The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนีรัตน์ ชูช่วย, 2020-02-24 21:58:26

รายงานสมบูรณ์

รายงานสมบูรณ์

การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชพี เพื่อการพฒั นา

นางสาวรชั ณกี ร สวนกูล
รหัสนกั ศกึ ษา 6201104001039
หลักสูตรสาขาวทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป
มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี

1แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู นักศึกษา

ชอ่ื -สกลุ นางสาวรัชณกี ร สวนกลู รหสั ประจาตัว 6201104001039

สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตร์ทั่วไป กลุ่มเรยี น 62008.152

ฝกึ ปฏบิ ตั ิในโรงเรยี น ประสาธน์ราษฎร์บารงุ

แบบบันทึกขอ้ มูลนกั ศกึ ษา

อาจารยผ์ ู้สอน รายวิชา การพัฒนาหลักสูตร ดร.กฤษณี วงสวัสด์ิ
อาจารย์ผูส้ อน รายวิชา วาทวิทยาสาหรบั ครู รองศาสตราจารย์ ดร.ชศู ักดิ์ เอกเพชร

ข้อมูลครพู เี่ ลย้ี ง

ครพู เี่ ลยี้ ง ช่อื -สกลุ นางสนุ ีรัตน์ ชูชว่ ย
วชิ าท่ีสอน ฟสิ ิกส์
ที่ปรกึ ษาประจาช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี6่ /1
ระยะเวลาในความเปน็ ครู 20 ปี
ภูมิลาเนา 85 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรธี รรมราช
ระดบั การศกึ ษา ป.ตรี ครศุ าสตร์ วชิ าเอกฟสิ กิ ส์

ป.โท ครศุ าสตรม์ หาบณั ฑิต วิชาการบริหารนวตั กรรมเพื่อการพัฒนา
มีความสนใจหรอื ความเช่ยี วชาญด้าน การจัดการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์

ชือ่ -สกลุ นางสาวรชั ณกี ร สวนกลู สาขาวชิ า วิทยาศาสตร์ทั่วไป
รหัสประจาตวั 6201104001039 กลุ่มเรยี น 62008.152

แบบบันทึกประจาวัน

วนั /เดอื น/ปี วนั จนั ทร์ ที่11 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ฝกึ ปฏบิ ตั ิใน โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรีธรรมราช
ครูพี่เล้ยี ง ช่ือ-สกุล นางสุนีรตั น์ ชูช่วย

สง่ิ ที่ปฏิบัตใิ นวันนี้ สิง่ ท่ไี ด้เรยี นรู้ในวนั น้ี

เวลา 07.20 น. - ไดเ้ ริม่ ปฏบิ ตั หิ น้าที่
- ถงึ โรงเรียน - ไดเ้ หน็ นกั เรียนเคารพครูในตอนเช้าและ
เวลา 08.00 - 08.30 น. ได้ฝกึ ความมวี ินยั ใหก้ ับนักเรียน
- เคารพธงชาติและได้แนะนาตัวหน้าแถว - ไดฝ้ กึ ให้ตวั เองมีความมัน่ ใจและ
และช่วยครพู ่เี ล้ียงจดั ระเบียบหน้าเสาธง มคี วามกล้าแสดงออกในการพูดมากย่ิงข้นึ
พรอ้ มทง้ั ตรวจดเู ครื่องแต่งกายของนักเรียน - ไดเ้ ขา้ สังเกตการณส์ อน ได้รู้ถงึ การสอน
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 อย่างแทจ้ รงิ ไดร้ วู้ ่าจะตอ้ งมีรูปแบบ และ
เวลา 09.00 - 09.30 น. เทคนคิ ในการสอน และไดน้ าความรมู้ า
- เขา้ พบผูอ้ านวยการโรงเรียนเพือ่ ส่ง พฒั นาศักยภาพของตนเองอย่างตอ่ เนื่อง
เอกสารแบบประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านใน
สถานศกึ ษาและพดู คุยเก่ียวกับเรือ่ ง
หลกั สตู รของโรงเรียน
เวลา 10.25-12.05 น.
- ติดตามครูพ่ีเล้ยี งไปสงั เกตการณ์สอน ชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ในรายวชิ าฟิสิกส์ มี
การจดั การสอนเรื่องสนามไฟฟ้า โดยคุณครู
สุนรี ตั น์ ชชู ว่ ย ที่หอ้ ง
ปฏบิ ัตกิ ารฟิสิกส์

ลงชื่อ รัชณีกร สวนกูล นักศกึ ษา ลงช่ือ ครพู เี่ ล้ียง
( นางสาวรชั ณีกร สวนกูล ) (นางสนุ ีรตั น์ ชูช่วย)

ชื่อ-สกลุ นางสาวรัชณีกร สวนกลู สาขาวชิ า วิทยาศาสตรท์ ั่วไป
รหัสประจาตัว 6201104001039 กลุ่มเรยี น 62008.152

แบบบันทกึ ประจาวัน

วัน/เดอื น/ปี วันอังคาร ท่ี12 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ 2562
ฝกึ ปฏิบตั ิใน โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรีธรรมราช
ครูพเี่ ลยี้ ง ชอื่ -สกุล นางสนุ ีรตั น์ ชูช่วย

สงิ่ ท่ีปฏิบตั ใิ นวันนี้ สงิ่ ทีไ่ ดเ้ รยี นรูใ้ นวนั นี้

เวลา 07.20 น. - ได้เริม่ ปฏิบัตหิ น้าท่ี
-ถึงโรงเรยี น - ไดเ้ ขา้ ใจหนา้ ท่ีของครมู ากขึ้นและไดฝ้ ึก
เวลา 07.30 - 08.00 น. ความมวี นิ ัยและความรับผดิ ชอบให้แก่
- ยืนตอ้ นรับนกั เรียนเขา้ โรงเรียนและตรวจ นักเรยี น
ความเรียบร้อยของนักเรยี นในตอนเช้า - ไดเ้ ขา้ สังเกตการณส์ อนได้รู้ถงึ การสอน
เวลา 08.30 - 08.45 น. อยา่ งแทจ้ รงิ การสอนตามแผนการสอน
- ควบคมุ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 และเทคนิคการสอน การควบคุมช้นั เรียนท่ี
ลงทาความสะอาดเขตพ้ืนท่ีที่รบั ผิดชอบบริเวณ ดี และได้นาความร้มู าพฒั นาศกั ยภาพของ
โรงเรยี น ตนเอง
เวลา 08.30 - 10.10 น. - ได้ฝกึ ฝนใหต้ นเองเปน็ ผ้ทู ี่มจี ิตสาธารณะ
- เขา้ ศึกษาและสงั เกตการณส์ อนนกั เรียน เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 วิชาวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐานใน ประโยชน์สว่ นตน และเปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี
เรอื่ ง อุณหภูมิและหน่วยวดั โดย ให้แกน่ ักเรียนในทางจติ ใจ และใน
คุณครสู ันติชัย ไตรเมศสงั เกตการสอนของครูและ การปฏิบตั ิ
พฤติกรรมของนักเรียนภายในชนั้ เรียน
เวลา 14.20 น.
- ไดร้ ับมอบหมายจากครพู เี่ ลี้ยงให้ไปถ่ายเอกสาร
แบบประเมิน ทหี่ ้องปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์

ลงช่อื รชั ณีกร สวนกูล นักศึกษา ลงชอ่ื ครูพ่เี ลี้ยง
( นางสาวรัชณีกร สวนกลู ) (นางสนุ รี ตั น์ ชูชว่ ย)

ชื่อ-สกุล นางสาวรชั ณกี ร สวนกูล สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตร์ทั่วไป
รหสั ประจาตวั 6201104001039 กลุม่ เรียน 62008.152

แบบบันทึกประจาวนั

วนั /เดือน/ปี วนั พุธ ท1ี่ 3 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ 2562
ฝกึ ปฏิบัติใน โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรธี รรมราช
ครูพี่เล้ียง ช่ือ-สกลุ นางสุนีรตั น์ ชูช่วย

สง่ิ ท่ีปฏบิ ัตใิ นวันนี้ สงิ่ ที่ได้เรยี นร้ใู นวันนี้

เวลา 07.20 น. - ไดเ้ รมิ่ การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
- ถงึ โรงเรยี น - ไดเ้ ห็นนกั เรียนแสดงความเคารพครูในตอน
เวลา 08.00 - 08.30 น. เช้า และไดฝ้ กึ ความมีวินัยให้กับนักเรยี น
- ชว่ ยครูพเ่ี ลยี้ งควบคมุ นักเรียนเขา้ แถวหน้าเสาธง - ไดเ้ ขา้ สังเกตการณส์ อน ไดร้ ู้ถงึ การสอนอย่าง
และพร้อมท้ังตรวจเครือ่ งแต่งกายของนักเรียน แทจ้ ริง การสอนตามแผนการสอน ไดร้ วู้ ธิ ีการ
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 สอนและการควบคุมชัน้ เรยี นทีด่ ี และไดร้ บั
เวลา 12.50 - 14.30 น. ความร้มู าพฒั นาศักยภาพของตนเองอย่าง
- เขา้ ศกึ ษาและสังเกตการเรยี นการสอนนักเรียนช้นั ต่อเนือ่ ง
มัธยมศึกษาปที ี่.2/1 และ 2/2 - ไดเ้ หน็ วิธกี ารควบคมุ นักเรยี น และการฝึก
ในรายวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน ความเป็นระเบยี บวนิ ัยให้แก่นักเรียนอย่าง
เรือ่ งโครงสร้างโลก โดยคณุ ครูอรสา ชมุ ชาตรี ถกู ต้อง
ทีห่ ้องปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ -
เวลา 15.20 - 16.10 น.
- ไดต้ ิดตามคุณครผู กามาศ ฤทธกิ าญจน์
ไปควบคุมนักเรียนมธั ยมศึกษาตอนตน้ ในกจิ กรรม
ลูกเสอื -เนตรนารี

ลงชอ่ื รชั ณีกร สวนกูล นกั ศึกษา ลงชือ่ ครูพเ่ี ลยี้ ง
( นางสาวรัชณีกร สวนกูล ) (นางสุนรี ัตน์ ชูชว่ ย)

ช่ือ-สกุล นางสาวรชั ณกี ร สวนกลู สาขาวชิ า วิทยาศาสตร์ท่ัวไป
รหสั ประจาตัว 6201104001039 กล่มุ เรียน 62008.152

แบบบันทึกประจาวนั

วนั /เดอื น/ปี วนั พฤหสั บดี ท่ี14 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ 2562
ฝึกปฏิบัติใน โรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรธี รรมราช
ครูพเี่ ลย้ี ง ช่ือ-สกุล นางสนุ ีรตั น์ ชชู ่วย

ส่ิงที่ปฏบิ ัติในวนั นี้ สง่ิ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ในวนั น้ี

เวลา 07.30 - 08.30 น. - ได้เร่ิมปฏิบตั หิ น้าท่ี
- ยนื ต้อนรบั นกั เรียนเข้าโรงเรียนร่วมกับครู - ได้เหน็ นักเรยี นแสดงความเคารพครูใน
เวรประจาวนั และได้รับมอบหมายให้ ตอนเชา้ และยงั ได้ฝึกความเป็นระเบียบ
ควบคุมนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี.4/1 วนิ ัยใหแ้ ก่นกั เรยี น
ลงเขตพนื้ ท่ีทาความสะอาดบริเวณที่ - ได้เห็นนกั เรียนมีความรับผดิ ชอบและมีจิต
เวลา 10.25 - 12.05 น. สาธารณะในงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
- ได้รบั มอบหมายจากครพู ่ีเลี้ยงให้ควบคมุ - ได้ฝกึ ความกล้าหาญของตนเองและสรา้ ง
นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี.6/1 ในรายวิชา ความม่นั ใจในการสอนนักเรียน
ฟิสิกส์ และให้นักเรยี นไดท้ าใบงาน - ไดฝ้ ึกการพดู ในช้ันเรยี น และไดฝ้ ึกการ
เวลา 13.40 - 14.30 น. แก้ปัญหาในชนั้ เรียน
- ไดร้ ับมอบหมายใหค้ วามคุมนักเรียนช้นั - ได้สรา้ งสมั พันธภาพทด่ี ีกบั ผู้เรยี น
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ในรายวิชาคอมพิวเตอร์
โดยใหน้ กั เรยี นฝกึ การใช้คอมพวิ เตอร์
เวลา 15.20 - 16.00 น.
- ไดร้ ับมอบหมายให้ควบคุมนักเรยี นใน
กจิ กรรมชุมนุมและรับใบงานจากนกั เรียน

ลงชื่อ รัชณีกร สวนกูล นักศกึ ษา ลงช่อื ครพู ี่เล้ยี ง
( นางสาวรัชณีกร สวนกลู ) (นางสุนีรัตน์ ชูชว่ ย)

ชื่อ-สกุล นางสาวรชั ณีกร สวนกลู สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป
รหัสประจาตัว 6201104001039 กลุ่มเรยี น 62008.152

แบบบนั ทึกประจาวนั

วัน/เดือน/ปี วนั ศุกร์ ท1ี่ 5 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ฝกึ ปฏิบตั ิใน โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารงุ 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรีธรรมราช
ครูพีเ่ ล้ียง ช่ือ-สกุล นางสนุ ีรตั น์ ชูช่วย

สงิ่ ท่ีปฏิบัติในวันน้ี สง่ิ ท่ีได้เรยี นรใู้ นวนั น้ี

เวลา 07.20 น. - ไดเ้ ร่มิ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
- ถงึ โรงเรียน - ได้เห็นนักเรียนแสดงความเคารพครูใน
เวลา 08.00 - 08.20 น. ตอนเช้าและยงั ไดฝ้ ึกความเป็นระเบยี บวินยั
- ควบคมุ แถวของนักเรยี นรว่ มกับครูพ่เี ลย้ี ง ให้แก่นกั เรียน
และตรวจเครื่องแตง่ กาย - ได้แสดงถงึ การมีจิตสาธารณะต่อผู้อื่นและ
เวลา 09.00 - 10.00 น. ไดเ้ ป็นตวั อย่างท่ีดใี ห้แก่นกั เรียนในทาง
- ได้รบั มอบหมายจากครูพีเ่ ลี่ยงใหช้ ่วยปริ้น จติ ใจ และในทางปฏิบัติ
ข้อสอบเก็บคะแนนใหแ้ กน่ ักเรียน - ไดฝ้ กึ การใชโ้ ปรแกรมในการพิมพ์เอกสาร
เวลา 13.00 น.
- ได้รบั มอบหมายจาก
คุณครูทิพย์วรรณ ใจสมุทร ใหพ้ ิมพเ์ อกสาร

ลงช่ือ รัชณีกร สวนกูล นกั ศึกษา ลงชือ่ ครพู เ่ี ลี้ยง
( นางสาวรัชณีกร สวนกลู ) (นางสนุ ีรตั น์ ชูชว่ ย)

ชอื่ -สกลุ นางสาวรัชณกี ร สวนกูล สาขาวิชา วิทยาศาสตรท์ ั่วไป
รหสั ประจาตวั 6201104001039 กลุ่มเรยี น 62008.152

แบบบันทึกประจาวัน

วนั /เดอื น/ปี วนั จนั ทร์ ท่1ี 8 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ฝึกปฏบิ ัติใน โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรีธรรมราช
ครูพเ่ี ลยี้ ง ช่ือ-สกลุ นางสนุ ีรตั น์ ชชู ่วย

สงิ่ ท่ีปฏบิ ตั ใิ นวนั นี้ ส่ิงทไี่ ด้เรยี นรู้ในวนั น้ี

เวลา 07.20 น. - ไดเ้ ริม่ ปฏิบัตหิ น้าท่ี
- ถงึ โรงเรียน - ไดเ้ หน็ นกั เรยี นแสดงความเคารพครูใน
เวลา 08.00 - 08.30 น. ตอนเชา้ และยังไดฝ้ กึ ความเป็นระเบียบ
- ควบคมุ นกั เรยี นเข้าแถวเคารพธงชาติ วินัยให้แก่นักเรียน
เวลา 08.30 - 10.10 น. - ไดฝ้ กึ ความกล้าแสดงออกในช้ันเรยี น และ
- ได้รบั มอบหมายจากครพู ีเ่ ล้ียงให้ควบคมุ นักเรยี น สร้างความมน่ั ใจให้แกต่ นเองในการสอน
ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 ในรายวิชาฟสิ กิ ส์ โดยให้ นกั เรยี น และไดฝ้ ึกการแกป้ ัญหาในช้ัน
นักเรยี นทาแบบฝึกหัดและเช็ครายชื่อนักเรยี น เรียน
เวลา 10.25 - 11.15 น. - ได้รูจ้ ักวีการโน้มน้าวใจใหผ้ เู้ รียนสนใจใน
- ได้รบั มอบหมายจากคณุ ครผู กามาศ ฤทธกิ าญจน์ สิ่งทพ่ี ดู หรือนาเสนอออกไป
ให้ควบคุมนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/1 ใน - ได้แสดงถึงการมจี ติ สาธารณะตอ่ ผู้อื่น
รายวชิ าคอมพิวเตอร์ โดยใหน้ ักเรียนทาใบงาน
ตามทค่ี ุณครูไดเ้ ตรยี มไวใ้ ห้
เวลา 13.30 น.
- ได้ช่วยนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 จัดห้องสอบ เพื่อ
เตรยี มการสอบ Pre o-net

ลงชื่อ รัชณีกร สวนกูล นกั ศึกษา ลงช่อื ครูพี่เล้ียง
( นางสาวรชั ณีกร สวนกลู ) (นางสุนรี ตั น์ ชูชว่ ย)

ช่ือ-สกลุ นางสาวรัชณีกร สวนกูล สาขาวชิ า วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป
รหัสประจาตวั 6201104001039 กลมุ่ เรียน 62008.152

แบบบันทกึ ประจาวนั

วัน/เดือน/ปี วนั องั คาร ที่19 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ 2562
ฝึกปฏบิ ตั ิใน โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรีธรรมราช
ครูพ่ีเลยี้ ง ช่อื -สกลุ นางสุนรี ตั น์ ชูช่วย

สง่ิ ท่ีปฏิบัตใิ นวนั นี้ ส่งิ ท่ไี ดเ้ รียนรู้ในวนั น้ี

แ เวลา 07.20 น. - ไดเ้ รมิ่ ปฏบิ ัตหิ น้าที่
- ถงึ โรงเรียน - ได้ฝกึ ปฏบิ ัตใิ นสง่ิ ที่ไดร้ ับมอบหมาย
เวลา 08.30 - 09.20 น. ความรับผิดชอบ ในหนา้ ท่ีและสามารถ
- ได้รับมอบหมายจากคณุ ครูทิพย์วรรณ ใจสมทุ ร นามาใชใ้ นการวเิ คราะหป์ รบั ปรงุ และ
ให้ควบคมุ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในรายวิชา พฒั นาตนเองในด้านการสอนอย่างถูกต้อง
ภาษาองั กฤษ โดยให้นักเรยี นเขียนคาศัพท์ พร้อม - ไดฝ้ กึ ปฏิบัติในสิ่งท่ีได้รบั มอบหมาย
สง่ ภายในคาบเรยี น ความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่ และได้ช่วยเหลอื
เวลา 09.30 - 09.50 น. ครูพ่เี ล้ียงและครทู ่านอน่ื ในสิ่งต่างๆ ใน
- ได้รบั มอบหมายจากครพู ี่เล้ียงให้คุมนักเรยี นชัน้ หลายๆด้านทาอย่างเต็มทแ่ี ละเต็ม
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 สอบ Pre O-net .ในรายวิชา ความสามารถ
คณิตศาสตร์ - ไดฝ้ ึกฝนให้ตนเองเป็นผูท้ มี่ ีจิตสาธารณะ
เวลา 12.00 - 12.50 น. เหน็ แกป่ ระโยชน์สว่ นรวมและเปน็ ตวั อย่างที่
- ไดร้ ับมอบหมายจากคณุ ครูอนุ แสงแก้ว ให้ ดีให้แกน่ ักเรยี นในทางจิตใจ และในทาง
ควบคุมนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปฏบิ ัติ
สอบ Pre O-net ในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
เวลา 14.20 น.
- ได้ชว่ ยคณุ ครูทิพวรรณ ใจสมุทร หาเอกสาร
การจบของนักเรยี นของปที ผี่ า่ นมา

ลงชอื่ รชั ณีกร สวนกูล นกั ศกึ ษา ลงชื่อ ครูพ่เี ล้ียง
( นางสาวรัชณีกร สวนกลู ) (นางสนุ ีรัตน์ ชูชว่ ย)

ชอื่ -สกลุ นางสาวรชั ณกี ร สวนกูล สาขาวชิ า วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป
รหสั ประจาตัว 6201104001039 กลุม่ เรยี น 62008.152

แบบบนั ทกึ ประจาวนั

วนั /เดือน/ปี วันพธุ ท2่ี 0 เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ 2562
ฝกึ ปฏิบัติใน โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ 126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถ้าพรรณรา จ.นครศรธี รรมราช
ครูพ่ีเล้ียง ชอื่ -สกุล นางสุนีรตั น์ ชชู ่วย

ส่ิงที่ปฏิบตั ใิ นวนั น้ี ส่งิ ท่ไี ด้เรยี นรู้ในวนั น้ี

เวลา 07.20 น. - ไดเ้ ร่มิ ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
- ถึงโรงเรียน - ไดฝ้ กึ ปฏิบตั ใิ นส่ิงท่ีไดร้ บั มอบหมาย
เวลา 08.00 - 08.30 น. ความรบั ผิดชอบ ในหนา้ ท่แี ละสามารถ
- ควบคุมนักเรยี นเข้าแถวเคารพธงชาติ นามาใช้ในการวเิ คราะหป์ รับปรงุ และ
เวลา 09.30 - 09.50 น. พฒั นาตนเองในด้านการสอนอยา่ งถูกต้อง
- ได้รบั มอบหมายจากครูพ่ีเลี้ยงให้คมุ - ได้ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสงิ่ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย
นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 สอบ ความรบั ผดิ ชอบในหน้าที่ และได้
Pre O-net .ในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชว่ ยเหลอื ครูพเ่ี ลีย้ งและครทู ่านอน่ื ในสิง่
เวลา 14.20 น. ตา่ งๆ ในหลายๆด้านทาอย่างเต็มทแ่ี ละเตม็
- ไดช้ ่วยคุณครูทิพวรรณ ใจสมทุ ร หา ความสามารถ
เอกสาร - ไดฝ้ กึ ฝนใหต้ นเองเป็นผทู้ ีม่ ีจิตสาธารณะ
การจบของนกั เรยี นของปที ่ีผา่ นมา เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวมและเปน็ ตัวอย่าง
ทด่ี ใี ห้แก่นักเรยี นในทางจิตใจ และในทาง
ปฏิบัติ

ลงชอื่ รชั ณีกร สวนกูล นักศกึ ษา ลงชือ่ ครพู ่เี ลย้ี ง
( นางสาวรัชณีกร สวนกลู ) (นางสุนรี ตั น์ ชูช่วย)

3.แบบบันทึกข้อมูลและบรบิ ท
แบบบันทกึ ข้อมูลสถานศกึ ษาและบริบท

ขอ้ มลู สถานศึกษา

ชอ่ื โรงเรียน เปิดสอนในระดบั ชัน้

ประสาธนร์ าษฎร์บารุง มัธยมศึกษาปีท่ี1-6

สังกดั จานวนนกั เรียนทงั้ หมด 143 คน

ท่อี ยูข่ องโรงเรียน เป็นโรงเรยี นขนาด ใหญ่พเิ ศษ
126 ม.3 ต.คลองเส อ.ถา้ พรรณรา √ เลก็ กลาง ใหญ่
จังหวัดนครศรธี รรมราช

ขอ้ มูลทางกายภาพ
แผนทอี่ าคารและแหลง่ เรียนรภู้ ายในโรงเรยี น

ขอ้ มูลทางกายภาพ

ขอ้ มูลดา้ นอาคารสถานท่ี

1) อาคารเรยี นและอาคารประกอบ จานวน 5 หลงั

2) อาคารเรียน จานวน 3 หลัง

3) อาคารโรงฝึกงาน จานวน 2 หลัง

4) อาคารเอนกประสงค์ จานวน 1 หลัง

5) อาคารอน่ื ๆ (ระบ)ุ จานวน 3 หลัง

6) อาคารโรงอาหาร จานวน 1 หลงั

7) อาคารป้อมยาม จานวน 1 หลัง

8) อาคารฝา่ ยอาคารสถานท่ี จานวน 1 หลงั

9) อาคารบ้านพักครู จานวน 7 หลงั

1.2.5 จานวนหอ้ งเรยี น

จานวนหอ้ งเรยี นท้งั หมด 9 ห้องเรยี น จาแนกเป็น

- ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน 3 หอ้ ง

- ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6 ห้อง

ข้อมูลบคุ ลากร

เพศ ระดบั การศึกษาสงู สุด ประสบการณ์

ประเภทบคุ ลากร ชาย หญิง ต่ากวา่ ปริญญาตรี สงู กว่า อายเุ ฉล่ยี การสอน
ปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี เฉล่ีย

ผูอ้ านวยการ 1 - - - 1 45 22

ครปู ระจาการ 3 9 - 9 2 40 20

พนักงานราชการ - - - - -- -

ครอู ัตราจ้าง 14 - 2 - 26 2

พนักงานบริการ - - - - -- -

อตั ราจา้ ง

พนักงานบริการ 1 - 1 - - 55 25

รวม 6 13 1 16 3 42 17

ท่ี แหล่งเรียนรู้

1 หอ้ งสมุด
2 ศูนย์คอมพวิ เตอร์
3 ห้องแนะแนว
4 ห้องดนตรี
5 หอ้ งคหกรรม
7 ห้องเกษตรกรรม
8 หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์
9 ห้องกลุ่มสาระภาษาอังกฤษ
10 หอ้ งกลมุ่ สาระภาษาไทย
11 ห้องกล่มุ สาระสังคม
12 ห้องพลศึกษา
13 หอ้ งลกู เสอื
14 ห้องคณิตศาสตร์
15 ห้องเขียนแบบงานชา่ ง

แผนผงั โครงสรา้ งผู้บรหิ ารและบคุ ลากรในโรงเรียน

ขอ้ มูลผบู้ ริหาร
1) ผู้อานวยการ
นางณภัค อนิ ทรป์ าน ผู้อานวยการโรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ
2) ขอ้ มลู ครูและบุคลากรทางการศึกษา

1) สายบรหิ าร

ชอ่ื – สกุล อายุ อายรุ าชการ ตาแหนง่ / วุฒกิ ารศกึ ษา
นางณภัค อนิ ทร์ปาน
(ป)ี (ปี) วทิ ยฐานะ วฒุ ิ สาขา

45 22 ผู้อานวยการ ศษ.ม. การบริหารการศึกษา
ชานาญการพิเศษ

2) สายการสอน

ท่ี ช่อื – ชื่อสกลุ อายุ ตาแหนง่ / วุฒิ สาขา วชิ าท่ีสอน
1 นางอนุ แสงแก้ว วิทยฐานะ วชิ าเอก
ค.บ. บรรณารักษ์ ภาษาไทย/การงาน
58 ครชู านาญการ ศาสตร์ อาชพี
พระพทุ ธศาสนา
พิเศษ การงานอาชพี /
พระพทุ ธศาสนา
2 นางสาวจรุ ีรัตน์ เสนา 56 ครูชานาญการ บธ.บ. บรหิ ารธรุ กิจ การงานอาชพี /
พระพทุ ธศาสนา
3 นายธนติ ทองถึง 53 ครูชานาญการ ค.บ. อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์
ศลิ ป์
4 นางอรสา ชุมชาตรี 53 ครชู านาญการ
พเิ ศษ ค.บ. วิทยาศาสตร์

5 นายสันติชยั ไตรเมศ 50 ครูชานาญการ ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา
6 นางอรพนิ ท์ ลิม่ พาณิชย์ 48 ครูชานาญการ คบ. สงั คมศึกษา สงั คมศึกษา

พิเศษ ค.บ. วัดผล คณติ ศาสตร์
7 นางสุภารัตน์ ไตรเมศ 48 ครูชานาญการ ประเมนิ ผล ฟสิ กิ ส์
ภาษาองั กฤษ
8 นางสุนีรตั น์ ชูช่วย 42 ครูชานาญการ ค.ม. การบริหาร
พเิ ศษ นวตั กรรมฯ
9 นางทพิ วรรณ ใจ
สมทุ ร 34 ครู ค.ศ.1 ศศ.บ. พลศึกษา

10 นางสาววลิดา เชาวไ์ ฝ 31 ครู ค.ศ.1 ศษ.ม. การสอน ภาษาไทย
ภาษาไทย
11 น.ส.สธุ าวดี มัชฉมิ วงศ์ 31 ครู ค.ศ.1 คณิตศาสตร์
ค.ม. คณิตศาสตร์ สงั คมศึกษา
12 นายรฐั ศาสตร์ สงมา ครู ค.ศ.1 ค.ม. สังคมศึกษา ศิลปะ
ศ.ป.บ. ดนตรีสากล การงานอาชพี /
13 นายสทิ ธชิ ัย แจม่ จรสั 26 ครอู ตั ราจ้าง ค.บ. คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์

14 น.ส.ผกามาศ 26 ครอู ตั ราจ้าง

ฤทธกิ าญจน์

ที่ ช่อื – สกุล อายุ ตาแหนง่ / วุฒิ สาขา วิชาท่สี อน
วทิ ยฐานะ วชิ าเอก
วท.บ วิทยาศาสตร์ เคมี
15 น.ส.วภิ าภรณ์ บญุ เมอื ง 22 ศศ.บ บัญชี ธุรการ
16 น.ส.นศิ าชล มะศรี 22 วท.บ พลศกึ ษา พละ
17 น.ส.ลลติ วดี บุญชูวงศ์ 28
18
19
20

งาน/โครงการ/กจิ กรรมดีเดน่ ท่ีได้รับรางวัล
พ.ศ. 2560

1. ผลงานการปฏบิ ัตทิ ่ดี ี (Best Practice) ในการแสดงผลงานทางวิชาการ“Lab School Festival: Towards
World-Class Education”

2. รางวัล Smart Teacher ของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12
3. รางวลั ผลงานการปฏิบัตทิ ีด่ ี (Best Practice) ประเภทครผู ู้สอน กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

พ.ศ. 2561
1. สถานศกึ ษาต้นแบบการบริหารการจัดการคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพของ

สถานศึกษา (IQA AWARD) ระดับยอดเยี่ยม
2. รางวัลผลงานการปฏบิ ตั ิทด่ี ี (Best Practice) ประเภทรองผู้อานวยการ กลมุ่ บริหารวชิ าการ
3. รางวัลผลงานการปฏบิ ัตทิ ด่ี ี (Best Practice) ประเภทรองผู้อานวยการ กลมุ่ บริหารการเงินและ

งบประมาณ
4. รางวัลผลงานการปฏิบตั ิท่ดี ี (Best Practice) ประเภทโรงเรยี นขนาดเล็ก

พ.ศ. 2562
1. รางวลั ครูดีไมม่ ีอบายมุข กระทรวงศึกษาธกิ าร
2. รางวลั ครูดไี มม่ ีอบายมุขตน้ แบบดีเด่น จงั หวดั นครศรีธรรมราช
3. รางวัลผลงานการปฏิบัติท่ดี ี (Best Practice) ประเภทรองผู้อานวยการ กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ
4. รางวัลผลงานการปฏบิ ตั ิทด่ี ี (Best Practice) ประเภทรองผูอ้ านวยการ กลมุ่ บรหิ ารการเงนิ และ

งบประมาณ
5. รางวลั ผลงานการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ประเภทครผู สู้ อน กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ

อตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี น

ใฝเ่ รียนรู้ เชิดชคู ุณธรรม นาเทคโนโลยี มคี วามเปน็ ไทย

จุดแข็ง/จุดออ่ น

จดุ แขง็
1. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติพุทธศักราช 2542 เปิดโอกาสใหช้ มุ ชน องค์กร
ภายนอก มสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา ได้รับการสนบั สนุนงบประมาณจากองค์กรภายนอก รฐั บาลจัด
งบประมาณอดุ หนุนเรยี นฟรี
2. โรงเรียนอยใู่ กล้แหล่งเรียนรู้ 2 แหง่ คอื ศูนยว์ สิ าหกจิ ชมุ ชนไม้เรยี ง ดาเนินงานโดยนาย
ประยงค์ รณรงค์ ปราชญช์ าวบ้านรางวลั แมกไซไซ ศนู ย์การเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงแหลง่ น้าทงุ่ จูด โรงเรยี น
ไดร้ ับการสนับสนนุ จากแหลง่ เรียนรู้อย่างดียงิ่
3. โรงเรยี นมีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานที่มคี วามรคู้ วามสามารถ เชน่ นายก
องค์การบริหารส่วนตาบลคลองเส นายสมพงศ์ วิไล เปน็ ประธานกรรมการสถานศึกษา พระครสู วุ รรณคหู า
เจ้าคณะอาเภอถา้ พรรณรา เปน็ ท่ีปรกึ ษาส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมนักเรียน

จุดออ่ น
1. ข้อจากัดโรงเรียนต้งั อยู่ในชนบทหา่ งไกลจากสานกั งานเขตพนื้ ทีแ่ ละจงั หวัดและไม่มรี ถ
ประจาทางผ่าน

การบริหารงานด้านวชิ าการ
โดยมีประเด็นในการศึกษาเอกสารและสัมภาษณผ์ ู้บรหิ ารหรอื ครู ดังนี้

การจัดระบบงานวิชาการ/ผู้รบั ผิดชอบ/การบรหิ ารจัดการ/การจดั ผูส้ อน

การบรหิ ารงานวิชาการ
แนวคดิ หลกั ในการบรหิ ารวิชาการ

งานวิชาการเป็นภารกจิ หลกั ของสถานศึกษาที่ พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพม่ิ เติม

( ฉบับ2 ) พ.ศ.2545 มงุ่ ใหก้ ระจายอานาจในการบรหิ ารจดั การไปใหส้ ถานศึกษาให้มากทีส่ ุดดว้ ยเจตนารมณท์ จ่ี ะให้
สถานศึกษาดาเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัวรวดเรว็ สอดคล้องกับความต้องการของผ้เู รียน สถานศกึ ษา ชุมชน ท้องถิ่น
และ การมีสว่ นร่วมจากผู้ที่มสี ว่ นไดเ้ สยี ทุกฝา่ ย ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญทาใหส้ ถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหาร
จัดการสามารถพฒั นาหลกั สูตร และกระบวนการเรียนรตู้ ลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมท้งั วดั ปัจจยั เก้ือหนนุ การ
พฒั นาคุณภาพนักเรยี น ชุมชน ท้องถ่นิ ได้อย่างมีคณุ ภาพ และ มปี ระสิทธภิ าพ

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ให้การบริหารงานด้านวิชาการมีอิสระ คลอ่ งตวั รวดเรว็ และ สอดคล้องกบั ความต้องการของนักเรียน
สถานศกึ ษา ชุมชน ท้องถ่นิ

2. เพ่อื ใหก้ ารบริหาร และ การจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นได้มาตรฐาน และ มีคณุ ภาพสอดคล้องกับระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมนิ คณุ ภาพภายในเพ่ือพฒั นาตนเอง และ จากการประเมินหนว่ ยงาน
ภายนอก

3. เพอื่ ให้โรงเรียนพฒั นาหลักสตู ร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปจั จัยหนนุ การเรยี นร้ทู ีส่ นองต่อความ
ต้องการของผู้เรยี น ชุมชน และ ทอ้ งถ่นิ โดยยดึ ผู้เรียนเป็นสาคญั ได้อย่างมีคุณภาพ และ ประสทิ ธภิ าพ

4. เพอ่ื ให้โรงเรียนไดป้ ระสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา และ ของบุคคล
ครอบครวั องคก์ ร หนว่ ยงาน และ สถาบันอืน่ ๆอย่างกวา้ งขวาง

ขอบขา่ ยภารกิจ

1. การพฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้
2. การจัดทาทะเบยี นและวัดผล-ประเมนิ ผล

3. การบรหิ ารกลุม่ สาระการเรียนร้แู ละกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
4. การส่งเสริมคุณภาพการจัดการศกึ ษา
5. การส่งเสริมพฒั นาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
6. การพฒั นาห้องสมดุ และแหลง่ เรียนรู้
7. การสร้างเครือข่ายพฒั นาหลกั สตู รและการจดั การเรยี นการสอน

งานในฝา่ ยวิชาการ

1. งานธรุ การฝ่ายวิชาการ
2. งานหลักสูตรและการสอน
3. งานกลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
4. งานทะเบยี น
5. งานวดั ผล
6. งานศูนย์สือ่ และแหล่งเรยี นรู้
7. งานห้องสมุด
8. งานแนะแนว
9. งานประกันคณุ ภาพการศึกษา
10. งานวิจัยและพฒั นาการศึกษา
11. งานนเิ ทศและบริการทางการศกึ ษา

งานธรุ การฝ่ายวชิ าการ/ธรุ การกลุ่มสาระการเรยี นรู้

1. จัดทาทะเบยี นคุมและจดั ทาแฟ้มเอกสารหนังสือรบั -ส่งของฝ่ายวชิ าการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

2. ประสานงาน แจ้งหนงั สอื เวยี นต่างๆ ให้ผ้เู กี่ยวขอ้ งทราบ

3. จัดทาวาระการประชมุ บนั ทึกและรายงานการประชุมของฝ่ายวชิ าการเสนอผูเ้ กยี่ วข้องทราบตามลาดับ

4. รับผดิ ชอบการเบกิ -จ่ายพสั ดุ ตรวจสอบและรายงานพัสดุครุภณั ฑ์ประจาปขี องสานักงานฝ่ายวชิ าการ

5. ควบคุมการออกเกียรตบิ ัตรของฝา่ ยวิชาการ

6. อน่ื ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย

งานหลกั สตู รและการสอน
1. หลักสูตรสถานศึกษา
1.1 ศึกษาวเิ คราะห์เอกสารหลกั สตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 สาระแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ

ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพปัญหา และความต้องการของสงั คม ชมุ ชน และทอ้ งถ่ิน
1.2 วิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม และ ประเมนิ สถานภาพสถานศึกษาเพอื่ กาหนดวิสยั ทศั น์ ภารกิจ เป้าหมาย

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์โดยมสี ว่ นร่วมของทุกฝา่ ยในโรงเรียน และชุมชน
1.3 จัดทาโครงสรา้ งหลักสูตรและสาระตา่ ง ๆ ที่กาหนดให้มีในหลกั สูตรสถานศกึ ษาท่ีสอดคลอ้ งกับวสิ ยั ทัศน์

เป้าหมาย และคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ โดยพยายามบรู ณาการเนื้อหาสาระทง้ั ในกลุ่มสาระการเรยี นร้เู ดียวกันและ
ระหวา่ งกล่มุ สาระการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม

1.4 นาหลักสตู รไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน และบรหิ ารจดั การการใช้หลกั สตู รให้เหมาะสม
1.5 เสนอแตง่ ต้งั คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร
1.6 จัดทาหลกั สูตรและแนวปฏบิ ัติการใช้หลกั สตู ร
1.7 ตรวจสอบเกย่ี วกบั การโอน/ยา้ ย หลกั สูตรระหวา่ งโรงเรยี นและหลักสตู รอนื่
1.8 สารวจความต้องการของผรู้ บั บริการในการจัดการเรียนการสอนนอกระบบโรงเรยี น การเรยี นแบบอธั ยาศัย
รวมทงั้ กาหนดแนวทางการใชห้ ลกั สูตร เสนอแนะกลุม่ งาน งาน ที่เกย่ี วข้องในการดาเนนิ งาน
2. การจดั ตารางสอน/จัดครูเข้าสอน/จดั สอนแทน
2.1 สารวจความรู้ ความสามารถของครู และความสอดคล้องของครูกบั หลักสูตรของโรงเรยี น ประสานกับกลมุ่
บริหารงานบุคคลเพอื่ จัดสรรอัตรากาลัง
2.2 วเิ คราะห์โครงสรา้ งหลักสตู ร สารวจความต้องการ ความถนัดความสนใจรว่ มกบั กลมุ่ งานแนะแนว และ
เสนอแนะต่อคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รเพือ่ จัดรายวชิ าใหน้ กั เรียนลงทะเบยี น

2.3 จัดตารางสอนนักเรียน ครู ตารางการใช้ห้อง และติดตาม ควบคุมให้การดาเนินการตามตารางสอนให้
ถูกต้อง ท้ังการเรยี นและการสอน

2.4 กาหนดแนวปฏบิ ตั ใิ นการจดั สอนแทน ติดตามผลการปฏิบัติ

งานกลุ่มสาระการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

1. งานกลุม่ สาระการเรียนรู้

1.1 จัดโครงสร้างการบรหิ ารกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

1.2 บรหิ ารกลมุ่ สาระการเรียนรใู้ ห้เปน็ ไปตามหลักสูตรของโรงเรยี น สอดคลอ้ งกับนโยบาย วสิ ยั ทศั น์ พันธะกจิ
และเปา้ หมายของโรงเรยี น และของหลักสูตร

1.3 ควบคมุ ดูแล กากับการใชห้ ลกั สตู รของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ประเมนิ ผลการใช้หลักสูตรอย่างต่อเนือ่ ง
รวมทง้ั เสนอขอปรับปรงุ หลกั สูตรเม่ือพบข้อบกพร่อง หรือจดุ ทคี่ วรพฒั นา

1.4 จดั ทาเอกสารแผนงาน/โครงการตามฝ่ายธรุ การโรงเรยี นกาหนดและสอดคล้องกบั แผนงานโรงเรียน

1.5 ควบคุม ดูแล กากับให้ครูในกลุม่ สาระการเรียนรทู้ ุกคนจดั ทาหลักสตู รชั้นเรยี น แผนการจดั การเรยี นรแู้ ละ
สอนตามแผนการจดั การเรยี นรู้ การตรวจสมดุ ปพ.5 ข้อสอบกลางภาค ข้อสอบปลายภาค การประเมนิ การอ่าน คิด
วเิ คราะห์และเขียน สมรรถนะของผูเ้ รยี นและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

1.6 กากบั ติดตามใหค้ รูเข้าสอนตามตารางสอนทุกคาบ จัดสอนซอ่ มเสริม สอนชดเชยและสอนแทนเมื่อครใู น
กลมุ่ สาระลาหรือไปราชการ

1.7 จดั ใหม้ กี ารนิเทศงานวชิ าการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ประชมุ ครใู นสังกดั อย่างน้อยเดอื นละ 1 ครั้ง เพื่อ
ปรับปรงุ แก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยในชนั้ เรียน และการพฒั นาครูโดยการประชุมสัมมนา ศึกษาดูงาน

1.8 จัดกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร และร่วมกับงานกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

1.9 ประสานงานระหวา่ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ในการบูรณาการการเรียนการสอน
ระหว่างกลมุ่ สาระ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

1.10 จดั ทาหลกั สูตรสถานศึกษาของกลุม่ สาระ

1.11 ประสานงานให้มีการจัดหา ผลิต และใชส้ ่อื การเรยี นการสอน ปรับซอ่ มสอื่ การเรียนการสอน
1.12 จัดให้มีการพฒั นาครูด้านวชิ าการในรูปแบบตา่ งๆ เพื่อให้ครสู ามารถจัดการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
1.13 สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจัดกจิ กรรมทางวิชาการรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การประกวด แข่งขนั และสาธติ
1.14) จดั ระบบขอ้ มูล สถติ ิ เอกสารสารสนเทศของกลุ่มสาระการเรียนรู้
1.15 กากบั ดูแลกจิ กรรมชมุ ชน และโครงการพเิ ศษที่อยใู่ นความรับผดิ ชอบของกล่มุ สาระการเรียนรู้
1.16 จดั ทาเอกสารสรปุ ผลการดาเนนิ งานของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เสนอตอ่ โรงเรียนเม่ือส้ินภาคเรียน/ปี
2. งานกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
2.1 กาหนดแผนการจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนให้เปน็ ไปตามหลกั สตู รสถานศึกษา และนโยบายของ
สถานศกึ ษา
2.2 จัดทาคูม่ ือ แนวปฏิบตั ิที่เกย่ี วข้องกบั การจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
2.3 กากับ ตดิ ตาม ดแู ลการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นของครูและนกั เรยี นให้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยและมี
ประสทิ ธิภาพ
2.4 ประสานงานในการจัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนของสถานศึกษาทกุ รปู แบบกบั ทกุ ฝ่ายให้เกดิ ประสิทธิผลสงู สุด
2.5 ประเมินผลการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนของครูและนักเรียน สรุปรายงานเสนอต่อโรงเรียนและฝา่ ย
ทีเ่ กี่ยวข้อง
งานทะเบียน
1. จดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ เอกสาร ระเบียบ ค่มู ือ เก่ยี วกับงานทะเบียนและจดั เกบ็ เป็นแฟ้มอยา่ งเปน็ ระบบ
2. ดาเนนิ การกรอกข้อมลู นักเรียน ลงทะเบียนข้อมลู ลงในโปรแกรม SGS ในระบบงานทะเบียน
3. เก็บรักษาเอกสาร/หลกั ฐานทเ่ี กีย่ วข้องตามระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรี
4. จัดทาแบบฟอร์ม แบบคาร้องต่างๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับงานทะเบียน

5. แนวปฏิบตั ทิ ่เี กย่ี วข้องกับงานทะเบียน

5.1 การลาออก

5.1.1 ผ้ปู กครองนักเรียนมาติดต่อโดยตรงท่งี านทะเบียน

5.1.2 ขอแบบคารอ้ งใบลาออกและกรอกรายละเอียด

5.1.3 ผูป้ กครองนักเรยี นหรือบดิ า มารดา ลงช่ือรบั ทราบการลาออก

5.1.4 เตรยี มรูปถ่ายขนาด 1.5 นิว้ 2 รปู เพอื่ จัดทาเอกสาร (รูปถ่ายเปน็ รูปปัจจุบัน เครอ่ื งแบบ

นกั เรียน)

5.2 การขอรับหลักฐาน รบ.1/ปพ.1

5.2.1 รับคารอ้ งทห่ี ้องทะเบียน

5.2.2 ยน่ื คาร้องขอหลักฐาน

5.2.3 ถ้าเปน็ การขอ รบ.1-ต, รบ.1-ป, ปพ.1 ฉบบั ที่2

รบ.1-ต, รบ.1-ป (จบการศึกษาก่อนปี 2547) ใช้รปู ถ่ายขนาด 4x5 ซม. จานวน 2 รปู
ปพ.1 (จบการศึกษาตั้งแต่ปี 2547) ใช้รูปถ่ายขนาด 3x4 ซม. จานวน 2 รปู (รูปถ่ายท้ัง 2
ขนาด เป็นรปู หนา้ ตรง สวมเสอื้ เช้ติ ขาว ไม่สวมแว่นตาดา ไมส่ วมหมวก)

ขอใบรับรอง - ถ้าเปน็ การขอแทนฉบับทห่ี าย ใหแ้ จ้งความและนาหลกั ฐานแจ้งความมาแสดง ถ้าเปน็ การ
- นกั เรยี นท่ีกาลังเรยี นในโรงเรยี นต้องใหผ้ ู้ปกครองท่มี ีชอ่ื ในทะเบยี นบ้านมายนื่ คาร้องดว้ ยตนเอง

- ใชร้ ปู ถา่ ยขนาด 3x4 ซม.แต่งเครือ่ งแบบนักเรียน จานวน 1 รปู

งานวัดผล

1. จัดหาวสั ดุ อุปกรณ์ เอกสาร ระเบยี บ คู่มือ เก่ยี วกับงานวัดผลและจดั เก็บเป็นแฟ้มอย่างเปน็ ระบบ

2. ประสาน ดาเนินการลงทะเบียนเรียนในรายวชิ าต่างๆ ตามที่นกั เรียนลงทะเบยี นเรยี นไว้ในแตล่ ะภาคเรยี นลงใน
โปรแกรม SGS ในระบบงานทะเบยี น-วัดผล

3. จดั ทาแบบฟอร์ม แบบคาร้องตา่ งๆ ท่เี ก่ียวข้องกบั งานวดั ผล

4. เกบ็ รักษาเอกสาร/หลักฐานทเ่ี ก่ียวข้องตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรี

5.จดั ทาและตรวจสอบระเบยี บแสดงผลการเรียน ( ปพ1 ) ให้ถูกต้องและเป็นปจั จบุ ันอยู่เสมอออกใหร้ ะเบียน
แสดงผลการเรียนให้แก่นกั เรียนทจ่ี บหลักสตู รและประสงค์จะลาออก

6. จัดทารายงานผลการเรยี นของผู้เรยี นที่จบหลักสูตร ( ปพ1 ) ใหเ้ สรจ็ สน้ิ เรียบรอ้ ยภายใน 30 วันนบั แต่วนั อนุมัติ
ผลการเรยี นส่งหน่วยงานเจา้ ของสังกัด ให้ถูกต้องตามระเบยี บ

7. ดาเนินการในการออกประกาศนียบัตรแกผ่ สู้ าเรจ็ การศึกษา จดั ทาทะเบยี นคมุ และการจ่ายประกาศนียบัตรแก่
ผสู้ าเรจ็ การศึกษา

8. ดาเนนิ การในการออกเอกสารรบั รองผลการเรยี น รับรองการเปน็ นักเรยี น เอกสารแสดงผลการเรยี น
ภาษาอังกฤษและเอกสารรับรองอื่น ๆ ที่นกั เรยี นร้องขอ

9. ให้ความรว่ มมอื กับสถานศึกษาอน่ื ทขี่ อตรวจคณุ วุฒิและดาเนนิ การในการขอตรวจสอบคณุ วุฒิของนักเรยี น

10. ดาเนนิ การเกี่ยวกบั การขอผอ่ นผันการเรียน การหยุดพักการเรียน การเปลี่ยนแปลงวชิ าเรียน การถอน การขอ
เพมิ่ วชิ าเรียน

11. การควบคมุ ดูแล กากับ ตดิ ตาม งานด้านวัดผลประเมินผลให้เป็นไปตามแนวปฏิบตั แิ ละปฏิทนิ ท่กี าหนด

12. ดาเนนิ การเกีย่ วกบั หลกั ฐานการเรียนการประเมนิ ผลการเรียนให้ถูกต้องเป็นปัจจบุ ัน มกี ารจดั เก็บอย่างเปน็
ระบบ สะดวกแกก่ ารสบื คน้ และให้บรกิ าร

13. ดาเนนิ การเกี่ยวกับนกั เรยี นท่ีมีเวลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ 80 ประกาศรายชื่อผ้ทู ีม่ ีเวลาเรยี นไมค่ รบร้อยละ 80
การผ่อนผันให้เข้าประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น รวมท้ังประกาศรายชอ่ื ผู้ไมม่ สี ิทธเิ ขา้ รับการประเมนิ ผลปลายภาคเรียน
แจ้งผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบ

14. ดาเนินการจัดทาตารางสอบกลางภาค ปลายภาค ประสานงานกบั งานธรุ การฝา่ ยวชิ าการในการออกคาสงั่ การ
สอบตา่ ง ๆ จัดเตรียมอุปกรณ์การสอบ เกบ็ รกั ษาข้อสอบไว้ 1 ภาคเรียน และดาเนินการจาหน่ายให้ถกู ต้องตามระเบียบ

15. ดาเนนิ การเกีย่ วกบั การเปลยี่ นแปลงผลการเรียนของนักเรยี นทีไ่ มผ่ ่านรายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นซา้

16. จัดทาสารสนเทศผลการวัดและประเมินความร,ู้ คณุ ลักษณะฯ, การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น, สมรรถนะ
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

17. แจง้ แนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับงานวดั ผลใหผ้ ้เู กยี่ วข้องทราบ

งานศูนยส์ ื่อและแหล่งเรียนรู้
1. สารวจส่ือการสอนของครทู ุกคน ทุกกล่มุ สาระ รวบรวมเป็นระบบ เพื่อใชส้ อ่ื การสอนร่วมกนั ได้
2. สารวจ/จัดอบรม/เผยแพร่ สื่อนวัตกรรมของครูทกุ กลมุ่ สาระ
3. สารวจแหลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินทั้งในสถานศึกษา ชมุ ชน ท้องถิน่ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การพัฒนาคุณภาพ

การศกึ ษา
4. จดั ทาเอกสารเผยแพรแ่ หล่งเรียนรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ .ใหแ้ ก่ครู สถานศึกษาอ่ืน บคุ คลองค์กร หน่วยงาน
5. จัดต้งั และพฒั นาแหล่งการเรยี นรู้และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ รวมทั้งพฒั นาให้เกิดองค์ความรู้
6. ส่งเสรมิ สนับสนุนใหค้ รูใช้แหล่งเรียนรู้ทงั้ ใน และนอกโรงเรียนการจัดกระบวนการเรยี นรใู้ หค้ รอบคลุมภูมปิ ัญญา

ท้องถ่ิน
7. รว่ มกบั ฝา่ ย/งาน/กลุ่มสาระ ในการสร้างและพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน
8. ประเมิน/สรุปผล การใช้สือ่ และแหล่งเรียนร้ขู องครูจากนักเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชน

งานหอ้ งสมุด
1. จดั ทาแผนปฏิบัตกิ าร งบประมาณ โครงการของงานห้องสมุดใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของโรงเรียน
2. จดั และพัฒนาสถานทห่ี อ้ งสมุดให้เหมาะสมกับเป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้ไดต้ ลอดเวลาและหลากหลาย
3. จัดให้มีวัสดุ ครุภณั ฑ์ และเครอ่ื งอานวยความสะดวกที่เพียงพอกบั จานวนสมาชิก
4. ดูแล เก็บรกั ษา ซ่อมบารุง ครุภัณฑ์ ใหอ้ ยู่ในสภาพท่ีดีใชก้ ารไดต้ ลอด

5. จดั หา ซอ้ื ทาเอกสาร วารสาร และสิง่ พิมพต์ า่ ง ๆ ทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ การคน้ คว้าหาความรแู้ ละความบนั เทงิ

6. จดั บรรยากาศ สถานท่ีและสง่ิ แวดลอ้ ม การบริการให้ชักจูงบคุ คลภายนอกใหเ้ หน็ ประโยชน์ และเข้ามาใชบ้ ริการ

7. จัดกิจกรรมสง่ เสริมใหน้ ักเรียนของโรงเรยี นมนี ิสยั รักการอ่าน

8. จดั ทาสถติ ิ ข้อมูลเกย่ี วกบั การดาเนนิ งาน รวมทั้งประเมินผลงานทีป่ ฏิบัติตลอดภาคเรียน/ปี

9. ใหบ้ ริการใช้หอ้ งสมุดแกน่ ักเรยี น ครู และบุคคลภายนอก

งานบริการห้องสมุด คืองานทห่ี ้องสมดุ จดั ทาข้ึนเพ่ืออานวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้ในด้านการอ่าน การค้นคว้าหา
ความร้แู ละส่งเสริมการอ่านใหก้ ว้างขวางและท่วั ถึง เพอ่ื ให้ผ้ใู ชไ้ ดร้ บั สารสนเทศอยา่ งรวดเร็ว และตรงตามความต้องการ
มากท่สี ุด รวมถงึ การจัดบรรยากาศที่ดี เปน็ ระเบยี บ ทาใหผ้ ู้ใช้เกดิ ความรสู้ ึกที่ดีและประทับใจเมือ่ เข้าใช้บริการ

ความสาคญั ของงานบรกิ ารหอ้ งสมดุ งานบริการเปน็ หัวใจสาคัญของห้องสมุด เปน็ งานทเี่ กีย่ วข้องกับผูใ้ ช้ทุก
ระดบั สาหรบั งานบรกิ ารของหอ้ งสมุดโรงเรยี น มีส่วนสาคัญที่ทาใหน้ ักเรียน ผปู้ กครองและชมุ ชน มาใช้ห้องสมุดมากขึ้น
งานบรกิ ารเปน็ งานทีห่ อ้ งสมุดทาขน้ึ เพ่ือส่งเสรมิ สนับสนุนการเรยี นการสอน ใหน้ กั เรยี นเกิดการเรียนรู้ รจู้ กั ศึกษา
คน้ คว้าด้วยตนเอง ใชป้ ระโยชน์จากการอา่ นเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ ตลอดจนนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ใน
ชีวติ ประจาวันไดเ้ ป็นอย่างดี

วัตถุประสงค์ของการให้บริการหอ้ งสมุด

1. เพื่อสง่ เสริมการอา่ น

2. เพือ่ อานวยความสะดวกแก่ผูใ้ ชห้ ้องสมดุ

3. เพือ่ สนับสนุนการเรยี นการสอนใหเ้ กิดประโยชน์อย่างเต็มท่ีและคุ้มค่า

4. เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเพลดิ เพลิน พัฒนาสมองให้มีสติปญั ญาเฉลยี วฉลาด สามารถนาสิง่ ท่ไี ดจ้ ากการ
อ่านไปปฏิบัติ เพ่อื บรรลวุ ัตถุประสงคท์ ีต่ นต้องการ

ประเภทของงานบริการห้องสมุด

งานบรกิ ารของห้องสมุดมหี ลายอยา่ ง ขึ้นอยู่กับนโยบายและวตั ถปุ ระสงคข์ องห้องสมุด สาหรับห้องสมุด
โรงเรยี นโดยท่วั ไป มดี งั น้ี

1. บริการการอ่าน เป็นบริการหลกั ของห้องสมดุ ที่จดั หาและคดั เลือกหนังสือ ส่งิ พิมพ์ตา่ งๆ มาไว้เพื่อ
ให้บริการ และจัดเตรียมสถานทีใ่ หอ้ านวยความสะดวกต่อการอ่าน เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ และความสนใจของ
ผใู้ ชม้ ากทีส่ ดุ

2. บริการยมื - คนื คือ บริการใหย้ ืม - คนื ทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ ตามระเบียบการยืมของ
หอ้ งสมดุ แต่ละแหง่ เพื่อให้ความสะดวกในการใช้ ในกรณีที่ยืมเกินกาหนด ผยู้ ืมจะต้องเสยี ค่าปรบั ตามอตั ราที่ห้องสมุด
กาหนด

3. บรกิ ารหนงั สือจอง เป็นบริการท่หี อ้ งสมดุ จัดแยกหนังสือรายวชิ าต่าง ๆ ทค่ี รูผู้สอนกาหนดใหน้ กั เรยี น
อา่ นประกอบ รวมทง้ั เปน็ บริการพเิ ศษท่ีจัดขนึ้ ในกรณีที่หนังสอื น้ันมจี านวนนอ้ ย แต่มีผใู้ ชต้ ้องการจานวนมาก โดยแยก
ไว้ตา่ งหาก และมีกาหนดระยะเวลาให้ยมื สัน้ กว่าหนังสือท่ัวไป

4. บรกิ ารแนะนาการใช้ห้องสมดุ เป็นบริการเพ่ือแนะนาผ้ใู ช้ใหท้ ราบว่า หอ้ งสมดุ จัดบริการอะไรบ้าง
ใหก้ ับผู้ใช้ เช่น การปฐมนิเทศแนะนาแก่นักเรยี นท่เี ข้าเรียนในชั้นปแี รก หอ้ งสมุดสว่ นใหญจ่ ะจดั ทาคู่มือการใช้ห้องสมดุ
เพ่อื ใหข้ อ้ มูลเก่ยี วกับห้องสมุด เช่น ประวัตขิ องห้องสมุด ระเบียบการยืม - คืนทรพั ยากรสารสนเทศ มารยาทในการใช้
ห้องสมดุ บริการและกิจกรรมต่างๆของหอ้ งสมดุ เป็นต้น

5. บรกิ ารตอบคาถามและชว่ ยการค้นคว้า เป็นบริการที่ครูบรรณารกั ษ์หรือเจ้าหนา้ ท่ีห้องสมดุ จะช่วยให้
คาแนะนาและบริการตอบคาถามแกน่ กั เรียนและผใู้ ช้ ทั้งคาถามทั่วไปเกี่ยวกับการใช้ห้องสมดุ และคาถามที่ต้องคน้ หา
คาตอบจากทรัพยากรสารสนเทศตา่ งๆ ในหอ้ งสมุด

6. บริการแนะแนวการอ่าน เป็นบริการสาคญั ทห่ี ้องสมุดจัดข้นึ เพ่ือสง่ เสริมการอา่ น พฒั นานสิ ัยรกั การ
อา่ น และใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ นอกจากนยี้ ังเป็นการช่วยเหลือผ้ใู ชห้ ้องสมดุ ท่ีมีปัญหาในการอา่ น ผทู้ ่ไี มอ่ ยากอ่าน
หนงั สือ หรอื เลอื กหนังสืออา่ นไมเ่ หมาะสมกับความต้องการของตน

7. บริการสอนการใชห้ อ้ งสมุด เป็นบรกิ ารของห้องสมุดในโรงเรียนที่จัดสอนให้แก่นักเรียนท่เี ข้าเรียนใหม่

ในชน้ั ปีแรก เพ่อื ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั การใชห้ ้องสมุด การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภท และบริการต่างๆ

ของห้องสมดุ ให้ผ้ใู ช้สามารถใชป้ ระโยชน์จากหอ้ งสมดุ ได้อยา่ งเต็มที่

8. บริการสืบค้นฐานข้อมูล เป็นบริการสืบค้นฐานข้อมูลหนงั สือของหอ้ งสมุดช่วยให้ผใู้ ช้ สามารถค้นหา

หนังสือดว้ ยตนเองได้สะดวก รวดเรว็ ขึน้

9. บรกิ ารรวบรวมบรรณานกุ รม เป็นการรวบรวมรายชื่อหนังสอื สาหรบั ใช้ประกอบการเรียนการสอน ใน

รายวชิ าตา่ งๆ รวมถึงการรวบรวมบรรณานุกรมหนังสือใหม่ประจาเดือนทีห่ ้องสมดุ ออกใหบ้ รกิ ารแกผ่ ใู้ ช้

10. บริการขา่ วสารทันสมยั เป็นบริการท่ีชว่ ยให้ผใู้ ชห้ อ้ งสมุดได้ทราบข้อมลู ใหม่ๆ ในสาขาวชิ าตา่ งๆ โดย
การถ่ายสาเนาหน้าสารบัญวารสารฉบบั ลา่ สดุ ท่ีห้องสมดุ ได้รบั รวบรวมไว้ในแฟ้ม เพือ่ ให้บริการแก่ผู้ใชใ้ นการศึกษา
คน้ ควา้

11. บรกิ ารอินเทอรเ์ นต็ ผู้ใช้บรกิ ารสามารถสบื คน้ ข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ตทส่ี นใจไดท้ ว่ั โลก ซงึ่ ทาใหผ้ ใู้ ช้
สามารถเข้าถึงสารสนเทศทท่ี ันสมยั ไดม้ ากข้นึ ตรงตามความต้องการและสะดวกรวดเร็ว

12. บริการอน่ื ๆ ที่หอ้ งสมดุ อาจจดั ขนึ้ เชน่ บริการโสตทัศนวัสดุ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ บรกิ ารหอ้ งสมุด
เคลื่อนที่ บริการชมุ ชน บรกิ ารขอใช้สถานทปี่ ระชมุ เป็นต้น

12.1 บรกิ ารส่อื อิเล็กทรอนิกส์ เป็นบรกิ ารคน้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เชน่ สอ่ื
มัลติมีเดยี ซีดีรอม ดีวดี ี วซี ดี ี เปน็ ต้น

12.2 บรกิ ารหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ี เปน็ บริการการอา่ นทีห่ ้องสมุดจัดไว้ตามมุมตา่ งๆของโรงเรียน เพื่อ
ส่งเสริมการเรยี นรู้ เชน่ ใต้บันได ระเบยี งอาคาร สวน ศาลา ฯลฯ เป็นการใหบ้ รกิ ารอย่างไมเ่ ป็นทางการ งา่ ยๆ และ
ตกแตง่ ด้วยธรรมชาติอย่างสวยงาม ตามสภาพของสถานท่ีนั้นๆ

12.3 บรกิ ารชุมชน เปน็ บริการที่ขยายโอกาสทางการศึกษาคน้ ควา้ ใหก้ ว้างออกไป โดยห้องสมุดจะจัด
หนังสอื และสิ่งพิมพ์ ไปใหบ้ ริการแก่ชมุ ชนและหน่วยงานต่างๆ รอบโรงเรยี น เช่น ที่วดั ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก จุดบรกิ าร
จกั รยานยนตร์ ับจ้าง เป็นการปลูกฝงั นสิ ยั รกั การอ่านให้แก่เดก็ และประชาชนในชุมชนทุกเพศ ทุกวยั เพอ่ื เพม่ิ พูนความรู้
ขา่ วสาร และทนั ต่อเหตกุ ารณ์

งานแนะแนว
1. จัดองค์กรบริหารงานแนะแนวใหม้ ีผูร้ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานด้านต่าง ๆ ทก่ี าหนดในขอบขา่ ยของการบริการแนะแนว
2. ดาเนินการในการคดั เลือกนกั เรียนเพ่ือรบั ทนุ การศึกษา รางวลั การศกึ ษาตา่ ง ๆ และดาเนนิ การเกี่ยวกับกองทุน

อืน่ ๆ เพ่อื การศกึ ษา
3. ประสานงานให้กับวทิ ยากรและสถาบันการศึกษาภายนอกเขา้ มาให้การแนะแนวการศกึ ษาและอาชพี รวมทงั้

นกั เรยี นกลมุ่ ทีส่ นใจไปศึกษาจากสถานศึกษา สถานประกอบการหรือสถานประกอบอาชพี อิสระภายนอก

4. จัดแผนงาน โครงการแนะแนว และการจัดปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิงานประจาปี
5. ประสานงานการจัดสอนวัดความรคู้ วามสามารถทางวิชาการกับสถาบนั การทดสอบตา่ งๆ รวมทั้งดาเนนิ การ
เกี่ยวกับการสอบเขา้ ศกึ ษาต่อของนักเรียนช้ัน ม.3 และ ม.6
6. จดั เก็บและรวมรวมสถติ ขิ ้อมลู ด้านต่าง ๆ ตลอดจนปกี ารศึกษา และนาเสนอเปน็ เอกสารเผยแพร่เม่ือสิน้ ภาค
เรยี น/ปี
7. การจดั กิจกรรมแนะแนว

7.1 การบริการแนะแนว
7.1.1 งานศึกษารวบรวมข้อมูล โดยศกึ ษา รวบรวม วิเคราะห์ สรปุ และนาเสนอข้อมลู ของผู้เรยี น
7.1.2 งานสารสนเทศ โดยจัดศนู ย์สารสนเทศทางการแนะแนวในรปู ศนู ย์การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง โดย

ครอบคลุมด้านการศึกษา อาชีพ ชีวิต และสงั คม
7.1.3 งานให้คาปรกึ ษา อบรมทักษะการใหค้ าปรึกษาเบื้องต้นแก่ครใู ห้คาปรึกษาผเู้ รยี นทัง้ รายบุคคลและเปน็ กลมุ่
7.1.4 งานกิจกรรมสง่ เสริม พัฒนา ชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี น ศกึ ษารายกรณี (Case study) และจดั กล่มุ ปรึกษา

ปญั หา (Case conference) ส่งต่อผู้เช่ียวชาญ ในกรณีท่ผี ู้เรียนมีปัญหายากแก่การแก้ไข จัดกลุม่ พัฒนาผู้เรยี นด้วย
เทคนิคทางจติ วิทยา จัดบริการ สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ รวมทั้งใหก้ ารสงเคราะห์ เพื่อตอบสนองความถนดั ความ
ตอ้ งการ และความสนใจของผู้เรยี น

7.1.5 งานติดตามประเมินผล ประเมินผล/รายงานผลการดาเนนิ งานแนะแนว
7.2 การจัดกิจกรรมแนะแนว

7.2.1 กิจกรรมโฮมรูม
7.2.2 กิจกรรมคาบแนะแนว
7.2.3 การสอดแทรกกระบวนการแนะแนว

งานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา

ตามท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพการศึกษาที่
กาหนดใหส้ ถานศึกษาต้องพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาด้วยการมีส่วนร่วมกับหนว่ ยงานท่ี
เกีย่ วข้อง และต้องมีการดาเนินงาน 8 ประการ โดยเรมิ่ ตน้ ตัง้ แต่ 1) กาหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 2) จดั ทา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีมงุ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 3) จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
4) ดาเนินงานตามแผน 5) ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6) ประเมนิ คุณภาพภายใน 7 ) จัดทารายงานประจาปี
เสนอบคุ คลและหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งจนถึง 8) มกี ารพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนื่องจนเปน็ วัฒนธรรมของ
องค์กรทยี่ งั่ ยนื ในความรับผิดชอบของงานประกันคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนนราสิกขาลัยมีขอบขา่ ย ภาระงานดงั น้ี

1. กาหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษา

1.1 จดั ให้มปี ระกาศแต่งต้งั กรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศกึ ษา ซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการ
สถานศึกษา ครูและบุคลากรในโรงเรยี น กรรมการนกั เรยี น เครอื ข่ายผู้ปกครอง ชมุ ชน องค์กรภาครฐั

1.2 นามาตรฐานการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานมาเปน็ ต้นแบบ เพ่ือกาหนด
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นจากผู้มสี ่วนร่วมตามประกาศข้อ 1.1

2. จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ

2.1 กาหนดผู้รบั ผิดชอบมาตรฐานและตวั บ่งชเี้ พื่อดาเนินการจัดทาสารสนเทศ

2.2 รว่ มมือกับงานแผนงาน/สารสนเทศ เพ่ือวางแผนจดั ทาแผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
การศึกษา

3. ดาเนินการตามแผน

3.1 ร่วมมือกับงานแผนงาน/สารสนเทศ เพื่อกากับตดิ ตามการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี
การศึกษา

4. การตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและการประเมนิ คณุ ภาพภายใน

4.1 ประชมุ คณะทางานเพื่อวางแผนการประเมินคุณภาพภายใน

4.2 แตง่ ตงั้ กรรมการประเมินคุณภาพภายใน และดาเนินการประเมินคุณภาพภายในตามปฏิทนิ งาน

5. การจดั ทารายงานประจาปีเสนอบุคคลและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง

5.1 ประชุมสรปุ รายงานรับรองผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในจากผูม้ ีส่วนเก่ียวข้อง
5.2 จดั ทารายงานเสนอตอ่ ผบู้ ริหารโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน หนว่ ยงานต้นสงั กัดและ
เผยแพร่ทางเวบ็ ไซต์โรงเรยี น
6. การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่อื งจนเปน็ วัฒนธรรมขององค์กรท่ียั่งยืน
6.1 นาผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในมาวิเคราะห์สภาพปัญหาจดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียน
6.2 ทบทวนคุณภาพตามตวั บ่งชแี้ ละมาตรฐานเพ่ือปรบั ปรุงแกไ้ ข
งานวจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษา
มขี อบขา่ ยงานดังน้ี
1. งานวจิ ยั ในชั้นเรียน มแี นวปฏิบัติ ดงั นี้
1.1 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การวิจัยและพัฒนาโรงเรียน โดยเน้นการวจิ ยั ท่ีเป็นความก้าวหน้าทางวชิ าการและ
การพฒั นาองค์กรในลักษณะการวจิ ัยในชัน้ เรยี น
1.2 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การนาผลการวจิ ัยไปใช้
1.3 จัดอบรมเก่ียวกบั การวิจยั และการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน
2. งานเผยแพร่งานวจิ ัย มีแนวปฏิบตั ิ ดังนี้
2.1 สง่ เสริมการเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับการวิจัย ผลการวิจัย และพฒั นาสังคม
2.2 ประสานงานการวิจัยกับหน่วยงานต่างๆ ท้ังในโรงเรียน และนอกโรงเรียน
2.3 เปน็ แหล่งกลางในการทาวิจัย และประสานงานแลกเปลย่ี นเรียนรู้ทง้ั ในโรงเรียนและภายนอกโรงเรยี น
2.4 รวบรวมงานวจิ ัยในโรงเรยี นใหเ้ ป็นระบบ ทั้งในระดับบุคคล กลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ละระดับโรงเรียน
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาทว่ี า่ ดว้ ยเร่ืองการวิจัยในชั้นเรียน
3. ประเมนิ ผล สรปุ ผล/รายงานการดาเนินงานวิจัยและพัฒนาการศึกษาในโรงเรยี นเสนอผบู้ ริหารโรงเรยี น
4. อ่ืนๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

งานนิเทศและบรกิ ารทางการศึกษา
การนเิ ทศภายในสถานศึกษาจะเปน็ กระบวนการทางานของผู้บริหารสถานศกึ ษา (หรอื ผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย) ในการ

พัฒนาคณุ ภาพการทางานของครู และบคุ ลากรภายในสถานศึกษาเพ่ือให้ไดม้ าซง่ึ สัมฤทธ์ิผลสูงสดุ ในการเรยี นของผ้เู รียน
1. ขอบเขตการนเิ ทศงานวิชาการ
งานวิชาการภายในโรงเรยี นท่ีผู้บรหิ ารจะตอ้ งรบั ผิดชอบมี 2 ประเภท คือ

1.1 งานหลัก ได้แก่
1.1.1 หลกั สูตรสถานศกึ ษา

– การปรบั ปรงุ หลักสูตรให้สอดคล้องกบั สภาพของท้องถน่ิ
– การสร้างหลกั สตู รเพ่ือสนองความตอ้ งการของผเู้ รียนทอ้ งถิ่น
–การจดั แผนการเรียนการสอน
–การจัดทาโครงการสอน
–การจัดตารางสอน
– การจัดครผู ้สู อน
– การจดั ชั้นเรยี น (จดั นกั เรียนเข้าแผนการเรยี น)

–การจัดกิจกรรมในหลักสตู ร
- การผลิตสื่อและอปุ กรณ์การสอน ฯลฯ
1.1.2 การเรยี นการสอน ไดแ้ ก่
–การพัฒนาเทคนคิ วิธกี ารสอน
– การพัฒนาเทคนิคในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
– การพฒั นาเทคนคิ ในการใช้สอื่ และอุปกรณก์ ารสอน ฯลฯ
1.1.3 การวดั และประเมินผลการเรียนการสอน ไดแ้ ก่

– การสรา้ งข้อทดสอบ

– การวดั และประเมนิ ผล
– งานทะเบียนวดั ผลและรายงานความก้าวหน้าของนักเรียน ฯลฯ
1.2 งานสนบั สนุนวิชาการ ได้แก่ งานเกี่ยวกบั อาคารสถานที่ กิจการนกั เรยี น ธุรการและการเงนิ และ
ความสมั พันธก์ ับชุมชน ขอบเขตงานที่กล่าวมานี้หากผู้บริหารมคี วามมงุ่ หวังทีจ่ ะให้ไดผ้ ลงานของบุคลากรภายใต้การ
ควบคมุ ดแู ลมีคณุ ภาพก็จาเป็นจะตอ้ งพัฒนาบุคลากรเหล่านี้ ใหม้ ีความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานจึงจะไดผ้ ลงาน
ทมี่ คี ณุ ภาพตามความมุ่งหวังทีต่ ้ังไว้
2. วธิ ีดาเนินการ
ขั้นท่ี 1 การวางแผนการนิเทศ
ขั้นท่ี 2 การให้ความรกู้ ่อนดาเนินการนเิ ทศ
ขน้ั ที่ 3 การดาเนนิ การปฏบิ ัติงานนิเทศ
ขัน้ ท่ี 4 การสร้างเสรมิ กาลงั ใจแก่ผู้ปฏิบัตงิ านนิเทศ
ขน้ั ท่ี 5 การประเมินผลการนเิ ทศ

แนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกับงานวชิ าการ

1. การปฏิบัติการติดตามนกั เรยี นขาดเรียน/ขาดเรยี นนาน
ถา้ นกั เรียนขาดเรียนนานตดิ ต่อกันให้ถือปฏบิ ัติดังน้ี
1.1 การตดิ ตามนักเรียนท่ีขาดเรียน / ขาดเรียนนานตดิ ต่อกัน เป็นหนา้ ทีโ่ ดยตรงของครทู ่ีปรึกษา
1.2 ถา้ นักเรยี นขาดเรียนนานตดิ ตอ่ กัน 5 วันทาการ โดยไมท่ ราบสาเหตุให้ครทู ี่ปรกึ ษาดาเนนิ การตดิ ตามโดย

สอบถามจากนักเรยี นใกล้เคียง ครู–อาจารย์หรอื ผูป้ กครองแล้วแต่กรณี แลว้ แจ้งให้ฝ่ายกิจการนักเรยี นทราบ เพ่ือ
ดาเนนิ การ ตามระเบียบต่อไป

1.3 ในกรณีท่คี รูทปี่ รึกษาไปพบผปู้ กครองหรอื นักเรียนแล้วไดส้ อบถามสาเหตแุ ละพิจารณาหาทางแก้ไข หาก
ไม่สามารถแก้ไขได้ ให้ปฏิบัตดิ งั นี้

- ถ้าเป็นนกั เรยี นทก่ี าลังเรียนอยใู่ นชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ตอ้ งชีแ้ จงใหน้ กั เรยี นและผูป้ กครองรบั ทราบ
ถึงระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื งการสง่ เดก็ เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาภาคบงั คบั พร้อมกับรายงานการดาเนินงานให้
ฝา่ ยบรหิ ารรับทราบเพื่อจะได้ดาเนนิ การตามระเบยี บต่อไป

- ถา้ เป็นนกั เรียนท่ีกาลังเรยี นอยใู่ นช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย ให้ผปู้ กครองมาลาออกให้ถูกต้อง
1.4 ในกรณที ่ีครูทป่ี รกึ ษา/ หัวหน้าระดับไปตามนกั เรียนท่บี า้ นแลว้ ไม่พบทงั้ ผปู้ กครองและนกั เรยี น ใหง้ าน
ทะเบียนนักเรียนดาเนนิ งานดังนี้

1.4.1 กรณีนักเรยี นท่ีเรียนอยู่ในช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น ให้ดาเนินการดงั น้ี
1.4.1.1 ฝ่ายกจิ การนกั เรยี นแจ้งขอ้ มูลท่งี านทะเบียนนักเรียน
1.4.1.2 งานทะเบยี นนักเรียนทาหนังสอื ของโรงเรียนถึงผู้ปกครองนักเรยี น ถ้ายังไมไ่ ด้ตอบรบั ให้

ทาหนังสอื แจง้ ผู้นาชมุ ชน หรือองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และรายงานให้สานักงานเขตพ้นื ทรี่ ับทราบ
1.4.2 กรณนี ักเรยี นที่เรียนอยู่ในชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ใหด้ าเนนิ การดังน้ี
1.4.2.1 ฝา่ ยกิจการนกั เรยี นแจ้งข้อมลู ท่ีงานทะเบยี นนักเรียน
1.4.2.2 งานทะเบยี นนกั เรียนทาหนงั สือของโรงเรยี นถึงผูป้ กครองนักเรียน ถา้ ยงั ไม่ได้ตอบรับให้

ทาหนังสอื แจ้งผปู้ กครองอีกเปน็ ครัง้ ท่ี 2 หากยงั ไม่ได้รับคาตอบการติดต่อคร้ังที่ 2 ภายใน 10 วัน งานทะเบียนนักเรยี น
ขออนมุ ตั ิหวั หนา้ สถานศึกษาจัดทาบญั ชีแขวนลอยและจาหน่ายชือ่ ออกจากทะเบียนนักเรยี นเพราะเหตุขาดเรยี นนาน
แล้วแจง้ ใหค้ รผู ู้สอน และผู้เก่ียวข้องรับทราบ

1.4.2.3 งานทะเบียนทาหนังสอื แจง้ ผู้ปกครองนักเรียนทราบว่าโรงเรยี นได้จาหน่ายนักเรียนออกแลว้
2. แนวทางการปฏบิ ตั เิ รื่องการขาดเรยี นและขาดเรียนนานของนกั เรียน มีดังนี้

2.1 ครทู ปี่ รกึ ษา / ครปู ระจาวชิ าสารวจการมาเรียนของนักเรียนทีต่ นรับผิดชอบทุกวันและทุกช่ัวโมงท่สี อน
2.2 เมอ่ื พบวา่ มีนกั เรียนขาดเรยี นบอ่ ยและขาดเรยี นติดต่อกันเปน็ เวลาหลายวันต้องปฏิบตั ดิ ังน้ี

2.2.1 ถ้าเปน็ ครปู ระจาวิชาที่สอนใหร้ ายงานนักเรยี นท่ีขาดเรียนนานและขาดเรยี นบ่อยๆให้ครูทปี่ รึกษา
รับทราบ และครูทป่ี รึกษาต้องตดิ ตามนักเรยี นท่ขี าดเรียนตามแนวปฏิบตั ขิ ้อ 1.2,1.3,1.4 แล้วแตก่ รณี

2.2.2 ถา้ ครูทีป่ รึกษาสารวจแล้วพบว่านกั เรยี นในชั้นขาดเรยี นบอ่ ยและขาดเรียนตดิ ต่อกนั เปน็ เวลานาน
ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามแนวปฏิบัตขิ ้อ 1.2,1.3,1.4

3. นกั เรยี นแขวนลอย

ความหมายของคา
“นกั เรียน” หมายความว่า บุคคลทก่ี าลงั เรยี นอยใู่ นระดบั มัธยมศกึ ษาของโรงเรยี น

“นกั เรียนแขวนลอย” หมายความวา่ นักเรยี นที่มีรายช่อื อยใู่ นบัญชรี ายช่ือนกั เรียนในชั้นตา่ ง ๆ ท่โี รงเรยี น
จดั ทาขึน้ ตอนต้นปีการศึกษา หรอื มีชื่ออยู่ในสมุดประเมนิ ผลรายวิชา และขาดเรียนนานโดยไม่ทราบสาเหตุ ไม่มีตัวตน
มิไดล้ าออกจากโรงเรยี น และโรงเรียนไม่สามารถจาหน่ายรายชอ่ื ออกจากทะเบียนนักเรยี นได้

ขัน้ ตอนการจัดทาบญั ชีรายช่ือนกั เรียนแขวนลอย

3.1 เม่อื นักเรียนขาดเรียนติดต่อกันเป็นเวลา 5 วันทาการ โดยไมท่ ราบสาเหตุ ใหป้ ฏิบตั ดิ งั นี้

3.1.1 ครูทป่ี รึกษาบันทึกรายงานหัวหน้าระดบั ชั้น เพอ่ื ตดิ ตามนกั เรียน และดาเนินการสืบหาขอ้ มูล

เบอ้ื งต้น

3.1.2 หวั หนา้ ระดับชน้ั รายงาน รองผู้อานวยการสถานศึกษาฝ่ายกจิ การนกั เรยี น และนาเสนอขอ้ มลู

3.1.3 รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษาฝา่ ยกิจการนักเรยี น และคณะกรรมการดาเนินการตดิ ตามนักเรยี น

ครั้งที่ 1

3.2 เม่อื นักเรยี นขาดเรียนติดตอ่ กนั เป็นเวลา 10 วนั ทาการ โดยไม่ทราบสาเหตุ ให้ปฏิบัตดิ ังน้ี

3.2.1 ครทู ปี่ รึกษารายงานหัวหนา้ ระดับชนั้ เพื่อลงบัญชรี ายช่ือนักเรยี นแขวนลอยและติดตามนกั เรียน

3.2.2 หัวหนา้ ระดบั ชั้นรายงาน รองผอู้ านวยการสถานศึกษาฝ่ายกิจการนักเรียน และนาเสนอข้อมลู

3.2.3 รองผู้อานวยการสถานศกึ ษาฝ่ายกจิ การนักเรยี น เสนอผ้อู านวยการสถานศกึ ษา เพอื่ ขออนุมัติ
ลงบัญชีรายชื่อนกั เรียนแขวนลอย พร้อมเหตผุ ล

3.2.4 ผอู้ านวยการสถานศึกษา อนุมตั ิ หรือพิจารณาส่ังการ

3.2.5 นายทะเบียน จัดทาบัญชีรายชอื่ นกั เรียนแขวนลอย

บทบาทหนา้ ที่
ข้อ 3.3 อาจารย์ทป่ี รึกษา มีหนา้ ทด่ี งั น้ี

3.3.1 สารวจและติดตามนักเรียนทข่ี าดเรียนติดต่อกัน 5 วนั ทาการ และเสนอชอ่ื นักเรียนต่อหวั หน้า
ระดับ / ฝา่ ยปกครองเพือ่ ติดตามนักเรียน

3.3.2 สารวจและตดิ ตามนกั เรียนท่ขี าดเรียนตดิ ต่อกนั 10 วนั ทาการ และเสนอชื่อนกั เรียนตอ่ หวั หน้า
ระดบั /ฝ่ายปกครอง เพ่ือลงบัญชีรายชื่อนกั เรียนแขวนลอย และตดิ ตามนักเรยี น

ข้อ 3.4 หัวหนา้ ระดบั /ฝ่ายปกครอง มีหน้าทีด่ ังน้ี 6.1 ตดิ ตามนกั เรยี นที่ขาดเรยี นติดตอ่ กนั 5 วนั ทาการ 6.2
เสนอชื่อนักเรียนท่ีขาดเรียนติดตอ่ กนั 10 วนั ทาการ เพ่ือลงบญั ชีรายชือ่ นกั เรยี น แขวนลอย และติดตามนักเรียน 6.3
เมื่อผ้บู รหิ ารสถานศึกษา อนุมตั ิลงบญั ชรี ายชือ่ นักเรียนแขวนลอยแล้วใหแ้ จง้ นาย ทะเบยี นเพื่อลงบัญชีรายชื่อนักเรียน
แขวนลอย

ขอ้ 3.5 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา มีหน้าทดี่ ังน้ี

3.5.1 ตรวจสอบขอ้ มลู

3.5.2 พิจารณาสงั่ การอนมุ ัตใิ หล้ งบญั ชีรายชอ่ื นักเรียนแขวนลอย หรือส่ังการอ่นื ใดตามท่ีเหน็ สมควร

ขอ้ 3.6 นายทะเบียน มหี น้าท่ีดังน้ี

3.6.1 รับทราบคาสัง่ จากผู้บริหารสถานศึกษา

3.6.2 จดั ทาทะเบียนรายชอ่ื นักเรียนแขวนลอย

การยกเลกิ รายช่ือนักเรียนแขวนลอย

3.7 กรณีท่ีนกั เรยี นมีช่ืออยู่ในบัญชีรายชื่อนักเรียนแขวนลอย กลบั มารายงานตัวเพอื่ เข้าเรยี นตามปกติ ให้
ปฏบิ ตั ิดงั น้ี

3.7.1 ครูทปี่ รึกษารายงานหัวหน้าระดบั ชั้น เพ่ือขอยกเลิกรายช่ือนกั เรยี นแขวนลอย
3.7.2 หัวหนา้ ระดับช้นั รายงานรองผอู้ านวยการสถานศึกษาฝ่ายกิจการนกั เรยี น
3.7.3 รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ฝ่ายกจิ การนักเรียน รายงานผู้อานวยการสถานศึกษา
3.7.4 อานวยการสถานศกึ ษา อนุมตั ใิ ห้ยกเลกิ รายช่ือนักเรียนแขวนลอย คนนัน้
3.7.5 นายทะเบยี นลงบัญชยี กเลกิ รายชือ่ นักเรยี นแขวนลอย คนนนั้
3.8 ข้อมลู นักเรยี นที่มีอยู่จริงในปจั จุบนั ของโรงเรียน

ฐานข้อมูลนักเรยี นของโรงเรียน มาจากทะเบยี นนักเรยี น ในชว่ งตอนต้นปีการศึกษา สามารถแบง่ ออกได้
สองกลุ่ม ดงั น้ี

3.8.1 ข้อมลู นกั เรียนท่ียังไม่สามารถจาหน่ายออกจากทะเบยี นนักเรียนได้ เช่น นักเรยี นที่เรียนครบ
หลกั สตู ร แตไ่ มจ่ บหลักสูตรได้ตามกาหนด นกั เรียนท่ีขาดเรยี นไปโดยไม่ไดล้ าออก

3.8.2 ข้อมลู นักเรียนท่ีมีรายช่ืออยูใ่ นบญั ชรี ายช่ือนักเรียนชัน้ ตา่ งๆ (ห้องตา่ งๆ ) ทีโ่ รงเรียนจัดทาขึ้น
ตอนตน้ ปีการศกึ ษา

3.8.3 ในระหว่างปีการศกึ ษา จะมีนักเรียนเข้า – ออก ระหว่างปกี ารศกึ ษา แบ่งออกได้ 3 กลุม่ ดังนี้
3.8.3.1 นักเรียนเข้าใหม่ ระหว่างปกี ารศึกษา
3.8.3.2 นักเรยี นทอี่ อกกลางคัน ระหวา่ งปกี ารศึกษา
3.8.3.3 นักเรยี นทีอ่ ยใู่ นบัญชีรายช่ือนักเรียนแขวนลอย

3.8.4 การรายงานข้อมูลจานวนนกั เรยี นทม่ี ีอยู่จริงในปัจจุบนั ของโรงเรียน ต้องพจิ ารณาจากข้อมลู
จานวนนักเรียนทมี่ รี ายชื่อในบัญชีนักเรียนประจาชัน้ ท่ีโรงเรยี นจัดทาขึน้ ตอนต้นปีการศกึ ษา บวกเพิ่มด้วยจานวน
นักเรียนท่เี ขา้ ใหมร่ ะหวา่ งปีการศกึ ษา ลบออกด้วยจานวนนักเรยี นทล่ี าออกกลางคันระหวา่ งปีการศกึ ษา และลบออก
ด้วยจานวนนกั เรยี นท่ีมีชอื่ อยู่ในบัญชีรายชอ่ื นกั เรยี นแขวนลอย

4. แนวปฏบิ ัติในการแก้ “0”

ในการแก้ “0” มีแนวปฏบิ ตั ดิ งั น้ี

4.1 ให้นกั เรียนแก้ตัวไดไ้ ม่เกนิ 2 คร้ัง และก่อนแก้ตัวทุกครงั้ นักเรยี นต้องยน่ื คาร้องขอสอบแก้ตัวท่ีฝา่ ย
วิชาการก่อน

4.2 การดาเนนิ การสอบแกต้ ัวเปน็ หนา้ ทโี่ ดยตรงของครูผ้สู อน เมื่อมนี กั เรยี นติด “0” ในรายวิชาทีร่ ับผดิ ชอบ
ตอ้ งดาเนินการแก้ “0” ใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในภาคเรยี นถัดไป ถา้ ไมส่ ามารถดาเนินการให้แลว้ เสรจ็ ตามกาหนด ใหร้ ายงาน
ฝ่ายวิชาการรับทราบ ถา้ ไมด่ าเนินการใดๆ ถอื วา่ บกพร่องต่อหน้าท่รี าชการ

4.3 ครูผู้สอนต้องจัดสอนซ่อมเสริมให้นักเรยี นก่อนสอบแกต้ ัวทุกครัง้

4.4 ช่วงเวลาของการสอบแก้ตวั ใหเ้ ป็นไปตามกาหนดปฏทิ ินปฏิบัติงานฝา่ ยวิชาการ

4.5 ถา้ นกั เรียนไม่มาสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาท่กี าหนดถือว่าได้ผลการเรยี น “0” ตามเดิม และมีสิทธสิ อบ
แก้ตัวได้ 2 คร้ัง ถา้ นักเรียนสอบแก้ตวั ครงั้ ที่ 2 แลว้ ยังไม่ผ่านให้ปฏิบัติตามแนวปฏบิ ัตกิ ารเรยี นซา้

4.6 ครทู ่ีปรกึ ษาเปน็ ผู้มหี นา้ ที่ตดิ ตามผลการเรยี นของนักเรยี นที่อย่ใู นความรบั ผดิ ชอบทุกรายวิชา พร้อมทง้ั
กวดขันให้นักเรยี นมาดาเนินการแก้ “0” ตามกาหนดเวลา

4.7 การใหน้ ักเรียนสอบแก้ตวั ครูผู้สอนควรดาเนนิ การดังน้ี

4.7.1 ตรวจสอบดูว่านักเรียนติด “0” เนือ่ งจากไม่ผ่านจุดประสงค์ใดหรือตวั ชว้ี ดั ใด

4.7.2 ดาเนินการสอนซ่อมเสริมในจุดประสงค/์ ตวั ชีว้ ัดทนี่ กั เรียนสอบไมผ่ ่าน

4.7.3 การดาเนนิ การสอบแก้ตัว คาว่า“สอบแก้ตวั ”ไม่ได้หมายความวา่ จะต้องทดสอบด้วยข้อสอบท่ีเปน็
ข้อเขียนเทา่ น้นั นักเรยี นจะสอบแก้ตวั อย่างไรน้ันต้องดูวา่ ในจดุ ประสงค์น้นั นักเรยี นไม่ผา่ นตรงสว่ นใด เชน่ ในสว่ น K, P,
A กใ็ ห้ซ่อมตรงคะแนนในส่วนนนั้

4.8 ขน้ั ตอนและแนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “0” ของนักเรยี น

4.8.1 ฝ่ายวชิ าการโดยงานวัดผลสารวจนกั เรยี นที่มผี ลการเรียน “0” และกาหนดวนั เวลา สอบแก้ตวั
ตามปฏทิ นิ การปฏิบัติงานของฝา่ ยวชิ าการ

4.8.2 แจง้ ใหน้ ักเรยี นที่มีผลการเรยี น “0” ได้รบั ทราบ

4.8.3 ฝา่ ยวิชาการแจง้ ครทู ีป่ รกึ ษารบั ทราบเพื่อชว่ ยดูแลและติดตามนักเรยี นมาดาเนนิ การแก้ “0”

4.8.4 นักเรยี นที่ติด “0” มาย่ืนคาร้องขอแก้ “0” ทฝี่ ่ายวชิ าการ และฝ่ายวิชาการแจง้ ให้ครูประจาวชิ า
รบั ทราบ พรอ้ มกับใบคาร้องขอสอบแกต้ ัวของนักเรียน

4.8.5 ครปู ระจาวชิ าดาเนนิ การสอนซ่อมเสรมิ และให้นกั เรยี นสอบแก้ตัว

4.8.6 ครปู ระจาวิชานาผลการสอบแกต้ วั ของนักเรยี นมารายงานใหฝ้ ่ายวชิ าการรบั ทราบ

4.8.7 ฝ่ายวชิ าการแจ้งผลการสอบแก้ตวั ให้นักเรียนและครูท่ปี รึกษารบั ทราบ

4.9 ระดับผลการเรียนหลังจากนกั เรียนทาการสอบแก้ตัวแลว้ อยูท่ ี่ “ 0 ” หรือ “ 1 ” เท่านนั้ ระดบั ผลการ
เรียนหลงั สอบแก้ตัวถ้านกั เรียนยงั ได้ “ 0 ” อยู่ ให้นกั เรยี นผ้นู นั้ เรียนซ้าใหมห่ มดท้ังรายวิชา

5. แนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “ร”

ในการแก้ “ร” มแี นวปฏบิ ัติดงั นี้

5.1 การดาเนนิ การแก้ “ร” เป็นหน้าท่โี ดยตรงของครูผู้สอน เมอ่ื มนี ักเรียนติด “ร” ในรายวิชาทีร่ ับผดิ ชอบ
ตอ้ งดาเนินการแก้ “ร” ใหเ้ สร็จสิ้นภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไมส่ ามารถดาเนินการให้แล้วเสรจ็ ตามกาหนด ใหร้ ายงาน
ฝ่ายวชิ าการรับทราบ ถ้าไมด่ าเนินการใดๆ ถือวา่ บกพร่องต่อหนา้ ท่ีราชการ

5.2 การแก้ไขผลการเรียน “ร” แยกออกเปน็ 2 กรณีคือ

5.2.1 ได้ระดับผลการเรยี น “0 – 4” ในกรณีท่เี น่อื งมาจากเหตุสดุ วสิ ัย เช่น เจ็บป่วย หรอื เกดิ อุบัตเิ หตุ
ไม่สามารถมาเข้าสอบได้

5.2.2 ได้ระดบั ผลการเรียน “0 – 1” ในกรณที ีส่ ถานศกึ ษาไดพ้ จิ ารณาแล้วเห็นวา่ ไม่ใชเ่ หตุสดุ วสิ ยั เชน่
มี เจตนาหลบการสอบเพื่อหวังผลบางอยา่ ง หรือ ไมส่ นใจทางานที่ได้รับมอบหมายให้ทาเป็นตน้

5.3 การแก้ “ ร ” ตอ้ งดาเนินการใหแ้ ลว้ เสร็จภายในภาคเรียนถดั ไป ถ้านักเรียนท่ีมผี ลการเรียน “ ร ” ไม่มา
ดาเนนิ การแก้ “ร” ใหเ้ สร็จสน้ิ ตามกาหนดเวลา นักเรียนผู้น้นั ต้องเรียนซ้าทง้ั รายวิชาหรือเปลยี่ นรายวิชาใหม่ ในกรณีท่ี
เป็นรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

5.4 ถ้าหากนกั เรียนท่ีมผี ลการเรยี น “ ร ” ผู้นนั้ ไม่สามารถมาทาการแก้ “ ร ” ตามกาหนดเวลาไดเ้ น่อื งจาก
เหตสุ ุดวิสัย ใหอ้ ย่ใู นดุลพินิจของหัวหนา้ สถานศึกษาจะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไปอีก 1 ภาคเรยี นแต่ถ้าพ้นกาหนด
แลว้ นกั เรยี นยงั ไมม่ าดาเนนิ การแก้ “ ร ” ใหน้ กั เรียนผนู้ น้ั เรยี นซ้าใหม่หมดท้ังรายวิชา

5.5 ขั้นตอนและแนวปฏิบัตใิ นการแก้ “ ร ” ของนักเรยี น

5.5.1 ฝ่ายวิชาการโดยงานวัดผลสารวจนกั เรียนทม่ี ผี ลการเรยี น “ ร ” และแจง้ ใหน้ ักเรียนรบั ทราบ

5.5.2 ฝา่ ยวชิ าการแจง้ ครูทีป่ รกึ ษารบั ทราบเพ่ือช่วยดแู ลและตดิ ตามนักเรียนมาดาเนินการแก้ “ ร ”

5.5.3 นักเรยี นทต่ี ดิ “ ร ” มายืน่ คาร้องขอแก้ “ ร ” ที่ฝ่ายวชิ าการ และฝ่ายวชิ าการแจง้ ใหค้ รูประจา
วชิ ารบั ทราบ

5.5.4 ครูประจาวิชาดาเนินการ แก้ “ ร ” ให้กับนักเรยี น

5.5.5 ครูประจาวชิ านาผลการแก้ “ ร ” ของนักเรียนมารายงานให้ฝา่ ยวชิ าการรับทราบ

5.5.6 ฝ่ายวิชาการแจ้งผลการแก้ “ ร ” ให้นักเรียนและครูทีป่ รกึ ษารับทราบ
6. แนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “ มส. ”

ในการแก้ “มส.” มีแนวปฏิบตั ิดังต่อไปน้ี
6.1 ครูผู้สอนได้พิจารณาสาเหตทุ น่ี ักเรยี นไดผ้ ลการเรียน “มส.” ซงึ่ มอี ยู่ 2 กรณคี ือ

6.1.1 นักเรียนมเี วลาเรียนไม่ถึง 60 % ไม่มสี ิทธิยื่นคาร้องขอมสี ิทธิ์สอบ ตอ้ งเรียนซ้าใหม่หมด
6.1.2 นกั เรยี นมีเวลาเรียนไม่ถงึ 80 % แต่ไม่นอ้ ยกวา่ 60 %

6.1.2.1 ให้นักเรยี นย่นื คาร้องขอแก้ผลการเรียน “มส.” จากครูผู้สอน
6.1.2.2 ครผู ้สู อนต้องจัดให้นักเรยี นเรียนเพ่ิมเติมเพอ่ื ให้เวลาครบตามรายวชิ าน้ัน ๆ โดยอาจใช้
ชั่วโมงว่าง / วนั หยุด
6.1.2.3 เมื่อนักเรียนมาดาเนินการแก้ “มส.” ตามข้อ 2 แล้วจะได้ระดับผลการเรยี น 0 – 1
6.1.2.4 ถา้ นักเรยี นไม่มาแก้ “มส.” ให้เสรจ็ ตามระยะเวลาท่ีกาหนดใหน้ ักเรยี นผนู้ ้นั ตอ้ งเรียนซ้า
6.1.2.5 ถา้ มีเหตสุ ุดวสิ ยั ไมส่ ามารถมาแก้ “มส.” ได้ ให้อยู่ในดุลพนิ จิ ของหัวหน้าสถานศึกษาทีจ่ ะ
ขยายเวลามาแก้ “มส.” ออกไปอีก 1 ภาคเรยี น เมื่อพน้ กาหนดนี้แลว้ ใหน้ กั เรยี นผูน้ ั้นเรียนซ้าหรือใหเ้ ปลี่ยนรายวชิ าใหม่
ไดใ้ นกรณที ี่เป็นรายวิชาเพิ่มเตมิ
6.2 ข้ันตอนและแนวปฏิบัตใิ นการแก้ “มส.” ของนกั เรียน
6.2.1 ครูประจาวิชาแจง้ ผล “มส. “ ของนักเรียนทีฝ่ า่ ยวิชาการ
6.2.2 ฝ่ายวชิ าการโดยงานวดั ผลแจง้ นกั เรียนที่มผี ลการเรียน “มส.” รบั ทราบ
6.2.3 ฝ่ายวิชาการแจง้ ครูทีป่ รึกษารับทราบเพื่อชว่ ยดแู ลและติดตามนักเรียนมาดาเนนิ การแก้ “มส.”
6.2.4 นกั เรยี นทีต่ ิด“มส.” นาผูป้ กครองมาย่ืนคาร้องขอแก้ “มส.” ท่ฝี ่ายวิชาการ ฝ่ายวชิ าการแจ้งให้ครู
ประจาวิชารับทราบ เพื่อดาเนินการแก้ “มส.”ของนกั เรยี นตามแนวปฏิบัตกิ ารแก้ “มส.” ของนักเรยี น ครูประจาวิชา
นาผลการแก้ “มส.” ของนกั เรียนมารายงานให้ฝ่ายวิชาการรับทราบ ฝ่ายวชิ าการแจ้งผลการแก้ “มส.” ให้นกั เรยี นและ
ครูทีป่ รึกษารับทราบ

7. แนวปฏบิ ัติในการเรียนซา้
ในการจัดให้นักเรียน “ เรียนซา้ ” มแี นวปฏิบตั ิดงั น้ี
7.1 ให้ครผู สู้ อนเดิมในรายวิชานนั้ เปน็ ผู้รับผิดชอบสอนซา้
7.2 การดาเนนิ การ “เรียนซ้า” เปน็ หน้าท่โี ดยตรงของครูผสู้ อน เม่อื มีนักเรยี น“เรียนซา้ ” ในรายวิชาที่

รบั ผดิ ชอบตอ้ งดาเนินการ “เรยี นซ้า” ใหเ้ สร็จสิน้ ภายในภาคเรียนถดั ไป ถา้ ไมส่ ามารถดาเนินการให้แล้วเสรจ็ ตาม
กาหนด ใหร้ ายงานฝา่ ยวิชาการรบั ทราบ ถ้าไมด่ าเนนิ การใดๆ ถือว่าบกพรอ่ งต่อหน้าทร่ี าชการ

7.3 ครผู ูส้ อนและนักเรียนกาหนดจัดตารางเรยี นรว่ มกนั ให้จานวนชั่วโมงครบตามระดับชน้ั และครบตาม
หน่วยการเรยี นของรายวิชานั้น ๆ ครูผ้สู อนอาจมอบหมายงานให้ในชัว่ โมงที่กาหนด จะสอนหรอื มอบหมายงานให้ทา
จะมากหรือน้อยต้องพิจารณาตามความสามารถของนักเรียนเป็นรายบุคคล

7.4 สาหรับชว่ งเวลาท่ีจดั ใหเ้ รยี นซ้าอาจทาได้ดังน้ี
7.4.1 ชั่วโมงว่าง
7.4.2 ใชเ้ วลาหลังเลกิ เรียน
7.4.3 วนั หยดุ ราชการ
7.4.4 สอนเปน็ ครงั้ คราวแลว้ มอบหมายงานใหท้ า

7.5 การประเมนิ ผลการเรยี นให้ดาเนินการตามระเบยี บการประเมนิ ผลทุกประการ
7.6 ครูผสู้ อนสง่ ผลการเรียนซ้าพร้อมกบั การประเมินผลปลายภาคเรียนให้ฝา่ ยวิชาการ
7.7 ขนั้ ตอนและแนวปฏบิ ตั ิในการ “เรียนซ้า” ของนักเรยี น

7.7.1 ฝา่ ยวิชาการโดยงานวดั ผลสารวจและแจ้งนักเรียนทตี่ ้อง “เรยี นซา้ ” รบั ทราบ
7.7.2 ฝา่ ยวชิ าการแจง้ ครทู ่ปี รกึ ษารบั ทราบเพื่อช่วยดูแลและตดิ ตามนักเรียนมาดาเนินการ “เรียนซา้ ”
7.7.3 นักเรยี น “เรยี นซา้ ” มาย่ืนคารอ้ งขอ “เรยี นซ้า” ท่ีฝา่ ยวิชาการ
7.7.4 ฝา่ ยวิชาการแจ้งใหค้ รปู ระจาวชิ ารบั ทราบ เพ่ือดาเนินการ “เรยี นซ้า” ของนักเรียน ตามแนวฏิบัติ

7.7.5 ครูประจาวชิ านาผลการประเมนิ การ “เรียนซา้ ”ของนกั เรียนรายงานให้ฝ่ายวิชาการรับทราบ
7.7.6 ฝา่ ยวิชาการแจ้งผลการ“เรียนซ้า”ให้นกั เรยี นและครูทีป่ รึกษารบั ทราบ
8. แนวปฏบิ ตั กิ ารจดั สอนแทน
8.1 ทกุ ครงั้ ทีม่ ีครูในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ตดิ ราชการ / ขาด / ลา ฯลฯ ไม่สามารถมาปฏิบตั ิราชการได้ ให้
หัวหน้ากลมุ่ สาระ หรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย จัดให้มีการสอนแทนในชัว่ โมงนั้น ๆ ถ้าจัดไม่ไดใ้ หแ้ จ้งฝ่ายวิชาการ
8.2 บันทกึ การจัดสอนแทนในเอกสารทฝี่ า่ ยวชิ าการแจกให้ทกุ ครั้ง
8.3 หัวหน้ากลุม่ สาระ หรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมายส่งบันทกึ การจดั สอนแทนทุกวนั ศุกร์
8.4 หัวหนา้ กลุ่มสาระรวบรวมการสอนแทนเมื่อสน้ิ ภาคเรียนทุกภาคเรยี น สง่ ฝ่ายวิชาการ
หมายเหตุ
เมอื่ ครูท่านใดมธี ุระจาเป็นที่จะตอ้ งลากจิ หรือ ไปราชการ จะต้องทาการแลกชว่ั โมงสอน หรอื จดั เตรยี ม
เอกสาร เชน่ ใบงาน ใบความรู้ หรอื มอบหมายงานใหน้ กั เรียนทาในชว่ งเวลาดังกลา่ ว แลว้ มอบให้หัวหน้ากลุม่ สาระ
เพื่อให้ผทู้ ี่ทาการสอนแทนจะได้ทาการสอนต่อไป
9. แนวปฏิบตั กิ ารส่งแผนการจดั การเรียนรู้
ครทู ุกคนจะต้องมีแผนการจดั การเรียนรู้ ก่อนนาไปจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ใหก้ ับนกั เรยี น และมีแนวปฏิบตั ดิ งั นี้
9.1 ให้ครูทุกคนจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ มกี ารวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ัด เพื่อกาหนดขอบข่าย
สาระที่จะใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน มีการจดั ทาโครงสร้างรายวชิ าและแผนการประเมินให้ครบถว้ น ในการจัดทา
แผนการจดั การเรยี นรู้ให้มอี งค์ประกอบของแผนครบถ้วน โดยยึดรูปแบบทีฝ่ ่ายบรหิ ารวชิ าการกาหนดให้
องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ประกอบด้วย

1. รายละเอยี ดของแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละหน่วยการเรียนรู้
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
3. ตวั ชว้ี ดั /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
4. สาระการเรยี นรู้

4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

4.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน (ถ้ามี)

5. สมรรถนะผู้เรียน (เฉพาะหัวขอ้ ท่ีต้องการประเมินผ้เู รยี น)

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (เฉพาะหวั ข้อทีต่ ้องการประเมนิ ผู้เรยี น)

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

8. การวัดและการประเมนิ ผล

9. สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้

หมายเหตุ อาจมีการเพมิ่ เตมิ รายละเอียดไดต้ ามความเหมาะสมและธรรมชาตขิ องวชิ าทีจ่ ัดกิจกรรม

9.2 ให้คณุ ครบู นั ทึกรายงานการจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ เสนอฝ่ายบริหารวิชาการและหัวหนา้
สถานศกึ ษา เพื่อให้ความเหน็ ชอบกอ่ นนาแผนไปใชจ้ ัดกจิ กรรมใหก้ บั นกั เรียน

9.3 การจัดสง่ แผนการจดั การเรยี นรูข้ องครู ใหจ้ ดั ส่งท่ีหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ก่อนนาไปใช้จัด
กจิ กรรม 2 สัปดาห์ โดยใหส้ ง่ อย่างน้อยเดือนละ 2 ครง้ั และใหห้ วั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้เป็นผ้รู วบรวม ตรวจสอบ
และรายงานฝา่ ยบริหารวชิ าการทราบทุกวนั ศุกร์ หากไมร่ ายงานถือว่าบกพร่องต่อหนา้ ที่

9.4 หลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในแต่ละวัน ให้ครูทุกคนที่มคี าบสอนส่งบันทึกหลงั สอนทุกครั้ง
ท่ีฝา่ ยบริหารวชิ าการ ในคาบสดุ ท้ายกอ่ นเลกิ เรยี น

9.5 หลงั จากจัดการเรยี นรจู้ นครบหนว่ ยการเรียนรู้ ให้มีการวัดและประเมินผลผ้เู รยี นใหเ้ สร็จสน้ิ โดย
แจ้งขอ้ มูลนักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมนิ และไมผ่ า่ นเกณฑ์ ในกรณีทนี่ ักเรยี นไม่ผ่านเกณฑใ์ ห้ทาการซ่อนเสริมและหา
วิธีช่วยเหลือ ดาเนินการประเมนิ ผลจนกระท่งั นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินทง้ั หมดในหน่วยนั้น ๆ ก่อนจะไปสอนใน
หน่วยการเรยี นรู้ถดั ไป

10. แนวปฏบิ ัตใิ นการเข้าห้องเรียนและออกจากห้องเรยี นของครูผูส้ อน

ในการเขา้ ใช้หอ้ งเรียนของครซู ่งึ เปน็ ห้องเรียนที่ต้องใชร้ ่วมกันจึงจาเปน็ ต้องชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดและ
ความเปน็ ระเบยี บวินัย และจะต้องรับผิดชอบรว่ มกัน โดยมีข้อปฏิบัติดงั นี้

10.1 ใหค้ ุณครูเข้าหอ้ งเรยี นทร่ี บั ผิดชอบสอนตามตารางสอนท่ที างฝา่ ยบริหารวชิ าการจัดให้ ให้ตรงเวลาและ
สอนใหเ้ ตม็ เวลาท่ีกาหนด

10.2 หากมคี วามจาเป็นต้องเปลย่ี นแปลงการใชห้ ้องเรยี น ในการจัดกจิ กรรมให้แจง้ ให้ผ้ทู ่รี ับผดิ ชอบห้อง
นน้ั ๆ ทราบลว่ งหนา้ และมีการลงบนั ทกึ การใช้ห้องใหเ้ รยี บรอ้ ย เช่น หอ้ งสมุด ห้องปฏบิ ตั ิการตา่ ง ๆ เป็นตน้

10.3 ให้คณุ ครูเข้าสอนใหต้ รงเวลาตามตารางสอนกาหนด หากติดราชการ / ขาด / ลา ฯลฯ ให้มอบหมายให้
มผี สู้ อนแทน การมอบหมายงานใหเ้ ด็กปฏบิ ัติเพียงลาพังโดยไมม่ ีครคู วบคุมเป็นสง่ิ ไมค่ วรกระทา เน่อื งจากเปน็ ละท้ิง/
ทอดท้ิงหนา้ ที่ในการสอน ซ่งึ มคี วามผิดชัดเจน

10.4 การจดั การเรยี นรู้ควรจัดสภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศทเี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ กระตนุ้ ให้นักเรียนได้มี
ส่วนรว่ มในการคิดและลงมอื ปฏบิ ตั ิ ใชส้ ื่อการเรียนทห่ี ลากหลายทันสมยั มีการวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลายเนน้ ที่
พัฒนาการของผู้เรยี น และความแตกต่างระหว่างบุคคล

10.5 ก่อนหมดเวลาเรยี น ให้นกั เรียนไดจ้ ัดโตะ๊ -เกา้ อี้ให้อยู่ในสภาพทเ่ี รยี บรอ้ ย จัดเกบ็ สิ่งของเข้าท่ใี ห้
เรยี บร้อยและเกบ็ กวาดห้องเรียนใหส้ ะอาด ท้งิ ขยะ สารวจความเรยี บรอ้ ยก่อนออกจากหอ้ ง เชน่ ไฟฟ้าและพัดลม
ตลอดจนโสตทศั นปู กรณ์ต่าง ๆ ให้เรยี บร้อย

10.6 ออกจากห้องเรยี นเมื่อหมดเวลาและมเี สยี งสัญญาณดัง

หมายเหตุ หากหอ้ งเรียนสกปรก ไมม่ ีความเป็นระเบียบเรียบร้อย และไมพ่ ร้อมใหน้ กั เรียนเข้าไปใช้
บรกิ าร ใหร้ ายงานเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรใหฝ้ า่ ยบรหิ ารวชิ าการทราบทันที และครูทใ่ี ชห้ ้องเรียนก่อนคาบนน้ั จะตอ้ ง
รับผิดชอบ เพราะเป็นหน้าทข่ี องครูผูน้ ั้นโดยตรง ทงั้ น้ีจะพิจารณาจากตารางการใช้ห้องตามตารางสอนทฝ่ี า่ ยบริหาร
วิชาการจัดไว้ไห้ กรณีห้องขา้ งเคียงไมม่ คี รูเขา้ สอนหรือครูเขา้ หอ้ งสายและนกั เรยี นส่งเสียงดัง รบกวนการเรยี นของห้อง
อน่ื ให้ครทู ี่ไดร้ บั ความเดือดร้อนรายงานใหฝ้ ่ายบริหารวชิ าการทราบทันที เพ่ือรายงานให้ผู้อานวยการทราบต่อไป

11. เอกสาร ปพ. 5

11.1 ฝ่ายวชิ าการได้จดั ทา ปพ. 5 พรอ้ มรายชอื่ นกั เรียนทุกห้อง ครูทุกท่าน ทกุ รายวชิ ารบั ไดท้ ่ฝี ่ายวชิ าการ

11.2 การบันทึกรายการต่างๆ

11.2.1 การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น ดา้ นการเรยี น ม.1 และ ม. 4 ให้ใชผ้ ลสอบ O-NET ในรายวชิ าน้นั ๆ ส่วน

ม. 2,ม.3 ม. 5 และ ม.6 ใหใ้ ช้ผลการเรยี นในรายวชิ านั้นๆ ในช้นั ทถ่ี ัดลงมา 1 ระดบั ชั้น (ปกี ารศึกษาท่ผี า่ นมา)

11.2.2 การวเิ คราะห์ผเู้ รียน ด้านพฤติกรรม ให้ใช้ผลการประเมิน SDQ ม.1 และ ม. 4 ให้ประเมนิ ใหม่
สว่ น ม. 2,ม.3 ม. 5 และ ม.6 ให้ใช้ผลการประเมินในช้ันท่ถี ัดลงมา 1 ระดับชัน้ (ปีการศึกษาทผี่ า่ นมา)

11.2.3 การบนั ทึกเวลาเรยี นในชอ่ งวนั ท่ี ให้ใส่วัน จันทร์-วันศุกร์ (เช่น 17-18-19-20-21) ให้ครบทกุ ช่อง

ส่วนในชอ่ งเวลาเรียน ถา้ เปน็ คาบเดยี ว ใสเ่ ลข 1,2,3 ตามลาดบั ถ้าเปน็ คาบคู่ ให้ใส่ 1-2,3-4,....)

11.2.4 ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย ลงในช่องเวลาเรียนของนักเรียนแตล่ ะคน ถา้ นกั เรียนขาด ลา ใหใ้ ส่ (ข)
ขาดเรยี น (ล) ลา

11.2.5 ช่องรวมเวลาเรียน ตวั เลขด้านบน คอื ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี น ดา้ นล่าง คือจานวนคาบเต็ม

11.2.6 อัตราสว่ นคะแนน ระหวา่ งภาค:ปลายภาค 5 วิชาหลัก ทัง้ พื้นฐานและเพิ่มเตมิ ควรกาหนด
สัดสว่ นเปน็ 70:30 สว่ นวชิ าอน่ื ๆ เชน่ สุขศึกษาพลศึกษา ศลิ ปศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี อาจใช้สัดส่วน
80:20 , 90:10 ตามความเหมาะสม

หมายเหตุ หลักสูตร 51 เนน้ ใหเ้ ก็บคะแนนระหวา่ งภาคมากกวา่ ปลายภาค ซ่งึ การเก็บระหว่างภาคถือว่า
เป็นการประเมินเพื่อพัฒนานักเรียน (formative) สว่ นการเกบ็ คะแนนปลายภาคเป็นการประเมินเพ่อื สรุปผล
(summative)

11.2.7 การสอบจุดประสงค์ และการสอบกลางภาค ให้ใส่คะแนนที่นักเรียนไดล้ งในช่องบนั ทกึ คะแนน
สาหรบั นักเรยี นทไ่ี ด้คะแนนไม่ผ่านเกณฑ์ทกี่ าหนด หลงั จากมีการสอบแกต้ วั แล้ว จะไดไ้ ม่เกินครง่ึ ของคะแนนเต็ม ให้
บันทกึ ดังน้ี คะแนนเตม็ 10 คะแนน นกั เรยี นสอบได้ 2 คะแนน หลงั จากสอบแก้ตัวแล้ว ได้ 6 คะแนน (เกณฑ์ที่ครู
กาหนด) บนั ทึกคะแนนเป็น 2/6 หากบนั ทึกเฉพาะ เลข 2 แสดงวา่ นกั เรยี นยังไมส่ อบแก้ตัวเพ่ือปรับคะแนน

หมายเหตุ สาหรับการบนั ทึกคะแนน อาจใชร้ ปู แบบนอกเหนอื จาก ปพ. 5 ของโรงเรยี นก็ได้ โดยปิดทับ
ลงไปในหนา้ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ โดยต้องครบทุกหนว่ ยการเรียนรู้ตามหลักสูตรช้นั เรียนท่ไี ด้กาหนดไว้

11.2.8 การวดั และประเมินผลด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ขอรบั ได้ทีฝ่ า่ ยวิชาการ เพ่อื นามาปิดทับ
ลงใน ปพ. 5

11.2.9 การวัดและประเมนิ ผลดา้ นการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น ผลการประเมนิ ในรายวชิ าท่ี
รบั ผดิ ชอบสอนปิดทับลงไป ปพ. 5 หนา้ การวดั และประเมินผลด้านการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน

11.2.10 คาอธบิ ายรายวชิ า ตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ พมิ พป์ ดิ ทับ หรอื เขียน ก็ได้

12. การจดั ทาแบบทดสอบกลางภาค/ปลายภาค
ในการดาเนินการสอบกลางภาคและปลายภาค แนวปฏิบตั ิดังน้ี
12.1 ใชร้ ปู แบบตามทฝ่ี ่ายวชิ าการกาหนด
12.2 ครปู ระจาวิชาออกข้อสอบโดยให้มีข้อสอบท้งั แบบปรนยั และอตั นัย ในอตั ราส่วน 70:30 หรอื ตาม

สัดสว่ นท่ีตกลงกนั
12.3 นาข้อสอบ O-Net ในปีทผี่ า่ นๆ มาบรรจลุ งไปในข้อสอบทงั้ กลางภาคและปลายภาคอย่างน้อยร้อยละ

10 ของข้อสอบทงั้ หมด เชน่ ข้อสอบ 40 ข้อ มีข้อสอบ O-Net 4-5 ข้อเปน็ ตน้
12.4 ข้อสอบควรครอบคลมุ ทั้ง ความรู้ความจา(1) ความเข้าใจ(2) การนาไปใช(้ 3) วิเคราะห(์ 4) สังเคราะห์(5)

การประเมนิ ค่า(6)
12.5 ข้อสอบต้องผา่ นการหาคา่ IOC โดยใชผ้ ูเ้ ชี่ยวชาญในกลุ่มสาระเดยี วกนั จานวน 3-5 คน

(คา่ IOC คือ คา่ ความเที่ยงตรงของขอ้ สอบ โดยค่าความสอดคลอ้ งของขอ้ สอบกบั จดุ ประสงค์ทีใ่ ชไ้ ด้อยรู่ ะหวา่ ง 0.50-1)
12.6 ส่งขอ้ สอบตน้ ฉบับ พรอ้ มสาเนาครบถว้ นตามจานวนผู้เขา้ สอบ ให้ฝา่ ยวชิ าการตรวจสอบทนั ตาม

กาหนดเวลา หากล่าช้ากวา่ กาหนด ถอื ว่าบกพรอ่ งตอ่ หนา้ ที่ราชการ
13. การรายงานผลการวดั และประเมนิ ผลการเรียน
การวดั และประเมินผลการเรียน ที่จะตอ้ งรายงานให้ทันตามกาหนดเวลาตามปฏิทนิ งานฝ่ายวชิ าการ ซงึ่ หาก

ล่าชา้ กว่ากาหนดถือว่าบกพร่องต่อหน้าท่รี าชการ มีดงั น้ี
13.1 การส่งสมดุ ปพ. 5
13.2 แบบบนั ทกึ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ประกอบด้วย
13.2.1 กิจกรรมชมุ นมุ
13.2.2 กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี และนักศึกษาวชิ าทหาร
13.2.3 กิจกรรมบาเพญ็ ประโยชน์
13.2.4 กิจกรรมแนะแนว

13.3 แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (ครทู ี่ปรึกษา) แบบประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น

(ครูผ้สู อน)

13.4 การบนั ทึกข้อมลู ผลการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นในรายวิชาทร่ี บั ผดิ ชอบลงในโปรแกรมBookmarkII

เอกสารหลกั ฐานทางการศึกษา

1. ระเบียนแสดงผลการเรียน (TRANSCRIPT) (ปพ.1)
เป็นเอกสารสาหรบั บันทึกข้อมลู ผลการเรียนของผูเ้ รยี นตามเกณฑ์การผา่ นช่วงชน้ั ของหลกั สูตรการศึกษาข้ัน

พน้ื ฐานแตล่ ะช่วงชัน้ ไดแ้ ก่ ผลการเรยี นร้ตู ามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์
เขียน ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของโรงเรียน และผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น โรงเรยี น
จะต้องจัดทาและออกเอกสารนใี้ หก้ ับผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล เมื่อจบการศกึ ษาแตล่ ะชว่ งชั้น เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆ
ตอ่ ไปน้ี

- แสดงผลการเรยี นของผ้เู รียนตามโครงสรา้ งหลักสตู รของโรงเรยี น
- รับรองผลการเรียนของผเู้ รยี นตามข้อมลู ทบี่ นั ทกึ ในเอกสาร
- ตรวจสอบผลการเรยี นและวฒุ ิการศกึ ศกึ ษาของผู้เรยี น
- ใช้เปน็ หลกั ฐานแสดงวฒุ ิการศึกษาเพื่อสมคั รเขา้ ศึกษาต่อ สมคั รงานหรอื ขอรบั สิทธปิ ระโยชน์อ่ืนใดท่ีพึงมี

พงึ ได้ตามวุฒกิ ารศกึ ษานั้น

2. หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ประกาศนยี บัตร) (ปพ.2)

เป็นวุฒิบตั รทมี่ อบใหผ้ ้เู รยี นท่ีสาเรจ็ การศกึ ษาหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน เพื่อประกาศและรบั รองวฒุ ิ
การศกึ ษาของผู้เรียน สง่ ผลให้ผเู้ รียนไดร้ ับศักดิแ์ ละสิทธิต่างๆ ของผสู้ าเร็จการศึกษาตามวฒุ ิแห่งประกาศนยี บตั รนั้น
ประกาศนียบตั รสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ ดงั นี้

- แสดงวฒุ ทิ างการศึกษาของผเู้ รียน
- ตรวจสอบวุฒทิ างการศึกษาของผูเ้ รียน
- ใช้เป็นหลกั ฐานแสดงวุฒิการศึกษา เพือ่ สมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครงานหรือขอรับสิทธิประโยชน์

อื่นใด ที่พึงมีพงึ ไดต้ ามวฒุ กิ ารศกึ ษาแหง่ ประกาศนียบตั รน้ัน

3. แบบรายงานผู้สาเร็จการศกึ ษา (ปพ.3)

เป็นเอกสารสาหรบั สรปุ ผลการเรยี นของผสู้ าเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐานแตล่ ะชว่ งชั้น โดย
บนั ทึกข้อมลู ของผูเ้ รียนที่จบการศึกษาชว่ งชนั้ เดียวกนั รนุ่ เดียวกัน ไว้ในเอกสารฉบบั เดียวกนั เปน็ เอกสารท่ผี ู้บริหาร
โรงเรยี นใช้สาหรับตัดสนิ และอนุมตั ิผลการเรียนใหผ้ ู้เรยี นจบ เป็นเอกสารทางการศึกษาที่สาคญั ท่สี ดุ ใชเ้ ป็นหลักฐาน
แสดงคณุ สมบัติหรอื คุณวฒุ ิทางการศึกษาของผู้เรียน ผู้ท่มี ีรายชือ่ ในเอกสารนท้ี ุกคน จะได้รบั รองวุฒทิ างการศึกษา จาก
กระทรวงศึกษาธกิ าร แบบรายงานผสู้ าเร็จการศกึ ษา นาไปใชป้ ระโยชน์ ดังน้ี

- เป็นเอกสารสาหรับตัดสินและอนมุ ัตผิ ลการเรยี นใหผ้ เู้ รยี นเป็นผสู้ าเร็จการศึกษา
- เป็นเอกสารสาหรับตรวจสอบ ยนื ยัน และรบั รองความสาเรจ็ และวุฒกิ ารศึกษาของผสู้ าเร็จ

การศึกษาแต่ละคนตลอดไป

4. แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.4)

โรงเรยี นจะจัดทาเอกสารนแ้ี ละมอบให้ผู้เรยี นทกุ คนเมื่อจบช่วงชัน้ หรอื จบหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
เอกสารนีจ้ ะใชบ้ ันทกึ ผลการประเมนิ ผเู้ รียนเกยี่ วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทีโ่ รงเรยี นกาหนดเปน็ คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของโรงเรียนแตล่ ะประการอยา่ งตอ่ เนื่อง และสรปุ ผลการประเมินเม่ือจบช่วงชน้ั เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นนาไปใช้
แสดง หรือรบั รองคุณลกั ษณะของตน ควบคกู่ ับระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์ (ปพ.4) นาไปใชป้ ระโยชน์ ดงั นี้

- แสดงผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นแต่ละประการ หรือเม่ือมกี รณีอื่นใดที่
- ใชเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงคุณสมบัติของผเู้ รยี นในการสมัครเข้าศึกษาต่อสมคั รทางาน
ผู้เรยี นต้องแสดงคุณสมบตั เิ กี่ยวกับประวัตคิ วามประพฤติหรือคณุ ความดตี ่างๆ

5. แบบบันทกึ การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น (ปพ.5)

เป็นเอกสารทโี่ รงเรียนจดั ทาข้ึน เพื่อให้ผูส้ อนใช้บันทึกข้อมลู การวัดและประเมนิ ผลการเรียนของผู้เรยี น ตาม
แผนการจัดการเรยี นการสอน และประเมินผลการเรียน เพ่ือใช้เป็นข้อมูลสาหรับพิจารณาตัดสินผลการเรยี นแต่ละ
รายวิชา เอกสารบันทกึ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ดังน้ี

- ใช้เป็นเอกสารประกอบการดาเนนิ งานในการวดั และประเมินผลการเรยี นของผู้เรียน
- ใช้เปน็ หลักฐานสาหรับตรวจสอบ รายงานและรับรองข้อมูลเกย่ี วกับวธิ กี ารและกระบวนการวัดและ
ประเมินผลการเรียน

6. เอกสารรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นรายบคุ คล (ปพ.6)

เปน็ เอกสารทีโ่ รงเรียนจัดทาขึ้นเพอื่ บนั ทึกข้อมูลการประเมินผลการเรียนร้แู ละพัฒนาการดา้ นต่างๆ ของผเู้ รยี น
แต่ละคน ตามเกณฑก์ ารผ่านชว่ งชน้ั ของหลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน รวมทง้ั ขอ้ มูลด้านอน่ื ๆ ของผู้เรียนทั้งท่ีบ้าน
และโรงเรยี น โดยจดั ทาเป็นเอกสารรายบุคคล เพอ่ื ใช้สาหรบั ส่อื สารใหผ้ ูป้ กครองของผเู้ รียนแต่ละคนได้ทราบผลการ
เรยี นและพัฒนาการดา้ นตา่ งๆ ของผู้เรียนอย่างต่อเน่อื ง แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบคุ คล นาไปใช้
ประโยชน์ ดังนี้

- รายงานผลการเรียน ความประพฤติ และพฒั นาการของผู้เรียนใหผ้ ปู้ กครองได้รับทราบ
- ใช้เป็นเอกสารสื่อสาร ประสานงานเพื่อความร่วมมอื ในการพฒั นาและปรับปรุงแก้ไขผู้เรียน
- เปน็ เอกสารหลักฐานสาหรบั ตรวจสอบ ยนื ยนั และรบั รองผลการเรยี นและพฒั นาการต่างๆ ของผู้เรียน

7. ใบรบั รองผลการศึกษา (ปพ.7)

เปน็ เอกสารที่โรงเรียนจัดทาขึ้น เพ่อื ใช้เป็นเอกสารสาหรับรับรองสถานภาพผ้เู รียนหรอื ผลการเรียนของผเู้ รียน
เป็นการช่ัวคราวตามที่ผู้เรียนรอ้ งขอ ทงั้ กรณีที่ผ้เู รยี นกาลงั ศกึ ษาอยใู่ นโรงเรยี นและเม่ือจบการศกึ ษาไปแล้ว ใบรบั รอง
ผลการศกึ ษา นาไปใชป้ ระโยชน์ดังน้ี

- รบั รองความเป็นผู้เรยี นของโรงเรยี นทเี่ รยี นหรือเคยเรยี น
- รบั รองและแสดงความรู้ วุฒขิ องผูเ้ รยี น
- ใชเ้ ปน็ หลักฐานแสดงคุณสมบัติของผู้เรยี นในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมคั รเข้าทางาน หรือเมื่อมกี รณอี น่ื ใดท่ี
ผเู้ รียนต้องแสดงคุณสมบตั ิเก่ียวกบั วฒุ ิความรู้ หรือสถานะ การเปน็ ผ้เู รยี นของตน
- เปน็ หลกั ฐานสาหรับการตรวจสอบ รับรอง ยืนยันการใชส้ ทิ ธ์ิความเปน็ ผ้เู รียน หรอื การได้รับการรับรองจาก
โรงเรียน

8. ระเบียนสะสม (ปพ.8)

เป็นเอกสารทโ่ี รงเรียนจดั ทาขึ้นเพ่อื บนั ทกึ ข้อมลู เกยี่ วกับพัฒนาการของผเู้ รียนในด้านต่างๆ เป็นรายบุคคล
โดยจะบันทกึ ขอ้ มูลของผ้เู รียนอย่างต่อเนอ่ื งตลอดชว่ งระยะเวลาการศึกษาตามหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 12 ปี
ระเบียนสะสม นาไปใช้ประโยชนด์ งั น้ี

- ใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพของผเู้ รยี น
- ใช้เป็นขม้ ลู ในการพฒั นาปรับปรุงบคุ ลิกภาพ ผลการเรียนและการปรบั ตวั ของผ้เู รยี น


Click to View FlipBook Version