รายงานผลการดำเนินงาน
ประจำปีงบประมาณ 2565
Annual Report 2022
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
สสว.10
คำนำ
รายงานผลการดาเนนิ งานฉบับนี้ จัดทาขนึ้ เพื่อสรปุ ผลการดาเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของสานักงาน
สง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 10 ประจาปีงบประมาณ 2565 ซง่ึ ประกอบด้วย การพฒั นางานวชิ าการด้านการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการแก่ภาคีเครือข่ายด้านพื้นที่ รวมท้ัง
การนิเทศติดตามการดาเนินงานตามนโยบายสาคัญของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
โดยนาเสนอรูปแบบรายงานผลการดาเนินงาน ประกอบด้วยข้อมูล แผนภาพ และอินโฟกราฟฟิก
เนื้อหารายงานแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
ส่วนท่ี 2 ผลการดาเนินงาน สว่ นที่ 3 คณะผู้จัดทา
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ขอขอบคุณภาคีเครือข่ายด้านสังคม หน่วยงานทีม พม.
(One Home) 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ที่ให้ความร่วมมือ สนับสนุนด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงาน
ฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อส่วนราชการและผู้สนใจ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์แก่ประชาชน สังคม
และประเทศชาติ
สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 10
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์
สำรบญั
เรอื่ ง หนา้
สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปสานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 10 (สสว.10)
1.1 ความเป็นมา 1
1.2 อานาจหน้าท่ี 2
1.3 วิสัยทัศน์ 2
1.4 ยทุ ธศาสตร์ สสว. 2
1.5 โครงสรา้ ง อานาจหน้าท่ี สสว.10 3
1.6 อตั รากาลัง 5
1.7 ผลการเบิกจ่ายประจาปงี บประมาณ 2565 5
1.8 สถานทตี่ ิดต่อ 6
1.9 พืน้ ที่รับผิดชอบ 7
1.10 หนว่ ยงาน พม. ในพ้ืนที่ 7 จงั หวัดภาคใต้ตอนบน 10
สว่ นที่ 2 ผลการดาเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของสานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 10
2.1 ศนู ยบ์ รกิ ารวิชาการพฒั นาสงั คมและจดั ทาผลงานวิชาการดา้ นการพฒั นาสงั คมในระดบั พ้นื ท่ี
2.1.1 การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ยั (Routine to Research : R2R) 15
2.1.2 การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 18
2.1.3 กจิ กรรมการวดั อณุ หภมู ทิ างสังคม (พม.POLL) 22
2.1.4 การรายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจงั หวัด 26
2.1.5 งานวิจัยด้านการพัฒนาสงั คมในระดับพ้นื ท่ี 34
2.1.6 การจัดทาข้อเสนอเชงิ นโยบายด้านสังคมในระดับพ้นื ท่ี 41
2.2 บริการด้านการพัฒนาสังคมในระดบั พ้นื ท่ี
2.2.1 โครงการบูรณาการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ิตกล่มุ เปราะบางรายครัวเรอื น 50
2.2.2 โครงการพฒั นาสมรรถนะบุคลากรและภาคีเครอื ขา่ ย 57
2.2.3 โครงการขบั เคลอื่ นศนู ย์ข้อมูลสารสนเทศทางสงั คมกลมุ่ จงั หวดั 59
2.2.4 โครงการสนบั สนุนการจัดทาแผนพฒั นากลมุ่ จังหวดั 61
2.2.5 โครงการงานบริการทางวิชาการ 65
2.3 พัฒนาระบบนเิ ทศงานด้านสังคม
2.3.1 กากบั ตดิ ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ กลมุ่ เปราะบางรายครวั เรอื น 71
2.3.2 กากับตดิ ตามโครงการศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล 73
2.4 สนับสนุนงานตรวจราชการของผตู้ รวจราชการกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์
(ดรู ายงานการตรวจ) 76
2.5 กจิ กรรมจิตอาสาและเสริมสรา้ งองค์กรคุณธรรม 84
สว่ นท่ี 3 คณะผู้จัดทา 91
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 1
ส่วนที่ 1
ข้อมลู ทั่วไปสานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 10
Technical Promotion and Support Office 10 : (TPSO 10)
ความเป็นมา
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางของกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ตามกฎกระทรวงการแบ่งส่วนราชการ พ.ศ.2545 ประกาศในราช
กิจจานุเบกษา เล่มท่ี 119 ตอนท่ี 103 ก หน้า 186-189 ฉบับลงวันที่ 9 ตุลาคม 2545 (เล่มที่ 1) มีฐานะ
เทยี บเทา่ กอง หรอื สานัก เป็นส่วนราชการบริหารส่วนกลางทต่ี ัง้ อยู่ในสว่ นภูมภิ าค
เมื่อปี พ.ศ.2558 มีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ.2558 ให้ สสว.
ทงั้ 12 แห่ง ไปสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
ปี พ.ศ.2563 มีคาส่ังสานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เปลี่ยนชื่อ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-12 เป็น สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11
โดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชา 11 เปลี่ยนช่ือเป็นสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
ซึ่งสานักงานนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 รับผิดชอบ 7 จังหวัด ได้แก่ กระบ่ี ชุมพร
นครศรีธรรมราช พังงา ภเู กต็ ระนอง และ สรุ าษฎรธ์ านี
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 2
อานาจหน้าท่ี
1. พัฒนางานด้านวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับพ้ืนท่ีและ
กลมุ่ เปูาหมาย
2. ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ ให้คาปรึกษา แนะนา แก่หน่วยงาน
บริการทุกกลุ่มเปูาหมายในพื้นที่ให้บริการ ในความรับผิดชอบของกระทรวง รวมท้ังองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้ององค์กรภาคเอกชนและประชาชน
3. ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์และสภาพแวดล้อม เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและ
ผลกระทบ รวมทงั้ ใหข้ ้อเสนอแนะการพฒั นาสังคมและจัดทายุทธศาสตร์ ในพน้ื ท่ีกลุ่มจงั หวัด
4. สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดาเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของ
กระทรวงในพ้ืนท่ีกล่มุ จังหวัด
5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนโครงการสาคัญสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 การปฏิบัติงาน
ของหนว่ ยงานอน่ื ที่เกย่ี วข้อง หรือที่ได้รบั มอบหมาย
วสิ ยั ทัศน์
“เปน็ องคก์ รหลกั ในการสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการดา้ นการพัฒนาสังคมและสวัสดกิ ารแก่ภาคีเครือขา่ ยใน
ระดบั พน้ื ท่ี”
พนั ธกจิ
พนั ธกจิ ที่ 1 พัฒนา สง่ เสรมิ และสนบั สนุนงานดา้ นการพัฒนาสังคมและสวัสดกิ ารใหส้ อดคลอ้ งกับพื้นท่แี ละ
กลมุ่ เปูาหมายแกภ่ าคีเครือขา่ ย
พันธกิจที่ 2 วิเคราะห์ คาดการณ์ แนวโนม้ สถานการณท์ างสังคมเพอ่ื สนบั สนุนการจดั วางยุทธศาสตรเ์ ชงิ พ้ืนท่ี
พนั ธกจิ ที่ 3 พฒั นาองค์กร ใหม้ ีความทนั สมัย เปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ ให้บุคลากร มคี วามรู้ความเชย่ี วชาญ
พันธกจิ ที่ 4 สนบั สนุนการนเิ ทศ ติดตาม ผลการดาเนินงานเชิงวชิ าการดา้ นการพัฒนาสงั คมและสวัสดกิ ารใน
ระดับพน้ื ท่ี
ยทุ ธศาสตร์ สสว.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การขบั เคลื่อนนโยบายและยทุ ธศาสตร์ พม.สกู่ ารปฏิบัติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการถา่ ยทอดความรดู้ ้านการพัฒนาสังคม
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสรา้ งและพฒั นาความรูแ้ ละนวตั กรรมทางสงั คม
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พฒั นาระบบการนเิ ทศและการติดตามประเมินผลเชิงวชิ าการ
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนา สสว.ใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้
คา่ นิยมองคก์ ร สสว.10
“คณุ ธรรมนางาน วิชาการสู่สงั คม”
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 3
โครงสรา้ งและอานาจหนา้ ทีส่ านกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 10
ผู้อานวยการ
สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 10
ฝา่ ยบรหิ ารทัว่ ไป กลมุ่ การวิจยั กลุ่มนโยบาย
และการพฒั นาระบบเครือขา่ ย และยุทธศาสตร์
บทบาทและอานาจหน้าท่ี
ฝ่ายบรหิ ารทวั่ ไป
1. งานบริหารทั่วไป งานสารบรรณ งานอานวยการ การบริหารงานงบประมาณ งานการเงินและบัญชี
งานพัสดุ อาคาร สถานท่ีและยานพาหนะ การบริหารงานบคุ คล
2. การดาเนนิ การดา้ นงานประชาสัมพนั ธ์
3. ประสานการดาเนินงานระหว่างราชการ บริหารงานกลาง ส่วนภมู ภิ าค และทอ้ งถิ่น
4. ปฏบิ ตั งิ านรว่ มหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของกล่มุ งานและหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งหรอื ท่ีไดร้ บั มอบหมาย
กลมุ่ การวิจัยและการพฒั นาระบบเครอื ขา่ ย
1. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย เพ่ือให้ได้องค์ความรู้การพัฒนาสังคม ส่งเสริมให้เกิด นวัตกรรม รูปแบบ แนวทางการ
ดาเนนิ งาน เพอ่ื นาไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาในสภาวะวกิ ฤตแิ ละเปน็ การเตรยี มความพร้อมเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์
ทเ่ี กิดขึ้นในอนาคต
2. จดั ทาแผนแมบ่ ทวจิ ยั การพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ในมิติพื้นท่ี
3. ผลติ และเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการดา้ นการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ให้แก่หน่วยงานในพ้ืนที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรเอกชน/ประชาชน และภาคีเครือข่ายใน
ระดบั ประเทศและตา่ งประเทศ
4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดนักวิจัย และเครือข่ายทางวิชาการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนษุ ย์เชิงประเด็น เชิงกลมุ่ เปาู หมายในมติ ิพื้นที่
5. ส่งเสริมสนับสนุนใหเ้ กดิ การนาผลงานวิชาการไปใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหาท่ีสอดคล้องกับบริบทพื้นที่
6. สง่ เสริมและสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย ด้านวิชาการ การดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนษุ ยใ์ นระดับพน้ื ท่กี ล่มุ จังหวดั
7. เป็นศูนย์กลางการให้บริการและถ่ายทอดความรู้ด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์แก่
หนว่ ยงานในพนื้ ท่ี องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ หน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง องคก์ รเอกชนและประชาชน
8. เปน็ ศูนยเ์ รียนรู้การพัฒนาสงั คมและการจัดสวัสดิการสังคมในระดับกลมุ่ จังหวัด
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 4
9. พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรของหน่วยงาน องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ และภาคเี ครือขา่ ยในพื้นท่ี เพ่ือให้ทันต่อ
การเปล่ยี นแปลง
10. ปฏบิ ัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏบิ ตั ิงานของกลุ่มงานและหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งหรอื ได้รบั มอบหมาย
กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์
1. กาหนดทิศทางยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมในภาพรวมระดับกลุ่มจงั หวัด
2. ศึกษา วิเคราะห์ วางแผนยุทธศาสตร์ และบูรณาการ (Strategy Planning & Integration Network)
เพอื่ การจัดทาแผนทางสังคมให้สอดคลอ้ งกับพนื้ ที่และกลุ่มเปูาหมาย
3. แปลงนโยบายยุทธศาสตร์จากส่วนกลางไปสู่การปฏิบัติในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ และเชื่อมโยงนโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ระหว่างสว่ นกลางและภมู ิภาค
4. ศึกษาวิเคราะห์ สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคม
และผลกระทบรวมทัง้ ข้อเสนอแนะการพฒั นาสงั คมและจดั ทายุทธศาสตร์ในระดับกล่มุ จังหวัด
5. วิเคราะห์ สังเคราะห์และบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อเป็นศูนย์
ขอ้ มลู สารสนเทศด้านสงั คมในระดบั กลมุ่ จงั หวัด
6. สนับสนุนการนิเทศงานติดตามการประเมินผลการดาเนินงานเชิงวิชาการ ตามนโยบายและภารกิจ
ของกระทรวงในพ้ืนทกี่ ลมุ่ จังหวดั
7. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดมาตรฐานการดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ในระดับพ้ืนท่ี
8. ให้คาปรึกษา วางระบบ และสร้างเครือข่ายให้คาปรึกษาด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
เพ่อื ใหเ้ ป็นไปอยา่ งทัว่ ถึงและทันตอ่ เหตกุ ารณ์
9. สนับสนนุ การตรวจราชการของผตู้ รวจราชการกระทรวงในพืน้ ทกี่ ลุ่มจังหวดั
10. ปฏบิ ัตงิ านร่วมหรอื สนับสนุนการปฏิบตั งิ านของกลมุ่ งานและหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งหรือได้รบั มอบหมาย
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 5
อตั รากาลงั
สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 10 มีบุคลากรทั้งสิน้ 27 คน (ณ วันท่ี 30 กันยายน 2565)
1. ขา้ ราชการ จานวน 9 อตั รา ประกอบดว้ ย
- ตาแหน่ง ผอู้ านวยการระดบั สูง จานวน 1 อัตรา
- ตาแหนง่ ระดบั ชานาญการพเิ ศษ จานวน 2 อัตรา
- ตาแหนง่ ระดบั ชานาญการ จานวน 6 อัตรา
- ตาแหน่ง ปฏบิ ตั กิ าร จานวน 2 อัตรา
- ตาแหนง่ ระดบั ชานาญงาน จานวน 1 อตั รา
2. ลกู จา้ งประจา จานวน 1 อัตรา
3. พนกั งานราชการ จานวน 10 อตั รา
4. พนกั งานจา้ งเหมา จานวน 4 อัตรา
ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจาปี 2565
สานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 10
ณ วันท่ี 30 กันยายน 2565
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 6
สถานที่ติดตอ่
สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 10
เลขท่ี 33 หมู่ 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี 84100
โทร 0 7735 5022-3 โทรสาร 0 7735 5705
E-mail : tpso-10@m-societr.go.th
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 7
พ้ืนทรี่ ับผดิ ชอบ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 รับผิดชอบพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วย
จังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ ต ระนอง และสุราษฎร์ธานี มีพื้นท่ีโดยรวม
7 จังหวัด ขนาด 41,591.837 ตารางกิโลเมตร หรือ 26,071,216 ไร่ จังหวัดท่ีมีพื้นท่ีมากท่ีสุดเป็นอันดับ 1
คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขนาด 12,891,000 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขนาด 9,942,502 ตารางกิโลเมตร และ จังหวัดชุมพร ขนาด 6,010,849 ตารางกิโลเมตร แยกขนาดรายจังหวัดได้
ดงั น้ี
ตาราง แสดงที่ตง้ั และอาณาเขตพ้นื ทกี่ ล่มุ จงั หวัด
จงั หวัด พ้ืนที่ อนั ดบั
ตารางกโิ ลเมตร ไร่ พื้นท่ี
นครศรีธรรมราช 2
กระบี่ 9,942.502 6,214,064 4
พังงา 4,708.512 2,942,820 5
ภเู ก็ต 4,170.895 2,606,811 7
สรุ าษฎรธ์ านี 543.034 356,271 1
ระนอง 13,079.610 8,060,000 6
ชุมพร 3,298.045 2,141,250 3
6,010.849 3,750,000
รวม 41,591.837 26,071,216
ท่ีมา : ศูนยส์ ารสนเทศเพื่อการบรหิ ารและงานปกครอง , กรมการปกครอง , กระทรวงมหาดไทย
ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565
อาณาเขต ติดตอ่ อาเภอบางสะพานนอ้ ย จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์
ทศิ เหนือ
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ ทะเลอันดามนั
ทศิ ตะวันออก ติดต่อทะเลอ่าวไทย เป็นชายฝัง่ ตง้ั แต่จงั หวดั ชมุ พร จนถึงอาเภอหวั ไทร
ทิศใต้ จงั หวัดนครศรธี รรมราช
ติดต่ออาเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง , อาเภอปาุ พะยอม อาเภอควนขนนุ
จังหวดั พัทลุง และอาเภอระโนด จงั หวดั สงขลา
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 8
ลักษณะภมู ิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศมีทะเลขนาบสองด้าน คือ
ทิศตะวันออกทะเลอ่าวไทย และทิศตะวันตกทะเล
อันดามัน แบ่งพ้ืนที่ได้ 2 เขต คือ 1. เขตเทือกเขา
มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ว า ง ตั ว ใ น แ น ว เ ห นื อ -ใ ต้ ไ ด้ แ ก่
เทอื กเขาตะนาวศรี เป็นพรมแดนกั้นเขตแดนไทยกับพม่า
เ ทื อ ก เ ข า ภู เ ก็ ต อ ยู่ ท า ง ต ะ วั น ต ก ข อ ง ภ า ค
เทือกเขานครศรีธรรมราช เป็นแกนกลางของภาค
2. เขตที่ราบ มีลักษณะยาวขนานระหว่างภูเขาและชายฝั่ง
ทะเลแคบ ซึ่งทางตะวันออกเป็นชายฝั่งแบบยกตัว ส่วน
ชายฝั่งตะวันตกเป็นแบบยุบตัว มีแม่น้าสาคัญ มีลักษณะ
สายสั้นๆ เน่ืองจากมีพื้นที่น้อยและไหลลงสู่อ่าวไทย
เช่น แม่น้าชุมพร แม่น้าตาปี แม่น้าปากจ่ัน ซ่ึงก้ัน
พรมแดนระหวา่ งไทยกับพม่า
ลกั ษณะของชายฝง่ั ทะเล
- ชายฝ่ังทะเลด้านตะวันออก (ฝ่ังอ่าวไทย)
เป็นหาดทรายกว้าง เป็นชายฝ่ังท่ีมีลักษณะการยกตัว
ของ พื้น ที่ มีสัน ทราย และ มีอ่าวขนาดใหญ่ เช่น
อา่ วบา้ นดอน อา่ วชุมพร อ่าวสวี เปน็ ต้น
- ชายฝงั่ ด้านตะวันตก (ฝั่งทะเลอันดามัน) เปน็ ฝง่ั ทะเลจมตัว มีชายหาดเว้าแหว่ง และเป็นหาดน้าลึก
มีปุาชายเลนข้ึนตามฝั่ง และมีชะวากทะเล คือ การยุบจมบริเวณปากแม่น้าขนาดกว้าง อ่าวท่ีสาคัญของฝ่ังทะเล
ตะวนั ตก ไดแ้ ก่ อ่าวระนอง อ่าวพังงา อา่ วกระบ่ี เปน็ ต้น
ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพอากาศของ 7 จงั หวัดภาคใต้ตอนบน แบง่ เปน็ 2 ฝัง่ คือ
1. ฝ่ังทะเลอา่ วไทย หรือฝ่ังตะวันออก (ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช) ได้รับอิทธิพลจาก
มรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านอ่าวไทย และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากคาบสมุทรอินเดีย ลักษณะอากาศ
จึงเปน็ แบบรอ้ นชื้น มีฝนตกยาวนานระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงมกราคมของทุกปี โดยฝนจะตกหนักในช่วง
ที่ได้รับอิทธพิ ลจากมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม ส่วนฤดูร้อนจะอยู่
ในชว่ งระหวา่ งเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน อณุ หภูมเิ ฉลย่ี ประมาณ 28 องศาเซลเซียส
2. ฝ่ังทะเลอันดามัน หรือฝั่งตะวันตก (พังงา ภูเก็ต ระนอง) มีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบ มรสุม
เขตรอ้ น (Tropical Monsoon Climate) ได้รับอทิ ธพิ ลจากลมมรสุมตลอดทั้งปี จึงทาให้มีฝนตก เกือบตลอดปี
และอุณหภูมไิ ม่เปล่ียนแปลงมากนัก มอี ุณหภมู ิเฉล่ียตลอดปี 29.1 องศาเซลเซยี ส โดยอณุ หภมู ิ
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 9
เฉล่ียสูงสุดและต่าสุดตลอดปีเท่ากับ 39.1 และ 19.5 องศาเซลเซียสตามลาดับ ฤดูฝนเร่ิมต้ังแต่ปลายเดือน
เมษายนถึงเดือนมกราคม สว่ นฤดูรอ้ นเริม่ ต้ังแตเ่ ดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายน ซ่ึงจะเป็นช่วงที่อุณหภูมิเริ่ม
สงู ขึน้ และปรมิ าณนา้ ฝนลดลงอย่างเห็นไดช้ ดั เป็นช่วงทีไ่ ดร้ บั อทิ ธิพลของลมจากเสน้ ศูนย์สตู ร ในชว่ งเปล่ียนฤดู
ด้านการปกครอง
กลมุ่ จงั หวัดภาคใต้ตอนบน ประกอบดว้ ย 7 จังหวัด ไดแ้ ก่ จงั หวดั กระบี่ ชมุ พร นครศรธี รรมราช พงั งา
ภเู ก็ต ระนอง และสุราษฎรธ์ านี มีทงั้ หมด 74 อาเภอ 514 ตาบล 4,670 หม่บู ้าน 566 องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น แสดงดงั ตาราง 2.4.1
ตารางที่ จานวนเขตการปกครองกลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี พ.ศ.2565 (หน่วย:แหง่ )
จังหวดั อาเภอ ตาบล หมู่บา้ น จานวนองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ รวม
อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต. 62
กระบี่ 8 53 391 1 - 1 14 46
นครศรธี รรมราช 23 165 1,546 1 1 3 50 130 185
พังงา 8 48 631 1 - 2 13 36 52
ภเู ก็ต 3 17 81 1 1 2 9 6 19
สุราษฎรธ์ านี 19 131 1,102 1 2 3 35 97 138
ระนอง 5 30 187 1 - 2 10 18 31
ชุมพร 8 70 732 1 - 2 26 50 79
รวม 74 514 4,670 7 4 15 157 383 566
ท่ีมา : ระบบขอ้ มลู กลางองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น
https://info.dla.go.th/เข้าถงึ เม่ือวันที่ 30 มิถนุ ายน 2565
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 10
หน่วยงาน พม. ในพ้นื ที่ 7 จังหวดั ภาคใต้ตอนบน รวม 39 หน่วยงาน
จงั หวดั กระบ่ี
หน่วยงาน ท่ีอย/ู่ E-mail หมายเลขโทรศพั ท์
สานักงานพฒั นาสังคม ศนู ยร์ าชการ หม่ทู ่ี 7 ถนนท่าเรอื ตาบลไสไทย โทร 075-611044
และความม่ันคงของมนุษย์ อาเภอเมอื ง จังหวัดกระบ่ี 81000 โทรสาร 075-612586
จังหวดั กระบี่ krabi@m-society.go.th
บ้านพักเด็กและครอบครัว ถนนท่าเรือ ตาบลไสไทย อาเภอเมือง โทร 075-612324
จังหวดั กระบี่ จังหวดั กระบี่ 81000 โทรสาร 075-612323
krabishelter@dcy.go.th
ศูนยค์ ุ้มครองคนไรท้ พี่ ึง่ 357 หม่ทู ่ี 7 ถนนทา่ เรือ ตาบลไสไทย โทร 075-623434
จงั หวัดกระบ่ี อาเภอเมอื ง จงั หวัดกระบี่ 81000 โทรสาร 075-611065
krabi_pcd@dsdw.go.th
จงั หวดั ชมุ พร
หนว่ ยงาน ทอี่ ย่/ู E-mail หมายเลขโทรศัพท์
สานักงานพัฒนาสงั คม อาคารศาลากลางจังหวดั ชมุ พร ชั้น 1 ถนนไตรรัตน์ โทร 077-511710
และความม่ันคงของมนุษย์ ตาบลนาชะอัง อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000 โทรสาร 077-502996
จงั หวัดชมุ พร chumphon@m-society.go.th
บ้านพักเด็กและครอบครัว 58/14 หมู่ที่ 11 ตาบลบางหมาก อาเภอเมือง โทร 077-598573-4
จงั หวดั ชุมพร จังหวดั ชมุ พร 86000 โทรสาร 077-598574
chumphonshelter@dcy.go.th
ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไร้ทพี่ ง่ึ 110/1 หมทู่ ่ี 10 ตาบลนาทุง่ อาเภอเมอื งชุมพร โทร 077-630494
จังหวดั ชุมพร จังหวัดชมุ พร 86000 โทรสาร 077-558173
chumphon _pcd@dsdw.go.th
สานกั งานเคหะจังหวดั ชุมพร 103/10 หมู่ที่ 1 ถนนเทศบาลชุมพร 10 โทร 077-631044
อาเภอบางลกึ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ชุมพร 86000 โทรสาร 077-658173
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 11
จงั หวดั พังงา
หน่วยงาน ทอี่ ยู่/E-mail หมายเลขโทรศพั ท์
สานักงานพฒั นาสงั คม ศูนย์ราชการจังหวัดพงั งา ชั้น 1 เลขท่ี 10/10 หม่ทู ่ี 3 โทร 076-430286
และความมั่นคงของมนุษย์ ตาบลน้าผุด อาเภอเมอื ง จังหวดั พงั งา 82000 โทรสาร 076-414253
จงั หวดั พงั งา phangnga@m-society.go.th
บ้านพักเด็กและครอบครัว 56/122 หมทู่ ี่ 5 ตาบลคกึ คัก อาเภอตะก่วั ปุา โทร 076-486814
จงั หวัดพังงา จงั หวัดพังงา 82190 โทรสาร 076-486815
banphangnga@hotmail.com
ศูนย์คุ้มครองคนไรท้ พี่ ง่ึ 118/5 หมทู่ ่ี 13 ตาบลโคกกลอย อาเภอตะกว่ั ทุ่ง โทร 076-410208
จังหวดั พงั งา จงั หวัดพังงา 82140 โทรสาร 076-453649
phangnga _pcd@dsdw.go.th
นิคมสร้างตนเองท้ายเหมือง หมู่ท่ี 11 ตาบลทุ่งมะพรา้ ว อาเภอทา้ ยเหมือง โทร 076-453649
จงั หวดั พังงา จงั หวัดพังงา โทรสาร 076-453667
ncthaimaung@yahoo.co.th
จงั หวัดภูเก็ต
หน่วยงาน ที่อย/ู่ E-mail หมายเลขโทรศัพท์
สานักงานพฒั นาสงั คม 9/99 ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต ช้ัน 2 ถนนเจ้าฟูา โทร 076-212762
และความมั่นคงของมนุษย์ ตาบลตลาดเหนือ อาเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โทรสาร 076-212761
จงั หวดั ภูเก็ต 83000 phuket@m-society.go.th
บ้านพักเด็กและครอบครัว 3/96 หมู่ท่ี 1 ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัด โทร 076-213315
จงั หวัดภเู ก็ต ภเู ก็ต 83000 phuketshelter@dcy.go.th โทรสาร 076-214369
ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ทพ่ี ึ่ง 3/60 หมู่ที่ 1 ถนนศรีสุทัศน์ ตาบลรัษฎา โทร 076-614243
จังหวัดภเู ก็ต อาเภอเมือง จงั หวัดภูเก็ต 83000 โทรสาร 076-614243
chumphon _pcd@dsdw.go.th
ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการ 132 หมู่ที่ 2 ตาบลปุาคลอก อาเภอถลาง จังหวัด โทร 076-529699
สังคมผูส้ งู อายภุ ูเกต็ ภูเกต็ 8311 banphuket_132@hotmail.com โทรสาร 076-529700
ส า นั ก ง า น เ ค ห ะ ชุ ม ช น 66 หมู่ท่ี 1 ถนนเทพกระษัตรี ตาบลศรีสุนทร โทร 076-617246
จังหวัดภูเก็ต อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 83110
nha.phuket@gmail.com
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 12
จงั หวดั นครศรีธรรมราช
หน่วยงาน ทีอ่ ยู/่ E-mail หมายเลขโทรศพั ท์
สานักงานพฒั นาสงั คม ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช (หลังใหม่) โทร 075-356165
และความม่ันคงของมนุษย์ ถนนราชดาเนิน ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื ง โทรสาร 075-341026
จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000
nakhonsithammarat@m-society.go.th
บ้านพักเด็กและครอบครัว (ภายในสถานสงเคราะห์เดก็ ชายบ้านศรธี รรมราช) โทร 075-357990
จังหวัดนครศรีธรรมราช 193 ถนนราชดาเนนิ ตาบลในเมือง อาเภอเมอื ง โทรสาร 075-343892
จงั หวดั นครศรธี รรมราช 80000
sithammarat@hotmail.com
ศนู ยค์ ้มุ ครองคนไร้ที่พึ่ง ศูนย์ราชการนาสาร หมู่ท่ี 3 ตาบลนาสาร โทร 075-763294-5
จังหวัดนครศรธี รรมราช อาเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช โทรสาร 075-763295
80000 nakhonsi _pcd@dsdw.go.th
สถานสงเคราะห์เด็กชาย 193 ถนนราชดาเนิน ตาบลในเมือง จังหวัด โทร 075-356166
บา้ นศรีธรรมราช นครศรธี รรมราช 80000 โทรสาร 075-800447
socworkbansri@gmail.com
สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง 42 หมู่ท่ี 7 ตาบลทุ่งใส อาเภอสิชล จังหวัด โทร 075-376226-7
ภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 80120 โทรสาร 075-376226
(บ้านสิชล) sichonhome@dsdw.go.th
ศูนย์พัฒนาศักยภาพและ 180 หมทู่ ี่ 5 ถนนนครศรีธรรมราช-สรุ าษฎร์ธานี โทร 075-375255
อาชีพคนพกิ ารนครศรธี รรมราช ตาบลสระแก้ ว อาเภอท่าศาลา จังหวั ด โทรสาร 075-375254
นครศรีธรรมราช 80160
nakhonsivrc@gmail.com
สานกั งานเคหะชมุ ชน ตาบลปากพนู อาเภอเมอื ง จังหวัดนครศรีธรรมราช โทร 075-451508-9
จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 61206@nha.co.th โทรสาร 075-451508
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 13
จังหวัดระนอง
หน่วยงาน ท่อี ย่/ู E-mail หมายเลขโทรศัพท์
สานักงานพฒั นาสงั คม ศาลากลางจังหวดั ระนอง เลขที่ 999 ช้นั 2 หมู่ที่ 3 โทร 077-800128
และความม่ันคงของมนุษย์ ถนนเพชรเกษม ตาบลบางริ้น อาเภอเมือง จังหวัด โทรสาร 077-800130
จงั หวัดระนอง ระนอง 85000
ranong@m-society.go.th
บ้านพักเด็กและครอบครัว 990 หมู่ที่ 3 ถนนเพชรเกษม ตาบลบางริ้น โทร 077-810347
จังหวดั ระนอง อาเภอเมือง จงั หวดั ระนอง 85000 โทรสาร 077-820346
papa_2544@hotmail.com
ศูนย์ค้มุ ครองคนไรท้ ี่พง่ึ 250/71 หมู่ที่ 2ตาบลบางนอน อาเภอเมือง โทร 077-880635
จังหวดั ระนอง จังหวดั ระนอง 85000 โทรสาร 077-860437
ranong_pcd@dsdw.go.th
นคิ มสร้างตนเองปากจ่ัน 9 หมูท่ ี่ 10 ตาบล จปร. อาเภอกระบรุ ี โทร 077-800636
จังหวัดระนอง จังหวัดระนอง 85110 โทรสาร 077-891573
sdc047@hotmail.com
สถานคมุ้ ครองสวสั ดิภาพ 989 หมทู่ ี่ 3 ตาบลบางรน้ิ อาเภอเมอื งระนอง โทร 077-810375-6
ผเู้ สยี หายจากการคา้ มนุษย์ จงั หวดั ระนอง 85000 โทรสาร 077-810376
จงั หวัดระนอง ranong.datip@m-society.go.th
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
หน่วยงาน ท่อี ย/ู่ E-mail หมายเลขโทรศพั ท์
สานักงานพฒั นาสังคม 39/7 หมู่ท่ี 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง โทร 077-355080-1
และความม่ันคงของมนุษย์ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี 84100 โทรสาร 077-355080-1
จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี suratthani@m-society.go.th
ส า นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ 33 หมูท่ ่ี 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง จังหวัด โทร 077-355022-3
สนบั สนุนวิชาการ 10 สุราษฎร์ธานี 84100 โทรสาร 077-355705
tpso-10@m-society.go.th
บ้านพักเด็กและครอบครัว 39/19 หมู่ท่ี 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง โทร 077-355093
จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84100 โทรสาร 077-355092
bansurat@hotmail.com
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 14
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หน่วยงาน ที่อย/ู่ E-mail หมายเลขโทรศพั ท์
ศู น ย์ คุ้ ม ค ร อ ง ค น ไ ร้ ท่ี พ่ึ ง 3/87 หมู่ที่ 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง โทร 077-355013
จังหวดั สุราษฎรธ์ านี จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี 84100 โทรสาร 077-355013
surat_pcd@dsdw.go.th
นิคมสร้างตนเองขุนทะเล 3 หมูท่ ่ี 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง จังหวัดสุ โทร 077-355082
จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ราษฎร์ธานี 84100 โทรสาร 077-355082
nikhomkhuntale@dsdw.go.th
นิคมสร้างตนเองพระแสง หมทู่ ี่ 5 ตาบลไทรขงึ อาเภอพระแสง โทร 077-280228
จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี จงั หวัดสุราษฎร์ธานี 84100 โทรสาร 077-280228
sdc28@dsdw.go.th
สถานคุ้มครองสวสั ดภิ าพ 39 หมู่ท่ี 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง จังหวัด โทร 077-355540
ผู้เสยี หายจากการคา้ มนุษย์ สุราษฎรธ์ านี 84100 โทรสาร 077-355541
(บ้านศรีสรุ าษฎร)์ Bansrisurat.datip@m-society.go.th
สถานพัฒนาและฟื้นฟเู ด็ก 29 หม่ทู ่ี 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง จังหวัด โทร 077-356020
จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี 84100 โทรสาร 077-356022
suratthanichild@dcy.go.th
สถานคมุ้ ครองและพฒั นา 39/20 หมู่ที่ 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง โทร 077-310746-7
อาชีพภาคใตจ้ ังหวัด จังหวดั สุราษฎร์ธานี 84100
สรุ าษฎรธ์ านี spodc@dwf.go.th
สถานธนานุเคราะห์ 37 33/13 หมู่ที่ 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง โทร 077-355061
จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี 84100
สานกั งานเคหะ 3 หมูท่ ่ี 1 ตาบลทา่ ข้าม อาเภอพุนพิน โทร 077-335078-9,
จงั หวัดสุราษฎร์ธานี จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี 077-310334-5
suratthani@nha.co.th
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 15
ส่วนท่ี 2
ผลการดาเนินงานตามบทบาทภารกิจของสานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 10
2.1 ศนู ยบ์ ริการวิชาการพัฒนาสงั คมและจดั ทาผลงานวชิ าการดา้ นการพัฒนาสงั คมในระดับพืน้ ท่ี
เพ่ือบริการงานวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ โดยการเพิ่ม
ศักยภาพบคุ ลากรข้อมูลสารสนเทศ และองค์ความรู้ด้านการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม รวมทั้งเป็น
หน่วยเคลื่อนที่ทางวิชาการเชิงรุกแก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเปูาหมายในความรับผิดชอบของกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ อาสาสมัครและภาคีเครอื ข่าย ซึ่งกจิ กรรมภายใต้โครงการศูนย์บริการ
พัฒนาสงั คมและจัดสวัสดิการสังคมในระดบั พ้ืนที่ ประกอบดว้ ย
2.1.1 การพัฒนางานประจาสูง่ านวจิ ยั (Routine to Research : R2R)
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาคน พัฒนางาน และขับเคล่ือนการดาเนินงานของหน่วยงานให้เป็นไปอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ ด้วยงานวิจัย
งบประมาณ : 38,000.-บาท (สามหมื่นแปดพันบาทถว้ น)
กลุ่มเปา้ หมาย
หน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ในเขตพื้นท่ี
รบั ผิดชอบของ สสว.10 จานวน 7 จงั หวดั ได้แก่ กระบ่ี ชุมพร พังงา ภูเกต็ นครศรธี รรมราช ระนอง สรุ าษฎร์ธานี
การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย เป็นกิจกรรมหน่ึงท่ีดาเนินการภายใต้โครงการศูนย์บริการ
วิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ซ่ึงสอดคล้องกับบทบาทภารกิจด้านการเป็นศูนย์กลางให้บริการ
และถา่ ยทอดความรู้ดา้ นการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์แก่หน่วยงานในพ้ืนท่ี องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง องค์กรภาคเอกชน
การดาเนนิ งาน
1. สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ R2R Workshop
“การพฒั นางานวิชาการจากงานประจา” เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ
สสว. และหน่วยงานทีม พม. จังหวัด ( One Home) ด้านการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (R2R) ผ่านระบบ
ประชุมทางไกลออนไลน์ (Zoom Online Meeting) ในวนั ที่ 28 ธันวาคม 2564
2. จดั ฝกึ อบรม เรอ่ื ง การพฒั นางานประจาสูง่ านวิจยั (Routine to Research) กลุ่มเปาู หมาย
ได้แก่ ผู้รับผิดชอบกิจกรรมการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research) หน่วยงานในสังกัด
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ 7 จงั หวดั ภาคใต้ตอนบนและเจ้าหน้าที่สานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 10 ในระหว่างวันที่ 9 - 10 มีนาคม 2565 ณ โรงแรมซีบีดีทู อาเภอเมือง จังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านี มหี วั ขอ้ การพัฒนางานประจาสงู่ านวิจัย ดงั น้ี
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 16
1. สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดระนอง จัดทา
เรอ่ื ง แนวทางการพัฒนาขดี ความสามารถอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ จงั หวัดระนอง
2. สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต จัดทาเร่ือง
การพัฒนาการให้บรกิ ารคนไรท้ ี่พ่ึงในสถานการณโ์ ควิด-19
3. สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกระบี่ จัดทาเรื่อง
การพฒั นากระบวนการทางานของผชู้ ่วยคนพกิ ารจังหวัดกระบี่
4. สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพังงา จัดทาเร่ือง
การพัฒนาระบบการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมและการส่งต่อหน่วยงานของศูนย์ช่วยเหลือ
สังคม 1300
5. สานักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดทาเรื่อง
แนวทางการพัฒนาการเย่ียมและการจัดเก็บข้อมูลครัวเรือนกลุ่มเปราะบางในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยให้
อาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ ภายใต้โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางราย
ครวั เรอื น
6. ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพ่ึงจังหวัดชุมพร จัดทาเร่ือง การมีส่วนร่วมของประชาชน
ต่อการดาเนินงานของศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึงภายใต้ศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล (ต้นแบบ) ตาบลบ้านควน
อาเภอหลังสวน จงั หวัดชุมพร
7. ศูนย์พัฒนาศักยภาพและอาชีพคนพิการจังหวัดนครศรีธรรมราช จัดทาเร่ือง
กจิ กรรมงานเกษตรเพื่อปรับลดปัญหาพฤติกรรมของผู้เข้ารับการพัฒนาศักยภาพภายในศูนย์พัฒนาศักยภาพ
และอาชีพคนพกิ าร จงั หวัดนครศรธี รรมราช
8. สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จัดทาเร่ือง แนวทางการพัฒนาศักยภาพ
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ (อพม.) เพื่อการพัฒนาชมุ ชน
3. จัดประชุมติดตามผลความก้าวหน้าโครงการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research)
ผ่านระบบประชมุ ทางไกลออนไลน์ (Google Meet) ในวนั ที่ 2 มถิ ุนายน 2565
4. จัดประชุมวิพากษ์ (ร่าง) รายงานการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (Routine to Research) ผ่านระบบ
ประชมุ ทางไกลออนไลน์ (Google Meet) ในวนั องั คาร ที่ 23 สิงหาคม ๒๕๖5
5. สรุปรายงานการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (R2R) และนาผลท่ีได้จากการวิพากษ์มาปรับปรุงและสรุป
เปน็ รายงานฉบบั สมบูรณ์
6. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานทางชอ่ งทางต่างๆ เพอ่ื นาไปใช้ประโยชน์ในพ้นื ท่ี
ปัญหาและอปุ สรรค
1. การจดั ประชุมออนไลน์ อาจมปี ัญหาเรื่องการสอื่ สารและความเข้าใจทค่ี ลาดเคลอ่ื นได้
2. ผู้รับผิดชอบเปลี่ยนคนขาดความต่อเนอ่ื ง
3. งานวิจัยมีความหลากหลายรูปแบบ ผู้วิจัยเกิดความสับสนและไม่เข้าใจ ทาให้ผลงานการ
วจิ ยั ไมม่ ีประสทิ ธภิ าพเท่าทีค่ วร
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 17
4. การอบรมใหค้ วามร้ใู นการทางานวิจยั R2R มีเวลานอ้ ยเกินไป
5. นกั วิจัยมงี านในความรับผดิ ชอบหลายงาน ทาให้ไมม่ ีเวลาทางานวิจยั R2R
ข้อเสนอแนะ
1. ให้มีการหมนุ เวยี นหน่วยงานในการทาวจิ ัย R2R
2. ให้จัดการประชมุ แบบ Onside และให้มเี วลาอบรมมากข้นึ และต่อเนือ่ ง
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 18
2.1.2 การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT : KM) ถอดบทเรียน
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ดเี ดน่ พเิ ศษ และอาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความ
ม่นั คงของมนุษย์ดีเดน่ ประจาปี 2564 ในพนื้ ที่ 7 จงั หวัดภาคใต้ตอนบน
วตั ถุประสงค์ :
1.อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีรูปแบบ กระบวนการ แนวทาง
ปฏบิ ตั ิงาน และแรงบันดาลใจในการทางาน สามารถปฏบิ ัติงานด้านพัฒนาสังคมได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.ศึกษาแนวความคิดรูปแบบ กระบวนการทางานในพื้นที่ของ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนษุ ย์ดเี ด่นพิเศษ และอาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ดีเดน่
3.เป็นแนวทางให้อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) มีรูปแบบ
กระบวนการ แนวทางปฏิบัตงิ าน และนาไปสร้างแรงบันดาลใจในการทางานเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมัน่ คงของมนุษย์ และสามารถปฏบิ ตั ิงานดา้ นพัฒนาสงั คมไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพในระดบั พนื้ ท่ยี งิ่ ขึ้น
งบประมาณ จานวน 89,000 บาท
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เปน็ การรวบรวมองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ใน
องค์กรซ่ึงกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้ทุกคนในองค์กรสามารถ
เข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กร
มีความสามารถเชิงแข่งขันสูงสุด โดยเปูาหมายที่สาคัญของการจัดการความรู้มุ่งพัฒนาใน 3 ประเด็น ได้แก่
พัฒนางาน พัฒนาคน และการเป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรู้
ในปงี บประมาณ พ.ศ.2565 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้ดาเนินโครงการ
ศนู ย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม กาหนดประเด็นองค์ความรู้การจัดการความรู้ภายใน
องค์กร (Knowledge Management : KM) เรื่อง ถอดบทเรียนอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ดีเด่นพิเศษและอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564 ในพ้ืนท่ี
7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วย จังหวัดกระบ่ี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง
จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั พังงา และจังหวัดชมุ พร
อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ (อพม.) ตามระเบียบกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2564
หมายความว่า “บคุ คลที่สมคั รใจเพือ่ เขา้ ชว่ ยเหลือการดาเนนิ งานตามภารกจิ ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ และผ่านการอบรม ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ ที่คณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัคร
พฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์กาหนด และข้นึ ทะเบยี นตามที่ระเบยี บนก้ี าหนด” มีความแตกต่างจาก
อาสาสมัครประเภทอื่นๆ คือ การปฏิบัติหน้าท่ีโดยไม่มีค่าตอบแทน ดังนั้นเพ่ือเป็นการสร้างขวัญกาลังใจ
ใหเ้ กยี รติ ใหโ้ อกาส แก่ อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ซงึ่ เป็นคนทม่ี ีแรงจงู ใจในการทางาน
มีความทุ่มเท และพยายามทางานเป็นพิเศษมากกว่าคนอ่ืน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ จึงได้มีการมอบรางวัลแก่ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ท่ีปฏิบัติงาน
ดว้ ยความเสียสละ มีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ และปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่าสามปี สามารถส่งผลงาน
เพอื่ เขา้ รบั การคดั เลอื กเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดีเด่น และหากยังคงปฏิบัติงาน
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 19
ดีเด่นอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ รวมระยะเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าห้าปี สามารถส่งผลงานเพ่ือเข้ารับ
การคดั เลือกเปน็ อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ดเี ดน่ พิเศษประจาปี
เกณฑ์การคดั เลอื ก
อาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยด์ เี ด่น
ตามระเบยี บกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนา
สังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ พ.ศ. 2564 ข้อ 29 (1) ความว่า “อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ท่ีปฏิบัติงานดีเด่นอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ ไม่น้อยกว่าสามปี มีสิทธิได้รับการพิจารณาคัดเลือก เพ่ือ
รบั ประกาศเกยี รตคิ ุณอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยด์ เี ด่นประจาปี”
อาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ดเี ดน่ พิเศษ
ตามระเบยี บกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนา
สงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ พ.ศ. 2564 ข้อ 29 (2) ความว่า “อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ท่ีเคยได้รับประกาศเกียรติคุณอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดีเด่นประจาปี
ตาม (1)และยังคงปฏิบัติงานดีเด่นอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ รวมระยะเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าห้าปี มีสิทธิ
ไดร้ ับการพจิ ารณาคดั เลอื กเพื่อขอรับโล่ประกาศเกียรติคุณอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ดเี ดน่ พิเศษประจาปี และเข็มเชดิ ชูเกียรติอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดเี ดน่ ประจาปี
รายชือ่ อาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยด์ ีเดน่ พิเศษ ประจาปี 2564 ใน
พืน้ ท่ี 7 จงั หวดั ภาคใต้ตอนบน ได้แก่
1. นางสรวงสุดา ชพี เจรญิ วงศ์ จงั หวดั กระบ่ี
2. นางจิตรา ศริ วิ ชิ ัย จงั หวดั พังงา
รายช่ืออาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษยด์ ีเด่น ประจาปี 2564 ในพืน้ ที่
7 จงั หวัดภาคใต้ตอนบน ไดแ้ ก่
1. นางสาคร พฒั แกว้ จังหวัดกระบ่ี
2. นางเตอื นใจ แสงปลอด จังหวดั นครศรีธรรมราช
3. นางนิตยา สันตเตโช จังหวัดภเู ก็ต
4. นางสาวจติ รดา เชื้อหาญ จงั หวัดระนอง
5. นายสมศักด์ิ ปาลคะเชนทร์ จังหวดั สุราษฎร์ธานี
6. นางกัญญาภัค เดชยศดี จงั หวัดพงั งา
7. นางประทปี ศรีอัมพร จงั หวดั ชุมพร
ปัญหา/อุปสรรค
เนือ่ งจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทาใหบ้ างพ้นื ทีไ่ มส่ ามารถลงพนื้ ท่เี พ่ือเกบ็ ข้อมลู ได้
ขอ้ เสนอแนะ
อยากให้มีการพัฒนาศักยภาพ เพ่ิมทักษะ ทาความเข้าใจเก่ียวกับการจัดการความรู้ให้แก่
ผรู้ บั ผิดชอบงานการจดั การความร้ขู องหนว่ ยงาน
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 20
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 21
ประมวลการดาเนนิ งาน : การจดั การความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT : KM) ถอดบทเรยี น
อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยด์ ีเด่นพเิ ศษ และอาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความ
มน่ั คงของมนุษย์ดเี ดน่ ประจาปี 2564 ในพนื้ ท่ี 7 จงั หวัดภาคใตต้ อนบน
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 22
2.1.3 กิจกรรมการวัดอุณหภูมิทางสังคม (พม.Poll) เรื่อง “Feedback สังคมไทย
ตอ่ ภยั COVID -19”
วัตถุประสงค์
เพ่อื ศึกษาผลกระทบด้านการศึกษา ดา้ นเศรษฐกจิ และดา้ นสงั คม ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19
งบประมาณ 28,000.-บาท (สองหมืน่ แปดพันบาทถ้วน)
ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั
ได้ทราบความคิดเห็นและผลกระทบของเด็กและเยาวชน รวมถึงประชาชนท่ัวไป ในด้าน
การศกึ ษา ด้านเศรษฐกจิ และด้านสงั คม ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
กลมุ่ เป้าหมาย
การสารวจในครัง้ นี้ คือ ประชาชนทม่ี อี ายุ 12 ปีขึ้นไป ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ภูเกต็ และจังหวดั
นครศรธี รรมราช
ผลการสารวจ
เรื่อง “Feedback สังคมไทย ต่อภัย COVID -19” พบว่า ผลการสารวจผลกระทบด้าน
การศกึ ษา ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในภาพรวมของ
ประเทศมีความสอดคล้องกบั ผลการสารวจในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
ดังน้ี
ท่ี เร่ือง ประเทศ สสว.10
1 ผลกระทบ
- เรียนไม่เขา้ ใจ ไม่มสี มาธใิ นการเรยี น ผล - เรียนไมเ่ ข้าใจ ไม่มีสมาธิในการเรียน ผล
ดา้ นการศึกษา
การเรียนลดลง การเรียนลดลง
2 ผลกระทบ
ด้านเศรษฐกจิ - เพมิ่ ภาระค่าใช้จ่ายในการซื้ออปุ กรณก์ าร - เพ่มิ ภาระค่าใชจ้ ่ายในการซอ้ื อุปกรณ์การ
3 ผลกระทบ เรียนออนไลน์ ค่าไฟ คา่ อนิ เตอรเ์ นต็ เรียนออนไลน์ คา่ ไฟ ค่าอนิ เตอรเ์ น็ต
ดา้ นสงั คม
- ผปู้ กครองมีภาระเพ่มิ ขึ้นในเร่อื งการ - ปวดตา ปวดหลัง เม่ือยลา้ จากการเรยี น
เรียนของบุตรหลาน ออนไลน์
- ค่าใชจ้ ่ายสูงขึน้ - ค่าใชจ้ ่ายสงู ข้นึ
- ต้องนาเงินเก็บ/เงนิ ออม ออกมาใช้จ่าย - ตกงาน/วา่ งงาน
- การประกอบอาชีพยากลาบาก - การประกอบอาชพี ยากลาบาก
- สวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลา ล้างมอื - ต้องปรับรปู แบบการเรยี นการสอนเปน็
บ่อยขึน้ แบบออนไลน์
- เปลีย่ นแปลงวิธีการทางานและรูปแบบ - เปลยี่ นแปลงวธิ กี ารทางานและรูปแบบ
การประกอบอาชพี การประกอบอาชพี
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 23
- ต้องปรบั รูปแบบการเรยี นการสอนเป็น - สวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา ล้างมอื
แบบออนไลน์ บอ่ ยข้ึน
4 เรอื่ งทต่ี อ้ งการ - ลดค่าครองชีพ/ค่าใชจ้ ่ายใน - ลดค่าครองชพี /คา่ ใชจ้ ่ายใน
ให้ภาครฐั ชีวิตประจาวัน ชีวติ ประจาวนั
ดาเนินการ - การเข้าสู่กระบวนการรกั ษาทีส่ ะดวก - การจดั หาอปุ กรณ์ตรวจเชอ้ื ATK/
เรง่ ดว่ น และรวดเร็ว เครื่องวดั ไข/้ หน้ากากอนามยั /แอลกอฮอล์
- การจัดหาอปุ กรณ์ตรวจเช้อื ATK/ - กรเขา้ สกู่ ระบวนการรกั ษาที่สะดวกและ
เครอื่ งวัดไข/้ หนา้ กากอนามัย/แอลกอฮอล์ รวดเร็ว
5 สิง่ ท่ี - คนไทยให้ความสาคญั กบั การดูแล - คนไทยใหค้ วามสาคญั กับการดแู ล
เปล่ยี นแปลง สุขภาพมากขึ้น สุขภาพมากขึน้
หรือการปรบั ตัว -ระบบการแพทยแ์ ละสาธารณสุขประเทศ - -ระบบการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ
ของสังคมไทย ไทยมีความพร้อมรับมือโรคอุบตั ใิ หม่ ประเทศไทยมคี วามพรอ้ มรบั มอื โรคอุบตั ิ
- เกิดความรว่ มมอื จากทกุ หน่วยงานใน ใหม่
การดุแลให้ความช่วยเหลอื ผู้ได้รับ - ประชาชนเกดิ การเรียนร้แู ละใช้
ผลกระทบ เทคโนโลยีมากขึ้น
สถานการณ์ ปัญหาอปุ สรรค
ยากลาบาก 1. การกาหนดประเด็นและการตั้งคาถามใช้ระยะเวลาค่อนข้างนานและหัวข้อไม่ทันต่อ
2. คาถามหลากหลาย ตง้ั คาถามหลายข้อและซับซอ้ น ผู้ตอบแบบสอบถามเกดิ ความสับสน
3. การจัดประชุมออนไลน์ อาจมีปัญหาเรอ่ื งการสอ่ื สารและความเขา้ ใจที่คลาดเคลือ่ นได้
4. ช่วงสถานการณ์โควิด- 19 การลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลเข้าถึงกลุ่มเปูาหมายเป็นไปด้วยความ
5. มีการเปลี่ยนเจา้ หน้าทร่ี ับผิดชอบ ยังไม่เชย่ี วชาญการใชโ้ ปรแกรมวเิ คราะหท์ างสถิติ
6. การแถลงผลสารวจ ผเู้ ข้ารว่ มฟังการแถลง และสื่อมวลชน มีเฉพาะบางกลุ่มและเข้าร่วมน้อย
ขอ้ เสนอแนะ
1. ควรกาหนดประเดน็ ทีท่ นั สมัย น่าสนใจ ทนั ต่อสถานการณ์
2. เปล่ยี นรปู แบบการเก็บขอ้ มลู เช่น แบบสอบถามออนไลน์ สัมภาษณ์ทางโทรศพั ท์
3. ประสานกบั เครอื ข่ายในพื้นท่เี พื่อชว่ ยเกบ็ แบบสอบถาม
4. ปรับเปลี่ยนรูปแบบการแถลงผลการสารวจ เช่น บูรณาการกับเวทีวิชาการ รูปแบบ
มหกรรมและนิทรรศการ
5. เพิม่ ชอ่ งทางการเผยแพร่ผลสารวจใหม้ ากขน้ึ กว่าเดมิ
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 24
กจิ กรรมการวดั อณุ หภมู ทิ างสังคม (พม.POLL) เรือ่ ง “Feedback สงั คมไทย ต่อภยั COVID -19”
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 25
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 26
2.1.4 รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด
การจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัด ประจาปี 2565 (จังหวัดชุมพร
ระนอง กระบ่ี พังงา ภูเก็ต นครศรีธรรมราช และสุราษฎร์ธานี) ในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วยข้อมูลสถิติและผลการศึกษารวมทั้ง วิเคราะห์
สถานการณท์ างสังคม ตลอดจนแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงทางสังคมเชิงกลมุ่ เปาู หมาย เชงิ ประเด็น รวมถึงข้อมูล
ทางสถิตขิ องกลุ่มเดก็ กลุ่มเยาวชน กลุม่ สตรี กลุ่มครอบครัว กลมุ่ ผู้สูงอายุ กลมุ่ คนพิการ และกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
นอกจากน้ียังมสี ถานการณ์ทางสังคมทีเ่ ปน็ ปัญหาตามบริบทพ้ืนทเี พอื่ นามาวเิ คราะหเ์ ป็นขอ้ มูลประกอบการวาง
แผนการจัดกิจกรรมและโครงการที่มีความสอดคล้องตรงตามความต้องการและสามารถแก้ไขปัญหาของพ้ืนท่ี
ได้ข้อมูล ท่ีได้จากการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย ข้อมูลพ้ืนฐาน
ข้อมลู สถานการณ์ทางสงั คมเชงิ กลุม่ เปาู หมายและเชิงประเดน็
จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู สถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มเป้าหมาย 7 กลมุ่ ในภาพรวมกลมุ่ จังหวัด พบว่า
1. สถานการณเ์ ดก็ สถานการณ์ความรนุ แรงอนั ดบั 1 คอื สถานการณ์เด็กนักเรียนไม่มีโอกาส
เข้าเรียนหรือออกนอกระบบการศึกษากลางคัน รองลงมา คือ สถานการณ์เด็กท่ีตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
และไมพ่ ร้อมเล้ียงดู
2. สถานการณเ์ ยาวชน สถานการณ์ความรุนแรงอันดับ 1 คือ ประเด็นเยาวชนท่ีมีพฤติกรรม
ไม่เหมาะสม รองลงมา คือสถานการณ์เยาวชนทถี่ กู ทารณุ กรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศ
3. สถานการณ์สตรี สถานการณ์รุนแรงอันดับ 1 คือ สถานการณ์สตรีถูกเลิกจ้าง/ตกงาน
รองลงมา คอื สถานการณ์แม่เล้ียงเดย่ี วฐานะยากจน และสถานการณ์สตรีที่ถูกทาร้ายรา่ งกายจิตใจ
4. สถานการณ์ครอบครัว สถานการณ์ความรุนแรงอันดับ 1 คือ ประเด็นครอบครัวยากจน
รองลงมา คอื สถานการณค์ รอบครัวหยา่ รา้ ง และสถานการณค์ รอบครัวที่มคี นในครอบครวั กระทาความรนุ แรงตอ่ กนั
5. สถานการณ์ผู้สูงอายุ สถานการณ์ความรุนแรงอันดับ 1 คือ สถานการณ์ผู้สูงอายุติดบ้าน/
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ รองลงมา คือ สถานการณ์ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสม และสถานการณ์ผู้สูงอายุ
ทต่ี อ้ งดารงชีพด้วยการเรร่ ่อนขอทาน
6. สถานการณ์คนพิการ ประเภทความพิการที่พบมากอับดับ 1 คือ สถานการณ์คนพิการ
ทางการเคล่อื นไหวหรือทางร่างกาย รองลงมา คือ สถานการณ์คนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย และ
สถานการณ์คนพกิ ารทางจิตใจหรือพฤตกิ รรม
7. สถานการณ์กลุ่มผ้ดู อ้ ยโอกาส สถานการณค์ วามรนุ แรงอันดับ 1 คือ ผู้ด้อยโอกาสส่วนใหญ่
เป็นคนยากจน รองลงมาคือ ผู้ด้อยโอกาสที่ติดเช้ือ HIV นอกจากนี้ผู้ด้อยโอกาสบางส่วนยังไม่มีฐานะทาง
ทะเบียนราษฎร์
สถานการณเ์ ชิงกลมุ่ เปา้ หมายทนี่ า่ ห่วงใย และจาเป็นต้องได้รบั การแก้ไขเร่งดว่ นมีดังนี้
1. ประเด็นสตรถี ูกเลกิ จา้ งว่างงาน/ตกงาน ไมม่ อี าชพี /รายได้
2. ประเด็นเด็กตง้ั ครรภ์ก่อนวยั อันควร/มพี ฤติกรรมไม่เหมาะสมตามวัย
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 27
3. ประเด็นครอบครัวอ่อนแอ มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ/ยากจน การหย่าร้าง และการใช้ความ
รนุ แรงในครอบครัว
ขอ้ เสนอเชิงนโยบาย
1. จากข้อมูลเด็กท่ีขาดโอกาสทางการศึกษา จานวนท้ังส้ิน 25,919 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6
ของประชากรเดก็ ทัง้ หมดใน 7 จังหวดั ภาคใตต้ อนบน และข้อมูลด้านเดก็ ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จานวนทั้งสิ้น
11,759 คน คิดเป็นร้อยละ 2.4 ของประชากรเด็กใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ถึงแม้จะ มีร้อยละไม่สูง
แต่ในความเป็นจริงข้อมูลท่ีกล่าวมาเป็นสถานการณ์ความรุนแรงอันดับที่ 1 และอันดับท่ี 2 ตามลาดับ
ดังน้ัน ข้อเสนอเชงิ นโยบายควรส่งเสริมความรู้ความเข้าใจให้แก่ครอบครัว ตระหนักถึงความสาคัญในการดูแล
เด็ก เพ่ือผลักดันให้เด็กได้เข้าสู่ระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และรู้บทบาทหน้าที่ในการเฝูาระวังเด็กท่ีมี
แนวโน้มปัญหาดา้ นการตั้งครรภ์กอ่ นวยั อนั ควร
2. ข้อมูลเยาวชนในพ้ืนที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน สถานการณ์เยาวชนที่มีความรุนแรง
อันดับท่ี 1 ไดแ้ ก่ เยาวชนมคี วามประพฤติไม่เหมาะสม คดิ เปน็ ร้อยละ 0.18 ของประชากรเยาวชนใน 7 จังหวัด
ภาคใต้ตอนบนทั้งหมด และสถานการณ์เยาวชนท่ีรุนแรงอันดับที่ 2 ได้แก่ เยาวชนถูกกระทาความรุนแรง
ทางดา้ นร่างกายและจิตใจ ดังน้ัน ข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนสภาเด็กและเยาวชนให้เข้มแข็ง เพ่ือเฝูา
ระวังและปูองกนั ปญั หาเยาวชนในระดบั พ้นื ที่
3. ข้อมูลวัยแรงงานในพ้ืนที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน พบว่าผู้มีงานทามีจานวนทั้งสิ้น
2,546,580 คน คิดเป็นร้อยละ 97.88 ของประชากรในวัยแรงงานทั้งหมดของ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน แต่สิ่งที่
น่าสนใจคอื มีผู้ไม่มงี านทา 56,232 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.16 ของประชากรในวัยแรงงานทั้งหมดของ 7 จังหวัด
ภาคใต้ตอนบน และเป็นสตรีท่ีถูกเลิกจ้าง จานวน 21,310 คน คิดเป็นร้อยละ 38 ของผู้ไม่มีงานทาทั้งหมด
ดังนั้น ข้อเสนอเชิงนโยบายจึงควรส่งเสริมทักษะอาชีพและผลักดันให้เกิดการจ้างงาน เพื่อขจัดปัญหาความ
ยากจนของกล่มุ เปราะบางทอี่ ยูใ่ นวยั แรงงาน
4. ขอ้ มูลผู้สูงอายใุ นพื้นท่ี 7 จังหวดั ภาคใตต้ อนบน พบวา่ สถานการณผ์ สู้ งู อายุท่ีมีความรุนแรง
อันดับท่ี 1 ได้แก่ ผู้สูงอายุอยู่ติดสังคม จานวนทั้งส้ิน 148,243 คน คิดเป็นร้อยละ 19.35 ของประชากร
ผู้สูงอายุใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบนท้ังหมด ทั้งนี้ ข้อเสนอเชิงนโยบายจึงควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทากิจกรรม
ทางสงั คมอย่างตอ่ เนอ่ื ง ภายใตท้ รัพยากรในพ้ืนท่ีและเกิดผลสัมฤทธ์ิ นอกจากนี้จากขอ้ มูลผู้สูงอายุใน 7 จังหวัด
ภาคใต้ตอนบน ยงั พบปัญหาท่ผี สู้ ูงอายปุ ระสพ ได้แก่ มีที่อยู่อาศัยไม่เหมาะสม จานวน 1,650 คน คิดเป็นร้อย
ละ 0.22 ของประชากรผู้สูงอายุใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบนทั้งหมด และผู้สูงอายุดารงชีพด้วยการเร่ร่อน/
ขอทาน จานวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของประชากรผู้สูงอายุใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบนทั้งหมด
ดงั นั้นเพื่อใหผ้ สู้ งู อายมุ คี ุณภาพชวี ิตท่ดี ีขน้ึ และอยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ุข จึงควรส่งเสริมครอบครัวตระหนักถึง
ความสาคญั ในการดแู ลทั้งทางรา่ งกายและจิตใจแก่ผู้สูงอายุ ตลอดจนสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงบริการของรัฐ
ด้านการปรบั ปรุงสภาพทอ่ี ยูอ่ าศัย โดยผา่ นกลไกการดาเนนิ งานของศูนยช์ ว่ ยเหลือสังคมตาบล
5. ข้อมูลคนพิการในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน พบว่าคนพิการจดทะเบียนตาม พ.ร.บ.
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 ทั้งส้ิน 118,368 คน มีคนพิการท่ีได้รับเบ้ียความพิการ
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 28
จานวน 112,656 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 95.18 ของประชากรคนพิการใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบนทั้งหมด และมี
คนพิการท่ีไม่ได้รับเบี้ยความพิการ จานวน 5,712 คน คิดเป็นร้อยละ 4.82 ของประชากรคนพิการที่จด
ทะเบยี นฯ ใน 7 จงั หวัดภาคใตต้ อนบนท้งั หมด แตเ่ นอื่ งจากวา่ การไดร้ บั เบยี้ ความพกิ ารเปน็ สิทธิตามกฎหมายที่
คนพิการซ่ึงจดทะเบียนทุกคนจะได้รับ ดังนั้นข้อเสนอเชิงนโยบาย ควรส่งเสริมให้คนพิการเข้าถึ งสิทธิตาม
พ.ร.บ.สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพิการ พ.ศ.2550 ผ่านกลไกการดาเนินงานของศนู ย์ชว่ ยเหลือสงั คมตาบล
6. ข้อมูลประชากรทั้งหมดของ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน พบว่า มีข้อมูลประชากรกลุ่ม
เปราะบางในปี 2565 และส่วนใหญก่ ลุม่ เปราะบางไดร้ บั บริการในมิติด้านความเป็นอยู่มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
7.4 ของประชากรกลุ่มเปราะบางใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอบบนท้ังหมด ลองลงมาได้รับบริการในมิติด้านรายได้
คดิ เป็นร้อยละ 7.15 ของประชากรกล่มุ เปราะบางใน 7 จังหวัดภาคใตต้ อนบนท้ังหมด แต่บริการท่ีได้รับบริการ
น้อยที่สุด คอื มติ ิการเขา้ ถงึ สวัสดิการแหง่ รัฐ ดังนั้น ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายควรส่งเสริมให้กลุ่มเปราะบางสามารถ
เข้าถึงสวัสดิการแห่งรัฐหลักๆ ๔ ด้าน ได้แก่ ส่งเสริมการมีงานทา,ส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพ,ส่งเสริม
แหล่งเงินทุน และส่งเสริมการเข้าถึงส่ิงจาเป็นพื้นฐาน โดยใช้ช่องทางการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่า งๆ
และการจดั กจิ กรรมเชิงรุกของหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงต่างๆ ตามนโยบายของรฐั บาล
7. จากขอ้ มลู สถิตคิ ดีและรูปแบบการแสวงหาประโยชน์จากการค้ามนุษย์ ในพ้ืนท่ี 7 จังหวัด
ภาคใต้ตอนบน พบว่า ในปี 2563-2565 มีคดีดังกล่าวท้ังสิ้น 16 คดี และรูปแบบการแสวงหาประโยชน์จาก
การค้ามนุษย์ ส่วนใหญ่จานวน 8 คดี เปน็ รูปแบบของการค้าประเวณี คิดเปน็ รอ้ ยละ 44.4 ของคดีการค้ามนุษย์
ท้งั หมดระหวา่ งปี 2563-2565 ดังนั้น ข้อเสนอเชิงนโยบายจงึ ควรดาเนินการดังนี้
7.1 สร้างความรู้ความเข้าใจทีมสหวิชาชีพ และเร่งขับเคล่ือนหน่วยบาน/องค์กร
ภายใตก้ ลไกการส่งต่อระดับชาติ เพอื่ การชว่ ยเหลอื ค้มุ ครองผู้เสียหาย (Natienal Refesral Meehanism : NRM)
7.2 อบรมหลักสูตรพนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม พ.ร.บ. ปูองกันและปราบปรามการค้า
มนษุ ย์ พ.ศ.2561 เพม่ิ เตมิ
7.3 สร้างความตระหนักรู้ และทักษะในการปูองกันการถูกล่อลวงในรูปแบบต่างๆ
โดยเฉพาะในกลมุ่ เดก็ เยาวชน และครอบครัว
7.4 ส่งเสรมิ ศูนยช์ ่วยเหลอื สงั คมตาบล เขา้ มามสี ่วนร่วมในการเฝาู ระวงั
7.5 จดั อบรมล่ามภาษา และขนึ้ ทะเบยี นเพอื่ สนบั สนุนการปฏิบตั ิงาน
ข้อเสนอเชงิ ปฏบิ ัติ
1. สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ควรมีบทบาทในการเป็นเจ้าภาพ
ด้านสังคมในระดับจังหวัด และมีการทบทวนกระบวนการจัดทารายงานสถานการณ์จังหวัด โดยสานักงาน
สง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการเข้าร่วมด้วย เพ่ือพัฒนาและค้นหาแหล่งข้อมูลที่สามารถช้ีสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน
จริงในพนื้ ที่
2. ควรมีการจัดต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัด
ทุกจังหวัด โดยมีสานกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์เป็นคณะอนุกรรมการและเลขานุการ และมี
สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการเข้ารว่ มเปน็ อนุกรรมการฯ ดว้ ย
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 29
3. ควรมีช่องทางในการนาเสนอข้อมูลรายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด และเป็น
แหล่งข้อมลู กลางในการรวบรวมสถานการณท์ างสังคมในระดับจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด เพื่อให้ทุกภาคส่วนด้าน
สังคมนาข้อมูลไปใช้ประโยชนใ์ นการปูองกันและแกไ้ ขปญั หาทางสังคมได้สอดคล้องตามประเด็นปัญหาที่เกิดข้ึน
ในพน้ื ที่ และการจัดทาแผนพัฒนาในระดับจังหวดั และกล่มุ จังหวดั
4. ควรมีการส่งตอ่ ข้อมลู และข้อเสนอให้หน่วยงานเจ้าภาพหลักท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา
และผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรม โครงการ เพ่อื การปูองกันและแก้ไขปัญหาตามประเด็นท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี
5. สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ควรมีการอบรม ให้ความรู้แก่บุคลากรผู้จัดทา
รายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เพื่อพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้ ความเข้าใจ
ด้านการวเิ คราะห์ข้อมูล การใช้ประโยชน์ข้อมูล และการพยากรณ์แนวโน้มสถานการณ์ เพื่อการจัดทารายงาน
สถานการณ์ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาสังคมในระดับพ้ืนที่ โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรนาแผนด้านสังคมมาใช้ใน
การปฏบิ ตั ิอย่างเป็นรูปธรรม
6. สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และสานักงานส่งเสริม
และสนบั สนุนวชิ าการ ควรร่วมกันใหข้ อ้ เสนอแนะกบั หน่วยงาน พม. หรือหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง ดา้ นการจัดเก็บ
ขอ้ มูลท่จี าเปน็ ตอ่ การวิเคราะห์สถานการณ์ เชน่ ขอ้ มูลพื้นฐาน ขอ้ มลู ด้านสถิติ ข้อมูลตามมิติของการให้บริการ
อาทิ มิติท่ีอยู่อาศัย มิติรายได้ มิติสุขภาพ มิติการศึกษา และมิติการเข้าถึงสวัสดิการแห่งรัฐเป็นต้น ตลอดจน
เช่อื มโยงข้อมูล เพ่อื สะทอ้ นแนวโน้มสภาพปัญหากลุ่มเปูาหมาย รวมท้ังนาข้อมูลไปวางแผนแก้ไขหรือพัฒนา
คณุ ภาพชีวติ กลุ่มเปาู หมายไดอ้ ย่างถูกทิศทางตอ่ ไป
7. ผลักดันให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนาข้อมูลรายงานสถานการณ์ทางสังคมเป็นฐานในการ
ดาเนินงานโครงการและกิจกรรมในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่มีความสอดคล้องกับบริบทและความ
ต้องการของกลุ่มเปาู หมายในพ้นื ที่
การดาเนนิ งานภายใตก้ จิ กรรมรายงานสถานการณ์กลุ่มจังหวัด
1. ร่วมประชุมช้ีแจงเพ่อื จัดทาตัวช้ีวัดรายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดประจาปี 2565
ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Google Meet ในวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2564 ร่วมกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
ของสานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 1-11
2. ร่วมประชุมเพ่ือหารือแนวทางการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด
ประจาปี 2565 ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Google Meet ในวันท่ี 29 พฤศจิกายน 2564 ร่วมกับ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 และ กองมาตรการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์
3. ร่วมประชุมกาหนดประเด็นและรูปแบบการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคม
กลุ่มจังหวัด (คร้ังท่ี 1) ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Google Meet ในวันที่ 6 มกราคม 2565 ร่วมกับ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 1-11
4. ร่วมประชุมกาหนดประเด็นและรูปแบบการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคม
เพ่ือประกอบการจัดทารายงานและกาหนดรูปแบบ (Template) เล่มรายงานสถานการณ์ทางสังคม
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 30
กลุ่มจังหวัด ประจาปี 2565 (คร้ังที่ 2) ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Google Meet ในวันท่ี 10 มกราคม
2565 รว่ มกับสานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 1-11
5. ร่วมประชุมพิจารณาประเด็นรูปแบบ (Template) เล่มรายงานสถานการณ์ทางสังคม
กลุ่มจังหวัด ประจาปี 2565 ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Google Meet ในวันท่ี 12 มกราคม 2565
รว่ มกับสานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11
6. ร่วมประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารวเิ คราะหข์ ้อมลู สถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ประจาปี 2565
ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Google Meet ในวันท่ี 6 พฤษภาคม 2565 ร่วมกับสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิ ชาการ 1 -11 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจาร ย์ชล บุน นาค อาจารย์คณะเศร ษฐศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นวิทยากรในการประชุม
7. รว่ มประชมุ เพอื่ ถอดบทเรยี นการจดั ทารายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจาปี
2565 ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Google Meet ในวันท่ี 13 กันยายน 2565 ร่วมกับสานักงานส่งเสริม
และสนับสนนุ วชิ าการ 1-11
ปญั หา/อุปสรรคจากการดาเนินงาน
1. การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ เพื่อขอข้อมูลไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร
ทงั้ นี้ ยงั ไม่มีความเข้าใจกนั ในเร่อื ง ขอบเขตของขอ้ มลู คานิยามคาเฉพาะ และช่วงเวลาในการเก็บขอ้ มูลท่ีต้องการ
2. ข้อมูลบางส่วนที่ส่งมามีความไม่สมบูรณ์ต้องมีการตรวจสอบใหม่ เพ่ือตรวจสอบยืนยัน
ข้อมลู ใหม่ และต้องใช้เวลาในการประสานงาน
3. การสังเคราะห์รายงานข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ พบว่ากรอบการจัดทาข้อมูลของแต่ละ
หน่วยงานแตกตา่ งกนั ตามชว่ งระยะเวลาการรายงานขอ้ มูล
4. ขาดการสร้างความเข้าใจกับ พมจ. และหน่วยงาน One Home ให้เข้าใจตรงกัน เกิดการ
ทางานทีซ่ ับซอ้ นของหนว่ ยงาน กมพ. และ สสว. ในประเดน็ การเขยี นรายงานสถานการณท์ างสังคม
ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ งาน
1. ควรมกี ารกาหนดคานยิ ามเฉพาะ ขอบเขต และชว่ งเวลาในการเก็บหรอื ขอขอ้ มูลให้ชัดเจน
2. ควรจัดประชุมกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูลเช่น พมจ. , ศก. , สธ. และหน่วยงาน
ในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นต้น เพื่อจี้แจงและสร้างความเข้าใจกระบวน
การประสานขอขอ้ มลู จาก พมจ. และหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้องท่รี วดเรว็ /Updat ข้อมลู และจดั ส่งข้อมลู ทส่ี มบูรณ์
3. จัดทา Template ที่ชัดเจนและคอบคลุมในการขอรับการสนับสนุนข้อมูลร่วมกับ
หนว่ ยงาน One Home ใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั
4. สร้างมาตรฐานและกรอบการจดั ทารายงานสถานการณ์ทางสังคมท่ีชัดเจนร่วมกนั
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 31
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 32
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 33
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 34
2.1.5 โครงการวิจัย เรอื่ ง กลยุทธก์ ารจดั การชุมชนเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของกลมุ่ ชาติ
พันธใุ์ นบรบิ ทพหวุ ัฒนธรรมภาคใต้ (Community management Strategies to improve the
quality of life of ethnic groups in the context of the southern multilateral culture)
วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
1. เพอ่ื ศึกษาสภาพปญั หาและปจั จัยความตอ้ งการที่เก่ยี วข้องกับการจัดการชุมชนของกลุม่
ชาติพนั ธ์ใุ นบริบทพหวุ ัฒนธรรมภาคใต้
2. เพื่อส่งเสริมใหก้ ลุ่มชาติพันธุ์มคี ุณภาพชวี ิตที่ดีท้ังทางรา่ งกายและจติ ใจ
3. เพ่ือนาเสนอกลยทุ ธก์ ารจดั การชมุ ชน และพัฒนาระบบกลไกในการคุ้มครองดูแลกลมุ่ ชาติ
พนั ธ์อุ ยา่ งยง่ั ยืนในอนาคต
งบประมาณ จานวน 561,397.60 บาท
การศึกษาวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การจัดการชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ุใน
บรบิ ทพหุวฒั นธรรมภาคใต้ เปน็ การศึกษาสภาพปญั หาและปัจจัยความต้องการท่เี กย่ี วข้องกับการจัดการชุมชน
ของกล่มุ ชาตพิ ันธุใ์ นบรบิ ทพหุวัฒนธรรมภาคใต้ เพ่ือส่งเสริมให้กลุ่มชาติพันธุ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีท้ังทางร่างกาย
และจิตใจและเพ่ือนาเสนอกลยุทธ์การจัดการชุมชน และพัฒนาระบบกลไกในการคุ้มครองดูแลกลุ่มชาติพันธุ์
อยา่ งย่ังยนื การเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการพัฒนากล่มุ ชาติพันธชุ์ าวเลจงึ ถือเปน็ การรเิ รม่ิ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล จึงเป็นท่ีมาของความสนใจในการศึกษากลยุทธ์การจัดการชุมชนเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทพหุวัฒนธรรมภาคใต้ กลุ่มเปูาหมายในการศึกษาวิจัย คือ กลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล
3 ชนเผ่า (มอแกน มอแกลน และอูรักลาโว้ย) รวมถึงเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านกลุ่มชาติพันธุ์ท้ังภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคประชาชน และผู้นาชุมชน โดยนาร่องจากจังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต ซ่ึงได้ทาการศึกษา
สภาพปัญหาของกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล ความต้องการในการจัดการชุมชนของกลุ่มชาติพันธ์ุ พร้อมทั้งนาเสนอ
กลยทุ ธก์ ารจัดการชมุ ชนนาไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของกลมุ่ ชาติพนั ธุอ์ ยา่ งยัง่ ยืนในอนาคต การวจิ ยั คร้งั นี้ใช้
วิธวี จิ ยั แบบผสม (Mixed Method) ประกอบด้วยการวจิ ยั เชงิ ปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัย
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ จากแบบสอบถาม (Questionnaire) และการวิจัย
เชิงคุณภาพโดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group)
การศึกษาคร้ังนี้พบว่า สภาพปัญหาและความต้องการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการชุมชนของ
กลุ่มชาติพันธ์ุในบริบทพหุวัฒนธรรมภาคใต้ในด้านต่างๆ ปรากฏผลการศึกษาดังรายละเอียดต่อไปน้ี
ดา้ นเศรษฐกจิ ของครัวเรือนพบวา่ สว่ นใหญม่ ีอาชีพพอทีจ่ ะสามารถดแู ลครอบครัวได้ แต่รายได้ยังคงไม่พียงพอ
ต่อการดารงชพี มีหน้ใี นระบบและไม่สามารถชาระหนี้ได้ตามแผนการชาระหนี้ รวมถึงขาดการวางแผนรวมถึง
ยงั ขาดการวางแผนในเรอื่ งของการจัดการรายได้ การออม และการจดั การหน้สี นิ องครวั เรอื น ผลการศึกษาด้าน
สังคมพบว่า ชมุ ชนชาวเลมีการชว่ ยเหลือกัน เมื่อมีผู้ใดได้รับความลาบาก หรือเม่ือเกิดความต้องการช่วยเหลือ
ในชุมชน สภาพความเป็นอยู่ในชุมชนโดยรวมมีลักษณะเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ซ่ึงกันและกัน บางชุมชนมีผู้นาและ
สมาชิกในชมุ ชนท่ีเป็นแกนนาในการรว่ มกันขบั เคลือ่ นใหเ้ กิดการพฒั นาชมุ ชนในทุกมิติ และได้รับการช่วยเหลือ
และแก้ปัญหาเรือ่ งเร่งด่วนจากหน่วยงานของรัฐอย่างทันท่วงที ในขณะที่บางชุมชนยังขาดผู้นาชุมชน ซึ่งส่งผล
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 35
ทาให้กลุ่มชาวเลขาดกลไกเช่ือมระหว่างชุมชนและหน่วยงานรัฐ ส่งผลต่อการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการต่างๆ
การศึกษาวิจัยด้านวัฒนธรรมพบว่า ชุมชนชาวเลยังมีผู้รู้เก่ียวกับวัฒนธรรมชาวเลและสามารถถ่ายทอดภูมิ
ปัญญาน้ันสู่ลูกหลาน มีแนวปฏิบัติและยึดถือประเพณี/วัฒนธรรมตามวิถีชาวเล มีการสืบทอดประเพณีอย่างต่อเน่ือง
จากรนุ่ สู่ร่นุ จนถงึ ปจั จุบนั ผลการศึกษาด้านทีอ่ ยอู่ าศัยมีทีต่ ้งั อย่ใู นระยะท่ีมีบริการสาธารณูปการของรัฐ แต่โดย
ส่วนใหญแ่ ลว้ กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ชาวเลมกั มีปญั หาแม้กระทั้งสทิ ธทิ ่ีดนิ ทากินและทอ่ี ยู่อาศัยมาเป็นระยะเวลายาวนาน
การศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นวิถีชีวิต (สาธารณสุขและการศึกษา) พบว่า ด้านสาธารณสุข ชาวเลที่มีสถานะทางทะเบียน
ได้รับสิทธ์ิในการรับบริการและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขของภาครัฐได้ส่วนหนึ่ง แต่ยังคงมีชาวเลบาง
กลุ่มท่ียังเข้าไม่ถึงสิทธิดังกล่าว สาหรับด้านการศึกษา บุตรหลานชาวเลได้รับสิทธิ์ด้านการศึกษาและสามารถ
เข้าเรียนตามเกณฑ์การศึกษาทุกช่วงวัยจากสถานศึกษาของรัฐได้ แต่ในขณะเดียวกันยังคงพบว่ามีเด็กชาวเล
ท่ีออกจากระบบการศึกษากลางคัน อันเนื่องมากจากการตระหนักในความสาคัญของการศึกษายังมีน้อย
และปัจจัยทัศนคตขิ องคนกลุ่มอนื่ ที่มีต่อเดก็ และเยาวชนชาวเล
จากผลการศึกษาด้านส่งเสริมให้กลุ่มชาติพันธุ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งทางร่างกายและจิตใจ
พบวา่ การส่งเสรมิ ใหก้ ลุ่มชาติพนั ธม์ุ ีคุณภาพชีวติ ทด่ี ที งั้ ทางร่างกายและจิตใจ ภาครัฐ เอกชน และหน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ ง จะต้องทางานแบบบูรณาการในการท่ีจะพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล สิทธิการสร้างความ
มั่นคงด้านที่อยู่อาศัย ปัญหาท่ีดินทากินและที่อยู่อาศัย การจัดการพื้นที่ดินทากินที่อยู่อาศัยในพื้นที่ของรัฐ
อยใู่ นพื้นทีอ่ ุทยาน อยูใ่ นเขตปุาสงวน ด้วยการจัดทาโฉนดชุมชนเพ่ือเป็นเขตสังคมและวัฒนธรรมพิเศษสาหรับ
กลุ่ม สิทธิการประกอบอาชีพประมง ภาครัฐเข้ามาจัดการและแก้ไขปัญหาเรื่องที่จอดเรือและการทาประมง
ชายฝั่ง ทช่ี าวเลไมส่ ามารถมสี ิทธิ์ในการจดั การได้ และประเด็นเร่ืองการทาประมงในเขตอุทยานแห่งชาติท่ียังคง
เจอปัญหาเรือ่ งการจับกมุ จากเจา้ หน้าท่ีรัฐ การสง่ เสรมิ เครอื ข่ายชาวเล แนวทางในการสง่ เสริมเครือข่ายชาวเล
ภาครัฐควรมีมาตรการในการจัดสรรงบประมาณเพื่อส่งเสริมการทางานของเครือข่ายชาวเล ให้เกิดขึ้นเป็น
รูปธรรม เพือ่ สนับสนนุ การสรา้ งความรว่ มมือ “เครือขา่ ยชาวเล” การสง่ เสรมิ ภาษาและวฒั นธรรม การส่งเสริม
ด้านภาษาและวัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวเลและสนับสนุนงบประมาณจัดกิจกรรมต่อเน่ือง เช่น ส่งเสริมให้มี
โรงเรยี นสอนภาษาวัฒนธรรมในชมุ ชน ส่งเสริมให้มีการสอนศิลปวัฒนธรรมชาวเล ในหลักสูตรสามัญส่งเสริม
ชมรมทอ้ งถน่ิ ใน รัฐตอ้ งสง่ เสรมิ และฟื้นฟูวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเลเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุด้ังเดิม ท่ีมีความ
เปราะบาง ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาประเทศไทยที่ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตกับกลุ่มชาวเล การช่วยเหลือด้าน
สาธารณสขุ รัฐจาเป็นตอ้ งช่วยเหลอื ดา้ นสาธารณสุขเพื่อฟื้นฟูสาหรับผู้ได้รับผลกระทบจากการประกอบอาชีพ
หาปลา/ดาน้าทาให้เกิดโรคน้าหนีบ และการมีปัญหาด้านสุขภาพ เพ่ือให้ชาวเลได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน
การส่งเสริมด้านการศึกษาภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องรีบดาเนินการการส่งเสริมด้านการศึกษา
แกเ่ ดก็ และสนบั สนุนทนุ การศึกษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับจัดต้ังการศึกษาพิเศษ/หลักสูตรท้องถ่ินที่สอดคล้อง
กับวิถีชีวิตชุมชน เน่ืองจากเด็กชาวเลออกจากโรงเรียนก่อนจบการศึกษาภาคบังคับการส่งเสริมการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตาม พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์แนวทางการส่งเสริม หลักการ
คุ้มครองสิทธิทางวัฒนธรรม หลักการส่งเสริมศักยภาพกลุ่มชาติพันธุ์และหลักการสร้างความเสมอภาค
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 36
บนความหลากหลายทางวฒั นธรรม เพื่อหาแนวทางการพัฒนาทส่ี อดคล้องกับบริบทวถิ ชี วี ิต วัฒนธรรมของกลุ่ม
ชาตพิ นั ธช์ุ าวเล ในรปู แบบทเ่ี รียกว่า “สมชั ชากลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์”
จากผลการศึกษาด้านกลยุทธ์การจัดการชุมชน และพัฒนาระบบกลไกในการคุ้มครองดูแล
กล่มุ ชาติพนั ธุ์อยา่ งย่งั ยนื ในอนาคต พบวา่ มแี นวทางในพฒั นาตามกลยุทธ์ 7 ประการ ดังนี้
1. กลยุทธ์การส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดสรร
ทรพั ยากรท่มี ใี นชุมชนมาใชใ้ นการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ให้ความสาคัญกับการสร้างรากฐานเศรษฐกิจและสังคม
ให้เข้มแข็ง รักษาความสมดุลของทุนและทรัพยากรในมิติต่างๆ ตลอดจนสามารถปรับตัวพร้อมรับต่อ
การเปล่ยี นแปลงตา่ งๆ ไดอ้ ย่างรู้เทา่ ทัน
2. กลยทุ ธ์การสร้างเครือข่ายในการพ่ึงตนเองในระดับครอบครัว ภายในชุมชน และระหว่าง
ชุมชน ประสานการทางานรว่ มกนั ของขบวนองคก์ รชุมชน เพื่อให้เกิดพลังการเคลื่อนงาน หรือเป็นเครือข่ายแลกเปล่ียน
วัตถุดิบ แลกเปล่ียนสินค้า หรือเป็นคู่ค้า ฐานการผลิตซ่ึงกันและกัน เช่น เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เครือข่ายข้าว
ทอ่ งเทย่ี วชุมชน ร้านคา้ ชุมชน เป็นต้น
3. กลยุทธ์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รัฐต้องจัดการ
พื้นท่ีให้ชาวเลสามารถเข้าถึงทรัพยากรของชุมชนเพ่ือการดารงชีวิต เพ่ือให้เกิดการจัดการอย่างยั่งยืน การให้ชาวเล
สามารถประกอบอาชีพประมง หาทรัพยากรตามเกาะต่าง ๆ ได้
4. กลยุทธ์การส่งเสริมความมั่นคงในชีวิต ท่ีอยู่อาศัย อาชีพ รายได้ การศึกษา และสาธารณสุข
เพือ่ ยกระดบั คุณภาพชีวติ เสนอให้ภาครฐั กันแนวเขตทด่ี ินท่อี ยู่อาศัย ที่ทากิน และเขตหากินในทะเลออกจากการ
ประกาศเขตอนรุ ักษ์ เนอ่ื งจากเป็นพน้ื ทที่ ช่ี าวเลอยอู่ าศัยมาตง้ั แตบ่ รรพบรุ ุษ
5. กลยุทธ์การเสริมสร้างและพัฒนากฎหมายและการเข้าถึงสิทธิ การทาความเข้าใจกับ
รูปแบบการดารงชีวิตของชาวเลมีความสาคัญต่อการลดความเหล่ือมล้าในการพัฒนา รวมถึงการจัดการ
การเข้าถึงสิทธิต่างๆของชาวเล
6. กลยุทธ์การเสริมสร้างและการพัฒนาศักยภาพผู้นาและแกนนากลุ่ม จาเป็นต้องมีผู้นา
ที่เปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ ในการเขา้ มาจดั การชมุ ชน ความเปน็ อยู่ของพ่ีน้องชาวเล สร้างศักยภาพแกน
นาชาวเลในการจัดการข้อมูล สร้างการรวมกลุ่ม ผู้นาชาวเล เป็นผู้ท่ีมีบทบาทในการทางานเพื่อขับเคลื่อน
การพัฒนาและการดารงไว้ซ่ึงอัตลักษณ์ความเป็นตัวตนของชาวเล
7. กลยุทธ์การส่งเสริมการปกปูองคุ้มครองพื้นที่สาคัญทางจิตวิญญาณ พ้ืนท่ีศักดิ์สิทธิ์ และ
พน้ื ทีท่ าพิธีกรรม ส่งเสริมให้กลุม่ ชาตพิ ันธท์ุ ม่ี ีลักษณะวัฒนธรรมจาเพาะ ได้รับความคุ้มครองสิทธิ โดยคานึงถึง
วัฒนธรรมชมุ ชนพืน้ เมือง มที างเลอื กทจี่ ะดารงวถิ ีท่ีคลา้ ยคลงึ กับของเดิม
โดยมีข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ไปโยชน์ ผ่านกลไกการขับเคล่ือนงานของ
หน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น ควรมีการทางานแบบบูรณาการร่วมกัน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่ม
ชาตพิ นั ธุ์ชาวเลอย่างตอ่ เน่อื ง องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เปน็ หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบกลุ่มชาติพันธุ์ในพ้ืนที่
เพอื่ ให้เกดิ การขับเคลื่อนงานอย่างมีประสิทธิภาพ ควรรื้อฟ้ืน “กองกิจการชาติพันธุ์” และจัดให้มีศูนย์พัฒนา
กลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล เพ่ือเป็นกลไกการประสานและขับเคล่ือนงาน มีหน่วยงานรับผิดชอบหลักในเรื่อง
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 37
การสารวจ และจัดทาฐานข้อมูลของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลเพ่ือสร้างฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและสามารถให้
หน่วยงานอ่นื ๆนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ มหี น่วยงานในการกากับและติดตามการขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพชีวิต
ชาวเลของหนว่ ยงานในระดบั ภมู ิภาค และหน่วยงานในพ้ืนที่ ให้การดาเนินงานเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีว่า
ด้วยการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล และติดตามการดาเนินงานเร่ืองเขตวัฒนธรรมพิเศษของกลุ่มชาติพันธุ์ สนับสนุน
การจดั ทาเอกสารสิทธ์ิในท่ีดินของชาวเล การอนุญาตให้ชาวเลมีพ้ืนที่ทากิจในเขตอุทยาน ส่งเสริมและพัฒนา
ศักยภาพผู้นาชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เนื่องจากผู้นาชุมชนมีผลต่อการเข้าถึงข้อมูลของพ่ีน้องชาวเล และเพ่ือ
เพ่ิมพลงั อานาจในการต่อรองในประเด็นการพฒั นากลุ่มชาติพนั ธุใ์ นแต่ละพนื้ ที่
ประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั
1) ทราบสภาพปญั หาและปัจจยั ความต้องการที่เก่ียวขอ้ งกับการจัดการชมุ ชนของกลุ่มชาติ
พนั ธใุ์ นบรบิ ทพหุวัฒนธรรมภาคใต้
2) ทราบแนวทางการส่งเสรมิ ให้กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุมีคุณภาพชีวิตที่ดีทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ
3) ทราบกลยุทธ์การจดั การชุมชน และพัฒนาระบบกลไกในการคุ้มครองดแู ลกลมุ่ ชาติพนั ธุ์
อย่างยงั่ ยนื ในอนาคต
ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยครั้งตอ่ ไป
1. ควรทาการศึกษาวิจัยเชิงลึก ตามกลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มเปูาหมาย หรือตามสภาพพ้ืนที่ตั้งถิ่น
ฐานท่ีอยอู่ าศัย เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงขอ้ มูลขอ้ เทจ็ จรงิ ทีส่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหา
ของกลุ่มชาติพนั ธุ์
2. ควรรว่ มกบั หน่วยงานรับผิดชอบในพ้ืนที่ และแกนนากลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล ในการสร้างทีมวิจัยชุมชน
เพ่ือทาการศึกษาข้อมูลเชิงลึกในแต่ละครัวเรือนและชุมชน เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลข้อเท็จจริงท่ีสอดคล้องกับบริบท
ในปจั จบุ นั
3. การศกึ ษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ ควรมีการศึกษาและเก็บข้อมูลเชิงลึก ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง
กับบริบทพื้นที่ ความเป็นมาของปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา และความต้องการท่ีจะพัฒนาคุณภาพชีวิตใน
แตล่ ะกลุ่มและแตล่ ะพนื้ ท่ี เพื่อไดม้ าซ่งึ ข้อมูลเฉพาะกลมุ่ และพ้นื ท่ี
นอกจากนี้ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 อยู่ระหว่างการขับเคลื่อน
โครงการวจิ ยั ปงี บประมาณ 2565 - 2566 โดยปี 2565 ไดท้ าการศกึ ษาวิจัย เร่ือง การมีสว่ นร่วมทางสังคมของ
ผสู้ ูงอายุกบั การท่องเทยี่ ววสิ าหกิจชุมชน โดยมีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางสังคมของผู้สูงอายุ
กับการท่องเที่ยววิสาหกิจชุมชน 2) เพื่อศึกษาประเภทของกิจกรรมอันพึ่งประสงค์ของผู้สูงอายุกับการท่องเที่ยว
วสิ าหกิจชมุ ชน และ 3) เพ่ือศกึ ษาปัจจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับความสาเร็จของผู้สูงอายุในการทางานด้านการท่องเท่ียว
วิสาหกิจชมุ ชน โดยมีพื้นที่ดาเนินการ 3 พ้ืนที่ ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์บ่อแสน จังหวัด
พังงาวิสาหกิจชุมชนกลุ่มอนุรักษ์ปุาชายเลนบ้านแหลมโฮมสเตย์ (บ้านหน้าทับ) จังหวัดนครศรีธรรมราช
และวสิ าหกิจชุมชนกลมุ่ ทอ่ งเท่ียวเกษตรเชิงอนุรักษบ์ ้านบางเทาเชงิ ทะเล จังหวดั ภเู กต็
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 38
สาหรับการขับเคล่ือนครงการวิจัยปี 2566 ทาการศึกษาวิจัย เร่ือง การศึกษารูปแบบแนว
ทางการให้ความช่วยเหลือทางสังคมที่เหมาะสมในสถานการณ์วิกฤต (Covid-19) กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต
โดยมวี ัตถุประสงค์
1) เพ่ือศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมต่อการปรับตัวกับการดาเนินวิถีชีวิตใหม่
ของกลุ่มเปราะบางจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในจังหวัดภูเก็ต
2) เพื่อศึกษาการปรับตัวกับการดาเนินวิถีชีวิตใหม่ พร้อมท้ังการได้รับความช่วยเหลือจาก
หนว่ ยงานของรฐั และเอกชนอยา่ งไรในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-
19) ในจังหวดั ภเู ก็ต
3) เพ่ือศึกษารูปแบบแนวทางที่เหมาะสมในการจัดบริการทางสังคมให้แก่กลุ่มเปราะบาง
ในสถานการณ์วิกฤติ (COVID-19) ซึ่งจะเป็นส่วนหน่ึงของศูนย์ช่วยเหลือสังคมตาบล โดยพื้นท่ีดาเนินการ
จังหวัดภูเกต็
ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสรปุ ผลการวจิ ยั เชงิ ปริมาณ และการเก็บขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพในพ้ืนที่จังหวดั พังงา
ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสรปุ ผลการวิจัยเชงิ ปรมิ าณ และการเกบ็ ข้อมูลเชงิ คุณภาพในพ้ืนทีจ่ งั หวดั ภเู ก็ต
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 39
การประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารสรปุ ผลข้อมลู วิจัยเพอื่ ประมวลผลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชิงคณุ ภาพในพืน้ ทจ่ี ังหวดั พงั งา
ลงพ้ืนท่ี Focus ณ ชมุ ชนบ้านทบั ตะวัน ต.บางมว่ ง อ.ตะกวั่ ปา่ จ.พงั งา
ลงพืน้ ที่ Focus ณ ชุมชนบ้านน้าเคม็ ต.บางมว่ ง อ.ตะก่ัวปา่ จ.พงั งา
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 40
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสรปุ ผลขอ้ มลู วจิ ัยเพื่อประมวลผลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชิงคุณภาพ
ในพนื้ ท่จี ังหวดั ภเู กต็
ลงพื้นทชี่ ุมชนแหลมต๊กุ แก ต.รษั ฎา อ.เมอื ง จ.ภูเก็ต
ณ ชมุ ชนบา้ นหินลูกเดียว ต.ไม้ขาว อ.ถลาง จ.ภูเกต็
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 41
2.1.6 ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านสังคมในระดับพ้ืนที่ ประจาปี 2565 เรื่อง การพัฒนา
คุณภาพชีวิตและการพัฒนากลไกเพ่ือลดความเหล่ือมล้าทางสังคมการจัดการชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล
(Quality of Life Development and Enhancing Mechanism for Community Management
to Narrowing Inequality Gaps in "Chao Lay" Ethic Minority Group)
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือรองรับทิศทางการพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคม ให้มีองค์ความรู้และสมรรถนะให้
พร้อมสาหรับการปฏิบัติงาน
2. เพ่ือการพัฒนาเชิงพ้ืนที่อย่างมีประสิทธิภาพท้ังด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนและมี
ประสิทธิภาพในการดาเนินงานตามหลักภารกิจพ้ืนฐานงานประจา งานหน้าที่ปกติหรืองานตามหน้าที่
ความรับผิดชอบหลกั งานตามกฎหมายนโยบายของรัฐบาล หรือมตคิ ณะรัฐมนตรี (Function Base)
3. เพ่อื สรปุ บทเรียนแนวทางการสร้างการมีส่วนรว่ มในการพัฒนาสังคมระดบั พื้นที่
4. เพ่อื เปน็ ขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย และแนวทางการขยายผลการดาเนนิ งานตอ่ ไป
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 (สสว.10) มีบทบาทในการพัฒนางานด้าน
วิชาการเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่และกลุ่มเปูาหมาย
และเห็นถึงความสาคัญในการเตรียมความพร้อมด้านองค์ความรู้และความเข้าใจของบุคลากรเพื่อรองรับทิศ
ทางการพัฒนางานดา้ นการพฒั นาสังคมใหม้ ีองค์ความรู้และสมรรถนะพร้อมสาหรบั การปฏิบัติงาน เพ่ือพัฒนา
เชิงพ้ืนท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายด้านสังคมในระดับพื้นท่ีประจาปี 2565
ในประเด็น "การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนากลไกการจัดการชุมชนกลุ่มชาติพันธ์ชาวเล เพื่อลดความ
เหลอื่ มล้า ทางสังคม" มีบทสรุป ดงั นี้
จากการศกึ ษาวิจยั เรือ่ ง กลยุทธ์การจดั การชุมชนเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของกลมุ่ ชาติพันธ์ใน
บริบทพหุวัฒนธรรมภาคใต้ พบว่า การเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ตามช่วงเวลา ส่งผลให้เกิดปัญหาและ
โอกาส ในการปรบั ตัวของชาติพันธุ์ชาวเลตลอดเวลา ปัญหาความเดือดร้อนส่วนใหญ่ของชาวเล เก่ียวข้องกับ
ความไมม่ นั่ คงในทอี่ ยู่อาศัย การไมม่ ีเอกสารสิทธ์ิชาวเลสว่ นใหญย่ ังคงแสวงหาสิทธิขัน้ พน้ื ฐาน แม้ว่าปัญหาเรื่อง
สถานะบุคคลและการเข้ารับบริการข้ันพ้ืนฐานของรัฐจะมีโอกาสมากขึ้น แต่กิจกรรมการดารงชีพและการ
ดารงชวี ิต กย็ งั คงสมุ่ เส่ียงกบั การกระทาผดิ กฎหมาย เช่น การประกอบอาชีพประมงในเขตอนุรักษ์ และพื้นท่ี
คุม้ ครองทางทะเล ประเดน็ ปัญหาและความเปราะบางในวิถีชวี ิตชาวเล ท่ียงั คงปรากฏให้เห็น คือ 1. ปัญหาการ
ขาดความม่ันคงด้านที่อยู่อาศัย พ้ืนท่ีทากิน พ้ืนที่ทางจิตวิญญาณ 2. ปัญหาความเปราะบางทางเศรษฐกิจ
3. ปญั หาการไร้สัญชาติ 4. ปัญหาการเขา้ ถึงการจัดสรรทรัพยากรชุมชนและบริการรัฐ และ 5. ปัญหาความไม่
เข้าใจ ไมเ่ ห็นคณุ คา่ ในวิถีวัฒนธรรม
จากการจดั เก็บและวิเคราะหข์ อ้ มูลระดับพื้นท่ี โดยการใช้เครื่องมือแบบสอบถามและระบวน
การวิจัย โดยกาหนดจัดเก็บข้อมูลในพ้ืนที่จังหวัดพังงา และจังหวัดภูเก็ต สรุปสภาพปัญหาและความต้องการ
ของกล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ชาวเลได้ ดังน้ี
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 42
1. ด้านเศรษฐกิจของครอบครัว พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลยังคงประสบปัญหารายได้ไม่
เพียงพอต่อการยังชีพ โดยครัวเรือนท่ีมีหนี้สินยังมีการวางแผนเพื่อการจัดการหน้ีสินและชาระหนี้ได้ตาม
แผนการชาระหนีไ้ ด้ในระดับน้อย อย่างไรก็ตามก็ยังคงมีครอบครัวชาวเลอีกบางครัวเรือนท่ีมีอาชีพม่ันคงและ
สามารถดแู ลครอบครัวได้
2. ด้านสาธารณสุขและการศึกษา พบว่า กลุ่มชาติพันธ์ุและสมาชิก สามารถเข้าถึงบริการ
ดา้ นสาธารณสุข จากภาครฐั ได้สะดวก รวดเร็ว มากข้ึน ในด้านการศึกษา เด็กสามารถเข้าเรียนในสถานศึกษา
ของรัฐได้ อย่างไรก็ตามกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเลยังคงเสนอให้ภาครัฐส่งเสริมให้เยาวชนชาวเลได้รับการศึกษาโดย
เป็นการเรียนร้วู ชิ าสามญั ทว่ั ไป ควบค่กู บั การเรียนรู้ทางวัฒนธรรมชาวเล กาหนดหลักสูตรท้องถิ่นของเยาวชน
ชาวเล
3. ด้านท่ีอยู่อาศัย พบว่า ที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลมีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน
ของรฐั เขา้ ถึงมากข้ึน ทั้งดา้ นไฟฟาู ประปา สญั ญาณอินเตอร์เนต็ มีรูปแบบบ้านที่ม่ันคงและเหมาะสมกับขนาด
ของครอบครัวมากข้ึน แต่ก็ยังคงพบว่ามีชาวเลบางส่วนท่ีมีปัญหาด้านท่ีอยู่อาศัยและท่ีทากินท่ีอยู่ในพื้นท่ี
ของรัฐ พ้ืนที่อุทยาน และเขตปุาสงวนหรือบางชุมชนตั้งอยู่บนพื้นที่เศรษฐกิจ ถูกคุกคามพื้นท่ีทางสังคมจากคน
ภายนอก
4. ด้านวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลมีภูมิปัญญาชาวเลด้านการประมง และมี
ประเพณีวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับความเช่ือ ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ และการแสดงถึงอัตลักษณ์ของชาวเล แต่ในปัจจุบัน
การสบื ทอดประเพณีวัฒนธรรมเรม่ิ ลดน้อยลง มขี อ้ เรียกร้องให้รัฐประกาศพื้นที่วัฒนธรรมพิเศษ ซ่ึงเป็นพื้นที่ที่
ชมุ ชนมีการดาเนินวิถีชีวิตบนฐานองค์ความรู้ภูมิปัญญาตามประเพณีของกลุ่มชาวเล และผสานเข้ากับความรู้
ใหมๆ่ ไดอ้ ยา่ งสอดคลอ้ งกบั บริบทท้องถนิ่ ท่ีเป็นบรบิ ทปจั จุบนั
การรวมกลุม่ และการสรา้ งเครือขา่ ย
ภายหลังเหตุการณ์สึนามิในเดือนธันวาคม 2547 รัฐบาลโดยคณะรัฐมนตรีได้มีนโยบาย
เร่งด่วนให้แตง่ ตง้ั คณะกรรมการเข้าไปชว่ ยเหลอื ชุมชนในพน้ื ทที่ ไ่ี ด้รับผลกระทบอย่างเร่งด่วน ในขณะเดียวกัน
ภายใต้ การสนับสนุนของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP : United Nations Development
Programme) และภาคีความร่วมมือของมูลนิธิชุมชนไท ได้ประสานความร่วมมือกับองค์กรชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น นกั วชิ าการ เข้าไปใหค้ วามช่วยเหลอื ชาวเลที่ประสบภยั สนึ ามิ ตามโครงการ “ฟื้นฟูวิถีชีวิต
ดั้งเดิมของชุมชนและการจัดระบบนิเวศท่ีย่ังยืน” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ชุมชนผู้ประสบภัยสึนามิ
ฟนื้ คืนสภู่ าวะปกติ ฟื้นฟแู ละบูรณาการองค์ความรู้ดงั้ เดิมเกี่ยวกบั วิถชี ีวิต ศิลปวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทาแผนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมอย่างย่ังยืน และสร้างกลไกความร่วมมือแบบพหุภาคีระหว่างรัฐ เอกชน และชุมชน ในการ
จดั ทาแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมที่ยง่ั ยนื ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายการส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง
สามารถค้นหาศักยภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเอง เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบพึ่งพาตนเองได้
ในขณะเดียวกันกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเลซ่ึงเป็นกลุ่มวัยกลางคนและเยาวชน ได้เกิดการรวมกลุ่มและมีความเห็น
ตรงกันว่าการมีส่วนร่วมในการสะท้อนปัญหาของชาวเลให้กับหน่วยงานรัฐรับรู้เป็นสิ่งสาคัญ หลังจากท่ีมีมติ
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 43
คณะรัฐมนตรีเรื่องการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเลในปี พ.ศ.2553 จึงเกิดการรวมตัวกันเคลื่อนไหวประเด็นปัญหาร่วม
และเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของสมาชิกสภาชาติพันธ์ุและชนเผ่าพ้ืนเมืองแห่งประเทศไทย โดยมีประเด็นสาคัญท่ี
ร่วมกนั ผลักดัน คอื การแก้ไขปญั หาความมั่นคงด้านท่ีอยู่อาศัย พื้นท่ีทากินและพื้นที่ทางจิตวิญญาณ และการ
เสนอพืน้ ที่คุ้มครองทางวัฒนธรรม
เครอื ข่ายภาคเอกชนท่ีดาเนินงานด้านกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล มีหลายองค์กรซึ่งเป็นกลไกสาคัญ
ระดับพน้ื ทใี่ นการพฒั นา และเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนชาวเล รวมทั้งการนาเสนอประเด็นปัญหาและ
ขอ้ เสนอเชิงนโยบายท้ังในระดบั ประเทศและระดับจังหวดั เช่น มลู นธิ ชิ มุ ชนไท เครือข่ายชุมชนฟ้ืนฟูเกาะลันตา
เครอื ข่ายสทิ ธิคนจนพฒั นาภเู กต็ และเครอื ข่ายชาวเลอันดามนั
จากการดาเนินงานของเครือข่ายกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล จะเห็นได้ว่าสถานการณ์ปัญหาสาคัญ
ท่ียังคงต้องการให้รัฐบาลดาเนินการแก้ไขเก่ียวข้องกับความมั่นคงและสิทธิในท่ีอยู่อาศัยและที่ทากิน
การประกาศพ้ืนท่ีเป็น “เขตวัฒนธรรมพิเศษ” คุณภาพชีวิตและการลดความเหล่ือมล้าในการเข้าถึงบริการ
สาธารณปู โภคข้ันพื้นฐานและบริการแห่งรัฐ โดยเฉพาะบรกิ ารดา้ นสุขภาพ การศกึ ษา อาชีพ และการมีส่วนร่วม
ในชมุ ชนเพื่อการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็ง ทั้งในระดับชุมชนและเครือข่าย ในขณะท่ีรัฐบาลโดยการดาเนินงาน
ของกระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องก็ยังคงมีบทบาทสาคัญในการดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 2
มถิ ุนายน พ.ศ.2553 ซึ่งสะท้อนให้เหน็ ว่ารัฐมนี โยบายอย่างเป็นทางการท่ีจะทางานฟื้นฟูวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธุช์ าวเลใหม้ คี ณุ ภาพชีวิตที่ดี มีสทิ ธิตามรัฐธรรมนูญไทย และเขา้ ถงึ โอกาสทางสงั คมอยา่ งเทา่ เทียม
จากการวเิ คราะห์ SWOT กลุ่มชาติพนั ธุช์ าวเลในบริบทพหุวัฒนธรรมภาคใต้ พบว่า กลุ่มชาติ
พันธ์ุท้ังชาวมอแกน มอแกลน และอูรักลาโว้ย ต่างมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับธรรมชาติ ทาให้สั่งสมความรู้พื้นบ้าน
และการเรียนรู้ปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านของทะเล มีการถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญาท้ังการ
ประกอบอาชีพ การต่อเรือ วัฒนธรรมประเพณี ความเช่ือจากรุ่นสู่รุ่น เกิดเป็นวิถีปฏิบัติการใช้ประโยชน์และ
ความเขา้ ใจตอ่ สภาพส่งิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ
ผู้ศึกษาวิจัยได้นาผลการวิเคราะห์ SWOT มากาหนดกลยุทธ์ เพ่ือนามาใช้ในการวางกลยุทธ์
การจัดการชมุ ชนและพฒั นาระบบกลไกในการคมุ้ ครองดูแลกลุ่มชาติพันธุ์อย่างยั่งยืนในอนาคต โดยผู้วิจัยได้ใช้
วิธีการกาหนดกลยุทธ์ด้วยเคร่ืองมือ TOWS Matrix โดยมีการกาหนดกลยุทธ์ท้ัง 4 ด้าน ประกอบด้วย
1. กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) 2. กลยุทธ์เชิงปูองกัน (ST Strategy) 3. กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO Strategy)
4. กลยุทธเ์ ชิงรบั (WT Strategy)
กลยทุ ธ์การจัดการชมุ ชน และพัฒนาระบบกลไกในการค้มุ ครองดูแลกลุ่มชาติพันธ์ุอย่างยั่งยืน
ในอนาคต ให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองโดยผลักดันและส่งเสริมศักยภาพชุมชนให้สอดคล้องกับการพัฒนา
ประเทศ และการทาให้ชุมชนเป็นรากฐานของการพัฒนาที่ย่ังยืน มีแนวทางในการพัฒนาตามกลยุทธ์ 7
ประการ ดังน้ี
1. กลยุทธก์ ารสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ชุมชนตามแนวทางหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2565 44
การจดั สรรทรัพยากรท่มี ีในชมุ ชนมาใช้ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการเสริมสร้าง
พลังใหป้ ระเทศไทยสามารถพฒั นาไปได้อย่างม่ันคง ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ โดยให้ความสาคัญกับการสร้าง
รากฐานเศรษฐกิจและสังคมให้เข้มแขง็ รกั ษาความสมดุลของทุนและทรัพยากรในมิติต่าง ๆ ตลอดจนสามารถ
ปรับตัวพร้อมรับต่อการเปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ ได้อยา่ งรูเ้ ท่าทัน
2. กลยทุ ธก์ ารสร้างเครือข่ายในการพึ่งตนเองในระดับครอบครัว ภายในชุมชน และระหว่าง
ชุมชน
การบริหารจดั การ สานสัมพันธเ์ ชอ่ื มโยงประสานการทางานร่วมกันของขบวนองค์กรชุมชนที่
ทางานในลักษณะเดียวกัน เพื่อให้เกิดพลังการเคล่ือนงาน หรือเป็นเครือข่ายแลกเปล่ียนวัตถุดิบ แลกเปลี่ยน
สินค้า หรือเป็นคู่ค่า ฐานการผลิตซ่ึงกันและกัน เช่น เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ เครือข่ายข้าว ท่องเท่ียวชุมชน
รา้ นค้าชุมชน การจัดการทอ่ี ยู่อาศยั (บา้ นมนั่ คง) การกอ่ สร้างชุมชน/ช่างชุมชน ประมงพ้ืนบ้าน การจัดการภัย
พบิ ตั หิ รอื ภยั จากธรรมชาติ สภาองค์กรชุมชน เครอื ข่ายภมู ินิเวศน์วถิ ี วฒั นธรรม เป็นต้น
3. กลยทุ ธ์การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอยา่ งยั่งยืน
การจัดการชุมชนด้านการเข้าถึงทรัพยากร รัฐต้องจัดการพื้นที่ให้ชาวเลสามารถเข้าถึง
ทรพั ยากร เพ่ือการดารงชวี ติ การประกอบอาชพี ประมงและเกษตรกรรม ใหช้ าวเลสามารถเข้าถงึ ทรัพยากรของ
ชมุ ชน เพื่อให้เกดิ การจดั การอย่างย่ังยนื การใหช้ าวเลสามารถประกอบอาชีพประมงหาทรัพยากรตามเกาะต่าง
ๆ ได้ และเสนอผ่อนปรนพเิ ศษในการประกอบอาชีพประมงที่ใช้อุปกรณ์ดั้งเดิมของกลุ่มชาวเลในการเข้าไปทา
มาหากินในพื้นที่อุทยานและเขตอนุรักษ์อื่น ๆ และกันพื้นท่ีจอดเรือในขณะที่การขยายเขตอนุรักษ์ของรัฐได้
จากัดการทามาหากินทางทะเลของชาวเลทั้งสามกลุ่ม การขยายตัวของพ้ืนที่เอกชนอันเน่ืองมาจากการ
ทอ่ งเทย่ี วก็ทาใหโ้ อกาสการทาประมงลดลงด้วย แนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ในปัจจุบันได้ส่งผล
ให้เจา้ หนา้ ทีม่ กี ารตรวจตราและจับกมุ มากขึน้ ซึ่งรวมทง้ั การยึดเรอื และของกลางอื่นๆ
4.กลยุทธ์การสง่ เสรมิ ความมั่นคงในชวี ิต ทอี่ ยู่อาศัย อาชีพ รายได้ การศึกษาและสาธารณสุข
เพ่อื ยกระดบั คุณภาพชีวติ
การจัดการชุมชนด้านการสร้างความมั่นคงในท่ีดินทากินและท่ีอยู่อาศัย ต้องให้ความสาคัญ
กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยนโยบายกาหนดเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เพิ่มความกดดันในการ
ดารงชีวิตของชาวเล การจับกุมและบังคับห้ามเก็บของปุา ห้ามจับสัตว์น้า ห้ามจอดเรือและตั้งท่ีพักในเขต
อทุ ยาน ทาใหช้ าวเลถกู กีดกนั ออกจากแหลง่ อาหารตามธรรมชาติ ออกจากการใช้พ้ืนท่ีพิธีกรรม รวมถึงวิธีการ
ดารงชวี ิตแบบดัง้ เดิม จนแทบจะไม่สามารถใช้ชวี ติ ตามวัฒนธรรมที่สืบทอดมาต้ังแต่สมัยบรรพบุรุษได้อีกต่อไป
ทาให้ชาวเลไม่มีสิทธิในการเข้าไปทามาหากินในท่ีทากินด้ังเดิมที่เคยหากินกันมาแต่รุ่นบรรพบุรุษ เสนอให้
ภาครัฐกนั แนวเขตที่ดนิ ทอ่ี ยู่อาศัย ท่ีทากิน และเขตหากินในทะเลออกจากการประกาศเขตอนุรักษ์ เนื่องจาก
เป็นพ้ืนทท่ี ี่ชาวเลอย่อู าศัยมาตัง้ แตบ่ รรพบุรุษ
5. กลยุทธ์การเสรมิ สร้างและพัฒนากฎหมายและการเขา้ ถึงสิทธิ
การจัดการชุมชนดา้ นการทาความเข้าใจกับรูปแบบการดารงชีวิตของชาวเลมีความสาคัญต่อ
การลดความเหลื่อมล้าในการพัฒนา วธิ เี คลื่อนไหวทางสังคมทีช่ าวเล ใชโ้ ต้ตอบกับการครอบงา ของนโยบายรัฐ
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 45
และกลุ่มทุน มีกฎหมายท่ีชัดเจนในการจัดการปัญหาคนชายขอบให้สอดคล้องกับพลวัตของการพัฒนาท่ีต้อง
ไม่ละทิ้งการปรับกฎเกณฑ์ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวเล การทาความเข้าใจกับรูปแบบการดารงชีวิต
ของชนเผ่าพน้ื เมอื งชาวเล ท่ีผกู พนั อยู่กบั ทรัพยากรมีความสาคัญตอ่ การลดความเหลอื่ มล้าในการพฒั นา รวมถึง
การจดั การการเข้าถึงสิทธิตา่ ง ๆ ของชาวเล
6. กลยุทธ์การเสรมิ สรา้ งและการพัฒนาศกั ยภาพผนู้ าและแกนนากลุม่
การจัดการชุมชนของพ่ีน้องกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล จาเป็นต้องมีผู้นาท่ีเป็นทางการและไม่เป็น
ทางการ ในการเข้ามาจัดการชุมชน ความเป็นอยู่ของพ่ีน้องชาวเล ในการสร้างศักยภาพแกนนาชาวเลในการ
จัดการข้อมูล การส่ือสารท่ีสร้างความเข้าใจเก่ียวกับการต่อสู้ด้วยกระบวนการยุติธรรมให้กับสมาชิกในชุมชน
สร้างการรวมกลุ่มเพอ่ื จดั การกบั ปญั หาทด่ี ินและความเปราะบางทางวฒั นธรรม ผ้นู าชาวเล เป็นผู้ที่มีบทบาทใน
การทางานเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาและการดารงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ความเป็นตัวตนของชาวเล เพ่ือนาพาชุมชน
ชาวเลไปสู่การสร้างความเท่าเทยี มกนั ในการอยู่ร่วมกันของผู้คนในสงั คม
7. กลยุทธ์การส่งเสริมการปกปูองคุ้มครองพ้ืนที่สาคัญทางจิตวิญญาณ พ้ืนท่ีศักดิ์สิทธิ์
และพืน้ ทท่ี าพธิ กี รรม
สง่ เสรมิ ให้กลมุ่ ชาติพนั ธุ์ทีม่ ลี กั ษณะวฒั นธรรมจาเพาะ มลี กั ษณะเป็นชุมชนพ้ืนเมืองท่ีมีคุณค่า
มีความผกู พนั ในทด่ี ินและทรพั ยากรธรรมชาติ ได้รับความคุ้มครองสิทธิ โดยคานึงถึงวัฒนธรรมชุมชนพื้นเมือง
ส่งเสริมให้มีทางเลือกที่จะดารงวิถี ท่ีคล้ายคลึงกับของเดิม ให้มีการทามาหากินโดยใช้ความรู้และเทคโนโลยี
พืน้ บา้ นในพื้นท่ีซึ่งมีกฎระเบียบพิเศษ เชน่ ในเขตอทุ ยานแห่งชาติ ส่งเสริมการปกปูองคุ้มครองพื้นที่สาคัญทาง
จิตวิญญาณ พน้ื ทีศ่ กั ด์ิสทิ ธิ์ และพ้ืนที่ทาพิธีกรรม เพ่อื นาไปสกู่ ระบวนการพฒั นาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ุ
ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและอนุรักษ์วิถีชีวติ กลุ่มชาติพนั ธ์ุ
จากการวเิ คราะหผ์ ลการวิจยั เรอื่ ง กลยุทธ์การจัดการชุมชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่ม
ชาตพิ ันธ์ในบรบิ ทพหุวฒั นธรรมภาคใต้ จึงมี "ข้อเสนอเชงิ นโยบาย" ดังนี้
1. ดา้ นกฎหมายและกลไกการพัฒนาคุณภาพชวี ิตกลุ่มชาติพนั ธุช์ าวเล
(1) ผลักดันและขับเคล่ือนยุทธศาสตร์และแผนแม่บทการพัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุและชนเผ่าให้
เป็นนโยบายแหง่ ชาติ ทม่ี กี ารระบุเปูาประสงค์ กลุ่มเปูาหมาย หรือนิยามคาว่า “กลุ่มชาติพันธุ์” และ “ชนเผ่า”
ใหม้ คี วามชดั เจนว่า หมายถงึ กล่มุ ใดโดยกาหนดภารกจิ แตล่ ะกระทรวงท่ีเกยี่ วข้อง และกาหนดมาตรการบังคับ
ให้แตล่ ะกระทรวงรายงานความก้าวหนา้ ผลการดาเนนิ งานประจาปอี ยา่ งต่อเนอ่ื ง
(2) กาหนดให้มีคณะกรรมการระดับชาติ ที่มีบทบาทสาคัญในการวางยุทธศาสตร์การพัฒนา
คุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธ์ุและชนเผ่า ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามมติ ครม. และ พระราชบัญญัติคุ้มครอง
และส่งเสริมวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อยกระดับความเป็นพลเมือง การสร้างคุณค่า การฟ้ืนฟูประเพณี
วัฒนธรรม การเขา้ ถึงสทิ ธิบริการภาครัฐอยา่ งเท่าเทยี ม เป็นธรรม
(3) ผลักดนั ให้เกดิ โครงสร้างคณะกรรมการระดบั ภมู ิภาค/ท้องถน่ิ ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
กลุม่ ชาติพนั ธชุ์ าวเล เพื่อเป็นกลไกใหเ้ กดิ การบูรณาการรว่ มกันระหวา่ งหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง รวมถึงเป็น
กลไกในการสะทอ้ นความตอ้ งการเชิงนโยบายระดบั พนื้ ที่
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2565 46
(4) จัดตั้ง “กองทุนเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอัตลักษณ์กลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล”
โดยระดมทุนทง้ั ภาครัฐบาลและเอกชน มวี ัตถุประสงค์เพื่อการส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล
ทง้ั ดา้ นการสง่ เสรมิ การศึกษา การพัฒนาเครือขา่ ย และการส่งเสริมความรว่ มมอื ภายในและภายนอกประเทศ
(5) สนับสนุนให้เกิดการประกาศ “เขตวัฒนธรรมพิเศษ” เพื่อให้กลุ่มชาติพันธุ์ที่มี
ลกั ษณะเฉพาะได้รับการค้มุ ครองสทิ ธิ ทั้งด้านการอนุรกั ษป์ ระเพณีวัฒนธรรม การคมุ้ ครองพื้นทีท่ างจติ วญิ ญาณ
หรือพื้นทีศ่ ักดิ์สทิ ธิ์ พน้ื ที่ทาพธิ กี รรม รวมทงั้ สง่ เสริมความร้แู ละเทคโนโลยีพื้นบ้านในพื้นท่ีที่มีกฎระเบียบพิเศษ
เชน่ ในเขตอทุ ยานแห่งชาติ เปน็ ต้น
(6) การบรรจุวาระ “การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล” เป็นวาระของจังหวัดและ
บรรจุไว้ในแผนพัฒนาจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด เพ่ือเป็นกลไกสนับสนุนการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง
หนว่ ยงานและเป็นช่องทางในการนางบประมาณพัฒนากลุ่มเปูาหมายเฉพาะได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของพ้ืนท่ี
(7) ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น เป็นองคก์ รหลกั ระดบั พนื้ ทใี่ นการขบั เคลือ่ นการดาเนินงาน
พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาติพนั ธช์ุ าวเล และบรรจุเป็นสว่ นหนึ่งในแผนพฒั นาท้องถ่ิน
2. ดา้ นการส่งเสริมและพัฒนาศกั ยภาพเครอื ขา่ ย
(1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการพัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุ อาทิ การจัดเวทีสมัชชา
หรือเวทีวิชาการ เพ่อื การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
(2) ส่งเสรมิ ให้ภาคเอกชน องค์กรเอกชน นักวิชาการ เข้ามามีส่วนร่วมด้านการสนับสนุนทุน
องค์ความรู้เทคโนโลยีแก่กลุ่มชาติพันธ์ุ เชื่อมโยงกับมาตรการจูงใจด้านภาษี เพื่อให้เกิดการระดมทรัพยากร
ในการพัฒนากลุ่มเปาู หมายเฉพาะอย่างต่อเนือ่ ง
3. ดา้ นนวตั กรรมการวิจยั และงานวชิ าการ
(1) ส่งเสริมการตระหนัก ความเข้าใจในคุณค่าความสาคัญของประเพณีวัฒนธรรมของกลุ่ม
ชาตพิ นั ธ์ชุ าวเล โดยเชอ่ื มโยงกบั การดาเนนิ งานเชิงวิชาการ สนับสนุนให้เกิดการสัมมนาวิชาการระดับประเทศ
การสนับสนุนให้เกิดหลักสูตรท้องถ่ินและการวิจัยเชิงปฏิบัติการ พร้อมท้ังมีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
และการวิจัยใหเ้ ปน็ ทร่ี ับรอู้ ย่างกวา้ งขวาง
(2) สง่ เสริมการวิจัยด้านสังคมเพื่อการพัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุชาวเล โดยมุ่งเน้นการวิจัยแบบมี
ส่วนร่วม และการศึกษาลักษณะพิเศษของชุมชนแต่ละพื้นท่ี เชื่อมโยงสู่การกาหนดแนวทางและมาตรการ
สง่ เสริมความเขม้ แข็งระดบั ชุมชน
4. ดา้ นการจดั การระบบสาธารณปู โภค
การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคท่เี ข้าถึงกลมุ่ ชาติพันธุใ์ นแต่ละชุมชน โดยพจิ ารณางบประมาณ
สาหรับโครงการสาธารณูปโภคต่างๆ ของรัฐ และกาหนดเป็นข้อยกเว้นพิเศษ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สามารถดาเนินการขยายบริการสาธารณปู โภคแก่กลุม่ ชาตพิ ันธุช์ าวเลในพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบได้
5. ด้านการจดั การที่ดินทากิน
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ 2565 47
ปรับปรุงและจัดทาข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ท่ีดินให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตชาวเล หรือข้อ
กาหนดการใชป้ ระโยชน์ที่ดินในพื้นที่เฉพาะ และจัดให้มีรูปแบบหลักฐานที่ชัดเจน เพ่ือลดข้อพิพาทหรือความ
ขดั แยง้ ทเ่ี กิดข้ึนจากการอยอู่ าศยั การทากิน และพน้ื ท่ที างประเพณีหรือจติ วิญญาณ
6. ด้านการจัดการฐานขอ้ มูล
พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล และกลุ่มชาติพันธ์ุหรือชนเผ่า ให้เป็นปัจจุบัน
มกี ารจัดตงั้ หน่วยงานรบั ผิดชอบหลักที่ชัดเจน จัดให้มีการสารวจข้อมูลประชากร การอยู่อาศัย การเข้าถึงสิทธิ
สวสั ดกิ ารหรือบริการของรัฐ เปน็ ประจาทกุ ปี เพือ่ เปน็ ข้อมลู ในการกาหนดทิศทางการพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง
นอกจากข้อเสนอเชงิ นโยบายต่อการดาเนนิ งานของกระทรวงที่เกี่ยวข้องแล้ว การนานโยบาย
สู่การปฏิบัติและการกาหนดบทบาทภารกิจของแตล่ ะหน่วยงานท่ชี ัดเจนจะเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนให้
นโยบายบรรลุเปูาประสงค์ ดังนน้ั หนว่ ยงานระดับภมู ภิ าคหรือระดบั พนื้ ท่ี จึงจาเปน็ ต้องวเิ คราะห์กลมุ่ เปาู หมาย
จัดลาดับความสาคัญของการดาเนินงาน การมีมาตรการของหน่วยงานในการลดช่องว่างของการปฏิบัติ
อนั อาจจะเกิดขึ้นเน่ืองมาจากข้อจากัดของกลุ่มชาติพันธ์ุ อาทิ หลักฐานการแสดงความเป็นเจ้าของหรือการมี
กรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย เป็นต้น รวมทั้งการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคธุรกิจ องค์กรเอกชน มูลนิธิ
สมาคม และมีแผนบรหิ ารจัดการทรพั ยากรเพื่อการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ กล่มุ ชาตพิ นั ธ์ชุ าวเล
ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายตามภารกจิ กระทรวง
1. หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่นควรมีการทางานแบบบูรณาการร่วมกัน เพื่อพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ของกลมุ่ ชาติพันธุ์ชาวเลอย่างต่อเนื่อง
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นท่ี
เพ่อื ให้เกิดการขบั เคลอื่ นงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
3. กระทรวงพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ควรรือ้ ฟื้น “กองกิจการชาตพิ นั ธุ์” เพ่ือให้
มีหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบระดับนโยบาย ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และแก้ไขปญั หาของกลุ่มชาติพนั ธใุ์ นประเทศไทย
4. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ควรจดั ให้มีศูนย์พัฒนากลุ่มชาติพันธ์ุ
ชาวเล เพอื่ เปน็ กลไกการประสานและขับเคล่ือนงาน พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ชาวเลในพ้ืนทฝี่ ่งั อนั ดามนั
5. ควรจัดใหม้ ีหนว่ ยงานรับผดิ ชอบหลกั ในเรื่องการสารวจ และจัดทาฐานข้อมูลของกลุ่มชาติ
พันธ์ุชาวเล เพื่อสรา้ งฐานข้อมูลให้เป็นปัจจบุ นั และสามารถใหห้ นว่ ยงานอนื่ ๆนา ไปใช้ประโยชนไ์ ด้
6. กระทรวงวัฒนธรรม ควรเป็นหน่วยงานหลักในการกากับและติดตามการขับเคล่ือนงาน
พฒั นาคณุ ภาพชีวิตชาวเลของหน่วยงานในระดบั ภูมิภาค และหนว่ ยงานในพ้นื ที่ให้การดาเนนิ งานเป็นไปตามมติ
คณะรัฐมนตรีว่าด้วยการฟ้ืนฟูวิถีชีวิตชาวเล เมื่อวันท่ี 2 มิถุนายน 2553 และติดตามการดาเนินงานเร่ืองเขต
วัฒนธรรมพเิ ศษของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ เพอื่ ให้เกิดประโยชน์กับกล่มุ ชาตพิ นั ธอ์ุ ยา่ งยง่ั ยืน
7. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ อาเภอ จงั หวดั ควรส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนให้
มคี วามเข้มแข็ง เนื่องจากผู้นาชุมชนมีผลต่อการเข้าถึงข้อมูลของพี่น้องชาวเล และเพ่ือเพ่ิมพลังอานาจในการ
ต่อรองในประเดน็ การพฒั นากลมุ่ ชาติพันธใ์ุ นแต่ละพื้นท่ี