The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นางสาวซันเดีย ไชยมล 6320114072 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ กลุ่มวันพุธ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sandare7535, 2021-03-29 08:49:31

นางสาวซันเดีย ไชยมล 6320114072 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ กลุ่มวันพุธ (1)

นางสาวซันเดีย ไชยมล 6320114072 คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ กลุ่มวันพุธ (1)

เเบบรายงาน
ผลการปฏิบัติการสอน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
(ฝายประถมศึกษา)

นางสาวซันเดีย ไชยมล
คณะศึกษาศาสตร เอกคณิตศาสตร

คํานํา

การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเปนกระบวนการที่จะชวยนักศึกษาวิชาชีพครูใหมี
ความรัก ความศรัทธาในวิชาชีพ ตลอดจนมีความรู ความสามารถในการปฏิบัติหนาท่ี
ของครูในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาไดจัดให
นักศึกษาวิชาชีพชั้นปที่1 ออกปฏิบัติสังเกตการณสอนในสถานศึกษาคือ
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี(ฝายประถมศึกษา)

จากการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาสามารถสรุปและสะทอนคิดผลการปฏิบัติงานได
เปนแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ซ่ึงประกอบไปดวยขอมูลประวัติของโรงเรียน
ประวัติสวนตัว รูปภาพเเละกิจกรรมตางๆที่ขาพเจาไดเขารวม และสิ่งท่ีไดจากการ
ปฏิบัติการสอนในแตละสัปดาห
หากมีขอเเนะนําหรือขอผิดพลาดประการใดผูจัดทาํ ขอนอมรับไวเเละขออภัยณที่นี้ดวย

จัดทาํ โดย
ซนั เดยี ไชยมล

ส า ร บั ญ

1 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
(ฝา ยประถมศึกษา)

4 ประวัตินกั ศึกษาปฏบิ ตั กิ ารสอน
5 ฐานที1่ ฝกคนใหเ ปน ครู
7 ฐานท2่ี เปน อยดู ี ทีส่ าธติ
9 ฐานที่3 ชารจ พลงั สุขปลกุ พลงั บวก
11 ฐานที่4 กระจกเงา
13 ฐานที่5 โภชนาการ-อนามัย
15 ฐานท่6ี โรงเรียนของเรานาอยู
16 ฐานที่7 การเรยี นรูคูสมรรถนะ

ประวตั ิโรงเรยี น

ประวัติความเปนมา โรงเรียนอนุบาลสาธิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร จัดต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใชเปนสถานท่ีศึกษาคนควา ทดลอง และวิจัยของ
คณาจารย และนักศึกษาตลอดจนเปนแหลงฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษา ทั้งระดับ
ปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาที่เก่ียวของ

โรงเรียนอนุบาลสาธิต เดิมช่ือศูนยพัฒนาเด็ก เปดดําเนินการเม่ือเดือนพฤษภาคม
พ.ศ.2531รับนักเรียนอายุ 2-3 ขวบ เขาเรียนในชั้นบริบาลและชั้นอนุบาล 1

ในป พ.ศ.2537 สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อนุมัติใหศูนยพัฒนาเด็ก เปล่ียนช่ือ
เปนโรงเรียนอนุบาลสาธิตและใหขยายช้ันเรียนถึงช้ันอนุบาล 3 ในปการศึกษา 2537และป
การศึกษา 2538 ตามลาํ ดับ

ตอมาป พ.ศ.2541 โรงเรียนอนุบาลสาธิตไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยฯ ใหขยาย
ชั้นเรียนถึงระดับชั้นประถมศึกษาในปการศึกษา 2546 เปดสอนถึงชั้นประถมศึกษาปที่ 6

ปการศึกษา 2555 เร่ิมเปดสอน หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ (English Program)ใน
ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 4 (1หองเรียน)

ปการศึกษา 2557 เปดสอนหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ (English Program) ในทุก
ระดับช้ันต้ังแตป.1 ถึง ป.6 ระดับละ 1 หองเรียน และดาํ เนินการสอนเรื่อยมาจวบจน
ปจจุบัน

ปการศึกษา 2563 โรงเรียนอนุบาลสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ไดเปล่ียนแปลง
สถานะภาพเปนหนวยงานหน่ึงในงานวิชาการระดับตา่ํ กวาปริญญาตรี ของคณะศึกษาศาสตร
และไดเปลี่ยนชื่อเปนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร(ฝายประถมศึกษา) หรือ
Prince of Songkla University Primary Demonstration School (PSU-PDS)

วิสัยทศั นเ เละพันธกิจ

วิสัยทัศน
โรงเรียนสาธิตสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี (ฝายประถมศึกษา) จะจัดและ

พัฒนารูปแบบการศึกษาระดับอนุบาลศึกษาและประถมศึกษาใหมีคุณภาพไดมาตรฐาน
สากล เพื่อสงเสริมใหนักเรียนมีความเฉลียวฉลาดท้ังทางดานปญญาและอารมณ
ควบคูกับความสามารถดานศีลธรรมและจริยธรรมโดยไดรับความรวมมืออันดีเลิศจาก
ครอบครัวและชุมชน

พันธกิจ
พันธกิจของโรงเรียนโรงเรียนสาธิตสงขลานครินทร (ฝายประถมศึกษา) มีดังนี้
1.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการพัฒนานักเรียนให
เปนคนดีมีปญญาและอยูในสังคมอยางมีความสุข ตามศักยภาพสูงสุดของแตละบุคคล
2.พัฒนาบุคลากรทุกฝายของโรงเรียนใหมีความรูความสามารถในหนาท่ีท่ีรับผิดชอบ
และนาํ ศักยภาพนั้นมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนานักเรียน
3.สงเสริมความรวมมืออยางใกลชิดระหวางโรงเรียน บาน และชุมชน ในการระดม
ทรัพยากรเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน
4.เปนแหลงศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาตางๆ
5.เปนแหลงศึกษา คนควา ทดลอง วิจัยของนักศึกษาและคณาจารยในสาขาวิชา การ
ปฐมวัยศึกษา การประถมศึกษาและสาขาวิชาอื่นๆ ที่เก่ียวของ
6.เปนแหลงบริการวิชาการแกหนวยงานทางการศึกษาและครอบครัว

ปรชั ญาเเละคาํ ขวัญ

คาํ ขวัญโรงเรียน
“รักการเรียน เพียรทาํ ดี มีวินัย”

ปรัชญาของโรงเรยี น
โรงเรยี นสาธิตสงขลานครนิ ทร วิทยาเขตปต ตานี (ฝา ยประถมศึกษา) จดั กิจกรรมการเรยี น
การสอนที่เนน เรียนเปนศูนยก ลางโดยใหนกั เรียนไดปฏบิ ตั จิ ริง ทดลอง สาํ รวจและ
แสดงออกตามความแตกตา งระหวางบุคคล ครเู ปนผจู ดั ประสบการณใ หนักเรียนฝก คดิ

ฝกทักษะกระบวนการ ฝก การตัดสินใจ มวี ินยั และมีความรูสกึ ท่ดี ีเกยี่ วกับตนเอง แนวปฏิบตั ิ
ดังกลาวเปนผลจากความเช่ือพืน้ ฐาน 5 ประการไดแก
1. คนทกุ คนสามารถเรียนรูได
2. การสนบั สนุนจากครอบครวั เปนสิ่งจาํ เปน ยิ่งตอ พฒั นาการสงู สดุ ของเด็กแตล ะคน
3. คุณภาพของการเรยี นรูสง ผลโดยตรงตอคณุ ภาพชีวติ
4. การแขง ขันเปน สง่ิ ท่หี ลีกเลย่ี งไมไดแตความรวมมอื จะสง ผลย่งิ ใหญกวา
5. ความเปน เลศิ ของคนมไิ ดว ดั ท่ศี กั ยภาพดานวิชาการเทาน้ัน แตวดั ทศ่ี ักยภาพของความ
เปน มนษุ ย

ประวัติสวนตัว

ชอ่ื -สกุล นางสาวซันเดยี ไชยมล

เลขรหสั ประจาํ ตวั 6320114072

สาขาวชิ า คณิตศาสตร

คณะ ศึกษาศาสตร

มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

สญั ชาติ ไทย เชอ้ื ชาติ ไทย

ศาสนา อิสลาม

ภูมิลําเนาเดมิ 75 หมู6 ตําบลปรกิ อําเภอสะเดา

จังหวดั สงขลา 90120

สาํ เรจ็ การศึกษาจาก โรงเรยี นมูลนธิ อิ าซสิ สถาน

การตดิ ตอ

0638601591

Sundia chaimol

[email protected]

Sodiadekprik

ฐานที1่ ฝก คนใหเ ปน ครู

เปนฐานเก่ียวกับการฝกคนใหเปนครู สังเกตบุคลิกภาพเเละภาพลักษณของครู
ครูเปนบุคคลที่มีความสาํ คัญ จึงตองพัฒนาตนเองใหเปนที่ยอมรับ เร่ิมจากการสรางภาพลักษณที่ดี

เเตงกายสุภาพเรียบรอย ตรงตอเวลา เอาใจใส มีควายุติธรรม มีความรักในวิชาชีพ พรอมท่ีจะรับฟงความ
คิดเห็นของนักเรียนเเละมีการพัฒนาตนเองตลอดเวลา มีเทคนิคการสอนท่ีหลากหลายเเละทําหนาท่ีครูใหดี
ท่ีสุด

กิจกรรมที่ไดทาํ คือ : การดูเเลนองในระดับชั้นบริบาล
1.มีกิจกรรมเก่ียวกับการลางมือซึ่งนอกเหนือจากเปนการเสริมสรางรักษาความสะอาดของนักเรียนเเลว ยัง
เปนการสรางจิตสํานึกท่ีดีในการรักษาความสะอาดใหติดตัวสามารถใหนักเรียนนาํ ไปใชไดในอนาคต
2.การจัดหองเรียนของนักเรียนระดับบริบาล จะจัดหองเรียนตามบริบทของการเรียนหองจะกวางเเบงเปน
สัดสวน โซนในการเรียน โซนในการเลน เนื่องจากการเรียนในระดับช้ันน้ีการเรียนรูเกิดจากประสบการณท่ี
นักเรียนไดลงมือทาํ เเละกิจกรรมที่นักเรียนสนใจ
3.มีกิจกรรมการออกกาํ ลังกาย เปนกิจกรรมที่สรางเสริมการเคลื่อนไหวดานรางกายใหนักเรียนมีสุขภาพท่ีดี
4.มีกิจกรรมการสรางความพรอมใหกับนักเรียน โดยการใหนักเรียนสงบน่ิง หลับตา เพ่ือใหนักเรียนมีสมาธิ
ในการเรียน

ฐานท1่ี ฝก คนใหเ ปน ครู (ตอ)

กิจกรรมในหองเรียน : การดูเเลนักเรียนระดับบริบาลสามารถสะทอนคิดกิจกรรมไดดังน้ี
1.มีการออกกําลังกายในยามเชาดวยการเปดเพลงเพ่ือเสริมสรางทักษะดานการเคล่ือนไหว ใหนักเรียน
สุขภาพที่ดี
2.กิจกรรมการตอตัวตอ (เลโก) ใหนักเรียนออกเเบบไดตามใจชอบ ซ่ึงเปนกิจกรรมที่ผอนคลายเปนการ
พัฒนาระบบความคิด สมาธิ ซ่ึงในวัยน้ีเปนวัยท่ีมีการพัฒนาระบบความคิด ดังน้ันเน่้ือหาในสวนวิชาการจะไม
เนนมาก เเตเนนการเรียนรูจากประสบการณการลงมือทาํ เเละจากความชอบของนักเรียน
3.นักเรียนในระดับชั้นบริบาลจะมีความหลากหลาย เปนชวงที่กําลังเตรียมความพรอมในการศึกษาตอใน
ระดับช้ันอนุบาล มีการพัฒนาตนเอง อายุของนักเรียนบริบาลจะมีอายุนอย ดังน้ันจะพบวาเกิดปญหาเยอะใน
ระหวางเรียน เชน การทะเลาะ ซุกซน เปนตน

การสอนในระดับช้ันบริบาลเเละระดับอนุบาล ครูผูสอนตองมีความรับผิดชอบอยางมาก ดูเเลเอาใจใส
ในรายละเอียดเล็กๆนอยๆ รวมถึงการจัดการเเละการับมือกับสถานการณตางๆท่ีเกิดขึ้น ครูควรมีความเอาใจ
ใสเเละรักในวิชาชีพอยางเเทจริง

ฐานที2่ เปน อยดู ี ทีส่ าธิต

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ฝายประถมศึกษา) ไดสรางกระบวนการพัฒนา
ความรูต้ังเเตกาวเขามาในโรงเรียนตั้งเเตตอนเชา จนกลับบานในตอนเย็น
1.โดยเร่ิมดวยกระบวนการคัดกรองนักเรียนบริเวณประตูโรงเรียน สแกนหรือวัดอุณหภูมิเเละมีการ
ติดสติ๊กเกอรสาํ หรับนักเรียนที่มีอุณหภูมิปกติ หลังจากนั้นจะมีการลางมือ ดวยเจลลางมือ เเละขั้น
สุดทายนักเรียนทุกคนตองไปแจงอุณหภูมิของตัวเองกับครูท่ีทําการจดบันทึกอุณหภูมิของโรงเรียน
ของนักเรียนแตละคน ซึ่งถือเปนกิจกรรมท่ีมีความจาํ เปนอยางย่ิง เน่ืองจากสถานการณในปจจุบันมี
การระบาดของไวรัส covid-19 จึงจาํ เปนตองมีการคัดกรองอยางเครงครัด
2.การเขาแถวเคารพธงชาติของนักเรียน ซึ่งกิจกรรมหนาเสาธงนั้นจะมีการอาน
ดุอาอสาํ หรับศาสนาอิสลาม เเละสวดมนตสําหรับศาสนาพุทธ เเละมีการออกกําลังกายตอนเชา
ประมาณ 10 นาที เพื่อเสริมสรางสุขภาพท่ีดีใหกับนักเรียน เเละยังเปนการเตรียมความพรอมใหเเก
นักเรียนในชวงเชาอีกดวย
3.กิจกรรมเขาเเถวในตอนเชาจะเห็นวามีทั้งนักเรียนเเละคณะครู รวมไปถึงผูบริหารสถานศึกษาก็ลง
มาเขาเเถว เเสดงไดวาบุคลากรในสถานศึกษาทุกคนก็ตองรับผิดชอบหนาที่ของครูในการดูเเล
นักเรียนดวยกันท้ังส้ิน

ฐานที2่ เปน อยูดี ทสี่ าธิต (ตอ)

4.สงิ่ ท่นี าสนใจคอื มีการเเบง นักเรียนท่มี าสาย เพอื่ ใหน ักเรยี นไดต ระหนกั ในครงั้ ตอ ไปวาไมค วรมาสายอกี
5.มกี ารรบั ประทานอาหารวา งสองครงั้ ซง่ึ ชว งเชาเวลา 10.10 น.อาหารวางคอื นมเเละชว งบายเวลา 14.10 น.
อาหารวางคอื ผลไม โดยมกี ารคํานงึ ถงึ การแพของเด็กแตละบุคคลดว ยจะเหน็ ไดว าโรงเรียนอนุบาลสาธิตมคี วาม
ใสใ จตอ นักเรียนเปนอยา งมากเเละนกั เรียนกลับบานในเวลา 16.00 น

สรุปฐาน เปน อยู ดี ท่สี าธิต คอื กิจกรรมเขาเเถวเปน การปลูกฝง ใหนักเรียนมคี วามรกั สถาบัน ชาติ ศาสนา เเละ
พระมหากษตั ริยอ ีกท้งั ยังเปน การสรา งความสัมพันธระหวางนกั เรียนในโรงเรียนอีกดว ย

ฐานท3ี่ ชารจ พลงั สุขปลกุ พลังบวก

เปนฐานท่เี กย่ี วขอ งกบั ระบบการชว ยเหลือนักเรียน ระเบียบวินัย และปญ หาตา งๆท่ีเกดิ ขน้ึ ใน
โรงเรียน เนื่องจากจาํ นวนนักเรยี นที่มจี าํ นวนมากจึงมคี วามเเตกตา ง หรอื ปญหาทหี่ ลากหลาย ใน
ฐานะท่เี ปนครตู อ งมีการเอาใจใสแ กนักเรยี นและครจู ําเปน ตอ งทราบถึงปญ หาท่นี ักเรยี นประสบอยู
รบั รูถ ึงปญหาตา งๆของนกั เรยี นเพ่อื ใหนักเรียนไวใจครเู ปรยี บเสมือนแมค นท่ี 2 ทีจ่ ะชว ยแกปญ หา
และแกไ ขไปในแนวทางทถี่ ูกตอง และการใหคําปรึกษาทีด่ คี ือการเปนผรู บั ฟง อยางต้ังใจและชว ยหา
แนวทางการแกไขไปในทางทถ่ี ูกตอง

ทางโรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร (ฝายประถมศึกษา) ไดเ ลง็ เหน็ ถึงปญ หาที่
นกั เรยี นไมกลา ปรกึ ษากบั ครโู ดยตรง เนอื่ งจากครูกับนักเรยี นมีความเเตกตางในเรือ่ งชวงของวยั จงึ มี
สารวัตรนกั เรียน เปนตวั เเทนครู ในการถามถงึ ปญ หาของนกั เรียนเพอื่ จะนาํ ไปเเจง ครู เเละมีการเเก
ปญ หาตอ ไป เพราะนกั เรียนกับสารวตั รนักเรียนมชี ว งวัยที่ใกลเคียงกนั นกั เรียนกลาทจ่ี ะพดู เเละ
ปรกึ ษามากกวา ครู

ฐานท่3ี ชารจพลงั สุขปลุกพลงั บวก (ตอ )

สิง่ ท่นี าสนใจในกระบวนการของโรงเรยี น

1.กระบวนการที่เสริมสรางสมรรถนะเเละคุณลักษณะผูเรียนที่พึงประสงค ในรายวิชาหนาท่ีพลเมือง
โดยคุณครูในรายวิชาพลเมืองใหนักเรียนมีการทําสมุดบันทึกความดีโดยทาํ คูกับเพื่อนเพื่อเปนการ
สรางจิตสํานึกเเละทัศนคติที่ดีตอผูอื่น ซึ่งการทําสมุดจดบันทึกความดี จะเปนบันทึกความดีเเบบใด
ก็ได เชนความดีที่ตนเองทํา หรือเปนความดีที่ตนเองเห็นเเละมีความประทับใจโดยสงตอผูอ่ืนผาน
การบันทึกลงสมุดทําความดีเละการนําเสนอหนาช้ันเรียน จากการทํากิจกรรมสมุดบันทึกความดีครู
สามารถเขาถึงนักเรียนไดมากข้ึนโดยผานการเลาเรื่อง เเละเห็นถึงทัศนคติอีกมุมหนึ่งท่ีเเตงตางจาก
การเรียน
2.กระบวนการสรางวินัย
2.1 การใหนักเรียนเดินเขาเเถวเปนระเบียบ ไมวาจะเปนการเดินเขาช้ันเรียน การตอเเถวเพ่ือรับ
ประทานอาหาร การตอเเถวเพ่ือรับอาหารวาง เปนตน เพ่ือความเปนระเบียบเรียบรอย
2.2 การสรางความตระหนักใหนักเรียนท้ิงขยะใหลงถังขยะเเละทิ้งขยะใหถูกประเภทของถังขยะ

ฐานที่4 กระจกเงา

เปนฐานท่ีเกี่ยวขอ งกับการสังเกตในชั้นเรียน ไมวา จะเปนรูปแบบการสอน ลกั ษณะทศั นคติ
พฤตกิ รรมของนกั เรยี น และพฤติกรรมของครู เพ่ือเปน เเนวทางในการจัดการช้นั เรียนไดในอนาคต
1.ดานพฤตกิ รรมของครู
- ครมู ีการควบคุมช้นั เรียนท่ดี ี การใชน า้ํ เสยี งทเี่ หมาะสม เชนในบรรยากาศในหองเรยี นเสียงดัง
ครูจะใชน ้าํ เสียงท่เี สียงดงั เพ่อื ใหนกั เรียนเงียบ เเละในบรรยากาศการสอนครูใชนํ้าเสียงท่ี
สนุกสนานเพอ่ื ดึงดูดความสนใจของนักเรียน
- ครมู กี ารเอาใจใสน ักเรียน มกี ารซกั ถามถงึ ความเขา ใจและรับฟงคําถามตางๆท่ีนกั เรียนสงสัย
ดูเเลนักเรยี นในหองอยา งทวั่ ถึง
- ครปู ระจํารายวิชามกี ารจัดกจิ กรรมแบบ Active Learning ที่เหมาะสมกบั วยั และอายุเพอื่ สราง
ความสนใจใหก ับรายวิชานัน้ ๆ
2. พฤติกรรมของนักเรียน
- นกั เรียนระดับประถมตอนตน จะมคี วามซน ไมมสี มาธใิ นการเรียนเทา ทค่ี วรดังนัน้ การทาํ
กิจกรรม Active Learning จึงเปน รปู แบบการเรยี นที่เหมาะสม เพราะจะทําใหนักเรยี นเกิดความ
สนใจและตัง้ ใจมากข้นึ สงิ่ สาํ คัญสาํ หรับการสอนในชว งชน้ั นี้คือการควบคมุ ชน้ั เรียน
- นกั เรยี นระดบั ประถมตอนปลาย จะมีการจดั การตนเองไดด ีเตรยี มความพรอมเขา สูบ ทเรยี น
ต้งั ใจเรยี นมากขน้ึ สิง่ สาํ คญั สําหรบั การสอนในชว งชนั้ น้คี ือการถายทอดความรู

ฐานท4ี่ กระจกเงา (ตอ)

3. ดานรูปแบบการสอนในหองเรียน
สวนใหญจะใหนักเรียน เรียนรแู บบ Active Learning มีการทาํ กิจกรรม รวมกบั การ
จัดการเรียนการสอน
-คาบวิชาภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 1 ชว งตนชัว่ โมง ครูจะมกี ารพูดคุย
เกย่ี วกับเรอ่ื งทัว่ ไปเพอ่ื ใหนักเรยี นเกิดความผอ นคลายโดยใชรปู แบบการพูดทเี่ ปน ภาษา
อังกฤษ กอนเร่ิมเขา สูบ ทเรียนครูใหนกั เรียนยืนน่งิ ๆ เพ่อื ทําสมาธิเตรียมพรอมในการเรยี น
ทั้งรา งกาย จติ ใจและสมอง
-กิจกรรมการแบง กลมุ นักเรยี น เพื่อการบวกคะแนนสําหรบั นักเรียนทป่ี ระพฤตดิ ี ตอบ
คําถามในส่ิงทค่ี ุณครูถาม และลบคะแนนกบั นักเรียน ที่ประพฤตไิ มด แี ละพูดจาเสียงดงั นน้ั
การทาํ กจิ กรรมน้ีเปนกจิ กรรมทีน่ าสนใจสามารถควบคุมนักเรยี นในหอ งเรียนได
-คาบวิชาคณติ ศาสตรข องนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 6 การทาํ กิจกรรมใหน ักเรยี นออก
มานาํ เสนอเพือ่ การแลกเปลีย่ นการเรียนรู โดยสมุ นักเรียนจากโปรแกรมสุม วงลอ ทําให
นักเรยี นมีความต่นื เตนเเละสรางความสนใจใหเ เกนกั เรียน เเละยังสามารถเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ
ในการเรยี นใหแ กนกั เรยี นคือการจาํ ได ทําได วเิ คราะหเ ปน โดยสามารถวิเคราะหโ จทยที่ได
เพอ่ื ทําใหเกิดกระบวนการคิดและการวเิ คราะหเพอื่ หาคาํ ตอบ

ฐานท่5ี โภชนาการ-อนามยั

เปนฐานทเ่ี ก่ยี วกบั การจดั อาหารทมี่ ีคุณภาพ ใหเ เกน ักเรียนทกุ คนตามหลักวชิ าการ
เเละเก่ียวกบั งานดเู เลสขุ ภาพอนามยั ของนักเรยี น สงเสริมใหนกั เรยี นไดอ อกกําลงั กายเพ่อื สขุ ภาพท่ดี ี

ทางโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (ฝายประถม)
มีเเนวทางในการจัดเมนูอาหารสาํ หรับนักเรียนท่ีมีคุณภาพตามหลัก
โภชนาการ เเละมีการเอาใจใสในเร่ืองอาหาร โดยคํานึงถึงความสําคัญ
ดังนี้
ลาํ ดับที่1 ความสะอาด
ลําดับที่2 สารอาหารครบ 5 หมู
ลําดับท่ี3 วัตถุดิบตามฤดูกาลเพื่อความสด ใหม เเละคุณคาทางอาหารท่ี
สูง
ลาํ ดับท่ี4 มีสีสันสดใส นารับประทาน
ลําดับที่5 ความชอบของนักเรียน
ทั้งนี้เพ่ือใหนักเรียนไดรับประทานอาหารที่มีประโยชนสูงสุด ซ่ึงนําไปสู
การมีสุขภาพท่ีเเข็งเเรง

ฐานท5่ี โภชนาการ-อนามัย (ตอ)

ในสวนของงานดเู เลสุขภาพอนามัยของนักเรยี น หากนกั เรียนทีการเจ็บปวย บุคลาการทร่ี บั ผิดชอบ
ในหองพยาบาลจะมกี ารเอาใจใสเเละดเู เลในเรือ่ งการจา ยยา โดยการจายยาตองมกี ารคํานงึ ถึงนา้ํ
หนกั เเละสวนสูงของผปู วยเพอ่ื ประสิทธภิ าพท่ีดตี อ ผูปว ย ทางโรงเรียนจงึ มกี ารช่ังน้ําหนกั เเละวดั
สว นสงู เปนประจาํ เพือ่ ประเมนิ เกณฑการเจรญิ เตบิ โตของนกั เรียน เพราะมีความเก่ียวของกบั หลัก
โภชนาการเเละการจา ยยา

ฐานท6่ี โรงเรียนของเรานาอยู

โรงเรียนของเรานาอยู
เปนฐานเก่ียวกับการจัดภูมิทัศนของโรงเรียน ภูมิทัศนของโรงเรียนเปนจุดแรกที่บุคลากร
นักเรียน รวมไปถึงผูปกครองสามารถมองเห็นไดเ้ปนลําดับเเรก จึงจาํ เปนจะตองมีการ
จัดการภูมิทัศนภายในโรงเรียนใหมีความสวยงามตลอดเวลา ที่สําคัญภูมิทัศนภายใน
โรงเรียนสามารถสงผลตอการพัฒนาทางดานจิตใจและอารมณของนักเรียน บุคลากรใน
โรงเรียนได ทางโรงเรียนจึงใหความสาํ คัญในเร่ืองการออกแบบภูมิทัศนเพ่ือลด
ความเครียดและสงเสริมสุขภาพจิตของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

จากท่ีไดเขารวมในฐานที่ 6 โรงเรียนของเรานาอยู
มีจุดเดนคือการจัดการภูมิทัศนในโรงเรียน คือมีการจัดและตกแตงตนไม
เพื่อความสวยงามอยูเสมอและเพื่อลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได มีการติด
ปายคาํ ศัพทที่ตนไมเพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับคําศัพทน้ันๆ และได
รูวาตนไมนั้นเปนตนไมชนิดใด
ตกแตงและดูแลตนไมใหมีความสวยงาม

ปรับเปลี่ยนภูมิทัศนใหเขากับเทศกาล มีตนไม มีมุมพักผอน มีสนามกีฬา ตลอดจนมีสภาพแวดลอมท่ี
เอ้ืออํานวยตอการเรียนรูของผูเรียน อีกทั้งยังมีปายความรูซ่ึงสามารถตอยอดใชประโยชนไดหลายอยาง
เชนเปนสถานท่ีในการศึกษานอกหองเรียนในการเปลี่ยนบรรยากาศ เพื่อลดความเครียดและความเบ่ือ
หนายของนักเรียนและยังสามารถเพิ่มความต่ืนเตนและเพิ่มความนาสนใจในการเรียนรูใหกับนักเรียน
เพ่ือใหผูเรียนมีความรูสึกอยากเรียนมากย่ิงขึ้น

ฐานท7่ี การเรียนรูค ูส มรรถนะ

สมรรถนะ คือการไมเนนการทองจํา เนนการเรียนรูท่ีเรียนเพ่ือใชในชีวิตประจาํ วัน สมรรถนะตองใช
เวลาเปนตัวพิสูจน
1.โรงเรียนเปนหลักสูตรที่เนนการวัดผลแบบพัฒนาหรือการปฏิบัติแทนการทองจําเน้ือหา ซึ่งเดิมวัดผล
จากการวัดความรูแตละฐานสมรรถนะ จะวัดผลจากการนาํ ความรูมาใชงาน

2. สมรรถนะของโรงเรียนประกอบไปดวยความรูทักษะและคุณลักษณะของสูการนาํ ประยุกตใชสามารถ
นาํ มาใชแกปญหาเพื่อใหประสบความสําเร็จได
3.หลักสูตรสมรรถนะของโรงเรียนจะประเมิน 3 ดาน
ดานท่ี 1 คือประเมินเวลาเรียนโดยนักเรียนตองมีเวลาเรียนรอยละ 80
ดานท่ี 2 ประเมินผลการเรียนรูนักเรียนตองมีผลการเรียนตามเกณฑมาตรฐาน
ดานที่ 3 ประเมินสมรรถนะนักเรียนตองผานสมรรถนะที่ตามที่โรงเรียนกําหนด

4.หลักสูตรสมรรถนะมี 5 ดาน และดานเพ่ิมเติมคือดานการเห็นอกเห็นใจผูอ่ืนและดานการเปนผูนํา
การเห็นอกเห็นใจผูอ่ืนและความเปนผูนํา เปนทักษะความเขาใจความรูสึกของคนอื่นเอาใจเขามาใสใจ
เรามีความรักและสามัคคีกัน ไมมีการ BULLY เชนการหมุนเวียนกันเปนหัวหนาหองซึ่งเปนกิจกรรมท่ี
นักเรียนไดเห็นถึงคุณคาของตนเอง

ฐานที7่ การเรยี นรคู ูสมรรถนะ (ตอ )

สมรรถนะที่ 1 การจัดการตนเอง (SM) ตองจัดการอารมณความรูสึกของตนเอง สามารถควบคุม
ตนเเองได การจัดการตนเอง เชน ควบคุมตนเองใหอยูในกฎระเบียบตางๆ จัดการเร่ืองการเรียน
เเละการเปนอยูและสามารถภูมิใจในตนเองในกิจกรรมตางๆ เชนวิชา Independent Study
วิชาศึกษาคนควาอิสระ
สมรรถนะท่ี 2 การสื่อสาร (CM) สามารถส่ือสารไดในเรื่องการเขียน การอาน การพูด สามารถที่
จะสื่อสารไดดวยความเขาใจ สามารถเเปรขาวสารท่ีไดรับมาอยางถูกตองเเละเเมนยํา สามารถ
แลกเปล่ียนความรูสึกและทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและประสบการณที่ใช
ใหเปนประโยชนตอตนเองและสังคม มีความเขาใจความรูสึกและทัศนะของตนเองเพ่ือแลก
เปล่ียนขอมูลขาวสาร และประสบการณท่ีใชใหเปนประโยชนตอตนเองและสังคม
สมรรถนะที่ 3 การรวมพลังเปนทีม ใหครูมีเเบบประเมินรายกลุมในเเผนการสอนมีคะเเนนใน
เร่ืองความสามัคคี สามารถที่จะเเจกเเจงไดวาเเตละคนมีหนาที่อะไร เพื่อความเทาเทียมให
นักเรียนสามารถรูจักการทํางานเปนกลุม
สมรรถนะที่ 4 การคิดขั้นสูง จะเช่ือมกับวิชา IS สามารถรูไดวานักเรียนชอบอะไร สามารถรูไดวา
นักเรียนกาํ ลังคิดอะไรโดยไดจากงานท่ีนักเรียนไดสราง นักเรียนสามารถวางเเผนได คิดอยางเปน
ระบบ คิดเเบบสรางสรรค วิชาโฮมรูม คือนักเรียนสามารถจัดการตัวเองได
วิชาชุมนุม คือนักเรียนเลือกตามท่ีนักเรียนสนใจ เพื่อเสริมสรางความชอบของนักเรียน
สุจิปูลิ คือการคิดกิจกรรมในรูปเเบบไหน โดยการที่ครูมีการสรางสถานการณ คิดปญหา เพื่อให
นักเรียนสามารถวางเเผนหรือคิดในสิ่งท่ีครูไดสรางสถานการณมาโดยใหนักเรียนคิดอยางเปน
ระบบ ใชความคิดสรางสรรค สามารถตั้งปญหาและนักเรียนสามารถวิเคราะหได
สมรรถนะท่ี 5 การเปนพลเมืองที่ดีเเละเขมแข็ง นักเรียนเคารพสิทธิของผูอื่น มีความรับผิดชอบ
ตอหนาท่ีของตนเอง ทั้งในครอบครัวและในชุมชน รูจักคาํ ววาประชาธิปไตยคืออะไร?
5. สิ่งที่อยากใหทางโรงเรียนมี : คือการมีคาบพละศึกษาเพื่อใหนักเรียนไดเลือกเลนกีฬาตาม
ความชอบ โดยไมกาํ หนดกีฬา ใหนักเรียนไดรูสึกผอนคลายและมีความสุขมากท่ีสุด

ภาพความประทบั ใจ


Click to View FlipBook Version