The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านเมืองปัง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jansudaleepongkul, 2022-04-25 23:43:36

รายงานSARปี2564

รายงานการประเมินตนเอง SAR ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านเมืองปัง

Keywords: SAR

1



บทสรปุ สำหรับผบู้ รหิ าร

โรงเรียนบ้านเมอื งปงั ต้งั อยทู่ ่ี ๑๒๐ หมู่ ๑ ตำบลอุ่มจาน อำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวดั อดุ รธานี

สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ เปิดสอนตั้งแต่ชนั้ อนบุ าล ๒ ถงึ
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีบุคลากรสายบริหาร จำนวน ๑ คน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำนวน ๑๔ คน
ไดด้ ำเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ตามกฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑
และมีผลการดำเนินงานดังนี้

๑. ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา

๑.๑ การศึกษาปฐมวัย

ด้าน ระดบั คุณภาพ

๑. คุณภาพของเดก็ ดเี ลิศ

๒. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลิศ

๓. การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เปน็ สำคญั ดีเลศิ

๑) ผลการดำเนินงาน

โรงเรยี นบ้านเมอื งปงั จดั การเรยี นการสอนระดับปฐมวยั มีนักเรยี นชั้นอนบุ าลปที ่ี ๒ - ๓
รวม 37 คน ครผู สู้ อน ๒ คน จดั ทำรายงานการประเมินคุณภาพตนเอง (SAR) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 เสนอต่อ
หน่วยงานตน้ สังกดั และหน่วยงานอื่น ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดบั ดเี ลิศ

๒) จุดเด่น

ดา้ นคณุ ภาพของเดก็

1. เด็กมพี ัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั ที่ ดี และดูแลความปลอดภยั
ของตนเองได้ ร้อยละ ๑๐๐ ดว้ ยโครงการโรงเรียนส่งเสรมิ สขุ ภาพ ส่งผลใหเ้ ดก็ ร้อยละ ๑๐๐ สขุ ภาพ

รา่ งกายแข็งแรง มสี ขุ นิสยั ที่ดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้
2. เด็กปฐมวัยมพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง

อารมณไ์ ด้ รอ้ ยละ ๑๐๐ สังเกตไดจ้ ากการกลา้ พูด กลา้ แสดงออก รจู้ กั เข้าแถว รอคิว ในการรบั ประทาน
อาหาร รู้จักหน้าทรี่ ับผิดชอบ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายท้งั ในและนอกห้องเรียน ตามเขตพื้นท่รี ับผิดชอบ ร่าเริง
แจม่ ใสด้วยโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม

3. เดก็ ปฐมวัยมีพฒั นาดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกทีด่ ีของสงั คม
ไดร้ ้อยละ ๑๐๐ สังเกตได้จากการชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ตั ิกจิ วัตรประจำวัน รจู้ ักเก็บสงิ่ ของเครื่องใช้

ทงั้ ของสว่ นตวั และส่วนรวม ร้จู ักยิ้ม ทักทาย อยู่เป็นนจิ อย่รู ่วมกบั ผู้อนื่ ได้อยา่ งมคี วามสขุ ดว้ ยโครงการ
โรงเรียนคุณธรรมและกิจกรรมวนั สำคัญทางศาสนา

4. เดก็ ปฐมวัยมีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มที ักษะการคดิ พนื้ ฐาน และ

แสวงหาความรู้ได้ คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ ดว้ ยโครงการโครงงานบ้านวิทยาศาสตรน์ อ้ ย โครงการจดั การเรียน



การสอนตามแนว STEM ศึกษา โครงการจัดการเรียนการสอนตามแนวไฮสโคป

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

๑.โรงเรียนมีหลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน สอดคล้องกบั บริบท
ของทอ้ งถ่นิ ผลจากการดำเนนิ งานพัฒนา คือ โรงเรยี นบ้านเมืองปงั มีหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช
๒๕๖๐ ทีม่ ีการจดั ประสบการณ์ทมี่ ุ่งเนน้ การเตรียมความพรอ้ มไม่เรง่ รัดวิชาการสอดคล้อง กบั วถิ ชี ีวิครอบครวั
ชุมชน และทอ้ งถ่ิน ด้วยโครงการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย

๒.ดา้ นการจดั ครใู ห้เพยี งพอต่อช้ันเรียนโรงเรยี นบา้ นเมอื งปงั ไดม้ ีการจัดครทู ี่
เหมาะสมกับการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ มคี รูประจำการทีจ่ บการศกึ ษาปฐมวัย และครผู ่าน การอบรม
ทางด้านการดแู ลเด็กปฐมวยั โรงเรียนบ้านเมืองปังไดส้ ง่ บคุ คลากรเขา้ รับการอบรมเพือ่
พัฒนาศกั ยภาพอย่างตอ่ เนอ่ื ง จากโครงการพฒั นาบุคลากร สง่ ผลให้โรงเรยี นบ้านเมืองปงั มคี รูเพยี งพอ
ต่อชั้นเรยี นดว้ ยโครงการพัฒนาบคุ ลากร

๓.โรงเรียนส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชยี่ วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ คือ ครผู ู้สอน
ระดบั ปฐมวยั ร้อยละ ๑๐๐ มีความเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ สามารถจัดกจิ กรรมพัฒนาการและ
การเรียนรูน้ ักเรยี นได้อยา่ งรอบด้าน ดว้ ยโครงการโครงการพัฒนาบคุ ลากรกจิ กรรมPLC
กิจกรรมการประชมุ สัมมนา และกจิ กรรมประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร

๔.โรงเรียนมหี อ้ งเรยี นที่มีความปลอดภยั มีมมุ ประสบการณเ์ พ่อื สง่ เสริม
พฒั นาการการเรียนร้ขู องเดก็ ด้วยโครงการพัฒนาสอ่ื และแหล่งเรยี นรูป้ ฐมวัย และโครงการพัฒนาอาคาร
สถานที่ ส่งิ แวดล้อมและภูมิทศั น์

๕.ครผู ู้สอนระดับชัน้ ปฐมวยั รอ้ ยละ ๑๐๐ สามารถใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่อื การการเรยี นรู้เพื่อสนบั สนุนการจัดประสบการณ์ นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการจดั
ประสบการณจ์ ากสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศทที่ นั สมยั ด้วยโครงการพัฒนาสอื่ และแหลง่ เรียนรปู้ ฐมวัย

ด้านการจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ

๑.เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มีทกั ษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหา
ความรไู้ ด้ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ดว้ ยโครงการ Active Learning โครงการ STEM Education กิจกรรมสนกุ โคด้
สนกุ คิด

๒.เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติอยา่ งมีความสขุ ร้อยละ ๑๐๐ ดว้ ย
โครงการ Active Learning โครงการ STEM Education กิจกรรมสนุกโค้ดสนุกคดิ

๓.โรงเรยี นบา้ นเมอื งปงั มมี ุมประสบการณ์ และสอื่ เทคโนโลยีทีสง่ เสริมพัฒนาการ
การเรียนรู้ของเด็กด้วยโครงการพฒั นาสอ่ื และแหล่งเรียนรูป้ ฐมวยั และโครงการพัฒนาอาคารสถานที่
ส่ิงแวดลอ้ มและภูมทิ ัศน์

๔. เดก็ ปฐมวยั รอ้ ยละ ๑๐๐ มีพัฒนาการการอยา่ งสมดลุ โรงเรยี นมีเครือ่ งมอื วัด
และประเมนิ ผลท่หี ลากหลาย มีข้อมูลสารสนเทศเพอื่ นำไปใชป้ รับปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก
ดว้ ยโครงการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั



๓) จุดทีค่ วรพฒั นา

ดา้ นคุณภาพของเดก็

๑.จดั มมุ สำหรับผู้ปกครอง เพ่อื ใหค้ รแู ละผ้ปู กครองไดแ้ ลกเปล่ียนขอ้ มูลเกี่ยวกบั
เด็กทกุ คน และเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมสี ว่ นร่วมเสนอความคิดเหน็ เก่ยี วกบั การจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ

๒.เด็กบางคนสมาธสิ ั้น ไมส่ ารถอยู่น่งิ หรอื ทำงานที่ตอ้ งใช้ระยะเวลานานให้สำเรจ็
ทนั เวลา ควรเสรมิ กิจกรรมท่ีชว่ ยฝกึ สมาธิให้เดก็ เช่น การร้อยลกู ปัด การน่งั สมาธกิ อ่ นทำกิจกรรม เปน็ ต้น

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ

1. จัดครูให้เพยี งพอต่อชน้ั เรยี น โดยเสนอขอครูวชิ าเอกปฐมวัยในการวางแผน
อตั รากำลงั

2. ส่งเสริมให้ครมู ีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ อยา่ งตอ่ เน่ือง
พฒั นาระบบการนเิ ทศภายใน

3. เพิ่มงบประมาณในการจดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพือ่ การเรียนรู้
ดา้ นการจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสำคญั

1) จัดอุปกรณส์ ่ือการเรียนการสอนที่หลากหลาย
2) พัฒนาเครือ่ งเลน่ สนามและระบบสาธารณูปโภค
3) จดั กิจกรรมส่งเสริมเดก็ เรียนรู้การอยรู่ ่วมกัน

๔) ขอ้ เสนอแนะ

ดา้ นคณุ ภาพของเด็ก

-
ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

- ประสานความรว่ มมือให้ผ้ปู กครองมีส่วนร่วมมากขึ้น
ดา้ นการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคญั

- ประสานความรว่ มมือให้ผู้ปกครองมสี ว่ นร่วมมากขนึ้

๕) หลกั ฐานสนับสนุนผลการดำเนินงาน
โรงเรียนบา้ นเมอื งปงั มีเอกสาร หลกั ฐาน สนับสนุนผลการดำเนนิ งาน ระดับการศึกษาปฐมวยั

เช่น แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ๒๕๖4 รายงานประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยปีการศกึ ษา ๒๕๖4
รายงานโครงการโครงงานบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อยประเทศไทย รายงานกจิ กรรมPLCระดับอนุบาล

๖) แนวทางการพัฒนาให้ได้ระดับคุณภาพท่สี ูงขึ้น
โรงเรียนบา้ นเมืองปงั ไดม้ ีแนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพ ระดับการศกึ ษาปฐมวัย

ให้ไดร้ ะดบั คณุ ภาพกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้
๑. โครงการระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น
๒. โครงการ PLC พฒั นาทกั ษะการคิดนักเรียนปฐมวัย
๓. โครงการบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ ้อยแห่งประเทศไทย



๔. โครงการจดั การเรียนการสอนตามแนวไฮสโคป
๕. โครงการสารสัมพนั ธ์โรงเรียนและผู้ปกครอง

๖. โครงการพฒั นาส่ือและแหลง่ เรียนรู้
๗. โครงการพัฒนา อาคาร สถานท่ี สิง่ แวดลอ้ มและภูมทิ ศั น์

๘. โครงการ Active Learning
๙. โครงการ STEM Education
๑๐.กจิ กรรมสนุกโค้ดสนุกคิด

๑๑.โครงการพัฒนาเครื่องมอื วัดและประเมินผลพฒั นาการนักเรียนปฐมวัย

๑.๒ ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

ด้าน ระดบั คุณภาพ

๑. คุณภาพของผู้เรยี น ดีเยย่ี ม

๒. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเยย่ี ม

๓. กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ดีเยี่ยม

๑) ผลการดำเนินงาน

โรงเรียนบา้ นเมอื งปงั จดั การเรียนการสอนระดับประถมศึกษา มีนกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาท่ี ๑

ถงึ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ จำนวน 117 คน ครูผสู้ อน 10 คน จัดทำรายงานการประเมนิ คุณภาพของตนเอง
(SAR) ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 เสนอตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกัด และหน่วยงานอนื่ ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม
อยใู่ นระดับ ดีเยีย่ ม

๒) จุดเดน่
ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี น

๑.ประเดน็ ภาพความสำเรจ็ ด้านคณุ ภาพผูเ้ รียนสถานศึกษามกี ารวิเคราะห์ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นและได้กำหนดเปน็ เป้าหมายทางการเรียนโดยใชข้ อ้ มลู ฐาน ๓ ปียอ้ นหลงั เป็นเปา้ หมาย
คุณภาพนักเรียนใหพ้ ัฒนาสงู ขนึ้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏบิ ัติ เน้นทกั ษะในการอ่าน การเขยี น

และการคิดคำนวณ สง่ เสริมผ้เู รยี นให้พัฒนาเตม็ ศักยภาพ จดั แหลง่ เรียนรภู้ ายในให้เหมาะสม มีสอ่ื
ด้านเทคโนโลยีทีท่ ันสมยั จดั กิจกรรมให้ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ดี มีความกลา้ แสดงออก

และสามารถอยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ื่นอย่างมคี วามสุข เน้นทักษะการทำงานรว่ มกนั ทำให้นกั เรียนมีทกั ษะในการอ่าน
การเขียน การส่อื สาร และการคดิ คำนวณเปน็ ไปตามเกณฑท์ ีโ่ รงเรียนกำหนดในแตร่ ะดบั ช้นั จากการประเมิน
นักเรียนทม่ี ีเกรดเฉล่ยี ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นแต่ละรายวชิ าในระดบั ๓ ข้ึนไป ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถงึ

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 รอ้ ยละ 85.๒6 นักเรียนทมี่ ีผลการประเมินการอ่าน
คดิ วเิ คราะห์ และเขียนในระดบั ดีขน้ึ ไประดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 รอ้ ยละ ๙๓.๗๒ นักเรียนท่ีมีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ของผู้เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
ในระดบั ผ่านข้ึนไป ร้อยละ ๑๐๐ นักเรียนที่มผี ลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลาง



การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4 ของผู้เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓
ในระดับผ่านข้ึนไป ร้อยละ ๑๐๐ ดว้ ยโครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษา โครงการอา่ นออก เขียนได้
อา่ นคล่องเขยี นคล่อง โครงการเด็กพเิ ศษเรียนรวม โครงการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
โครงการส่งเสรมิ การจดั การเรียนรสู้ ะเตม็ ศกึ ษา (STEM) โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม
และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปอ้ งกนั การทุจริต” (โรงเรยี นสุจริต) โครงการพฒั นาหอ้ งสมุด E-Library
โครงการโรงเรียนสะอาดมีบรรยากาศเรยี นรู้ โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพนกั เรียน โครงการสง่ เสรมิ และ
พฒั นากจิ กรรมนกั เรยี น

๒.ด้านคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผ้เู รียน นกั เรียนผา่ นการประเมนิ คุณลักษณะ
อันพึงประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ครบทงั้ ๘ ข้อ ไดแ้ ก่ รักชาติ ศาสน์
กษตั ริย์ ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง มงุ่ มั่นในการทำงาน รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ
คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ นกั เรียนประพฤติปฏิบัติตนตามคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ที่เป็นจุดเนน้ ที่ส่งผลตอ่
เอกลักษณข์ องสถานศึกษา คอื โรงเรียนวิถพี ทุ ธ โครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล
ในสถานศึกษา “ป้องกนั การทุจริต” (โรงเรยี นสจุ รติ ) ไดค้ รบทกุ ข้อ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ ผู้เรียน เป็น
ผมู้ คี ณุ ธรรม เปน็ ผ้มู ีความซอ่ื สตั ย์สจุ รติ เหน็ ไดจ้ ากการเกบ็ เงนิ หรอื สิ่งของมีคา่ ไดแ้ ล้วนำมาสง่ คืน ไม่มี
การลกั ขโมยในหอ้ งเรียน มีระเบยี บวินยั จนเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา เปน็ ทีย่ อมรบั ของ ชุมชน
โดยรอบในเรือ่ งความมวี นิ ัย เคารพกฎกตกิ า มารยาทของสังคม ได้แก่ การเข้าควิ ซอ้ื อาหาร การคดั แยกขยะ
ทิง้ ขยะได้ถกู ประเภท

ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. โรงเรียนมีการกำหนดมาตรฐาน เปา้ หมาย วิสยั ทัศน์และพนั ธกิจสอดคลอ้ งกับ
สภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นาของสถานศกึ ษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความตอ้ งการของชุมชน
ท้องถิน่ และสอดคล้องกับแนวทางการปฏริ ปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ มีนวัตกรรม รูปแบบ การบรหิ าร
โรงเรยี นคณุ ภาพ APDRA model
2. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี โดยโครงการพฒั นาครู
ทง้ั ระบบคบวงจร ซึ่งประกอบดว้ ย กจิ กรรมท่ี ๑ กิจกรรมอบรมบุคลากร กจิ กรรมท่ี ๒ กิจกรรม PLC
ชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ โครงการนเิ ทศภายใน โครงการวิจัยในชน้ั เรียน
3. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือต่อการจดั การเรียนรูอ้ ย่างมี
คุณภาพโรงเรียนไดด้ ำเนิน โครงการโรงเรยี นสวยหอ้ งเรียนงาม โครงการซอ่ มแซมครภุ ันฑ์

ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ
ครูมคี วามตัง้ ใจ มุง่ มั่นในการพฒั นาการสอน โดยจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นได้เรียนรู้
ที่เนน้ ทกั ษะกระบวนการคดิ ได้ปฏบิ ตั จิ รงิ มกี ารให้วธิ ีการและแหลง่ เรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย ให้นกั เรยี นแสวงหา
ความรู้ จากสอื่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม
ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้โดยการดำเนนิ งาน โครงการ การจัดการเรยี นการสอน แบบ Active Learning
มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก มีการแลกเปลยี่ นเรยี นร้แู ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพอื่ พฒั นา
และปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรูโ้ รงเรยี นได้จดั ให้มโี ครงการพัฒนาบคุ ลากร กิจกรรม PLC



๓) จดุ ทค่ี วรพฒั นา

ด้านคุณภาพของผูเ้ รียน

๑) ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผเู้ รียน
๑.๑ การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ และการถ่ายทอด

ความคิดของนกั เรยี น เพิ่มผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกลมุ่ สาระคณิตศาสตร์ และผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
กล่มุ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและเทคโนโลยีให้สงู ขน้ึ

๑.๒ จดั กจิ กรรมด้านการอา่ น การเขยี น คำนวณให้กบั นักเรยี นเรยี นรว่ ม
เปรยี บเทียบความกา้ วหน้าและการพฒั นาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล

๒) ด้านคุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน
๒.๑ ผู้เรียนทุกระดับช้นั ยงั ตอ้ งไดร้ บั ส่งเสริมทกั ษะความเข้าใจ

และใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล ใหน้ ักเรยี นรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยีและสื่อสังคมออนไลนไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม
มีภมู คิ ุ้มกันตนเอง

๒.๒ ผูเ้ รยี นในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓
ยังต้องไดร้ บั การส่งเสริมในด้านทัศนคตทิ ่ีดีตอ่ ความเป็นไทย ความกตญั ญู ร้หู นา้ ทีข่ องตนเองใหม้ ากขึ้น
เพ่ือสรา้ งภูมิคุ้มกันชีวติ ใหก้ ับตนเอง สามารถจัดการกบั ภาวะความเครยี ดของตนเองได้อยา่ งถูกวิธี

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

๑. จดั หาบุคลากรท่มี ีความเช่ยี วชาญเฉพาะเพิม่ เตมิ เนอ่ื งจากโรงเรียน
ยงั ขาดครวู ชิ าเอกคณิตศาสตร์

๒. การบริหารจดั การดา้ นบุคลากรท่ีรบั ผดิ ชอบงาน/ กจิ กรรม/ โครงการ
ควรกระจายงานพเิ ศษในส่วนที่ตอ้ งรับผดิ ชอบปริมาณเท่ากนั หรือใกลเ้ คยี งกนั เพ่ือเพ่มิ ขวญั และ
กำลังใจใหก้ ับผู้ปฏิบัติงาน

๓. สร้างเครือข่ายความร่วมมอื ของผูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องในการจัดการศกึ ษา
ของโรงเรยี นให้มีความเข้มแข็ง เพื่อสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ และร่วมรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา
ร่วมกนั เพื่อขับเคลื่อน คุณภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน

ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
หลงั การประเมนิ ผลควรการใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลับแก่นักเรียนทนั ทเี พื่อนักเรยี นนำไปใช้

พัฒนาตนเอง
๔) ขอ้ เสนอแนะ

ดา้ นคุณภาพของผเู้ รยี น
-
ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ
-
ด้านกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
-



๕) หลกั ฐานสนบั สนุนผลการดำเนินงาน
โรงเรยี นบ้านเมืองปงั มเี อกสาร หลกั ฐาน สนบั สนุนผลการดำเนินงาน
ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน เช่น แผนกลยุทธป์ ระจำปี ๒๕๖๒ – ๒๕๖๖ แผนปฏิบตั ิการประจำปี ๒๕๖4
รายงานการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ Active Learning

๖. แนวทางการพฒั นาใหไ้ ด้ระดับคณุ ภาพทส่ี งู ข้ึน
โรงเรียนบ้านเมอื งปงั ไดม้ แี นวทางในการพฒั นาคณุ ภาพ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ให้ไดร้ ะดับคณุ ภาพที่สูงขน้ึ โดยกำหนดโครงการและกจิ กรรม ดังต่อไปนี้
1. โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษา
2. โครงการจัดการเรยี นรู้ Active Learning
3. โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม
4. โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดสารเสพตดิ และอบายมขุ
5. โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชีพ
6. โครงการพฒั นาครทู ั้งระบบครบวงจร ซ่งึ ประกอบดว้ ย

- กิจกรรมอบรมบุคลากร
- กจิ กรรม PLC ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ
7. โครงการนเิ ทศภายใน
8. โครงการวิจัยในช้นั เรยี น
9. โครงการโรงเรียนสวยห้องเรียนงาม
10.โครงการซอ่ มแซมครภุ นั ฑ์
11.โครงการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา



คำรับรองของคณะกรรมการสถานศึกษา
ดว้ ยโรงเรยี นบ้านเมอื งปัง ไดจ้ ัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง ฉบบั นี้ เพื่อเปน็ การรายงาน
ผลการดำเนนิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นบา้ นเมืองปัง ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ที่สอดคล้อง
กับสภาพปัญหาและความตอ้ งการจำเป็นของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสำเรจ็
อย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ซึ่งมีเปา้ หมายเพ่อื พฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ
และเพ่อื ใหก้ ารประกันคุณภาพการศกึ ษาเปน็ ไป อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและพฒั นาอย่างต่อเนื่อง
คณะกรรมการสถานศึกษามีความเหน็ ชอบในการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง ฉบบั นี้
ของโรงเรยี นบ้านเมอื งปัง ที่สะทอ้ นคุณภาพผู้เรยี น และผลสำเรจ็ ของการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
เพื่อเปน็ ประโยชนต์ ่อการนำไปใช้พัฒนาการศึกษาในปีการศกึ ษาต่อไป

(นายประภาส อำคา)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

โรงเรยี นบา้ นเมอื งปัง



คำนำ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นบา้ นเมืองปงั ฉบบั นี้
จดั ทำขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ้ 3 ระบุใหส้ ถานศึกษาจัดส่ง
รายงานผลการประเมินตนเองให้แกห่ น่วยงานต้นสงั กดั หรือหนว่ ยงานทก่ี ำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี
เพ่อื รายงานผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ซึง่ เป็นผลสำเรจ็ จากการบริหารจัดการศกึ ษาท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน
ได้แก่ คณุ ภาพของเดก็ กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสำคัญ
และระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรยี น กระบวนการบริหารและการจดั การ
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั เพอื่ นำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษา
ในรอบปที ผ่ี ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง ตลอดจนเผยแพร่ตอ่ สาธารณชนไดร้ ับทราบ
และเตรียมความพรอ้ มในการรับการประเมนิ ภายนอก โดยสำนกั งานรบั รองมาตรฐานการศกึ ษาและ
ประเมนิ คุณภาพการศึกษา(องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผ้ปู กครอง นักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และ
ผู้ทมี่ ีสว่ นเกย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยท่ีมสี ว่ นร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา
2564 ฉบบั นี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้
ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนบ้านเมืองปงั ในปีการศกึ ษา 2565 ตอ่ ไป

(นายไชยวัฒน์ ไกรราช)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นเมืองปงั

16 เมษายน 2565



สารบญั หน้า

เรอ่ื ง
บทสรุปสำหรบั ผบู้ รหิ าร. ข
คำรับรองของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ฎ
คำนำ 1-15
สารบญั 1
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา……………………………………………………………….……………. 3
4
1 ข้อมลู ทวั่ ไป………………………………………………………………………………………………………. 5
2 ขอ้ มูลผู้บริหาร…………………………………………………………………………………………..……… 7
3 ขอ้ มลู นกั เรยี น…………………………………………………………………………………………………… 8
๔ ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรยี น………………………………………………………….………… 8
๕ ขอ้ มูลครแู ละบุคลากร………………………………………………………………………………………… 8
๖ ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี………………………………………………………………………………………….. 9
๗ ขอ้ มลู งบประมาณ……………………………………………………………………………………………… 11
๘ ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม………………………………………………………………………………… 15
๙ โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา……………………………………………………………………………
๑๐ แหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ………………………………………………………………………… 21-51
๑๑ ผลงานดเี ดน่ ในรอบปที ี่ผา่ นมา………………………………………………………………………… 22
สว่ นท่ี 2 แนวทางการพฒั นาท่ีม่งุ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 23
และผลการพฒั นา 23
โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียนบ้านเมอื งปัง………………………………………………………… 23
๑ วสิ ัยทัศน์………………………………………………………………………….................................... 23
2 พนั ธกจิ …………………………………………………………………………....................................... 24
3 เอกลกั ษณ์ของโรงเรียน…………………………………………………........................................ 27
4 อัตลกั ษณ์…………………………………………………………………………................................... 27
๕ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาและค่าเป้าหมาย……………................................... 31
ระดับปฐมวยั 35
39
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ……………............................................................ 39
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ............................................ 44
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เป็นสำคญั .................................... 49
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน…………..........................................................
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ………………………………………
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ………..



สารบญั (ตอ่ )

เร่อื ง หน้า

ส่วนท่ี 3 สรปุ ผล และแนวทางการพฒั นา……………………………………………..…………….…………… 52-56

1 ระดบั ปฐมวัย………………………………………………………………………………………………..…. 52

2 ระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน……………………………………………………………………..…………. 54

ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………… 57-125

ภาคผนวก ก แตง่ ตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบระบบประกนั คุณภาพและ

ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4…………………………………………….. 58

ภาคผนวก ข สำเนาเกียรติบัตรผลงานสถานศึกษา………………………………………………….… 61

ภาคผนวก ค สำเนาเกยี รตบิ ตั รผลงานผู้อำนวยการสถานศกึ ษา…………………………..……… 65

ภาคผนวก ง สำเนาเกยี รติบตั รผลงานครแู ละบุคลากรทางการศึกษา…………………………… 70

ภาคผนวก จ ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รยี น (RT)

ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑…………………………………………………………..…… 75

ภาคผนวก ฉ ผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ผู้เรียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ขน้ั พน้ื ฐาน (NT) ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓……………………………………. 80

ภาคผนวก ช รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน O-Net

ปีการศึกษา 2562 – ปีการศึกษา 2563……………………………………..…… 83

ภาคผนวก ซ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนรรู้ ะดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีท่๓ี 100

ภาคผนวก ฌ ภาพกจิ กรรมการดำเนินงาน......................................................................... 110

ภาคผนวก ญ รายงานนวตั กรรมการเรยี นรู้………………………………………………………………. 118

ภาคผนวก ฎ รายงานโครงการตามแผนปฏิบตั ิราชการปี 2564..................................... 125

1

ตอนที่ ๑
๑. ขอ้ มลู ทัว่ ไป

ชอื่ สถานศึกษา: สถานศึกษาบ้านเมืองปงั ทอ่ี ย:ู่ เลขท่ี120 หมู่ที่ 1 บ้านดอนกลาง ตำบลอุ่มจาน
อำเภอประจักษศ์ ิลปาคม จังหวัดอดุ รธานี รหัสไปรษณีย์ 41110 เปิดสอน: ระดับช้ันอนบุ าลปีท่ี ๒
ถงึ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เน้อื ที่ 16 ไร่ 2 งาน 72 ตารางวา

ประวัตโิ รงเรียนโดยย่อ
โรงเรียนบา้ นเมืองปงั ต้งั ขนึ้ เมอื่ วนั ที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๖

ช่อื วา่ โรงเรยี นประชาบาล ประจำตำบลอ่มุ จาน เปิดสอนตงั้ แต่ช้ัน ป.๑ – ป.๔
โดยอาศยั ศาลาวัดบา้ นเมอื งปังเปน็ สถาน ท่ีเรียน มีครูสอน ๒ คน คอื นายสิงห์ ถาวร เป็นครูใหญ่
และนายภเู รยี น ทองแสน เป็นครูนอ้ ย

พ.ศ. ๒๔๗๙ นายสิงห์ ถาวร ย้ายไปเป็นครูใหญ่บ้านอนื่ นายพรม แสนประสทิ ธ์ิ
ย้ายมาเป็นครูใหญแ่ ทน พรอ้ มด้วยนางแจ่มจันทร์ แสนประสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๔๘๒
สรา้ งศาลาเอกเทศขนึ้ ด้วยความร่วมมือของชาวบา้ น เมอื งปัง ดอนกลาง ดอนคง โพนทอง พ.ศ.
๒๔๘๔ นายพรม แสนประสิทธิ์ ยา้ ยไปเปน็ ครูใหญ่ท่ีอ่นื พรอ้ มดว้ ยนางแจ่มจนั ทร์ แสนประสิทธ์ิ
นายอรณุ ขยนั ดี ย้ายมาเปน็ ครูใหญแ่ ทน พรอ้ มดว้ ยนางบัวลี ขยนั ดี นายเสาร์ จันทรเสนา เป็นครนู ้อย

พ.ศ. ๒๔๙๐ นายชารี สนิทชน ย้ายมาเป็นครใู หญแ่ ทน พร้อมดว้ ย นางวิเชียร สนทิ ชน
พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้ขออนญุ าตยา้ ยโรงเรยี นมาตงั้ ในท่ีทำเลปจั จบุ ัน ท่ดี นิ แปลงน้ีมเี นือ้ ทีด่ งั นี้

ทิศเหนอื ยาว ๓ เสน้ ๒ วา ๓ ศอก
ทศิ ใต้ ยาว ๓ เส้น ๘ วา ๑ ศอก
ทิศตะวนั ออก ยาว ๕ เสน้ ๒ วา ๓ ศอก
ทิศตะวนั ตก ยาว ๕ เส้น ๒ วา ๓ ศอก
คิดเปน็ เนื้อทท่ี งั้ หมด ๑๖ ไร่ ๒ งาน ๗๒ ตารางวา ทิศเหนอื และทิศตะวนั ตกสงวนไวเ้ ปน็
ถนน ๓ เมตรท่ดี นิ แปลงน้มี เี อกสารสิทธถ์ิ ือครอง คือ สค. ๑ เป็นหลักฐานมอบไวก้ บั อำเภอกุมภวาปีแลว้
พ.ศ. ๒๕๑๗ นายชารี เกษยี ณอายรุ าชการ นายเจียม วิเศยี รศาสตร์ เปน็ ครใู หญแ่ ทน
พ.ศ. ๒๕๑๘ มีการปรับปรงุ ซ่อมแซมอาคารเรยี น โดยอาศัยงบประมาณเงินผนั ของสภาตำบล อ่มุ จาน
เปน็ เงนิ ๓๖,๐๘๕ บาท และได้ตอ่ เตมิ ชนั้ ล่างอีก ๓ หอ้ งเรยี น เพ่ือแกป้ ญั หานักเรียนลน้ หอ้ งเรยี นมีครู ๖
คน นกั เรียน ๒๕๙ คน
พ.ศ. ๒๕๒๑ ไดร้ ับงบประมาณจาก สปช. สร้างอาคารหลังใหม่ แบบ ป.๑ ซ ๔ ห้องเรยี น ,
เปน็ เงนิ ๒๘๐,๐๐๐ บาท คราวนี้มีอาคารเรียน ๒ หลัง ๙ ห้องเรยี น ครู ๘ คน นักเรียน ๓๖๐ คน
เปดิ สอนตัง้ แต่ ป.๑ – ป.๖ พ.ศ. ๒๕๒๒ ไดร้ ับงบประมาณสร้างส้วม ๑ หลัง ๕ ที่ ถังน้ำ ฝ.๓๓ ๑ ชุด
โดยงบประมาณของ สส. ดำรง ดาราธรรม เป็นเงนิ ๔๐,๐๘๘ บาท พ.ศ. ๒๕๒๓
ได้รับงบประมาณสร้างถังนำ้ ฝน.๓๓ อีก ๑ ชุด โดยงบประมาณ สปช พ.ศ. ๒๕๒๔
ได้รบั งบประมาณสร้างโรงฝึกงาน ๑ หลงั จาก สปช. สภาตำบล อมุ่ จานได้ทำการขดุ สระน้ำทโ่ี รงเรียน

2

กวา้ ง ๕๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร ลึก ๒ เมตร พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้สรา้ งประตูโรงเรียน ๒ ช่อง
ฐานเสาธงพรอ้ มเสา ซือ้ เคร่อื งตัดหญา้ ตดิ ต้ังไฟฟ้าในโรงเรยี นโดยอาศยั เงนิ บริจาคของชาวบา้ น

พ.ศ. ๒๕๒๖ ไดร้ ับงบประมาณตอ่ เตมิ ชนั้ ล่างอาคารเรียนหลงั ใหม่ ๔ หอ้ งเรียน พ.ศ. ๒๕๒๙
นายเจยี ม วเิ ศียรศาสตร์ ย้ายไปดำรงตำแหน่งท่ีบา้ นอ่ืน นายทองสืบ อิสรดำรง
ย้ายมาเป็นอาจารยใ์ หญ่แทน ปีน้ีไดร้ ับอนญุ าตรือ้ บ้านพักครมู าสร้างเปน็ เรอื นพยาบาล

พ.ศ. ๒๕๓๓ นายเจียม วิเศยี รศาสตร์ ไดย้ า้ ยกลับมาเปน็ อาจารย์ใหญอ่ กี ปีนไ้ี ด้รบั งบประมาณ
สร้างสนามวอลเลย์ กับสนามตะกร้อ จาก สส.ประสพ บษุ ราคมั ๓๐,๐๐๐ บาท พ.ศ. ๒๕๓๕
นางกัญญาวลั ย์ พริ ยิ ะ ยา้ ยมาจากโรงเรียนบ้านเมืองปัง มาทำการสอนทีโ่ รงเรียนบา้ นเมอื งปงั
แทนตำแหน่งนายหนพู นั ธ์ จนั ทรเสนา พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับอนุญาตร้อื อาคารหลงั เกา่ มาสรา้ งเป็นห้องสมดุ
และมีผบู้ รจิ าคสมทบ ๒๓,๐๐๐บาท พ.ศ. ๒๕๓๗ ไดร้ บั งบหอกระจายข่าวจาก นายรักเกยี รติ สขุ ธนะ
ไดร้ ับงบสร้างสว้ ม ๑ หลัง ๓ ท่ีจากนายสพุ รรณ จนั ทรเสนา และคณะ ไดร้ ับเก้าอเ้ี หลก็ โคง้ จำนวน
๒๙๐ ตวั จากสมาชกิ วทิ ยสุ มัครเลน่ โดยการประสานงานของนายลขิ ติ ศรีเจริญ พ.ศ. ๒๕๓๙ นายเฉลิม
จนั ทรเสนา นกั การภารโรงถกู ไลอ่ อกเพราะขาดราชการเกนิ ๑๕ วัน และมีเจตนาหนีราชการ วันที่ ๒
กันยายน พ.ศ.๒๕๓๙ ไดร้ บั จัดสรรคอมพิวเตอร์ ๑ เครอ่ื ง จาก ส.ส.ประจวบ ไชยสาสน์
เคร่ืองฉายวีดีโอ ๑ เคร่อื ง พร้อมโทรทัศน์ จาก สปช. พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดร้ ับงบประมาณสร้างห้อง
ปฏิบตั กิ าร ๓ หอ้ ง คอื ห้องวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาษา ห้องคอมพวิ เตอร์
และโรงเรียนได้ตอ่ เตมิ หอ้ งสมุดเปน็ หอ้ งเรยี น อนบุ าล ๑ หอ้ งเรยี น โดยใชง้ บประมาณจากทงั้ ๔ หมู่บ้าน
กับเงินของนายพรชัย จนั ทรเสนา พร้อมญาติ และคณะครูโรงเรยี นบ้านเมอื งปงั ร่วมสมทบเป็นเงนิ
๑๒๐,๐๐๐ บาท และทางราชการใหง้ บประมาณมาสร้างส้วม ๑ หลัง เป็นเงิน ๑๖๐,๐๐๐ บาท

พ.ศ. ๒๕๔๒ นายเจียม วเิ ศียรศาสตร์ อาจารย์ใหญ่เกษยี ณอายรุ าชการ
พ.ศ. ๒๕๔๒ นายภญิ โญ บวั เผื่อน บรรจุมาดำรงตำแหนง่ อาจารย์ใหญ่ และเล่อื น
ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียน ทำการปรบั ปรุงเทพ้ืนใตถ้ นุ อาคารเรยี น แบบ สปช. ๑๐๔/๒๖
เป็นจำนวนเงิน ๖๐,๐๐๐ บาท จัดทำห้องน้ำ จากคณะผา้ ปา่ ของผู้ไปทำงานตา่ งประเทศ
โดยการประสานงานของนางอรวรรณ์ อินทรม์ ะโรง แบบ ๒๐๔ ปรับปรุงโรงฝกึ งาน
ไดร้ บั จัดสรรงบแปรณัตติจาก สส. เปน็ อาคารเรียนแบบ สปช.๑๐๔/๒๖ ( แบบพเิ ศษ ๔ ห้องเรยี น )
จดั ทำสวนหยอ่ ม ปรับสภาพภมู ิทัศนร์ อบบรเิ วณโรงเรยี น พัฒนาครูให้เลือ่ นวิทยฐานะใหส้ งู ขน้ึ
นักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นทีส่ งู ข้นึ นกั เรยี นมีระเบียบวนิ ัย มคี ุณธรรมจริยธรรม
พ.ศ.๒๕๕๗ นายไชยวัฒน์ ไกรราช ยา้ ยมาดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น จนถึงปัจจุบัน
โรงเรยี นบา้ นเมอื งปงั เปิดสอนนักเรยี นตงั้ แตร่ ะดบั ช้ันอนุบาล 2 - ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 จำนวน 11 ห้องเรยี น
มนี ักเรยี นทั้งส้นิ 18๙ คน มผี ู้บรหิ ารจำนวน 1 คน ครจู ำนวน 13 คน พนกั งานราชการ 2 คน ครูธุรการ 1
คน ลกู จ้างช่วั คราวจำนวน 1 คน รวมมีบคุ ลารทง้ั สนิ้ 17 คน

3

แผนทโ่ี รงเรียน

๒. ขอ้ มูลผู้บรหิ าร
๑) ผู้อำนวยการโรงเรยี น ช่ือ นายไชยวัฒน์ ไกรราช โทรศัพท์ 089- 2765986

e-mail : [email protected] วุฒกิ ารศึกษาสูงสดุ ปรญิ ญาโท สาขา บริหารการศึกษา
ดำรงตำแหนง่ ทโ่ี รงเรียนน้ีตงั้ แต่ 21 พฤศจกิ ายน 2557 จนถึงปจั จบุ ัน เป็นเวลา 7 ปี 5 เดอื น

4

๓. ขอ้ มลู นกั เรียน (ณ วนั ที่ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕)

๑) จำนวนนกั เรียนในเขตพื้นทบ่ี ริการทงั้ ส้นิ 283 คน

๒) จำนวนนักเรียนในโรงเรยี นท้งั สิน้ 189 คน จำแนกตามระดับชัน้ ท่ีเปิดสอน

ระดบั ช้ัน จำนวนห้อง จำนวนเด็ก/ผู้เรยี น รวม จำนวนเดก็ /ผเู้ รยี นท่ี รวม

เรยี น ปกติ (คน) มีความตอ้ งการพเิ ศษ -
-
(คน) -
14
ชาย หญิง ชาย หญิง 4
8
อนบุ าล 2 ๑ 10 9 19 - - 4
4
อนุบาล 3 ๑ 11 7 18 - - 2
32
รวม ๒ 21 26 37 - - 2
7
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 1 14 13 27 7 3 5
14
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 1 8 7 15 3 1 46

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1 11 10 21 5 3

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1 5 7 17 4 -

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 1 9 9 18 3 1

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 1 9 12 21 1 1

รวม 6 58 59 117 23 9

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ๑ 5 0 5 2 -

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 1 9 7 16 5 2

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 1 6 8 14 3 2

รวม ๓ 20 15 35 10 4

รวมทงั้ สน้ิ 99 90 189 189 33 13

๓) จำนวนนักเรยี นที่มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑข์ องกรมพลศึกษาหรอื สำนักงาน

กองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) 80 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 42.32

๔) จำนวนนกั เรียนท่มี นี ้ำหนกั ส่วนสูงตามเกณฑข์ องกรมอนามัย 176 คน คิดเป็นร้อยละ 93.12

๕) จำนวนนกั เรยี นทมี่ ีความบกพรอ่ งเรียนร่วม 46 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 27.54

๖) จำนวนนักเรยี นมีภาวะทุพโภชนาการ 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.34

๗) จำนวนนักเรยี นปญั ญาเลิศ 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.93

๘) จำนวนนกั เรียนต้องการความชว่ ยเหลือเป็นพิเศษ80 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 42.32

๙) จำนวนนักเรียนท่อี อกกลางคนั (ปจั จุบัน) 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

๑๐) สถติ กิ ารขาดเรียน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.11

๑๑) จำนวนนกั เรียนท่เี รียนซำ้ ชน้ั 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

๑๒) จำนวนนกั เรียนที่จบหลักสูตร

อ.3 จำนวน 18 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ100

ป.๖ จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ100

ม.๓ จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 100

5

๑๓) อตั ราส่วนครู : นกั เรียน (แยกตามระดับ)

๑๓.๑) ระดับปฐมวัย = 1 : 19

๑๓.๒) ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน = 1 : 16

๑๔) จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ วรรณคดีและนันทนาการ 189 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

๑๕) จำนวนนกั เรียนที่มีคณุ ลกั ษณะเปน็ ลกู ท่ดี ีของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง 189 คน คิดเปน็ ร้อยละ

100

๑๖) จำนวนนักเรยี นท่ีมีคุณลักษณะเปน็ นักเรยี นที่ดขี องโรงเรียน 189 คน คิดเป็นร้อยละ 100

๑๗) จำนวนนักเรยี นท่ที ำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ตอ่ สงั คมทง้ั ในและนอกสถานศึกษา189 คน

คิดเป็นรอ้ ยละ 100

๑๘) จำนวนนกั เรยี นทีม่ บี ันทกึ การเรยี นรจู้ ากการอ่านและการสืบค้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง

สมำ่ เสมอ 189 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

๑๙) จำนวนนักเรยี นที่ผา่ นการประเมนิ ความสามารถดา้ นการคดิ ตามทก่ี ำหนด

ในหลกั สูตรสถานศึกษา 189 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100

๒๐) จำนวนนักเรยี นที่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเข้ากบั สงั คม

ตามท่กี ำหนดในหลักสตู รสถานศกึ ษา 189 คน คิดเป็นร้อยละ 100

๔. ผลการทดสอบระดบั ชาติของผเู้ รยี น

๑) การประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ปีการศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖๔

๑.๑ ด้านภาษา (Literacy)

ดา้ นภาษาไทย

ระดับคุณภาพ

ปกี ารศึกษา ปรับปรงุ (%) พอใช้(%) ด(ี %) ดมี าก(%)

๒๕๖๒ 33.33 33.33 33.33 0.00

๒๔๖๓ 16.66 58.33 25.00 0.00

๒๔๖๔

๑.๒ ดา้ นคำนวณ (Numeracy)

ดา้ นคำนวณ

ระดบั คุณภาพ

ปกี ารศกึ ษา ปรับปรุง(%) พอใช้(%) ด(ี %) ดีมาก(%)
16.66 0.00
๒๕๖๒ 8.33 75.00 8.33 0.00

๒๔๖๓ 41.66 50.00

๒๔๖๔

6

๒) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖
และช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔

กลุ่มสาระวิชา ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔
ภาษาไทย ป.๖ ม.๓ ป.๖ ม.๓ ป.๖ ม.๓
วทิ ยาศาสตร์ ๔๐.๗๖ ๕๒.๐๐ ๔๒.๗๕ ๕๓.๗๕ ๔๔.๕๗ ๓๕.๗๔
คณติ ศาสตร์ ๒๗.๑๒ ๓๐.๕๐ ๒๗.๔๑ ๒๖.๖๕ ๓๑.๑๘ ๒๓.๒๘
ภาษาตา่ งประเทศ ๒๗.๙๔ ๑๘.๐๐ ๒๓.๓๓ ๑๙.๕๐ ๒๙.๓๖ ๒๐.๑๙
๒๕.๒๙ ๓๑.๕๐ ๓๒.๒๒ ๓๑.๘๘ ๒๗.๙๖ ๒๖.๙๕

๓) ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔

ความสามารถ คา่ เฉลย่ี ระดบั ค่าเฉลีย่ ระดับ คา่ เฉลี่ย ระดับ
ด้านการอ่าน
อา่ นออกเสียง 75.13 ดมี าก 72.92 ดี 82.00 ดมี าก
66.40 ดี 81.69 ดมี าก 80.82 ดีมาก
อา่ นร้เู ร่ือง 59.87 ดี 77.30 ดีมาก 81.41 ดีมาก

ค่าเฉลย่ี
2สมรรถนะ

๔) สรปุ ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
ทไ่ี ด้ระดับคุณภาพการศกึ ษาตง้ั แต่ระดับดีข้ึนไป

สรปุ ข้อมลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

กล่มุ สาระการเรยี นร(ู้ คิดเป็นรอ้ ยละ)

ระดับ ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ สงั คม สุขศึกษา ศลิ ปะ การงาน ภาษา
ตา่ งประเทศ
ช้นั ศกึ ษา อาชพี
77.67
ป.๑ 81.70 82.41 82.56 85.59 88.89 90.85 87.56 74.27
95.24
ป.๒ 77.00 75.13 76.67 75.07 79.58 80.47 76.33 73.33
72.22
ป.๓ 100 100 80.96 100 100 100 100 71.43
80.00
ป.๔ 76.27 77.80 78 74.60 81.33 80.07 80.67 75.00
81.81
ป.๕ 77.77 77.77 77.77 77.77 88.88 83.33 83.33 77.88

ป.๖ 95.24 100 71.43 100 100 100 100

ม.๑ 80.00 80.00 80.00 100 100 100 100

ม.๒ 80.00 75.00 75.00 80.10 100 100 73.33

ม.๓ 81.81 78.57 85.71 81.81 83.33 100 100

เฉล่ีย 83.31 82.96 78.68 86.1 91.33 92.74 89.02

7

๕. ข้อมลู ครูและบุคลากร
ครูประจำการ

ประเภท / ตำแหน่ง จำนวนบุคลากร (คน) รวม

ต่ำกวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก

๑. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

- ผอู้ ำนวยการ ๑ ๑

- รอง/ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการ 2

รวม ๑ 6
4
๒. ผู้สอนการศึกษาปฐมวัย
12
-ครปู ฐมวยั 2 ๑

-ครูอตั ราจา้ ง ๒
13
-ครตู ่างชาติ

๓. ผสู้ อนระดับประถมศกึ ษา

และ/หรอื มธั ยมศกึ ษา

- ครรู ะดบั ประถมศึกษา 42

- ครรู ะดบั มธั ยมศกึ ษา 22

- ครอู ัตราจา้ ง (สอนประถมฯ)

- ครอู ัตราจา้ ง

(สอนมธั ยม)

- ครตู ่างชาติ

รวม 6 4

๔. บคุ ลากรสายสนับสนนุ

- เจ้าหน้าท่ี ๑

- ลูกจ้าง 1

- อน่ื ๆ (ระบุ).........................

รวม 1 1

รวมทัง้ ส้นิ 1 7 5

จำนวนครทู ีส่ อนวิชาตรงเอก 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100
จำนวนครูทีส่ อนตรงความถนดั - คน คดิ เป็นร้อยละ -

8

๖. ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี
อาคารเรียนจำนวน 4 หลัง อาคารประกอบจำนวน 3 หลงั ส้วม 3 หลัง สระว่ายน้ำ 0 สระ

สนามเดก็ เล่น 1 สนาม สนามฟตุ บอล 1 สนาม สนามบาสเกต็ บอล 1 สนาม สนามเทนนิส1 สนาม
อื่นๆ (ระบ)ุ -

๗. ขอ้ มูลงบประมาณ

งบประมาณ (รับ-จา่ ย)

รายรบั จำนวน/บาท รายจ่าย จำนวน/บาท
-
เงนิ งบประมาณ 3,899,476.65 งบดำเนนิ การ/เงินเดือน-ค่าจา้ ง 3,899,476.65
-
เงนิ นอกงบประมาณ 148,925.18 งบพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา 1,783,648.96

เงนิ อ่ืนๆ(ระบุ) - งบอ่นื ๆ(ระบ)ุ

รวมรายรับ 4,048401.83 รวมรายจ่าย

งบดำเนินการ/เงนิ เดือน เงนิ คา่ จา้ ง คิดเป็นรอ้ ยละ - ของรายรบั

งบพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา คดิ เปน็ ร้อยละ 100% ของรายรบั

๘. ขอ้ มลู สภาพชมุ ชนโดยรวม
๑) สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรยี นมีลกั ษณะชุมชนชนบท มปี ระชากรประมาณ 2,141 คน จำนวน

530 ครวั เรือน บริเวณใคลเ้ คยี งโรงเรยี นโดยรอบไดแ้ ก่ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลอมุ่ จาน โรงพยาบาลสง่ เสริม

สุขภาพตำบลบ้านโพนทอง โรงเรียนบ้านโพนทอง อาชีพหลกั ของชุมชนได้แก่ เกษตรกร ลูกจ้าง คา้ ขาย ธุรกจิ

ส่วนตัว พ่อค้า ข้าราชการ ส่วนใหญน่ ับถอื ศาสนาพทุ ธ ประเพณี/ศลิ ปะวฒั นธรรมท้องถนิ่ ท่เี ป็นท่ีรู้จกั ท่วั ไป คอื

งานประเพณนี มสั การและสรงน้ำหลวงปกู่ ่ำ

๒) ผูป้ กครองส่วนใหญ่ จบการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 6 อาชพี หลกั คือ เกษตรกร
ส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉล่ียตอ่ ครอบครวั ตอ่ ปี 40000 บาท
จำนวนคนเฉล่ียตอ่ ครอบครัว 4 คน

๓) โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรียน
โรงเรียนตัง้ อยใู่ นชุมชนชนบทท่มี ีเอกลักษณ์ ขนบธรรมเนยี มประเพณีท่ีเด่นชัด โรงเรียน นกั เรยี น ครู

และผ้ปู กครอง มีการประสานความรว่ มมือในการดำเนนิ งานอย่างใกลช้ ิด ชมุ ชนใหก้ ารยอมรบั ในการเป็น

โรงเรยี นในด้านการจดั การศึกษาจงึ ได้รบั ความชว่ ยเหลอื สนบั สนุนจากชุมชนในทุกด้าน ผู้ปกครองนักเรยี น

ส่วนใหญ่มีฐานะยากจน นกั เรยี นอาศยั อยกู่ บั ผูป้ กครองทเ่ี ปน็ ญาติ พอ่ แม่ทำงานทตี่ า่ งจังหวดั ทำให้ไมส่ ามารถ

สนับสนนุ บตุ รหลานในการศึกษาไดเ้ ต็มท่ี

9

๙. โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา

ระดบั ประถมศึกษา กำหนดกรอบเวลาเรียน ดงั น้ี

กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ กจิ กรรม เวลาเรยี น

ระดับประถมศกึ ษา

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

• กลุม่ สาระการเรียนรู้ 160
160
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 80
120
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 (40)

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 (80)

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 120 120 120 120 80
80
-ประวตั ศิ าสตร์ (40) (40) (40) (40) (40) 80
80
-ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 840
120
-หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรม (80) (80) (80) (80) (80) (40)
และการดำเนนิ ชีวิตในสงั คม (40)
(30)
-เศรษฐศาตร์ (10)

-ภมู ิศาสตร์ 160
-
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 -

ศิลปะ 40 40 40 80 80 (40)

การงานอาชพี 40 40 40 80 80 (40)
(60)
ภาษาต่างประเทศ 120 120 120 80 80
1120
รวมเวลาเรียนพ้นื ฐาน 840 840 840 840 840

• กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 120 120 120 120 120
• แนะแนว (40) (40) (40) (40) (40)

• ลกู เสอื เนตรนารี (40) (40) (40) (40) (40)

• ชุมนุม (30) (30) (30) (30) (30)

• กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ (10) (10) (10) (10) (10)

• รายวิชาเพม่ิ เติม 160 160 160 160 160
ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร (80) (80) (80) - -
ภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร (40) (40) (40) - -

ป้องกันการทุจรติ (40) (40) (40) (40) (40)

วทิ ยาการคำนวณ - - - (40) (40)
ทอ้ งถิ่นโปงลาง (60)
- - - (60)

กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้

รวมเวลาเรียนทง้ั หมด 1120 1120 1120 1120

***หนา้ ทีพ่ ลเมือง บรู ณาการในกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

10

ระดบั มธั ยมศึกษา กำหนดกรอบเวลาเรยี น ดงั นี้

กล่มุ สาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ม.1 ม.2 ม.3

• กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.)

คณติ ศาสตร์ 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.)

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160(4 นก.) 160(4 นก.) 120(4 นก.)

-วทิ ยาศาสตร์ (80)(2 นก.) (80)(2 นก.) (80)(2 นก.)

-วทิ ยาการคำนวณ (80)(2 นก.) (80)(2 นก.) (80)(2 นก.)

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 160(4 นก.) 160(4 นก.) 160(4 นก.)

-ประวตั ิศาสตร์ (40)(1 นก.) (40)(1 นก.) (40)(1 นก.)

-ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม (120)(3 นก.) (120)(3 นก.) (120)(3 นก.)

-หนา้ ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสังคม

-เศรษฐศาตร์

-ภูมิศาสตร์

สุขศึกษาและพลศึกษา 80(2 นก.) 80(2 นก.) 80(2 นก.)

ศลิ ปะ 80(2 นก.) 80(2 นก.) 80(2 นก.)

การงานอาชพี 40(1 นก.) 40(1 นก.) 40(1 นก.)

ภาษาตา่ งประเทศ 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.)

รวมเวลาเรียนพ้ืนฐาน 880 880 880

(22 นก.) (22 นก.) (22 นก.)

• กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 ชม. 120 ชม. 120 ชม.
ลกู เสอื 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม.

แนะแนว 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม.

ชุมนุม 25 ชม. 25 ชม. 25 ชม.

กจิ กรรมสาธรณประโยชน์ 15 ชม. 15 ชม. 15 ชม.

• รายวิชาเพ่มิ เตมิ 200 (5 นก.) 200(5 นก.) 200(5 นก.)
คณิตเพมิ่ เตมิ 40(1 นก.)
40(1 นก.) 40(1 นก.)

วทิ ยาศาสตรเ์ พ่มิ เตมิ 80(2 นก.) 80(2 นก.) 80(2 นก.)

ป้องกันการทจุ ริต 40(1 นก.) 40(1 นก.) 40(1 นก.)

ทอ้ งถนิ่ โปงลาง 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)

ลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้

รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 1200 ชม. 1200 ชม. 1200 ชม.

***หนา้ ท่ีพลเมอื ง บูรณาการในกลมุ่ สาระการเรียนร้วู ชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

11

๑๐. แหลง่ เรียนรู้ ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ
๑) ห้องสมุดมีขนาด 56 ตารางเมตร จำนวนหนงั สอื ในห้องสมดุ 2500 เลม่

การสืบค้นหนังสือและการยืม-คนื ใชร้ ะบบสมดุ บันทกึ ยมื คืน จำนวนนักเรยี นที่ใชห้ อ้ งสมุดในปกี ารศึกษาท่ี

รายงาน เฉลี่ย 75 คน ต่อ วนั คดิ เป็นรอ้ ยละ 39.68 ของนกั เรียนท้งั หมด

2) ห้องปฏิบตั ิการ

หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งปฏิบตั ิงานในโรงฝึกงาน จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งปฏิบตั ิการดนตร/ี นาฎศลิ ป์ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาษาอังกฤษ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารภาษาไทย จำนวน 1 หอ้ ง

ห้องปฏบิ ตั ิการคณติ ศาสตร์ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งปฏิบัติการศิลปะ จำนวน 1 ห้อง

ห้องสมดุ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งประชมุ จำนวน 1 ห้อง

3) คอมพิวเตอร์จำนวน 11 เคร่ือง

ใช้เพ่ือการเรยี นการสอน/สืบคน้ ขอ้ มูล จำนวน 11 เครอ่ื ง

จำนวนนักเรยี นที่สืบคน้ ขอ้ มูลทางอนิ เทอรเ์ น็ตในปกี ารศกึ ษาท่รี ายงานเฉลี่ย 88 คนต่อวันคดิ

เป็นรอ้ ยละ 47.05 ของนักเรยี นทงั้ หมด

ใชเ้ พื่อการบรหิ ารจดั การ จำนวน 4 เครอื่ ง

4) แหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรยี น

ตารางการใชแ้ หล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น

ชือ่ แหลง่ เรยี นรู้ สถิตกิ ารใชจ้ ำนวนครั้ง/ปี

ห้องสมุด 200

หอ้ งพยาบาลโรงเรยี นบ้านเมอื งปัง 50

ธนาคารขยะ 40

ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 2,000

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตร์ 840

หอ้ งปฏิบัตกิ ารดนตร/ี นาฎศิลป์ 1,200

ห้องปฏิบัตกิ ารภาษาองั กฤษ 920

หอ้ งปฏิบตั ิการภาษาไทย 720

12

ตารางการใชแ้ หล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียน

ช่อื แหลง่ เรียนรู้ สถิตกิ ารใช้จำนวนครัง้ /ปี

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารศลิ ปะ 1,200

ห้องปฏบิ ัติคณิตศาสตร์ 720

หอ้ งศนู ยส์ อ่ื และเทคโนโลยี 1,600

สนามตะกรอ้ 2,000

สนามฟตุ บอล 2,000

สนามวอลเลย่ ์บอล 2,000

สนามบาสเกตบอล 2,000

โรงเรือนเลย้ี งไก่ไข่ 400

โรงเรือนเพาะเหด็ 400

บ่อเล้ยี งปลาดกุ 400

โรงเรอื นเลี้ยงไสเ้ ดือน 400

แปลงสาธติ ปลูกอ้อยคัน้ น้ำ 400

โรงเรอื นป๋ยุ หมัก 200

ห้องพฒั นาทักษะอาชพี (มูลนธิ ิรักษไ์ ทย) 100

สหกรณ์ 200

โรงอาหาร 200

แปลงสาธิตปลูกกลว้ ย 400

สระบวั 200

สวนปา่ 200

แปลงสาธิตปลูกผักเกษตรอนิ ทรยี ์(ปลอดสารพิษ) 1,000

5) แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น

ตารางการใช้แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน

ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ สถติ กิ ารใช้จำนวนคร้ัง/ปี

วัดลมุ พนิ วี นั วราราม ๒๐

วดั บา้ นดอนคง ๒๐

วดั โนนธาตุเจดยี ์ ๒๐

ทะเลบวั แดงหนองหานกมุ ภวาปี ๑๕

ไร่นาสวนผสม ๑๐

ศนู ยส์ าธติ หตั ถกรรมพืน้ บ้าน ๑๐

โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพชุมชนตำบลอ่มุ จาน ๒๐

13

ตารางการใช้แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน

ช่อื แหลง่ เรยี นรู้ สถิตกิ ารใชจ้ ำนวนครั้ง/ปี

โรงพยาบาลประจักษ์ศลิ ปาคม 20

สถานตี ำรวจภูธรอำเภอประจกั ษ์ศิลปาคม 1

องค์การบรหิ ารส่วนตำบลอุ่มจาน 5

วดั ดอนแกว้ 1

วัดดอนหลวง 1

ศนู ยส์ าธติ น้ำสมุนไพร ๑๐

วดั ลมุ พนิ วี ันวราราม 20

วัดมชั ฌมิ าวาส 5

วัดโนนธาตเุ จดีย์ 5

บอ่ เกลอื สนิ เธาว์ ๑๐

วัดพระธาตเุ ทพจนิ ดา 1

หว้ ยน้ำออก 1

พิพิธภณั ฑ์สถานหอยหนิ ลา้ นปี 1

พิพิธภณั ฑ์สถานบ้านเชยี ง 1

พพิ ิธภณั ฑเ์ มืองอดุ รธานี 1

สวนสาธารณหนองประจกั ษ์ 1

คา่ ยลกู เสือไรส่ ักทองแคมป์ 1

มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี 1

สวนสตั ว์เขาสวนกวาง 1

พพิ ิธภัณฑ์สัตวน์ ำ้ หนองคาย 1

สะพานมิตรภาพไทย-ลาว 1

ห้องสมุดประชาชน 1

พพิ ิธภณั ฑส์ ถานสิรนิ ธร 1

คำชะโนด วังนาคินทร์ 1

ตลาดอนิ โดจนี 1

เรือรบหลวงจกั รนี ฤเบศธ์ 1

พพิ ิธภณั ฑ์สัตว์น้ำระยองอควอเลย่ี ม 1

14

6) ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ผ้ทู รางคุณวฒุ ิ ท่ีสถานศึกษาเชญิ มาให้ความรู้แกค่ รู นักเรยี น

ในปีการศึกษาทร่ี ายงาน

ตารางแสดงการเชิญปราชญช์ าวบา้ น/ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ผู้ทรงคณุ วุฒิ

ท่สี ถานศกึ ษาเชิญมาให้ความรู้แกค่ รู นักเรยี น

ชื่อ-สกุล หนว่ ยงาน เรอื่ งที่ให้ความรู้ สถติ ิการใช้

จำนวนครั้ง/ปี

พระครอู าทรวนกจิ ฉนั ทสริ ิ วัดลุมพนิ วี นั วราราม การระลึกตน/ศลี ธรรม/ความกตญั ญู 20

เป็นลูกเป็นนักเรียนทด่ี ี

พระภกิ ษสุ งฆ์ วดั ปา่ อมุ่ จาน การสอบธรรมศึกษา 10

นางสาวภาวณิ ี พลนิกรกิจ ทว่ี ่าการอำเภอประจักษ์ การป้องกนั ตนจากยาเสพตดิ โครงการ 1

ศิลปาคม To Be Number One

เจ้าหนา้ ที่รพ.สต.โพนทอง รพ.สต.โพนทอง สุขภาพชอ่ งปาก 1

พ.ต.อ.วรพงษ์ นันทะลกั ษณ์ผู้ สถานตี ำรวจภูธรอำเภอ วนิ ยั จราจร ยาเสพติดการป้องกัน 20

กำกับการ สถานีตำรวจภธู ร ประจกั ษศ์ ิลปาคม ตนเองเมอื่ เผชญิ กบั เหตรุ า้ ย

ประจักษ์ศลิ ปาคม

ธนาคารไทยพาณชิ ย์ ชมรม ธนาคารไทยพาณชิ ย์ วนิ ยั จราจร ประสบการณแ์ ละข้อคิด 1

เมาไมข่ บั รว่ มกับโตโยตา้ ชมรมเมาไมข่ ับ รว่ มกบั ในการใช้ทอ้ งถนน เมาไม่ขบั

มอเตอร์ โตโยตา้ มอเตอร์

นางสาวพชั รีย์ ถาวรพัง รร.บ้านสะอาดนามลู ผลิตสื่อฑนั ตสขุ ภาพ 1

นายอนงค์ ยทุ ธกล้า ปราชญช์ าวบา้ น ไร่นาสวนผสม 1

ลำเพลิน/พิณ

นางแรม ภูถมศรี ปราชญ์ชาวบา้ น ตดั เยบ็ เสื้อผา้ 1

นางอบุ ล ขันทะแพทย์ ปราชญช์ าวบ้าน ทอผา้ /พานบายศรี 1

คณะครแู ละนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎ การทำสบ่แู ละผลิตภัณฑจ์ ากดอกบวั 1

มหาวิทยาลัยราชภฎั อดุ รธานี

นางบุญหนา จนั ทรเสนา ปราชญช์ าวบ้าน ทอเส่อื กก 1

นายขาว สำเนียง ปราชญช์ าวบา้ น ประวัตหิ ลวงปกู่ ่ำ 1

นางจันที จนั ทรเสนา ปราชญ์ชาวบ้าน พานบายศรี 1

เจา้ หน้าท่รี พ.ประจักษ์ร่วมกบั อ.บ.ต.อุ่มจาน การป้องกันการตั้งครรภไ์ ม่พรอ้ มใน 1

อบต.อมุ่ จาน วัยรุ่น(STOP TEEN MOM)

15

๑๑. ผลงานดเี ด่นในรอบปีท่ผี า่ นมา
๑๑.๑ ผลงานดีเด่น

ประเภทสถานศกึ ษา

ชื่อ ระดับรางวลั /ชื่อรางวลั ทีไ่ ด้รบั หนว่ ยงานทมี่ อบรางวลั

โรงเรียนบ้านเมืองปงั ลำดบั ท่ี 1 ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินสถานศกึ ษาเพื่อ สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด
รับรางวลั พระราชทาน ระดบั การศึกข้นั พน้ื ฐาน อดุ รธานี

โรงเรยี นบ้านเมืองปงั ประเภทสถานศกึ ษา ขนาดเลก็ ประจำปกี ารศกึ ษา
2564 ระดบั จังหวัดอุดรธานี
รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 1 รูปแบบการนเิ ทศ สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา
ภายในของสถานศกึ ษาที่ประสบความสำเร็จเปน็ ประถมศกึ ษาอดุ รธานีเขต 2

แบบอย่างทีด่ ี ระดบั ยอดเยย่ี ม ประจำปี
งบประมาณ 2564

โรงเรยี นบ้านเมืองปงั รางวัลระดับ ดี โรงเรียนท่ีมผี ลการดำเนินกจิ กรรม สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional ประถมศึกษาอดุ รธานีเขต 2

Learning Community : PLC) ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

โรงเรียนบา้ นเมอื งปงั รางวลั ระดับ ดเี ย่ยี ม โรงเรียนทมี่ กี ารจัดการ สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
ความรู้ (Knowledge Management) ใน ประถมศึกษาอุดรธานเี ขต 2

สถานศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ประเภทผู้บริหาร

ชอื่ ระดบั รางวัล/ช่ือรางวัลท่ไี ด้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล
นายไชยวัฒน์ ไกรราช สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด
ขนะเลิศ การประเมินและคัดเลอื กนวตั กรรมวธิ ี อดุ รธานี
นายไชยวัฒน์ ไกรราช ปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) นวตั กรรม
การศกึ ษาภายใตโ้ ครงการ Innovation For Thai เขตตรวจราชการที่ 10
Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพือ่
พฒั นาการศึกษาในพืน้ ท่จี ังหวัดอุดรธานี
ปีงบประมาณ 2564

รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 3 คดั เลือกนวตั กรรมวิธี
ปฏิบัตทิ ่เี ป็นเลศิ (Best Practice) นวัตกรรม
การศึกษาภายใต้โครงการ Innovation For Thai
Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพ่อื
พัฒนาการศึกษาในพื้นทเ่ี ขตตรวจราชการ 10

16

ประเภทผู้บริหาร (ต่อ)

ชอื่ ระดบั รางวลั /ชอื่ รางวัลท่ีไดร้ ับ หนว่ ยงานทีม่ อบรางวลั
นายไชยวฒั น์ ไกรราช สพฐ.
รางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) เหรยี ญ
นายไชยวฒั น์ ไกรราช ทอง ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาผูป้ ฏิบัติงานการดูแล สำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ
ช่วยเหลือนักเรยี นระดับขยายโอกาสทางการศกึ ษา
ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นการ
สอน ปีการศึกษา 2563

รางวลั ผบู้ งั คับบัญชาลกู เสอื ดีเด่น

ประเภทครู ระดับรางวลั /ช่ือรางวลั ที่ไดร้ บั หนว่ ยงานที่มอบรางวลั
ช่ือ ได้รับรางวลั ทรงคณุ ค่า สพฐ.(OBEC สพฐ.
AWARDS) เหรียญทอง ครผู สู้ อนยอดเยยี่ ม
นางสาวจนั ทร์สุดา ลพ้ี งษ์กลุ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นระดบั สพฐ.
ขยายโอกาสทางการศกึ ษา ด้านนวัตกรรม สมาคมครูอำเภอประจักษ์
นางสาวจนั ทร์สุดา ล้ีพงษ์กลุ และเทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นการสอน ปี ศลิ ปาคม
นางปยิ ะนดิ า บตุ รสาระ การศกึ ษา 2563 สมาคมครอู ำเภอประจกั ษ์
นางฐิญาฌา อะวันนา รางวัลครดู ีในดวงใจ ประจำปี พ.ศ. 2565 ศิลปาคม
นางวชิ ญาพร นาทันตอง ครผู สู้ อนดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2564 สมาคมครูอำเภอประจักษ์
นายปฤษฎี น้อยนลิ ศลิ ปาคม
นายปิยะทศั น์ โคตรบรรเทาว์ ครผู สู้ อนดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2564 สมาคมครูอำเภอประจักษ์
นางสาวดลนภา วิชยั แสง ศลิ ปาคม
นางสาวทพิ าวรรณ ลาดา ครูผู้สอนดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2564 สมาคมครอู ำเภอประจกั ษ์
นางสาวรชั นีกร วงมงิ่ ศิลปาคม
ครผู ู้สอนดเี ดน่ ประจำปี พ.ศ. 2564 สมาคมครูอำเภอประจักษ์
ศลิ ปาคม
ครผู สู้ อนดีเดน่ ประจำปี พ.ศ. 2564 สมาคมครอู ำเภอประจกั ษ์
ศลิ ปาคม
ครผู สู้ อนดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2564 สมาคมครูอำเภอประจักษ์
ศลิ ปาคม
ครูผู้สอนดเี ด่นประจำปี พ.ศ. 2564

ครผู สู้ อนดเี ด่นประจำปี พ.ศ. 2564

๑๑.๒ งาน/โครงการ/กจิ กรรม ที่ประสบผลสำเร็จ

ท่ี ชอื่ วตั ถปุ ระสงค์/

งาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย

๑ โครงการเสริมสร้าง 1. เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการจัดการ ๑ วเิ คราะหส์ ภ

คุณธรรม จรยิ ธรรมและ เรียนรูข้ องครู ผูบ้ รหิ าร บุคลากร ผบู้ ริหาร

ธรรมาภิบาลใน ทางการศกึ ษา ไดร้ ับการพัฒนา 2.นำหลักสตู ร

สถานศึกษา “ป้องกนั การ แบบบูรณาการอยา่ งเปน็ ระบบ รูปธรรม

ทุจรติ ” (โรงเรยี นสุจรติ ) และตอ่ เนอ่ื ง ให้มคี ณุ ภาพ ความ 2.การจัดทำบ

พอเพียง สุจริต รับผดิ ชอบ สำนักงานเขต

ปลอดอบายมุข บนฐานการ ป้องกันและป

เรยี นรูท้ ่เี ทา่ ทนั ตอ่ การ 3.จดั ทำคำสั่ง

เปล่ียนแปลง แต่งต้งั คณะกร

2. เพอื่ ส่งเสรมิ ส่งเสรมิ และ คำสงั่ แตง่ ต้ัง ป

สนับสนนุ ดา้ นการสง่ เสริมและ สพฐ. ชุมชน

ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ทุกรปู แบบ 4. ดำเนนิ กิจก

อยา่ งเปน็ ระบบ และมีเครอื ขา่ ยท่ี 5. รว่ มกิจกรร

เขม้ แข็ง 6. เตรยี มรับก

ดำเนนิ งานขอ

7.รายงานผลก

ห้องเรยี นทีช่ น

โครงการคุณธ

17

วิธดี ำเนนิ การ ตวั บ่งชค้ี วามสำเร็จ
(ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

ภาพปัญหาบรบิ ทเพ่อื เสนอโครงการต่อ -นักเรยี นรอ้ ยละ ๘๐ มคี ุณภาพตาม
เป้าหมายของหลักสตู รและมี
รตา้ นทุจริตศกึ ษาสกู่ ารปฏิบัตอิ ย่างเป็น ภูมคิ ุ้มกนั ในการดำเนินชีวิต

บันทึกข้อตกลงความรว่ มมือการพฒั นา
ตพืน้ ทก่ี ารศึกษา รว่ มเปน็ สว่ นหนึ่งในการ

ปราบปรามการทจุ รติ คอรร์ ัปชัน
งผู้รับผดิ ชอบในโรงเรยี น เชน่ คำส่ังแต่งตงั้

รรมการดำเนินงานโครงการโรงเรยี นสจุ ริต
ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย ประกาศแต่งตง้ั ป.ป.ช.

กรรมบริษทั สรา้ งการดี
รมแลกเปลยี่ นเรยี นร้รู ะดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษา

การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ
องหน่วยงานภาครฐั (ITA)
การดำเนินงานโรงเรียนสจุ รติ /มอบรางวัล

นะเลศิ โครงการประกวดหน่งึ หอ้ งเรยี นหน่งึ
ธรรม

ท่ี ชอ่ื วัตถุประสงค์/

งาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย

2 โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 1.เพ่ือพฒั นานกั เรียนเกดิ การ เสนอโครงการ

ตระหนกั รู้และเห็นคณุ ค่าใน แต่งตงั้ คณะท

ตนเองและผู้อนื่ - ประชมุ เชงิ ป

2. เพ่อื ให้นกั เรยี นคดิ วเิ คราะห์ - จดั ทำแผนก

ตัดสินใจและแก้ปัญหาอยา่ ง ทักษะชีวิต

สรา้ งสรรค์ มที ักษะการจัดการ - จัดการเรยี น

อารมณ์และความเครียด - จัดกจิ กรรม

3. เพ่อื จัดการเรยี นการสอนและ (ฝกึ ทักษะอาช

จดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นที่ ดำเนนิ งานตา

เสรมิ สร้างทักษะชวี ติ สรปุ ประเมนิ

3 โครงการสถานศึกษาสีขาว ๑. เพื่อปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา -วเิ คราะหส์ ภา

ปลอดสารเสพติดและ การแพร่ระบาดของยาเสพตดิ ดำเนนิ งาน

อบายมขุ และอบายมุขในสถานศกึ ษาและ -วางแผนการด

นอกสถานศกึ ษา -ดำเนนิ งานโด

2. เพ่ือพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ -สะทอ้ นผลกา

แหลง่ เรียนรู้ใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาใน -จดั เวทีจดั แส

การนำไปพัฒนาและสรา้ งระบบ

การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายา

เสพตดิ อบายมุข ปัจจัยเส่ียงรอบ

สถานศกึ ษา ในทกุ พน้ื ท่ี

18

วิธีดำเนินการ ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ
(ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

รต่อท่ปี ระชมุ เพอ่ื ขออนมุ ัติ -นักเรยี นรอ้ ยละ 80 เกิดการ
ทำงานและจดั ทำรายละเอียดของกจิ กรรม ตระหนักรแู้ ละเหน็ คณุ ค่าในตนเอง
ปฏิบัตกิ ารคณะทำงาน และผอู้ ื่น
การเรียนร้ทู เี่ นน้ การพฒั นา -นักเรยี นรอ้ ยละ 80 คิดวิเคราะห์
ตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หาอยา่ ง
(คำถาม RCA) ทุกช่วงชัน้
สรา้ งสรรค์ มที กั ษะการจดั การ
นรู้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ อารมณแ์ ละความเครียด
มเสริมสร้างทกั ษะชีวติ -ครูรอ้ ยละ 80 จัดการเรยี นการ
ชพี นกั เรยี นยากจนพิเศษ) สอนและจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนท่ี
ามแผน เสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวิต
นผล และรายงาน

าพปัญหาและสิง่ แวดล้อมเพอ่ื วางแผนการ -ร้อยละ 100 นักเรียนปลอดยา
เสพติดและอบายมขุ เปน็ คนดี คน
ดำเนินโดยการมสี ว่ นร่วมของภาคีเครอื ข่าย
ดยการประสานความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครือขา่ ย เกง่ มคี วามสุขและมที กั ษะชีวิต
ารดำเนนิ งาน
สดงผลงานและมอบรางวลั

ท่ี ชอื่ วัตถปุ ระสงค์/
งาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย

4 โครงการระบบดูแลการ เพ่อื ให้นกั เรียนทุกคนได้รับการ -วิเคราะหส์ ภา
ดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน ดูแลชว่ ยเหลือตามระบบการ ดำเนนิ งาน

ดำเนินชว่ ยเหลือนักเรยี นทั้ง 5 -วางแผนการด
ด้าน -ดำเนินงานโด

-สะท้อนผลกา
-จัดเวทีจัดแส

5 โครงการปรชั ญาเศรษฐกจิ ๑. เพ่อื ให้นกั เรยี นรู้จักและเข้าใจ -วเิ คราะหส์ ภา
พอเพยี ง เกยี่ วกับปรัชญาเศรษฐกิจแบบ ดำเนินงาน

พอเพียง -วางแผนการด

๒. เพอ่ื นำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้ใน -ดำเนนิ งานโด

ชวี ิตประจำวัน -สะทอ้ นผลกา

3. เพอ่ื เปน็ แหล่งเผยแพรค่ วามรู้ -จัดเวทีจดั แส

สู่ชมชน

6 โครงการส่งเสรมิ การ 1. เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการจดั การ -วิเคราะห์สภา

จดั การเรียนรู้ Active เรยี นรู้ด้วยกระบวนการActive ดำเนนิ งาน
Learning -วางแผนการด
Learning
2. เพือ่ ส่งเสรมิ การแลกเปลีย่ น -ดำเนนิ งานโด

เรียนรรู้ ะหว่างครู -สะทอ้ นผลกา

-จดั เวทีจัดแส

19

วิธดี ำเนินการ ตัวบ่งช้ีความสำเร็จ
(ยอ่ ๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

าพปญั หาและสิง่ แวดล้อมเพอ่ื วางแผนการ นกั เรียนรอ้ ยละ 100 ได้รับการ
ดแู ลชว่ ยเหลือตามระบบดูแล
ดำเนนิ โดยการมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครือขา่ ย ชว่ ยเหลอื นักเรียน
ดยการประสานความรว่ มมือกับภาคีเครอื ข่าย
ารดำเนินงาน
สดงผลงานและมอบรางวัล

าพปญั หาและสงิ่ แวดลอ้ มเพ่อื วางแผนการ นักเรียนร้อยละ 90 รจู้ ักและเข้าใจ
เก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจแบบ
ดำเนนิ โดยการมีส่วนร่วมของภาคเี ครือข่าย พอเพยี ง
ดยการประสานความร่วมมอื กับภาคีเครือข่าย
ารดำเนินงาน นกั เรียนรอ้ ยละ 90 นำความรู้ท่ไี ด้
สดงผลงานและมอบรางวัล ไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน

าพปัญหาและส่ิงแวดลอ้ มเพือ่ วางแผนการ ครู ร้อยละ ๑๐๐ จัดการเรยี นรู้ด้วย
กระบวนการ Active Learning
ดำเนินโดยการมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ขา่ ย
ดยการประสานความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครือข่าย
ารดำเนินงาน
สดงผลงานและมอบรางวัล

ท่ี ชื่อ วตั ถปุ ระสงค์/
งาน/โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย

7 โครงการนเิ ทศภายใน ๑. เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ครพู ฒั นาการ ขั้นที่ 1 การว

เรยี นการสอนให้นักเรียนได้ ขั้นท่ี 2 ให้คว

เรียนรเู้ ตม็ ตามศักยภาพ ขั้นที่ 3 การป

๒. เพ่ือส่งเสริมให้ครูจัดการสอน ขน้ั ท่ี 4 ประเม

ทยี่ ดึ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั และ Evaluation)

ประเมนิ ผลโดยใช้แฟม้ สะสมงาน ขั้นท่ี 5 การส

๓. เพือ่ ส่งเสรมิ ให้ครพู ัฒนาและ ขั้นท่ี 6 การส

ปรบั ปรงุ บรรยากาศให้เออื้ ต่อการ ขน้ั ที่ 7 การจ

เรยี นร้ขู องนกั เรยี น managemen

๔. เพ่อื ช่วยเหลอื ครูแก้ปญั หาใน

การจัดการเรยี นการสอน

๕. เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

ของโรงเรยี นให้เข้าส่มู าตรฐาน

ตามที่กําหนด

วธิ ดี ำเนินการ 20
(ยอ่ ๆ)
ตวั บ่งช้คี วามสำเรจ็
วางแผนการนเิ ทศ (P-Planning) (จำนวน/รอ้ ยละ)
วามรู้ในส่ิงท่ีจัดทำ (I-Informing)
ปฏบิ ัตงิ าน (D-Doing) ครรู ้อยละ 100 ได้รับการพัฒนา
มินผลและกระบวนการดำเนนิ งาน (E- และจัดการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
สะท้อนผล (R-Reinforcing)
สร้างขวัญและกำลงั ใจ (A-Award)
จดั การแหลง่ ความรู้ (KM-Knowledge
nt)

21

ตอนท่ี ๒

แนวทางการพฒั นาทมี่ งุ่ คุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาและผลการพัฒนา

โรงเรยี นบา้ นเมอื งปงั ได้กำหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนาการจัดการศกึ ษา โดยการจัดทำ
วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เปา้ หมายการจัดการศึกษา มาตรฐานการศึกษาตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ทีม่ ุง่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบาย
หนว่ ยงานตน้ สังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร รวมทัง้ สนองตอบต่อนโยบายการพัฒนาประเทศ ผ้บู ริหารยึดหลักการ
บรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม และได้พัฒนานวตั รกรรมการบริหารจัดการเพอ่ื บรรลุผลการประกนั คุณภาพภายในของ
โรงเรียนบา้ นเมอื งปงั APDRA model ในการบริหารงานซ่งึ มีผลการประเมินคุณภาพภายในของ
โรงเรยี นบา้ นเมืองปงั ปกี ารศึกษา 2564 ท้ังระดับปฐมวยั และระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ดังต่อไปนี้

คณะกรรมการ สถานศึกษาขน้ั โครงสรา้ งก
พืน้ ฐาน
ผู้อำ
นาย

กลุ่มบริหารงานวิชาการ กลมุ่ บริหารงานงบประมาณ
นางสาวจนั ทร์สุดา ล้ีพงษก์ ลุ นางฐิญาฌา อะวนั นา

๑.การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา (จันทรส์ ดุ า) ๑.การจดั ทาเสนอของบประมาณ
๒.การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ (จนั ทร์สุดา) (ฐิญาฌา)
๓.การวดั ผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน
(ศิริวรรณ) ๒.การจดั สรรงบประมาณ (ดลนภา)
๔.การวิจยั เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (จันทร์สดุ า)
๕.การพฒั นาสือ่ นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ๓.การตรวจสอบติดตามประเมนิ ผลและ
(จันทรส์ ุดา) รายงานผลการใชเ้ งนิ และผลการ
๖.การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ (ปฤษฎี/วฒุ ิพงศ์/ปิยะทัศน์) ดาเนินงาน (ปฤษฎี)
๗.การนิเทศการศึกษา (จันทร์สดุ า/ปิยะนิดา) ๔.การระดมทรัพยากรและการลงทนุ ทาง
๘.การแนะแนวการศึกษา (จนั ทรส์ ดุ า/ศิริวรรณ) การศกึ ษา (ฐิญาฌา/ปฤษฎี)
๙.การพฒั นาระบบประกันภายในสถานศกึ ษา
(ฐิญาฌา/จันทรส์ ุดา) ๕.การบริหารการเงนิ (ดลนภา)
๑๐.การสง่ เสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน
(ปิยะนิดา/อรวรรณ์) ๖.การบริหารพสั ดุและสินทรัพย์
๑๑.การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกบั (ฐิญาฌา/ปฤษฎี)
สถานศกึ ษาอน่ื (จนั ทร์สุดา/ปิยะนิดดา)
๑๒.การส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการแก่บุคลากร
ครอบครัวองค์การหน่วยงานและสถาบันอื่นทีจ่ ดั
การศึกษา (ศิริวรรณ)

การบริหารงานโรงเรยี นบ้านเมอื งปงั 22

ำนวยการโรงเรียน
ยไชยวฒั น์ ไกรราช

กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารงานทวั่ ไป
นางปิยะนิดา บตุ รสาระ นายปฤษฎี น้อยนิล

๑.การวางแผนอตั รากำลงั และกำหนด ๑.การดาเนินงานธุรการ(จนั ทร์สุดา/รณิกรณ์)
ตำแหนง่ (ปิยะนดิ า) ๒.งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (ปิยะนิดา)
๒.การสรรหาและบรรจุแต่งต้ัง (ปิยะนิดา) ๓.การพฒั นาเครือขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศ (จนั ทร์สุดา)
๓.การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการ ๔.การประสานและพฒั นาเครือขา่ ยการศกึ ษา (อรวรรณ์)
ปฏบิ ัติราชการ (ปิยะนิดา) ๕.การจดั ระบบบริหารและพฒั นาองคก์ ร (ปฤษฎ)ี
๔.วินัยและการรกั ษาวินยั (ปิยะนิดา) ๖.งานเทคโนโลยีสารสนเทศ (จนั ทร์สุดา/รณิกรณ์/)
๕.การออกจากราชการ (ปิยะนดิ า) ๗.งานส่งเสริมและสนับสนุนดา้ นวชิ าการ (จนั ทร์สุดา)
๘.งานดแู ลอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ ม (ปิยะทศั น์)
๙.การจดั ทาสามะโนประชากร (ศริ ิวรรณ)
๑๐.การรับนักเรียน (ทิพาวรรณ/ ดลนภา/ศิริวรรณ)
๑๑.การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบนอกระบบและตาม
อธั ยาศยั (จนั ทร์สุดา)
๑๒.การระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษาของบคุ คล (ปฤษฎี)

๑๓.งานส่งเสริมกิจการนกั เรียน (วุฒพิ งศ/์ ปิยะทศั น/์ ศริ ิวรรณ)

๑๔.การประสานกบั เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาและหนว่ ยงานอนื่ (ปิยะทศั น์)
๑๕.การประชาสมั พนั ธง์ านการศกึ ษา (ปิยะทัศน์)
๑๖.งานส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานการศึกษาของบุคคลชมุ ชน
องคก์ รหนว่ ยงานและสถาบนั สังคมอ่ืนทจี่ ดั การศกึ ษา (อรวรรณ์)
๑๗.การจดั ระบบควบคุมภายใน (ฐิญาฌา)
๑๘.งานบริการสาธารณสุข (ทิพาวรรณ/ดลนภา)

๑๙.งานทไี่ มไ่ ดร้ ะบุไวใ้ นงานอ่ืน (นนั ท์ณภสั รณ/์ รณิกรณ)์

23

๑. วสิ ยั ทศั น์
ภายในปี ๒๕๖๖ โรงเรยี นบา้ นเมอื งปัง เปน็ สถานศกึ ษาทจ่ี ัดการเรียนรู้เพอ่ื ชุมชนอยา่ งมี

คณุ ภาพ มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ที กั ษะชีวติ พฒั นาคุณภาพการศึกษาสู่สังคมอนาคตทยี่ งั่ ยืน บนรากฐานความเป็น
ไทย โดยใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีดิจิตัล 4.0

2. พันธกิจ
1. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสริมสรา้ งความมน่ั คงของสถาบันหลักของ

ชาติและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหป้ ระชากรวัยเรยี นทุกคนไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถึง

เสมอภาคเท่าเทียมและมีคุณภาพ
3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ทักษะวชิ าการ ทกั ษะชีวิต ทกั ษะวชิ าชีพ และ

คณุ ลักษณะในศตวรรษที่ 21 บนรากฐานความเป็นไทยสู่สงั คมอนาคตทยี่ ่งั ยืน
4. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเปน็ ครมู ืออาชีพ
5. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการศกึ ษาใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรโู้ ดยน้อมนำ

ศาสตร์ของพระราชา พฒั นาระบบบริหารจดั การแบบบูรณาการ โดยใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีดิจิตัล 4.0
๓. เอกลกั ษณ์ของโรงเรยี น : ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่

4. อตั ลกั ษณ์ : แตง่ กายแบบไทย ใสใ่ จวฒั นธรรม

๕. มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาและคา่ เปา้ หมาย

๕.๑ มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย และค่าเป้าหมาย จำนวน ๓ มาตรฐาน ดงั นี้

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ เป้าหมาย

มาตรฐาน/

ประเด็นการ
พจิ ารณา

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็ ดเี ลศิ

จุดเน้นท่ี ๒ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาปฐมวัย

๑.๑ มีการพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ ดเี ลศิ
ตนเองได้

๑.๒ มกี ารพฒั นาดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ ดเี ลศิ

๑.๓ มกี ารพฒั นาการดา้ นสังคม ชว่ ยแหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกท่ดี ขี องสงั คม ดเี ลศิ

๑.๔ มพี ัฒนาการด้านสติปญั ญา สอื่ สารได้ มที กั ษะการคดิ พ้ืนฐานและแสวงหาความรูไ้ ด้ ดีเลศิ

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ดเี ลศิ

จดุ เนน้ ๔ ๖ มิติคณุ ภาพสกู่ ารปฏิบัติ

จดุ เน้นท่ี ๖ โรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน

จุดเน้นท่ี ๗ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ดเี ลศิ

๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกับช้ันเรยี น ดเี ลศิ

๒.๓ สง่ เสรมิ ให้ครูมคี วามเชยี่ วชาญด้านกากรรจัดประสบการณ์ ดเี ลศิ
๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มและสือ่ เพ่ือการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพยี งพอ ดีเลิศ

24

๒.๕ ให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้เพื่อสนับสนนุ การจัดประสบการณ์ ดีเลิศ
๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกีย่ วขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เปน็ สำคญั ดีเลศิ
จดุ เน้น ๙ การพฒั นาครูสู่ความเปน็ ครมู อื อาชพี
๓.๑ จัดประสบการณ์ท่ีสง่ เสริมให้เดก็ มกี ารพฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ ดีเลิศ
๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสุข ดีเลิศ
๓.๓ จัดบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรียนรใู้ ช้สอื่ เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวยั ดีเลิศ
๓.๔ ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ แลละนำผลประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรุงการ ดเี ลศิ
จดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก

๕.๒ มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน และคา่ เป้าหมาย จำนวน ๓ มาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่

เปา้ หมาย

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น ดเี ยี่ยม

จุดเน้นท่ี ๑ การน้อมนำพระบรมราโชบายและหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

จุดเนน้ ที่ ๓ อ่านออกเขียนได้ คดิ เลขเป็น เพ่มิ ผลสัมฤทธิ์

จุดเนน้ ท่ี ๕ ระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน

จุดเนน้ ที่ ๘ เขตสจุ ริตโรงเรียนสจุ ริต

๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น ดีเยย่ี ม

๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สารและการคิดคำนวณ ดีเยย่ี ม

๒) มีความสามารถในการวเิ คราะห์และคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี น ดเี ยี่ยม

ความคิดเหน็ และแก้ปญั หา

๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดเี ย่ียม

๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร ดีเยย่ี ม

๕) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา ดเี ย่ียม

๖) มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติทด่ี ีต่องานอาชพี ดเี ย่ียม

๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผู้เรยี น ดเี ย่ียม

๑) การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามที่สถานศกึ ษากำหนด ดีเยย่ี ม

๒) ความภมู ิใจในทอ้ งถ่นิ และความเป็นไทย ดีเยย่ี ม

๓) การยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ดีเยย่ี ม

๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม ดีเยย่ี ม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ ดเี ย่ียม

จดุ เนน้ ท่ี ๔ ๖ มิตคิ ุณภาพสู่การปฏิบตั ิ

จดุ เน้นท่ี ๖ โรงเรยี นคุณภาพของชุมชน

จุดเน้นท่ี ๗ การประกันคุณภาพการศึกษา

๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน ดเี ยยี่ ม

๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ดีเยีย่ ม

25

๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ ดเี ยย่ี ม
กลุม่ เป้าหมาย
๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลกรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดีเย่ยี ม
๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ ดเี ยี่ยม
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ ดีเยย่ี ม
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั ดีเยี่ยม
จุดเน้น ๙ การพัฒนาครูสคู่ วามเปน็ ครูมอื อาชีพ
๓.๑ จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิต ดีเยี่ยม
ได้
๓.๒ ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ ดีเยย่ี ม
๓.๓ มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก ดีเยีย่ ม
๔.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน ดเี ลศิ
๔.๕ มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพอื่ พฒั นาและปรับปรงุ การจัดการ ดีเยย่ี ม
เรยี นรู้

แผนงาน โครงการ/กจิ กรรมที่โรงเรียนได้วางแผนดำเนินการ และดำเนินการเพอ่ื ให้บรรลุเปา้ หมายการจดั

การศกึ ษาในระดับการศึกษาปฐมวยั และระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ดังน้ี
ระดับการศึกษาปฐมวัย

1. โครงการการพัฒนารปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนเพอื่ บรรลุผลการประกันคุณภาพภายใน
ของโรงเรียนบ้านเมืองปงั

2. โครงการระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนเรียน

3. โครงการ PLC พัฒนาทกั ษะการคดิ นกั เรียนปฐมวัย
4. โครงการบา้ นวิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทย

5. โครงการจัดการเรยี นการสอนตามแนวไฮสโคป
6. โครงการสารสัมพันธ์โรงเรยี นและผปู้ กครอง
7. โครงการพัฒนาส่ือและแหล่งเรยี นรู้

8. โครงการพัฒนา อาคาร สถานที่ สง่ิ แวดลอ้ มและภูมทิ ัศน์
9. โครงการ Active Learning

10.โครงการ STEM Education
11.กิจกรรมสนุกโคด้ สนกุ คดิ
12.โครงการพัฒนาเครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผลพฒั นาการนักเรยี นปฐมวยั

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
13.โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการศึกษา

14.โครงการจัดการเรียนรู้ Active Learning
15.โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม
16.โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดสารเสพติดและอบายมขุ

17.โครงการพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี

26

18.โครงการพัฒนาครทู ้งั ระบบคบวงจร ซงึ่ ประกอบดว้ ย
- กจิ กรรมอบรมบคุ ลากร

- กิจกรรม PLC ชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ
20.โครงการนเิ ทศภายใน

21.โครงการวจิ ยั ในช้ันเรียน
22.โครงการโรงเรียนสวยหอ้ งเรียนงาม
23.โครงการซอ่ มแซมครุภันฑ์

24.โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา

ระดบั ปฐมวัย

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเดก็

1. ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดีเลิศ ประกอบด้วยผลการประเมนิ 4 ด้าน ดงั น้ี
๑.๑ ดา้ นมพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ัยท่ีดี

และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนไดด้ ำเนนิ การพัฒนาเพอ่ื ให้เดก็ มพี ัฒนาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ท่ดี ี

และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ โดยได้จัดทำโครงการ และกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้
1) โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ประกอบดว้ ย
กจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรมการเรยี นการสอนพฒั นาการด้านรา่ งกาย มีวิธีดำเนนิ การดังน้ี
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมเคล่อื นไหวตามจงั หวะ
- จดั การเรียนการเรยี นรู้ กิจกรรมเคล่อื นไหวผ่านสง่ิ กดี ขวาง
- ทดสอบสมรรถนะนกั เรยี นระดับปฐมวัย
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเดก็ ไทยทำได้(แปรงฟนั เตน้ แอโรบคิ ) มวี ธิ ดี ำเนินการดงั นี้
- จัดอบรมการทำน้ำสมนุ ไพรหวานน้อย
- สาธติ การแปรงฟันที่ถกู วิธี ตรวจฟันหลังแปรงฟนั
- จดั ทำกิจกรรมการเรยี นการสอนเรื่องการดูแลรา่ งกาย
- ตรวจสุขภาพฟันนักเรียนปฐมวัยทกุ คน
- จดั หาอปุ กรณ์แปรงฟัน และนำ้ สะอาด ใหเ้ พยี งพอกับนักเรียน
กิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมอนามัยโรงเรียน มวี ิธีดำเนินการดงั นี้
- ชัง่ นำ้ หนกั วดั ส่วนสูง ภาคเรยี นละ 2 ครั้ง
- ตรวจสขุ ภาพร่างกาย ประจำตัวนกั เรยี นปฐมวยั ทุกคน
กิจกรรมที่ 4 กจิ กรรมอาหารกลางวัน วิธดี ำเนนิ การ มวี ิธดี ำเนินการดังน้ี
- จัดใหเ้ ด็กได้รบั ประทานอาหารทสี่ ะอาด ถูกสุขลักษณะ

ปริมาณเหมาะสมตามวัย
- ควบคุมดูแลให้เดก็ ดื่มนมเป็นประจำทกุ วันอย่างสม่ำเสมอ

27

กิจกรรมที่ 5 กจิ กรรมใหค้ วามรใู้ นการปอ้ งกันตนจากโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา่ ตาม
มาตรการ DMHTT มีวิธดี ำเนินการดงั น้ี

- มอบหนา้ กากอนามัย เจลลา้ งมือ สบู่ล้างมือง
- ให้ความรู้นักเรียน ผปู้ กครองในการปฏิบตั ติ นในการป้องกันจากโรคติด
เช้อื ไวรสั โคโรนา่ ตามมาตรการ DMHTT
- ติดตามเผ้าระวงั ประชาสมั พันธใ์ ห้นักเรยี นรบั วคั ซีนปอ้ งกนั โรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรน่า
1.1.2 ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพฒั นาของโรงเรยี นเพื่อให้เด็กมีพฒั นาการด้านร่างกาย แขง็ แรง
มีสขุ นิสยั ทีด่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ผลจากการดำเนนิ งานพัฒนา มีดงั น้ี
เด็กมพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนิสยั ที่ ดี และดูแลความปลอดภัยของ
ตนเองได้ รอ้ ยละ 100

๑.๒ ด้านมพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.2.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นได้ดำเนินการพัฒนาเพอ่ื ใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม

และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ โดยไดจ้ ัดทำโครงการ กิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี
1) โครงการโรงเรียนคุณธรรม ประกอบดว้ ย
กจิ กรรมที่ 1 สวดมนตไ์ หวพ้ ระ วิธดี ำเนินการ กลา่ วคำปฏญิ าณตนสวดมนตไ์ หว้พระ

นง่ั สมาธิกอ่ นกลบั บา้ น ทุกวนั ศกุ ร์
กจิ กรรมที่ 2 โครงงานคุณธรรมระดับช้นั ปฐมวัยได้แก่ กิจกรรมเก็บของใหเ้ ข้าที่

สร้างความมรี ะเบียบวนิ ยั
1.2.2 ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นเพื่อให้เด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ

และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ผลจากการดำเนินงานพฒั นา มดี ังน้ี
เด็กปฐมวัยมีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ร้อยละ

100 สงั เกตไดจ้ ากการกล้าพูด กล้าแสดงออก รู้จักเข้าแถว รอควิ ในการรับประทานอาหาร
รจู้ ักหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายทง้ั ในและนอกห้องเรยี น ตามเขตพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบ ร่าเริง แจม่ ใส

๑.๓ ด้านมีพฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาขกิ ทด่ี ีของสงั คม
1.3.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นได้ดำเนนิ การพัฒนาโดยมี โครงการและกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปนี้
1) โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ ๑ กจิ กรรม คา่ นิยมหลกั 12 ประการ วธิ ีดำเนินการ จดั กจิ กรรมการเรียน

การสอนท่ีส่งเสรมิ และพัฒนาใหน้ กั เรยี นปฐมวยั สามารถ ช่วยเหลือตนเองในกจิ วตั รประจำวนั ไดแ้ ก่
การล้างมือ การลา้ งถาดอาหาร การลา้ งหนา้ แปรงฟัน การแต่งตัว การเขา้ หอ้ งน้ำ การรบั ประทานอาหาร
รจู้ กั ช่วยเหลอื และแบง่ ปนั มนี ้ำใจ

๒) โครงการกิจกรรมวนั สำคญั ประกอบด้วย กจิ กรรมวันสำคญั ดงั ต่อไปนี้

28

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม วนั แมแ่ หง่ ชาติ วิธีดำเนินการ แสดงกจิ กรรมในระบบออนไลน์
และใหส้ ง่ ผลงานวาดภาพระบายสี คดั ลายมอื เข้ารว่ มประกวดกจิ กรรมทักษะวิชาการ

กจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรม วันวิสาขบชู า วิธีดำเนินการ นกั เรียนร่วมบำเพญ็ ประโยชนท์ ำ
ความสะอาดบรเิ วณวัด และเวียนเทยี นรอบอุโบสถ โดยปฏบิ ัตติ ามมาตรการการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)

กจิ กรรมที่ 3 กจิ กรรม วันเข้าพรรษา วิธีดำเนนิ การ นักเรยี นรว่ มบำเพ็ญประโยชนท์ ำ
ความสะอาดบรเิ วณวดั เวยี นเทยี นรอบอุโบสถและถวายเทยี นจำพรรษา โดยปฏบิ ัตติ ามมาตรการการเฝ้าระวงั
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)

กจิ กรรมที่ 4 กจิ กรรม วันเดก็ แหง่ ชาติ แสดงกิจกรรมในระบบออนไลน์
และใหส้ ่งผลงานวาดภาพระบายสี คัดลายมอื เข้าร่วมประกวดกิจกรรมทักษะวิชาการ

กจิ กรรมท่ี 5 กจิ กรรม วันสุนทรภู่ และวนั ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ แสดงกิจกรรมในระบบ
ออนไลนแ์ ละให้ส่งผลงานวาดภาพระบายสี คัดลายมือ เข้ารว่ มประกวดกิจกรรมทักษะวิชาการ

กิจกรรมท่ี 6 กิจกรรม ลอยกระทง โดยปฏบิ ตั ิตามมาตรการการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)

1.3.2 ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนเพื่อใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการด้านสังคม

ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาขกิ ท่ีดีของสงั คม ผลจากการดำเนินงานพัฒนา มีดังน้ี
เด็กปฐมวยั มพี ฒั นาดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ดี ีของสังคม

ได้รอ้ ยละ 100 สังเกตได้จากการชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวนั รจู้ กั เกบ็ สิ่งของเครื่องใช้
ทัง้ ของสว่ นตวั และสว่ นรวม รจู้ ักยม้ิ ทกั ทาย อยเู่ ป็นนิจ อยรู่ ว่ มกับผูอ้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุข

๑.๔ ดา้ นมพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคดิ พนื้ ฐาน
และแสวงหาความรูไ้ ด้

1.4.1 กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นไดด้ ำเนนิ การพฒั นาโดยมี โครงการและกิจกรรม ดังตอ่ ไปน้ี
1) โครงการโครงงานบา้ นวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย แห่งประเทศไทย ประกอบด้วย
กิจกรรมท่ี 1 การทดลอง 20 กจิ กรรม วธิ ีดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามแนว

Active Learning ใชก้ ารสาธิต การทดลอง นกั เรียนสบื เสาะหาความรดู้ ว้ ยตวั เอง
สามารถสรปุ ผลและถา่ ยทอดความคิดได้อยา่ งถูกต้อง

๒) โครงการจดั การเรียนการสอนตามแนว STEM ประกอบดว้ ย
กิจกรรมท่ี 1 ลกู บอลหลากสี วธิ ดี ำเนนิ การ จดั กิจกรรมการสอนตามกระบวนการดงั นี้

ขัน้ ที่ 1 ตง้ั คำถามเก่ียวกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ขั้นท่ี 2 รวบรวมความคดิ และข้อสันนษิ ฐาน
ขน้ั ท่ี 3 ทดสอบและปฏิบัตกิ ารสบื เสาะ ขน้ั ที่ 4 สงั เกตและบรรยาย ขน้ั ท่ี 5 บันทกึ ขอ้ มูล
ขนั้ ท่ี 6 สรปุ และอภปิ รายผล

๓) โครงการจดั การเรยี นการสอนตามแนวไฮสโคป ใชใ้ นกิจกรรมต่างๆ ไดท้ ุกกิจกรรม
เพราะกระบวนการและวธิ ีการสนับสนุนการเรยี นรูข้ องเด็กเปิดกว้างมกี ารคิดการปฏบิ ตั ิ
ตามวงจรของการวางแผน การปฏิบัติ และการทบทวน ( plan-do-review cycle )
เม่ือทำกจิ กรรมแลว้ เด็กสามารถท่คี ิดกิจกรรมอ่นื ต่อเนือ่ งไดต้ ามความสนใจ

29

จุดสำคัญอยทู่ ี่ประสบการณ์การเรยี นรู้ ( Key experience ) ท่ีเดก็ ควรได้รบั ระหวา่ งกิจกรรม
ซ่งึ ครตู ้องมีปฏิสัมพนั ธ์และกระตุน้ ใหเ้ ดก็ เกิดการเรยี นรจู้ ากกจิ กรรมให้มากทส่ี ุด

1.4.2 ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นเพือ่ ใหม้ พี ัฒนาการดา้ นสติปัญญา ส่อื สารได้

มที ักษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ ผลจากการดำเนนิ งานพัฒนา คอื
เด็กปฐมวัยมพี ัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคดิ พ้ืนฐาน

และแสวงหาความร้ไู ด้ คิดเป็นร้อยละ 100

2. จดุ เดน่ มาตรฐานที่ ๑
1. เด็กมกี ล้ามเนือ้ เลก็ และกล้ามเน้ือใหญท่ ี่แข็งแรง

สามารถเล่นเครอื่ งเลน่ สนามไดค้ ลอ่ งแคล่ว และเล่นไดอ้ ยา่ งปลอดภัย
2. เด็กมีนิสัย สนกุ สนาน รา่ เรงิ แจ่มใส กลา้ พูด และกล้าแสดงออก
3. เดก็ ชว่ ยเหลอื ตนเอง สามารถปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจำวันได้ ร้จู กั ไหว้และทกั ทายผู้อ่นื

4. เดก็ มที กั ษะการคดิ และใช้เทคโนโลยเี ปน็
3. จดุ ทคี่ วรปรบั ปรงุ มาตรฐานท่ี ๑

1. จดั มุมสำหรบั ผูป้ กครอง เพอื่ ให้ครแู ละผ้ปู กครองไดแ้ ลกเปลี่ยนข้อมลู เกย่ี วกับเดก็ ๆ ทกุ
คน และเปิดโอกาสให้ผ้ปู กครองมสี ว่ นรว่ มเสนอความคิดเห็นเก่ียวกับการจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ

2. เด็กบางคนสมาธิส้ัน ไมส่ ารถอย่นู ิง่ หรอื ทำงานทตี่ ้องใช้ระยะเวลานานใหส้ ำเร็จทันเวลา

ควรเสรมิ กจิ กรรมทชี่ ว่ ยฝกึ สมาธิให้เดก็ เช่น การร้อยลกู ปัด การน่ังสมาธิกอ่ นทำกิจกรรม เป็นต้น
4. แนวทางการพัฒนาให้ได้ระดับคุณภาพที่สูงข้นึ

โรงเรยี นได้มแี นวทางในการพฒั นามาตรฐานที่ ๑
ใหไ้ ด้ระดับคณุ ภาพท่ีสูงขึ้นโดยกำหนดโครงการและกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑) โครงการระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนเรยี นนกั เรยี น

๒) โครงการ PLC พัฒนาทกั ษะการคิดนักเรยี นปฐมวัย
๓) โครงการบา้ นวทิ ยาศาสตร์นอ้ ยแหง่ ประเทศไทย

4) โครงการจัดประสบการณเ์ ชิงรุก (Active Learning) STEM
และวทิ ยาการคำนวณสำหรับเดก็ ปฐมวัย

5) โครงการจดั การเรยี นการสอนตามแนวไฮสโคป

5. ผลสัมฤทธท์ิ ่ีเกิดขึน้ กับเด็ก และรางวัลทไี่ ด้รบั

ท่ี ชอ่ื รางวัล หนว่ ยงานท่ีมอบ ปีทีไ่ ด้รับ
๑ กจิ กรรมระบายสีวันสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา โรงเรยี นบา้ นเมืองปงั ๒๕๖4
๒ กิจกรรมวาดภาพระบายสวี นั แม่ โรงเรยี นบา้ นเมืองปงั ๒๕๖4

๓ กจิ กรรมวาดภาพระบายสวี นั สุนทรภู่ โรงเรียนบ้านเมืองปงั ๒๕๖4
๔ กิจกรรมวาดภาพระบายสวี ันลอยกระทง โรงเรยี นบ้านเมอื งปงั ๒๕๖4

๕ กจิ กรรมวาดภาพระบายสวี ันพ่อ โรงเรียนบ้านเมืองปงั ๒๕๖4

๖ กจิ กรรมวาดภาพระบายสวี ันเด็กแหง่ ชาติ โรงเรียนบา้ นเมอื งปงั ๒๕๖4

30

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
2.1 ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ ประกอบดว้ ยผลการประเมนิ 6 ขอ้ ดงั นี้
2.1.๑ ด้านจดั ใหม้ ีหลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ ๔ ด้าน

สอดคลอ้ งกับบริบทของทอ้ งถน่ิ
1) กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนไดด้ ำเนนิ การพฒั นาโดยมี โครงการ และกิจกรรม ดังต่อไปน้ี
1.1) โครงการปรบั ปรุงและพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ประกอบดว้ ย
กจิ กรรมท่ี 1 การประชมุ ปฏิบัตกิ ารพัฒนาบคุ ลากรเพ่อื สร้างความเขา้ ใจ เร่อื ง

การนำมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัด ไปสู่การปฏบิ ัติ วิธีดำเนินการดังต่อไปนี้

- จัดอบรมให้ความร้แู กบ่ ุคลากรโรงเรยี นบ้านเมอื งปงั

- วางแผนจัดทำหนว่ ยการเรยี นรู้

- วางแผนจัดทำหลกั สูตรหน่วยการเรียนรู้

- วเิ คราะหค์ วามสอดคล้องของหลักสูตรกับสภาพแวดลอ้ มของ
สถานศกึ ษา ทำการตรวจสอบประเมนิ ผลโดยประเมินความสอดคลอ้ ง
ของหลกั สตู รและสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา

- ประเมนิ หลักสตู ร

- ปรบั ปรงุ หลักสตู ร
2) ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพฒั นาของโรงเรียนเพ่ือใหม้ หี ลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการท้งั ๔ ด้าน
สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถ่นิ ผลจากการดำเนนิ งานพฒั นา คอื โรงเรียนบา้ นเมืองปงั มหี ลกั สูตรสถานศึกษา
ปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖4 ท่ีมีการจดั ประสบการณ์ท่ีม่งุ เนน้ การเตรยี มความพร้อมไม่เรง่ รดั วชิ าการ
สอดคล้องกบั วถิ ชี ีวติ ครอบครัว ชมุ ชน และทอ้ งถิ่น
2.1.2 ดา้ นการจดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ช้ันเรยี น
1) กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นได้ดำเนนิ การพฒั นาโดยมี โครงการ และกจิ กรรม ดงั ต่อไปน้ี
1) โครงการพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วย

กิจกรรมท่ี 1 สรรหาครูอตั ราจ้างปฐมวัย วิธดี ำเนนิ การ
จดั สรรงบประมาณเงินบรจิ าคเพ่ือจ้างครูอัตราจา้ ง เพ่อื จัดครใู หเ้ พียงพอกบั ช้นั เรียน
และสัดสว่ นนกั เรียนปฐมวัย ต่อครู 1 คน

2.) ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นเพอ่ื จดั ครูใหเ้ พยี งพอกับชั้นเรยี น

ผลจากการดำเนนิ งานมีครผู ู้สอนนกั เรยี นระดับปฐมวยั เพิ่ม 2 คน จากเงนิ บรจิ าคเพ่อื จ้างครูอตั ราจ้าง
2.1.๓ ด้านการส่งเสริมให้ครูมีความเชยี่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
1) กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนไดด้ ำเนินการพฒั นาโดยมี โครงการ และกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี
1) โครงการพฒั นาบุคลากร ประกอบด้วย
กจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรม PLC วธิ ีดำเนินการ คือ

สง่ เสริมใหค้ รมู ีความเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ผ่านกจิ กรรมPLC ตามกระบวนการ APDRA model

31

ท่ที างโรงเรยี นจดั ทำขึ้น 5 ข้ันตอนดังน้ี วเิ คราะห์สภาพปญั หา (Analyses) วางแผน (Plan)
ลงมอื ปฏบิ ตั ิและสงั เกตผลการปฏิบตั ิ (Do and See) สะทอ้ นผล (Reflect) ให้รางวัลเสริมแรง (Award)

กจิ กรรมท่ี 2 กจิ กรรมอบรมเชงิ ปฏิบัติการ วธิ ดี ำเนินการ
สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครูเข้าร่วมอบรมจากหน่วยงานตน้ สงั กัด และจากหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง
เพ่ือพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นครมู ืออาชีพ สามารถใช้เทคโนโลยีจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้

2) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนเพือ่ สง่ เสรมิ ใหค้ รูมคี วามเช่ียวชาญดา้ น
การจัดประสบการณ์ คือ ครูผสู้ อนระดบั ปฐมวยั ร้อยละ 100 มคี วามเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
สามารถจัดกจิ กรรมพฒั นาการและการเรยี นรนู้ กั เรียนได้อยา่ งรอบด้าน
2.1.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่อื เพอ่ื การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ
1) กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนได้ดำเนนิ การพฒั นาโดยมโี ครงการ และกจิ กรรม ดังต่อไปนี้
1) โครงการพฒั นาสื่อและแหลง่ เรยี นรปู้ ฐมวัย ประกอบดว้ ย

กจิ กรรมที่ 1 ผลิตส่ือปฐมวัย วธิ ดี ำเนินการ จัดทำส่อื นวัตกรรม และ
ชดุ ฝกึ ประสบการณ์สำหรับนักเรยี นปฐมวยั อยา่ งเพยี งพอกบั จำนวนนักเรยี น

กิจกรรมที่ 2 จัดหาสื่อของเล่นท่ีเนน้ พฒั นาการด้านร่างกาย
และสมองให้กับนักเรียนปฐมวัย จดั มุมของเล่นอยา่ งเพยี งพอกับจำนวนนักเรียน

กจิ กรรมที่ 3 ปรับปรุงพฒั นาแหล่งเรียนรู้ วิธกี ารดำเนินการ คอื จัดหา อุปกรณ์
ซอ่ มแซมสนามเดก็ เล่นใหม้ ีความปลอดภยั สะดวก พร้อมใชง้ านอย่ตู ลอดเวลา ไมม่ ีจดุ ที่เปน็ อนั ตราย มีกฎ
กติกา ขอ้ ตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภยั หลีกเลี่ยงจากอันตราย จัดทำหลงั คาสนามเด็กเล่นเพือ่ ยืดอายุ
การใชง้ านของเลน่ และรักษาต่อสุขภาพของนักเรยี นไม่ให้โดนแดด โดนฝน ตดิ ป้ายสารสนเทศการปฏิบตั ติ น
ตามมาตรการการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)

๒) โครงการพฒั นา อาคาร สถานที่ ส่งิ แวดล้อมและภูมทิ ศั นป์ ระกอบด้วย
กิจกรรมท่ี 1 กจิ กรรมโรงเรียนสวยห้องเรยี นงาม วิธดี ำเนินการ

จัดตกแต่งมุมให้ความรู้ภายในห้องเรยี นปฐมวัย
กิจกรรมท่ี 2 กจิ กรรมซ่อมแซมห้องเรยี นปฐมวัย วิธดี ำเนนิ การ
- ติดตัง้ มงุ้ ลวดประตู หนา้ ต่าง หอ้ งเรียนปฐมวยั

ป้องกันไม่ใหน้ ักเรียนถูกยุงกัดขณะกิจกรรมการเรยี นรู้ และเวลานอนกลางวนั
- ซ่อมแซมห้องนำ้ ห้องสว้ มปฐมวยั ให้พรอ้ มใชง้ าน

ดูแลรกั ษาความสะอาด ไม่ใหม้ ีจดุ ท่ีเป็นอันตรายกับนักเรียน
- จดั ทำถนนคอนกรีตหนา้ อาคารเรียนปฐมวยั

และวาดภาพระบายสถี นนเพ่ือใชเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้
- จดั ทำท่อระบายน้ำหน้าอาคารเรียนปฐมวยั

เพ่อื ปอ้ งกันไมใ่ หน้ ้ำท่วมขัง ซงึ่ จะส่งผลถงึ ความปลอดภยั ของนกั เรียน
2) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรียนเพ่อื จัดสภาพแวดล้อมและส่อื เพื่อการเรยี นรู้

อยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ ผลจากการดำเนินงานพัฒนา คอื
มีหอ้ งเรียนท่มี คี วามปลอดภัย มีมมุ ประสบการณเ์ พอ่ื ส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็ก

32

2.1.๕ ให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่ือการเรียนรเู้ พอ่ื สนบั สนนุ การจดั
ประสบการณ์

1) กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นไดด้ ำเนินการพัฒนาโดยมี โครงการ และกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้
1) โครงการพฒั นาสอ่ื และแหล่งเรียนร้ปู ฐมวยั ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ 1 ติดตัง้ Smart TV

พรอ้ มสัญญาณอินเทอรเ์ น็ตเพ่ือใช้สนับสนนุ การจัดประสบการณ์นกั เรียนปฐมวัย
กิจกรรมที่ 2 จดั ทำสือ่ ประกอบกจิ กรรมการจดั ประสบการณ์สอน สนุกโค้ดสนกุ คิด

สื่อการสอนตามแนวไฮสโคป และ STEM Education
2) ผลการพฒั นา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นเพอื่ ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

และสือ่ การเรียนรเู้ พอื่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ ผลจากการดำเนนิ งานพัฒนามีดังนี้
- ครผู ู้สอนระดับช้นั ปฐมวยั ร้อยละ 100 สามารถใชส้ ื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ

และการสื่อการการเรยี นรูเ้ พ่อื สนับสนุนการจดั ประสบการณ์
- นักเรียนร้อยละ 100 ไดร้ บั การจัดประสบการณ์จากสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศทที่ ันสมยั

2.1.๖ มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้ผเู้ ก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม
1) กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นได้ดำเนินการพัฒนาโดยมี โครงการ และกจิ กรรม ดังตอ่ ไปนี้
1) โครงการสัมพนั ธ์ชมุ ชนประกอบดว้ ย
กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมผู้ปกครอง วิธีดำเนนิ การ คือ แจ้งผปู้ กครองเขา้ ร่วม

วางแผนจัดทำหลกั สตู ร และการจัดการเรียนรู้ ขอความร่วมมือและช้แี จงผปู้ กครองในการรบั สง่ นกั เรยี น
ตลอดจน ช่วยสนบั สนนุ การจดั ประสบการณน์ ักเรียนโดยการช่วยบุตรหลานทบทวนความรูท้ ุกวัน

กจิ กรรมที่ 2 สารสัมพนั ธ์ .วธิ ดี ำเนนิ การ คือ วางแผนให้มีการสื่อสาร
ผา่ นสารประชาสัมพนั ธ์ให้ผูป้ กครองให้ความรว่ มมอื กบั ทางโรงเรียนให้มากข้นึ ทำแผนความรว่ มมอื
ระหวา่ งโรงเรียนกบั ผู้ปกครองในการแก้ไขปัญหาเดก็

2) ผลการพัฒนา
จากกระบวนการพัฒนาของโรงเรยี นเพ่อื ให้มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสให้ผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง
ทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วม ผลจากการดำเนนิ การพัฒนามี คือ
โรงเรยี นบ้านเมืองปงั มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพการศึกษาโดยการมีสว่ นรว่ มของผ้เู กีย่ วข้องทุก
ฝา่ ย
2.2 จดุ เด่น มาตรฐานท่ี ๒
1) มีหลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทงั้ 4 ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถิน่
2) มกี ารจดั สิง่ อำนวยความสะดวกใหบ้ ริการด้านส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ
อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์
3) ครูได้รับการพัฒนาด้านวชิ าชีพ
4) มรี ูปแบบการบริหารโรงเรยี นเพ่อื บรรลผุ ลการประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียน
บา้ นเมืองปงั

33

2.3 จดุ ท่ีควรปรบั ปรุง มาตรฐานที่ ๒
1.) จดั ครูให้เพียงพอต่อชนั้ เรยี น โดยเสนอขอครูวิชาเอกปฐมวัยในการวางแผนอัตรากำลงั

2.) ส่งเสรมิ ให้ครมู ีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ อย่างตอ่ เน่อื ง พัฒนาระบบการ
นเิ ทศภายใน

3.) เพมิ่ งบประมาณในการจัดสภาพแวดลอ้ มและส่อื เพ่ือการเรียนรู้
2.4 แนวทางการพัฒนาใหไ้ ดร้ ะดบั คุณภาพทีส่ งู ขนึ้

โรงเรยี นได้มแี นวทางในการพฒั นามาตรฐานท่ี ๒

ให้ไดร้ ะดบั คณุ ภาพท่ีสงู ข้ึนโดยกำหนดโครงการและกิจกรรม ดังต่อไปน้ี
๑. โครงการสารสมั พันธ์โรงเรียนและผปู้ กครอง

๒. โครงการพัฒนาส่อื และแหล่งเรยี นรู้
3. โครงการพัฒนา อาคาร สถานท่ี สิง่ แวดลอ้ มและภูมทิ ศั น์

5. ผลสมั ฤทธ์ิทเ่ี กดิ ข้นึ กบั ผ้บู ริหาร รางวัลทีไ่ ดร้ ับ

ที่ ชอ่ื รางวลั หน่วยงานที่มอบ ปที ไี่ ด้รับ
2564
1 ขนะเลิศ การประเมินและคดั เลอื ก สพฐ.
2564
นวตั กรรมวธิ ปี ฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลศิ (Best
2564
Practice) นวตั กรรมการศึกษาภายใต้
2564
โครงการ Innovation For Thai 2564

Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา

เพื่อพฒั นาการศึกษาในพืน้ ที่จงั หวดั อุดรธานี

ปงี บประมาณ 2564

2 รางวลั รองชนะเลิศอันดับ 3 คดั เลอื ก สพฐ.

นวัตกรรมวิธปี ฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best

Practice) นวตั กรรมการศกึ ษาภายใต้

โครงการ Innovation For Thai

Education (IFTE) นวตั กรรมการศึกษา

เพือ่ พัฒนาการศกึ ษาในพืน้ ที่เขตตรวจ

ราชการ 10

3 รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) สพฐ.

เหรียญทอง ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา

ผู้ปฏบิ ัติงานการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น

ระดบั ขยายโอกาสทางการศึกษา ด้าน

นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นการ

สอน ปกี ารศึกษา 2563

4 รางวัลผู้บงั คับบญั ชาลูกเสอื ดีเดน่ .

5 รางวัลผ้บู ริหารดีเด่น ปีการศึกษา 2564 สมาคมครู

อำเภอประจักษ์ศิลปาคม


Click to View FlipBook Version