงเรยี นอยเู่ มืองแกลงเทศบาลตาบลเมืองแกลง อ.แกลง จ.ระยอง
กลุ่มที่ ๒ ศูนย์อนามัย และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดท้ัง ๔ ภาค พื้นที่ละ ๒ คน
รวม ๔ ภาค จานวน ๘ คน
กลุ่มที่ ๓ เครือขา่ ยชุมชน และพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง พน้ื ท่ลี ะ ๒ คน รวม ๔ ภาค จานวน ๘ คน

๓.๔ เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นกำรวจิ ัย
เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัยครั้งนี้ ประกอบด้วยชดุ คาถาม ๒ ชดุ ดังน้ี
๑) แบบประเมินแนวทางในการดาเนินงาน “ต้นแบบเด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก” แบ่งเป็น

๓ สว่ น ประกอบดว้ ย
ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ประสบการณ์

การทางาน การปฏบิ ัติงานเก่ียวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ผูป้ ฏิบตั ิ ผบู้ รหิ ารเก่ยี วขอ้ งเชิงนโยบาย
ส่วนที่ ๒ แบบประเมินแนวทางการดาเนินงาน “ต้นแบบเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก”

แบง่ ออกเป็น ๔ องคป์ ระกอบดงั นี้
องค์ประกอบที่ ๑ พืน้ ท่ีเลน่ (Play space)
องคป์ ระกอบท่ี ๒ ผู้อานวยการเล่น (play worker)
องคป์ ระกอบที่ ๓ กระบวนการเล่น (Play process)
องคป์ ระกอบท่ี ๔ หนว่ ยบรหิ ารจัดการการเลน่ (Play Management Unit)

๒) แบบสัมภาษณ์ความเป็นมาและแนวทางการดาเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยใช้
แบบสมั ภาษณ์กึ่งโครงสรา้ ง (Semi-Structured Interview)

๓.๕ กำรดำเนนิ กำรวิจยั
ผ้วู ิจยั มีการวางแผนข้ันตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดดังนี้
๑) ต้ังคณะทางานศกึ ษาวจิ ยั การเล่นเปลีย่ นโลก
๒) ประชุมกล่มุ คณะทางานผูเ้ ชีย่ วชาญดา้ นการเล่น
๓) กาหนดโมเดลเล่นเปลีย่ นโลก Family Free Fun
๔) กาหนดองคป์ ระกอบของการเลน่ เปลย่ี นโลก ภายใต้ concept ๓F
๕) สร้างเคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการวิจัย
๖) ลงพ้ืนท่เี ก็บขอ้ มลู ในพ้ืนที่ ๔ จงั หวัด
๗) สรปุ ขอ้ มลู ลงพ้นื ทส่ี ัมภาษณ์ Focus group
๘) สรปุ ข้อมลู ประชุมผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องกับการทางานเชงิ นโยบายในพนื้ ท่ี (stakeholder)
๙) วิเคราะหส์ ง่ิ ท่คี ้นพบจากการลงพ้นื ที

๒๖

๓.๖ วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
ดาเนินการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการทาแบบประเมิน การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มย่อย

(Focus group) ในช่วงระยะเวลาดาเนนิ การระหวา่ ง เดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
๑) ศกึ ษาคน้ ควา้ จากเอกสาร (Documentary study)
ศกึ ษาจากเอกสารตา่ ง ๆ ทง้ั หนงั สือวชิ าการ บทความ รายงานการวิจยั วิทยานิพนธ์

ที่เก่ียวข้อง เป็นต้น รวมถึงข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต เพ่ือให้ได้ข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญอันเป็นความรู้เบ้ืองต้น
เกี่ยวกบั ประเด็นที่จะศึกษา กรอบแนวคิดทฤษฎี และกลุ่มเป้าหมายทีจ่ ะศกึ ษา เป็นต้น

๒) การศกึ ษาขอ้ มูลจากภาคสนาม (Field study)
การศึกษาข้อมูลจากภาคสนามเป็นการลงพ้ืนท่ีเพ่ือเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ในประเด็นที่เก่ียวข้องและทาความรู้จักกับผู้ให้ข้อมูลโดยการสร้างสัมพันธภาพ
เพ่ือให้เกิดความคุ้นเคยและสร้างความไว้วางใจ เพื่อให้ง่ายต่อการดาเนินงาน จากนั้นได้แจ้งวัตถุประสงค์
ของการศกึ ษาวจิ ัยในคร้ังนี้ โดยใชว้ ิธดี งั น้ี

๒.๑) การสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ (In-depth Interview)
การสัมภาษณ์เชิงลึกจะทาให้ผู้ศึกษาได้ทาความเข้าใจในประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการ
ศึกษา โดยอาศัยแนวคาถามและคาสาคัญ (Keywords) ในลักษณะเป็นคาถามปลายเปิด ผู้ศึกษาใช้การ
สัมภาษณ์เชิงลึกในการเก็บข้อมูลเร่ือง การพัฒนาพื้นท่ีสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก กรณีศึกษา
ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค
๒.๒) การสนทนากลมุ่ (Focus group)
การสนทนากลุ่มทาให้ผู้ศึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผู้ให้
ข้อมูลในประเด็นท่ีเฉพาะเจาะจง โดยผู้ศึกษาได้ดาเนินการสนทนากลุ่มเป็นผู้ตั้งคาถามและจุดประเด็น
ในการสนทนา เพ่อื ใหเ้ กดิ แนวคิดและแสดงความคิดเหน็ แลกเปล่ยี นประเด็นตอ่ ประเดน็
๒.๓) การประเมินเก่ียวกับแนวทางในการดาเนินงานพ้ืนท่ีต้นแบบสร้างสรรค์
เดก็ ไทยเลน่ เปล่ียนโลก ท่ีมีองค์ประกอบเนือ้ หาทส่ี าคญั ได้แก่ พนื้ ท่เี ล่น (Play space) ผู้ดแู ลการเลน่ (Play
worker) กระบวนการเล่น (Play process) และหน่วยบริหารจัดการ (Play Management Unit) โดย
ใช้แบบตรวจรายการ (Check list) แนวทางในการดาเนินงาน “ตน้ แบบเดก็ ไทยเลน่ เปลยี่ นโลก”
๓) การใช้เครื่องบันทึกเสียงขณะทาการสัมภาษณ์เพ่ือให้ผู้ศึกษาได้ข้อมูลท่ีครบถ้วน
ไม่ผิดพลาด แต่ผู้ศึกษาต้องได้รับการอนุญาตบันทึกเสียงจากผู้มีส่วนร่วมในงานวิจัยและเก็บไฟล์เสียงไว้
เป็นความลบั
๔) การจดบันทึก ผู้ศึกษาใช้วิธีการจดบันทึกในขณะทาการสัมภาษณ์ หรือสนทนากลุ่มย่อย
เพื่อช่วยในการรวบรวมประเด็นต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วนมากย่ิงข้ึน นอกจากนี้ผู้ศึกษาเก็บข้อมูลโดยการ
สงั เกตขณะการสมั ภาษณ์แบบเจาะลกึ และสนทนากลมุ่ ย่อย

๓.๗ กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการลงพื้นที่

โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การประเมิน และการศึกษาจากเอกสาร หนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เพ่ือให้ ผู้วิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างระเอียด ชัดเจน ตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยผู้วิจัย
มีขัน้ ตอนการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี

๒๗

๑) การถอดขอ้ มูลจากการบันทึกเสียง
ผู้วิจัยได้นาข้อมูลจากการประเมิน การบันทึกเสียงการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก และ

สนทนากลุ่มมาถอดบทสัมภาษณ์อย่างละเอียด พร้อมนาคาพูดที่ได้จากการสัมภาษณ์มาเรียบเรียงและ
ใช้เปน็ สว่ นประกอบในผลการวิจยั

๒) การแปลความหมายและอธบิ ายข้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การวิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content analysis) ข้อมูลท่ีได้

จากการรวบรวม ท้ังข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร (Documentary study) และภาคสนาม
(Field study)

๓.๘ ระยะเวลำในกำรดำเนนิ กำร
การดาเนินการศกึ ษาตัง้ แต่เดือนกมุ ภาพนั ธ์ - มนี าคม ๒๕๖๓

๓.๙ กำรพทิ ักษส์ ิทธิผรู้ ว่ มวิจัย
การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ผู้ศึกษาเคารพในความเป็นบุคคลของผู้ร่วมวิจัย มีการป้องกันผลเสียและ

ปัญหาทอ่ี าจจะเกดิ ขึน้ แกผ่ รู้ ว่ มวจิ ัย ดงั น้ี
๑) ผู้ศึกษาได้สร้างสัมพันธภาพกับผู้ร่วมวิจัยเพ่ือให้เกิดความคุ้นเคย เมื่อผู้ร่วมวิจัยเกิด

ความคุ้นเคยผู้ศึกษาจึงขอความร่วมมือในการเข้าร่วมโครงการวิจัย โดยอธิบายให้ทราบถึงรายละเอียด
วัตถุประสงค์ของการวิจัย พร้อมทั้งให้สิทธิผู้ร่วมวิจัยตัดสินใจได้ด้วยตนเองในการให้ข้อมูลในการวิจัย
ในครั้งน้ี ใหผ้ ู้รว่ มวิจัยทีย่ ินยอมเข้ารว่ มวิจยั ลงนามในหนงั สอื แสดงเจตนายนิ ยอมเขา้ ร่วมการวจิ ัย

๒) สิทธิความเป็นส่วนตัวและรักษาสัญญาเป็นความลับส่วนบุคคล ข้อมูลที่ได้จากผู้ร่วมวิจัย
ผู้วิจัยจะทาเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี ไม่ให้มีการร่ัวไหลของข้อมูล โดยผู้ท่ีสามารถเข้าถึงข้อมูลได้นั้น
จะมีเพียงผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษาในการทาวิจัยน้ีเท่านั้นในการเผยแพร่ข้อมูล ไม่มีการระบุช่ือจริง
แหล่งท่ีมาของข้อมูล ผู้ท่ีได้ทราบข้อมูลหรืออ่านงานวิจัยน้ีไม่สามารถเชื่อมโยงไปถึงผู้ให้ข้อมูลได้
ในการบันทึกเทปอัดเสียง การบันทึกภาพ การจดบันทึกข้อมูลผู้วิจัยจะขออนุญาตผู้ร่วมวิจัยทุกคร้ัง และ
หลังจากส้ินสดุ การทาวจิ ัยและประมวลผลเรยี บร้อยแลว้ ผวู้ ิจัยจะลบและทาลายข้อมลู น้ัน

๒๘

บทที่ ๔
ผลกำรวจิ ยั

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเรื่อง “การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก
(prototype play area) กรณีศกึ ษา:ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค” เปน็ การวิจัย
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค ให้เป็นพ้ืนที่ต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก พัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับ
กระบวนการเล่นกับเด็กปฐมวัยของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูพี่เล้ียง และผู้ดูแลเด็ก และให้พ้ืนที่ต้นแบบ

สร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกเกดิ ความยั่งยืนในชุมชน โดยใช้วิธีการศึกษาจากการค้นคว้าจากเอกสาร
(Documentary Study) และการศึกษาข้อมูลจากภาคสนาม (Field Study) โดยนาเสนอผลการศึกษา
ออกเป็น ๓ ตอน ดังนี้

ตอนที่ ๑ การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภาค ให้เป็นพ้ืนที่ต้นแบบ
สรา้ งสรรค์เด็กไทยเลน่ เปลีย่ นโลก

ตอนท่ี ๒ การพัฒนาศักยภาพเก่ียวกับกระบวนการเล่นกับเด็กปฐมวัยของพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ครพู เ่ี ลี้ยง และผู้ดแู ลเด็ก

ตอนที่ ๓ ต้นแบบพื้นท่ีสร้างสรรคเ์ ด็กไทยเล่นเปล่ยี นโลก เกดิ ความย่ังยืนในชมุ ชน

ตอนที่ ๑ กำรพัฒนำศูนย์เด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภำค ให้เป็นพื้นท่ีต้นแบบสร้ำงสรรค์
เดก็ ไทยเล่นเปล่ยี นโลก

เพื่อพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบนาร่อง “เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก” ในระดับพื้นท่ีท้ังหมด ๔ ภาค
ประกอบดว้ ย

๑. ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กบ้านหวั ช้างตาบลหัวชา้ ง อาเภออทุ มุ พรพสิ ัย จงั หวัดศรสี ะเกษ
๒. ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็กวัดพุทธกาญจนนิมิต วัดวังด้ง ตาบลวังดง้ อาเภอเมอื ง จังหวดั กาญจนบุรี
๓. ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลเมอื งสตลู อาเภอเมอื ง จงั หวดั สตลู
๔. โรงเรียนเมืองแกลง เทศบาลตาบลเมืองแกลง จังหวดั ระยอง

โดยเลือกจากพ้ืนที่ท่ีอยู่ในเขตพ้ืนที่การศึกษาท่ีมีพระราชบัญญัติพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีความเข้มแข็ง ซึ่งการลงพ้ืนที่จะประกอบด้วย นักวิชาการของกรมอนามัย จากสานัก
ส่งเสริมสุขภาพ ,กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ ,สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ, ศูนย์อนามัยที่ ๕
ราชบุรี และศูนย์อนามัยท่ี ๑๐ อุบลราชธานี รวมท้ังเครือข่ายส่วนภูมิภาค ได้แก่ สานักงานสาธารณสุข
จังหวัดศรีสะเกษ สานักงานสาธารณสุขอาเภออุทุมพรพสิ ัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลหัวช้าง และ
องค์การบริหารส่วนตาบลหวั ช้าง เปน็ คณะทางานและขับเคลอ่ื นมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาติ
ผลการศกึ ษาทไี่ ดม้ ดี งั น้ี

๑) ศูนย์พัฒนาเด็กบ้านหัวช้าง ตาบลหัวช้าง อาเภออุทุมพรพิสัย จังหวัด
ศรีสะเกษ ภายในบรเิ วณศูนย์พัฒนาเดก็ บ้านหัวช้างมีความพร้อมด้านสถานท่ี มีลานเลน่ มุมเล่น เหมาะสม
สาหรับการเล่น โดยเด็กสามารถเลือกเล่นได้อย่างอิสระ เข้าถึงได้ง่าย และมีความปลอดภัย ปัจจุบัน
มีเด็ก ทั้งหมด ๑๐๖ คน ครูผู้ดูแลเด็กท้ังหมด ๖ คน คิดเป็นสัดส่วน (๑๘:๑) และครูที่ผ่านการอบรม
.............

๒๙

หลักสูตร Play worker จานวน ๒ คน มีการจัดกระบวนการเล่นโดยจัดให้มีช่ัวโมงการเล่นอิสระ
สาหรับเด็ก ซ่ึงเด็กได้มีโอกาสเป็นผู้นาการเล่น มีโอกาสเลือกท่ีจะเล่นด้วยตนเอง แต่ครอบครัวมีส่วนร่วม
ในการเล่นกับลูกค่อนข้างน้อย และยังขาดทักษะการเล่นท่ีช่วยส่งเสริมสุขภาพทางกายเกี่ยวกับความสูง
ของเด็ก ถือเป็นหน่วยบริการจัดการการเล่นที่ได้รบั ความร่วมมือจาก ๓ องค์ประกอบคือ บ้าน/ครอบครัว
สถาบนั พัฒนาเด็กปฐมวัย/หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุข และชุมชน เปน็ หน่วยจัดการการเลน่ ท่สี าคญั

๒) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดพุทธกาญจนนิมิต วัดวังด้ง ตาบลวังด้ง อาเภอเมือง
จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ในบริเวณโรงเรียนวัดวงั ด้ง มีพื้นท่ีเป็นลานเล่น/สนามเด็กเล่น แบ่งเป็น ๒ ส่วนหลัก
คือ สนามเด็กเล่นสร้างปัญญา และสนามเด็กเล่นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดพุทธกาญจนนิมิต โดยพ้ืนที่เล่น
ลานเล่น มุมเล่น มีความเหมาะสม เด็กสามารถเลือกเล่นได้อย่างมีอิสระ หลากหลาย เปิดโอกาสให้เด็ก
เข้าถึงได้ง่าย และมีแผนการสอนกิจกรรม ๖ กิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ
กจิ กรรมสร้างสรรค์ กจิ กรรมเสรี กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ กจิ กรรมกลางแจง้ และกิจกรรมเกมการศึกษา
ส่วนด้านความปลอดภัยยังมีบางจุดท่ีต้องซ่อมแซม เช่น เชือกขาด ของเล่นชารุด ปรับปรุงให้เหมาะสม
กบั ช่วงวยั ของเดก็ และลดโอกาสในการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กวดั พุทธกาญจนนิมติ มีครูผู้ดแู ลเด็ก
จานวน ๓ คน ซึ่งทั้ง ๓ คนยังไม่เคยผ่านการอบรมผู้อานวยการเล่น (Play worker) แต่มีการจัด
กระบวนการเล่นสาหรับเด็กโดยจัดแบ่งเป็นรายชั่วโมงการเล่นเสรี ในทุกวันช่วงเวลา ๑๐.๐๕ – ๑๐.๓๕ น.
เด็ก ๆ สามารถเลือกเล่นได้อย่างอิสระตามความต้องการ และมีการจัดสรรเวลาให้เด็กได้เล่นอิสระ
ในสนามเด็กเล่นสร้างปัญญาสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง โดยมีหน่วยบริการจัดการการเล่น เช่น หมู่บ้าน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงเรียน วัด และเอกชน ให้การสนับสนุนงบประมาณและมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาลานเล่น/สนามเด็กเล่นอยู่ตลอด มีหน่วยบริหารจัดการที่เกิดจากการเชื่อมโยงกับบ้าน วัด
โรงเรียน ส่วนราชการ ทาให้เกิดความยั่งยืน

๓) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองสตูล อาเภอเมือง จังหวัดสตูล มีพ้ืนที่เล่น
(Play Space) ลานเล่น/สนามเด็กเล่น มุมเล่น มีความเหมาะสม เด็กสามารถเลือกเล่นได้อย่างมีอิสระ
มีจุดเด่นคือมีพื้นที่เล่นตามธรรมชาติ เช่น เล่นบนต้นไม้ เล่นท่ีพื้นดิน เกิดการเล่นท่ีสนุกเอ้ือต่อบรรยากาศ
แห่งความรักและความอบอุ่น พื้นท่ีเล่นท้ังภายในและภายนอกมีขอบเขตที่ชัดเจนเปิดโอกาสให้เด็ก
เข้าถึงได้ง่าย และมีความปลอดภัย ปัจจุบันมีครูผู้ดูแลเด็ก ๓ คน เคยผ่านการอบรมการจัดกิจกรรมให้เด็ก
ตามแผนการจัดกจิ กรรมต่างๆท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการพฒั นาเด็กปฐมวยั ในแตล่ ะช่วงอายุ แต่ไม่เคยผ่านการอบรม
ผู้อานวยการเล่น (Play worker) โดยมีกระบวนการเล่นส่งเสริมให้เด็กเป็นผู้นาการเล่น ได้เลือกเล่นอยา่ ง
อิสระ หลากหลายในสนามเด็กเล่น เช่น การเล่นทราย การกระโดด การปืนป่าย พร้อมท้ังการได้เรียนรู้
ประสบการณ์นอกห้องเรียน เช่น การเรียนรู้ในชุมชน ในท้องนา นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นคือ มีการจัดกิจกรรม
การเล่นเก่ียวกับทักษะในชีวิตประจาวัน ด้วยการให้หัวหน้าครอบครัวมีส่วนร่วมในการเล่นกับเด็ก และ
มีหน่วยบริการจัดการเล่นในพ้ืนท่ี อาทิ เทศบาลเมืองสตูล หมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โรงเรียน
ชุมชน และมูลนิธิในเมืองสตูลให้การสนับสนุนงบประมาณ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาลานเล่น/สนามเด็กเล่น
อยตู่ ลอด มีการเช่อื มโยงและบรู ณาการระหว่าง บา้ น โรงเรียน ชุมชน ส่วนราชการ เอกชน ทาให้เกิดความย่ังยนื

๔) โรงเรียนอยู่เมืองแกลง เทศบาลตาบลเมืองแกลง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง
มีพื้นท่ีเล่น (Play space) เป็นสนามเด็กเล่น/ลานเล่น แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ สนามเด็กเล่นสร้างปัญญา
อยู่ในความรับผิดชอบของโรงเรียนอยู่เมืองแกลง แบ่งออกเป็น ๕ ฐาน แต่ละฐานแบ่งพ้ืนที่เล่นตามช่วงวัย
ดังนี้ ประกอบด้วย ๕ ฐาน คือ ฐานที่ ๑ ค่ายกล Spider man ฐานที่ ๒ สระน้า อิน จัน ฐานที่ ๓ สระทารก

๓๐

ฐานที่ ๔ เรือสลัดลิง และฐานที่ ๕ หัดว่ายน้า เด็กสามารถเลือกเล่นได้อย่างอิสระหลากหลาย เข้าถึงได้ง่าย
แต่ยังมีบางจุดที่จะต้องปรับปรุง เช่น อุปกรณ์การเล่นชารุด ควรมีการซ่อมแซม เพื่อความปลอดภัย
และลดการเกิดอุบัติเหตุจากการเล่นในเด็กได้ และ สวนสาธารณะ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล
ตาบลเมอื งแกลง มกี ารจดั มมุ เลน่ สาหรับเด็กปฐมวัย หลากหลาย น่าสนใจเด็กสามารถเลอื กเล่นได้ด้วยตนเอง
อย่างอิสระ หรือเล่นร่วมกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง เน่ืองจากสามารถเข้าไปเล่นกับเด็กได้ง่าย และสะดวก
ในส่วนของ Play worker มีครูผู้ดูแลเด็กท้ังหมด ๗ คน เคยผ่านการอบรมการจัดกิจกรรมให้เด็ก
ตามแผนการสอนท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในแต่ละชว่ งวัย แต่ไมเ่ คยผ่านการอบรมผอู้ านวยการเล่น
(Play worker) มีการจัดกระบวนการเล่น โดยให้เด็กได้เป็นผู้นาการเล่น สามารถเลือกเล่นอย่างอิสระ และ
มคี วามหลากหลาย เช่น การกระโดด การปนี ปา่ ย การเล่นทราย มีจดุ เดน่ คอื ผสู้ งู อายุจากชมรมผู้สงู อายุ ที่
อย่ใู นความดูแลของกองศึกษาเทศบาลตาบลเมอื งแกลง เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมพ้นื บ้านกับเด็ก ๆ ใน
สนามเด็กเล่นสร้างปัญญา สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง ท้ังนี้มีหน่วยบริการจัดการการเล่น อาทิ เทศบาลเมืองแกลง ให้
การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาลานเล่น/สนามเด็กเล่น รวมท้ังโรงเรียน ชุมชน ชมรมผู้สูงอายุเทศบาล
เมืองแกลง ก็มสี ว่ นร่วมในการบริหารจัดการทาให้เกิดความย่ังยืน

จากผลการศึกษาพ้ืนท่ีต้นแบบ ๔ ภาค สามารถสรุปผลแนวทางในการพัฒนาเพื่อพัฒนา
พ้นื ท่ีสร้างสรรค์ “เด็กไทยเลน่ เปลยี่ นโลก” ในระดับพน้ื ท่ี ได้ดงั ตารางที่ ๑

ตำรำงท่ี ๑ ผลการศึกษาแนวทางในการพัฒนาเพื่อพัฒนาพ้ืนท่ีสร้างสรรค์ “เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก”
ในพน้ื ท่ตี น้ แบบ ๔ ภาค

องคป์ ระกอบ จังหวดั ศรสี ะเกษ จังหวดั กำญจบุรี จังหวัดสตูล จงั หวดั ระยอง

๑. พืน้ ทเี่ ลน่ ลานเล่น/สนามเดก็ เล่น ลานเลน่ /สนามเด็ก - ลานเลน่ /สนามเดก็ ลานเล่น/สนามเดก็
(Play space) มคี วามเหมาะสมกบั วยั เล่น มี ๒ ส่วนหลัก เลน่ เด็กสามารถ เล่นมี ๒ สว่ นหลกั
เล่นไดอ้ สิ ระ เข้าถงึ ง่าย ๑) สนามเดก็ เล่น เลอื กเลน่ ไดอ้ ิสระ ๑) สนามเด็กเล่นสร้าง
มีความปลอดภัย สรา้ งปญั ญา - มีพ้ืนท่ีเลน่ ตาม ปญั ญาแบง่ เป็น๕ฐาน
๒) สนามเดก็ เล่นศูนย์ ธรรมชาติ เข้าถึงง่าย ตามช่วงวัย เข้าถงึ ง่าย
พฒั นาเด็กเลก็ วดั ขอบเขตชัดเจน ๒) สวนสาธารณะ
พทุ ธกาญจนนมิ ติ ปลอดภัย เอื้อตอ่ เทศบาลเมอื งแกลง
ลานเลน่ และมุมเลน่ บรรยากาศความรัก *บางจดุ ต้องซ่อมแซม
มีความเหมาะสม และความอบอนุ่ ปรับปรุงใหเ้ หมาะกับ
เลือกเลน่ ได้อสิ ระ วยั เดก็ และลดอุบตั ิเหตุ
และ ปลอดภัย
*บางจดุ ตอ้ งซอ่ มแซม
ปรับปรุงใหเ้ หมาะกับ
วยั เดก็ และลดอุบตั ิเหตุ

๓๑

ตำรำงที่ ๑ ผลการศึกษาแนวทางในการพัฒนาเพื่อพัฒนาพื้นท่ีสร้างสรรค์ “เด็กไทยเล่นเปล่ียนโลก”
ในพน้ื ที่ตน้ แบบ ๔ ภาค (ตอ่ )

องค์ประกอบ จังหวดั ศรีสะเกษ จงั หวัดกำญจบุรี จงั หวดั สตลู จังหวดั ระยอง

๒. ผ้อู านวยการเลน่ - ครูผูด้ ูแลเดก็ ๖ คน - ครูผู้ดแู ลเดก็ ๓ คน - ครผู ดู้ แู ลเดก็ ๓ คน - ครูผดู้ ูแลเด็ก ๗ คน
(Play worker) คดิ เป็นสัดส่วน (๑๘:๑) - ไม่เคยผ่านการอบรม - ผ่านการอบรมจัด - ผ่านอบรมการจดั
– ครูท่ีผ่านการอบรม หลักสตู ร Play worker กจิ กรรมให้เดก็ ตาม กจิ กรรมใหเ้ ด็กตาม
หลกั สูตร Play worker แผนการจดั กจิ กรรม แผนการจัดกิจกรรม
จานวน ๒ คน พัฒนาเดก็ ปฐมวยั พฒั นาเด็กปฐมวัย
- ไม่เคยผา่ นการอบรม - ไม่เคยผ่านการอบรม
หลกั สตู ร Play worker หลักสตู รPlay worker

๓. กระบวนการเล่น - เด็กเปน็ ผู้นาเลน่ - แผนการสอน ๖ - เด็กเป็นผนู้ าการเลน่ - เด็กเปน็ ผนู้ าการเล่น
- เลือกเลน่ อยา่ งอสิ ระ - เดก็ เลอื กเลน่ อิสระ
- มีชวั่ โมงอิสระของเด็ก กิจกรรมหลัก - เรยี นรู้ประสบการณ์ - ผู้สงู อายุจัดกิจกรรม
นอกห้องเรียน เลน่ พน้ื บ้านกับเดก็ ๆ
- เด็กมโี อกาสเลือกเลน่ -เดก็ เลอื กเล่น - เล่นเก่ียวกับทักษะ สปั ดาหล์ ะ ๒ ครั้ง

ด้วยตนเอง กจิ กรรมหลากหลาย

๔. หน่วยบรหิ าร -ครอบครัวมีส่วนร่วมการ - เด็กเลือกเล่นอสิ ระ ในชวี ิตประจาวนั - เทศบาล
จดั การการเล่น
เลน่ นอ้ ย *ขาดทกั ษะการ สปั ดาห์ละ ๒ คร้ัง โดยครอบครวั มสี ว่ น - ชมรมผสู้ งู อายุ
จุดแขง็
เลน่ ทสี่ ่งเสริมสุขภาพกาย -เรยี นรูป้ ระสบการณ์ ร่วมเป็นความร่วมมือ

เกยี่ วกับความสูงเป็นความ นอกหอ้ งเรียนในชมุ ชน บ้าน โรงเรียน ชมุ ชน

รว่ มมอื ๓องคป์ ระกอบ เปน็ ความรว่ มมอื สว่ นราชการ เอกชน

- บา้ น/ครอบครัว - หมู่บา้ น - เทศบาลเมืองสตลู

-สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย - รพ.สต. - หมู่บา้ น

/หน่วยบรกิ ารสาธารณสุข - โรงเรียน - รพ.สต.

- ชุมชน - วดั - โรงเรยี น

- เอกชน - ชมุ ชน

- มลู นธิ ิ

- ผอู้ านวยการเล่น : - กระบวนการเล่น : - กระบวนการเล่น : - กระบวนการเลน่ :

ครูเคยอบรมหลักสตู ร เด็กเลือกเลน่ สัปดาห์ละ เกย่ี วกับทักษะชีวิตโดย มีผสู้ งู อายจุ ัดกจิ กรรม

Play worker ๒ ครั้ง ครอบครัวมีสว่ นร่วม และรว่ มบรหิ ารการ

- กระบวนการเลน่ : -ชมุ ชนมสี ่วนรว่ มพัฒนา - พน้ื ทเี่ ลน่ : เล่นกับเดก็

มชี ่ัวโมงอิสระใหเ้ ล่น *สิง่ ท่ีต้องเพิ่มเตมิ : เขา้ ถึงงา่ ย ปลอดภัย *สงิ่ ที่ต้องเพม่ิ เติม :

- พน้ื ทีเ่ ล่นเหมาะสม ซอ่ มแซมบางจดุ *สิง่ ทตี่ ้องเพมิ่ เติม : พนื้ ทเี่ ล่นให้

- ความร่วมมือจากชมุ ชน ใหเ้ หมาะกับวัยและ การอบรมครูผู้ดูแล ปลอดภยั และอบรม

*ส่ิงท่ตี ้องเพม่ิ เติม : ปลอดภยั เดก็ ครผู ดู้ แู ลเดก็

การมีส่วนร่วมของ

ผูป้ กครอง

๓๒

จากการศกึ ษาศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค ซึง่ เปน็ พน้ื ท่ีต้นแบบนารอ่ ง
“เดก็ ไทยเลน่ เปลี่ยนโลก” ในพื้นท่พี บประเดน็ ปัญหาและอุปสรรคที่สาคัญ คอื พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูพเ่ี ล้ยี ง
และผู้ดแู ลเดก็ ส่วนใหญ่ไม่ผา่ นการอบรมผูอ้ านวยการเล่น (Play worker) ซง่ึ เปน็ องค์ประกอบทส่ี าคัญทีส่ ดุ
ในการสนับสนุนการเล่นของเด็ก ตามรูปแบบ “เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก” เน่ืองจากผู้อานวยการเล่น (Play
worker) เป็นผู้ท่ีพัฒนาเด็กให้มีทักษะและความสามารถด้าน SOFT SKILL ซ่ึงเป็นทักษะที่ใช้ในการ
ปฏสิ มั พนั ธ์กบั คน เกย่ี วข้องกบั การเข้าสังคมและอารมณเ์ ป็นหลกั ซ่ึงเกดิ ไดก้ ็ตอ่ เม่ือเราผ่านการฝกึ ฝนและลง
มือทา เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพให้เป็นเด็กไทยสู่ศตวรรษที่ ๒๑ ดังนั้นแนวทางในการแกไ้ ขปัญหา คือต้อง
จัดทาหลักสูตรคู่มือผู้อานวยการเล่น (Play worker) เพ่ือให้ครูพ่ีเลี้ยง ผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง เข้ารับ
การฝึกอบรม ท้งั ๗๗ จังหวัด

ตอนท่ี ๒ กำรพัฒนำศักยภำพเกี่ยวกับกระบวนกำรเล่นกับเด็กปฐมวัยของพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ครพู ่ีเลย้ี ง และผดู้ แู ลเดก็

ผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร (Documentary study) และการสนทนากลุ่ม
(Focus group) ในประเด็นที่เฉพาะเจาะจง โดยผู้ศึกษาเป็นผู้ตั้งคาถาม และจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดความ
เขา้ ใจแนวคิดในการเลน่ กบั เดก็ และแลกเปลี่ยนในประเด็นทีศ่ กึ ษา ผลการศกึ ษามรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

จากการลงพนื้ ทีต่ ้นแบบ “เด็กไทยเลน่ เปล่ยี นโลก” ๔ ภาค พบวา่ กระบวนการเลน่ กบั เดก็ ปฐมวัย
ของพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ครูพี่เลี้ยง และผดู้ ูแลเด็ก มี ๒ ลักษณะ ดงั นี้

๑. กระบวนการเลน่ ของเด็กปฐมวยั กบั พ่อแม่ ผู้ปกครอง พบวา่ มีสว่ นรว่ มในการเลน่ กบั ลูก
น้อยมาก เกิดจากการไม่เข้าใจการเล่นอิสระของเด็กว่ามีประโยชน์อย่างไร และไม่เข้าใจว่าการเล่น
จะเล่นตอนไหน อย่างไร เน่ืองจากส่วนใหญ่พ่อแม่ ผู้ปกครองไม่ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการเล่น
กบั เด็ก เพยี งทาหน้าท่ีมารับ มาส่ง ทโ่ี รงเรียนแล้วรบี กลับไปที่ทางาน หรอื บ้าน เน่ืองจากมภี ารกจิ ท่ีต้องทา
และปลอ่ ยใหเ้ ด็กเล่นกับครูพี่เล้ียง และผดู้ แู ล และเมอื่ อยทู่ บ่ี ้านพ่อแม่กป็ ลอ่ ยให้เด็กเลน่ เอง มเี พยี งบางครงั้
ทเี่ ขา้ ไปเลน่ กับลูกบา้ ง แต่ไมไ่ ด้ตระหนกั ว่ากจิ กรรมท่เี ล่นชว่ ยเพมิ่ ทักษะดา้ นไหนของลกู และขาดการสงั เกต
ว่าลกู ต้องเสรมิ ทักษะและต้องพฒั นาด้านใด

๒. ครูพ่ีเล้ียง และผู้ดูแลเด็ก ในช่วงท่ีเด็กอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีครูพ่ีเลี้ยง
และผูด้ ูแลเด็ก จะเป็นผูจ้ ดั กจิ กรรมให้เด็กตามแผนการสอนกจิ กรรม ๖ กจิ กรรมตามมาตรฐานของการเรียน
การสอนของเดก็ ปฐมวยั ไดแ้ ก่

๒.๑ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคล่ือนไหวส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะ ซ่ึงจังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบได้แก่ เสียงตบมือ เสียงเพลง
เสยี งเคาะไม้ เคาะเหลก็ รามะนา กลอง ฯลฯ

๒.๒ กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมเก่ียวกับงานศิลปศึกษาต่าง ๆ ได้แก่ การวาด
ภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ การพับ ตดั ฉีก ปะ และประดษิ ฐเ์ ศษวัสดุ ทีม่ ุ่งพฒั นากระบวนการคิด
สร้างสรรค์ การรับรู้ เก่ียวกับความงามและส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กแต่ละคนได้แสดงออกตามความรู้สึก
และความสามารถของตนเอง

๒.๓ กิจกรรมเสรี เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เล่นกับส่ือและเคร่ืองเล่นอย่างอิสระ
ในมุมการเลน่ กจิ กรรมการเล่นแตล่ ะประเภทตอบสนองความต้องการตามธรรมชาติของเด็ก

๒.๔ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้เด็กได้ฟัง พูด สังเกต คิด และ
ปฏิบัติการทดลอง ให้เกิดความคิดรวบยอดและเพ่ิมพูนทักษะต่าง ๆ ด้วยวิธีการหลากหลาย เช่น
การสนทนา ซักถามหรืออภิปราย สังเกต ทัศนศกึ ษา และปฏบิ ตั ิการทดลองตามกระบวนการเรียนรู้

๓๓

๒.๕ กิจกรรมกลางแจ้ง เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้ออกนอกห้องเรียนไปสู่สนาม
เด็กเลน่ ทัง้ ที่บรเิ วณกลางแจ้งและในรม่ เพื่อเปิดโอกาสให้เดก็ ได้แสดงออกอย่างอิสระ โดยยดึ เอาความสนใจ
และความสามารถของเด็กแต่ละคนเป็นหลกั

๒.๖ กิจกรรมเกมการศึกษา เป็นกิจกรรมการเล่นท่ีมกี ระบวนการในการเล่นตามชนดิ
ของเกมประเภทต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเรยี นรแู้ ละความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่งิ ทเี่ รียน

ซ่ึงเด็กปฐมวัยมีโอกาสในการเลือกเล่นน้อย มีเพียงบางคร้ังท่ีเด็กเป็นผู้นาการเล่น มีชั่วโมง
อิสระให้เด็กได้มีโอกาสเลือกเล่นด้วยตนเอง น่ันคือปัญหาอุปสรรคของของกระบวนการเล่นกับเด็ก คือ
ผู้อานวยการเลน่ ขาดการมีส่วนรว่ มกับเดก็ ไมม่ อี งคค์ วามรู้ และไมม่ ีทักษะในการเล่น

ดังน้ันแนวทางในการแก้ไขปัญหาคือจัดทาหลักสูตรคู่มือผู้อานวยการเล่น (Play worker)
เพ่ือให้ครูพี่เลี้ยง ผู้ดูแล พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญของการเล่น และมีทักษะ
ในการเล่นกับเด็ก เพราะการเล่นคือการเรียนรู้ของเด็ก นอกจากนี้ต้องมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์
เพ่ือให้สังคมได้รับรู้ เข้าใจ ถึงความสาคัญของกระบวนการเล่นท่ีมีผลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
โดยกระบวนการเล่น (Play process) ประกอบไปด้วย การเล่นอิสระ คือเด็กเป็นผู้นาการเล่น มีโอกาส
เลือกและมีความยืดหยุ่น เด็กได้เล่นอย่างเป็นตัวของตัวเอง การเล่นที่ครอบครัวมีส่วนร่วม ภายใต้แนวคิด
Home based program และ Positive parenting การเล่นด้วยกิจกรรมทางกาย การเล่นที่ส่งเสริม
สุขภาพทางกาย/การเจริญเติบโต เช่น การคลาน ยืน เดิน วิ่ง กระโดด ขว้าง ปีนป่าย ว่ายน้า เดินข้ึนที่สูง
ขึ้น-ลงบันได วิ่งเป้ียว วิ่งเก็บของ เป็นต้น ตามแนวคิดการขับเคลื่อน “เด็กไทย เล่นเปลี่ยนโลก Model”
ซง่ึ การเล่นรปู แบบใหมท่ ่พี ฒั นาขน้ึ โดยใช้ concept ๓F ได้แก่

Family คอื การเลน่ กับครอบครวั /เพื่อน พ่อแม่ ผู้เล้ยี งดเู ด็ก มีทกั ษะ/ สร้างแรงจูงใจในการเลน่
Free คือ การเปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามความต้องการอยากจะเล่น โดยมีมุมเล่น ลานเล่น
สนามเด็กเล่น ท่ีบ้าน โรงเรียน ชุมชน ให้เด็ก “เล่นที่ไหนก็ได้ขอให้ปลอดภัย”.........................................
Fun คือ การเล่นให้สุข สนุก โดยมีกิจกรรม/สื่อของเล่นหลากหลาย หาง่าย ไม่ซับซ้อน
เป็นไปตามวยั เนน้ ธรรมชาติ

ตอนท่ี ๓ เพอื่ ใหพ้ ้นื ท่ีตน้ แบบสรำ้ งสรรค์เด็กไทยเลน่ เปลี่ยนโลกเกดิ ควำมยงั่ ยืนในชมุ ชน
ผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร (Documentary study) และการสนทนากลุ่ม

(Focus group) ในประเด็นที่เฉพาะเจาะจง “ทาอย่างไรให้พื้นท่ีสร้างสรรค์ เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกเกิด
ความยง่ั ยืนในชุมชน” พบวา่ พ้ืนทีต่ ้นแบบ “เดก็ ไทยเล่นเปล่ยี นโลก” ๔ ภาค มสี ่วนร่วมของ ๓ องค์ประกอบ
ได้แก่ บ้าน/ครอบครัว ยังไมไ่ ดต้ ระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการเลน่ ม่งุ ทาหนา้ ที่ของตนเองมากกว่าการเล่น
กับลกู สถานพฒั นาเด็กปฐมวัย/หน่วยบริการสาธารณสุข ผบู้ ริหาร ครูผ้ดู แู ล จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
โดยยึดหลักตามมาตรฐานของการเรียนการสอนของเดก็ ปฐมวัย เดก็ ไม่ไดม้ ีส่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมและมี
ชั่วโมงอิสระท่ีเด็กเป็นผู้นาการเล่นน้อย ชุมชน/องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มีการสนับสนุนงบประมาณ
กิจกรรม และมีชมรมผ้สู ูงอายุ เขา้ ร่วมทากิจกรรมในบางพ้ืนท่ี ตามแผนพัฒนาของทอ้ งถิ่น

จะเห็นได้ว่าทั้ง ๓ องค์ประกอบ เข้ามามีส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ ยังไม่ได้มีส่วนร่วมจากการ
วางแผนร่วมกันและปฏิบตั ดิ ว้ ยกัน ดังนั้นจากการสนทนากลุม่ (Focus group) ให้ความเห็นวา่ ความสาเร็จ
ของการเป็นต้นแบบ “เด็กไทย เล่นเปล่ียนโลก” เกิดจากความร่วมมือกันใน ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ บ้าน/
ครอบครัว สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หน่วยบริการสาธารณสุข และชุมชน/องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยแต่ละองค์ประกอบต้องมีความตระหนัก เห็นความสาคัญและมีความเข้าใจถึงกระบวนการเล่นของ
เดก็ ปฐมวยั โดยแต่ละองค์ประกอบมบี ทบาท ดังนี้

๓๔

๑. บ้าน/ครอบครัว เป็นหน่วยท่ีใกล้ชิดเด็กมากที่สุด พ่อแม่ควรหันมาใส่ใจเร่ืองการเล่น

ของเด็ก ไม่ว่าจะเป็นการเล่นคนเดียว หรือเล่นกับเพื่อน เด็กจะทุ่มเทใจและจริงจัง เพราะการเล่นคือ

การทางานของเด็ก เด็กจะคิดพลิกแพลงการเล่นตลอด ย่ิงเล่นมาก จะเกิดความชานาญจากการค้นหา

เปล่ียน ปรับ แก้ปัญหา สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ สะสมเป็นความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์ท่ีเดก็ ได้ลงมือทา

เพือ่ ใหเ้ ด็กมคี วามคิด ๓ ดา้ นบวก ๑ ทา ดงั น้ันพอ่ แมต่ ้องมหี นา้ ท่ใี นการส่งเสรมิ กระตุน้ ให้เด็กไดใ้ ช้ความคิด

สร้างสรรค์โดยผ่านการเล่น เช่น การจัดมุมเล่นบทบาทสมมติในบ้านหรือห้องเรียน เล่นกับลูกเมื่อลูกชวน

เล่น ตามเร่ืองท่ีเด็กสร้างขึ้น โดยให้ลูกเป็นผู้นาการเล่น เตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ลูกเล่นส่งเสริมให้ลูกเล่น

ของเลน่ อย่างอิสระ เชน่ ตัวต่อเลโก้ บล็อก ดินน้ามัน และการพาเดก็ ไปสัมผัสธรรมชาติ ใหม้ ากเทา่ ที่จะทา

ได้ เช่นสวนสัตว์ ทะเล น้าตก เพอ่ื ฝึกใหเ้ ดก็ สังเกต และกระตุ้นความอยากในการเรียนรู้ เปน็ ต้น

๒. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หน่วยบริการสาธารณสุข ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน

สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ๒๕๖๒ ๓ ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรยี นรู้และการเล่นเพ่อื พฒั นาเด็กปฐมวยั และคุณภาพ

ของเด็กปฐมวัย นอกจากน้ีสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หน่วยบริการสาธารณสุข ยังต้องมีพื้นท่ีเล่น

(Play space) เปน็ พ้นื ที่เล่นสรา้ งสรรค์ ปลอดภัย และเปิดโอกาสให้เดก็ เข้าถึงได้งา่ ย เอ้อื ตอ่ พัฒนาการเด็ก

ในชว่ งปฐมวัยพืน้ ที่สนามเดก็ เล่นควรกว้างพอและมีต้นไม้ใหร้ ม่ เงา อาจมบี อ่ น้าเลก็ ๆ และลกึ เหมาะสม กับ

ช่วงวัย ออกแบบวิธีเล่นให้เด็ก ๆ ได้ใช้ร่างกายให้มาก เช่น ตัวอาคารอาจเป็นสองช้ันและมีเชอื กให้ป่ายปนี

จับโหน หรือฝึกการเดินทรงตัวบนเชือก การปีนเชือกจะฝึกกล้ามเน้ือมัดเล็กมัดใหญแ่ ละทักษะการทรงตัว

นอกจากเป็นการปลุกประสาททุกส่วนให้ตื่นตัวระหว่างการเล่นแล้ว ยังเปิดจินตนาการให้เด็ก ๆ ระหว่าง

การเล่นด้วย เป็นการเรยี นรู้ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL: Brain-Based Learning) ที่จะเกิดขึ้นระหวา่ ง

การเลน่ และของเล่นในสถานพัฒนาเดก็ /หน่วยบรกิ ารสาธารณสุข ควรเป็นของเลน่ ท่ไี ดพ้ ัฒนากลา้ มเน้ือมัด

เล็กมัดใหญ่ เช่น ของเล่นเป็นช้ินๆ ที่ถอดประกอบได้ตามรูปทรง, puzzle รูปทรงต่าง ๆ ของเล่นที่

ได้ยินเสียง ของเลน่ จาลองการทากจิ กรรมต่าง ๆ ในบา้ น เช่น การทาครวั ของเล่นจาลองอาชพี เพอื่ พฒั นา

ฐานกายและความรู้สึก เนอ่ื งจากเปน็ ชว่ งวยั เติบโตค่อนข้างเร็ว เตม็ เป่ยี มด้วยพลงั สงสยั ใครร่ ู้ แมเ้ ปน็ ชว่ งท่ี

เร่ิมรู้จักอารมณ์หลากหลาย (หงุดหงิด น้อยใจ งอน) แต่เร่ิมรู้จักความสัมพันธ์ระหว่างตัวเองกับเพื่อนและ

ตัวเองกบั คนอืน่ ๆ นอกจากคนในครอบครัว

๓. ชุมชน/องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน การจัดการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้แก่เด็กปฐมวัย

จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการเปิดโอกาสให้ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนา

สถานพัฒนาเด็ก/หน่วยบริการสาธารณสุขทั้งผู้ปกครอง บุคลากร และชุมชน โดยในส่วนของท้องถิ่น

ประกอบด้วย

- ผูบริหารท้องถ่ิน มีบทบาทในการกาหนดวิสัยทัศน์ แผนการพัฒนา การอนุมัติ

และสนบั สนนุ งบประมาณในการดาเนินงานของสถานพฒั นาเด็ก/หน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ

- บุคลากรทางการศึกษาของกองการศึกษาท้องถ่ิน มีบทบาทหน้าท่ีในการกาหนดแผน

การ จัดการเรยี นรู การเสริมหนนุ กระบวนการเรยี นรู การพัฒนาศักยภาพครูและเด็กเล็ก

- บุคลากรสาธารณสุข ทาหน้าท่ีในการให้บริการสุขภาพแก เด็กและเป็นที่ปรึกษา

ทางด้านสุขภาพ อาทิเช่น การเฝ้าระวังโรคติดต่อ โรคระบาดในเด็กเล็ก การประเมินภาวะโภชนาการ

การดแู ลสุขภาพช่องปากและฟนั

- องค์กรชุมชน/ หน่วยงานท้ังรัฐและเอกชนในพ้ืนที่ เช่ือมประสานกับองค์ กรชุมชน

ในลกั ษณะความร่วมมือต่าง ๆ อาทเิ ชน่ การแตง่ ต้ังผูน้ าชมุ ชนให้เข้ามามีส่วนรว่ มเป็นคณะกรรมการพัฒนา

สถานพฒั นาเดก็ /หนว่ ยบริการสาธารณสุข การเชญิ ปราชญ์ชาวบ้านเปน็ วิทยากรถ่ายทอด ภูมิ

๓๕

ปัญญาวัฒนธรรมสูเดก็ ตลอดจนการขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณหรอื อุปกรณ์ตา่ ง ๆ จากหนว่ ยงาน ทง้ั
รัฐและเอกชนในพ้ืนที่ เปน็ ตน้

โดยท้ัง ๓ องค์ประกอบ มีส่วนร่วมในการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นในการมีส่วนร่วมตัดสินใจ
สว่ นกจิ กรรมและการตัดสินใจในการดาเนินกจิ กรรม การมีสว่ นรว่ มในการดาเนินกจิ กรรม การมสี ่วนรว่ มใน
การรับผลประโยชน์ และการมสี ่วนร่วมในการประเมินผล เพอ่ื ให้ลกู หลานในชุมชนมีพัฒนาการทด่ี อี ยา่ งสมวยั

ภำพที่ ๑ แสดงตน้ แบบพ้นื ที่สร้างสรรค์ “เดก็ ไทยเล่นเปลยี่ นโลก” ท่ียั่งยืนในชุมชน

๓๖

บทท่ี ๕
สรุปผลกำรวิจยั และขอ้ เสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลกำรวิจัย
การวจิ ยั เชิงคุณภาพเรื่อง “การพฒั นาพืน้ ที่ต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก : กรณีศึกษา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ๔ ภาค มีวัตถุประสงค์เพอื่ พฒั นาศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ องค์กร

ปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค ให้เป็นพื้นที่ต้นแบบพ้ืนที่สร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก พัฒนาศักยภาพ
เก่ียวกับกระบวนการเล่นกับเด็กปฐมวัย ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู พ่ีเลี้ยง และผู้ดูแลเด็ก และให้พ้ืนท่ี

ต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกเกิดความยั่งยืนในชุมชน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
Research) โดยใชก้ ารวิจยั แบบตัดขวาง (Cross sectional research) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการ ทา
แบบประเมิน การสัมภาษณ์การสนทนากลุ่ม (Focus group) และการเล่าเรื่องจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู

ผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข และนาข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบสร้างสรรค์เด็กไทย
เล่นเปลยี่ นโลก ในศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาทีม่ พี ระราชบัญญัติ

พ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ จานวน ๔ พ้ืนที่ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดพุทธกาญจนนิมิต
จงั หวดั กาญจนบุรี ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กเทศบาลเมืองสตูล จังหวัดสตูล ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นหัวชา้ ง จงั หวดั
ศรีสะเกษ และศูนย์โรงเรียนอยู่เมืองแกลง จังหวัดระยอง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เชิง

เนื้อหา (Content analysis) ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม ท้ังข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร
(Documentary study) และภาคสนาม (Field study) ผลการศึกษามีดังน้ี

๕.๑.๑ กำรพัฒนำศูนย์เด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔ ภำค ให้เป็นพ้ืนท่ีต้นแบบ
สรำ้ งสรรคเ์ ด็กไทยเลน่ เปล่ียนโลก

การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๔ ภาค ให้เป็นพ้ืนท่ีสร้างสรรค์
“เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก” มีแนวทางการพฒั นาองค์ประกอบท่ีสาคัญ ๔ ส่วนสอดคล้องกบั ผลงานวจิ ยั ของ

อาทติ ยา เสมอ่วม ๒๕๕๘. ไดแ้ ก่
ส่วนที่ ๑ ผู้อำนวยกำรเล่น (play worker) คือบุคคลท่ีสร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นอิสระ

อย่างมีความสุข สนุกสนาน ส่งเสริมพัฒนาการ และปลอดภัย ได้แก่ ครูผู้ดูแลเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง

เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ซ่ึงพบว่าจากการศึกษาพื้นที่ต้นแบบ ๔ ภาค มีเพียงศูนย์พัฒนาเด็กบ้านหัวช้าง
ตาบลหัวช้าง อาเภออุทุมพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ที่ครูผู้ดูแลเคยอบรมผู้อานวยการเล่น (play worker)

ส่วนพ้ืนท่ีอ่ืนยังไมเ่ คยเข้าร่วมอบรมหลักสูตรผู้อานวยการเล่น (play worker) แต่เคยเข้าร่วมอบรมการจัด
กิจกรรมตามแผนการเรียนตามหลักสูตรตามมาตรฐานของการเรียนการสอนเด็กปฐมวัย ซึ่งในแต่ละศูนย์
เด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละท่ีควรมีบุคลากรครู ท่ีผ่านการอบรมหลักสูตรผู้อานวยการเล่น

(play worker) อย่างน้อย ๑ คน ดังน้ัน จึงมีข้อเสนอจากครูผู้ดูแลเด็กในพ้ืนท่ีให้อบรมหลักสูตร
play worker เพ่ือพัฒนาผู้ปกครอง ครูผู้ดูแล และผู้เก่ียวข้อง เพ่ือให้มีทักษะและความสามารถ

ในการสรา้ ง SOFT SKILL ใหก้ ับเด็ก รองรับการใช้ชีวิตในยุคศตวรรษที่ ๒๑ ดังน้ี
๑. ผูอ้ านวยการเลน่ ชว่ ยเพมิ่ การเรยี นรู้ ความคิดสรา้ งสรรคส์ ิ่งใหม่ให้กับเด็ก (Creator)
๒. ผู้อานวยการเล่นช่วยจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริม

บรรยากาศการเรยี นรูข้ องเด็ก (Facilitator)
๓. ผอู้ านวยการเลน่ ชว่ ยเติมเตม็ การเรียนรูใ้ ห้แกเ่ ด็กอย่างต่อเนอ่ื ง (Learner)

๓๗

๔. ผู้อานวยการเล่นช่วยพัฒนาทักษะการสื่อสารการเจรจาพูดคุยกับเด็กอย่างเข้าใจดว้ ย
เหตุและผล (Communication)

๕. ผู้อานวยการเล่นส่งเสรมิ ความสามารถของเด็กได้อย่างเต็มศกั ยภาพ (Developer)
๖. ผู้อานวยการเล่นช่วยให้เด็กทุกคนปลดปล่อยผ่อนคลายภาวะกดดันภายในด้วยตัวเอง
รสู้ ึกปลอดภัยทางดา้ นจิตใจ และมีตวั ตน (Resilience)
๗. ผอู้ านวยการเลน่ ชว่ ยให้ไดร้ บั ความปลอดภัยระหวา่ งการเลน่ (Safe area)

ส่วนท่ี ๒ กระบวนกำรเล่น (Play process) คือ การเล่นที่ทาให้เกิดการเรียนรู้ของเดก็
จากการศึกษาพื้นทตี่ ้นแบบ ๔ ภาค พบว่า ทุกพนื้ ทมี่ กี ระบวนการเล่นที่มีเดก็ เปน็ ผนู้ าเล่น เลอื กเลน่ ได้อสิ ระ
ทั้งในพื้นที่และนอกพ้ืนท่ีศูนย์เด็กเล็ก ซ่ึงเป็นสถานที่ท่ีได้จัดไว้สาหรับเด็กปฐมวัย บางพื้นท่ีชุมชนเข้ามามี
ส่วนร่วม เชน่ โรงเรียนอยเู่ มืองแกลง เทศบาลตาบลเมืองแกลง อาเภอแกลง จงั หวดั ระยอง มีชมรมผสู้ งู อายุ
และชุมชน เข้ามาร่วมกิจกรรม โดยการจัดกิจกรรมพ้ืนบ้านกับเด็ก ๆ ในสนามเด็กเล่นสร้างปัญญา
สัปดาห์ละ ๒ ครั้ง เป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุให้กับเด็ก ๆ เป็นต้น นอกจากน้ีมีกิจกรรมทั้งแบบ
การเรียนการสอน และทักษะชีวิต ประสบการณ์นอกห้องเรียน ในส่วนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
ค่อนขา้ งนอ้ ย เนอื่ งจากได้ตระหนักถงึ ความสาคญั ของการเล่นกับลกู และขาดการเลน่ ดว้ ยกิจกรรมทางกาย
เชน่ เดนิ เล่น เดนิ ทางไกล ปนี เขา ถบี จกั รยาน วา่ ยนา้ ลีลาศ รามวยจีน เลน่ โยคะ เป็นตน้

ดังน้ันควรแนะนาให้ความรู้ พ่อ แม่ ผู้เล้ียงดูแลเด็ก เรื่องความสาคัญของการเล่นกับลูก
เพ่ือส่งเสริมกิจกรรมสัมพันธ์ระหว่างเด็ก ครอบครัว ผู้ปกครอง และสร้างความตระหนักเรื่องการเล่น
ควรมีการชี้แจงในวันปฐมนิเทศเด็กปฐมวัย แนะนาการเล่นท่ีบ้าน ชุมชน โรงเรียน ให้กับผู้ ปกครอง
สร้างพื้นที่เล่นให้ครอบครัวมาเล่นกับเด็กได้ทุกเวลา จัดทามุมเล่นสาหรับผู้ปกครอง มุมความรู้เรื่องการเล่น
ให้พ่อแม่เล่นกับลูกในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เน้นให้เด็กเล่นอย่างอิสระ และมีโอกาสเลือกเล่น
อย่างเป็นตวั ของตัวเอง และมีกิจกรรมการว่ิง กระโดด มดุ ลอด ปีนป่าย ห้อยโหน โดยมีปา้ ยระบุวิธีการเล่น
ตามชว่ งวยั บรเิ วณฐานการเล่น เพ่ือสื่อสารใหผ้ ู้ปกครองเขา้ ใจวธิ กี ารเลน่ ด้วยกระบวนการเล่น ๓ แบบ ดงั น้ี

๑. เล่นอิสระ เป็นการเล่นท่ีเด็กเป็นผู้นาการเล่น มีโอกาสเลือก และมีความยืดหยุ่น
เดก็ ไดเ้ ล่นอย่างเป็นตวั ของตัวเอง

๒. การเล่นที่ครอบครัวมีส่วนร่วม ภายใต้แนวคิด Home based program เป็นการจัด
สถานบริการการเล่นท่ีครอบครวั มีส่วนร่วม สาหรับเด็กกลุ่มใหญ่เพอ่ื ให้ผู้ปกครองเข้ารว่ มกิจกรรมตามช่วง
วัยของเด็ก เช่น ฝึกทักษะการใช้ชีวิตประจาวัน การเล่นบทบาทสมมติ เป็นต้น และ positive parenting
เป็นการปรับ mind set ให้ครอบครัวได้เล่นกับลูกทุกวนั เล่นได้ทุกที่ ทุกช่วงเวลา คือการเลี้ยงลูกเชิงบวก
เข้าใจพัฒนาการตามวัยของเด็ก และเข้าใจธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว การเข้าใจถึงตัวตนของลูก
เพื่อให้เขาไดเ้ ติบโตอย่างเต็มศักยภาพตามธรรมชาติของตนเอง สง่ ผลใหค้ วามสัมพนั ธร์ ะหว่างพอ่ แม่ กบั
ลูกม่ันคง เต็มไปด้วยความรักความเข้าใจ ส่งผลให้เด็กสามารถพัฒนาพฤติกรรมที่ดีข้ึน เป็นคนท่ีมีโอกาส
ประสบความสาเรจ็ สูงกว่าในทกุ ๆ ด้าน และเตบิ โตเป็นผู้ใหญท่ ่มี คี วามสัมพนั ธท์ ่ดี ีกบั ผูอ้ ืน่ ได้

๓. เล่นด้วยกิจกรรมทางกาย เป็นการเล่นที่ส่งเสริมสุขภาพทางกาย และการเจริญเติบโต
“เพราะเด็กเกิดมาเพื่อเล่น...และเคลื่อนไหว !!!” (กองออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ กรมอนามัย) เป็นการ
เคล่ือนไหวร่างกายท่ีต้องใช้กล้ามเน้ือลายและพลังงาน เช่น การเล่นกีฬา การออกกาลังกาย เป็นต้น ทาให้
รักษาระดับน้าหนักที่ดีต่อสุขภาพ พัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐาน เพ่ิมสมรรถภาพทางกาย การทางาน
ของสมอง หัวใจ ความสูง มวลกระดกู และกลา้ มเนอ้ื เกดิ ความสนกุ สนาน ความสุข และความมน่ั ใจในตนเอง

๓๘

ส่วนที่ ๓ พ้นื ที่เล่น (Play space) คอื พ้ืนทีเ่ ล่นสรา้ งสรรค์ ปลอดภยั และเปดิ โอกาสให้เด็ก
เข้าถึงได้ง่าย จากการศึกษาพื้นที่ต้นแบบ ๔ ภาค พบว่าทุกจังหวัดมีพ้ืนที่การเล่น (Play space)
ท้ังในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน ชุมชน สามารถเข้าถึงง่าย มีความเป็นธรรมชาติ หรือสร้างข้ึนให้เป็น
ธรรมชาติ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย แต่มีบางพื้นท่ีต้องพัฒนา ปรับปรุง และซ่อมแซมเพื่อความ
ปลอดภัยของเด็ก ดังน้ันควรมีแผนซ่อมบารุง หรือติดต้ังหลังคาบางพ้ืนที่เพื่อให้ร่มรื่น ปรับภูมิทัศน์
ปรับพื้นท่ี ซ่อมแซมอุปกรณ์ ทาป้าย ทาหลังคา พร้อมจัดหาของเล่นตามบริบทของพ้ืนที่ และมีป้ายระบุ
วิธีการเล่นตามช่วงวัยในบริเวณฐานการเล่น เพื่อให้เป็นพ้ืนท่ีเล่นสร้างสรรค์ (space) ตามบริบทพื้นท่ี
สภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ สรา้ งบรรยากาศในการเลน่ ดว้ ยความรัก และความอบอุ่น
สถานท่ีปลอดภัย (Safety) และพื้นท่ีเล่นเข้าถึงได้ง่าย (Accessibility) ไม่ถูกจากัดด้วยกฎระเบียบ
หรอื ข้อหา้ มในการเขา้ ถงึ “เล่นได้ทกุ ท่ี ทุกชว่ งเวลา”

ส่วนท่ี ๔ หน่วยบริหำรจัดกำรกำรเล่น (Play management unit) คือ หน่วยท่ีทาหน้าที่
บริหารจัดการดูแลและพัฒนาระบบการสร้างโอกาสการเล่น ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและยง่ั ยนื เช่น ชุมชน
องค์การบริหารส่วนตาบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ศูนย์อนามัย ฯลฯ จากการศึกษา พบว่า
ทุกพ้ืนที่มีหน่วยบริหารจัดการการเล่น โดยมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน เช่ือมโยงเป็นเครือข่าย
ทางานรว่ มกันเพื่อดูแลเร่ืองพัฒนาการเด็กปฐมวยั ตามบริบทของแต่ละพน้ื ที่ โดยเฉพาะศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก
บ้านหัวช้าง ตาบลหัวช้าง อาเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ มีความร่วมมือครบ ๓ องค์ประกอบ
คือ บ้าน/ครอบครัว, สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หน่วยบริการสาธารณสุข และชุมชน ในขณะที่พื้นที่อื่น ๆ
ยังขาดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ซึ่งเป็นหน่ึงในหัวใจสาคัญของการเล่นเปลี่ยนโลก ดังน้ัน
ควรทาเอกสาร คูม่ ือ แผน่ พบั โปสเตอร์ วีดีทศั น์ แนวทางการดาเนินงาน “เดก็ ไทยเลน่ เปล่ยี นโลก” วารสาร
การส่งเสริมพัฒนาการเด็กในการเล่นอิสระ เล่นกับครอบครัว และสร้างเครือข่ายชุมชนในการดูแล
และบริหารการเล่นในทุกพื้นท่ี รวมทั้งชี้แจงนโยบายวิธีพัฒนาต้นแบบเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกให้เครือข่าย
สาธารณสุข และระบุบทบาทหน้าที่หน่วยบริการสาธารณสุขแต่ละระดับ เพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ครอบครวั และชมุ ชน

ดังน้ัน จากการลงพื้นท่ีต้นแบบ ๔ ภาค พบว่าทุกพื้นท่ีมีความพร้อมในการเป็นพ้ืนที่ต้นแบบ
โดยทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ท่ีมีอยู่ในพื้นท่ีมีส่วนร่วมสนับสนุน แต่ส่ิงที่ต้องส่งเสริม
พัฒนาในระยะเร่งด่วน คือการอบรมผู้อานวยการเล่น (play worker) เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในการ
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย และสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและครอบครัวใน การสร้าง
กระบวนการเลน่ ทีเ่ หมาะสม มีประสทิ ธิภาพ และปลอดภยั ดงั ภาพท่ี ๒

๓๙

ภำพที่ ๒ พ้ืนท่ีต้นแบบสรา้ งสรรค์ “เด็กไทยเลน่ เปลีย่ นโลก”
๕.๑.๒ กำรพัฒนำศักยภำพเก่ียวกับกระบวนกำรเล่นกับเด็กปฐมวัยของพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ครูพเี่ ลย้ี ง และผู้ดแู ลเด็ก

การพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับกระบวนการเล่นของเด็กปฐมวัย มีผู้เก่ียวข้อง ๒ กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มท่ี ๑ พ่อแม่ ผู้ปกครอง พบว่ามีส่วนร่วมในการเล่นกับลูกน้อยมาก เกิดจากการไม่มี

ความรู้และความเข้าใจการเล่นอสิ ระของเด็กว่ามีประโยชน์อยา่ งไร ทาให้ไม่เกิดความตระหนัก และไมเ่ ห็น
ความสาคัญของการเลน่ กับลูก

กลุ่มท่ี ๒ ครูพี่เล้ียงและผู้ดูแลเด็ก พบว่าเป็นผู้จัดกิจกรรมให้เด็กตามมาตรฐานของการ
เรยี นการสอนเดก็ ปฐมวยั ทาให้เด็กไมม่ ีโอกาสเลือกเลน่ และมชี ว่ั โมงการเล่นอสิ ระน้อย

ดังน้ันแนวทางในการแก้ไขปัญหาคือจัดทาหลักสูตรคู่มือผู้อานวยการเล่น (Play worker)
เพ่ือให้ครูพี่เล้ียง ผู้ดูแล พ่อแม่ ผู้ปกครอง ได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงความสาคัญของการเล่น และมีทักษะ
ในการเลน่ กบั เดก็ เพราะการเลน่ คือการเรียนรขู้ องเดก็ โดยเน้นกระบวนการเลน่ (Play process) ประกอบ
ไปด้วย การเล่นอสิ ระ คือเด็กเปน็ ผูน้ าการเล่น มโี อกาสเลอื กและมคี วามยืดหย่นุ เดก็ ไดเ้ ล่นอยา่ งเปน็ ตวั ของ
ตัวเอง การเล่นท่ีครอบครัวมีส่วนร่วม ภายใตแ้ นวคดิ Home based program และ Positive parenting
การเล่นด้วยกิจกรรมทางกาย การเล่นท่ีส่งเสริมสุขภาพทางกาย/การเจริญเติบโต ภายใต้แนวคิด
การขับเคล่ือน “เด็กไทย เล่นเปลี่ยนโลก Model” ซึ่งเป็นการเล่นรูปแบบใหม่ท่ีพัฒนาข้ึนโดยใช้
concept ๓F ได้แก่

Family คือ การเล่นกบั ครอบครัว/เพื่อน พอ่ แม่ ผเู้ ลยี้ งดเู ด็กมีทักษะ/ สร้างแรงจงู ใจในการเลน่
Free คือ การเปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามความต้องการอยากจะเล่น โดยมีมุมเล่น ลานเล่น
สนามเดก็ เล่น ที่บ้าน โรงเรยี น ชมุ ชน ใหเ้ ดก็ “เล่นที่ไหนก็ได้ขอใหป้ ลอดภัย”
Fun คือ การเลน่ ให้สุข สนกุ โดยมีกจิ กรรม/สอื่ ของเล่นหลากหลาย หาง่าย ไมซ่ บั ซ้อน เปน็ ไปตาม
วัย เน้นธรรมชาติ


Click to View FlipBook Version