The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suneerat.psr, 2021-11-05 03:08:06

3

3

ชุดการสอน1ที่ 3
เรื่อง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

1

ชดุ การสอน2ที่ 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

คานา

ชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 3 เรื่องเสียงและ
การได้ยิน ชุดนี้เป็น “ชุดการสอนที่ 3 เรื่องความเข้มเสียงและระดับเสียงจัดทาขึ้นเพ่ือใช้
ประกอบการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ของโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง เพื่อให้
เป็นไปตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และเป็นไปตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ท่ีมุ่งเน้นให้การจัดการจัดการเรียนรู้ โดยผู้เรียนทุกคน
สามารถพฒั นาตนเอง สรา้ งความหมายของส่ิงท่ีตนเองเรียนรู้ได้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานที่
ทุกเวลา เน้นการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของแต่ละคน ซึ่งผู้จัดทาได้รวบรวมและเรียบเรียงจาก
หนังสือ คู่มือ ตารา รวมท้ังสืบค้นความรู้จากอินเตอร์เน็ตต่าง ๆ รวมท้ังมีการนาคาศัพท์
ภาษาองั กฤษเพอ่ื เป็นการฝกึ ให้ผู้เรียนไดเ้ รียนร้คู าศพั ท์และเป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่
อาเซียน โดยแต่ละชุดการสอนน้ันผู้จัดทาได้จัดทาคาแนะนาการใช้ชุดการสอนไว้อย่างละเอียด
รวมท้ังหมด 9 ชดุ ได้แก่

ชุดการสอนที่ 1 ธรรมชาติและสมบตั ขิ องเสียง
ชุดการสอนที่ 2 อัตราเรว็ ของเสยี งและการเคลื่อนท่ีของเสียงผ่านตวั กลาง
ชุดการสอนที่ 3 ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง
ชดุ การสอนท่ี 4 มลภาวะของเสียงและหูกับการได้ยนิ
ชดุ การสอนท่ี 5 ระดับสูงต่าของเสียงและคุณภาพเสยี ง
ชุดการสอนที่ 6 ความถี่ธรรมชาตแิ ละการส่ันพ้องของเสียง
ชดุ การสอนท่ี 7 การบตี และคลนื่ นง่ิ ของเสียง
ชดุ การสอนที่ 8 ปรากฎการณ์ดอปเพลอร์และคลนื่ กระแทก
ชดุ การสอนท่ี 9 การประยกุ ต์ความรเู้ รอื่ งเสียงและการได้ยิน

ชุดการสอนเลม่ นี้สาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดกี เ็ พราะได้รบั การสง่ เสริมสนับสนุนและข้อเสนอแนะ
เพอื่ แกไ้ ขข้อบกพร่องต่าง ๆ จากผบู้ ริหาร ผู้เช่ียวชาญเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาวิชาและ
ภาษาที่ใช้ ขอขอบพระคณุ เป็นอย่างยิ่งไว้ ณ โอกาสนี้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการสอนนี้จะ
เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนและครูผู้สอน และได้แนวคิดในการนาไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้บรรลุตามเป้าหมาย และวัตถุประสงคข์ องหลักสตู รเปน็ อย่างดี

สนุ รี ตั น์ ชชู ่วย

2

ชดุ การสอน3ท่ี 3
เรอื่ ง ความเข้มเสียงและระดับเสียง

สารบญั

เรอื่ ง หนา้
คานา ก
สารบัญ ข
สารบญั รปู ภาพ ค
สารบัญตาราง ง
คาชีแ้ จงเกย่ี วกับชุดการสอน 1
คาชแ้ี จงสาหรบั ครู 2
คาชี้แจงสาหรบั นักเรียน 3
ผลการเรยี นรู้และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 5
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 6
บัตรเน้ือหา เรอ่ื งความเข้มเสียงและระดบั เสียง 9
บัตรคาถาม 15
บัตรฝกึ ทกั ษะ 17
แบบทดสอบหลงั เรยี น 19
บรรณานกุ รม 22
ภาคผนวก 23
เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลงั เรียน 24
25
เฉลยบตั รคาถาม 27
เฉลยบตั รฝกึ ทกั ษะ 28
แบบบนั ทกึ คะแนนแบบทดสอบก่อน - หลงั เรียน 29
แบบบันทกึ ผลการประเมินด้านความรู้

3

สารบญั ภาพ ชุดการสอน4ท่ี 3
ภาพที่ เรอื่ ง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

1 อเล็กซานเดอ เกรแฮม เบล หน้า
2 ตัวอยา่ งอปุ กรณว์ ัดระดบั เสยี ง 11
12

4

ตารางที่ สารบัญตาราง ชดุ การสอน5ท่ี 3
1 ระดับเสียงจากแหลง่ กาเนดิ ต่าง ๆ เร่อื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง

หน้า
12

5

ชุดการสอน6ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสียงและระดับเสียง

คาชแ้ี จงเกี่ยวกบั ชุดการสอน

1.ชุดการสอนชุดน้ีเป็นชุดการสอนท่ี 3 เรื่องความเข้มเสียงและระดับเสียง วิชาฟิสิกส์
เพมิ่ เติม 3 รหัสวชิ า ว 30203 ใชส้ อนนักเรยี นระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5

2. ชุดการสอนชุดนี้ประกอบด้วย
2.1 คาช้แี จงเกี่ยวกับชดุ การสอน
2.2 คาชแ้ี จงสาหรบั ครู
2.3 คาชแ้ี จงสาหรบั นกั เรยี น
2.4 แบบทดสอบก่อนเรยี น
2.5 บัตรเนอ้ื หา
2.6 บัตรคาถาม
2.7 บตั รฝกึ ทักษะ
2.8 แบบทดสอบหลงั เรยี น
2.9 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลงั เรยี น
2.10 เฉลยบัตรคาถาม
2.11 เฉลยบัตรฝกึ ทักษะ

3. ชดุ การสอนท่ี 3 เรือ่ งความเขม้ เสยี งและระดับเสียง ใช้เวลาในการศกึ ษา 2 ชว่ั โมง

6

ชดุ การสอน7ท่ี 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

คาช้ีแจงสาหรับครู

1. ครเู ตรยี มวัสดอุ ปุ กรณจ์ ดั ชั้นเรียนใหพ้ รอ้ ม
2. ครศู กึ ษาเน้ือหาทีจ่ ะสอนใหล้ ะเอียดและศึกษาชุดการสอนใหร้ อบคอบ
3. กอ่ นสอนครูตอ้ งเตรยี มชดุ การสอนไวบ้ นโต๊ะให้เรียบร้อยและใหเ้ พียงพอกับนกั เรียนใน
แต่ละกลุ่มใหไ้ ดร้ บั คนละ 1 ชุด ยกเว้นส่อื การสอนทต่ี อ้ งใช้รว่ มกันท้งั กลุ่ม
4. ครูเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และวัดผลประเมินผลให้เป็นไปตามลาดับขั้นตอน
ทก่ี าหนดไว้
5. การสอนแบ่งออกเป็น 5 ข้ัน คือ ข้ันสร้างความสนใจ ข้ันสารวจและค้นหา
ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ ข้ันขยายความรู้ และข้นั ประเมิน
6. ก่อนสอนครูต้องช้ีแจงให้นักเรียนศึกษาการเรียนด้วยชุดการสอน ต้ังแต่คาช้ีแจง
เก่ียวกับชุดการสอน คาชี้แจงสาหรับครู คาช้ีแจงสาหรับนักเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน บัตร
เนือ้ หา บัตรคาถาม บตั รฝกึ ทักษะ แบบทดสอบหลงั เรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
เฉลยบัตรคาถาม เฉลยบตั รฝึกทักษะ
7. ขณะที่นักเรียนทุกกลมุ่ ปฏิบตั ิกจิ กรรม ครไู ม่ควรพูดเสียงดงั หากมีอะไรจะพดู ต้องพูด
เปน็ รายกลมุ่ หรือรายบุคคล ตอ้ งไมร่ บกวนกิจกรรมของนักเรียนกลมุ่ อนื่
8. ขณะท่นี ักเรยี นปฏิบัติกิจกรรม ครตู ้องเดนิ ดูการปฏบิ ัติกจิ กรรมของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
อย่างใกล้ชดิ หากมีนักเรียนคนใดหรือกลุม่ ใดมีปัญหา ครูควรจะเขา้ ไปใหค้ วามชว่ ยเหลอื จนปัญหา
นั้นจนคล่คี ลาย
9. เม่อื ปฏิบัตกิ ิจกรรมเสร็จ ครตู ้องเน้นใหน้ กั เรียนเก็บชุดการสอนของตนไวใ้ นสภาพ
เรยี บรอ้ ย หา้ มถือตดิ มือไปด้วย
10. การสรุปบทเรยี นควรจะเปน็ กิจกรรมรว่ มของกลุ่ม หรอื ตวั แทนกลุ่มรว่ มกนั

7

ชุดการสอน8ท่ี 3
เร่อื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

คาชแ้ี จงสาหรบั นกั เรยี น

บทเรียนที่นักเรียนใช้อยู่นี้เรียกว่า ชุดการสอนเป็นบทเรียนท่ีสร้างขึ้นเพ่ือให้นักเรียน
สามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ และสามารถแก้ปัญหาจาก
สถานการณ์ท่ีกาหนดให้อย่างมีขั้นตอน โดยนักเรียนจะได้รับประโยชน์จากชุดการสอนตาม
จดุ ประสงคท์ ตี่ ัง้ ไว้ด้วยการปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาต่อไปนอ้ี ยา่ งเครง่ ครัด

1. นกั เรยี นอ่านคาชแี้ จงสาหรบั นกั เรียนให้เขา้ ใจก่อนลงมือศกึ ษาชุดการสอน
2. นักเรยี นอ่านผลการเรยี นรู้และจุดประสงคก์ ารเรียนรู้กอ่ นลงมอื ศึกษาชดุ การสอน
3. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อลงในแบบบันทกึ แบบทดสอบ
ก่อน -หลงั เรียนท่คี รแู จกให้ และนาส่งครูเมอ่ื ทาเสร็จ
4. นกั เรียนศึกษาบัตรเนอื้ หา เรอื่ งความเข้มเสยี งและระดับเสยี งดว้ ยความต้ังใจ ทาบัตร
คาถาม บัตรฝึกทกั ษะ
5. ตรวจเฉลยบัตรคาถาม บัตรฝกึ ทักษะ โดย

5.1 รับบตั รเฉลยคาถามและเฉลยบตั รฝึกทักษะจากครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งให้คะแนน
ตามเกณฑ์

5.2 ส่งบัตรคาถามและบัตรฝกึ ทักษะหลังจากทาเสรจ็ และตรวจสอบความถูกต้องให้
เรียบรอ้ ยแลว้ ส่งใหค้ รู

6. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนลงในชดุ แบบบนั ทึกแบบทดสอบหลังเรยี นที่ครแู จกให้
7. ตรวจสอบแบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบหลงั เรียน โดย

7.1 รบั เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรยี น ตรวจสอบความถูกต้อง
ใหค้ ะแนนขอ้ ละ 1 คะแนน

7.2. ส่งแบบบนั ทึกแบบทดสอบหลังเรียน หลังจากทาแบบทดสอบหลังเรียนเสร็จและ
ตรวจใหค้ ะแนนเรยี บร้อยแล้วที่ครู

8

ชดุ การสอน9ท่ี 3
เร่อื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง
8. นกั เรียนแต่ละคนในกลุม่ แจ้งคะแนนของแบบทดสอบก่อนเรียน บตั รคาถาม บัตรฝึก
ทกั ษะ และแบบทดสอบหลังเรยี นของตนเองให้เลขานกุ ารกล่มุ บนั ทึกลงในแบบบนั ทึกผลการเรยี น
กล่มุ เพอ่ื สรุปส่งต่อไป
9. นกั เรยี นท่ดี ตี ้องซ่ือสตั ยต์ ่อตนเองไมค่ วรเปิดดเู ฉลยก่อนทจ่ี ะใช้ความสามารถด้วยตนเอง
10. ถา้ นักเรียนสงสัยหรอื ไม่เขา้ ใจในเนื้อหาใหท้ บทวนใหม่ ถ้ายงั ไม่เขา้ ใจอีกให้สอบถาม
จากครู

9

ชุดการสอ1น0ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสียงและระดับเสียง

ผลการเรยี นรแู้ ละจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

ผลการเรยี นรู้

สืบคน้ อธบิ าย บอกความสมั พันธเ์ กีย่ วกับความเข้มเสียง ระดับเสียง ระดับสูงต่าของเสียง
คุณภาพเสียง มลภาวะของเสียง หูกับการได้ยิน เวลาก้องเสียงและคานวณหาปริมาณต่าง ๆ
ทเี่ กีย่ วข้องพรอ้ มทั้งนาความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

จุดประสงค์การเรยี นรู้ เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถ

1. อธิบายความหมายของความเขม้ เสยี งและระดบั เสียงได้
2. บอกความสัมพนั ธร์ ะหว่างความเข้มเสยี งและระดบั เสยี งและคานวณหาปริมาณต่าง ๆ
เมอ่ื กาหนดสถานการณท์ ่เี ก่ยี วขอ้ งได้อยา่ งถูกต้อง
3. แสดงความเป็นคนมวี ินยั เข้าเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องและมี
ความตั้งใจ อดทนในการเรียนเรือ่ งความเข้มเสยี ง ระดบั เสียงไดอ้ ย่างเหมาะสม
4. มคี วามสามารถในการสื่อสารและนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเขม้ เสียงและ
ระดบั เสยี งไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั ได้

ก่อนเรียนมีความร้เู ท่าไร
ไปทาแบบทดสอบก่อนเรยี นนะครับ

10

ชดุ การสอ1น1ที่ 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

เร่อื ง ความเขม้ เสยี งและระดบั เสยี ง

คาชแ้ี จง 1. แบบทดสอบชดุ น้เี ป็นแบบทดสอบปรนัย 4 ตวั เลือก จานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน

2. ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถกู ต้องแล้วทาเครอื่ งหมายกากบาท (X) ทับหน้าข้อ ก, ข, ค
และ ง ลงในแบบบันทึกแบบทดสอบก่อน – หลังเรยี น
1. ขอ้ ความต่อไปน้ี

1. ระดับเสยี ง เปน็ สิ่งทาใหท้ ราบวา่ เสยี งดงั หรือเสยี งเบา
2. ความเข้มเสียง เปน็ สิง่ ท่ีทาให้ทราบวา่ เสยี งดังหรือเสียงเบา
3. ความดังของเสียงขึน้ กับกาลังของแหล่งกาเนดิ เสียงและระยะหา่ งจากแหล่งกาเนดิ เสียง
ขอ้ ความใดกลา่ วถูกต้อง
ก. ข้อ 1, 2
ข. ขอ้ 1, 3
ค. ข้อ 2, 3
ง. ข้อ 1, 2 และ 3
2. ข้อความใดต่อไปนี้
1. เสียงที่หูคนปกตริ ับฟงั ได้อยทู่ ร่ี ะดบั 0 – 120 เดซิเบล
2. เสยี งเบาที่สดุ ที่หมู นษุ ยเ์ ร่ิมไดย้ ินอยู่ท่ี 10- 12 วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร
3. เสียงดังทส่ี ดุ ที่หมู นุษย์ทนฟังได้อยู่ท่ี 1 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
ข้อความใดกลา่ วถูกต้อง
ก. ข้อ 1, 2
ข. ขอ้ 1, 3
ค. ขอ้ 2, 3
ง. ข้อ 1, 2 และ 3

11

ชุดการสอ1น2ท่ี 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

3. ข้อความต่อไปน้ี
1. การได้ยินของหคู นเรานน้ั ขึ้นอยูก่ ับระดบั เสียงเท่าน้นั
2. ชอ่ งเลก็ ๆ ท่ตี ิดต่อกบั หลอดลมซงึ่ ทาหนา้ ที่ปรบั ความดันอากาศทั้งสองด้านของแก้วหู

ให้สมดลุ ตลอดเวลาอยู่ที่หูส่วนกลาง
3. คอเคลยี จะอยใู่ นหสู ่วนในทาหนา้ ทรี่ บั รูก้ ารสน่ั ของคลื่นเสียงทผ่ี ่านมาจากหสู ว่ นกลาง

พรอ้ มกบั ส่งสัญญาณการรับรู้ไปยงั สมอง
ข้อความใดกลา่ วถูกต้อง

ก. ข้อ 1, 2
ข. ข้อ 1, 3
ค. ข้อ 2, 3
ง. ขอ้ 1, 2 และ 3

4. ถ้าเราเปิดวทิ ยเุ ครื่องหน่งึ ไวใ้ นที่โลง่ กลางสนามแล้วเดนิ เขา้ ไปหาจากจุดท่ีไม่ไดย้ ินเสยี งจนไดย้ นิ
เสียงดังท่สี ุดทเ่ี ราได้ยินเสยี งดังขน้ึ เป็นผลมาจากปริมาณใดของเสยี งเพ่ิมข้ึน

ก. ระดบั เสียง
ข. ความถเี่ สียง
ค. คณุ ภาพเสยี ง
ง. ความเขม้ เสียง

5. เมื่อยืนหา่ งจากแหล่งกาเนิดเสยี ง 10 เมตรจะตอ้ งเดนิ ห่างจากจดุ เดิมกเี่ มตร จงึ จะไดย้ ินเสียงทีม่ ี
ความเขม้ เปน็ 1/9 เทา่ ของความเข้มเสียงเดมิ

ก. 14 เทา่ ของความเขม้ เสียงเดมิ
ข. 16 เทา่ ของความเข้มเสยี งเดมิ
ค. 20 เท่าของความเขม้ เสียงเดิม
ง. 24 เท่าของความเข้มเสียงเดมิ

6. ความเขม้ เสยี งตา่ ทสี่ ดุ ทหี่ คู นปกตไิ ด้ยินมีคา่ เท่าไร
ก. 10-12 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
ข. 1 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
ค. 120 วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร
ง. 1012 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร

12

ชุดการสอ1น3ที่ 3
เรือ่ ง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง

7. จงหาว่าที่ระยะหา่ งจากแหลง่ กาเนิดเสียง 5 เมตร จะได้ยนิ เสียงกว่ี ัตตต์ อ่ ตารางเมตร ถา้ ท่รี ะยะห่าง
จากแหล่งกาเนิดเสียง 10 เมตร ได้ยินเสยี ง 10- 7วตั ต์ต่อตารางเมตร

ก. 4 x 10 – 6 วัตตต์ ่อตารางเมตร
ข. 4 x 10 – 7 วัตตต์ อ่ ตารางเมตร
ค. 4 x 10 – 8 วัตตต์ ่อตารางเมตร
ง. 4 x 10 – 9 วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร
8. ชายคนหน่ึงยืนห่าง 1 เมตรจากวิทยุท่ีกาลังเปิดเสียงอยู่ เขาได้ยินเสียง 10 – 10 วัตต์ต่อตารางเมตร
เขาจะตอ้ งเดินออกไปจากตาแหน่งทีย่ ืนกเ่ี มตร จงึ จะเรมิ่ ไมไ่ ดย้ ินเสียงวิทยุ
ก. 9 เมตร
ข. 10 เมตร
ค. 99 เมตร
ง. 100 เมตร

9. ไดย้ ินเสยี งตะโกนสดุ เสยี งจากคนในกลุม่ วัดระดับความเข้มเสียงได้ 40 เดซิเบล ถ้าให้คน 10 คน
ในกลุ่มตะโกนสดุ เสยี งเช่นกันพรอ้ มกนั จะได้ยนิ เสียงที่มีระดบั ความเข้มก่เี ดซเิ บล

ก. 20 เดซิเบล
ข. 30 เดซิเบล
ค. 40 เดซิเบล
ง. 50 เดซิเบล

10. เม่อื ผสู้ งั เกตเดินห่างออกจากแหลง่ กาเนิดเสยี งความเข้มเสยี งที่เขาไดย้ นิ จะเป็นอย่างไร
ก. เทา่ เดิม
ข. เพิ่มขึน้
ค. ลดลง
ง. คา่ มากน้อยสลบั กันไป

13

ชดุ การสอ1น4ท่ี 3
เร่อื ง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

เรอื่ ง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุที่เป็นแหล่งกาเนิดเสียงและในการทาให้วัตถุสั่นจาต้องใช้
พลังงาน ถ้าพลังงานที่ใช้มีค่ามากแอมพลิจูดของการส่ันก็มีค่ามากและถ้าใช้พลังงานน้อยแอมพลิจูด
ของการส่ันก็จะน้อยตามไปด้วยพลังงานการส่ันของต้นกาเนิดเสียงจะถูกถ่ายโอนให้แก่โมเลกุลของ
อากาศที่อยู่รอบ ๆ แหล่งกาเนิดเสียงซึ่งพลังงานจะถูกถ่ายโอนผ่านโมเลกุลของอากาศต่อกันไปถึงหู
ผู้ฟังทาให้แก้วหูสั่นสะเทือนเป็นผลให้ผู้ฟังได้ยินเสียงการได้ยินเสียงของผู้ฟังขึ้นกับปัจจัยหลาย
ประการ ซง่ึ จะศึกษาต่อไป

ความเขม้ ของเสียง (sound intensity )

เมื่อแหล่งกาเนิดเสียงส่ันพลังงานจากการส่ันจะถูกถ่ายโอนต่อ ๆ กันมาผ่านโมเลกุลของ
อากาศจนกระท่งั ถึงหผู ฟู้ ังทาใหผ้ ู้ฟังได้ยินเสียง เสียงที่หูได้ยินอาจจะดังหรือเบาก็ได้ข้ึนอยู่กับพลังงาน
ของเสยี งท่ีหูผู้ฟงั ไดร้ ับ

อัตราการถ่ายโอนพลังงานเสียงของแหล่งกาเนิด คือ ปริมาณพลังงานเสียงท่ีส่งออกจาก
แหล่งกาเนิดเสียงในหนึ่งหน่วยเวลาซึ่งเรียกว่า กาลังเสียง (power of a sound wave) ในระบบ
เอสไอใชห้ น่วยกาลังเสยี งเป็นจูลตอ่ วนิ าที หรือวัตต์ ผฟู้ งั จะได้ยินเสยี งจากแหล่งกาเนิดเสียงท่ีมีกาลัง
เสียงมากดังกว่าแหล่งกาเนิดเสียงท่ีมีกาลังเสียงน้อย ในกรณีที่ผู้ฟังอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดเสียงท้ัง
สองเทา่ กนั

ตามปกติคล่ืนน้าจากแหล่งกาเนิดคล่ืนท่ีเป็นจุดจะแผ่หน้าคล่ืนออกจากแหล่งกาเนิดคล่ืน
เป็นรปู วงกลม สาหรับคล่ืนเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงที่เป็นจุดอาจพิจารณาได้ว่าหน้าคลื่นจะแผ่ออกเป็นรูปทรง
กลม โดยมีจุดกาเนิดคลื่นเสียงอยู่ที่ศูนย์กลางของทรงกลมน้ัน ดังน้ันหน้าคล่ืนทรงกลมที่อยู่ไกลจาก
จุดกาเนดิ คล่ืนเสยี งยอ่ มมีพ้นื ทม่ี ากกว่าหน้าคลนื่ ทรงกลมที่อยใู่ กล้

14

ชดุ การสอ1น5ท่ี 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสียงและระดับเสียง

กาลังเสียงทแี่ หล่งกาเนดิ เสยี งส่งออกไปต่อหน่งึ หนว่ ยพน้ื ทข่ี องหน้าคล่ืนทรงกลม เรียกว่า

ความเข้มเสียง (indensity of sound wave) ถ้ากาหนดให้กาลังเสียงจากแหล่งกาเนิดมีค่าคงตัว

สามารถเขยี นความสมั พันธไ์ ดว้ า่

I = P
A
P
I = 4R2

เมื่อ I คอื ความเข้มของเสียง ณ ตาแหนง่ ต่าง ๆ มหี นว่ ย วัตต์ต่อตารางเมตร (w/m2)

P คือ กาลงั ของเสียงจากแหล่งกาเนิดเสยี ง มหี นว่ ย วัตต์ (w)

R คือ ระยะระหวา่ งแหล่งกาเนิดเสยี งกับตาแหน่งที่จะหาความเข้มเสียง

มหี นว่ ย เมตร (m)

A คอื พ้นื ท่ขี องเสียงท่ีตกต้ังฉากกับแหลง่ กาเนิด มีหนว่ ย ตารางเมตร (m2)

ดังนั้น พน้ื ทๆี่ เสยี งตกตง้ั ฉากกค็ ือ พน้ื ที่ผวิ ทรงกลม ซึง่ มีพ้ืนท่ี เทา่ กบั 4R2

จะได้ I  1
R2
ความรู้เพมิ่ เติม

ความเขม้ เสียง ณ ตาแหน่งตา่ ง ๆ จะลดลงตามระยะทางกาลังสอง เมื่อตาแหน่งนน้ั ๆ อยู่

หา่ งไกลจากแหลง่ กาเนิดเสยี งมากข้ึน จากผลการทดลองเก่ียวกับการได้ยินของคนปกตพิ บวา่

ความเข้มเสยี งสงู สดุ ทีม่ นษุ ย์ไดย้ ิน (เสยี งดัง) 1 วัตตต์ ่อตารางเมตร

ความเขม้ เสยี งต่าสดุ ทมี่ นุษยไ์ ด้ยิน (เสยี งเบา) 10- 12 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร

ตัวอย่างที่ 1 ชายคนหน่ึงขณะอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิด 3 เมตร จะได้ยินเสียงมีความเข้ม 10- 8

วัตต์ตอ่ ตารางเมตร แหล่งกาเนดิ เสยี งมีกาลังเสยี งกี่วตั ต์

วิธที า จาก I = P
4R2
P = 4R2 I

แทนค่า P = 4(3 )2 ( 10- 8 )

P = 4(9 ) ( 10- 8 )

P = 36x10- 8 วตั ต์

ตอบ แหล่งกาเนิดเสียงมกี าลังเสียงเทา่ กบั 36x10- 8 วัตต์

15

ชดุ การสอ1น6ที่ 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

เม่ือหูไม่สามารถใช้เป็นมาตรฐานในการวัดความเข้มของเสียงได้ จึงมีการวัดความเข้มของเสียงดัง
สมการและตัวอยา่ งข้างตน้

ระดบั เสยี ง (sound level)

เมื่อหาอัตราส่วนระหว่างความเข้มเสียงที่ดังที่สุดที่มนุษย์ทนฟังได้กับความเข้มเสียงเบา
ที่สุดท่ีมนุษย์ได้ยินมีค่ามากถึง 1012 ดังน้ันเพ่ือความสะดวกในทางปฏิบัติ จึงนิยมใช้ ระดับเสียง
(sound level) เป็นปริมาณท่ีบอกความดังของเสียงแทน ความเข้มเสียง และเป็นเกียรติแก่
อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล ดังภาพที่ 13.1 ระดับเสียงและมีหน่วยเรียกว่า เบล แต่เน่ืองจาก
เบลเป็นหน่วยที่ใหญ่เกินไป ไม่สามารถบอกความละเอียดที่จะบอกค่าความดังของเสียงต่าง ๆ
ได้ จงึ แบง่ เปน็ หน่วยย่อยลงไป เรยี กว่า เดซเิ บล (dB)

ภาพท่ี 1 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล
ที่มา: จอฮน์ ดบั เบลิ ยู. จีเวท (2547: 451)
มนุษย์สามารถได้ยินเสียงท่ีมีความดังท่ีระดับเสียงต้ังแต่ 0 – 120 เดซิเบล เสียงท่ีดัง
มากเกินไปอาจทาใหห้ ูหนวกได้ เชน่ เสยี งฟา้ ผ่าใกล้ ๆ ตัวท่ีมีค่าความดังเกิน 120 เดซิเบล เป็นต้น
เสียงทีม่ คี วามดงั ไม่มากแต่ไดย้ นิ เปน็ เวลานานหลายช่ัวโมงก็อาจเป็นอนั ตรายได้ เช่น เสียงเคร่ืองจักร
ในโรงงานอุตสาหกรรมมลภาวะทางเสียง องค์การอนามยั โลกจึงกาหนดวา่ เสียงที่ปลอดภยั ตอ้ งมี
ความเขม้ ไม่เกิน 85 เดซิเบล เมือ่ ต้องได้ยนิ ติดตอ่ กันวันละ 8 ชั่วโมงขึ้นไป เสียงท่ีดังไม่ถึงขั้นเป็น
อันตรายกับหู แต่อาจมีผลกระทบทางด้านจิตใจได้ เช่น ทาให้เกิดความเครียด ไม่มีสมาธิ เป็นต้น
ดังตารางท่ี 1

16

ชุดการสอ1น7ที่ 3
เร่อื ง ความเข้มเสียงและระดับเสียง

ตารางที่ 1 ระดับเสียงจากแหลง่ กาเนิดตา่ ง ๆ ระดับเสียง ผลการรบั ฟงั
( เดซิเบล , dB )
แหล่งกาเนิด แทบจะไม่ได้ยิน
10 เงียบมาก
การหายใจปกติ 30 เงียบ
การกระซบิ แผว่ เบา 50 ปานกลาง
สานกั งานทเ่ี งยี บ 60 ดงั
การพูดคุยธรรมดา 75 ดงั
เครอ่ื งดดู ฝุน่ 80
โรงงานท่ัวไป , ถนนทม่ี ีการจราจรหนาแน่น 90 รบั ฟงั บอ่ ย ๆการได้ยนิ
เครอ่ื งเสียงสเตอริโอในห้อง , เครื่องเจาะถนนแบบ 90 จะเสอ่ื มอยา่ งถาวร
อดั ลม 100
เครอ่ื งตดั หญา้ 120 ไม่สบายหู
ดิสโกเ้ ธค การแสดงดนตรปี ระเภทร็อค 130
ฟา้ ผา่ ระยะใกล้ 150 เจ็บปวดในหู
เคร่ืองบนิ ไอพ่นกาลังข้นึ ทีร่ ะยะใกล้ 180 แก้วหูชารุดทนั ที
จรวดขนาดใหญก่ าลงั ข้นึ ทีร่ ะยะใกล้

ท่มี า: สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (2554: 75)

ภาพท่ี 2 ตวั อย่างอปุ กรณว์ ดั ระดบั เสยี ง
ทีม่ า: บริษทั คอมคิวบ์ จากัด (2555)

17

ชุดการสอ1น8ท่ี 3
เรือ่ ง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง

เราสามารถเขียนความสัมพนั ธร์ ะหว่างความเขม้ เสียงกบั ระดบั เสยี ง () ไดด้ งั นี้

 = 10 log I

I0

เมือ่  คอื ระดบั เสียง มหี นว่ ย เดซิเบล (dB)
I คือ ความเข้มของเสยี งใดๆทต่ี อ้ งการวดั มีหน่วย วตั ต์ต่อตารางเมตร (w/m2 )
I0 คอื ความเขม้ เสียงอา้ งองิ ที่มนุษยเ์ ริม่ ไดย้ ินเทา่ กับ 10- 12 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร (w/m2 )

ตัวอยา่ งที่ 2 หน้าตา่ งแห่งหน่ึงมีคล่นื เสยี งผ่านวัดระดับเสียงได้ 80 เดซเิ บล จงหาวา่ ขณะน้ันมี
ความเขม้ ของเสยี งกี่วัตต์ต่อตารางเมตร

วธิ ที า จาก  = 10 log I

I0

แทนคา่ 80 = 10 log I
=
10-12
10 ( log I – log 10-12 )

80 = 10 ( log I – (-12)log 10 )

80 = log I + 12
10 log I
8 – 12 =

-4 = log I
10- 4 =
I

I = 10- 4 วตั ตต์ อ่ ตารางเมตร
ตอบ คลน่ื เสยี งขณะท่ีผา่ นหนา้ ต่างมคี วามเข้มของเสยี งเท่ากับ 10- 4 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร

18

ชดุ การสอ1น9ท่ี 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสียงและระดับเสียง

ตวั อยา่ งที่ 3 เด็ก 1 คนรอ้ งวัดระดับเสยี งได้ 80 เดซิเบล ถ้าเด็ก 10 คนร้องพร้อมกนั จะวดั ระดับ

เสียงได้กีเ่ ดซิเบล

วธิ ที า 1-2 = 10 log I
I0
1-80 =
10 log 10I0
I0

1-80 = 10

1 = 10+80

1 = 90

ตอบ ถา้ เด็ก 10 คนร้องพร้อมกนั จะวดั ระดับความเข้มเสยี งได้ 90 เดซิเบล

ตัวอยา่ งที่ 4 จดุ หน่งึ เสียงจากเครือ่ งจักรมรี ะดบั เสียงวัดได้ 50 เดซเิ บล จงหาความเข้มเสยี งจาก
เคร่อื งจักร ณ จดุ นัน้ กาหนดให้ความเข้มเสียงทีเ่ รมิ่ ไดย้ ินเปน็ 10-12 วตั ต์ต่อตารางเมตร

วิธที า จาก  = 10 log I

I0

แทนค่า 50 = 10 log I
=
10-12
10 ( log I – log 10-12 )

50 = 10 ( log I – (-12)log 10 )

50 = log I + 12
10 log I
5 – 12 =

-7 = log I
10- 7 =
I

I = 10- 7 วัตตต์ อ่ ตารางเมตร

ตอบ ความเขม้ ของเสียง ณ จดุ น้นั เท่ากับ 10- 7 วตั ตต์ ่อตารางเมตร

19

ชดุ การสอ2น0ที่ 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง

เรื่อง ความเขม้ เสยี งและระดับเสยี ง

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเตมิ คา หรือข้อความลงในชอ่ งวา่ งให้ถกู ต้อง ขอ้ ละ 1 คะแนน
1. กาลังเสยี งหมายถึงอะไร
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
2. ความเขม้ เสยี งหมายถงึ อะไร
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
3. ระดับเสียงหมายถึงอะไร
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
4. เดซเิ บลเขยี นย่อ dB เป็นหน่วยทีต่ งั้ ข้นึ เพื่อเปน็ เกยี รตแิ ก่ใคร
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
5. ปริมาณใดของเสียงท่ีทาให้ทราบว่าเสียงดงั หรอื เสียงเบา
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
6. ถา้ เราเปิดลาโพงไวก้ ลางสนามแล้วเดนิ ห่างออกไปจาลาโพงเร่อื ย ๆ เสยี งท่ีได้ยนิ จากลาโพงจะเป็น
อยา่ งไร
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

20

ชุดการสอ2น1ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง
7. เสียงเบาท่ีสุดทีห่ ูมนุษย์สามารถไดย้ ินมีความเขม้ เสียงเท่าใด
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
8. เสียงดงั ทสี่ ดุ ทีห่ มู นุษย์สามารถทนฟัง โดยไม่เปน็ อนั ตรายต่อแก้วหมู ีความเข้มเสียงเท่าใด
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
9. เสยี งเบาทีส่ ดุ ท่ีหูมนุษย์สามารถได้ยินมรี ะดับเสียงเท่าใด
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...
10. เสียงดงั ทีส่ ุดทหี่ มู นุษย์สามารถทนฟงั โดยไมเ่ ปน็ อันตรายต่อแก้วหมู รี ะดบั เสียงเทา่ ใด
ตอบ……………………………….………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………...

21

ชดุ การสอ2น2ท่ี 3
เรื่อง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

เรอ่ื ง ความเขม้ เสยี งและระดับเสียง

ตอนที่ 1 ใหน้ ักเรยี นทาเครอ่ื งหมาย / หนา้ ข้อทถี่ กู และทาเครือ่ งหมาย  หนา้ ขอ้ ทผี่ ดิ
ขอ้ ละ 0.5 คะแนน
……1. ความเข้มเสียง เปน็ สิ่งทท่ี าใหท้ ราบว่าเสยี งดังหรอื เสียงเบา
……2. ระดบั เสียงเปน็ สิ่งทาให้ทราบว่าเสยี งดงั หรือเสียงเบา
……3. ความดงั ของเสยี งขนึ้ กับกาลงั ของแหล่งกาเนดิ เสยี งและระยะหา่ งจากแหลง่ กาเนิดเสียง
……4. เสยี งเบาทีส่ ดุ ท่ีหูมนุษย์เรม่ิ ไดย้ นิ อย่ทู ่ี 10- 12 วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร
……5. เสยี งดังท่ีสุดทีห่ ูมนุษย์ทนฟังได้อยู่ท่ี 1 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
……6. ระดับเสยี งที่หูคนปกตริ ับฟังไดอ้ ยทู่ ่ีระดบั 0 – 120 เดซิเบล
……7. ความเข้มเสียงมีค่าเท่ากบั กาลงั เสียงต่อพน้ื ทที่ ี่คลืน่ เสียงนั้นตกกระทบ
……8. ระดบั เสยี ง 1 เบลมคี ่า 10 เดซิเบล
……9. ความเข้มเสียง ณ ตาแหน่งตา่ ง ๆ จะลดลง เม่ืออยู่ใกลแ้ หล่งกาเนิด
……10. ถ้าเราเปดิ วิทยเุ คร่ืองหนงึ่ ไว้ในทโ่ี ลง่ กลางสนามแล้วเดินเขา้ ไปหาจากจดุ ท่ีไม่ได้ยินเสยี ง จนได้
ยินเสยี งดงั ท่ีสุดท่เี ราไดย้ นิ เสียงดงั ขึ้นเปน็ ผลมาจากความเข้มของเสยี งเพ่ิมขน้ึ

ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรียนแสดงวิธที า ขอ้ ละ 2.5 คะแนน
1. เสียงผ่านหน้าต่างในแนวตั้งฉากมีค่าความเข้มเสียงท่ีผ่านหน้าต่างเฉล่ยี 1x104 วัตต์ต่อ
ตารางเมตร หน้าต่างกว้าง 80 เซนติเมตร สูง 150 เซนติเมตร กาลังเสียงที่ผ่านหน้าต่างมีค่า
เทา่ ใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

22

ชดุ การสอ2น3ท่ี 3
เร่อื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง
2. เสียงจากไวโอลีน 1 ตัวจะมรี ะดบั เสียงได้ 50 เดซิเบล ถา้ สไี วโอลนี 10 ตัวพร้อมกนั จะวัด
ระดับเสียงได้กเี่ ดซิเบล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

23

ชุดการสอ2น4ที่ 3
เร่ือง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

เรอ่ื ง ความเขม้ เสียงและระดับเสยี ง

คาช้ีแจง 1. แบบทดสอบชุดนีเ้ ปน็ แบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน

2. ให้นักเรียนเลอื กคาตอบที่ถูกต้องแล้วทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ทบั หนา้ ข้อ ก, ข, ค
และ ง ลงในแบบบันทกึ แบบทดสอบก่อน – หลงั เรียน

1. เมอ่ื ผ้สู งั เกตเดินห่างออกจากแหล่งกาเนดิ เสียงความเข้มเสียงทเี่ ขาไดย้ นิ จะเป็นอยา่ งไร
ก. เทา่ เดมิ
ข. เพม่ิ ข้ึน
ค. ลดลง
ง. ค่ามากน้อยสลับกนั ไป

2. ความเข้มเสียงตา่ ที่สุดท่หี ูคนปกตไิ ด้ยนิ มีคา่ เทา่ ไร
ก. 10-12 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
ข. 1 วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร
ค. 120 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร
ง. 1012 วัตต์ตอ่ ตารางเมตร

3. ชายคนหนึ่งยืนห่าง 1 เมตร จากวิทยุท่ีกาลังเปิดเสียงอยู่ เขาได้ยินเสียง 10 – 10 วัตต์ต่อ
ตารางเมตร เขาจะตอ้ งเดินออกไปจากตาแหนง่ ทย่ี นื กเ่ี มตร จึงจะเริ่มไม่ไดย้ ินเสยี งวทิ ยุ

ก. 9 เมตร
ข. 10 เมตร
ค. 99 เมตร
ง. 100 เมตร

24

ชุดการสอ2น5ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

4. ถา้ เราเปิดวทิ ยุเครื่องหนึ่งไว้ในท่โี ล่งกลางสนาม แล้วเดนิ เขา้ ไปหาจากจดุ ท่ีไม่ไดย้ นิ เสียง จนไดย้ นิ
เสียงดังทีส่ ุด ทเ่ี ราได้ยนิ เสียงดังข้นึ เปน็ ผลมาจากปริมาณใดของเสียงเพ่ิมขน้ึ

ก. ระดบั เสียง
ข. ความถ่เี สยี ง
ค. คุณภาพเสยี ง
ง. ความเขม้ เสียง

5. ขอ้ ความต่อไปน้ี
1. ระดบั เสียง เป็นส่งิ ทาใหท้ ราบวา่ เสียงดงั หรือเสยี งเบา
2. ความเขม้ เสยี ง เปน็ สิง่ ท่ีทาให้ทราบว่าเสยี งดงั หรอื เสียงเบา
3. ความดงั ของเสยี งขน้ึ กับกาลงั ของแหลง่ กาเนิดเสียงและระยะห่างจากแหล่งกาเนิดเสียง

ข้อความใดกลา่ วได้ถูกต้อง
ก. ขอ้ 1, 2
ข. ขอ้ 1, 3
ค. ข้อ 2, 3
ง. ข้อ 1, 2 และ 3

6. เมอื่ ยืนห่างจากแหลง่ กาเนิดเสียง 10 เมตร จะต้องเดินหา่ งจากจุดเดิมกเี่ มตร จงึ จะไดย้ ินเสยี งทม่ี ี
ความเข้มเป็น 1/9 เทา่ ของความเข้มเสยี งเดมิ

ก. 14 เท่าของความเขม้ เสียงเดิม
ข. 16 เทา่ ของความเขม้ เสียงเดิม
ค. 20 เท่าของความเขม้ เสียงเดิม
ง. 24 เทา่ ของความเข้มเสียงเดิม

7. ได้ยนิ เสียงตะโกนสดุ เสยี งจากคนในกลุ่มวดั ระดับความเข้มเสียงได้ 40 เดซิเบล ถ้าให้คน 10 คน
ในกลุม่ ตะโกนสุดเสยี งเชน่ กันพร้อมกัน จะได้ยนิ เสยี งท่ีมีระดับความเขม้ กี่เดซเิ บล

ก. 20 เดซิเบล
ข. 30 เดซิเบล
ค. 40 เดซิเบล
ง. 50 เดซิเบล

25

ชุดการสอ2น6ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง

8. ขอ้ ความต่อไปน้ี
1. เสียงที่หูคนปกติรบั ฟงั ได้อยูท่ ร่ี ะดบั 0 – 120 เดซิเบล
2. เสยี งเบาที่สุดทห่ี มู นุษย์เริ่มได้ยนิ อยู่ที่ 10- 12 วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร
3. เสียงดงั ทสี่ ุดท่ีหมู นุษย์ทนฟังได้อยู่ท่ี 1 วตั ต์ตอ่ ตารางเมตร

ขอ้ ความใดกล่าวได้ถูกตอ้ ง
ก. ขอ้ 1, 2
ข. ข้อ 1, 3
ค. ขอ้ 2, 3
ง. ขอ้ 1, 2 และ 3

9. ข้อความต่อไปน้ี
1. การได้ยินของหคู นเราน้ันขึ้นอยู่กับระดบั เสยี งเท่าน้นั
2. ช่องเล็ก ๆ ทต่ี ดิ ต่อกบั หลอดลม ซงึ่ ทาหนา้ ทป่ี รับความดันอากาศท้ังสองดา้ นของแก้วหู

ให้สมดุลตลอดเวลาอยู่ทีห่ สู ่วนกลาง
3. คอเคลียจะอยู่ในหูส่วนในทาหน้าท่ีรบั รกู้ ารสน่ั ของคลื่นเสียงท่ีผ่านมาจากหูส่วนกลาง

พรอ้ มกบั สง่ สัญญาณการรบั รู้ไปยังสมอง
ขอ้ ความใดกล่าวได้ถูกตอ้ ง

ก. ขอ้ 1, 2
ข. ขอ้ 1, 3
ค. ข้อ 2, 3
ง. ขอ้ 1, 2 และ 3

10. จงหาว่าที่ระยะห่างจากแหล่งกาเนิดเสียง 5 เมตร จะได้ยินเสียงก่ีวัตต์ต่อตารางเมตร
ถา้ ทร่ี ะยะหา่ งจากแหล่งกาเนิดเสียง 10 เมตร ไดย้ ินเสยี ง 10- 7 วตั ตต์ อ่ ตารางเมตร

ก. 4 x 10 – 6 วตั ตต์ ่อตารางเมตร
ข. 4 x 10 – 7 วตั ต์ต่อตารางเมตร
ค. 4 x 10 – 8 วตั ต์ต่อตารางเมตร
ง. 4 x 10 – 9วตั ตต์ อ่ ตารางเมตร

26

ชดุ การสอ2น7ที่ 3
เรื่อง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

บรรณานุกรม

กฤตนัย จนั ทรจตุรงค์. (ม.ป.ป.). ฟสิ กิ ส์:เรอื่ งที่ 11 เสยี งและการไดย้ นิ ฉบับช่วยสอบเขา้
มหาวิทยาลัยท่รี บั ตรง & โควตา & PAT 2 สาหรบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4-6.
นนทบุรี : ธรรมบณั ฑติ .

คอมควิ บ์, บริษทั . (2555). ตัวอย่างอุปกรณ์วดั ระดับความเข้มเสยี ง. สบื คน้ เมือ่ วันที่ 22
มกราคม, 2555, จาก http://www.doyouknow.in.th

จารึก สวุ รรณรตั น์. (2555). คมู่ อื ฟิสิกส์ ม.4-6 เล่ม 3 รายวชิ าเพ่ิมเตมิ . กรงุ เทพมหานคร :
เดอะบุคส.์

เฉลมิ ชัย มอญสขุ า. (2554). ฟิสกิ ส์เสรมิ การเรียนฟสิ ิกส์เพมิ่ เตมิ ชัน้ ม.4-6 เล่ม 3.
กรงุ เทพมหานคร : เดอะบุคส์.

ชว่ ง ทมทิตชงค์ และคณะ. (ม.ป.ป.). ตะลุยโจทย์ข้อสอบฟสิ ิกส์ ม.5 เล่มรวมเทอม 1-2.
กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ไฮเอด็ พบั ลชิ ชง่ิ .

ธีรศานต์ ปรุงจติ วทิ ยาภรณ์. (ม.ป.ป.). ฟิสิกส์ ม.5 เลม่ 2 ฉบับศึกษาดว้ ยตนเอง. นนทบุรี :
ธรรมบณั ฑิต.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2553). แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช์ มุ นุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
. (2553). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั .

สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย,ี สถาบัน. (2550). หนังสือเรียนสาระการเรยี นรู้
พ้ืนฐานและเพิ่มเติม ฟสิ กิ ส์ เลม่ 2. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรสุ ภา.
. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเตมิ ฟสิ ิกส์ เล่ม 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์
ครุ สุ ภาลาดพร้าว
. (2554). ค่มู อื ครู รายวิชาเพิม่ เตมิ ฟิสกิ ส์ เล่ม 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพรา้ ว

Jewett, Jr. J. W. and Serway, R. A. ( 2004). Physics for Scientists and Engineers
with PhysicsNOW and InfoTrac. Six edition. Thomson Brooks/Cole.

27

ชุดการสอ2น8ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสียงและระดับเสยี ง

ภาคผนวก

28

ชดุ การสอ2น9ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

เรื่อง ความเข้มเสยี งและระดบั เสยี ง

ข้อ เฉลยกอ่ นเรยี น เฉลยหลงั เรยี น

1. ค. ค.

2. ข. ก.

3. ข. ก.

4. ค. ง.

5. ก. ค.

6. ข. ค.

7. ง. ง.

8. ค. ง.

9. ก. ค.

10. ข. ข.

29

ชดุ การสอ3น0ท่ี 3
เรอื่ ง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

เร่ือง ความเขม้ เสียงและระดบั เสียง

คาชแี้ จง ข้อละ 1 คะแนน
1. กาลงั เสียง หมายถงึ อะไร
แนวการตอบ ปริมาณพลังงานเสียงทส่ี ง่ ออกมาจากแหลง่ กาเนดิ เสยี งในหนงึ่ หน่วยเวลา
2. ความเข้มเสียง หมายถึง อะไร
แนวการตอบ กาลังเสียงทแี่ หล่งกาเนิดเสียงส่งออกไปต่อหน่ึงหน่วยพนื้ ทข่ี องหนห้าคล่ืนทรงกลม
3. ระดับเสยี ง หมายถึง อะไร
แนวการตอบ ปริมาณทีบ่ อกความดังของเสียงแทนความเข้มเสยี ง
4. เดซิเบล เขียนยอ่ dB เป็นหนว่ ยท่ีต้ังขึน้ เพื่อเป็นเกียรตแิ กใ่ คร
แนวการตอบ อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล
5. ปริมาณใดของเสยี งท่ที าให้ทราบว่าเสียงดังหรอื เสียงเบา
แนวการตอบ ความเข้มเสยี ง
6. ถ้าเราเปิดลาโพงไวก้ ลางสนามแล้วเดนิ หา่ งออกไปจาลาโพงเร่ือย ๆ เสยี งที่ไดย้ นิ จากลาโพงจะเป็น
อย่างไร
แนวการตอบ เราจะไดย้ นิ เสียงดงั มากในกรณีที่อยใู่ กล้ลาโพงและเสยี งจะคอ่ ย ๆ เบาลงเมอ่ื ระยะทาง
หา่ งจากลาโพงออกไป
7. เสียงเบาท่ีสุดทหี่ ูมนษุ ย์สามารถไดย้ ินมีความเข้มเสียงเท่าใด
แนวการตอบ 10-12 วัตต์ต่อตารางเมตร
8. เสียงดงั ท่สี ดุ ทห่ี มู นุษย์สามารถทนฟัง โดยไมเ่ ปน็ อันตรายต่อแก้วหมู ีความเข้มเสยี งเท่าใด
แนวการตอบ 1 วัตตต์ ่อตารางเมตร

30

ชุดการสอ3น1ท่ี 3
เร่ือง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง
9. เสียงเบาท่สี ดุ ท่หี ูมนษุ ย์สามารถได้ยินมีระดับเสียงเท่าใด
แนวการตอบ 0 เดซิเบล
10. เสยี งดงั ทีส่ ดุ ทีห่ ูมนุษย์สามารถทนฟงั โดยไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ แก้วหมู รี ะดับเสยี งเทา่ ใด
แนวการตอบ 120 เดซิเบล

31

ชดุ การสอ3น2ที่ 3
เรอื่ ง ความเข้มเสียงและระดับเสียง

เรื่อง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง

ตอนที่ 1 ขอ้ ละ 0.5 คะแนน

ข้อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
คาตอบ X / / / / / / / X /

ต1ห.อนเคสนา้ ายีตขทตง่า้อ่ี อผง2่าบกนว้าหขงนอ้ ้าล18Xตะ.0่า2งใเ.5ซนนแนตค2/ิเวะ.มตแต้งันรฉนากสมูง3/ีค.1่า5ค0วามเซ4เ/ขน.้มตเิเสมยี ตงรท5/ี่ผ.ก่าานลหงั นเส้า6ยี/ต.ง่าทงี่ผเฉา่ ลน่ยีห7/น1. า้xต10่าง-4มีค8ว/.่าัตเตทต์ ่าอ่ใดตา9Xร.างเมต1ร/0.

แนวการตอบ

I= P
4R2
P
1x10-4 =
PI == 10x.81x041-4.P5Rx02.8x1.5

P1x10-4 == 1.2xP10-4 วตั ต์
ตอบ กาลังเสยี งท่ผี ่านหนา้ ต่างมคี ่า 1.2x10-4 0ว.ตั 8ตx์1.5

2. เสยี งจากไวโอลีน 1 ตัวจะมรี ะดบั เสยี งได้ 50 เดซิเบล ถา้ สีไวโอลีน 10 ตัวพร้อมกันจะวัดระดบั เสยี ง

ได้กี่เดซิเบล

แนวการตอบ 1-2 = 10 log I
1-50 =
1-50 = I0

10 log 10I0

I0

10

1 = 10+50

1 = 60

ตอบ ถ้าสไี วโอลนี 10 ตวั พร้อมกนั จะวัดระดบั เสียงได้ 60 เดซิเบล

32

ชดุ การสอ3น3ที่ 3
เรือ่ ง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

แบบบนั ทึกแบบทดสอบก่อน - หลงั เรยี น

ชื่อ...........................สกลุ .........................ชัน้ ............เลขที่.......

กระดาษทดสอบก่อนเรียน ง. กระดาษทดสอบหลงั เรียน
ขอ้ ก. ข. ค. ขอ้ ก. ข. ค. ง.
1. 1.
2. 2.
3. 3.
4. 4.
5. 5.
6. 6.
7. 7.
8. 8.
9. 9.
10. 10.

8 - 10 คะแนน เกณฑ์การประเมนิ ดี
5 - 7 คะแนน ระดบั คุณภาพ 3 หมายถึง พอใช้
น้อยกว่า 5 คะแนน ระดับคุณภาพ 2 หมายถงึ ควรปรบั ปรงุ
ระดับคุณภาพ 1 หมายถงึ
ประเมนิ ผล หลังเรียน
คะแนนเต็ม สรุปผลการประเมนิ 10
คะแนนทไ่ี ด้ ก่อนเรียน
ระดับคุณภาพ 10

33

ชุดการสอ3น4ที่ 3
เร่อื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสียง

แบบบันทกึ ผลการประเมินด้านความรู้

ผ้บู ันทกึ ( ) ครู ( ) นกั เรยี น ( ) อ่นื ๆ.......................................

คาชี้แจง ให้สมาชิกในกลุ่มแจ้งคะแนนของแบบทดสอบหลังเรียน บัตรคาถาม บัตรฝึกทักษะ
ของตนเอง ใหเ้ ลขากลมุ่ บนั ทกึ ผลลงในแบบบนั ทกึ น้ี

ชอ่ื – สกุล การประเมนิ ดา้ นความรู้ รวม
บัตรคาถาม บตั รฝกึ ทักษะ แบบทดสอบ (30คะแนน)
(10คะแนน) (10 คะแนน) หลังเรียน

(10 คะแนน)

ลงชอ่ื ............................................ผบู้ นั ทึก
.................../................./...................

เกณฑ์การตัดสินการผา่ นดา้ นความรู้

เกณฑ์การตดั สิน/ บัตรคาถาม บตั รฝกึ ทักษะ แบบทดสอบ
รายการ หลงั เรยี น
รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 70 ร้อยละ 70
ผา่ น ขึ้นไป ขน้ึ ไป ขน้ึ ไป

34

ชดุ การสอ3น5ท่ี 3
เรอ่ื ง ความเข้มเสยี งและระดับเสยี ง

35


Click to View FlipBook Version