The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุนีรัตน์ ชูช่วย, 2020-02-24 21:58:26

รายงานสมบูรณ์

รายงานสมบูรณ์

- ใชต้ ดิ ตอ่ ส่ือสาร รายงานพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนระหวา่ งโรงเรยี นกบั ผู้ปกครอง
- ใชเ้ ปน็ หลักฐานสาหรบั การตรวจสอบ รับรอง และยนื ยันคุณสมบัติของผเู้ รียน

9. สมดุ บันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.9)

เปน็ เอกสารทีโ่ รงเรียนจดั ทาข้ึน เพ่ือแสดงรายวชิ าท้ังหมดตามหลกั สูตรของโรงเรียนแต่ละชว่ งช้นั พร้อมดว้ ย
รายละเอยี ดของแตล่ ะรายวิชา ประกอบดว้ ย ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ คาอธบิ ายรายวิชา และผลการประเมนิ ผลการ
เรียนของผูเ้ รียน เพื่อให้ผู้เรยี นใชศ้ ึกษาหลักสูตรของ โรงเรยี นว่ามรี ายละเอยี ดอะไรบ้าง สาหรบั การวางแผนการเรียน
และใช้สิทธใิ์ นการเทยี บโอนผลการเรียนไดถ้ ูกต้อง เหมาะสมกบั ความสามารถของตน สมุดบันทกึ ผลการเรียนรู้ (ปพ.9)
สามารถนาไปใชป้ ระโยชนด์ งั นี้

- ศึกษาหลกั สตู รของโรงเรียนในแตล่ ะช่วงชน้ั
- บันทึกและแสดงผลการเรียนของผ้เู รียนในการเรยี นแตล่ ะรายวชิ า
- รายงานผลการเรยี นรู้ให้ผู้ปกครองและผู้เก่ยี วข้องได้รับทราบ
- ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการเทียบโอนผลการเรยี น ในกรณีทผี่ เู้ รียนยา้ ยโรงเรยี น
- เปน็ หลกั ฐานสาหรบั ตรวจสอบ ยนื ยนั รายงาน และรับรองผลการเรียนของผูเ้ รียน

กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของสถานศกึ ษา

โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุงไดด้ าเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาท่ีกาหนดข้ึนเป็นการพฒั นาหลักสูตร
ครบวงจรคอื เร่มิ ต้ังแต่การศกึ ษาและวเิ คราะห์ข้อมลู พน้ื ฐาน การร่างหลกั สูตร การตรวจสอบคณุ ภาพของหลกั สตู ร การ
นาหลกั สตู รไปใชใ้ นสถานการณ์จริง รวมท้ังการประเมนิ ผลหลกั สตู ร โดยหวังว่าขนั้ ตอนการพัฒนาหลกั สตู รทีส่ มบรู ณท์ า
ใหไ้ ด้หลกั สูตรที่มปี ระสิทธิภาพ กลา่ วโดยสรุปขน้ั ตอนการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ยขัน้ ตอนทส่ี าคัญ 5
ขนั้ ตอน ดังน้ีคือ

ข้ันท่ี 1 การศกึ ษาและวิเคราะหข์ อ้ มูลพ้นื ฐานในด้านตา่ งๆ ไดแ้ ก่
1.1 ขอ้ มลู เกย่ี วกับสภาพและความต้องการของชมุ ชน
1.2 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพของโรงเรียน
1.3 การวิเคราะหห์ ลักสูตรแกนกลาง

ข้ันที่ 2 การรา่ งหลักสตู ร
2.1 การกาหนดจุดประสงค์ของหลักสูตร
2.2 การกาหนดเน้อื หาสาระ
2.3 การจัดการเรียนการสอน กจิ กรรมและสอ่ื ต่างๆ
2.4 การกาหนดวิธวี ดั และประเมนิ ผลผ้เู รียน

ขัน้ ที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพหลักสตู ร
ขั้นท่ี 4 การนาหลักสูตรไปใช้
ขนั้ ที่ 5 การประเมินผลหลักสูตร

กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

การวเิ คราะห์หลักสูตรหน่วยการเรยี นรู้

การวิเคราะห์หลักสูตร เปน็ การพิจารณารายละเอียดของจุดมุ่งหมายและเนือ้ หา แลว้ พิจารณา
ความสัมพันธท์ ัง้ จุดมุ่งหมายและเน้อื หาเพอื่ นามาวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนและการสอบ

วตั ถุประสงคข์ องการสร้างตารางวิเคราะหห์ ลักสูตร
1. เพื่อใชใ้ นการวางแผน กาหนดขอบเขตและควบคุมการบริหารการสอนและการสอบ ใหไ้ ด้สัดสว่ นสมั พันธ์
กนั อยา่ งสมดุล และสมบรู ณต์ ามความคาดหมาย
2. เพ่ือให้การดาเนินการสอนและการสอบใหเ้ ป็นไปตามสดั สว่ นของระยะเวลาตามความสาคญั ของเนื้อเรือ่ ง
และของพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์
3. เพ่ือแสดงสดั ส่วนของความสาคัญเป็นปรมิ าณตัวเลขของแตล่ ะเนื้อหาวิชาและแต่ละพฤติกรรม ท่ีสมั พนั ธ์
กนั ตามความม่งุ หมายและตามทห่ี ลกั สตู รตอ้ งการ
4. เพ่ือเปน็ แนวทางในการพิจารณาความเท่ยี งตรงของขอ้ สอบทง้ั ในดา้ นเนอื้ หาวชิ า และโครงสร้างทเ่ี ป็นอย่
ลักษณะของตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร
ตารางวิเคราะห์หลกั สูตรประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
สว่ นท่ี 1 สว่ นตามแนวตัง้ เป็นเรื่องของเนื้อวชิ า ไดแ้ ก่เร่อื งราวต่าง ๆ ท่ีกาหนดว่าจะสอนตามหลักสูตรมาก
นอ้ ยเพียงใด ในสว่ นนี้จะเป็นการกาหนดส่งิ ท่ีผเู้ รียนจะไดเ้ รียนรู้ในเรอ่ื งอะไรบ้าง เปน็ สดั ส่วนเทา่ ใด
ส่วนท่ี 2 ส่วนตามแนวนอน เปน็ โครงสรา้ งพฤติกรรมทางสมอง หรือท่ีเรยี กว่าจุดประสงค์ คือในส่วนนีจ้ ะเปน็
การกาหนดส่ิงทีผ่ ูเ้ รียนจะได้เรียนรู้ โดยเกิดความสามารถทางสมองในด้านใดบ้าง มากน้อยเพยี งใด เป็นสัดสว่ นเทา่ ใด
สว่ นที่ 3 ส่วนที่เป็นตัวเลข ไดแ้ ก่ตวั เลขต่าง ๆ ในแตล่ ะชอ่ ง ซง่ึ แสดงให้ทราบถงึ นา้ หนกั ความสาคญั หรือ
สัดส่วน ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเน้อื หาวชิ าทส่ี อนกบั พฤติกรรมที่มุง่ จะปลูกฝังและเสริมสร้างให้กับผูเ้ รียน

การบริหารหลกั สตู ร การวิเคราะห์หลักสูตร การจดั ทาหนว่ ยการเรียนรุ้
การจดั ทาแผนการเรยี นรุ้

การประเมนิ หลักสตู ร

ความหมายของการประเมินหลักสตู ร
การประเมนิ หลักสูตรหมายถงึ กระบวนการการเก็บรวบรวมข้อมูลและการประมวลผลข้อมูลเพื่อนามาตดั สินใจ

เก่ียวกบั คุณภาพท้ังประสทิ ธิภาพและประเมนิ ผลของหลักสูตรรวมถงึ สงิ่ ที่จะเกิดข้ึนจากการใชห้ ลกั สูตรนัน้ ในอนาคต
แนวคิดการประเมินหลักสตู รประกอบด้วยคณุ ลักษณะสาคัญ ดังน้ี
1.การประเมินเปน็ การประเมินคา่ ของเรื่องทีต่ ัดสินใจ
2.การตดั สินใจมีเกณฑ์ท่ชี ัดเจน
3.เกณฑ์การตัดสนิ ใจมปี ระเด็นที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับเนื้อหา
4เกณฑ์แสดงให้เห็นดว้ ยบุคคลและสอดคล้องกับแนวคิดของแบบจาลองเพื่อนาไปสู่การตัดสินใจ

หลักเกณฑก์ ารประเมนิ หลักสตู ร
1. มจี ุดประสงคใ์ นการประเมนิ ที่แน่นอน การประเมนิ ผลหลักสตู รจะต้องกาหนดลงไปให้แน่นอนชัดเจนว่าประเมนิ
อะไร
2. มีการวัดท่เี ช่ือถือได้ โดยมีเครื่องมอื และเกณฑ์การวัดซ่ึงเป็นที่ยอมรับ
3. ขอ้ มลู เป็นจริงจาเป็นอยา่ งยิ่งสาหรับการประเมินผล ดังนนั้ ข้อมลู จะต้องได้มาอย่างถูกตอ้ งเชื่อถือได้และมาก
พอทีจ่ ะใชเ้ ปน็ ตวั ประเมนิ ค่าหลกั สูตรได้
4. มขี อบเขตท่ีแนน่ อนชัดเจนวา่ เราต้องการประเมนิ ในเร่ืองใดแคไ่ หน
5. ประเดน็ ของเรือ่ งท่ีจะประเมนิ อยู่ในชว่ งเวลาของความสนใจ
6. การรวบรวมข้อมูลมาเพ่ือกาหนดกฎเกณฑ์ และกาหนดเครอื่ งมอื ในการประเมินผล จะตอ้ งพิจารณาอยา่ งรอบคอบ
7. การวเิ คราะหผ์ ลการประเมินต้องทาอยา่ งระมดั ระวงั รอบคอบ และใหม้ ีความเทีย่ งตรงในการพิจารณา
8. การประเมนิ ผลหลักสูตรควรใชว้ ิธีการหลายๆวิธี
9. มีเอกภาพในการตัดสินผลการประเมนิ
10. ผลตา่ งๆทไ่ี ดจ้ ากการประเมินควรนาไปใช้ในการพัฒนาหลักสตู รทั้งในด้านการปรับปรงุ เปลีย่ นแปลงในโอกาสตอ่ ไป
เพอื่ ให้ได้หลักสูตรทดี่ แี ละมีคุณค่าสูงสดุ ตามทต่ี ้องการ

ขั้นตอนในการประเมินหลกั สูตร
1. ขน้ั กาหนดวัตถปุ ระสงค์หรือจุดมุ่งหมายในการประเมนิ การกาหนดจดุ มงุ่ หมายในการประเมินเปน็ ขน้ั ตอนแรกของ
กระบวนการในการดาเนินการประเมนิ หลักสูตร ผูป้ ระเมินตอ้ งกาหนดวัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการประเมนิ ให้
ชัดเจนว่าจะประเมนิ อะไร จะทาใหเ้ ราสามารถกาหนดวิธีการ เคร่อื งมือ และขั้นตอนในการประเมนิ ไดอ้ ย่างถูกต้อง
2. ขน้ั กาหนดหลกั เกณฑว์ ธิ ีการทจี่ ะใชใ้ นการประเมินผล การกาหนดเกณฑแ์ ละวธิ กี ารประเมนิ เปรียบเสมือนเข็มทศิ ท่ี
จะนาไปสู่เป้าหมายของการประเมิน เกณฑ์การประเมินจะเปน็ เคร่อื งบ่งช้คี ณุ ภาพในสว่ นของหลักสตู รทีถ่ กู ประเมนิ การ
กาหนดวธิ ีการทจี่ ะใชใ้ นการประเมนิ ผลทาใหเ้ ราสามารถดาเนินงานไปตามข้ันตอนได้อยา่ งราบรนื่
3. ขน้ั การสรา้ งเครื่องมือและวิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการประเมินหรอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเป็นสง่ิ ที่มี
ความสาคญั ทีจ่ ะมีผลทาใหก้ ารประเมินนั้นน่าเชื่อถอื มากน้อยแค่ไหน ซง่ึ ผู้ประเมนิ จะตอ้ งเลือกใช้และสร้างอยา่ งมี
คุณภาพ มีความเช่ือถอื ได้และมคี วามเที่ยงตรงสงู
4. ขนั้ เกบ็ รวบรวมข้อมูล ในขั้นการรวบรวมข้อมลู นั้นผูป้ ระเมนิ ตอ้ งเก็บรวบรวมข้อมลู ตามขอบเขตและระยะเวลาท่ี
กาหนดไว้ ผเู้ ก็บรวบรวมข้อมูลมีส่วนช่วยให้ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมไดม้ ีความเท่ียงตรงและน่าเช่อื ถือ
5. ขั้นวิเคราะห์ข้อมลู ในข้ันน้ผี ปู้ ระเมินจะต้องกาหนดวธิ กี ารจัดระบบขอ้ มูล พิจารณาเลือกใชส้ ถิตใิ นการวิเคราะห์ที่
เหมาะสม แล้วจงึ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อมูลเหล่านน้ั โดยเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์ทีไ่ ด้กาหนดไว้
6. ขั้นสรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมลู และรายงานผลการประเมนิ ในขน้ั น้ีผู้ประเมินจะสรปุ และรายงานผลการวเิ คราะห์
ข้อมลู ในขัน้ ต้น ผู้ประเมินจะต้องพจิ ารณารูปแบบของการรายงานผลว่าควรจะเป็นรปู แบบใด และการรายงานผลจะมุ่ง
เสนอข้อมูลท่บี ่งช้ีใหเ้ หน็ ว่าหลักสูตรมีคณุ ภาพหรือไม่ เพียงใด มสี ว่ นใดบ้างทคี่ วรแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิก
7. ขนั้ นาผลทไี่ ด้จากการประเมนิ ไปพัฒนาหลักสตู รในโอกาสต่อไป

ปญั หาในการประเมนิ หลกั สูตร
1. ปญั หาด้านการวางแผนการประเมินหลกั สูตร การประเมนิ หลักสูตรมักไมม่ ีการวางแผนล่วงหน้า ทาใหข้ าดความ
ละเอยี ดรอบคอบในการประเมินผล และไม่ครอบคลมุ ส่งิ ท่ีตอ้ งการประเมิน
2. ปญั หาด้านเวลา การกาหนดเวลาไมเ่ หมาะสมการประเมนิ หลกั สูตร ไมเ่ สร็จตามเวลาที่กาหนด ทาใหไ้ ด้ข้อมลู เน่ินชา้
ไมท่ ันต่อการนามาปรบั ปรงุ หลกั สตู ร
3. ปัญหาดา้ นความเชย่ี วชาญของคณะกรรมการประเมินหลักสตู ร คณะกรรมการประเมินหลกั สูตรไม่มคี วามรู้ความ
เขา้ ใจเรื่องหลกั สตู รท่จี ะประเมนิ หรือไม่มคี วามเชี่ยวชาญในการประเมินผล ทาให้ผลการประเมินที่ได้ไม่นา่ เชื่อถือ ขาด
ความละเอียดรอบคอบ ซึ่งมีผลทาให้การแก้ไขปรับปรุงปัญหาของหลกั สตู รไม่ตรงประเด็น
4. ปญั หาดา้ นความเท่ยี งตรงของข้อมูล ข้อมลู ท่ีไม่ใชใ้ นการประเมินไม่เที่ยงตรงเน่อื งจากผู้ประเมนิ มคี วามกลวั เกยี่ วกับ

ผลการประเมิน จึงทาใหไ้ ม่ได้เสนอขอ้ มูลตามสภาพความเปน็ จรงิ หรอื ผ้ถู กู ประเมนิ กลัวว่าผลการประเมนิ ออกมาไมด่ ี จงึ
ให้ขอ้ มูลท่ีไม่ตรงกบั สภาพความเป็นจรงิ
5.ปญั หาดา้ นวธิ กี ารประเมิน การประเมนิ หลักสูตรสว่ นมากมาจากการประเมินในเชิงปริมาณ ทาให้ได้ข้อค้นพบทีผ่ วิ เผนิ
ไม่ลึกซึ้ง จึงควรมีการประเมนิ ผลท่ีใชว้ ิธกี ารประเมนิ เชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพควบค่กู นั เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลสมบูรณ์และ
มองเห็นภาพท่ชี ดั เจนย่งิ ข้นึ
6.ปัญหาด้านการประเมินหลักสตู รทั้งระบบ การประเมนิ หลักสูตรทงั้ ระบบมีการดาเนนิ งานน้อยมาก สว่ นมากมักจะ
ประเมนิ ผลเฉพาะด้าน เช่น ดา้ นผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นในดา้ นวชิ าการ (Academic Achievement) เป็นหลัก ทาให้
ไมท่ ราบสาเหตุท่ีแน่ชดั
7.ปัญหาดา้ นการประเมนิ หลักสูตรอยา่ งต่อเนื่อง คณะกรรมการประเมนิ หลักสตู รหรอื ผู้ทเี่ กีย่ วข้องมักไม่ประเมนิ
หลกั สูตรอย่างต่อเนอ่ื ง
8.ปัญหาด้านเกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ หลกั สูตรไมช่ ดั เจน ทาให้ผลการประเมนิ ไม่เปน็ ท่ียอมรบั และไม่ได้
นาผลไปใชใ้ นการปรบั ปรุงหลักสตู รอยา่ งจรงิ จัง

สรุป (Summary)
การประเมินหลักสตู รอาจถอื ได้ว่าเป็นข้นั ตอนสุดท้ายของกระบวนการในการพฒั นาหลักสตู ร เปน็ ขนั้ ตอนที่ช้ี

ใหเ้ ราไดท้ ราบว่าหลักสูตรท่พี ัฒนาขนึ้ มาเปน็ รูปเลม่ และนาไปใชแ้ ลว้ น้ัน ประสบความสาเร็จมากนอ้ ยเพียงใด มีข้อดี
ข้อบกพร่องอะไรบา้ งที่ต้องแก้ไขปรับปรงุ การประเมนิ เป็นการพิจารณาคุณค่าของหลกั สตู รโดยอาศยั วิธกี ารต่างๆในการ
ประเมินเพื่อใหไ้ ด้ข้อมลู ที่เป็นจรงิ นามาวิเคราะห์และสรุป ช้ใี ห้เห็นขอ้ บกพร่องตา่ งๆ เพ่ือนาไปเป็นขอ้ มูลในการพฒั นา
หลักสตู รในโอกาสต่อไป เพราะฉะนัน้ จึงจาเปน็ ท่ผี ปู้ ระเมินต้องมีความเข้าใจอย่างแท้จรงิ ในจดุ มุง่ หมาย สิง่ ทจ่ี ะประเมนิ
และวธิ ีการประเมนิ ก่อนทจี่ ะลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ เพราะจุดมุ่งหมายของการประเมนิ หลักสูตรมีอยหู่ ลายประการ สง่ิ ท่ีควร
ได้รับการประเมนิ กค็ รอบคลมุ หลายองค์ประกอบ รวมทัง้ รปู แบบการประเมินก็มอี ยู่หลายหลาก ผลจากการประเมิน
หลักสตู รน้นั ย่อมมีคุณประโยชน์ท้ังตอ่ ผบู้ รหิ ารและผู้ใช้หลกั สตู รตลอดจนประสทิ ธภิ าพของการศึกษา หากการประเมิน
กระทาอย่างเป็นระบบมเี ป้าหมายและมวี ธิ ีการทชี่ ดั เจนเป็นที่น่าเชอื่ ถือ เม่ือนาไปปรบั ปรุงแลว้ ย่อมให้หลักประกันว่า
หลกั สูตรมีคุณภาพดี ดงั น้ัน กระบวนการจัดทาการประเมนิ หลกั สตู รจงึ เป็นกระบวนการและขน้ั ตอนสาคญั ท่ีต้องกระทา
อย่างรอบคอบในการศกึ ษาวิเคราะห์ข้อมูลที่ถูกตอ้ ง วิธกี ารและขนั้ ตอนในการประเมนิ จะตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมือรว่ มใจ
จากผูท้ ีเ่ ก่ียวข้องทุกฝ่าย จงึ ทาให้ไดผ้ ลประเมินท่ีถูกต้องเท่ียงตรงเปน็ จรงิ และมปี ระโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสตู รโดยแท้

แบบบันทึกการศกึ ษาและวิเคราะห์
โครงสร้างหลกั สตู ร

สาระฟิสกิ ส์
๑. เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟิสิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคลอ่ื นท่แี นวตรง แรงและกฎการเคล่ือนทขี่ องนิวตนั กฎ
ความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตมั และกฎการอนุรักษ์
โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

๒. เขา้ ใจการเคล่อื นทแ่ี บบฮาร์มอนิกส์อยา่ งงา่ ย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและ การได้ยนิ ปรากฏการณ์ทเ่ี กี่ยวข้องกับ
เสียง แสงและการเหน็ ปรากฏการณ์ที่เกีย่ วขอ้ งกบั แสง รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

๓. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบส์ นามไฟฟ้า ศกั ย์ไฟฟา้ ความจุไฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และกฎของโอหม์ วงจรไฟฟ้า
กระแสตรง พลงั งานไฟฟ้าและกาลังไฟฟา้ การเปลยี่ นพลงั งานทดแทน เปน็ พลงั งานไฟฟา้ สนามแม่เหลก็ แรงแมเ่ หลก็ ที่
กระทากับประจไุ ฟฟา้ และกระแสไฟฟ้า การเหนย่ี วนา แม่เหล็กไฟฟา้ และกฎของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลบั คลนื่
แมเ่ หล็กไฟฟา้ และการสอื่ สาร รวมท้งั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

๔. เข้าใจความสัมพนั ธข์ องความร้อนกับการเปล่ยี นอณุ หภูมิและสถานะของสสาร สภาพยดื หยุ่นของวสั ดุ และมอดลุ ัส
ของยัง ความดนั ในของไหล แรงพยงุ และหลักของอาร์คิมดี ีส ความตึงผิวและแรงหนดื ของของเหลว ของไหลอดุ มคติ
และสมการแบร์นลู ลกี ฎของแก๊ส ทฤษฎจี ลน์ ของแก๊สอดุ มคตแิ ละพลังงานในระบบ ทฤษฎอี ะตอมของโบร์
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวภิ าวะ ของคลื่นและอนุภาค กัมมนั ตภาพรังสีแรงนิวเคลียร์ ปฏกิ ิริยานิวเคลียร์ พลังงาน
นวิ เคลียร์ ฟสิ ิกส์ อนุภาค รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

การวเิ คราะห์หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรส์ กู่ ารจดั ทาแนวการจัดการเรยี นรู้

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ

๑. เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟสิ กิ ส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคล่ือนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของ

นิวตัน กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์

พลงั งานกล โมเมนตัมและกฎการอนรุ ักษ์โมเมนตัม การเคล่อื นทแ่ี นวโค้ง รวมทงั้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง วธิ สี อน/กจิ กรรม/
กระบวนการ

๑. สบื คน้ และอธิบาย สมรรถนะสาคัญ • ฟสิ กิ ส์เปน็ วทิ ยาศาสตร์แขนงหน่ึง การเรียนรู้แบบสืบ

การค้นหาความรทู้ าง 1. ความสามารถใน ทศ่ี ึกษาเกีย่ วกับ สสาร พลังงาน เสาะหาความรู้ 5E

ฟสิ กิ ส์ ประวตั คิ วาม การสอื่ สาร อนั ตรกิรยิ าระหว่างสสารกบั

เป็นมา รวมทัง้ พัฒนาการ 2. ความสามารถใน พลังงาน และแรงพื้นฐานใน

ของหลักการและแนวคดิ การคิด ธรรมชาติ

ทางฟสิ ิกส์ทมี่ ีผลต่อการ 3. ความสามารถใน • การคน้ ควา้ หาความรู้ทางฟิสกิ ส์

แสวงหาความรใู้ หม่และ การใชเ้ ทคโนโลยี ไดม้ าจากการสังเกต การทดลอง

การพัฒนาเทคโนโลยี และเกบ็ รวบรวมข้อมลู มาวเิ คราะห์

หรือจากการสรา้ งแบบจาลองทาง

คุณลักษณะอนั พึง ความคดิ เพื่อสรุป เป็นทฤษฎี

ประสงค์ หลกั การหรอื กฎ ความรูเ้ หล่าน้ี

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ สามารถนาไปใชอ้ ธิบาย

2. ใฝเ่ รียนรู้ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ หรือทานาย

สิ่งท่ีอาจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต

• ประวตั คิ วามเปน็ มาและ

พฒั นาการของหลักการ และ

แนวคดิ ทางฟสิ กิ สเ์ ป็นพืน้ ฐานใน

การแสวงหา ความร้ใู หม่เพิ่มเตมิ

รวมถงึ การพัฒนาและความ

กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีกม็ สี ว่ นใน

การคน้ หา ความร้ใู หมท่ าง

วทิ ยาศาสตร์ด้วย

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วิธสี อน/กจิ กรรม/
กระบวนการ

๒. วดั และรายงานผล สมรรถนะสาคัญ • ความรู้ทางฟิสิกสส์ ว่ นหนง่ึ ได้จาก การเรยี นรู้แบบสืบ

การวัดปริมาณทางฟสิ กิ ส์ 1. ความสามารถใน การทดลอง ซ่ึงเกย่ี วข้องกบั เสาะหาความรู้ 5E

ได้ถูกต้องเหมาะสม โดย การสอื่ สาร กระบวนการวัดปริมาณทางฟิสกิ ส์

นาความคลาดเคลอ่ื นใน 2. ความสามารถใน ซ่งึ ประกอบดว้ ยตวั เลขและหนว่ ย

การวดั มาพิจารณาในการ การคดิ วดั

นาเสนอผล รวมท้ัง • ปริมาณทางฟิสิกสส์ ามารถวัดได้

แสดงผลการทดลองในรูป คุณลกั ษณะอนั พงึ ด้วยเครอ่ื งมือ ตา่ ง ๆ โดยตรงหรือ

ของกราฟ วิเคราะห์และ ประสงค์ ทางอ้อม หน่วยทใ่ี ชใ้ นการวดั

แปลความหมายจาก 1.ซอ่ื สัตย์สจุ ริต ปรมิ าณทางวิทยาศาสตร์คอื ระบบ

กราฟเส้นตรง 2. มีวนิ ัย หน่วย ระหวา่ งชาติเรียกย่อว่า

ระบบเอสไอ

• ปริมาณทางฟิสิกสท์ ม่ี ีคา่ นอ้ ยกว่า

หรอื มากกว่า ๑ มากๆ นยิ มเขียนใน

รปู ของสัญกรณ์วทิ ยาศาสตร์ หรือ

เขยี นโดยใช้คานาหน้าหนว่ ยของ

ระบบเอสไอ การเขียนโดยใช้สญั

กรณ์วิทยาศาสตร์เป็นการเขยี น

เพอ่ื แสดงจานวนเลขนัยสาคัญที่

ถกู ต้อง

•การทดลองทางฟสิ ิกส์เก่ยี วกับการ

วัดปริมาณต่างๆ การบันทึกปรมิ าณ

ที่ไดจ้ ากการวดั ด้วยจานวน เลข

นยั สาคญั ที่เหมาะสม และค่าความ

คลาดเคลอื่ น การวเิ คราะห์และการ

แปลความหมายจากกราฟ เชน่ การ

หาความชันจากกราฟเส้นตรง

จดุ ตดั แกน พืน้ ท่ใี ต้กราฟ เป็นต้น

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ สาระการเรียนร้แู กนกลาง วธิ ีสอน/กจิ กรรม/
กระบวนการ

๒. วัด และรายงานผล • การวัดปรมิ าณตา่ งๆจะมีความ
การวดั ปริมาณทางฟิสิกส์
ได้ถูกตอ้ งเหมาะสม โดย คลาดเคลอื่ นเสมอ ข้ึนอยกู่ ับ
นาความคลาดเคล่ือนใน
การวดั มาพจิ ารณาในการ เคร่อื งมือ วิธกี ารวดั และ
นาเสนอผล รวมท้ัง
แสดงผลการทดลองในรปู ประสบการณ์ ของผวู้ ดั ซ่ึงค่า
ของกราฟ วเิ คราะห์และ
แปลความหมายจาก ความคลาดเคล่ือนสามารถ
กราฟเส้นตรง
แสดง ในการรายงานผลทั้งใน

รปู แบบตัวเลขและกราฟ

• การวดั ควรเลือกใชเ้ ครื่องมือ

วดั ให้เหมาะสมกับ ส่ิงท่ีต้องการ

วดั เชน่ การวัดความยาวของ

วตั ถุ ทต่ี ้องการความละเอียดสูง

อาจใช้เวอรเ์ นยี ร์ แคลลเิ ปิร์ส

หรือไมโครมิเตอร์ • ฟิสิกสอ์ าศัย

คณติ ศาสตรเ์ ป็นเคร่ืองมือใน

การศึกษา ค้นคว้า และการ

สอื่ สาร

๓. ทดลอง และอธิบาย สมรรถนะสาคัญ • ปริมาณท่เี ก่ยี วกับการเคลอ่ื นที่ การเรียนรแู้ บบสบื

ความสัมพันธ์ระหว่าง 1. ความสามารถใน ได้แก่ตาแหนง่ การกระจัด เสาะหาความรู้ 5E

ตาแหนง่ การกระจดั การส่ือสาร ความเร็ว และความเร่ง โดย

ความเรว็ และความเร่ง 2. ความสามารถใน ความเรว็ และความเรง่ มที ัง้

ของการเคล่ือนที่ของวัตถุ การคิด ค่าเฉลี่ยและคา่ ขณะหนึง่ ซงึ่ คิด

ในแนวตรงทีม่ ีความเรง่ 3. ความสามารถใน ในชว่ งเวลาสนั้ ๆ สาหรับ

คงตวั จากกราฟและ การแกป้ ัญหา ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับ

สมการ รวมทงั้ ทดลองหา การเคลอ่ื นที่แนวตรงด้วย

คา่ ความเรง่ โนม้ ถ่วงของ คณุ ลักษณะอนั พงึ ความเรง่ คงตัวมคี วามสมั พนั ธ์

โลก และคานวณปรมิ าณ ประสงค์ ตามสมการ

ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง 1. มุ่งมน่ั ในการทางาน

2. ใฝ่เรียนรู้

ผลการเรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง วิธสี อน/กจิ กรรม/
กระบวนการ
๔. อธบิ ายแรง รวมทั้ง สมรรถนะสาคัญ
ทดลองและอธิบายการ 1. ความสามารถใน • การอธบิ ายการเคล่อื นที่ของวัตถุ
หาแรงลัพธ์ของแรงสอง การส่อื สาร
แรงท่ีทามมุ ต่อกนั 2. ความสามารถใน สามารถเขียน อยใู่ นรปู กราฟ
การคดิ
คณุ ลักษณะอนั พึง ตาแหน่งกบั เวลา กราฟความเรว็
ประสงค์
1. ใฝเ่ รยี นรู้ กบั เวลา หรอื กราฟความเรง่ กับ

เวลา ความชนั ของเส้นกราฟ

ตาแหนง่ กบั เวลาเป็นความเรว็

ความชนั ของเสน้ กราฟความเร็วกบั

เวลาเป็น ความเรง่ และพื้นท่ใี ต้

เส้นกราฟความเรว็ กบั เวลา เปน็ การ

กระจดั ในกรณีท่ีผ้สู งั เกตมีความเร็ว

ความเร็วของวัตถุทีส่ ังเกตได้เป็น

ความเรว็ ทีเ่ ทียบ กับผู้สังเกต

• การตกแบบเสรเี ปน็ ตัวอย่างหนงึ่

ของการเคล่ือนที่ ในหน่งึ มติ ทิ ่ีมี

ความเร่งเทา่ กบั ความเร่งโน้มถ่วง

ของโลก

• แรงเปน็ ปริมาณเวกเตอรจ์ งึ มีทง้ั การเรียนร้แู บบสืบ

ขนาดและทิศทาง กรณที ี่มแี รง เสาะหาความรู้ 5E

หลาย ๆ แรง กระทาต่อวัตถุ

สามารถ หาแรงลพั ธท์ ก่ี ระทาต่อ

วตั ถุโดยใชว้ ิธีเขยี น เวกเตอร์ของ

แรงแบบหางต่อหวั วธิ ีสร้างรปู

สี่เหลย่ี ม ดา้ นขนานของแรงและวธิ ี

คานวณ

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิธสี อน/กจิ กรรม/
คณุ ลกั ษณะ กระบวนการ
๕. เขยี นแผนภาพวัตถุ สมรรถนะสาคัญ • สมบัตขิ องวัตถุที่ตา้ นการเปล่ยี น
อิสระ ทดลองและอธบิ าย 1. ความสามารถใน สภาพการ เคลือ่ นท่ี เรยี กวา่ ความ การเรียนรแู้ บบสืบ
กฎการเคลื่อนทข่ี อง การสื่อสาร เฉ่ือย มวลเป็นปรมิ • กรณที ี่ไม่มีแรง เสาะหาความรู้ 5E
นิวตนั และการใช้กฎการ 2. ความสามารถใน ภายนอกมากระทา วัตถุจะ ไม่เปลีย่ น
เคลื่อนท่ีของนวิ ตันกบั การคิด สภาพการเคล่ือนที่ซ่ึงเปน็ ไปตามกฎ
สภาพการเคลื่อนทีข่ อง 3. ความสามารถใน การเคลื่อนท่ขี ้อท่ีหน่งึ ของนวิ ตัน
วตั ถุ รวมทงั้ คานวณ การแก้ปัญหา • การหาแรงลัพธ์ที่กระทาตอ่ วัตถุ
ปริมาณตา่ ง ๆ ที่ สามารถเขียนเป็น แผนภาพของแรงที่
เกีย่ วข้อง คุณลักษณะอนั พงึ กระทาตอ่ วตั ถุอสิ ระได้
ประสงค์ • กรณที ไี่ ม่มแี รงภายนอกมากระทา
1. ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต วตั ถจุ ะ ไม่เปลี่ยนสภาพการเคล่อื นที่
2. ม่งุ ม่ันในการทางาน ซึง่ เปน็ ไปตามกฎ การเคลื่อนที่ขอ้ ท่ี
หนึง่ ของนวิ ตนั
• กรณีทีม่ ีแรงภายนอกมากระทาโดย
แรงลัพธ์ ทก่ี ระทาต่อวตั ถุไม่เปน็ ศูนย์
วัตถจุ ะมีความเร่ง โดยความเร่งมี
ทศิ ทางเดียวกับแรงลัพธ์ ความสัมพนั ธ์
ระหว่างแรงลัพธม์ วลและความเร่ง
เขยี นแทนไดด้ ว้ ยสมการ ตามกฎการ
เคลื่อนท่ีขอ้ ทส่ี องของนวิ ตัน
• เมื่อวตั ถสุ องก้อนออกแรงกระทาต่อ
กนั แรงระหว่าง วัตถทุ งั้ สองจะมขี นาด
เทา่ กัน แต่มที ิศทางตรงขา้ ม และ
กระทาตอ่ วัตถุคนละก้อน เรยี กวา่ แรง
คู่ กิริยา-ปฏกิ ิริยา ซึง่ เป็นไปตามกฎ
การเคล่ือนท่ี ข้อทสี่ ามของนิวตัน และ
เกดิ ขน้ึ ได้ทงั้ กรณที ว่ี ตั ถุ ทง้ั สองสมั ผสั
กันหรอื ไม่สัมผสั กันกไ็ ด้

ผลการเรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ สาระการเรียนร้แู กนกลาง วธิ สี อน/กิจกรรม/
กระบวนการ

• กรณีทีม่ แี รงภายนอกมากระทา

โดยแรงลพั ธ์ ทีก่ ระทาต่อวัตถุไม่

เป็นศนู ยว์ ตั ถจุ ะมคี วามเร่ง โดย

ความเรง่ มีทิศทางเดยี วกับแรงลัพธ์

ความสัมพันธ์ระหวา่ งแรงลัพธ์มวล

และความเร่ง เขยี นแทนได้ด้วย

สมการ ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อ ท่ี

สองของนวิ ตัน

๖. อธบิ ายกฎความโนม้ ถ่วง สมรรถนะสาคัญ • แรงดึงดดู ระหว่างมวลเปน็ แรงท่ี การเรียนร้แู บบสบื

สากลและผลของสนามโน้ม 1. ความสามารถใน มวลสองก้อนดึงดดู ซ่งึ กันและกัน เสาะหาความรู้ 5E

ถ่วงทท่ี าให้วัตถุมีนา้ หนกั การสือ่ สาร ดว้ ยแรงขนาดเท่ากันแต่ทศิ ทางตรง

รวมทง้ั คานวณปริมาณตา่ ง 2. ความสามารถใน ข้าม และเปน็ ไปตามกฎความโน้ม

ๆ ที่เกยี่ วข้อง การคดิ ถ่วงสากล เขยี นแทน ไดด้ ้วยสมการ

3. ความสามารถใน F G = G m1 m2 R2

การแกป้ ัญหา • รอบโลกมีสนามโนม้ ถ่วงทาให้เกดิ

คุณลกั ษณะอันพึง แรงโนม้ ถว่ ง ซึง่ เป็นแรงดงึ ดูดของ

ประสงค์ โลกท่ีกระทาตอ่ วัตถุทาใหว้ ัตถุ มี

1. มีวินัย นา้ หนัก

2. ใฝ่เรยี นรู้

๗. วเิ คราะห์ อธบิ าย และ สมรรถนะสาคัญ • แรงทเ่ี กิดขนึ้ ทผ่ี ิวสัมผัสระหวา่ ง การเรยี นรแู้ บบสืบ

คานวณแรงเสียดทาน 1. ความสามารถใน วตั ถสุ องก้อน ในทิศทางตรงข้ามกบั เสาะหาความรู้ 5E

ระหวา่ งผิวสมั ผสั ของวตั ถุคู่ การส่อื สาร ทศิ ทางการเคล่ือนท่หี รือ แนวโน้มท่ี

หนง่ึ ๆ ในกรณีทว่ี ตั ถหุ ยุด 2. ความสามารถใน จะเคลื่อนท่ีของวตั ถุ เรียกวา่ แรง

นิง่ และวัตถุเคลือ่ นท่ี รวมทง้ั การคิด เสยี ดทาน แรงเสยี ดทานระหวา่ ง

ทดลองหาสัมประสทิ ธิค์ วาม 3. ความสามารถใน ผวิ สมั ผสั คหู่ นึง่ ๆ ข้นึ กบั สัมประสทิ ธิ์

เสยี ดทานระหว่างผิวสัมผัส การแกป้ ัญหา ความเสยี ดทานและ แรงปฏิกริ ิยา

ของวตั ถุคหู่ นึง่ ๆ และนา 4. ความสามารถใน ต้ังฉากระหวา่ งผวิ สมั ผสั คูน่ ั้น ๆ

ความรู้เรอ่ื งแรงเสยี ดทานไป การใช้เทคโนโลยี

ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วิธสี อน/กิจกรรม/
กระบวนการ
๘. อธบิ าย วเิ คราะห์ และ
คานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ี คณุ ลักษณะอนั พึง • ขณะออกแรงพยายามแต่วัตถุ
เก่ยี วข้องกบั การเคลือ่ นที่
แบบโพรเจกไทล์ และ ประสงค์ ยังคงอยู่น่ิง แรงเสยี ดทานมขี นาด
ทดลองการเคลื่อนทแี่ บบ
โพรเจกไทล์ 1. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง เทา่ กับแรงพยายามท่ีกระทาต่อ

2. ซ่ือสัตยส์ ุจริต วัตถุนัน้ และแรงเสยี ดทานมีค่ามาก

ทสี่ ุดเมือ่ วตั ถุ เริม่ เคลื่อนท่ี เรียกแรง

เสียดทานน้วี า่ แรงเสยี ดทานสถติ

แรงเสียดทานที่กระทาต่อวัตถุ ขณะ

กาลงั เคล่ือนที่ เรียกวา่ แรงเสียด

ทานจลน์ โดยแรงเสยี ดทานท่ีเกิด

ระหวา่ งผิวสัมผัสของวตั ถุ คูห่ น่งึ ๆ

คานวณไดจ้ ากสมการ

• การเพิม่ หรอื ลดแรงเสียดทานมี

ผลต่อการเคลื่อนที่ ของวตั ถุซึ่ง

สามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั

สมรรถนะสาคัญ • สมดุลกลเปน็ สภาพที่วัตถรุ กั ษา การเรียนรแู้ บบสบื

1. ความสามารถใน สภาพการเคล่ือนท่ี ให้คงเดิมคอื เสาะหาความรู้ 5E

การส่ือสาร หยุดน่งิ หรือเคล่ือนทด่ี ้วยความเร็ว

2. ความสามารถใน คงตัวหรอื หมุนด้วยความเรว็ เชงิ มุม

การคิด คงตวั

3. ความสามารถใน • วตั ถุจะสมดุลต่อการเล่ือนที่คือ

การแกป้ ัญหา หยดุ นิง่ หรอื เคลอื่ นทด่ี ว้ ยความเร็ว

คงตัวเมอ่ื แรงลัพธ์ท่ีกระทา ต่อวตั ถุ

คณุ ลกั ษณะอันพึง เปน็ ศูนยเ์ ขยี นแทนไดด้ ว้ ยสมการ

ประสงค์ • วตั ถจุ ะสมดุลต่อการหมุนคือไม่

1. มงุ่ ม่ันในการทางาน หมนุ หรอื หมุนดว้ ย ความเร็วเชงิ มมุ

2. ใฝเ่ รยี นรู้ คงตวั เมือ่ ผลรวมของโมเมนต์ที่

กระทาต่อวตั ถเุ ป็นศนู ยเ์ ขยี นแทน

ไดด้ ว้ ยสมการ โดยโมเมนต์คานวณ

ได้

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง วิธีสอน/กิจกรรม/
กระบวนการ

๙.ทดลอง และอธบิ าย สมรรถนะสาคัญ • เมอ่ื ออกแรงกระทาต่อวัตถุท่ีวาง การเรยี นรู้แบบสืบ

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแรง 1. ความสามารถใน บนพ้ืนท่ีไมม่ แี รงเสียดทานในแนว เสาะหาความรู้ 5E

สู่ศูนย์กลาง รัศมีของการ การสือ่ สาร ระดับ ถา้ แนวแรงน้นั กระทาผ่าน

เคลื่อนที่ อตั ราเรว็ เชิง 2. ความสามารถใน ศูนย์กลางมวลของวตั ถุ วัตถุจะ

เส้น อตั ราเรว็ เชงิ มุม และ การคิด เคล่ือนท่ีแบบเลอื่ นที่โดยไม่หมนุ

มวลของวัตถุในการ 3. ความสามารถใน • วัตถทุ อี่ ยู่ในสนามโนม้ ถว่ ง

เคลือ่ นท่แี บบวงกลมใน การแก้ปัญหา สมา่ เสมอ ศูนย์กลางมวลและศนู ย์

ระนาบระดับ รวมท้ัง 4. ความสามารถในการ ถว่ งอย่ทู ตี่ าแหน่งเดยี วกนั ศูนย์ถ่วง

คานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ี ใชช้ วี ติ ประจาวนั ของวัตถุมีผลตอ่ เสถียรภาพของวตั ถุ

เกย่ี วข้อง และ

ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้การ คณุ ลกั ษณะอันพงึ

เคลือ่ นที่แบบวงกลมใน ประสงค์

การอธบิ ายการโคจรของ 1. ซอื่ สัตยส์ จุ รติ

ดาวเทียม 2. มงุ่ ม่นั ในการทางาน

๑๐ วิเคราะห์ และ สมรรถนะสาคัญ • งานของแรงท่กี ระทาต่อวัตถุหาได้ การเรยี นร้แู บบสืบ
จากผลคณู ของขนาดของแรงและ เสาะหาความรู้ 5E
คานวณงานของแรงคงตัว 1. ความสามารถใน ขนาดของการกระจัดตามสมการ
W = FXcos
จากสมการและพ้ืนท่ใี ต้ การส่ือสาร หรอื หาแรงได้จากพ้ืนทีใ่ ต้กราฟ
ระหว่างแรงในการเคลื่อนท่ีกับ
กราฟวามสัมพันธ์ 2. ความสามารถใน ตาแหน่ง โดยแรงที่กระทาอาจเปน็
แรงคงตัวหรือไม่คงตวั ก็ได้
ระหวา่ งแรงกับตาแหนง่ การคิด • งานทีท่ าได้ในหน่ึงหนว่ ยเวลา
เรยี กวา่ กาลงั เฉลยี่ ดังสมการ
รวมทั้งอธบิ ายและ 3. ความสามารถใน PAV = W/t

คานวณกาลังเฉล่ยี การแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการ

ใช้เทคโนโลยี

คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์
1. ม่งุ มนั่ ในการทางาน
2. .ใฝเ่ รยี นรู้

ผลการเรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง วิธสี อน/กิจกรรม/
กระบวนการ

๑๑. อธบิ ายและคานวณ สมรรถนะสาคัญ • พลังงานเป็นความสามารถใน การเรียนรู้แบบสืบ

พลังงานจลน์ พลงั งาน 1. ความสามารถใน การทางาน เสาะหาความรู้ 5E

ศักย์ พลังงานกล ทดลอง การสอ่ื สาร • พลังงานจลน์เป็นพลงั งานของวตั ถุ

หาความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 2. ความสามารถใน ท่ีกาลังเคล่ือนที่คานวณไดจ้ าก

พลงั งานจลน์ การคดิ สมการ

ความสัมพันธ์ระหวา่ ง 3. ความสามารถใน • พลงั งานศักย์เป็นพลงั งานที่เกี่ยว

พลงั งานศักยโ์ น้มถ่วง การแกป้ ัญหา ขอ้ กับตาแหนง่ หรือรปู รา่ งของวตั ถุ

ความสมั พันธ์ระหว่าง แบ่งออกเปน็ พลังงานศักยโ์ น้มถ่วง

ขนาดของแรงท่ีใชด้ ึง คณุ ลักษณะอนั พงึ คานวณได้จากสมการ

สปริงกับระยะท่สี ปรงิ ยดื ประสงค์ และพลงั งานศกั ยย์ ดื หย่นุ คานวณ

ออกและความสมั พนั ธร์ ะ 1. มวี ินัย ไดจ้ ากสมการ

หว่างานกบั พลงั งานศกั ย์ 2. ใฝเ่ รียนรู้ • พลังงานกลเป็นผลรวมของ

ยืดหยุน่ รวมทง้ั อธบิ าย พลังงานจลน์และพลงั งานศักย์ตาม

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งงาน สมการ

ของแรงลัพธแ์ ละพลงั งาน • แรงทีท่ าใหเ้ กดิ งานโดยงานของ

จลน์ และคานวณงานที่ แรงน้ันไม่ขึ้นกบั เส้นทางการ

เกิดขึ้นจากแรงลัพธ์ เคล่ือนท่ี เชน่ แรงโนม้ ถ่วงและแรง

สปริง เรียกว่า แรงอนุรกั ษ์

• งานและพลังงานมคี วามสัมพนั ธ์

กันโดยงานขอแรงลพั ธ์เท่ากับ

พลังงานจลน์ของวตั ถุที่เปลี่ยนไป

ตามทฤษฎบี ทงานพลงั งานจลน์

เขียนแทนได้ด้วยสมการ

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง วธิ ีสอน/กิจกรรม/
กระบวนการ

๑๒. วเิ คราะห์ และ สมรรถนะสาคัญ • ถ้างานที่เกิดข้ึนกับวัตถุเป็นงาน การเรยี นร้แู บบสืบ

คานวณงานของแรงคงตัว 1. ความสามารถใน เน่ืองจากแรง อนรุ ักษเ์ ท่าน้นั พลังงาน เสาะหาความรู้ 5E

จากสมการและพื้นทใี่ ต้ การสือ่ สาร กลของวัตถจุ ะคงตัวซึง่ เป็นไปตามกฎ

กราฟความสัมพันธ์ 2. ความสามารถใน การอนรุ ักษ์พลงั งานกล เขียน แทน

ระหว่างแรงกบั ตาแหน่ง การคดิ ได้ดว้ ยสมการEk+Ep=ค่าคงตัว

รวมท้ังอธิบายและ 3. ความสามารถใน โดยที่พลงั งานศักย์อาจเปลยี่ นเป็น

คานวณกาลงั เฉล่ยี การแกป้ ัญหา พลงั งานจลน์

• กฎการอนุรกั ษพ์ ลังงานกลใช้

คุณลกั ษณะอันพึง วิเคราะห์การเคล่อื นทต่ี า่ งๆ เชน่ การ
ประสงค์
1. มงุ่ ม่นั ในการทางาน เคลอ่ื นท่ีของวัตถุท่ีติดสปริงการ

เคลอื่ นท่ีภายใต้สนามโนม้ ถ่วงของ

โลก

๑๓. อธบิ ายและคานวณ สมรรถนะสาคัญ • การทางานของเครื่องกลอย่างงา่ ย การเรยี นรแู้ บบสืบ
พลังงานจลน์ พลังงาน 1. ความสามารถใน
ศักย์ พลงั งานกล ทดลอง การสอื่ สาร ไดแ้ ก่ คาน รอก พนื้ เอยี ง ล่ิมสกรู เสาะหาความรู้ 5E
หาความสัมพันธร์ ะหว่าง 2. ความสามารถใน
งานกับพลังงานจลน์ การคิด และล้อ เพลา ใช้หลักการของงาน
ความสัมพันธ์ระหวา่ งงาน 3. ความสามารถใน
กับพลงั งานศักย์โนม้ ถ่วง การแก้ปัญหา และสมดุลกลประกอบการพจิ ารณา
ความสัมพันธร์ ะหว่าง
ขนาดของแรงทใ่ี ช้ดึง ประสทิ ธภิ าพและการได้เปรียบ
สปรงิ กบั ระยะท่ีสปรงิ ยืด
ออกและความสมั พนั ธ์ คณุ ลักษณะอันพึง เชิงกลของเคร่อื งกลอยา่ งง่าย
ระหวา่ งงานกับพลงั งาน ประสงค์
ศกั ย์ยดื หย่นุ รวมทั้ง 1. มงุ่ มั่นในการทางาน ประสิทธิภาพคานวณได้จากสมการ
อธิบายความสมั พันธ์ 2. ใฝ่เรียนรู้
ระหว่างงานของแรงลัพธ์ Efficiency = x 100% การ
และพลังงานจลน์ และ
คานวณงานทีเ่ กดิ ข้นึ จาก ไดเ้ ปรยี บเชงิ กลคานวณได้จากสมการ
แรงลัพธ์
M.A.

ผลการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง วธิ สี อน/กิจกรรม/
กระบวนการ

๑๔. อธิบายกฎการ สมรรถนะสาคัญ • วตั ถุที่เคลื่อนทจ่ี ะมีโมเมนตัมซ่งึ เปน็ การเรยี นรู้แบบสืบ
อนรุ กั ษ์พลังงานกล 1. ความสามารถใน
รวมท้งั วิเคราะห์ และ การสือ่ สาร ปรมิ าณ เวกเตอร์มีค่าเท่ากับผลคณู เสาะหาความรู้ 5E
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี 2. ความสามารถใน
เก่ียวขอ้ งกบั การเคลอื่ นที่ การคดิ ระหว่างมวลและความเร็วของวัตถดุ ัง
ของวตั ถุในสถานการณ์ 3. ความสามารถใน
ตา่ ง ๆ โดยใชก้ ฎการ การแก้ปัญหา สมการ p = mv
อนรุ กั ษ์พลังงานกล คณุ ลักษณะอันพงึ
• เมอ่ื มแี รงลัพธ์กระทาต่อวัตถุจะทา
ประสงค์
1 รกั ความเปน็ ไทย ให้โมเมนตัม ของวัตถุเปลย่ี นไปโดย
2. มีวินัย
แรงลัพธเ์ ทา่ กับอตั ราการเปล่ียน

โมเมนตมั ของวัตถุ

• แรงลพั ธ์ทก่ี ระทาต่อวตั ถเุ วลาส้ัน

เรียกว่า แรงดล โดยผลคณู ของแรง

ดลกับเวลาเรยี กว่า การดล ตาม

สมการ I = Ft ซง่ึ การดลอาจหาได้

จากพน้ื ท่ีใต้กราฟระหว่างแรงดลกบั

เวลา

๑๕. อธบิ ายการทางาน สมรรถนะสาคัญ • ในการชนกนั ของวตั ถแุ ละการดีดตวั การเรียนรแู้ บบสืบ
ประสทิ ธิภาพและการ 1. ความสามารถใน
ไดเ้ ปรียบเชงิ กลของ การสือ่ สาร ออกจากกนั ของวตั ถุในหนึง่ มิตเิ ม่อื เสาะหาความรู้ 5E
เครอื่ งกลอย่างงา่ ยบาง 2. ความสามารถใน
ชนดิ โดยใชค้ วามรู้เร่อื ง การแกป้ ัญหา ไมม่ แี รงภายนอกมากระทา
งานและสมดลุ กล รวมทงั้
คานวณประสทิ ธภิ าพ คุณลักษณะอันพงึ โมเมนตมั ของระบบมีค่าคงตัวซึ่ง
และการได้เปรียบเชงิ กล ประสงค์
เปน็ ไป ตามกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตมั
1. มจี ติ สาธารณะ
2. มวี ินัย เขยี นแทนได้ดว้ ย สมการpi

pfโดย piเป็นโมเมนตมั ของระบบ

ก่อนชนและpfเปน็ โมเมนตัมของ

ระบบหลังชน

• ในการชนกันของวัตถุพลงั งานจลน์

ของระบบอาจคงตวั หรอื ไม่คงตวั ก็ได้

การชนทพ่ี ลงั งานจลน์ ของระบบคง

ตัวเป็นการชนแบบยดื หย่นุ ส่วนการ

ชน ทพ่ี ลังงานจลน์ของระบบไมค่ งตวั

เปน็ การชนแบบไม่ยืดหยนุ่

ผลการเรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง วิธสี อน/กจิ กรรม/
กระบวนการ

๑๖. อธบิ าย และคานวณ สมรรถนะสาคัญ • การเคลือ่ นที่แนวโค้งพาราโบลา การเรียนร้แู บบสบื

โมเมนตมั ของวัตถุ และ 1. ความสามารถใน ภายใตส้ นามโนม้ ถว่ งโดยไม่คิดแรง เสาะหาความรู้ 5E

การดลจากสมการและ การสอื่ สาร ต้านของอากาศเปน็ การ เคลื่อนท่ี

พน้ื ทีใ่ ต้กราฟ 2. ความสามารถใน แบบโพรเจกไทล์วตั ถมุ ีการเปล่ียน

ความสัมพันธ์ระหว่างแรง การคดิ ตาแหนง่ ในแนวดิ่งและแนวระดบั

ลพั ธก์ บั เวลา รวมท้งั 3. ความสามารถใน พรอ้ มกนั และเปน็ อสิ ระตอ่ กนั

อธบิ ายความสัมพันธ์ การแกป้ ัญหา สาหรบั การเคล่อื นท่ีในแนวด่งิ เป็น

ระหวา่ งแรงดลกบั การเคล่อื นที่ทมี่ ีแรงโน้มถว่ งกระทา

โมเมนตมั คุณลกั ษณะอนั พงึ จึงมคี วามเร็วไม่คงตวั ปริมาณต่างๆ

ประสงค์ มคี วามสมั พันธด์ งั ตามสมการ

1. มงุ่ มนั่ ในการทางาน vy=uy +ayt

2. ใฝเ่ รยี นรู้ v=u+ 2ay∆y
ส่วนการเคลอ่ื นที่ในแนวระดบั ไมม่ ี

แรงกระทาจึงมี ความเรว็ คงตัว

ตาแหนง่ ความเรว็ และเวลามี

ความสัมพันธ์ตามสมการ

∆xuxt ∑

๑๗. ทดลอง อธิบายและ สมรรถนะสาคัญ • วัตถทุ ีเ่ คล่อื นทีเ่ ป็นวงกลมหรือ การเรยี นรู้แบบสบื

คานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี 1. ความสามารถใน ส่วนของวงกลมเรียกว่าวตั ถุนั้นมี เสาะหาความรู้ 5E

เกีย่ วกับการชนของวัตถุ การสือ่ สาร การเคล่อื นท่ีแบบวงกลมซง่ึ มีแรง

ในหนง่ึ มติ ทิ งั้ แบบยืดหยนุ่ 2. ความสามารถใน ลัพธ์ท่ีกระทากบั วัตถุในทิศเข้าสู่

ไม่ยืดหยนุ่ และการดดี ตวั การคิด ศูนย์กลางเรยี กวา่ แรงสู่ศนู ยก์ ลาง

แยกจากกันในหนึ่งมิตซิ ่งึ 3. ความสามารถใน ทาให้เกิดความเร่งสูศ่ นู ย์กลางท่ีมี

เป็นไปตามกฎการ การแก้ปัญหา ขนาดสมั พันธ์กับรัศมีของการ

อนุรกั ษโ์ มเมนตัม เคลอ่ื นทแ่ี ละอัตราเร็วเชิงเส้นของ

คุณลกั ษณะอนั พึง วตั ถุซง่ึ แรงสศู่ ูนย์กลางคานวณได้

ประสงค์ จากสมการ

1. ม่งุ ม่นั ในการทางาน

2. ใฝ่เรียนรู้

ผลการเรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิธีสอน/กจิ กรรม/
กระบวนการ

๑๗. ทดลอง อธิบายและ สมรรถนะสาคัญ •นอกจากนี้การเคลื่อนที่แบบ การเรียนรูแ้ บบสืบ

คานวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี 1. ความสามารถใน วงกลมยังสามารถ อธบิ ายได้ด้วย เสาะหาความรู้ 5E

เก่ียวกับการชนของวตั ถุ การส่อื สาร อตั ราเรว็ เชิงมุม ซ่งึ มีความสัมพันธ์

ในหนึง่ มติ ิท้ังแบบยดื หย่นุ 2. ความสามารถใน กับอัตราเรว็ เชิงเสน้ ตามสมการ

ไมย่ ืดหยุน่ และการดีดตัว การคดิ v = ωr และ แรงส่ศู นู ย์กลางมี

แยกจากกนั ในหนึ่งมติ ิซ่งึ 3. ความสามารถใน ความสัมพันธก์ ับอัตราเรว็ เชิงมุม

เป็นไปตามกฎการ การแก้ปัญหา ตามสมการ Fc = mω2r

อนรุ กั ษ์โมเมนตัม • ดาวเทยี มโคจรในแนววงกลม

คณุ ลักษณะอันพงึ รอบโลกมแี รงดึงดูดทีโ่ ลกกระทาตอ่

ประสงค์ ดาวเทยี มเปน็ แรงสูศ่ ูนย์กลาง

1. มวี นิ ยั ดาวเทยี มทม่ี วี งโคจรค้างฟ้าใน

2. มีจิตสาธารณะ ระนาบของ เส้นศูนยส์ ตู รมีคาบการ

โคจรเท่ากับคาบการหมุน รอบตัว

เองของโลกหรือมีอัตราเร็วเชงิ มุม

เทา่ กับ อัตราเรว็ เชิงมุมของ

ตาแหนง่ บนพืน้ โลกดาวเทียม จึงอยู่

ตรงกับตาแหนง่ ท่ีกาหนดไวบ้ นพน้ื

โลก ตลอดเวลา

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

สู่การจัดทาแนวการจัดการเรียนร้วู ิชาฟิสิกสเ์ พ่ิมเติม 2

สาระฟิสกิ ส์
๑. เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ ิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวดั การเคลื่อนทีแ่ นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎ
ความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตมั และกฎการอนุรักษ์
โมเมนตัม การเคลื่อนท่ีแนวโค้ง รวมท้งั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

คาอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตร์เพ่มิ เตมิ

ว ๓๐๒๐๑ รายวิชาฟิสิกสเ์ พิ่มเติม ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔
๔ ช่วั โมง/สัปดาห์ ภาคเรียนที่ ๒ ๘๐ ชว่ั โมง/ภาค ๒.๐ หนว่ ยกิต

ศึกษาหลักการของกลศาสตร์ในเร่ืองวิชาฟสิกส ปริมาณกายภาพและหนวย การวัด ความคลาดเคลื่อนในการ
วดั และการทดลองในวิชาฟสกิ ส การบอกตาแหนงของวัตถุ ความสมั พันธร์ ะหวางปรมิ าณตางๆ ท่ี
เก่ียวของกับการเคลื่อนท่ีแนวตรงดวยความเรงคงตัว แรงและผลของแรงท่ีมีตอสภาพการเคลื่อนท่ีของวัตถุ กฎการ
เคลือ่ นทข่ี องนวิ ตนั กฎแรงดึงดูดระหวางมวล และแรงเสียดทาน การเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทลการเคล่ือนท่ีแบบวงกลม
สมดลุ กลและเงือ่ นไขทท่ี าใหว้ ตั ถุหรือระบบอยู่ในสมดุลกล ศนู ยก์ ลางมวลของวัตถุและผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพ
ของวัตถุ งาน พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง
และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขนาดของแรงทใี่ ช้ดงึ สปริงกับระยะที่สปริงยืดออก แรงอนุรักษ์ กฎการอนุรักษ์พลังงาน กาลัง
เคร่ืองกลอย่างง่าย ประสิทธิภาพและการไดเ้ ปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โมเมนตัม การชนกันของวัตถุ
ในหนง่ึ มิติ การดล แรงดล และ กฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตัม และเช่อื มโยงบรู ณาการปรัญชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสบื ค้นข้อมูล การสงั เกต วเิ คราะห์
เปรยี บเทยี บ อธิบาย อภิปราย และสรปุ

เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมท้งั
ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ นการคิดและการแกป้ ญั หา ด้านการส่อื สาร
สามารถสอื่ สารส่ิงทเ่ี รียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวติ ของตนเอง มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่
เหมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. สบื คน้ และอธิบายการคน้ หาความรูท้ างฟสิ ิกส์ ประวตั ิความเป็นมา รวมท้ังพัฒนาการของหลักการและแนวคดิ ทาง
ฟสิ ิกส์ท่มี ีผลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพฒั นาเทคโนโลยี
๒. วัด และรายงานผลการวดั ปรมิ าณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลอ่ื นในการวดั มาพจิ ารณาใน
การนาเสนอผล รวมท้ังแสดงผลการทดลองในรปู ของกราฟ วิเคราะหแ์ ละแปลความหมายจากกราฟเสน้ ตรง
๓. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งตาแหน่ง การกระจดั ความเรว็ และความเร่งของการเคล่ือนที่ของวัตถุใน
แนวตรงทีม่ ีความเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาคา่ ความเร่งโนม้ ถว่ งของโลก และคานวณปริมาณตา่ ง
ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
๔. อธบิ ายแรง รวมทั้ง ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลัพธข์ องแรงสองแรงทท่ี ามุมต่อกัน
๕. เขียนแผนภาพวตั ถุอสิ ระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ ตนั และการใช้กฎการเคลือ่ นท่ขี อง
นวิ ตนั กบั สภาพการเคล่อื นท่ีของวตั ถุ รวมท้ัง คานวณปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๖. อธบิ ายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโนม้ ถ่วงทที่ าให้วตั ถุมนี ้าหนัก รวมท้งั คานวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วข้อง
๗. วเิ คราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสียดทานระหว่างผวิ สัมผสั ของวัตถุคหู่ นงึ่ ๆ ในกรณีที่วตั ถหุ ยดุ นิ่งและวัตถุ
เคล่ือนท่ี รวมท้งั ทดลองหาสัมประสิทธค์ิ วามเสียดทานระหว่างผิวสมั ผสั ของวัตถคุ ู่หนึ่ง ๆ และนาความรเู้ ร่ืองแรงเสียด
ทานไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
๘. อธบิ าย วิเคราะห์ และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับการเคล่อื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ และทดลอง
การเคลือ่ นท่แี บบโพรเจกไทล์
๙.ทดลอง และอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างแรงสศู่ ูนย์กลาง รศั มขี องการเคลือ่ นท่ี อัตราเร็วเชิงเสน้ อตั ราเรว็ เชิงมุม
และมวลของวัตถใุ นการเคลื่อนทแ่ี บบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทีเ่ กยี่ วข้อง และประยกุ ต์ใช้
ความรกู้ ารเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในการอธบิ ายการโคจรของดาวเทยี ม
๑๐. อธบิ ายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนตแ์ ละผลรวมของโมเมนต์ที่มตี ่อการหมุน แรงค่คู วบและผลของแรงคู่ควบที่มีต่อ
สมดลุ ของวัตถุ เขียนแผนภาพวัตถุอสิ ระเมือ่ วตั ถุอยู่ในสมดลุ กล และคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี กี่ยวข้อง รวมทั้งทดลอง
และอธบิ ายสมดลุ ของแรงสามแรง
๑๑. สงั เกตและอธบิ ายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมอ่ื แรงทกี่ ระทาต่อวตั ถผุ ่านศูนย์กลางมวลของวตั ถุ และผลของศูนย์
ถว่ งทมี่ ีต่อเสถียรภาพของวตั ถุ
๑๒. วเิ คราะห์ และคานวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพน้ื ท่ีใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับตาแหน่ง
รวมทั้งอธบิ ายและคานวณกาลงั เฉล่ยี
๑๓. อธบิ ายและคานวณพลังงานจลน์ พลงั งานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งงานกบั พลังงานจลน์
ความสัมพันธร์ ะหว่างงานกับพลงั งานศักย์โนม้ ถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดงึ สปรงิ กับระยะท่ีสปรงิ ยดื

ออกและความสมั พันธ์ระหว่างงานกบั พลงั งานศักยย์ ดื หยุ่น รวมทง้ั อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งงานของแรงลัพธ์และ
พลังงานจลน์ และคานวณงานท่เี กดิ ขน้ึ จากแรงลัพธ์
๑๔. อธบิ ายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทัง้ วเิ คราะห์ และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ีของวัตถุ
ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรกั ษพ์ ลงั งานกล
๑๕. อธิบายการทางาน ประสิทธภิ าพและการได้เปรยี บเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนดิ โดยใชค้ วามร้เู รือ่ งงาน
และสมดลุ กล รวมทัง้ คานวณประสทิ ธิภาพและการไดเ้ ปรยี บเชิงกล
๑๖. อธบิ าย และคานวณโมเมนตมั ของวตั ถุ และการดลจากสมการและพนื้ ที่ใต้กราฟความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแรงลัพธก์ ับ
เวลา รวมท้ังอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างแรงดลกับโมเมนตมั
๑๗. ทดลอง อธบิ ายและคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกบั การชนของวัตถุในหนึ่งมิตทิ ้ังแบบยืดหยุ่น ไมย่ ืดหยุน่ และการ
ดดี ตัวแยกจากกันในหน่ึงมติ ซิ ่ึงเปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม
รวมผลการเรียนรู้ ๑๗ ผลการเรียนรู้

โครงสรา้ งผลการเรยี นรู้รายวิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พิม่ เติม
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ ี่ ๔ ภาคเรียนท่ี ๒

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ

หนว่ ย เวลา รวม กลาง ปลาย
การ ชอ่ื (ช่ัวโมง) ภาค ภาค
เรียนรู้ หน่วย ผลการเรยี นรู้ คะแนน หน่วย
ท่ี
ยอ่ ย

สืบคน้ และอธบิ ายการค้นหาความรูท้ าง

ฟิสิกส์ ประวตั ิความเปน็ มา รวมทง้ั ๔ ๒๒
๑ บทนา พัฒนาการของหลักการและแนวคิดทาง ๑-๒
๖ ๓๓
ฟสิ ิกส์ที่มีผลต่อการแสวงหาความรใู้ หม่
๘ ๕๕
และการพฒั นาเทคโนโลยี ๕ ๓
๗ ๕๒
วัด และรายงานผลการวัดปริมาณทาง ๕ ๔๒

ฟิสกิ ส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนาความ

๒ บทนา คลาดเคลือ่ นในการวดั มาพิจารณาในการ ๓-๖
นาเสนอผล รวมทงั้ แสดงผลการทดลอง

ในรูปของกราฟ วิเคราะหแ์ ละแปล

ความหมายจากกราฟเสน้ ตรง

ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง

ตาแหน่ง การกระจดั ความเร็ว และ

๓ การ ความเรง่ ของการเคลอื่ นทข่ี องวัตถใุ นแนว ๗-๑๒
เคล่ือนท่ี ตรงที่มคี วามเรง่ คงตัวจากกราฟและ
สมการ รวมทงั้ ทดลองหาค่าความเรง่ โน้ม

ถว่ งของโลก และคานวณปรมิ าณต่าง ๆ

ท่ีเก่ยี วข้อง

อธิบายแรง รวมท้ัง ทดลองและอธิบาย

๔ การหาแรงลพั ธ์ของแรงสองแรงที่ทามุม ๑๓-๑๖

ตอ่ กัน

แรงและ เขยี นแผนภาพวตั ถุอิสระ ทดลองและ

๕ กฏของ อธบิ ายกฎการเคลอ่ื นท่ีของนิวตันและ ๑๗-๒๐

นวิ ตนั การใช้กฎการเคลือ่ นที่ของ

นิวตนั กบั สภาพการเคลอ่ื นที่ของวตั ถุ

๖ รวมทง้ั คานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ี ๒๑-๒๔

เกยี่ วขอ้ ง

หนว่ ย เวลา รวม กลาง ปลาย
การ ช่ือ (ชว่ั โมง) ภาค ภาค
เรียนรู้ หนว่ ย ผลการเรยี นรู้ คะแนน หนว่ ย
ท่ี
ย่อย

วิเคราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสยี ด

ทานระหว่างผิวสมั ผสั ของวัตถุคู่หน่ึง ๆ

แรงและ ในกรณที ีว่ ตั ถุหยดุ นิง่ และวัตถุเคล่อื นท่ี

๗ กฏของ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธค์ิ วามเสียด ๒๕-๒๘ ๙ ๗ ๒
๑๐ ๕ ๕
นวิ ตัน ทานระหวา่ งผวิ สัมผสั ของวัตถุคหู่ นึง่ ๆ ๑๐ ๕ ๕

และนาความรเู้ รื่องแรงเสยี ดทานไปใช้ใน ๓ ๒ ๒

ชีวติ ประจาวัน

อธบิ าย วเิ คราะห์ และคานวณปรมิ าณ

๘ การ ตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกับการเคลอ่ื นทแี่ บบ ๒๙-๓๒
เคลือ่ นที่ โพรเจกไทล์ และทดลองการเคลือ่ นท่ี

แบบโพรเจกไทล์

ทดลอง และอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่าง

แรงสศู่ นู ย์กลาง รัศมขี องการเคลือ่ นที่

อัตราเรว็ เชงิ เส้น อตั ราเรว็ เชงิ มมุ และ

๙ การ มวลของวตั ถุในการเคลื่อนท่ีแบบวงกลม ๓๓-๓๘
เคลือ่ นท่ี ในระนาบระดบั รวมทง้ั คานวณปรมิ าณ

ตา่ ง ๆ ท่เี กยี่ วข้อง และประยุกต์ใช้

ความร้กู ารเคลื่อนท่ีแบบวงกลมในการ

อธิบายการโคจรของดาวเทยี ม

อธบิ ายสมดลุ กลของวตั ถุ โมเมนต์และ

ผลรวมของโมเมนต์ทีม่ ตี ่อการหมนุ แรงคู่

๑๐ สมดุล ควบและผลของแรงคู่ควบท่ีมีตอ่ สมดุล ๓๙-๔๒
กล ของวัตถุ เขียนแผนภาพวัตถุอิสระเม่อื
วตั ถุอย่ใู นสมดลุ กล และคานวณปรมิ าณ

ตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง รวมทั้งทดลองและ

อธบิ ายสมดลุ ของแรงสามแรง

หนว่ ย เวลา รวม กลาง ปลาย
การ ช่อื ผลการเรียนรู้ คะแนน หน่วย
เรียนรู้ หนว่ ย (ช่วั โมง) ย่อย ภาค ภาค
ท่ี

สังเกตและอธบิ ายสภาพการเคลื่อนท่ีของ

๑๑ สมดุล วัตถุ เมือ่ แรงทก่ี ระทาต่อวตั ถุผ่าน ๔๓-๔๖ ๔ ๒ ๒
กล ศนู ยก์ ลางมวลของวัตถุ และผลของศนู ย์ ๔ ๒ ๒
๔ ๒ ๒
ถ่วงท่ีมีต่อเสถยี รภาพของวตั ถุ
๓ ๒ ๑
วิเคราะห์ และคานวณงานของแรงคงตัว

๑๒ จากสมการและพน้ื ท่ีใต้กราฟความสมั พนั ธ์ ๔๗-๕๐
ระหวา่ งแรงกบั ตาแหน่ง รวมทงั้ อธิบาย

และคานวณกาลงั เฉล่ีย

อธิบายและคานวณพลงั งานจลน์ พลังงาน

ศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสมั พันธ์

ระหว่างงานกบั พลงั งานจลน์ ความสมั พันธ์

ระหวา่ งงานกบั พลังงานศกั ยโ์ นม้ ถ่วง

๑๓ งานและ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างขนาดของแรงทใ่ี ชด้ ึง ๕๑-๖๐
พลงั งาน สปริงกับระยะท่สี ปริงยืดออกและ
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งงานกับพลงั งานศักย์

ยดื หยนุ่ รวมท้งั อธิบายความสัมพันธ์

ระหว่างงานของแรงลัพธ์และพลงั งานจลน์

และคานวณงานท่ีเกดิ ขน้ึ จากแรงลัพธ์

อธบิ ายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทงั้

๑๔ วิเคราะห์ และคานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี

เกยี่ วข้องกับการเคลื่อนที่ของวัตถุใน ๖๑-๖๔

สถานการณต์ ่าง ๆ โดยใชก้ ฎการอนรุ ักษ์

พลังงานกล

หนว่ ย เวลา รวม กลาง ปลาย
การ ชอื่ (ชว่ั โมง) ภาค ภาค
เรียนรู้ หน่วย ผลการเรยี นรู้ คะแนน หน่วย
ที่
ย่อย

อธบิ ายการทางาน ประสิทธิภาพและการ

๑๕ งานและ ได้เปรยี บเชงิ กลของเคร่อื งกลอย่างงา่ ยบาง ๖๕-๖๘ ๓ ๒ ๒
พลังงาน ชนดิ โดยใชค้ วามรเู้ รื่องงานและสมดลุ กล
รวมทั้งคานวณประสทิ ธภิ าพและการ

ไดเ้ ปรยี บเชิงกล

อธบิ าย และคานวณโมเมนตัมของวตั ถุ

และการดลจากสมการและพ้ืนทใี่ ตก้ ราฟ

๑๖ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กบั เวลา ๖๙-๗๒ ๘ ๕ ๓

โม รวมทั้งอธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างแรงดล

เมนตมั กบั โมเมนตัม

และการ ทดลอง อธิบายและคานวณปรมิ าณต่าง ๆ

ชน ทีเ่ กี่ยวกับการชนของวัตถุในหนง่ึ มิตทิ ั้ง

๑๗ แบบยืดหยนุ่ ไม่ยดื หยุ่น และการดดี ตัว ๗๓-๘๐ ๓ ๒ ๑

แยกจากกนั ในหนง่ึ มติ ิซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการ

อนุรกั ษโ์ มเมนตมั

รวม ๘๐ ๑๐๐ ๖๐ ๑๐ ๓๐


Click to View FlipBook Version