The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการทำโคมล้านนา.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แจกัน กลับบ้าน, 2022-05-19 09:51:43

หลักสูตรการทำโคมล้านนา.docx

หลักสูตรการทำโคมล้านนา.docx



คำนำ

โคมล้านนากับงานประเพณียี่เป็ง ถือได้ว่าเป็นของคู่กัน ประเพณีการจุดโคมไฟแต่เดิมจึง
มักมีเฉพาะในพระราชสำนัก และบ้านเรือน ของเจ้านายใหญ่โต เท่าที่ผ่านมาชาวล้านนาใช้โคมไฟในฐานะ
ของเครอ่ื งใชใ้ นครัวเรือนและเคร่ืองใชใ้ นพิธีกรรมเทา่ นัน้ โคมล้านนา ถูกนำมาใช้ ประดับ ตกแต่ง เพื่อความ
สวยงาม อีกทั้งยังเป็นการเสรมิ สิริมงคลให้แก่เจา้ ของบ้าน มีการประดิษฐ์รูปทรงที่หลากหลาย แตกต่างกัน
มีลวดลายเฉพาะที่ถูกออกแบบขึ้นมาเอง เป็นลวดลายพื้นบ้านเฉพาะพื้นที่เทา่ นั้น ซึ่งไม่เหมือนใคร มีความ
แตกต่างเฉพาะตัว และตุงล้านนาเป็นสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อใช้ในงานพิธีทางพุทธศาสนา ทั้งในงานมงคลและ
อวมงคลต่าง ๆ โดยมีขนาด รูปทรงและรายละเอียดด้านวัสดุต่าง ๆ แตกต่างกันไปตามความเชื่อ
และพิธีกรรมตลอดจนตามความนิยมในแต่ละท้องถิ่นด้วย ตงุ ล้านนา สะทอ้ นถงึ อิทธพิ ลวฒั นธรรมการเรียก
ตามภาษาถิน่ ล้านนา ในปัจจบุ นั ความนิยมประดบั ตกแตง่ สถานทีต่ า่ งๆ

กศน.อำเภอดอกคำใต้ เลง็ เห็นถึงความสำคัญดงั กลา่ ว จงึ ดำเนนิ การจดั ทำหลักสูตรวชิ าชพี
การทำโคมล้านนา จำนวน 35 ชั่วโมง ซึ่งมีขอบข่ายเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ทัว่ ไปเก่ียวกับการทำโคมล้านนา
การบริหารจัดการและการตลาด และคุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ เพื่อนำไปใช้ในการจัด
การศกึ ษาวชิ าชีพให้กับผู้เรยี น โดยศึกษาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และชุมชน พรอ้ มทั้งเพ่ือเป็นการ
อนรุ ักษ์ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น มงุ่ พฒั นาคนให้ได้รับการศึกษา เพ่อื พัฒนาอาชีพและการมีงานทำ สามารถสร้าง
รายไดอ้ าชพี ให้มคี วามมั่นคง สอดคล้องกับศกั ยภาพ พัฒนาตนเอง สังคม ชุมชนและส่งิ แวดล้อมและมีความ
พรอ้ มทจี่ ะสามารถทำงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

กศน.อำเภอดอกคำใต้ ขอขอบคุณอาจารยอ์ ัญชลี ธรรมะวธิ ีกลุ ศกึ ษานิเทศก์เชย่ี วชาญ
สำนักงาน กศน. และคณะกรรมการสถานศึกษา กศน. อำเภออดอกคำใต้ ที่ให้ให้คำแนะนำคำปรึกษาใน
การจัดทำหลักสูตรครั้งนี้ได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์ มา ณ โอกาสนี้ หวังว่าเอกสารหลักสูตรวิชาชีพการทำโคม
ล้านนาฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อวิทยากรและผู้เกี่ยวข้องในการนำไปใช้ในการจัดการการศึกษาต่อเนื่อง
รูปแบบชนั้ เรียนวิชาชพี ใหก้ ับกลุม่ เปา้ หมายต่อไป

(นายถนอม โยวัง)
ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอดอกคำใต้

มกราคม 2565



สารบัญ

หน้า

คำนำ ก

สารบญั ข

หลกั สตู รวิชา การทำโคมลา้ นนา

ความสำคญั …………………………………………………………………………………………………………. 2

จดุ มุง่ หมาย………………………………………………………………………………………………………….. 2

วัตถุประสงค์………………………………………………………………………………………………………… 2

เนื้อหาของหลักสตู ร……………………………………………………………………………………………… 3

ระยะเวลาเรียน……………………………………………………………………………………………………. 3

สื่อประกอบการเรยี นและแหลง่ เรยี นรู้…………………………………………………………………….. 3

การวัดผลประเมินผล……………………………………………………………………………………………. 3

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ……………………………………………………………………………………. 3

โครงสรา้ งหลักสูตร……………………………………………………………………………………………….. 4

แผนการจดั การเรยี นร…ู้ ………………………………………………………………………………………… 30

บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………. 35

คณะผู้จดั ทำ………………………………………………………………………………………………………… 36

1

กจิ กรรมท่ี 2 เขยี นผังหลกั สูตรวิชาชีพ ช่ือหลกั สูตร การทาโคมล้านนา

หวั เร่ืองหลกั หวั เรื่องยอ่ ย หวั เรื่องยอ่ ย หวั เรื่องยอ่ ย

(Theme)

((Theme)(Theme)(T ความเปน็ มาและความสำคญั วฒั นธรรมและความเช่ือ การอนรุ กั ษด์ ้านภมู ิปัญญา
ของโคมล้านนา ของชาวลา้ นนา
ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั

hemกาeร)ท(Tำโhคมemลา้ eน)นา

การทำโคมและตุงลา้ นนา
- การทำโคมแขวน
- การทำโคมถือหรอื โคมหกู ระตา่ ย
- การทำโคมดาว

การทำโคมแขวน วัสด/ุ อุปกรณ์ ขัน้ ตอนการผลติ การบรรจุภณั ฑ์ การดูแลรักษา
หรือโคมค้าง

การทำโคมถอื วัสดุ/อปุ กรณ์ ขน้ั ตอนการผลติ การบรรจภุ ณั ฑ์ การดแู ลรักษา
หรือโคมหูกระต่าย
วัสด/ุ อปุ กรณ์ ขน้ั ตอนการผลิต การบรรจภุ ณั ฑ์ การดูแลรักษา
การทาโคมดาว
การวางแผนการผลติ การวางแผนการ การกำหนดราคาขาย การทำบญั ชรี ายรับ
การบริหารจดั การและ จำหน่าย รายจ่าย
การตลาด
การค้าออนไลน์ คุณธรรม และจริยธรรม
คุณธรรม จริยธรรมในการ ในการประกอบอาชีพ
ประกอบอาชีพ ความหมายและ - ความขยัน
ความสำคญั ของ - ความอดทน
คุณธรรม จรยิ ธรรมใน - ความซือ่ สตั ย์
การประกอบอาชพี

2

หลักสูตรวิชา การทำโคมลา้ นนา

ความสำคัญ

โคมแขวนหรือโคมไฟล้านนา เป็นงานหัตถกรรมพ้ืนเมืองจากภมู ิปัญญาของบรรพบรุ ษุ
ทีส่ ืบทอดต่อกนั มา และไดถ้ า่ ยทอดจากรุ่นสู่ร่นุ เพื่อให้คงอยู่สืบต่อกันมาจนถึงปจั จุบันในภาคเหนือ ด้วยเหตุ
ทก่ี ารดำรงชีวิตผกู พันกบั ศาสนา การสร้างผลงานทางศิลปะจึงมีแรงบันดาลใจจากความศรัทธา ปจั จบุ ันชาว
ลา้ นนานิยมนำมาใชใ้ นงานพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ โดยเฉพาะในงานประเพณยี ่เี ป็งหรอื ประเพณีลอยกระทง นยิ มจดุ
โคมค้าง หรือโคมที่ติดแขวนไว้บนที่สูง ทำด้วยไม้ไผ่และกระดาษ สร้างเป็นโคมทรงกลมหักมุมเรียกว่า
"โคมรังมดส้ม" ใช้ประดับตกแต่งมีเทียนและประทีปเพื่อเป็นการสักการะบูชาพระพุทธเจ้า ในคืนวันเพ็ญ
เดือนสิบสอง (ยี่เป็งล้านนา) และเชื่อวา่ เป็นการบวงสรวงพระเกษแก้วจุฬามณีบนสรวงสวรรค์ ซึ่งถือว่าเม่ือ
ได้กระทำเช่นนี้แล้ว แสงประทีปจากโคมจะช่วงส่งประกายให้การดำเนินชีวิตเจริญรุ่งเรือนอยู่เย็นเป็นสุข
ชาวลา้ นนาจึงนิยมปลอ่ ยโคมไฟขน้ึ ฟา้ และจุดประทปี ตามบ้านเรือน

ชาวบา้ นในอำเภอดอกคำใต้ จังหวดั พะเยา จงึ ได้ทำโคมล้านนา สรา้ งสรรค์เป็น
งานหัตกรรมใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้เสริมเลี้ยงครอบครัวเพื่อให้มีรายได้ที่มั่นคง โดยสินค้ าท่ี
กำลังเป็นสินค้าท่ีนิยมในขณะนี้คือ โคมล้านนา เนื่องจากมีรูปทรงที่ทันสมัยและเป็นที่ต้องการของตลาด
ภายในท้องถิน่ และระดับประเทศ

ดังนน้ั การพฒั นาหลกั สูตรวิชาชีพ การทำโคมล้านนา เพอ่ื นำมาใช้ในการจัดการศกึ ษา
วิชาชีพให้กับผู้เรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการพัฒนาอาชีพการทำโคมล้านนา
นำความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ และนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั

จุดมุง่ หมาย
ม่งุ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ และมที กั ษะในการพฒั นาอาชพี การทำโคมล้านนา

นำความรไู้ ปใชใ้ นการประกอบอาชีพ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจและมที ักษะในการทำโคมลา้ นนา

2. เพอ่ื ใหน้ ำความรูไ้ ปใช้ในการประกอบอาชีพการทำโคมล้านนา

และนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

3

เนื้อหาของหลักสูตร
1. ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกับการทำโคมล้านนา

2. การทำโคมแขวนหรอื โคมค้าง

3. การทำโคมถือหรือโคมหกู ระตา่ ย
4. การทำโคมดาว

5. การบริหารจดั การและการตลาด

6. คณุ ธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ

ระยะเวลาเรียน จำนวน 5 ชัว่ โมง
จำนวน 35 ช่ัวโมง จำนวน 30 ชั่วโมง

ภาคทฤษฎี

ภาคปฏิบัติ

สอื่ ประกอบการเรยี นและแหลง่ เรียนร.ู้
1. ใบความรู้/เอกสารคมู่ ือการทำโคมแบบตา่ ง ๆ
2. แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน
2.1 กลมุ่ ผูส้ งู อายุบ้านคลองประปา หมู่ท่ี 3 ตำบลดอนศรีชุม อำเภอดอกคำใต้

จังหวัดพะเยา
3. ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ตำบลดอนศรีชมุ
3.1 นางสพุ รรณี ปญั ญาโสภา บา้ นเลขท่ี 211 หมู่ที่ 3 ตำบลดอนศรชี มุ

อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา
4. ใบงาน

การวัดผลประเมินผล
1. สงั เกตการเข้าร่วมกจิ กรรมของผู้เรียน
2. การทำแบบฝึกหดั
3. การทำแบบทดสอบ
4. ประเมินจากช้ินงาน

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจและมที ักษะในการทำโคมลา้ นนา
2. ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพการทำโคมล้านนา และนำไปใช้

ในชวี ิตประจำวนั

4

โครงสร้างหลกั สูตร

1.ความรทู้ ั่วไปเก่ียวกับการทำโคมล้านนา จำนวน 2 ช่วั โมง
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของโคมลา้ นนา
1.2 วัฒนธรรมและความเชอื่ ของชาวล้านนา
1.3 การอนรุ ักษด์ ้านภมู ิปัญญา
1.4 การทำโคมลา้ นนา
1.4.1 การทำโคมแขวนหรอื โคมคา้ ง
1.4.2 การทำโคมถือ หรอื โคมหกู ระต่าย
1.4.3 การทำโคมดาว

2. การทำโคมแขวนหรือโคมคา้ ง จำนวน 25 ชว่ั โมง
2.1 วัสดุและอุปกรณใ์ นการทำโคมแขวนหรอื โคมคา้ ง (โคมรงั มดสม้ แบบใชผ้ า้ )
2.2 ข้นั ตอนในการผลติ
2.3 การบรรจภุ ณั ฑ์
2.4 การดแู ลรกั ษา

3. การทำโคมถอื หรอื โคมหูกระตา่ ย จำนวน 3 ชว่ั โมง
3.1 วสั ดุและอุปกรณ์ในการทำโคมถือ (โคมหกู ระต่าย)
3.2 ข้นั ตอนในการผลิต
3.3 การบรรจภุ ัณฑ์
3.4 การดูแลรักษา

4. การทำโคมดาว จำนวน 3 ช่ัวโมง
4.1 วัสดุและอุปกรณ์ในการทำตงุ ไส้หมู
4.2 ข้ันตอนในการผลิต
4.3 การบรรจภุ ณั ฑ์
4.4 การดแู ลรักษา

5.การบริหารจัดการและการตลาด จำนวน 1 ชั่วโมง
5.1 การวางแผนการผลิต
5.2 การวางแผนการจำหนา่ ย
5.3 การกำหนดราคาขาย
5.4 การทำบัญชีรายรบั – รายจ่าย
5.5 การค้าออนไลน์

5

6.คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ จำนวน 1 ช่ัวโมง
6.1 ความหมายและความสำคัญของคุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชพี

6.2 คณธรรม และจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ

6.2.1. ความขยัน

6.2.2. ความอดทน

6.2.3. ความซื่อสัตย์

6

ใบความรทู้ ่ี 1

ความรู้ท่วั ไปเกี่ยวกับโคมลา้ นนา

ความเป็นมาและความสำคัญ

โคมล้านนากบั งานประเพณียี่เปง็ ถอื ได้ว่าเป็นของคู่กนั แต่กอ่ นชาวล้านนามีโคมไฟใช้ไม่
แพรห่ ลาย จดุ ประสงคข์ องการใช้สอยของโคมไฟโบราณทำขึน้ เพ่ือใช้เป็น ตะเกยี ง หรือสง่ิ ประดิษฐ์ สำหรับ
จุดไฟให้สว่าง แต่ด้วยเหตุผลที่น้ำมันมีราคาแพง ประเพณีการจุดโคมไฟแต่เดิมจึงมักมีเฉพาะใน
พระราชสำนัก และบา้ นเรือน ของเจา้ นายใหญ่โต เท่าทีผ่ า่ นมาชาวล้านนาใช้โคมไฟในฐานะของเครื่องใช้ใน
ครัวเรือนและเครื่องใช้ในพิธีกรรมเท่านั้น โคมล้านนา ถูกนำมาใช้ ประดับ ตกแต่ง เพื่อความสวยงาม
อีกท้งั ยงั เป็นการเสริมสริ ิมงคลให้แกเ่ จา้ ของบ้าน มกี ารประดิษฐร์ ปู ทรงท่หี ลากหลาย แตกต่างกัน มลี วดลาย
เฉพาะที่ถูกออกแบบขึ้นมาเอง เป็นลวดลายพื้นบ้านเฉพาะพื้นที่เท่านั้น ซึ่งไม่เหมือนใคร มีความแตกต่าง
เฉพาะตัว โดยความหมายของ โคม กล่าวว่า คนไทยกลุ่มภาคเหนือออกเสียงว่า "โกม" คือ ออกเสียงตัวก๊ะ
ตามภาษาลี และโคมนั้นมีความหมาย 2 อย่างคือ เป็นเครื่องสักการะ และเป็นเครื่องส่องสว่าง
(มณี พะยอมยงค,์ 2538) นอกจากนัน้ โคมล้านนาถือเป็นงานหตั ถกรรมพ้ืนบา้ น ท่ไี ดร้ ับการถา่ ยทอดจากรุ่น
สู่รุ่น ให้คงอยู่สบื ตอ่ จนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตทุ ี่การดำรงชีวิตผกู พันกับศาสนา การสร้างผลงานทางศิลปะจึงมี
แรงบันดาลใจจากความศรัทธา ปัจจุบันชาวล้านนานิยมนำมาใช้ในงานพิธีกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะในงาน
ประเพณียี่เป็ง หรือประเพณีลอยกระทง นิยมจุดโคมค้าง หรือโคมที่ติดแขวนไว้บนที่สูง ทำด้วยไม้ไผ่และ
กระดาษ สร้างเป็นโคมทรงกลมหักมุมเรียกว่า "โคมรังมดส้ม" ใช้ประดับตกแต่งมีเทียนและประทปี เพื่อเป็น
การสักการะบูชาพระพุทธเจ้า ในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง (ยี่เป็งล้านนา) และเชื่อว่าเป็นการบวงสรวงพระ
เกษแก้วจุฬามณีบนสรวงสวรรค์ ซึ่งถือว่าเมื่อได้กระทำเช่นนี้แล้ว แสงประทีปจากโคมจะช่วงสง่ ประกายให้
การดำเนินชีวิตเจริญรุ่งเรือนอยู่เย็นเป็น สุข ชาวล้านนาจึงนิยมปล่อยโคมไฟขึ้นฟ้าและจุดประทีปตาม
บ้านเรือน ในภาคเหนอื ซึ่งชาวลา้ นนาใช้ในงานประเพณยี เี่ ป็ง พึงสักการะบชู าพระพุทธเจ้า คนื วันเพ็ญเดือน
สบิ สอง (ย่ีเป็งลา้ นนา) ถือว่าเม่ือไดก้ ระทำเชน่ นี้แลว้ และประทปี จากโคมจะช่วยส่องประกายให้ดำเนินชีวิต
เจรญิ ร่งุ เรืองอยู่เย็นเป็นสุข

วฒั นธรรรมและความเชือ่ ชาวล้านนา

จากความเชื่อในอดีต การปลอ่ ยโคม ถอื วา่ เป็นพทุ ธบูชา หรือ ปล่อยเคราะหก์ รรมลำบาก
เป็นการลอยเคราะห์ลอยนาม เป็นการให้ทานอีกลักษณะหนึ่ง โคมที่ปล่อยขึ้นไปนั้นก็เพื่อจะให้ลอยขึ้นไป
บูชาพระเกศแกว้ จุฬามณีบนสรวงสรรค์อนั เป็นทีบ่ รรจุพระธาตุประจำปีของผูท้ ี่เกิดปจี อ หรือเพื่อบชู าแก่เจ้า
ผู้ให้กำเนิดของตนบนสวรรค์ที่เรียกว่า "พ่อเกิดแม่เกิด" จินตนา มัธยมบุรุษ (2539) กล่าวว่า ในประเพณี
พิธีกรรมของชาวล้านนามีความเชื่ออย่างหนึ่งที่ปฏิบัติสืบเนื่องกันมาช้านาน คือ การจุดประทีปโคมไฟให้
ความสว่างไสวเป็นพุทธบูชา โดยแสงสว่างเริ่มจากไส้เทียนเล็กๆ จะลุกโชติช่วงให้แสงงามตามบ้านเรือน
ในช่วงงานเทศกาลอนั เปน็ มงคลต่างๆและส่องแสงภายในใจของพุทธศาสนิกชนถ้วนทุกตัวตนมาแต่ครั้งปู่ย่า

7

ตายาย ประเพณีในภาคเหนือนั้นมักเป็นประเพณีสืบเนื่องจากศาสนา และความเชื่อของชุมชนในสังคม
ทั้งสิ้น และการจัดกิจกรรมต่างๆ ในประเพณี แต่ละอย่าง นั้นมักจะสอดคล้องกับสภาพ ภูมิศาสตร์
และสิ่งแวดล้อม มีความเชื่อกันมาว่า เดือนยี่ หรือ เดือนสิบสองใต้ นี้เป็นฤดูกาลที่ลูกหลานจะได้ทำบุญ
อุทิศกุศลกัลปนาแก่บรรพชนของตน โดยชาวล้านนาเชื่อว่า การจุดโคมไฟ จะนำมาซึ่งความเจริญและ
ความสุข แก่คนภายในครอบครัว อีกทั้งยังมีความเชื่อว่า เมื่อเกิดมาชาติหน้าจะเป็นบุคคลที่มีความฉลาด
เฉลยี ว เปรียบดั่งความสว่างไสวของแสงโคม เป็นการใหแ้ สงสวา่ งในยามค่ำคนื และยังถวายเป็นพุทธบูชาใน
ประเพณสี ำคญั ตา่ งๆ ทางพระพุทธศาสนา เช่น วันวสิ าขบชู า วันออกพรรษา เปน็ ตน้ นอกจากนนั้ ยงั มีความ
เชอื่ วา่ การบชู าโคมล้านนา จะนำความสว่างไสวใหเ้ กิดแก่ชีวติ สร้างความเป็นสริ มิ งคล ความเจรญิ ความสุข
แสงของโคมนำทางสู่สติปัญญาให้แก่เจ้าของบ้านและคนในครอบครัว เปรียบเสมือนแสงทางส่องชีวิตต่อ
อายุของผู้ถวายโคมไฟเพื่อเป็นพุทธบูชา และถ้าหากเกิดมาชาติหน้าจะเป็นบุคคลที่มีความฉลาดเฉลียว
เปรียบดั่งแสงของเปลวไฟที่ลุกโชติช่วงท่ามกลางความมืดมืด ต่อมาในภายหลังจึงมีการประดิษฐ์โคมใน
ลักษณะรูปร่างต่างๆ ตามยุคตามสมัย แต่ยังคงเป็นการสืบสานงานศิลปวัฒนธรรมอันล้ำค่าของชาวล้านนา
ให้คงอยู่ต่อไปอีกยาวนาน

การอนรุ ักษภ์ ูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
งานหัตถกรรมพ้ืนเมอื ง เป็นงานทเ่ี กิดจากภูมปิ ญั ญาของบรรพบุรษุ ทส่ี ืบทอดต่อกันมา

จากรุ่นสู่รุ่น เพื่อให้คงอยู่สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุที่การดำรงชีวิตผูกพันกับศาสนา การสร้าง
ผลงานทางศิลปะจึงมีแรงบันดาลใจจากความศรัทธา ซึ่งจากความสำคัญดังกล่าวจึงทำให้หน่วยงานต่างๆ
ของภาครัฐให้การสนับสนุน จัดกิจกรรม โครงการต่างๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์ไว้ซึ่งงานหัตถกรรมพื้นเมือง
โดยจัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนผู้ที่สนใจในเรื่องดังกล่าว มีการรักษาลวดลายและรูปแบบของโคม
ลา้ นนาล้านนาแบบด้ังเดิมไว้ ในขณะเดียวกนั มกี รสร้างสรรคล์ วดลายและรปู แบบทหี่ ลากหลายและแตกต่าง
ให้เหมาะสมกับยุคสมัย เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าให้เหมาะสมกับการนำไปใช้ในเทศกาล สถานที่
พิธีกรรมตา่ ง ๆ ผ่านกระบวนการอนุรักษ์และถ่ายทอดจากภูมิปัญญาผา่ นการถ่ายทอดด้วยการบอกเล่าด้วย
วาจา การสาธิต การปฏบิ ัติจริง

8

ใบความรู้ที่ 2

การทำโคมแขวนหรือโคมคา้ ง

วัสดุและอุปกรณ์ในการทำโคมแขวนหรือโคมค้าง
1. ไมไ้ ผ่ จกั สานแหง้
2. ผา้ โทเร ใชส้ ำหรบั ติดกับตวั โครงส่วนคอถึงสว่ นกน้ ของโครง
3. กระดาษฟอยล์ (สีทอง สเี งนิ ) ใช้สำหรับตกแตง่ โคมโดยการตดั เป็นลาย

อาทิ ลายประจำยาม ลายแกว้ ชิงดวง ลายสร้อยดอกหมาก เปน็ ต้น
4. กาวร้อน ใช้สำหรับในงานไมท้ ี่ต้องการประกอบกัน
5. กาวลาเทก็ ซ์ ใช้สำหรับงานผา้ และกระดาษที่ตอ้ งการเพิ่มความเหนียว

และการยึดติดทแ่ี ข็งแรงข้นึ
6. กรรไกร ใชต้ ัดผ้าและตัดกระดาษฟอยลเ์ พ่ือตัดตกแต่งลวดลายต่าง ๆ
7. เชือกขาว นำมามัดติดกบั โครงโคมส่วนด้านบน
8. ตัวหนบี ใช้สำหรับหนีบมุมทุกมมุ เพอ่ื ง่ายต่อการลงกาวรอ้ น
9. ฐานสำหรับการข้นึ โครงขนาด 7 เซนตเิ มตร และขนาด 8 เซนตเิ มตร

ข้ันตอนการผลิต
1. นำมดี ผ่าไม้ไผ่และเหลาไม้ไผใ่ หม้ รี ูปรา่ งเป็นเส้นบางและยาวขนาดประมาณ 1 เมตร

20 เซนตเิ มตร
2. นำไม้มาหักตามแบบฐาน (Handmade) ทีต่ ง้ั ไว้ โดยส่วนประกอบของโครงโคมล้านนา

นนั้ จะมดี ว้ ยกนั 4 สว่ น ได้แก่
2.1 ส่วนโครงแนวต้ัง จำนวน 4 ชิน้
2.2 ส่วนโครงแนวนอน จำนวน 2 ชน้ิ
2.3 สว่ นฐาน จำนวน 1 ช้นิ
2.4 สว่ นหวั จำนวน 1 ชนิ้

3. การทำโครงสว่ นแนวตง้ั จำนวน 4 ชิ้น นำไมม้ าหกั ตามแบบฐานที่ต้ังไว้มขี นาดยาว
7 เซนตเิ มตร และ ยาว 8 เซนติเมตร โดยหักช่วง

ขนาด 7 เซนติเมตร จำนวน 2 ครง้ั
ขนาด 8 เซนตเิ มตร จำนวน 1 ครง้ั
ขนาด 7 เซนตเิ มตร จำนวน 3 ครัง้
ขนาด 8 เซนตเิ มตร จำนวน 1 ครัง้
ขนาด 7 เซนติเมตร จำนวน 1 ครงั้
เมือ่ เสรจ็ แล้วกน็ ำมาประกบแล้วหยอดกาวร้อนลงไปเพ่ือยดึ ให้แนน่

9

4. การทำโครงส่วนแนวนอน 2 ชน้ิ นำไมม้ าหักตามแบบฐานทีต่ ้ังไว้มขี นาดยาว 7
เซนติเมตร จำนวน 8 คร้ัง เมอื่ เสร็จแล้วกน็ ำมาประกบแล้วหยอดกาวรอ้ นลงไปเพอ่ื ยึดใหแ้ น่น

5. การทำโครงส่วนฐานของโคม 1 ชน้ิ นำไม้มาหักตามแบบฐานทตี่ ัง้ ไว้มขี นาดยาว
6.5 เซนติเมตร จำนวน 4 ครงั้ เมอ่ื เสร็จแลว้ ก็นำมาประกบแลว้ หยอดกาวรอ้ นลงไปเพ่อื ยดึ ใหแ้ นน่

6. การทำโครงโคมส่วนหัว 1 ชิ้น ขั้นตอนเหมือนการทำโครงส่วนฐาน 1 ชิ้น นำไม้มาหัก
ตามแบบฐานทีต่ ัง้ ไวม้ ีขนาดยาว 8 เซนติเมตร ทั้ง 8 ครงั้ ใหเ้ ปน็ ทรงมงกฎุ นำโครงท้ัง 2 ส่วน เมื่อเสร็จแล้ว
ก็นำมาประกบแล้วหยอดกาวร้อนลงไปเพื่อยึดให้แน่นมาประกบกัน ใช้ตัวหนีบยึด 4 มุม แล้วนำไปผึ่งแดด
จนแห้งสนิท

7. วิธีประกอบโคม นำสว่ นของโครงแนวตั้ง 4 ชน้ิ ประกอบกนั โดยใหม้ ุมที่หกั ไว้บรรจบกัน
ใชต้ ัวหนบี หนบี มุมทุกมุม นำส่วนของโครงแนวนอน 2 ชิ้น สอดเขา้ ไปในส่วนโครงแนวต้ัง ใช้ตวั หนีบหนีบทุก
มุม ติดกาวผ่งึ แดดรอใหแ้ ห้งสนทิ นำสว่ นฐาน 1 ช้นิ และส่วนหวั 1 ชน้ิ มาประกอบกัน ติดกาวผ่งึ แดดรอให้
แห้ง นำเชอื กมามัดติดกบั โครงโคมส่วนด้านบน

8. วธิ ีการตัดผา้ การตัดและตกแตง่ ผ้าโทเร ใชก้ รรไกรตัดและตกแต่งผา้ โทเรให้เปน็ ตาม
แบบที่ตอ้ งการ ในการตดั ผ้าโทเรนนั้ จะมีส่วนประกอบอยู่ 3 สว่ น ได้แก่ สว่ นตวั (ยาว) 4 ชิ้น ขนาดประมาณ
7x32 เซนติเมตร ส่วนตัว (สั้น) 4 ชิ้น ขนาดประมาณ 8x24 เซนติเมตร ส่วนหาง (ยาว) 4 ชิ้น ขนาด
ประมาณ 7x32 เซนตเิ มตร

9. การตัดสว่ นหาง นำแบบหางมาประกบกบั ผ้าส่วนหางท่พี ับครึ่ง นำตวั หนีบยดึ
แลว้ ใชก้ รรไกรตดั ตามแบบ

10. การติดผ้าโทเร (ส่วนตัวและหาง) กับโครงโคม นำผ้าส่วนของตัวโคม(สั้น) ติดกับตัว
โครงสว่ นคอถงึ สว่ นก้นของโครง โดยใช้กาวลาเทก็ ซเ์ พื่อเพ่ิมความเหนยี ว และการยึดติดท่ีแขง็ แรงขึ้น นำผ้า
ส่วน ของตัว (ยาว) ใช้กาวติดกับตัวโครงส่วนหัวถึงส่วนก้นของโครง ดึงให้ตึงเรียบ ใช้กาวติดส่วนหาง นำ
กระดาษทองลวดลายต่างๆ ติดตกแต่ง และตัดเปน็ แนวเส้นยาวติดตามขอบโคมล้านนา

11. วธิ กี ารพับ/ตดั ลายประจำยาม

11.1 ตัดกระดาษทองใหเ้ ป็นรปู ส่ีเหลี่ยมจตั ุรัสขนาด 7 x 7 เซนติเมตร

11.2 พบั กระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมครัง้ ท่ี 1

11.3 พับกระดาษทองเปน็ แนวทแยงมมุ ครัง้ ท่ี 2

11.4 พบั กระดาษทองเปน็ แนวทแยงมมุ คร้ังที่ 3

11.5 แลว้ ตัดตามแบบ

10

12. วธิ ีการพบั /ตดั กระดาษตัดลายแก้วชิงดวง
12.1 ตดั กระดาษใหเ้ ปน็ รปู สเ่ี หล่ียมจัตุรสั ขนาด 16 x 16 เซนตเิ มตร
12.2 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครง้ั ท่ี 1
12.3 พับกระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมครั้งที่ 2
12.4 พับกระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมครัง้ ที่ 3
12.5 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครง้ั ท่ี 4
12.6 ตัดสว่ นชายของกระดาษทองออก
12.5 แล้วตดั ตามแบบ

13. วธิ ีการพับ/ตัดกระดาษตดั ลายสรอ้ ยดอกหมาก

13.1 ตดั กระดาษทองใหเ้ ป็นรปู สีเ่ หลย่ี มผืนผา้ ขนาด 10 x 15 เซนตเิ มตร

13.2 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมุมคร้งั ท่ี 1

13.3 พบั กระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมครง้ั ที่ 2

13.4 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครั้งท่ี 3
13.5 แล้วตัดตามแบบ

การบรรจภุ ณั ฑ์
1. กล่องคราฟท์ฝาครอบพลาสตกิ ขนาด 9 x 10 นิ้ว เพอ่ื ใช้ในการบรรจุโคมแขวน

หรอื โคมค้าง (โคมรังมดส้มแบบใช้ผ้า)ท่มี ขี นาด 7 x 8 นิว้ จำนวน 1 ชิ้น

การดูแลรักษา
1. ปอ้ งกันปลวกและมอดนำไมไ้ ผเ่ ปน็ ท่อนชบุ น้ำยาเชนไดรทผ์ สมน้ำ

(เชนไดรทค์ รึ่งกระปอ๋ งเลก็ ต่อน้ำ 1 ถงั ) เพื่อป้องกนั ปลวกและมอดนำมาผึง่ แดดให้แห้ง
2. นำโคมใสถ่ งุ ขนาด 24 x 43 น้วิ เปน็ คู่ตามแนว ถุงละ 10 ลูก ม้วนพบั เก็บปลายถุงให้

แน่นตึง

11

ใบความร้ทู ่ี 3

การทำโคมถอื หรอื โคมหกู ระตา่ ย

วสั ดุและอุปกรณ์ในการทำโคมถือหรอื โคมหูกระตา่ ย
1. กระดาษสา สำหรบั ทำเป็นกลบี ดอกบวั
2. กระดาษฟอยล์ ใช้สำหรับประดบั ตกแต่ง
3. ไมไ้ ผ่ หนาประมาณ 5 มิลลเิ มตร ทำเป็นฐานสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส ขนาด 10 เซนตเิ มตร
4. ไมไ้ ผ่เหลา ขนาดประมาณครึง่ เซนติเมตร ยาวประมาณ 25-30 เซนติเมตร
5. กาวลาเท็กซ์ ใช้สำหรับติดกระดาษ

ขนั้ ตอนการผลิต
1. ประดษิ ฐฐ์ านโคมเปน็ ไม้หนาประมาณ 5 มิลลิเมตร ทำเป็นฐานสี่เหล่ยี มจตั ุรสั ขนาด

ประมาณ 10 เซนตเิ มตร เจาะรูตรงมุมทั้งส่มี ุม
2. ใช้ไม้ไผย่ าวประมาณ 25-30 เซนติเมตร เหลาใหม้ ีขนาดประมาณคร่งึ เชนตเิ มตร

ดัดไม้ไผเ่ หลาเปน็ รูปโค้งคลา้ ยหกู ระต่ายปักลงไปในมุมท้งั สี่มมุ ให้สว่ นบนผายออกกวา้ งประมาณ 15
เซนตเิ มตร จะได้ตวั โคมที่มปี ากบานคล้ายหกู ระต่าย

3. ตดั กระดาษสาใหม้ ีขนาดเท่ากบั กลีบโคมท้ัง 4 ดา้ น
4. ขน้ั ตอนการประกอบทากาวลาเทก็ ซ์ท่โี ครงของโคมทั้ง 4 ด้าน นำกระดาษสาที่ตดั ไว้
แลว้ นำมาทาบบรเิ วณที่ติดกาว ตกแตง่ ให้สวยงามและเก็บรายละเอยี ดใหเ้ รียบรอ้ ย
5. ถ้าใช้ถือให้ใส่ด้ามตามต้องการ โดยมีความยาวประมาณ 15 เซนตเิ มตร
6. วิธกี ารพับ/ตัดลายประจำยาม

6.1 ตดั กระดาษทองให้เป็นรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสขนาด 7 x 7 เซนตเิ มตร

6.2 พบั กระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมคร้งั ท่ี 1

6.3 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมุมครงั้ ที่ 2

6.4 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมุมครง้ั ที่ 3

6.5 แล้วตัดตามแบบ

7. วิธีการพับ/ตดั กระดาษตดั ลายแก้วชงิ ดวง
7.1 ตัดกระดาษให้เป็นรูปส่ีเหลี่ยมจัตรุ สั ขนาด 16 x 16 เซนติเมตร
7.2 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมุมคร้งั ท่ี 1
7.3 พบั กระดาษทองเปน็ แนวทแยงมมุ คร้ังท่ี 2
7.4 พบั กระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมครั้งที่ 3
7.5 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครง้ั ที่ 4
7.6 ตัดสว่ นชายของกระดาษทองออก
7.6 แล้วตดั ตามแบบ

12

8. วธิ ีการพบั /ตดั กระดาษตดั ลายสร้อยดอกหมาก
8.1 ตดั กระดาษทองให้เปน็ รปู สีเ่ หล่ียมผนื ผา้ ขนาด 10 x 15 เซนตเิ มตร
8.2 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครั้งที่ 1
8.3 พบั กระดาษทองเปน็ แนวทแยงมมุ คร้งั ท่ี 2
8.4 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมุมครั้งที่ 3
8.5 แลว้ ตัดตามแบบ

การบรรภุ ณั ฑ์
1. กล่องคราฟท์ฝาครอบพลาสติก ขนาด 8 x 12 นิว้ เพ่อื ใช้ในการบรรจโุ คมถอื

หรอื โคมหกู ระตา่ ย ทม่ี ีขนาด 15 x 30 เซนติเมตร จำนวน 2 ชน้ิ

การดูแลรกั ษา
1. ป้องกนั ปลวกและมอดนำไมไ้ ผ่เป็นท่อนชุบน้ำยาเชนไดรทผ์ สมน้ำ

(เชนไดรทค์ ร่ึงกระป๋องเลก็ ตอ่ น้ำ 1 ถงั ) เพอ่ื ป้องกันปลวกและมอดนำมาผ่งึ แดดให้แหง้
2. นำโคมถอื หรอื โคมหูกระตา่ ย ใสถ่ งุ พลาสตกิ ขนาด 8 x 2 น้ิว เป็นคตู่ ามแนว

ถงุ ละ 2 อนั ม้วนพบั เก็บปลายถงุ ใหแ้ น่นตึง

13

ใบความร้ทู ่ี 4

การทำโคมดาว
วสั ดุและอุปกรณ์ในการทำโคมดาว

1. ไมไ้ ผ่ จักสานแห้ง ขนาด 8 เซนติเมตร จำนวน 4 ชิน้ และไม้ไผ่เหลายาว จำนวน 5 ชน้ิ
2. กระดาษสา ใช้สำหรับติดกับตวั โครงท่วั ทั้งโครง
3. กระดาษฟอยล์ (สีทอง สีเงิน) ใชส้ ำหรบั ตกแต่งโคมโดยการตดั เปน็ ลาย
อาทิ ลายประจำยาม ลายแก้วชงิ ดวง ลายสร้อยดอกหมาก เปน็ ตน้
4. กาวรอ้ น ใช้สำหรับในงานไมท้ ่ีต้องการประกอบกนั
5. กาวลาเท็กซ์ ใชส้ ำหรบั งานผา้ และกระดาษทตี่ ้องการเพิ่มความเหนียว
และการยึดติดท่ีแข็งแรงขน้ึ
6. กรรไกร ใชต้ ดั ผ้าและตดั กระดาษฟอยลเ์ พื่อตดั ตกแต่งลวดลายตา่ ง ๆ
7. เชือกขาว นำมามัดติดกับโครงโคมสว่ นดา้ นบน
8. ตัวหนีบ ใชส้ ำหรับหนบี มมุ ทกุ มมุ เพ่ือง่ายต่อการลงกาวร้อน
ข้ันตอนการผลติ
1. นำมีดผ่าไม้ไผ่และเหลาไมไ้ ผใ่ ห้มรี ูปรา่ งเปน็ เส้นบางและยาวขนาดประมาณ 1 เมตร
8 เซนติเมตร นำมาหักขึ้นโครง ใหเ้ ป็นทรงห้าเหลีย่ ม ขนาดความยาวดา้ นละ 8 เซนตเิ มตร จำนวน 2 ชนิ้
2. นำไมม้ าหักตามแบบฐาน (Handmade) ท่ีต้ังไว้ ขนาดความยาว 8 เซนตเิ มตร
จำนวน 4 ชิ้น มาเชื่อมติดกับตัวโครงหา้ เหลยี่ มเขา้ ดว้ ยกัน โดยเชื่อมตดิ ระหว่างช่องของแต่ละดา้ น
3. นำเส้นไม้ไผม่ าข้นึ โครงหักมุม โดยแบ่งออกเป็น 10 มุม แล้วนำมาเช่อื มต่อกนั เพอ่ื ข้ึน
รปู เป็นทรงดาวหา้ แฉก จำนวน 2 ชิน้
4. นำชิน้ ส่วนดาวหา้ แฉกมาประกบเขา้ กับแกนกลางหา้ เหลยี่ ม ใช้ปืนกาวและลวดเย็บ
กระดาษยดึ ตดิ ส่วนปลายของแฉกทั้งหา้ มุม ยดึ ติดมมุ ท้งั 2 ชน้ิ เข้าดว้ ยกันด้วยปนื กาว ทำให้เกดิ เป็นรปู ทรง
ดาวห้าแฉก
5. ใชก้ รรไกรตดั และตกแตง่ กระดาษาสา โดยใหม้ ีขนาดเท่ากับดาวแตล่ ะแฉก ขัน้ ตอนการ
ประกอบกระดาษสาเขา้ กับโครงแตล่ ะดา้ น ใชก้ าวลาเท็กซเ์ พ่ือเพมิ่ ความเหนยี ว และการยดึ ตดิ ที่แข็งแรงขึน้
ในสว่ นของรอยต่อ แต่ละด้านประดบั ตกแต่งดว้ ยกระดาษฟอยล์ (สีทอง สีเงนิ ) ท่ีตดั เปน็ เสน้ ตามตอ้ งการ
ติดทบั ด้านบนอีกคร้ัง
6. วธิ ีการพบั /ตัดลายประจำลาย

6.1 ตดั กระดาษทองใหเ้ ป็นรูปสี่เหล่ยี มจตั ุรัสขนาด 7 x 7 เซนตเิ มตร
6.2 พับกระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมคร้งั ท่ี 1
6.3 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมุมครงั้ ที่ 2
6.4 พับกระดาษทองเปน็ แนวทแยงมุมครง้ั ท่ี 3
6.5 แลว้ ตดั ตามแบบ

14

7. วธิ กี ารพบั /ตัดกระดาษตดั ลายแกว้ ชงิ ดวง
7.1 ตัดกระดาษใหเ้ ป็นรปู สเี่ หลีย่ มจัตรุ ัสขนาด 16 x 16 เซนติเมตร
7.2 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ คร้ังท่ี 1
7.3 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครั้งท่ี 2
7.4 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครง้ั ที่ 3
7.5 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ คร้งั ท่ี 4
7.6 ตัดสว่ นชายของกระดาษทองออก
7.5 แล้วตดั ตามแบบ

8. วธิ ีการพบั /ตดั กระดาษตัดลายสรอ้ ยดอกหมาก
8.1 ตดั กระดาษทองใหเ้ ป็นรปู ส่ีเหลี่ยมผืนผ้าขนาด 10 x 15 เซนติเมตร
8.2 พบั กระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครงั้ ท่ี 1
8.3 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมุมครั้งท่ี 2
8.4 พับกระดาษทองเป็นแนวทแยงมมุ ครั้งท่ี 3
8.5 แลว้ ตดั ตามแบบ

การบรรจุภณั ฑ์
1. กลอ่ งคราฟทฝ์ าครอบพลาสติก ขนาด 24.5 x 24.5 x 15 เซนตเิ มตร เพอื่ ใช้ในการ

บรรจุโคมดาว จำนวน 1 ชิ้น

การดูแลรกั ษา
1. นำไม้ไผ่เป็นทอ่ นชุบน้ำยาเชนไดรท์ผสมน้ำ (เชนไดรทค์ รง่ึ กระปอ๋ งเล็ก ตอ่ น้ำ 1 ถัง)

เพอ่ื ปอ้ งกนั ปลวกและมอดนำมาผง่ึ แดดใหแ้ หง้
2. นำโคมดาว ใสถ่ ุงพลาสตกิ ขนาด 24 x 30 นิว้ เปน็ ค่ตู ามแนว ถุงละ 10 อัน

ม้วนพบั เกบ็ ปลายถงุ ให้แนน่ ตงึ

15

ใบความรทู้ ่ี 5

การบรหิ ารจดั การและการตลาด
การวางแผนการผลติ

กอ่ นทจ่ี ะตดั สินใจดำเนนิ ธรุ กิจการทำโคมและตุงล้านนาจะตอ้ งคำนงึ ถึงสิง่ ต่อไปนี้ คอื
1. เงินทุน ก่อนเริ่มดำเนินการทำธุรกิจ ควรพิจารณาวางแผนเงินทุนในการดำเนินการ ถ้า
ไม่มีทุนเปน็ ของตนเองแล้วต้องพจิ ารณาอาศัยแหล่งเงินกู้ จะต้องพจิ ารณาว่าแหลง่ เงินกู้นนั้ มาจากไหน การ
กู้จากเอกชนที่มดี อกเบี้ยแพง จะคมุ้ ค่ากบั การลงทุนหรือไม่
2. แรงงาน พิจารณาการใช้แรงงานภายในครอบครัวเป็นอันดับแรก เพื่อเป็นการลด
รายจ่ายในการดำเนินการธรุ กิจ
3. วตั ถดุ บิ พจิ ารณาวตั ถดุ บิ ท่สี ามารถหาได้งา่ ยในท้องถ่ิน เพอื่ เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการ
ขนส่ง หากไม่มใี นท้องถิ่นจะมีปัญหาเร่ืองราคาและการขนสง่ หรอื ไม่
4. การจัดการ หมายถึง การจัดการด้านตลาด การจัดจำหน่าย โดยก่อนอื่นต้องคำนึงถึง
กลุ่มเป้าหมายที่จะนำผลิตภัณฑ์ไปจำหน่าย การกำหนดราคาขาย ราคาต้นทุน กำไรและการลงบัญชี
เบอื้ งตน้ ส่ิงเหลา่ น้จี ำเป็นอย่างยิง่ ในการประกอบธุรกิจ

การวางแผนการจำหน่าย
การจดั จำหนา่ ย (Distribution) หมายถึง โครงสร้างของช่องทางที่ใช้เพ่ือเคล่ือนย้ายสินค้า

จากธุรกิจไปยังตลาด ตัวกลางทางการตลาดเป็นธุรกิจที่ช่วยเสริมช่วยขายและจำหน่ายสินค้าไปยังผู้ซื้อ
ขั้นสุดท้าย ประกอบดว้ ย

1. คนกลาง (Middleman)
- พอ่ ค้าคนกลาง (Merchant Middlemen)
- ตวั แทนคนกลาง (Agent Middlemen)

2. ธุรกิจที่ทำหน้าทก่ี ระจายสนิ คา้
3. ธรุ กจิ ทใ่ี ห้บรกิ ารทางการตลาด
4. สถาบนั การเงิน
ช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel of Distribution) หมายถึง “กระบวนการในการ
จัดการเกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย สิทธิในตัวผลิตภัณฑ์ (และอาจรวมถึงตัวผลิตภัณฑ์) จากผู้ผลิตไปจนถึง
ผูบ้ ริโภค

16

จำนวนระดบั ของชอ่ งทางการจัดจำหน่าย หมายถึง จำนวนระดับคนกลางภายในเสน้ ทางที่
ผลติ ภัณฑ์และ/หรือกรรมสิทธ์ิในผลิตภัณฑ์เคล่อื นยา้ ยจากผู้ผลิตไปยงั ตลาด มดี ว้ ยกัน 2 ประเภท คือ

1. ชอ่ งทางการจดั จำหน่ายทางตรง
ช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรง หมายถงึ การขายผลิตภัณฑ์จากผผู้ ลิตไปยังผบู้ ริโภค หรอื
ผ้ใู ช้ทางอตุ สาหกรรมโดยไม่มีคนกลาง หรอื ช่องทางศนู ยร์ ะดับ

ผผู้ ลิต > ผู้บรโิ ภค
ผผู้ ลติ > ผ้ใู ช้ทางอุตสาหกรรม
2. ช่องทางการจัดจำหน่ายทางออ้ ม
ชอ่ งทางการจดั จำหน่ายทางอ้อม หมายถงึ เส้นทางท่ีสินค้าเคลื่อนย้ายจากผู้ผลิตโดยต้องผ่านคนกลางไปยัง
ผู้บริโภค
ช่องทางการจดั จำหน่ายหนงึ่ ระดับ ผ้ผู ลติ > ผ้คู า้ ปลีก > ผบู้ ริโภค
ช่องทางการจัดจำหน่ายสองระดบั ผู้ผลิต > ผู้ค้าสง่ > ผคู้ ้าปลกี > ผบู้ รโิ ภค
ช่องทางการจดั จำหนา่ ยสามระดบั ผ้ผู ลติ > ตัวแทน > ผู้ค้าส่ง > ผู้ค้าปลกี > ผู้บริโภค
นอกจากน้ยี งั มวี ิธีการสง่ เสริมการจำหนา่ ยทไี่ ด้ผลอีก 2 ประการ คอื
1. การใหข้ อ้ มูลจงู ใจผซู้ ้อื และภาพพจน์ของสนิ ค้าท่ผี ซู้ อ้ื ตอ้ งการ
2. ภาพพจน์ของสินค้าที่ผู้ซื้อต้องการ และพอใจทำให้สินค้านั้นมีค่าและมีราคาในตัวเอง
มากกวา่

การกำหนดราคาขาย
เมื่อทำการพัฒนาผลิตภัณฑ์โคมและตุงล้านนาขึ้นมาเพื่อการจำหน่าย สิ่งแรกที่ต้องทำคือ

การกำหนดราคาขายที่ผู้ซือ้ สามารถซื้อได้ในราคาไม่แพงจนเกินไปและผู้ขายก็พอใจที่จะขายเพราะได้กำไร
ตามทีต่ ้องการ การกำหนดราคาขายทำได้ดังน้ี

1. ตดิ ตามความต้องการของลูกค้า ลูกค้าเปน็ ผู้กำหนดราคาขาย ถ้าลกู คา้ มคี วามต้องการ
และสนใจมากก็จะสามารถต้งั ราคาไดส้ ูง

2. ตั้งราคาขายโดยบวกราคาต้นทุนกับกำไรที่ต้องการก็จะเป็นราคาขาย ในกรณีเช่นนี้
จะต้องรู้ราคาต้นทุนมาก่อนจึงจะสามารถบวกกำไรลงไปได้ การตั้งราคาขายนี้ จะมีผลต่อปริมาณการขาย
ถ้าต้งั ราคาขายไม่แพง หรือต่ำกว่าราคาตลาดกส็ ามารถขายได้จำนวนมาก ผลทีไ่ ด้รบั คอื ได้กำไรเพิ่มมากขึ้น
ด้วยการกำหนด ราคาขายมหี ลายรูปแบบ แตส่ ง่ิ ที่สำคญั คือ ตอ้ งคำนงึ ถงึ ราคาท่ีสงู ทีส่ ดุ ทผี่ ู้ซ้ือสามารถซื้อได้
และราคาต่ำสุดที่จะไดเ้ งินทุนคืน

17

หลักเกณฑใ์ นการกำหนดราคาขาย มดี ังน้ี
1. ได้ผลตอบแทนจากการลงทุนตามเป้าหมาย
2. เพือ่ รกั ษาเสถยี รภาพด้านราคาไม่ถกู หรือแพงจนเกนิ ไป
3. เพ่ือรกั ษาหรือปรบั ปรงุ ส่วนแบ่งของการตลาด กลา่ วคือ ตั้งราคาขายสง่ ถกู กว่าราคา

ขายปลกี เพ่ือให้ผ้รู ับซื้อไปจำหน่ายปลีกจะไดบ้ วกกำไรได้ด้วย
4. เพอ่ื แข่งขันหรือป้องกันคู่แขง่ ขนั หรือผู้ผลติ รายอื่น
5. เพ่อื ผลกำไรสงู สดุ
การกำหนดราคาขาย มหี ลักสำคัญ คือ ราคาตน้ ทนุ + กำไรที่ต้องการ ดงั นั้น จึงจำเป็นต้อง

ศกึ ษาเรอ่ื งราวการคดิ ราคาต้นทนุ ให้เข้าใจก่อน

การคิดราคาตน้ ทนุ
การคดิ ราคาต้นทุน หมายถงึ การคดิ คำนวณราคาวตั ถดุ ิบท่ีใช้ในการผลิต มคี ่าแรง

ค่าใช้จ่ายในการผลิต ประกอบด้วย ค่าเชา่ สถานที่ ค่าไฟฟ้า ค่าขนส่ง ฯลฯ การคิดราคาต้นทุนมปี ระโยชน์
คอื

1. สามารถตงั้ ราคาขายได้โดยรู้ว่าจะได้กำไรเท่าไร
2. สามารถร้วู ่ารายการใดทีก่ ่อใหเ้ กดิ ตน้ ทุนสงู หากต้องการกำไรมากก็สามารถลดตน้ ทนุ
น้นั ๆ ลงได้
3. รู้ถึงการลดต้นทุนในการผลิตแล้วนำไปปรบั ปรุง และวางแผนการผลิตเพิ่มขึน้ ได้
ตน้ ทุนการผลิตมี 2 อยา่ ง คือ
1. ต้นทนุ ทางตรง หมายถึง ตน้ ทนุ ในการซ้ือวัตถุดิบรวมท้ังค่าขนสง่
2. ต้นทุนทางอ้อม หมายถึง ต้นทุนที่จ่ายเป็นค่าบริการต่าง ๆ เช่น ค่าแรงงาน ค่าไฟฟ้า
ค่าเชื้อเพลิง ทั้งน้ี ให้คิดเฉพาะส่วนที่เก่ียวกับการผลิตโดยตรง แล้วนำต้นทุนทั้งสองอย่างมาคิดรวมกันก็จะ
ไดเ้ ปน็ ราคาตน้ ทนุ รวม
การกำหนดราคาขาย จะต้องคำนงึ ถึง
1. ต้นทนุ ทางตรง + ต้นทุนทางอ้อม คือ ตน้ ทุนรวม
2. การหากำไรทเ่ี หมาะสม ทำไดโ้ ดยเพมิ่ ต้นทุนรวมขน้ึ อีก 20-30%

ตัวอย่าง ต้นทุนรวมในการทำโคมดาว ต่อ 1 ลูก 50 บาท
บวกกำไร 30% ของ 50 จะได้ = 15 บาท
ฉะนัน้ ราคาขาย คือ ต้นทนุ + กำไร
คือ 50 + 15 เท่ากบั 65 บาท

โดยทั่วไปร้านค้าปลีกจะกำหนดราคาขาย โดยการบวกกำไรที่ต้องการเข้ากับราคาต้นทุน
การผลิตสินค้านั้น ๆ แต่บางรายก็กำหนดราคาสูง สำหรับการผลิตระยะเริ่มแรก เพราะความต้องการของ
ตลาดคอ่ นข้างสูงในระยะเวลาอันสัน้ การเปลยี่ นแปลงราคาขายอาจมีผลให้ยอดลดหรือเพม่ิ ขึ้นแล้วแต่ภาวะ

18

แวดล้อม จึงต้องคำนึงถึงเช่นเดียวกัน ดังนั้น จึงสามารถคิดราคาขายได้ง่าย ๆ ดังน้ี ราคาขาย = ราคาทุน
(ตน้ ทนุ + คา่ แรง) + กำไรที่ตอ้ งการ

การทำบัญชีรายรบั – รายจ่าย
หมายถงึ การจดบันทึกรายการข้อมลู ดา้ นการเงินของการปฏิบตั ิงาน ท้งั ที่เกยี่ วกับรายการ

ที่รับเข้ามาและรายการที่ต้องจ่ายออกไป เพื่อให้มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องทางด้านการเงิน ตลอดจนผลของการ
ดำเนินงานนั้นไว้ว่าคงเหลอื เงินหรือไม่ จำนวนเท่าไร และเปรียบเทียบผลการดำเนินกิจการว่าได้กำไร หรือ
ขาดทุนเพยี งไร

ประโยชน์ของการทำบัญชีรายรบั -รายจา่ ย
1. ทำให้ทราบฐานะทางการเงินในการปฏบิ ัตงิ าน
2. ใช้ประกอบการวางแผนในการทำงานหรือในการใชจ้ ่ายเงิน
3. ใช้ในการติดตามการทำงานดา้ นตา่ ง ๆ
4. ทำใหท้ ราบปัญหาในการทำงานและแก้ไขทัน
5. ใชร้ ายงานผลการดำเนินงาน
6. ใช้เปน็ ข้อมูลรายจ่ายปรบั ลดคา่ ใชจ้ า่ ยเพ่ือให้เหลอื เงนิ หรอื ได้กำไรเพิ่มขึน้
7. นำวิธกี ารจัดทำบัญชีไปใช้ในชีวิตประจำวนั

หลกั การจัดทำบัญชีรายรบั -รายจา่ ย มดี ังนี้
1. รายรับ เป็นข้อมูลทั้งหมดที่ได้รับเงินเข้ามา เช่น ค่าหุ้น เงินกู้ ค่าขายของ ค่าขาย

ผลผลติ
2. รายจ่าย เป็นข้อมูลราจ่ายทั้งหมดในการประกอบกิจการนั้น ๆ เช่น ค่าขนส่ง ค่าซ้ือ

วัตถดุ ิบ ค่าจ้างแรงงาน
3. เงินคงเหลอื ได้ ผลตา่ งระหวา่ งรายรับกับรายจา่ ยทั้งหมด

การค้าออนไลน์
E-Commerce คือ การประยุกต์สื่ออินเตอร์เน็ตมาใช้ในการดำเนินธุรกิจการค้า หรือ

เรียกวา่ พาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ ที่นิยมกนั มาก ณ ปัจจุบนั คอื การซ้ือขายสนิ คา้ ผ่านทางอินเตอรเ์ นต็ การหนั
มาใช้เว็บสื่อกลางทางการค้ามากยิ่งขึ้น เป็นสื่อกลางในการรวบรวมสินค้าและผู้ซื้อผู้ขายไว้ในเว็บไซต์เดียว
เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อซื้อ-ขาย ทำให้การค้นหาข้อมูลเป็นเรื่องที่ง่ายและสามารถจำกัด
ขอบเขตข้อมูลให้ตรงตามความต้องการมากยิ่งขึ้น ตามการจัดกลุ่มสินค้าของผู้ให้บริการแหล่งข้อมูล
ออนไลน์นนั้ ๆ

19

E-Commerce จึงเป็นเสมือนสื่อกลางในการโฆษณาและเชื่อมโยงข้อมูล หรือความ

ต้องการของผู้ใช้งาน ไปยังกลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมายโดยตรง พร้อมทั้งสามารตอบสนองต่อความต้องการ

ของตลาด ย่นเวลาในการนำสินคา้ เข้าสู่ตลาด ทำให้สามารถขยายตลาดได้อย่างรวดเรว็ ทวคี ูณ

ประโยชน์ของ E-commerce
1. เพ่ิมโอกาสทางการตลาด

ขยายโอกาสในการเขา้ ถงึ ตลาด เพิม่ ชอ่ งทางการจดั จำหน่ายมากยิ่งข้ึนสนองความต้องการ
ของตลาด และขยายตลาดไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ นำเทคโนโลยีมาใช้ สร้างผลกำไรแกอ่ งค์กร ตามทันสื่อการตลาด
ยคุ ใหม่เพ่มิ โอกาสโลกตลาดออนไลน์ รทู้ ันพฤตกิ รรมผู้บรโิ ภคในปจั จุบัน สามารถเก็บขอ้ มูลลูกคา้ เพอื่ การทำ
การตลาดทางตรง สร้างการรบั รู้ได้อย่างรวดเร็ว ยน่ ระยะเวลาการนำสินคา้ เข้าสูต่ ลาดเปิดบรกิ ารตลอด 24
ชั่วโมง 7 วัน สะดวกในการค้นหาข้อมูล และติดต่อซื้อ - ขายนำเสนอข้อมูลสินค้าได้เป็นจำนวนมาก และ
สามารถสื่อสารกับลูกค้า ได้ในลักษณะ Interactive Market (การตลาดเชิงตอบโต้)เพิ่มโอกาสทาง
การตลาดในการบริหารข้อมูลลูกค้าจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ปรับปรุงหรือ Update ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า
และบริการได้ตลอดเวลา
2. ลดต้นทุนในการจัดซื้อ

ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นราคาสินค้า ตลอดจน
ค่าใช้จ่ายในกระบวนการซื้อที่ลดลงสามารถควบคุมขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างได้ ขั้นตอนไม่ซับซ้อนสะดวก
และรวดเร็วขึ้นสามารถเลือก ผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายสินค้าและบริการได้อย่างหลากหลาย ประหยัดเวลาในการ
เปรียบเทียบสินค้าและผู้ขายเป็นผลให้ได้สินค้าคุณภาพดี และราคาเป็นที่น่าพอใจ ตรงกับความต้องการ
ท่สี ุด
3. สนับสนุนการซื้อ - ขาย

มีระบบค้นหาสินค้าจาก “คำค้นหาสินค้า” และช่องทางการเข้าถึงข้อมูลทาง“สารบัญ
ข้อมูล” แบ่งออกเป็นหมวดหมู่และประเภทอย่างชัดเจน เพื่อความสะดวกในการค้นหาเลือกดูสินค้า หรือ
บริษัท ได้ตามความต้องการระบบผู้ตดิ ตอ่ และระบบข้อความทางหนา้ เว็บไซต์ เพิ่มความสะดวกรวดเร็วใน
การติดตอ่ สื่อสารระหวา่ งกนั ส่งเสรมิ การเขา้ ถงึ ข้อมลู ของผูเ้ ข้าชมเว็บไซตจ์ ำนวนมาก สามารถมองเหน็ สินค้า
และบริษัทของคุณได้อย่างง่ายดาย ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ สามารถทำกำไรได้มากกว่าระบบการซื้อ - ขาย
แบบเดิม เนื่องจากต้นทุนการจัดซื้อและจัดจำหน่ายต่ำกว่าทำให้ต้นทุนต่อหน่วยลดลงและ กำไรจากการ
ขายตอ่ หน่วยเพ่มิ ขนึ้
4. ส่งเสริมการขายการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

ลดตน้ ทุนการส่งเสรมิ การตลาด โฆษณาและประชาสัมพันธ์ เชน่ ลดต้นทนุ การโฆษณาผ่าน
ส่ือปกติอนื่ ๆ ลดตน้ ทนุ การจัดกิจกรรมทางการตลาด ซงึ่ สามารถใช้สือ่ อิเล็กทรอนิกส์บริหารจัดการได้สร้าง
ภาพลักษณท์ ่ีดีให้กบั ธรุ กิจหรอื องค์กร ในเร่ืองของความทันสมยั และเป็นโอกาสท่จี ะทำใหส้ นิ ค้าหรือบริการ
เป็นท่รี จู้ กั อย่างรวดเร็วในวงกว้าง

20
5. ลดการใช้ทรัพยากร

ลดเวลาในการหาขอ้ มลู สินคา้ หรอื ผขู้ าย และยน่ เวลาในการนำสินคา้ เข้าสูต่ ลาดลดข้ันตอน
ทางการตลาดลดพลังงานในการเดินทางลดการใช้ทรัพยากรด้านองค์ประกอบทางธุรกิจ เช่น พื้นที่การขาย
อาคารประกอบการ ทำเลที่ตั้ง โกดังเก็บสินค้า เป็นต้นลดต้นทุนด้านช่องทางจำหน่ายในรูปแบบร้านค้า,
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร รวมทั้งค่าเช่าพื้นที่ขายหรือการลงทุนในการสร้างร้าน ซึ่งจะช่วยให้ต้นทนุ
ของธุรกจิ ตำ่ ลง

Credit : ศูนย์พฒั นากลยทุ ธ์ทางธุรกจิ
Credit : ขอบคุณที่มา https://www.sbdc.co.th/public-training-calendar/584/channel-strategy-
in-the-digital-era/

21

ใบความร้ทู ่ี 6

คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ

ความสำคญั ของคณุ ธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ
จริยธรรมเป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยความสัมพันธ์

ระหวา่ งจรรยาคอื ความประพฤติ และธรรม คือเครือ่ งรักษาความประพฤติ การประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตามผู้
ประกอบอาชพี จะตอ้ งคำนึกถึงผลกระทบต่อสงั คมภายนอกเสมอ ทั้งน้ีกค็ อื จะต้องไมใ่ ช้ความรคู้ วามสามารถ
ในทางที่ผิด หากประกอบอาชีพโดยไร้จริยธรรมผลเสียหายจะตกอยู่กับสังคมและประเทศชาติฉะนั้น
จริยธรรมจึงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งที่จะลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ความสำคัญของจริยธรรมในการ
ประกอบอาชพี มดี งั น้ี

1. ช่วยให้ผู้ประกอบอาชีพแต่ละสาขาได้ใช้วิชาชีพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม และเป็น
ประโยชนต์ ่อสังคมและประเทศชาติ

2. ช่วยควบคุมและส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีความ
สำนกึ ในหน้าทแี่ ละมีความรบั ผิดชอบในงานของตน

3. ช่วยส่งเสริมและควบคุมการผลิต และการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพเป็นที่เชื่อถือและ
ไวว้ างใจไดใ้ นเร่ืองของความปลอดภัยและการบริการทด่ี ี

4. ชว่ ยสง่ เสริมให้ผปู้ ระกอบอาชีพไม่เอารดั เอาเปรยี บผบู้ รโิ ภค และไม่เหน็ แก่ตัว ทั้งนี้ต้อง
ยดึ หลักโดยคำนึกถึงผลกระทบท่ีจะเกิดแกผ่ บู้ รโิ ภคเสมอ

5. ช่วยใหว้ งการธุรกจิ ของผูป้ ระกอบอาชีพมีความซ่ือสัตย์ ยตุ ิธรรม และมคี วามเอื้อเฟ้ือต่อ
สังคมส่วนรวมมากขึ้น อาชีพ (Occupation) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานทุกประเภทและเกี่ยวข้องกับ
องค์ประกอบทางด้านเทคนคิ เศรษฐกิจ และสงั คม ดังนนั้ คำวา่ อาชีพจึงครอบคลมุ ไปถึงงานท่ีใคร ๆ ก็ทำได้
โดยไม่ต้องอาศัยการฝึกหัดมาก่อน เช่น งานที่ต้องใช้แรงงาน (Manual works) และเป็นงานที่ผู้กระทำ
จะตอ้ งไดร้ บั การฝึกฝนเปน็ พิเศษหรือเป็นงานท่ใี ช้ทักษะและการฝึกหดั ขั้นสงู (Technic works)

หลักในการยึดถอื ปฏบิ ตั ิของผู้ประกอบอาชีพทัว่ ไปพงึ กระทำเพอ่ื ความเจริญกา้ วหนา้ ใน
อาชพี ของตน และรว่ มรบั ผิดชอบในสงั คม ควรมดี งั นี้

1. ความซอื่ สัตย์สจุ รติ และมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม
2. การมจี ริยธรรมตอ่ สิ่งแวดล้อม
3. ความน่าเชอ่ื ถือและความปลอดภัยในบริการ
4. การมจี รรยาอาชีพและดำเนนิ กิจการอย่างมีคณุ ภาพ
5. การสรา้ งสมั พนั ธภาพที่ดีต่อลกู ค้า
6. การเคารพสทิ ธิและรักษาผลประโยชน์ของผอู้ น่ื
7. การใชจ้ รยิ ธรรมในการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร
8. การสรา้ งสมั พันธภาพกบั ชุมชน

22

9. การสรา้ งวินยั ในการประกอบอาชีพ
10. การดำเนินงานอย่างถกู ต้องตามกฎหมาย
11. การให้แหลง่ ข้อมูลข่าวสารอยา่ งถูกต้อง
12. การประกอบอาชพี ดว้ ยความขยนั หม่ันเพียร

ผปู้ ระกอบการจะตอ้ งมีคณุ ธรรมประจำใจท่ีสำคญั 7 ประการ

1. ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ
2. ขยันหม่นั เพยี ร
3. มีความรบั ผิดชอบ
4. มีความละเอียดรอบคอบ
5. ตัดสนิ ใจอยา่ งฉลาดและมีเหตุผล
6. ตรงต่อเวลา
7. เหน็ แกป่ ระโยชนส์ ่วนรวม
ผู้ทม่ี ีคุณลักษณะที่ดีเหมาะสมกับการประกอบอาชีพ ต้องมจี รยิ ธรรมดงั น้ี
1. ทำงานเตม็ ความรู้ความสามารถและอทุ ิศเวลาให้กบั งาน
2. ไม่แก่งแย่ง ชิงดีชิงเดน่
3. ไมค่ ดโกงเอาเปรียบเพ่ือนร่วมงานและผ้บู ริโภค
4. ไมห่ ลอกลวงโดยการโฆษณาชวนเชอ่ื
5. เลือกประกอบอาชพี ที่ไม่ขัดกับกฎหมายและศีลธรรม
6. เสียภาษีอากร ภาษีเงินได้จากการประกอบอาชีพตามความเปน็ จริง

23

ใบงานที่ 1

เรื่อง ความรู้ทั่วไปเก่ยี วกบั โคมลา้ นนา

จงตอบคำถามต่อไปน้ี

1. จงบอกประวัติความเป็นมาของโคมล้านนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......………………………
……………………………………………………………………………………………………………………...………………………………
……………………………………………………………………………………………………...………………………………………………
………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………
……………………………………………………………………………………...………………………………………………………………
………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………

2. ใหอ้ ธบิ ายวัฒนธรรมและความเชอื่ ของชาวลา้ นนา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………
…………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...………………………………………………………
…………………………………………………………………………...…………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………......…………………………………………………………………………………………

3.จงบอกประโยชน์การอนุรักษ์ด้านภูมปิ ัญญา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………......………………………
……………………………………………………………………………………………………………………...………………………………
……………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………
…………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………

24

ใบงานที่ 2

เรื่อง การทำโคมแขวนหรือโคมค้าง

คำช้ีแจง ใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาการทำโคมแขวนหรอื โคมคา้ ง ต่อไปนี้
1. ศึกษาใบความรเู้ รอื่ งการทำโคมแขวนหรอื โคมคา้ ง (โคมรงั มดสม้ แบบใชผ้ า้ )
2. ศึกษาการทำโคมแขวนหรือโคมค้าง (โคมรงั มดส้มแบบใช้ผา้ ) ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ

ตำบลดอนศรีชุม นางสุพรรณี ปัญญาโสภา แหล่งเรียนรู้กลุ่มผู้สูงอายุบ้านคลองประปา หมู่ 3 ตำบลดอนศรีชุม
อำเภอดอกคำใต้ จังหวดั พะเยา แล้วให้ฝึกทกั ษะการทำโคมแขวนหรือโคมคา้ ง

3. ใหผ้ ้เู รยี นเตรยี มวัสดุ อปุ กรณใ์ นการทำโคมแขวนหรือโคมคา้ ง
(โคมรงั มดส้มแบบใชผ้ ้า) ดังนี้

3.1 ไมไ้ ผ่ จักสานแหง้
3.2 ผา้ โทเร ใชส้ ำหรบั ติดกบั ตัวโครงสว่ นคอถึงสว่ นก้นของโครง
3.3 กระดาษฟอยล์ (สที อง สีเงิน) ใช้สำหรบั ตกแตง่ โคมโดยการตัดเป็นลาย
อาทิ ลายประจำยาม ลายแกว้ ชงิ ดวง ลายสร้อยดอกหมาก เปน็ ต้น
3.4 กาวรอ้ น ใชส้ ำหรบั ในงานไม้ทต่ี ้องการประกอบกนั
3.5 กาวลาเทก็ ซ์ ใชส้ ำหรบั งานผ้าและกระดาษทตี่ อ้ งการเพิ่มความเหนยี ว
และการยึดตดิ ท่ีแขง็ แรงขนึ้
3.6 กรรไกร ใช้ตดั ผ้าและตดั กระดาษฟอยลเ์ พื่อตัดตกแต่งลวดลายตา่ ง ๆ
3.7 เชอื กขาว นำมามดั ตดิ กบั โครงโคมสว่ นดา้ นบน
3.8 ตัวหนบี ใช้สำหรบั หนีบมุมทุกมมุ เพอื่ งา่ ยตอ่ การลงกาวร้อน
3.9 ฐานสำหรับการขึ้นโครงขนาด 7 เซนตเิ มตร และขนาด 8 เซนติเมตร

25

ใบงานที่ 3

เร่อื ง การทำโคมถอื หรอื โคมหกู ระตา่ ย

คำชแี้ จง ใหผ้ ูเ้ รยี นศกึ ษาการทำโคมถือหรือโคมหกู ระตา่ ย ต่อไปนี้
1. ศกึ ษาใบความรู้เรือ่ งการทำโคมถือหรือโคมหูกระต่าย
2. ศกึ ษาการทำโคมถอื หรือโคมหูกระตา่ ย ภมู ิปัญญาท้องถิ่นตำบลดอนศรีชมุ

นางสุพรรณี ปัญญาโสภา จากแหลง่ เรยี นรู้กลุ่มผู้สูงอายุบา้ นคลองประปา หมู่ที่ 3 ตำบลดอนศรีชมุ
อำเภอดอกคำใต้ จงั หวัดพะเยา แล้วให้ฝึกทกั ษะการทำโคมถือหรอื โคมหูกระตา่ ย

3. ให้ผูเ้ รยี นเตรียมวสั ดุ อปุ กรณใ์ นการทำโคมถือหรือโคมหูกระต่าย ดังนี้
3.1 กระดาษสา สำหรับทำเปน็ กลบี ดอกบัว
3.2 กระดาษฟอยล์ ใช้สำหรบั ประดบั ตกแตง่
3.3 ไมไ้ ผ่ หนาประมาณ 5 มิลลเิ มตร ทำเป็นฐานส่ีเหลยี่ มจัตุรัส ขนาด 10 เซนตเิ มตร
3.4 ไม้ไผเ่ หลา ขนาดประมาณคร่ึงเซนติเมตร ยาวประมาณ 25-30 เซนตเิ มตร
3.5 กาวลาเทก็ ซ์ ใชส้ ำหรับตดิ กระดาษ

26

ใบงานท่ี 4

เร่อื ง การทำโคมดาว

คำชี้แจง ให้ผเู้ รยี นศกึ ษาการทำโคมดาว ต่อไปน้ี
1. ศึกษาใบความรเู้ รื่องการทำตุงไสห้ มู
2. ศึกษาการทำโคมดาว ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินตำบลดอนศรชี มุ นางสุพรรณี ปญั ญาโสภา

/นางกลั ยา ศรีชัย จากแหล่งเรียนรู้กลมุ่ ผู้สงู อายบุ ้านคลองประปา หมู่ 3 ตำบลดอนศรีชมุ อำเภอดอกคำใต้
จงั หวดั พะเยา แลว้ ใหฝ้ ึกทักษะการทำโคมดาว

3. ใหผ้ ูเ้ รียนเตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ในการทำโคมดาว ดงั น้ี
3.1 ไม้ไผ่ จกั สานแห้ง ขนาด 8 เซนตเิ มตร จำนวน 4 ชิน้
3.2 กระดาษสา ใชส้ ำหรับตดิ กบั ตัวโครง ทัว่ ทง้ั โครง
3.3 กระดาษฟอยล์ (สที อง สเี งนิ ) ใชส้ ำหรบั ตกแตง่ โคมโดยการตัดเป็นลาย

อาทิ ลายประจำยาม ลายแก้วชิงดวง ลายสรอ้ ยดอกหมาก เปน็ ต้น
4. กาวรอ้ น ใชส้ ำหรบั ในงานไมท้ ่ีตอ้ งการประกอบกัน
5. กาวลาเท็กซ์ ใช้สำหรบั งานผา้ และกระดาษทต่ี ้องการเพิม่ ความเหนยี ว

และการยึดติดทีแ่ ข็งแรงข้ึน
6. กรรไกร ใชต้ ดั ผ้าและตดั กระดาษฟอยลเ์ พื่อตัดตกแตง่ ลวดลายตา่ ง ๆ
7. เชือกขาว นำมามัดติดกับโครงโคมส่วนด้านบน
8. ตวั หนีบ ใช้สำหรับหนบี มมุ ทกุ มมุ เพื่องา่ ยต่อการลงกาวร้อน

27

ใบงานที่ 5

เรอ่ื ง การบรหิ ารจดั การและการตลาด

จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. จงบอกความหมายของการวางแผนการผลติ

............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................

.................................................................................... .....................................................................................

............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................... ..........................................

2. จงบอกประเภทของการจัดจำหน่าย
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................

3. จงบอกประโยชน์ของการทำบญั ชรี ายรับ – รายจา่ ย
............................................................................................................................. ............................................
....................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
.................................................................................................................................. .......................................
........................................................................................... ..............................................................................

4. จงบอกความของการค้าออนไลน์
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................

28

5. จงบอกประโยชน์ของ E – Commerce
............................................................................................................................................................... ..........
......................................................................................................................... ................................................
............................................................................................................................. ............................................
.................................................................................................................................................................... .....
............................................................................................................................. ............................................

29

ใบงานท่ี 6

เรอื่ ง คุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชพี
จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1. ความสำคญั ของคุณธรรม จริยธรรม ในการประกอบอาชพี
............................................................................................................................. ............................................
....................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
.................................................................................................................................. .......................................
............................................................................................ .............................................................................
............................................................................................................................. ............................................
....................................................................................................................................... ..................................
................................................................................................. ........................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................................ .............................
...................................................................................................... ...................................................................
................................................................................................. ........................................................................

2. คุณธรรมสำหรับผู้ประกอบการ 7 ประการ คอื
............................................................................................................................. ............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................
............................................................................................................................. ............................................
.........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ 30
แบบ กศ.ตน.12

วทิ ยากร...........................................................................................................................................................
หลกั สตู ร.....การทำโคมล้านนา.....จำนวน ...35...ช่ัวโมง (เรยี นวันละ...5....ช่ัวโมง)
ระหวา่ งวันท.่ี ...........................................................................................เวลาเรียน ....09.00 – 15.00.... น.
สถานทจี่ ดั การเรียน..........................................................................................................................................

วัน เดอื น ปี เวลา กระบวนการจดั การเรยี นรู้ หมายเหตุ
09.00 - 15.00 น. 1. วิทยากรบรรยายความเปน็ มาและ เรยี นวันละ 5 ช่วั โมง

ความสำคัญของโคมล้านนา วัฒนธรรม เรียนวนั ละ 5 ช่ัวโมง
และความเช่ือของชาวลา้ นนา การ
อนรุ กั ษ์ดา้ นภูมิปัญญา
2. วทิ ยากรชีแ้ จงฝึกปฏิบตั กิ ารทำโคม
ล้านนา
2.1 การทำโคมแขวนหรือโคมค้าง
2.2 การทำโคมถือ หรือโคมหูกระต่าย
2.3 การทำโคมดาว
3. วทิ ยากรให้ผเู้ รียนเตรยี ม
วสั ดุ - อุปกรณ์ เพ่ือใช้ในการทำโคม
ล้านนา
1. นำไมไ้ ผ่เปน็ ท่อนชบุ น้ำยาเชนไดรท์
ผสมนำ้ (เชนไดรทค์ รึง่ กระปอ๋ งเลก็ ตอ่ น้ำ
1 ถัง) เพ่ือป้องกนั ปลวกและมอดนำมาผึ่ง
แดดใหแ้ หง้ การเตรยี มไม้ไผ่
4. ผา่ ไมไ้ ผ่และเหลาไม้ไผใ่ หม้ ีรูปร่างเป็น
เส้นบางและยาว
09.00 - 15.00 น. วทิ ยากรให้ผู้เรยี นลงมือปฏิบตั ิการทำ
โครงโคมรังมดสม้ แบบใช้ผา้
1. นำไมไ้ ผท่ ่เี หลานำมาหกั ตามแบบฐานทต่ี ้งั ไว้
1.1 การทำโครงส่วนแนวตั้ง จำนวน 4
ชิ้น นำไม้มาหักตามแบบฐานที่ตั้งไว้มี
ขนาดยาว 7 เซนติเมตร และ ยาว 8
เซนตเิ มตร

31

วัน เดือน ปี เวลา กระบวนการจดั การเรียนรู้ หมายเหตุ

1.2 การทำโครงสว่ นแนวนอน 2 ชิน้

นำไม้มาหักตามแบบฐานที่ตั้งไว้มีขนาด

ยาว 7 เซนตเิ มตร

1.3 การทำโครงสว่ นฐานของโคม 1 ชิ้น

นำไม้มาหักตามแบบฐานที่ตั้งไว้มีขนาด

ยาว 6.5 เซนตเิ มตร จำนวน 4

1.4 การทำโครงโคมส่วนหวั 1 ชนิ้ นำไม้

มาหักตามแบบฐานที่ตั้งไว้มีขนาดยาว 8

เซนตเิ มตร ท้ัง 8 ครง้ั ให้เป็นทรงมงกฎุ

นำโครงทั้ง 2 ส่วน เมื่อเสร็จแล้วก็นำมา

ประกบแล้วหยอดกาวร้อนลงไปเพื่อยึดให้

แน่นมาประกบกัน ใช้ตัวหนีบยึด 4 มุม

แลว้ นำไปผึง่ แดดจนแหง้ สนิท

2. วิธีประกอบโคม นำส่วนของโครง

แนวตั้ง 4 ชิ้น ประกอบกันโดยให้มุมที่หัก

ไว้บรรจบกัน ใช้ตัวหนีบหนีบมุมทุกมุม

นำส่วนของโครงแนวนอน 2 ชิ้น สอดเข้า

ไปในส่วนโครงแนวตั้ง ใช้ตัวหนีบหนบี ทุก

มุม ติดกาวผึ่งแดดรอให้แห้งสนิท นำส่วน

ฐาน 1 ชิ้นและส่วนหัว 1 ชิ้น มาประกอบ

กัน ติดกาวผึ่งแดดรอให้แห้ง นำเชือกมา

มัดตดิ กบั โครงโคมสว่ นด้านบน

3. วิธีการตัดผ้า การตัดและตกแต่งผ้า

โทเร ใชก้ รรไกรตัดและตกแต่งผา้ โทเรให้

เป็นตามแบบที่ต้องการ ในการตัดผ้าโทเร

นั้นจะมีส่วนประกอบอยู่ 3 ส่วน ได้แก่

ส่วนตวั (ยาว) 4 ชิน้ ขนาดประมาณ 7x32

เซนติเมตร ส่วนตัว (สั้น) 4 ชิ้น ขนาด

ประมาณ 8x24 เซนติเมตร ส่วนหาง

(ยาว) 4 ชิ้น ขนาดประมาณ 7x32

เซนติเมตร

32

วัน เดือน ปี เวลา กระบวนการจัดการเรียนรู้ หมายเหตุ

4. การตัดสว่ นหาง นำแบบหางมาประกบ

กับผา้ สว่ นหางทพ่ี ับครึง่ นำตัวหนบี ยดึ

แลว้ ใช้กรรไกรตดั ตามแบบ

5. การติดผ้าโทเร (ส่วนตวั และหาง)

กับโครงโคม นำผ้าส่วนของตัวโคม(สั้น)

ติดกับตัวโครงส่วนคอถึงส่วนก้นของโครง

โดยใช้กาวลาเท็กซ์เพื่อเพิ่มความเหนียว

และการยึดติดที่แข็งแรงขึ้น นำผ้าส่วน

ของตัว (ยาว) ใช้กาวติดกับตัวโครงส่วน

หัวถึงส่วนก้นของโครง ดึงให้ตึงเรียบ ใช้

กาวติดส่วนหาง นำกระดาษทองลวดลาย

ตา่ งๆ ติดตกแต่ง และตัดเป็นแนวเส้นยาว

ตดิ ตามขอบโคมลา้ นนา

6. วิทยากรสอนใหผ้ เู้ รียนพับและตดั

กระดาษฟอยลเ์ พื่อตกแต่งโคม อาทิ

ลายประจำยาม ลายแกว้ ชิงดวง

ลายสร้อยดอกหมาก เปน็ ตน้

วิทยากรสาธติ และให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการ เรยี นวนั ละ 5 ชวั่ โมง

ทำโคมถือหรอื โคมหกู ระต่าย

1. วัสดุและอุปกรณ์ในการทำโคมถือหรือ

โคมหูกระตา่ ย

2. ขัน้ ตอนการผลติ

2.1 การเตรียมไม้ไผ่ การดัดไม้ไผ่เหลา

เปน็ รูปโคง้ คล้ายหูกระต่าย

2.2 ตัดกระดาษสาให้มีขนาดเท่ากับ

กลบี โคมทงั้ 4 ด้าน

2.3 ขั้นตอนการประกอบทากาวลา

เทก็ ซท์ ี่โครงของโคมทั้ง 4 ดา้ น

2.4 การใส่ด้ามจบั

2.5 วิธีการพับ/ตัดลายประจำลาย เพ่ือ

ใชใ้ นการตกแตง่ โคม

3. การบรรภุ ัณฑ์ /4. การดแู ลรกั ษา

33

วัน เดือน ปี เวลา กระบวนการจดั การเรยี นรู้ หมายเหตุ

วทิ ยากรสาธิตและให้ผ้เู รยี นฝกึ ปฏบิ ัติ เรียนวันละ 5 ชัว่ โมง
การทำโคมดาว
1. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการทำโคมดาว
2. ข้ันตอนการผลติ
2.1 การเตรียมไม้ไผ่ เหลาไม้ไผ่ให้มี
รูปร่างเป็นเส้นบางและยาวขนาด
ประมาณ 1 เมตร นำมาหักขึ้นโครง ให้
เป็นทรงห้าเหลี่ยม ขนาดความยาวด้าน
ละ 8 เซนตเิ มตร จำนวน 2 ช้นิ
2.2 หักไม้ขนาดความยาว 8 เซนติเมตร
จำนวน 4 ชิ้น เพื่อใช้เชื่อมติดกับตัวโครง
ห้าเหลี่ยมเข้าด้วยกัน โดยเชื่อมติด
ระหว่างชอ่ งของแตล่ ะดา้ น
2.3 นำเส้นไม้ไผ่มาขึ้นโครงหักมุม โดย
แบ่งออกเป็น 10 มุม แล้วนำมาเชื่อมต่อ
กัน เพอ่ื ขน้ึ รปู เป็นทรงดาวห้าแฉก จำนวน
2 ชิ้น
2.4 นำช้นิ ส่วนดาวหา้ แฉกมาประกบเข้า
กับแกนกลางห้าเหลี่ยม ใช้ปืนกาวและ
ลวดเย็บกระดาษยึดติดส่วนปลายของ
แฉกท้ังห้ามุม ยึดติดมุมทั้ง 2 ชิ้น เข้า
ด้วยกันด้วยปืนกาว ทำให้เกิดเป็นรูปทรง
ดาวห้าแฉก
2.5 ใช้กรรไกรตัดและตกแต่งกระดาษา
สา โดยให้มีขนาดเท่ากับดาวแต่ละแฉก
ประกอบกระดาษสาเข้ากับโครงแต่ละ
ด้าน ในส่วนของรอยต่อ ประดับตกแต่ง
ดว้ ยกระดาษฟอยล์ (สที อง สเี งิน)
2.6 วิธีการพับ/ตัดลายประจำลาย เพื่อ
ใชใ้ นการตกแตง่ โคม
3. การบรรุภัณฑ์
4. การดูแลรักษา

34

วนั เดือน ปี เวลา กระบวนการจัดการเรียนรู้ หมายเหตุ

วิทยากรบรรยายการบริหารจัดการและ เรยี นวนั ละ 5 ชว่ั โมง
การตลาดการทำโคมลา้ นนา
1. การวางแผนการผลิต พิจารณา เงินทุน
แรงงาน วัตถดุ บิ และการจดั การ
2. การวางแผนการจำหน่าย ประกอบดว้ ย
การจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่าย
การส่งเสรมิ การจำหน่าย
3. การกำหนดราคาขาย ประกอบด้วย
หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคาขาย การ
คดิ ราคาต้นทนุ
4. การทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย
ประกอบด้วย ประโยชน์ของการทำบัญชี
รายรับ-รายจ่าย หลักการจัดทำบัญชี
รายรับ-รายจ่าย
5. การค้าออนไลน์ ประกอบด้วย
E-Commerce ประโยชน์ของE-commerce
วิทยากรบรรยายคุณธรรม จริยธรรมใน
การประกอบอาชีพ
1. ความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรมใน
การประกอบอาชีพ หลักในการยึดถือ
ปฏิบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี
2.คุณธรรมประจำใจของผู้ประกอบการ ผู้ที่มี
คุณลกั ษณะทีด่ ีเหมาะสมกบั การประกอบอาชพี

ลงชือ่ .................................................วทิ ยากร
(..........................................)
วันท.่ี ......./............../...........

หมายเหตุ สถานศึกษาปรบั เปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม

35

บรรณานุกรม

มณี พยอมยงค์. (2538). เครือ่ งสกั การะในล้านนาไทย. เชียงใหม่: ส.ทรพั ย์การพมิ พ.์
จินตนา มัธยมบุรุษ. (2539). สรรพช่าง : ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ เชียงใหม่. เชยี งใหม่: โรงพมิ พด์ าว.

36

คณะผ้จู ดั ทำ

ท่ีปรกึ ษา

นางมนี า กิติชานนท์ ผู้อำนวยการสำนกั งาน กศน. จงั หวัดพะเยา

นางอญั ชลี ธรรมะวธิ ีกลุ ศึกษานิเทศกเ์ ชยี่ วชาญ สำนกั งาน กศน.

นายถนอม โยวงั ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอดอกคำใต้

คณะกรรมการสถานศึกษา กศน. อำเภอดอกคำใต้

ผูจ้ ดั ทำ ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอดอกคำใต้
นายถนอม โยวัง ครผู ู้ช่วย
นางอารียา ไชยชนะ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
นางสาวอรณุ ศรี นามสาร ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
นางสนธยา กาศสนกุ ครู กศน. ตำบล
นางวนั ทนา โยวัง ครู กศน. ตำบล
นางสาวละอองดาว วรรณสมพร ครู กศน. ตำบล
นางสาวภคั นนั ท์ ปัญโญ ครู กศน. ตำบล
นางสาวสวุ ิมล สมวงค์ ครู กศน. ตำบล
นายมงคล แก้วเทพ ครู กศน. ตำบล
นางสาวนนั ทนา ใจสมัคร ครู กศน. ตำบล
นางสาวอญั ชลี วรรณชยั ครู กศน. ตำบล
นายกฤษกร พรหมมา ครู กศน. ตำบล
นางสาวกนกกาญจน์ บตุ รดี ครู กศน. ตำบล
นางสาวดวงดาว อปุ พรรณ์ ครู กศน. ตำบล
นายคมสนั แปงศรี บรรณารกั ษ์
นางสาวเพชรรตั น์ ใชสงคราม นักวิชาการศึกษา
นางสาวปยิ ากร ปักษา
ครู กศน.ตำบล
บรรณาธกิ าร บรรณารักษ์
นางวันทนา โยวัง
นางสาวเพชรรตั น์ ใชสงคราม

ผู้รบั ผิดชอบ ครู กศน.ตำบล
นางวันทนา โยวงั บรรณารกั ษ์

นางสาวเพชรรัตน์ ใชสงคราม


Click to View FlipBook Version