The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน ปวศ. ม.1-3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เอกสารประกอบการสอน ปวศ. ม.1-3

เอกสารประกอบการสอน ปวศ. ม.1-3

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

เอกสารประกอบการสอน

วิชา ประวัติศาสตร์

ชุด คัมภีร์ประวัติศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

โดย ครูนพดล สมใจ
โรงเรียนบ้านส้าน (คุรุราษฎร์รังสรรค์)
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
ประถมศึกษาน่าน เขต 2

ปรบั ปรุงครง้ั ท่ี 1 พ.ศ. 2560 (รร.อต)
ปรับปรุงครง้ั ท่ี 2 พ.ศ. 2563 (รร.บ้านส้าน)

~1~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

การนับศักราชแบ่งเป็นการนับศักราชแบบไทย
และการนับศักราชแบบสากล

การนบั ศกั ราชแบบไทย

1. มหาศักราช(ม.ศ.)

มหาศักราชเกิดขึ้นในประเทศอินเดียภายหลงั พุทธศักราช 621 ปี แพร่หลายเขา้ มาสู่
ประเทศไทยผ่านทางพวกพราหมณ์เปน็ ผู้นาเข้ามาพรอ้ มกับตาราโหราศาสตร์ ในประเทศ
ไทยใช้มหาศักราชก่อนศักราชอน่ื ๆ ตงั้ แตส่ มยั ก่อนสุโขทัยจนถึงสมัยอยุธยาตอนกลางพบ
หลักฐานที่ใช้มากในศิลาจารึกสมยั สุโขทยั

2.พทุ ธศกั ราช(พ.ศ.)

พุทธศักราชเกิดขนึ้ ในประเทศอินเดียและแพร่หลายในประเทศท่ีตนนบั ถือพทุ ธ
ศาสนาเป็นหลัก การนบั พุทธศักราชเริม่ ตง้ั แตป่ ีที่พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ดบั ขันธป์ รนิ พิ พานแต่มี
วิธีการนบั แตกต่างกันในไทยยึดหลกั การนบั พ.ศ.1 เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี
ไทยใช้พุทธศกั ราชมาตงั้ แต่สมยั สุโขทยั ในสมยั อยุธยาบางรัชกาลใช้พุทธศกั ราชรว่ มกับ
ศักราชอน่ื และใช้แพรห่ ลายในสมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และประกาศใชอ้ ย่างเป็น
ทางการเมือ่ ปีพ.ศ.2455 ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หวั

3.จุลศกั ราช(จ.ศ.)

จลุ ศักราชเกิดข้นึ ในประเทศพม่าภายหลงั พุทธศักราช 1181 ปีแพรห่ ลายเข้ามาสู่
ประเทศไทยและเริ่มใช้จุลศักราชมาตง้ั แต่สมยั สโุ ขทัยและตอ่ มาใช้อย่างแพร่หลายในสมยั
อยธุ ยาตอนปลายและต่อเน่อื งมาจนถึงสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั พบ
หลกั ฐานที่ใช้จุลศกั ราช เช่น พงศาวดารกรุงศรี อยธุ ยา กฎหมายตราสามดวง เป็นต้น
ปัจจบุ นั ยงั ใช้จุลศกั ราชในเอกสารบางประเภท เช่น ตาราโหราศาสตร์

~2~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

4. รตั นโกสินทร์ศก(ร.ศ.)

รัตนโกสินทร์ศกเป็นการนับศักราชท่ีใช้เฉพาะประเทศไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2432 โดยเริ่มนับ ร.ศ.1 เมื่อปีพ.ศ.2325 ซึ่งเป็นปีท่ี
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ไทยเริ่มใช้การนับแบบ ร.ศ. ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวและต่อมาสมัยพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเปล่ียนไปใช้
การนบั พทุ ธศักราชจนถึงปัจจุบัน หลกั ฐานทีใ่ ช้รัตนโกสินทรศ์ ก เช่น พระราชหัตเลขารัชกาล
ท่ี 5 และจดหมายพระราชกรณียกิจรายวันในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว

การนับศกั ราชแบบสากล

ศกั ราชทใ่ี ช้กนั แพร่หลายเปน็ สากลในปจั จุบนั คอื คริสต์ศักราช(ค.ศ.) นอกจากน้ียงั มี
ฮจิ เราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) ซึง่ มีนบั ถอื อสิ ลามท่ัวโลกใช้กัน

1. คริสต์ศักราช (ค.ศ.)

เริ่มนับศักราชท่ี 1 โดยนับเมื่อพระเยชูศาสนาของศาสนาคริสต์ประสูติหลัง
พุทธศักราช 543 ปีเป็นศักราชท่ีใช้กันแพร่หลายท่ัวโลกอันเน่ืองมาจากประเทศมหาอานาจ
เชน่ องั กฤษ และฝรัง่ เศสใช้คริสต์ศักราชเมื่อเข้าไปจับจองอาณานิคมจึงนาคริสต์ศักราชเข้า
ไปดินแดนนั้นด้วยหลักฐานท่ีปรากฏ เช่น หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษ
แล ประเทศสยาม คริสต์ศักราช 1826 และหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศ
อเมริกา แล ประเทศสยาม ครสิ ต์ศักราช 1833 เปน็ ต้น

2. ฮจิ เราะห์ศกั ราช(ฮ.ศ.)

เป็นการนับศกั ราชทป่ี ระเทศสว่ นใหญน่ บั ถือศาสนาอสิ ลาม เริม่ นบั ฮิจเราะห์ศักราชท่ี 1
ในปีท่ีท่านนบีมูฮามัดพร้อมกับสาวกอพยพจากเมืองเมกกะไปอยู่ ท่ีเมืองเมดินะ
ฮิจเราะห์ศักราช มีเคาะลีฟฮ์ โอมาร์ หรือกาหลิบ โอมาร์ เป็นผู้ก่อตั้ง ชาวมุสลิมท่ัวโลกใช้
ฮจิ เราะห์ศักราชในการประกอบพธิ กี รรมทางศาสนาของตน

~3~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

หลักเกณฑก์ ารเทยี บศักราช

1. การเทยี บมหาศักราชกับพทุ ธศกั ราช คอื
พุทธศกั ราช = ปจั จุบัน ม.ศ. + 621 หรอื พ.ศ. – 621 = ม.ศ.

2. การเทยี บจุลศักราชกับพุทธศักราช คอื
พุทธศักราช = ปัจจบุ ัน จ.ศ. + 1181 หรือ พ.ศ. – 1181 = จ.ศ.

3. การเทยี บรัตนโกสินทร์ศกกบั พุทธศกั ราช คอื
พทุ ธศักราช = ปจั จบุ ัน ร.ศ. + 2325 หรือ พ.ศ. – 2325 = ร.ศ.

4. การเทยี บคริสต์ศกั ราชกับพุทธศกั ราช คอื
พุทธศักราช = ปจั จุบัน ค.ศ. + 543 หรือ พ.ศ. – 543 = ค.ศ.

5. การเทยี บฮิจเราะห์ศกั ราชกบั พุทธศักราช คอื
พทุ ธศกั ราช = ปัจจบุ นั ฮ.ศ. + 1122 หรือ พ.ศ. – 1122 = ฮ.ศ.

(แหล่งท่ีมา : https://sites.google.com/site/dekgerbdeecom/kar-nab-laea-periyb-theiyb-
sakrach?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1)

กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชี้แจง : ให้นักเรียนทากิกรรมท้ายบทเรียนลงในสมดุ ประจาวชิ า
1. การนับศกั ราชทีน่ ิยมใช้มากทีส่ ุ คือการนับศักราชแบบใด
2. จงเปลี่ยน พ.ศ. ใหเ้ ปน็ ศักราชแบบตา่ งๆ ดังนี้

2.1 พ.ศ. 2475 ตรงกบั ค.ศ. .........................
2.2 พ.ศ. 2555 ตรงกบั ร.ศ. .........................
2.3 พ.ศ. 2555 ตรงกับ ฮ.ศ. .........................
2.4 พ.ศ. 2560 ตรงกับ ค.ศ. .........................
2.5 พ.ศ. 2561 ตรงกบั ค.ศ. .........................
3. มูลเหตสุ าคัญของการนับศกั ราชแบบฮจิ เราะหศ์ กั ราช(ฮ.ศ.) เกิดขึน้ ได้อย่างไร
4. การนับศักราชแบบสากลมีอะไรบา้ ง
5. การใชพ้ ุทธศกั ราชของประเทศไทยแตกตา่ งจากประเทศพม่าอยา่ งไร

~4~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (Historical Sources)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทา การพูด การเขียน การ
ประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าท่ีปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน
โลกทัศน์ ความรู้สึก ประเพณีปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต ความรู้สึกของคนในปัจจุบัน ส่ิงท่ี
มนษุ ย์จับต้องและท้ิงร่องรอยไว้ กล่าวไดว้ ่าอะไรกต็ ามทีม่ าเก่ยี วพันกับมนุษย์ หรือมนุษย์เข้า
ไปเกี่ยวพันสามารถใช้เป็นหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ไดท้ ง้ั สิ้น

การแบง่ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

1. แบ่งตามยคุ สมยั

(1) หลักฐานสมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ คือ หลกั ฐานทีเ่ กิดขนึ้ ในสมยั ทย่ี งั ไม่มีการบันทึก
เป็นอักษร แต่เป็นพวกซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากส่ิงมีชีวิตต่างๆ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้
เคร่ืองประดับ ร่องรอยการต้ังถิ่นฐานของชุมชน ตลอดจนความพยายามท่ีจะถ่ายทอด
ประสบการณ์ของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ ในลักษณะของการบอกเล่าต่อๆกันมา เป็น
นทิ านหรอื ตานานซึง่ เราเรียกว่า “มุขปาฐะ”

(2) หลกั ฐานสมัยประวตั ศิ าสตร์ คือ หลกั ฐานสมัยท่มี นุษย์สามารถประดิษฐ์ตัวอักษร
และบันทึกในวสั ดุต่างๆ มีร่องรอยทีแ่ นน่ อนเกี่ยวกับสงั คมเมือง มีการรจู้ กั ใช้เหล็ก และโลหะ
อ่ืนๆ มาเป็นเคร่ืองมือใช้สอยท่ีปราณีต มีร่องรอยศาสนสถานและประติมากรรมรูปเคารพ
ในศาสนาอย่างชัดเจน

2. แบ่งตามลักษณะหรือวิธีการบนั ทึก

(1) หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึก ตานาน พงศาวดาร จดหมาย
เหตุ บันทึกความทรงจา เอกสารทางวิชาการ ชีวประวัติ จดหมายส่วนตัว หนังสือพิมพ์
นิตยสาร วารสาร กฎหมาย วรรณกรรม ตารา วิทยานิพนธ์ งานวิจัย ในการศึกษา
ประวตั ศิ าสตร์ในประเทศไทย มีการเนน้ การฝึกฝนทักษะการใช้หลักฐานประเภทลายลักษณ์

~5~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

อักษร เป็นส่วนใหญ่ จนอาจกล่าวได้ว่าหลักฐานประเภทน้ีเป็นแก่นข องงานทาง
ประวตั ศิ าสตร์ไทย

(2) หลกั ฐานไม่เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร ไดแ้ ก่ หลกั ฐานโบราณคดี เชน่ โบราณสถาน
โบราณวัตถุ เงินตรา หลักฐานจากการบอกเล่า ทเ่ี รียกว่า “มขุ ปาฐะ” หลักฐานด้านภาษา
เก่ยี วกับพฒั นาการของภาษาพดู หลกั ฐานทางศิลปกรรม ได้แก่ จติ รกรรม ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม นาฏศลิ ป์ ดรุ ิยางคศิลป์ หลกั ฐานประเภทโสตทศั น์ ไดแ้ ก่ ภาพถ่าย ภาพส
ไสด์ แผนที่ โปสเตอร์ แถบบนั ทกึ เสียง แผ่นเสยี ง ภาพยนตร์ ดวงตราไปรษณียากร

3. แบง่ ตามลาดบั ความสาคัญ

(1) หลักฐานชั้นต้นหรือหลักฐานปฐมภูมิ (Primary sources) หมายถึง หลักฐานท่ี
บันทึก สร้าง หรือจัดทาข้ึน โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์น้ันโดยตรง หรือบ่งบอกให้รู้ถึง
เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในสมัยนั้นจริงๆ ท้ังท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สนธิสัญญา บันทึก
คาให้การ จดหมายเหตุ กฎหมาย ประกาศของทางราชการ ศิลาจารึก จดหมายโต้ตอบ
และท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ภาพเขียนสีผนังถ้า เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ เคร่ืองประดับ
เจดีย์

(2) หลกั ฐานชนั้ รองหรือหลักฐานทุติยภูมิ (Secondary sources) หมายถึง หลักฐานท่ี
เกิดจากการนาหลักฐานช้ันต้นมาวิเคราะห์ ตีความเมื่อเวลาผ่านพ้นไปแล้ว ได้แก่ ตานาน
พงศาวดาร

นักประวัติศาสตร์บางท่านยังได้แบ่งหลักฐานประวัติศาสตร์ออกไปอีกเป็น หลักฐาน
ช้ันท่ีสามหรือตติยภูมิ (Tertiary sources) หมายถึง หลักฐานท่ีเขียนหรือรวบรวมข้ึน จาก
หลักฐานปฐมภูมิและทุติยภูมิ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาอ้างอิง เช่น สารานุกรม หนังสือ
แบบเรียน และบทความทางประวตั ิศาสตร์ต่างๆ

~6~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

กิจกรรมท้ายบทเรียน
คาชี้แจง : ให้นักเรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ หมายถึง
2. จารึก ตานาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ บนั ทกึ ความทรงจา เอกสารทางวิชาการ
ชวี ประวตั ิ เปน็ หลักฐานทางประวตั ิศาสตรป์ ระเภทใด
3. หลกั ฐานชัน้ ตน้ มีลกั ษณะสาคัญอย่างไร
4. หลักฐานชน้ั รองมีลกั ษณะสาคัญอย่างไร
5. ภาพเขียนสีผนงั ถา้ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ เครอื่ งประดับ เจดีย์ เป็นหลกั ฐาน
ประเภทใด

~7~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical Method)

วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ คือ การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความ
จากหลกั ฐานแลว้ นามาเปรียบเทยี บอย่างเปน็ ระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สาคัญท่ีเกิดข้ึนใน
อดีตว่าเหตุใดจึงเกิดข้ึน หรือเหตุการณ์ในอดีตนั้นได้เกิดและคล่ีคลายอย่างไร ซึ่งเป็นความ
มุ่งหมายทส่ี าคัญของการศึกษาประวัตศิ าสตร์

ความสาคญั ของวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์

1. ประวัติศาสตร์ช่วยให้มนุษย์รู้จักตัวเอง กล่าวคือ ทาให้รู้บางส่ิงบางอย่าง
เก่ยี วกบั ขอบเขตของตน ขณะเดยี วกันก็รเู้ กย่ี งกับขอบเขตของคนอืน่

2. ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกดความเข้าใจในมรดก วัฒนธรรมของมนุษยชาติ
ความรู้ ความคิดอ่านกว้างขวาง ทันเหตุการณ์ ทันสมัย ทันคน และสามรถเข้าใจ คุณค่าส่ิง
ตา่ งๆในสมัยของตนได้

3. ประวตั ศิ าสตร์ชว่ ยเสรมิ สร้างให้เกิดความระมดั ระวัง ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ฝึกฝนความอดทน ความสุขุมรอบคอบ ความสามารถในการวินิจฉัย และมีความละเอียด
เพยี งพอท่จี ะเขา้ ใจปัญหาสลับซับซ้อน

4. ประวัติศาสตร์เป็นเหตุการณ์ในอดีตท่ีมนุษย์สามารถนามาเป็นบทเรียน และ
ประยุกต์ใช้ในกระบวนการแก้ไขปัญหา และวิกฤตการณ์ต่างๆ ให้เป็นไปตามหลัก
จรยิ ธรรม คณุ ธรรม ทั้งน้เี พือ่ สนั ตสิ ขุ และพฒั นาการของสังคมมนุษย์เอง

~8~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

ขนั้ ตอนวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์

ขั้นตอนท่ี 1 การกาหนดเปาู หมาย
เป็น ข้ันตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีต

ส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคาถามท่ีต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์
ตอ้ งอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเร่ืองน้ันๆ
มาก่อนบา้ ง ซึง่ คาถามหลกั ท่นี ักประวตั ศิ าสตร์ควรคานงึ อยู่ตลอดเวลากค็ ือทาไมและเกิดข้ึน
อย่างไร

ขัน้ ตอนท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล
หลัก ฐานทางประวัติศาสตร์ท่ีให้ข้อมูล มีท้ังหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและ

หลักฐานทีไ่ ม่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรมี ทั้งท่ีเป็นหลักฐานช้ันต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานช้ันรอง
(ทุติยภูมิ) การรวบรวมข้อมูลน้ัน หลักฐานช้ันต้นมีความสาคัญและความน่าเชื่อถือมากกว่า
หลักฐานช้ันรอง แต่หลักฐานชั้นรองอธิบายเร่ืองราวให้เข้าใจได้ง่ายกว่าหลักฐานช้ันรอง ใน
การ รวบรวมข้อมูลประเภทต่างๆดังกล่าวข้างต้น ควรเริ่มต้นจากหลักฐานช้ันรองแล้ว จึง
ศึกษาหลักฐานชน้ั ต้น ถ้าเป็นหลักฐานประเภทไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็ควร เริ่มต้นจากผล
การศึกษาของนักวิชาการท่ีเชี่ยวชาญในแต่ละด้าน ก่อนไปศึกษาจากของจริงหรือสถานท่ี
จริงการศึกษาประวัติศาสตร์ท่ีดีควรใช้ ข้อมูลหลายประเภทข้ึนอยู่กับว่าผู้ศึกษาต้องการ
ศึกษาเร่ืองอะไร ดังน้ันการรวบรวมข้อมูลท่ีดีจะต้องจดบันทึกรายละเอียดต่างๆ ท้ังข้อมูล
และ แหล่งข้อมูลให้สมบรู ณ์และถกู ตอ้ งเพอ่ื การอา้ งองิ ทีน่ ่าเชอ่ื ถือ

ข้ันตอนท่ี 3 การประเมินคณุ ค่าของหลกั ฐาน

วิพากษ์ วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐาน
เหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูล
โดยข้ันตอนทั้งสองจะกระทาควบ คู่กันไป เน่ืองจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณา
จากเน้ือหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานน้ัน และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะ

~9~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

ของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการ วิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอกการวิพากษ์
หลักฐาน (external criticism) คือ การพิจารณาตรวจสอบหลักฐานท่ีได้คัดเลือกไว้แต่ละชิ้น
ว่ามีความน่าเชื่อถือ เพียงใด แต่เป็นเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิได้มุ่งท่ีข้อมูลใน
หลักฐาน ดงั นั้นขน้ั ตอนน้ีเป็นการสกัดหลักฐานท่ีไม่น่าเชื่อถือออกไปการวิพากษ์ ข้อมูลหรือ
วิพากษ์ภายในการวิพากษ์ข้อมูล (internal criticism) คือ การพิจารณาเน้ือหาหรือ
ความหมายท่ีแสดงออกในหลักฐานเพื่อประเมินว่าน่าเชื่อ ถือเพียงใด โดยเน้นถึงความ
ถูกต้อง คุณค่า ตลอดจนความหมายท่ีแท้จริง ซึ่งนับว่ามีความสาคัญต่อการประเมิน
หลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร เพราะข้อมูลในเอกสารมีทั้งท่ีคลาดเคล่ือน และมีอคติของ
ผู้บนั ทกึ แฝงอยู่ หากนักประวตั ศิ าสตร์ละเลยการวิพากษ์ข้อมูลผลท่ีออกมาอาจจะผิดพลาด
จากความ เป็นจริง

ข้ันตอนท่ี 4 การตีความหลักฐาน

การ ตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมี
เจตนาท่ีแท้จริงอย่างไร โดย ดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยท่ัวไป
ของประดิษฐกรรม ต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายท่ีแท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็
ตามในการ ตีความหลักฐาน นักประวัติศาสตร์จึงต้องพยายามจับความหมายจากสานวน
โวหาร ทัศนคติความเชื่อ ฯลฯ ของผู้เขียนและสังคมในยุคสมัยนั้นประกอบด้วย เพื่อทีจะได้
ทราบว่าถ้อยความนั้นนอกจากจะหมายความตามตัวอักษรแล้วยังมีความ หมายท่ีแท้จริง
อะไรแฝงอยู่

ขนั้ ตอนท่ี 5 การสังเคราะห์และการวเิ คราะห์ข้อมูล

จัดเป็นข้ันตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้อง เรียบ
เรียงเร่ือง หรือนาเสนอข้อมูลในลักษณะท่ีเป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัย
ตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าน้ันในข้ันตอนน้ี ผู้ศึกษาจะต้อง
นาข้อมูลท่ีผ่านการตีความมาวิเคราะห์ หรือแยกแยะเพื่อจัดแยกประเภทของเร่ืองโดยเร่ือง
เดียวกันควรจัดไว้ด้วยกัน รวมท้ังเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน เร่ืองท่ีเป็นเหตุเป็นผลซึ่ง

~ 10 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

กันและกัน จากน้ันจึงนาเร่ืองทั้งหมดมาสังเคราะห์หรือรวมเข้าด้วยกัน คือ เป็นการจาลอง
ภาพบคุ คลหรือเหตกุ ารณในอดีตข้นึ มาใหม่ เพือ่ ให้เห็นความสัมพันธ์และความต่อเน่ือง โดย
อธิบายถึงสาเหตุต่างๆ ท่ีทาให้เกิดเหตุการณ์ เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน และผล ท้ังน้ีผู้ศึกษาอาจ
นาเสนอเป็นเหตุการณ์พื้นฐานหรือเป็นเหตุการณ์เชิง วิเคราะห์ก็ได้ ข้ึนอยู่กับจุดมุ่งหมาย
ของการศึกษา

กิจกรรมท้ายบทเรียน
คาชีแ้ จง : ให้นกั เรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมดุ ประจาวชิ า
1. วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง
2. วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ มีความสาคญั อยา่ งไร
3. ขน้ั ตอนแรกของวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์
4. นาข้อมลู ที่ผ่านการตีความมาวิเคราะห์ หรือแยกแยะเพื่อจดั แยกประเภทของ
เรือ่ งโดยเรื่องเดียวกนั ควรจัดไวด้ ว้ ยกัน รวมทง้ั เรื่องทีเ่ กีย่ วขอ้ งหรือสมั พันธก์ ัน
เรื่องทีเ่ ป็นเหตุเปน็ ผลซ่งึ กันและกัน จากนนั้ จึงนาเรื่องทงั้ หมดมาสังเคราะหห์ รือ
รวมเขา้ ด้วยกนั หมายถึง ขน้ั ตอนใด
5. การวพิ ากษ์หลกั ฐานและวิพากษ์ขอ้ มูล หมายถึง ขนั้ ตอนใด

~ 11 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

การแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย

สมัยก่อนประวัติศาสตร์สามารถแบ่งย่อยได้หลายวิธี เช่น การแบ่งยุคตามลักษณะ
วัสดุท่ีมนุษย์นามาใช้ทาเคร่ืองมือ และลักษณะของเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ การแบ่งยุคตาม
ลักษณะเศรษฐกิจและสงั คม ฯลฯ

การแบง่ ยุคตามลกั ษณะของเครือ่ งมือเครื่องใช้

ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อมนุษย์ได้ดัดแปลงวัสดุตามธรรมชาติทาเป็นเคร่ืองมือ
เคร่ืองใช้ก่อเกิดเป็นวัฒนธรรมข้ึน การแบ่งยุคสมัยจึงใช้ชนิดของวัสดุ และ ลักษณะของ
เครอ่ื งมือเคร่อื งใช้เปน็ หลกั สามารถแบ่งได้กวา้ ง ๆ เป็น 2 ยุค คอื

1. ยคุ หิน แบ่งตามลักษณะเครอ่ื งมือเป็น 3 ยคุ คือ

เครื่องมือหินค้นพบที่อ.แมท่ ะ จ.ลาปาง
แหลง่ ที่มา : http://www.dooasia.com/siam/oldcity/loei2.shtml

ยุคหินเก่า เป็นยุคท่ีใช้เคร่ืองมือหินกะเทาะอย่างหยาบๆ สมัยหินเก่าพบหลักฐาน
เคร่ืองมือหินกรวดแม่น้า (Pebble Tools)ขนาดใหญ่ท่ี อ.เชียงแสน จ.เชียงราย อ.แม่ทะ จ.
ลาปาง แต่ยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนเกี่ยวกับการค้นพบโครงกระดูกมนุษย์สมัยหินเก่า
คนสมัยน้ีดารงชีวิตอยู่ด้วยการเก็บของปุาล่าสัตว์(Hunting Gathering) ไม่รู้จักการเพาะปลูก
หรือทาเคร่อื งปน้ั ดนิ เผา

~ 12 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

(เมลด็ ข้าวค้นพบที่ถ้าผี ถ้าปุงฮุง จ.แมฮ่ ่องสอน)
แหลง่ ที่มา : http://km.pmvc.ac.th/external_newsblog.php?links=1

ยุคหินกลาง ไม่พบหลักฐานในประเทศไทย สมัยหินกลาง ใช้เคร่ืองมือขวานหิน
กะเทาะทรงโดมแบบสับตัด(Chopper Chopping Tools) เคร่ืองมือแบบขูด(Scrapper)เคร่ือง
สะเก็ดหินแบบฮัวบิห์เนียน เคร่ืองมือแบบสุมาตราลิธ(Sumatralithลักษณะเป็นแผ่นค่อนข้าง
แบนยาวเกือบเปน็ รปู สี่เหลี่ยมผืนผ้า) คนสมยั หินกลางอาศัยอยู่ในถ้า ในประเทศไทยพบท่ีถ้า
ผี ถ้าปุงฮุง จ.แม่ฮ่องสอน และถ้าในภาคใต้ บางแหล่งรู้จักการเพาะปลูกและทา
เครอ่ื งปัน้ ดนิ เผา ยงั ไม่พบร่องรอยโครงกระดกู มนุษย์สมยั น้ใี นประเทศไทย

(แหลง่ โบราณคดีบ้านเก่า จ.กาญจนบรุ ี)
แหลง่ ทีม่ า : http://km.pmvc.ac.th/external_newsblog.php?links=1

ยุคหินใหม่ เป็นยุคทใ่ี ช้เครื่องมือหินขัด มีการทาเคร่ืองป้ันดินเผาข้ึนใช้ สมัยหินใหม่
พบหลักฐานการใช้เคร่ืองมือแบบขวานหินขัด(Polish Axes/ Ads) ท้ังแบบมีบ่าและไม่มีบ่า
บางครั้งชาวบ้านเรียกว่าขวานฟูา เพราะมักพบตามหัวไร่ปลายนาหลังถูกน้าฝนชะล้าง คน
สมัยน้ีรจู้ ักการเพาะปลกู และเลยี้ งสตั ว์แลว้ รู้จักการตง้ั ถิน่ ฐานบา้ นเรือนตามเนินดินค่อนข้าง
สูง หรือริมฝ่ังแม่น้าชันๆ เช่น แม่น้าแควใหญ่ แม่น้าแควน้อย จ.กาญจนบุรี พบหลักฐาน

~ 13 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

โครงกระดูกแพร่กระจายทั่วไปในประเทศไทย เช่น แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า จ.กาญจนบุรี
แหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี ง จ.อุดรธานี (ภาชนะลายเขียนสีบ้านเชียง) แหล่งโบราณคดี อ.โคก
เจริญ จ.ลพบุรี ฯลฯ คนสมัยน้ีนิยมใส่ภาชนะดินเผาบรรจุอาหาร เคร่ืองมือหินและ
เคร่อื งประดบั จากหิน กระดกู หรืองาช้าง ลงในหลุมศพดว้ ย

2. ยุคโลหะ แบ่งตามชนดิ ของวสั ดุเปน็ 2 ยุค คอื
ยุคสาริด เป็นยุคท่ีใช้โลหะผสมระหว่างทองแดงและดีบุกเรียกว่าสาริดมาทาเป็น
เครอ่ื งมือเครอ่ื งใช้
ยุคเหล็ก เป็นยุคทร่ี ู้จกั การถลุงเหล็ก นามาทาเปน็ เคร่อื งมือเคร่อื งใช้

การแบ่งยคุ ตามลกั ษณะเศรษฐกิจและสงั คมของมนษุ ย์
นอกจากการแบ่งยุคตามชนิดของวัสดุและเคร่ืองมือเคร่ืองใช้แล้วยังพบว่าใน

บางคร้ังนักวิชาการอธิบายยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ออกโดยดามลักษณะเศรษฐกิจสังคม
ออกเปน็

1. สงั คมนายพราน เป็นยคุ ทม่ี นุษย์ดารงชีวิตดว้ ยการลา่ สตั ว์ จับสตั ว์น้า เก็บอาหาร
ทไ่ี ด้จากธรรมชาติ ยังไม่ตั้งบา้ นเรือนทีอ่ ยู่อาศยั ถาวร มักอพยพตามฝงู สัตว์

2. สังคมเกษตรกรรม เป็นยุคท่ีมนุษย์รู้จักการเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์ ยังคงมีการ
ล่าสัตว์ จับสัตว์น้า และเก็บอาหารท่ีได้จากธรรมชาติ มักจะต้ังบ้านเรือนถาวรบนพื้นท่ีท่ี
เหมาะแก่การเกษตรกรรม มีการรวมกลุ่มเป็นหมู่บ้าน เป็นเมือง มีการแลกเปล่ียนผลผลิต
และมีระบบการปกครองในสงั คม

3. สังคมเมือง เป็นยุคท่ีมนุษย์รวมกลุ่มเป็นสังคมขนาดใหญ่ เช่น สมัยลพบุรี สมัย
สโุ ขทยั สมยั อยุธยา ฯลฯ

~ 14 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชี้แจง : ใหน้ ักเรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. ยคุ ที่ใช้โลหะผสมระหวา่ งทองแดงและดีบกุ เรียกว่าสาริดมาทาเปน็ เครื่องมือ
เครือ่ งใช้ จดั อยู่ในยคุ ใด
2. การแบง่ ยุคตามลักษณะเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย์ มีอะไรบา้ งอยา่ งไร
3. หลักฐานเครือ่ งมือหินกรวดแม่นา้ (Pebble Tools)ขนาดใหญ่ท่ี อ.เชียงแสน จ.
เชียงราย อ.แมท่ ะ จ.ลาปาง อยู่ในยคุ ใด
4. ถ้าผี ถา้ ปงุ ฮุง จ.แมฮ่ ่องสอน และถ้าในภาคใต้ บางแหลง่ ร้จู กั การเพาะปลูกและ
ทาเครือ่ งปั้นดินเผา ในยคุ ใด
5. ยุคทีม่ นษุ ยด์ ารงชีวติ ด้วยการลา่ สัตว์ จบั สัตวน์ า้ เก็บอาหารท่ไี ดจ้ ากธรรมชาติ
ยังไม่ตั้งบา้ นเรือนท่ีอยู่อาศยั ถาวร มักอพยพตามฝงู สัตว์ จดั เป็นสังคมแบบใด

~ 15 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

อาณาจักรโบราณในประเทศไทย

1. อาณาจักรทวารวดี เป็นอาณาจักรท่ีตั้งอยู่ในบริเวณท่ีราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
ต้ังข้ึนราวพุทธศตวรรษท่ี 12-16 มีศูนย์กลางอยู่บริเวณนครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี มี
ความเจริญ ทางการค้า ศิลปวัฒนธรรม และพุทธศาสนา เช่น วงล้อพระธรรมจักร และ
กวางหมอบที่พระปฐมเจดีย์ จงั หวดั นครปฐม

2. อาณาจักรโคตรบูร เป็นอาณาจักรอยู่ท่ีบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งข้ึน
ราวพุทธศตวรรษท่ี 11-15 มีศูนย์กลางอยู่ท่ีนครพนมมีวัฒนธรรมประเพณีแบบอินเดีย นับ
ถือพระพุทธศาสนานกิ ายหินยาน (เถรวาท) โบราณสถานทางพระพุทธศาสนา คือ พระธาตุ
พนม

3. อาณาจกั รศรีวิชยั เปน็ อาณาจกั รอยู่ในภาคใต้ ตง้ั ขนึ้ ราวพทุ ธศตวรรษที่ 12-17 มี
ศูนย์กลางอยู่ท่ี อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ลงไปจนจดแหลมมลายู เป็นอาณาจักรท่ี
เป็นศนู ย์กลาง การค้าขายทางทะเลมีความเจริญรุ่งเรอื งท้ังทางพระพุทธศาสนา

4. อาณาจกั รลา้ นนา เปน็ อาณาจกั รอยู่ในภาคเหนือ ต้ังข้ึนในราวพุทธศตวรรษท่ี 18
มีความเจริญทางศิลปวิทยาการ มีตัวหนังสือของตนเองใช้เรียกว่า "อักษรไทยยวน (ไทย
โยนก)" เปน็ ศูนย์กลางพระพุทธศาสนา

5. อาณาจักรละโว้หรืออาณาจักรลพบุรี เป็นอาณาจักรท่ีต้ังอยู่บริเวณลุ่มแม่น้า
เจา้ พระยาต้ังข้ึนราวพุทธศตวรรษท่ี 13 มีความเจริญรุ่งเรืองด้านพระพุทธศาสนา ได้รับเอา
ศิลปวัฒนธรรมแบบขอมเข้ามาผสมผสานเป็นลักษณะเฉพาะของลพบุรี เช่น พระปรางค์
สามยอด ลพบุรี

6. อาณาจักรตามพรลงิ คห์ รือนครศรีธรรมราช เป็นอาณาจักรท่ีตั้งอยู่ทางภาคใต้
ของประเทศไทย ต้ังขึน้ ในราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 เปน็ ศนู ย์กลางการค้า และการปกครอง
แล้ว ยังมีความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางดา้ นพระพทุ ธศาสนา

7. อาณาจักรหริภุญชัย เป็นอาณาจักรอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ต้ังข้ึนใน
ราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาทางภาคเหนือ
(แหลง่ ที่มา : https://sites.google.com/site/phumisastr1/home)

~ 16 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

กิจกรรมท้ายบทเรียน
คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. อาณาจักรที่ตงั้ อยใู่ นบริเวณท่รี าบลุ่มแมน่ ้าเจ้าพระยา ตง้ั ขึ้นราวพทุ ธศตวรรษที่
12-16 มีศูนย์กลางอยบู่ ริเวณนครปฐม สพุ รรณบุรี ราชบรุ ี หมายถึง อาณาจกั รใด
2. อาณาจักรทเ่ี ปน็ ศูนยก์ ลาง การคา้ ขายทางทะเลมีความเจริญรงุ่ เรอื งท้งั ทาง
พระพุทธศาสนา หมายถงึ อาณาจักรใด
3. อกั ษรไทยยวน หรือ ไทยโยนก พบไดท้ ี่อาณาจักรใด
4. พระปรางค์สามยอดพบไดท้ อ่ี าณาจกั รใด
5. อาณาจกั รโบราณของไทยใดทอ่ี ยู่ทางภาคเหนือและมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทาง
ภาคเหนือ

~ 17 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

รัฐโบราณในดินแดนอุษาคเนย์ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)

วัฒนธรรมอินเดียได้แผ่ขยายมาสู่ดินแดนอุษาคเนย์ หรือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มากว่า 4,000 ปีมาแล้ว ตรงกับยุคหินใหม่หรือช่วงสังคมเกษตรกรรมท่ีมนุษย์เริ่มมีการ
ประดิษฐ์ภาชนะและเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ แต่ในการติดต่อแลกเปล่ียนสินค้าทางเส้นทางบก
และทางทะเลของประชากรในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ริม่ ปรากฎเด่นชัดในยคุ โลหะหรือก่อน
ประวตั ศิ าสตร์ตอนปลาย ราว 2,500 ปี สินคา้ จากอินเดียหลั่งไหลเข้ามาในแหล่งโบราณคดี
ร่วมสมยั ทวารวดใี นประเทศไทยรวมทง้ั ดินแดนเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เด่นชัดมากราวพุทธ
ศตวรรษที่ 5-9 หรอื ยุคเหล็ก (สมัยอนิ โด-โรมัน) 2,500-1,500 ปีมาแล้ว รัฐโบราณแรกรับ
วฒั นธรรมอินเดีย ทร่ี ู้จักกนั ดคี อื รฐั ฟูนนั รัฐเจนละ รฐั ทวารวดี และรัฐศรีวชิ ยั

(รฐั ฟนู ัน)
แหลง่ ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki

1. รัฐฟูนัน เปน็ รัฐท่ีมีอาณาเขตกว้างขวางมาก ครอบคลุมปากแม่น้าโขง (เวียดนาม
ใต้) และแม่น้าโขงตอนใต้ (กัมพูชา) มีเมืองออกแก้ว (ตะวันออกเฉียงใต้ของเวียดนาม) เป็น
เมืองท่า และมีเมืองหลวงอยู่ท่ีเมืองเถมู (เมืองวยาธปุระใกล้เขาบาพนมในกัมพูชา) มีความ
เชื่อมโยงกับเมืองโบราณอู่ทองคือ การขยายอาณาจักรฟูนันในสมัยพระเจ้าฟันซิมันซึ่ง
สามารถปราบปรามรัฐถึง 10 รัฐ มีนักโบราณคดีได้รวบรวมข้อมูลไว้ว่า รัฐจินหลิน ซึ่งเป็น

~ 18 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

รัฐสุดท้ายท่ีพระองค์ทรงปราบได้นั้น น่าจะอยู่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง และครอบคลุมลุ่ม
แม่น้าเจา้ พระยาและแหลมมลายู

(รฐั เจนละ)
แหลง่ ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki

2. รัฐเจนละ แต่เดิมเป็นเมืองข้ึนของอาณาจักรฟูนัน ต่อมาพระเจ้าภววรมันปฐม
กษตั ริย์ของเจนละยึดวยาธปุระจากกษตั รย์องค์สุดทา้ ยของฟูนัน จึงยึดฟูนันและขยายอาณา
เขตไปถึงลุ่มแม่น้ามูลตอนใต้และแม่น้าโขง มีเมืองจาปาศักด์ิ (ประเทศลาว) เป็นราชธานี
ต่อมามีการย้ายเมืองหลวงไปอยู่ท่ีอีศานปุระ (ตะวันตกเฉียงเหนือของเมืองกาปงธม กลุ่ม
โบราณสถานสมโบรไ์ พรกุก) ต่อมามีการแบ่งเจนละเป็น เจนละบก และเจนละน้า(ฟูนันเก่า)
ต่อมาเจนละน้าถูกชวาตีแตก พระเจ้าชัยวรมันท่ี 2 สรุปได้ว่า อารยธรรมเจนละเป็นทายาท
ของฟนู ัน ซึง่ รบั อทิ ธพิ ลมาจากอินเดีย

~ 19 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

(รัฐทวารวดี)
แหลง่ ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki

3. รฐั ทวารวดี พนื้ ทีด่ ้านตะวนั ตกของภาคกลางตอนล่างของไทยในบริเวณลุ่มแม่น้า
แควนอ้ ย-แควใหญ่, ลมุ่ แม่นา้ แม่กลอง-ทา่ จนี ซึ่งครอบคลมุ พืน้ ที่จังหวดั กาญจนบุรี ราชบุรี
นครปฐม สุพรรณบุรี และพื้นท่ีด้านตะวันออกบริเวณลุ่มแม่น้าบางปะกง มีร่องรอยการตั้ง
ถิ่นฐานของชุมชนโบราณในสังคมเกษตรกรรมมาต้ังแต่ช่วง 4,000 ปีมาแล้ว ผู้คนในสมัย
โบราณจะกระจายตวั ออกเปน็ 3 กลุ่มใหญๆ่ กลุ่มชนบรเิ วณลมุ่ แม่น้าแม่กลอง-ท่าจีน, กลุ่ม
ชนบริเวณลุ่มแม่นา้ ลพบรุ -ี ปาุ สัก, กลุ่มชนลมุ่ แม่นา้ บางปะกง มีการติดต่อแลกเปล่ียนสินค้า
ระหว่างกลุ่มท้ัง 3 กลุ่ม ท้ังทางบกและทางน้า และมีการแล่นเรือเลียบชายฝั่งในเอเชีย
ตะวันออกเฉยี งใต้ มีการติดต่อแลกเปล่ียนสินค้ากับกลุ่มชนในเวียดนามและจีนตอนใต้ และ
เริ่มติดต่อค้าขายกับกลุ่มประเทศทางตะวันตก โดยเฉพาะประเทศอินเดียและกลุ่มประเทศ
แถบเมดิเตอร์เรเนียนและเปอร์เซีย การติดต่อค้าขายส่งผลให้ชาวอินเดียท่ีเป็นพ่อค้าและ
นกั บวชทั้งในศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธติดตามเข้ามาต้ังถิ่นฐาน ชาวอินเดียได้นาเอา
ศาสนา ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เคยปฏิบัตเิ ข้ามาเผยแพร่ โดยเฉพาะวัฒนธรรม
ของชาวพุทธท่ีมีส่วนช่วยเสริมสร้างวัฒนธรรมทวารวดี ส่งผลต่อรูปแบบการต้ังถิ่นฐานของ
ประชากรในลุ่มแม้น้าเจ้าพระยาและแม่น้าสายใหญ่ เช่น ลุ่มแม่น้าแม่กลอง-ท่าจีน, ลุ่ม
แม่น้าลพบุรี-ปุาสัก และลุ่มแม่น้าบางปะกง มีการสร้างคูน้าคันดินล้อมรอบเมืองเพื่อ

~ 20 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

ปูองกันน้าท่วมและเพื่อปูองกันข้าศึก ซึ่งคล้ายคลึงกับรูปแบบการต้ังถิ่นฐานของชาวอินเดีย
ท่ีตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณแม่น้าคงคง-ยมุนา และลุ่มแม่น้ากฤษณา-โคทาวรี ต้ังแต่สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ตอนปลาย (ยุคเหล็ก) ในยุคดังกล่าวมีการรับเอาระบบเหรียญกษาปณ์ท่ีชาว
กรีก ชาวโรมันและชาวเปอร์เชีย ซึ่งเคยใช้ในประเทศอินเดียและในดินแดนเอเชียตะวันออก
เฉยี งใตม้ าใช้ จึงพบเหรียญโบราณของอินเดียตามเมืองท่าต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สาหรับเมืองโบราณอู่ทองนั้น พุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองต่อมาและกลายเป็นศูนย์กลาง
พุทธศาสนารุ่นแรกของรัฐทวารวดีท่ีรับอิทธิพลจากศูนย์กลางพุทธศาสนาลุ่มแม่น้า
กฤษณา-โคทาวรี

(รฐั ศรวี ิชยั )
แหลง่ ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki

4. รฐั ศรีวิชัย นักประวตั ศิ าสตร์ชาวองั กฤษ, ผู้เชี่ยวชาญทศิ ทางลมมรสุมชาวไทย ได้
สันนษิ ฐานว่า ศูนย์กลางอาณาจกั รศรีวชิ ัย อยู่ท่ีเมืองโบราณไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ
มีนักโบราณคดีชาวอินโดนีเซียมีความเห็นว่า ศูนย์กลางอาณาจักรศรีวิชัยอยู่ท่ีเมืองจัมบี
เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย อย่างไรก็ตาม นักประวัติศาสตร์และโบราณคดีส่วนใหญ่
ตา่ งมีความเหน็ ว่า รัฐศรีวิชัย เป็นสหพันธรัฐซึ่งมีหลายศูนย์กลาง น่าจะอยู่ในบริเวณภาคใต้
ของไทยโดยเฉพาะเมืองไชยา นครศรีธรรมราช และในบางช่วงน่าจะอยู่ท่ีเกาะสุมาตรา

~ 21 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

บริเวณเมืองปาเล็มบังและเมืองจัมบี (แหล่งท่ีมา : การประชุมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ จัด
ข้ึนเมื่อวันท่ี 30 สิงหาคม – 3 กันยายน พ.ศ. 2560 ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส
อินทปัญโญ โดย สยามสมาคม มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์ มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส
อินทปัญโญ และ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นท่ีพิเศษเพื่อการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน
(อพท.))

กิจกรรมท้ายบทเรียน
คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมดุ ประจาวชิ า
1. ดินแดนอุษาคเนย์ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) สว่ นใหญไ่ ด้รบั อิทธิพลจากอารย
ธรรมใดมากที่สุด
2. รฐั ท่มี ีอาณาเขตกวา้ งขวางมาก ครอบคลุมปากแมน่ า้ โขง (เวยี ดนามใต้) และ
แมน่ ้าโขงตอนใต้ (กัมพชู า) หมายถงึ อาณาจกั รใด
3. รฐั ท่ที ่มี ีพ้นื ทค่ี รอบคลมุ จังหวัดกาญจนบรุ ี ราชบรุ ี นครปฐม สุพรรณบุรี และ
พื้นทด่ี ้านตะวันออกบรเิ วณล่มุ แม่นา้ บางปะกง
4. เมืองไชยา นครศรธี รรมราช น่าจะเปน็ ศูนยก์ ลางทีต่ ง้ั ของรัฐใด
5. รฐั จินหลิน หมายถึงรฐั ใด

~ 22 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

อาณาจักรสุโขทัย

การก่อต้ังกรุงสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัยก่อตั้งข้ึนประมาณ พ.ศ. 1780 พ่อขุนศรี
อินทรา- ทิตย์ ทรงพระนามเดิมว่า พ่อขุนบางกลางหาว ทรงสถาปนาสุโขทัยข้ึนมา สร้าง
ความเป็นปึกแผ่นให้กับชนชาติไทย โดยขยายเขตการปกครองออกไปอย่างกว้างขวาง
สุโขทัยเป็นราชอาณาจักรของชาติไทย อยู่ประมาณ 200 ปี จึงถูกรวมเข้าเป็นส่วนหน่ึงของ
อาณาจกั รอยธุ ยา เมื่อ พ.ศ. 1981

(อาราจกั รสโุ ขทัย)
แหลง่ ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki

~ 23 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

1. กษัตริยข์ องกรงุ สุโขทยั
1. พ่อขุนศรีอินทราทติ ย์
2. พอ่ ขนุ บานเมือง
3. พ่อขุนรามคาแหง
4. พระยาเลอไทย
5. พระยางวั่ นาถม
6. พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลิไทย)
7. พระมหาธรรมราชาท่ี 2
8. พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสยลอื ไทย)
9. พระมหาธรรมราชาท่ี 4 (บรมปาล)

2. การปกครองกรงุ สโุ ขทยั
1. แบบพ่อปกครองลูก พระมหากษัตริย์กับประชาชนมีความใกล้ชิดแบบเครือ

ญาติ เรียกพระมหากษตั ริย์วา่ พอ่ ขนุ
2. แบบธรรมราชา พระมหากษัตริย์ เป็นแบบอย่างของธรรมราชา เรียก

พระมหากษัตริย์วา่ พระมหาธรรมราชา

~ 24 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

3. การจัดรูปแบบการปกครอง

1. การปกครองราชธานี กรุงสุโขทัยเป็นศนู ย์กลางการปกครองในอาณาจกั ร
2. การปกครองส่วนภูมิภาค เป็นการปกครองเมืองต่าง ๆ ท่ีอยู่นอกเมืองหลวง
ออกไป แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท

1. หัวเมืองช้ันใน (เมืองลูกหลวงหรอื เมืองหน้าดา่ น) เปน็ เมืองที่ตงั้ อยู่รอบ ราช
ธานี ทง้ั 4 ทศิ

2. หวั เมืองช้ันนอก (เมืองพระยามหานคร) อยู่ไกลจากราชธานีมากกว่าเมือง
ลกู หลวง กษตั รยิ ์ทรงแต่งตงั้ พระราชวงศ์หรอื ขนุ นางชั้นสงู ไปปกครองดแู ลดนิ แดน

3. หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองท่ีอยู่ไกลราชธานีออกไปมาก เป็นเมืองของ
คน ตา่ งชาติ ตา่ งภาษา ท่อี ยู่ใตก้ ารปกครองของสุโขทยั

~ 25 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

4. เศรษฐกิจสมัยสุโขทัย
1. เกษตรกรรม การเพาะปลูกเป็นอาชีพหลกั ของประชาชน ประชาชนท่ีดินทากินเป็น

ของตนเอง มีระบบชลประทานเขา้ ชว่ ยในการทาการเกษตร
2. หตั ถกรรม เครือ่ งสงั คโลก เปน็ สินคา้ ส่งออกไปขายยงั ตา่ งประเทศ
3. พาณิชยกรรม ระบบการค้าแบบเสรีไม่เก็บภาษี เงินตรา คือ เงินพดด้วง แบ่ง

ออกเป็น สลงึ บาท และตาลึง

5. ความเจริญทางศิลปวฒั นธรรม
ขนบประเพณี เป็นประเพณีท่ีเกี่ยวกับพุทธศาสนา เช่น ประเพณีการบวช ทอดกฐิน

การ สร้างวัด เป็นต้น
ศาสนา พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (หีนยาน) ลัทธิลังกาวงศ์ เป็นศาสนาประจา

ชาติ
ศิลปกรรม ส่วนใหญ่สร้างข้ึนด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนา สถาปัตยกรรมท่ี

สาคญั คอื เจดยี ์ทรงกลมตามแบบอย่างลงั กา เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบณิ ฑ์ หรอื ดอกบวั ตมู
ภาษา และวรรณคดี พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยข้ึนเป็นคร้ัง

แรก ใน พ.ศ. 1826
6. ความสัมพนั ธก์ บั ต่างประเทศ

ความสมั พนั ธ์กับล้านนา และอาณาจักรพะเยา เป็นไมตรกี นั ตลอดมา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรมอญ มอญสวามิภักด์ิต่อสุโขทัย ในสมัยพ่อขุน
รามคาแหง มหาราช เพราะทรงสนับสนุนมะกะโทราชบุตรเขยเป็นกษัตริย์ 3. ความสัมพันธ์
กับอาณาจักรนครศรีธรรมราช สุโขทัยรับเอาพุทธศาสนา นิกายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ มา
จากลงั กา โดยผ่านเมืองนครศรีธรรมราช
ความสัมพันธ์กับลังกา สุโขทัยมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับลังกา ลังกาได้ถวาย
พระ พุทธสหิ ิงค์แก่สุโขทัย
ความสัมพนั ธ์กับจนี สุโขทยั ทาการคา้ กับจีนมาเป็นเวลานาน จีนได้ส่งคณะทูตเข้ามา
เจริญสัมพนั ธไมตรกี บั ไทย ซึง่ เป็นประโยชนก์ ับไทยท้ังการเมือง และการคา้

~ 26 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

ความเสอ่ื มของกรุงสโุ ขทยั
1. การแย่งชิงราชสมบัติระหว่างเชื้อพระวงศ์ของสุโขทัยทาให้อานาจการปกครอง

ออ่ นแอ ลง
2. พระมหากษัตริย์ของสุโขทัยสมัยต่อมา ทรงสนพระทัยทางด้านศาสนามากกว่า

การ ปูองกนั ประเทศ
3. อาณาจักรอยุธยา สถาปนาข้ึนทางตอนใต้ มีความเข้มแข็งมากข้ึน จึงผนวก

อาณาจกั ร สุโขทยั เป็นอาณาเขตเดยี วกนั
กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชี้แจง : ให้นกั เรียนทากิกรรมท้ายบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. การปกครองกรุงสุโขทัย เปน็ แบบใด
2. พ่อขุนรามคาแหงประดิษฐอ์ กั ษรไทย เมื่อปีพทุ ธศักราชใด ตรงกบั คริสต์ศกั ราชท่ี
เทา่ ใด
3. การปกครองส่วนภมู ิภาคของอาณาจกั รอยุธยา มีอะไรบ้างและอยา่ งไร
4. อาณาจกั รของสุโขทัยมีความสัมพนั ธ์กับอาณาจกั รมอญอย่างไร
5. ความเส่อื มของกรุงสุโขทยั มีอะไรบ้างอย่างไร

~ 27 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา

อาณาจักรสุโขทัยเส่ือมอานาจลงนั้น พระเจ้าอู่ทองผู้นาคนไทยท่ีอยู่บริเวณตอนล่าง
ของ แม่นา้ เจ้าพระยา พระองค์ไดรวบรวมผู้คนก่อต้ังราชธานีขึ้นท่ีบริเวณหนองโสน หรือบึง
พระราม ปจั จุบนั อยู่ในเขตอาเภอเมือง จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

1. การปกครองในสมยั อยุธยา
ภายหลังจากท่ีพระเจ้าอู่ทอง (พระรามาธิบดีท่ี 1) สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราช

ธานแี ล้ว ระหว่างปี พ.ศ. 1983 จนถึง พ.ศ. 2310 เป็นเวลา 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ทั้งส้ิน
34 พระองค์ มี 5 ราชวงศ์คือ

1. ราชวงศ์อู่ทอง (พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 1952)
2. ราชวงศ์สุพรรณภมู ิ (พ.ศ. 1952 ถึง พ.ศ. 2112)
3. ราชวงศส์ โุ ขทยั (พ.ศ. 2112 ถึง พ.ศ. 2172)
4. ราชวงศ์ปราสาททอง (พ.ศ. 2172 ถึง พ.ศ. 2231)
5. ราชวงศบ์ า้ นพลหู ลวง (พ.ศ. 2231 ถึง พ.ศ. 2310)

2. รปู แบบการปกครองในสมัยพระเจ้าอูท่ อง ถึง พระเจ้าสามพระยา
1. การปกครองสว่ นกลาง (ภายในราชธานี) เป็นแบบจตสุ ดมภ์ คอื เวียง วงั คลัง นา
2. การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ เมืองหน้าด่าน หัวเมืองชั้นใน

หัวเมืองชั้นนอก หัวเมืองประเทศราช

3. การปกครองสมยั พระบรมไตรโลกนาถ
1. การปกครองสว่ นกลาง แบ่งออกเปน็ สมหุ กลาโหม และสมุหนายก
2. การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็นหัวเมืองช้ันใน หัวเมืองช้ันนอก เมือง

ประเทศราช

~ 28 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

4. ลักษณะสงั คมสมยั อยธุ ยา
1. พระมหากษตั ริย์ ทรงดารงตาแหนง่ สงู สุดในสงั คม ทรงมีพระราชอานาจเด็ดขาด
2. เจ้านาย เปน็ ชนชั้นสูงถัดจากพระมหากษตั ริย์ลงมา
3. ขุนนางหรือข้าราชการ จะมีศักดินาตามตาแหน่ง และความรับผิดชอบของตน

ลดหล่นั ลงไป
4. ไพร่ คือประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ตามกฎหมายน้ันชายฉกรรจ์ทุกคน ท่ีอยู่

ใน ฐานะไพร่ จะต้องไปข้ึนทะเบียนสงั กัดมูลนาย
5. พระสงฆ์ มีความสาคัญต่อสังคมมาก พระสงฆ์ยังเป็นตัวกลางเชื่อมโยงชนชั้น

ปกครอง กับชนช้ันใตก้ ารปกครองให้เขา้ กนั ได้โดยอาศัยวดั เป็นศนู ย์กลาง
6. ทาส เปน็ บคุ คลระดบั ต่าในสังคมอยุธยา ไม่มีอสิ ระตกเปน็ สมบัตขิ องนายเงนิ

5. สภาพทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
เศรษฐกิจสมัยอยุธยาข้ึนอยู่กับการเกษตรกรรม คือ การทานา และพืชผลอ่ืน ๆ ซึ่ง

รายได้ของแผ่นดนิ
1. จังกอบ คือ ภาษผี ่านดา่ นทงั้ ทางบก และทางน้า
2. อากร คอื การเก็บผลประโยชนจ์ ากการประกอบอาชีพของราษฎร
3. ฤชา คือ ค่าธรรมเนียม ซึ่งเรียกเก็บจากราษฎร ท่ีมาใช้บริการของรัฐ เช่น

คา่ ธรรมเนยี ม ในการออกโฉนดตราสาร หรือคา่ ปรบั ทีเ่ รียกเก็บจากฝุายแพ้คดคี วาม
4. ส่วย คือ ส่ิงของหรือเงินทดแทนแรงงานจากไพร่ท่ีไม่ได้มาเข้าเวรรับ

ราชการ
5. การค้ากับต่างประเทศ นอกจากการเก็บภาษีอากรภายในประเทศแล้ว

กรมพระคลงั ยังมี
รายได้จากการเก็บภาษกี ารค้ากับต่างประเทศอีก ได้แก่ ภาษีสินค้าขาเข้า ภาษีสินค้า

ขาออก กาไรท่ีได้จากการผูกขาดสินค้าของกรมพระคลังสินค้า การแต่งเรือสาเภาหลวงไป
คา้ ขาย

~ 29 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

6. ศลิ ปวฒั นธรรมไทยสมัยอยุธยา
วัฒนธรรมไทยในสมัยอยุธยา ได้รับอิทธิพลจากอินเดียเป็นส่วนใหญ่ โดยอินเดีย

ถ่ายทอด มายังขอม แล้วไทยรับมาอีกต่อหน่ึง โดยผสมผสานกับวัฒนธรรมเดิมในสมัย
สโุ ขทัย
7. ศลิ ปะในสมัยอยธุ ยา

1. ในระยะแรกอิทธิพลของศลิ ปะแบบเขมรปรากฏชัดมาก ได้แก่การสร้างพระปรางค์
และ พระพทุ ธรปู ท่เี รียกกว่าพระพุทธรปู สมัยอทู่ อง

2. ศิลปะแบบสุโขทัยได้รบั การฟื้นฟูในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ เช่น การสร้างเจดีย์
รปู ดอกบวั ตมู การสร้างพระพุทธรปู ทีเ่ รียกว่าพระพุทธรูปสมยั อยธุ ยา

3. ศิลปะแบบจีน และแบบตะวันตกได้เผยแพร่เข้ามาในระยะหลัง สาหรับศิลปแบบ
ตะวันตกนั้น ปรากฏชัดมาก ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เช่น พระราชวังนารายณ์
ราชนเิ วศน์

8. สถาปตั ยกรรม
ศิลปะการกอ่ สร้างส่วนใหญ่เป็นแบบขอม วัสดุท่ีนามาใช้คล้ายคลึงกับในสมัยสุโขทัย

การก่อสร้าง ในระยะเลียนแบบสมัยสุโขทัย แต่ต่อมาได้พัฒนาข้ึน เป็นแบบฉบับ ของสมัย
อยธุ ยาโดยเฉพาะ ในระยะที่มีการตดิ ต่อกบั ชาวต่างประเทศ ได้เปล่ียนเป็นการรับเอาศิลปะ
แบบ ตะวันตกเขา้ มาบางอย่าง เชน่ การสรา้ งพระราชวงั นารายณ์ราชนเิ วศนท์ ่ลี พบุรี

9. จิตรกรรม
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภาพเขียนบุคคล ภาพบ้านเรือนตามแบบจีน แต่ดัดแปลงให้

เป็นศิลปะแบบไทย

10. ปฎิมากรรม เชน่ การหลอ่ พระพทุ ธรูปสัมฤทธ์ิ การสร้างพระพมิ พ์

11. ประณีตศลิ ป์
เครอ่ื งจาหลกั ไม้ ได้แก่ ประตจู าหลกั ธรรมาสน์ ตใู้ ส่หนังสือลายรดนา้
เครอ่ื งมุก ได้แก่ บานประตอู ุโบสถวดั พระศรีมหาธาตุ จังหวดั พษิ ณโุ ลก

~ 30 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

เครอ่ื งถม ไดแ้ ก่ เคร่อื งถมเมืองนครศรีธรรมราช
การรอ้ ยกรอง ได้แก่ การร้อยดอกไม้เพื่อประดิษฐ์เป็นรูปต่าง ๆ เช่น รูปสัตว์ รูปโคม
เป็นต้น

12. วรรณคดี
วรรณคดีท่ีสาคัญ ในระยะแรกมีหลายเร่ือง คือ ลิลิตโองการแช่งน้า ลิลิตยวนพ่าย

มหาชาติ คาหลวง ลลิ ติ พระลอ
สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กวีท่ีสาคัญ คือ พระโหราธิบดี พระศรีมโหสถ ศรี

ปราชญ์ วรรณคดีท่ีสาคัญ ได้แก่ จินดามณี สมุทรโฆษคาฉันท์ อนิรุทธ์คาฉันท์ กาสรวลศรี
ปราชญ์

สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กวีท่ีสาคัญ คือ เจ้าฟูาธรรมนิเบศรฯ (เจ้าฟูากุ้ง)
วรรณคดีท่ีสาคัญได้แก่ นันโทปนันทสูตร คาหลวง พระมาลัยคาหลวง กาพย์ห่อโคลง
ประพาสธารทองแดง กาพย์แห่เรอื ดาหลัง อิเหนา

13. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอาณาจักรอยุธยากับต่างประเทศ
พม่า : ส่วนใหญ่เป็นการทาสงครามกัน ส่วนมากลักษณะของสงครามคือ พม่าเป็น

ฝุายยก ทพั เขา้ มารุกรานไทย และไทยเปน็ ฝุายตั้งรบั
ล้านนา : ส่วนใหญ่เป็นการทาสงครามกันโดยไทยต้องการขยายอาณาเขตไทยเคย

รวบรวม อาณาจักรล้านนา มาไว้ในอาณาจักรหลายคร้ัง แต่ในบางครั้งล้านนาก็ตกเป็น
เมืองข้ึนของพม่า กัมพูชา ส่วนใหญ่เป็นการทาสงครามระหว่างกัน เพราะไทยมีนโยบาย
ครอบครอง

กัมพูชา : กัมพูชาพยายามต้ังตัวเป็นอิสระ ไทยจึงต้องยกกองทัพไปปราบปรามอยู่
บอ่ ยคร้ัง

ลาว : ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับลาว เป็นไปในลักษณะของ "บ้านพี่เมืองน้อง"
จุดมุ่งหมายท่ไี ทยกบั ลาวมีความสมั พันธท์ ด่ี ตี อ่ กันคือ เพอ่ื ต่อตา้ นอานาจของพม่า

ญวน : ไทยกับญวนมักจะมีเร่ืองขัดแย้งกัน เพราะต่างมีอานาจเท่าเทียมกัน และ
มักจะขยาย อานาจเข้ามาในดนิ แดนลาวกบั กัมพชู า

~ 31 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

มลายู : ไทยได้ขยายอานาจไปยังเมืองมลายู หลังจากได้เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่ง
เป็นหัวเมืองมลายู ส่วนท่ีตกเป็นเมืองข้ึนของไทย ได้แก่ ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู การ
ปกครองหวั เมืองมลายูไทย ให้เจา้ นายพืน้ เมืองปกครอง ความสมั พนั ธ์กบั ประเทศตะวนั ตก

โปรตเุ กส : โปรตุเกสเปน็ ชาติตะวันตกชาติแรก ท่ีเข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยา และ
ทา สัญญาการค้าอย่างเป็นทางการ ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 ชาวโปรตุเกส เคย
อาสาสมัครเข้าช่วยรบในกองทัพไทย ส่วนทางด้านศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ไทยยังได้เรียนรู้
ศิลปะ และวทิ ยาการทช่ี าวโปรตุเกสนามาเผยแพร่เช่น การทาปืนไฟ การสร้างปูอมปราการ
การฝึกทหารแบบตะวันตก การทาขนมฝรงั่ ฝอยทอง

สเปน : ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับสเปน เริ่มข้ึนตอนปลายรัชกาล
สมเด็จพระ นเรศวรมหาราช โดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อส่งเสริมการค้าระหว่าง กรุงศรี
อยธุ ยา กบั ฟิลปิ ปนิ ส์ ซึ่งเปน็ เมืองขนึ้ ของสเปน

ฮอลันดา : ฮอลันดา ติดต่อกับประเทศทางตะวันออกก็เพื่อผลประโยชน์ทางการค้า
เป็นหลักไทยกับฮอลันดามีการทาสัญญาการค้าฉบับแรก ในสมัยพระเจ้าทรงธรรม
ความสัมพนั ธ์ ระหว่างไทยกับฮอลันดาไม่ค่อยราบร่ืนนักในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
เพราะฮอลันดาพยายามเรียกร้องผลประโยชน์ทางการค้าจากไทยมากเกินไป ความขัดแย้ง
กับฮอลนั ดาเปน็ เหตุให้ไทยเรม่ิ ผูกมิตรกบั ฝรง่ั เศสแนน่ แฟูนข้นึ เพอ่ื ถ่วงดลุ กบั ฮอลันดา

องั กฤษ : อังกฤษเขา้ มาในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม เพื่อเปิดสัมพันธ์ด้านการค้า
และพยายามเรียกร้องสิทธิพิเศษทางการค้าต่าง ๆ แต่ไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะถูก
ฮอลนั ดา คอยขัดขวางจึงไดย้ กเลิกสถานีการค้าในเวลาต่อมา ในสมัยพระนารายณ์มหาราช
ไทยได้ ทาสงครามกับอังกฤษท่ีมะริดเพราะอังกฤษเรียกร้องให้ไทยรับผิดชอบเรือสินค้า
องั กฤษ ถกู โจรสลัดปล้นแต่ไทยปฏิเสธการรับผิดชอบ ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษ
จึงเสื่อมลง

ฝรั่งเศส : ฝรั่งเศส เป็นชาวตะวันตกชาติหลังสุดท่ีเข้ามาติดต่อกับอยุธยา ในสมัย
สมเด็จพระนารายณ์ ฝร่ังเศสมุ่งเผยแผ่คริสต์ศาสนา และฝุายไทยก็หวังให้ฝรั่งเศสเป็นตัว
ถ่วงดุลอานาจกับฮอลันดาฝรั่งเศสได้ตั้งสถานีการค้าในอยุธยา ต่อมาฝร่ังเศสได้เปล่ียนโย
บายเป็นการแสดงหาผลประโยชน์ทางการค้า และการเมืองควบคู่กนั ทาให้เกิดความขัดแย้ง
จนกลายเป็นการจลาจลระหว่างคนไทยกับกองทหารฝรั่งเศส ต่อมามีการขับไล่กองทหาร
ฝรงั่ เศสออกจากเมืองไทยได้สาเรจ็

~ 32 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนทากิกรรมท้ายบทเรียนลงในสมดุ ประจาวชิ า
1. ราชวงศ์ที่ปกครองอาณาจักรอยุธยามีกรี่ าชวงศ์ อะไรบา้ ง
2. วรรณคดีที่สาคญั ของอาณาจกั รอยธุ ยามอี ะไรบา้ ง
3. ความสมั พนั ธข์ องอาณาจกั รอยธุ ยากับอาณาจักรลาวเปน็ ไปในทศิ ทางใด
4. รายไดข้ องแผ่นดินทส่ี ่งผลตอ่ สภาพเศรษฐกิจของอาณาจกั รอยุธยา
5. ชนช้นั ทม่ี ีมากทส่ี ดุ ในสังคมอยธุ ยา

~ 33 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรท่ีมีระยะเวลาสั้นท่ีสุดของไทย คือระหว่าง พ.ศ.
2310 - 2325 ระยะเวลา 15 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครองเพียงพระองค์เดียว คือ สมเด็จ
พระเจ้ากรุงธนบุรี ภายหลังอาณาจักรอยุธยาล่มสลายไปพร้อมกับการเสียกรุงศรีอยุธยา
คร้ังท่ีสอง ทว่า ในเวลาต่อมา สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกข้ึนเป็น
พระมหากษัตริย์ และทรงย้ายเมืองหลวงไปยังฝ่ังตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา คือ
กรงุ เทพมหานครในปจั จบุ ัน

1. ลาดบั เหตุการณส์ าคัญในสมัยกรงุ ธนบรุ ี (2310-2325)
พ.ศ. 2310 พระเจ้าตากสิน ทรงกอบกู้เอกราชครั้งท่ี 2ให้กับกรุงศรีอยุธยาได้สาเร็จ

และทาพิธีปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ พระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาท่ี 4 ขณะมี
พระชนมายุได้ 33 พรรษา และสถาปนา กรุงธนบรุ ีเปน็ ราชธานีใหม่แทนกรงุ ศรอี ยุธยา

พ.ศ. 2311 เริ่มปราบชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก แต่ไม่สาเร็จ ปราบชุมนุมเจ้าพิมาย
สาเร็จเป็นชมุ นุมแรก

พ.ศ. 2312 ปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราชสาเร็จ ยกทัพไปตีเขมรครั้งแรกแต่ไม่
สาเรจ็

พ.ศ. 2314 ยกทัพไปตีเขมรคร้ังท่ี 2 และสามารถปราบเขมรไว้ในอานาจ นายสวน
มหาดเลก็ แต่งโคลงยอพระเกียรตพิ ระเจ้ากรงุ ธนบรุ ี

พ.ศ. 2315 พม่ายกทัพมาตเี มืองพิชยั ครง้ั ที่ 1 แต่ไม่สาเร็จ
พ.ศ. 2316 รบชนะพม่าท่ีมาตีเชียงใหม่ คร้ังท่ี 2 ทาให้เกิดวีรกรรมพระยาพิชัยดาบ
หัก
พ.ศ. 2317 รบชนะพม่าท่ีบางแก้ว ราชบุรี พม่าถูกจับและเสียชีวิตไปมากมาย ไทยตี
เมืองเชียงใหม่คร้ังท่ี 2 ไดส้ าเรจ็
พ.ศ. 2318 พม่ายกทพั ใหญม่ าตหี ัวเมืองเหนอื แตไ่ ม่สาเร็จ ถูกจับเป็นเชลยหลายหมื่น
คน
พ.ศ. 2319 พม่ายกทพั มาตเี มืองเชียงใหม่แตไ่ ม่สาเรจ็

~ 34 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

พ.ศ. 2321 โปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก กับเจ้าพระยาสุรสีห์ไปตี
เวยี งจันทนไ์ ด้อัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางมาไว้ท่ี กรุงธนบุรี พระแก้วมรกตประดิษฐ์
ไว้ทว่ี ัดอรุณฯ ส่วนพระบางคนื ไปในสมยั รชั กาลที่ 1

พ.ศ. 2323 เกิดจลาจลในเขมร โปรดฯให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกฯ
เจ้าพระยาสุรสีห์ เจ้าฟูากรมขุนอินทรพิทักษ์ พระองค์เจ้าจุ้ย ยกทัพไปตีกรุงกัมพูชา แต่ยัง
ไม่ทนั สาเร็จกเ็ กดิ จลาจลในกรุงธนบรุ ีเสยี ก่อน หลวงสรวิชติ (หน) แต่งอเิ หนาคาฉนั ท์

พ.ศ. 2324 สง่ ทัพไปปราบจลาจลในเขมร พระยาสรรคเ์ ปน็ กบฏ
พ.ศ. 2325 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เสด็จสวรรคตเมื่อวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ.
2325 กรงุ ธนบรุ ีสิน้ สุดลง

2. การกอบกูเ้ อกราช
เมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีรับราชการเป็นพระยาตากในระหว่างสงครามกา ร

เสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี 2 พระยาตากได้ถอนตัวจากการปูองกันพระนครพร้อมกับทหาร
จานวนหน่ึงเพื่อไปตั้งตัว โดยนาทัพผ่านบ้านโพสามหาร บ้านบางดง หนองไม้ทรุง เมือง
นครนายก เมืองปราจีนบุรี พัทยา สัตหีบ ระยอง โดยกลุ่มผู้สนับสนุนพระยาตากได้ยกย่อง
ให้เปน็ "เจ้า" และตีจนได้เมืองจันทบรุ ีและตราด เมื่อเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2310

ในเวลาใกล้เคียงกัน ฝุายกองทัพพม่าได้คงกาลังควบคุมในเมืองหลวงและเมือง
ใกล้เคยี งประมาณ 3,000 คน โดยมีสุกี้เป็นนายกอง ตั้งค่ายอยู่ท่ีบ้านโพธ์ิสามต้น พร้อมกัน
นั้น พม่าได้ต้ังนายทองอินให้ไปเป็นผู้ดูแลรักษาเมืองธนบุรีไว้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่า
อาณาจักรอยุธยาจะส้ินสภาพลงไปแล้ว แต่ยังมีหัวเมืองอีกเป็นจานวนมากท่ีไม่ได้รับความ
เสียหายจากศึกสงคราม หัวเมืองเหล่าน้ันจึงต่างพากันตั้งตนเป็นใหญ่ในเขตอิทธิพลของตน
สว่ นทางดา้ นพระยาตากเองก็สามารถรวบรวมกาลังได้จนเทียบได้กับหน่ึงในชุมนุมท้ังหลาย
นน้ั โดยมีจนั ทบุรเี ปน็ ฐานท่มี นั่

ต่อมา พระยาตากจึงนากาลังท่ีรวบรวมประมาณ 5,000 คน ตีเมืองธนบุรีและ
อยธุ ยาคืนจากข้าศึก เสร็จแล้วจึงสถาปนาตนเองข้ึนเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
และทรงสร้างเมืองหลวงใหม่ คอื กรงุ ธนบุรี

~ 35 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

3. การปกครองสว่ นกลาง
กรุงธนบุรีเป็นศูนย์กลาง มีอัครมหาเสนาบดีตาแหน่ง "เจ้าพระยา" จานวน 2 ท่าน

ได้แก่
สมุหนายก เป็นอัครมหาเสนาบดีฝุายพลเรือน เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝุายเหนือ ทั้งใน

ราชการฝุายทหารและพลเรือน ในฐานะเจ้าเสนาบดีกรมมหาดไทย ผู้เป็นจะมียศเป็น
"เจ้าพระยาจกั รศี รีองครักษ"์ หรือทเ่ี รียกว่า "ออกญาจักรี"

สมุหพระกลาโหม เป็นอัครมหาเสนาบดีฝุายทหาร เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝุายใต้ท้ังปวง
ยศน้ันก็จะมี "เจ้าพระยามหาเสนา" หรือทเ่ี รียกว่า "ออกญากลาโหม"

จตสุ ดมภ์น้ันยงั มีไว้เหมือนเดิม มีเสนาบดตี าแหนง่ "พระยา" จานวน 4 ท่าน ได้แก่
กรมเวียง หรือ นครบาล มีพระยายมราชทาหน้าท่ีดูแล และ รักษาความสงบ
เรียบรอ้ ยภายในพระนคร
กรมวงั หรอื ธรรมาธกิ รณ์ มีพระยาธรรมาธิกรณ์ ทาหน้าท่ีดูแลความสงบเรียบร้อย
ในเขตพระราชฐาน
กรมคลัง หรือ โกษาธิบดี มีพระยาโกษาธิบดี ทาหน้าท่ีดูแลการซื้อขายสินค้า
ภายหลังได้รับการแตง่ ตั้งให้ดแู ลหัวเมืองฝุายตะวนั ออกดว้ ย
กรมนา หรือ เกษตราธิการ มีพระยาพลเทพ ทาหน้าท่ีดูแลการเกษตรกรรม หรือ
การประกอบอาชีพของประชากร
4. การปกครองสว่ นภมู ิภาค
1. หัวเมืองช้ันใน จะมีผู้รง้ั เมือง เป็นผู้ปกครอง จะอยู่รอบๆไม่ไกลจากราชธานี
2. เมืองพระยามหานคร จะแบ่งออกได้เป็น เมืองเอก โท ตรี จัตวา มีเจ้าเมืองเป็น
ผู้ปกครอง
3. เมืองประเทศราช คอื เมืองทีจ่ ะตอ้ งส่งเคร่อื งราชบรรณาการมาให้กรุงธนบุรี ซึ่งใน
ขณะน้ัน จะมี นครศรีธรรมราช เชียงแสน เชียงใหม่ ลาปาง ลาพูน พะเยา แพร่ น่าน
ปัตตานี ไทรบุรี ตรังกานู มะริด ตะนาวศรี พุทไธมาศ พนมเปญ จาปาศักด์ิ หลวงพระบาง
และ เวียงจันทน์ ฯลฯ
(แหลง่ ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ธนบุรี)

~ 36 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชี้แจง : ให้นักเรียนทากิกรรมท้ายบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. อาณาจักรธนบุรีมรี ะยะเวลาในการเปน็ ราชธานกี ี่ปี
2. ธรรมาธิกรณ์ มีพระยาธรรมาธิกรณ์ ทาหนา้ ทด่ี แู ลความสงบเรียบร้อยในเขต
พระราชฐาน หมายถึง กรมใด
3. เจ้าพระยามหาเสนามีความสัมพนั ธ์ของหน่วยงานใด
4. อาณาจกั รธนบุรีมีการปกครองแบบใด
5. ความสามารถที่โดดเด่นของอาณาจักรธนบรุ ี

~ 37 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

กรุงรัตนโกสินทร์

รชั กาลที่ 1-3 (พ.ศ.2325-2394)

สมยั รตั นโกสินทร์ตอนต้น – ใน พ.ศ.2325 เมื่อเมื่อสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
ข้ึนครองราชย์ เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี มี พระนามปรากฏต่อมาว่า
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลก” และภายหลังได้รับการยกย่องเป็น
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช” (ร.1) ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายราชธานี
ใหม่ จากกรุงธนบุรีมายังฝ่ังตะวันออก (ฝ่ังซ้ายของแม่น้าเจ้าพระยา) และสร้างกรุงเทพฯ
เปน็ ราชธานขี ้นึ ณ ทีแ่ ห่งนี้

1. เหตุผลทีย่ ้ายราชธานี
1. พระราชวังเดิมของกรงุ ธนบรุ คี ับแคบ มีวัดขนาบอยู่ท้ัง 2 ดา้ น คือ วัดอรุณราชวรา

ราม (วดั แจ้ง) และวดั โมฬีโลกยาราม (วดั ทา้ ยตลาด) จึงยากแก่การขยายพระราชวงั
2. ความไม่เหมาะสมด้านภมู ิประเทศ เนื่องจากฝั่งตะวนั ตก หรือราชธานีเดิมเป็นท้อง

คงุ้ อาจถกู นา้ กัดเซาะตล่งิ พังได้งา่ ย แต่ฝ่ังตะวันออก (กรงุ เทพฯ) เปน็ แหลมพืน้ ดินจะงอกข้ึน
เรื่อยๆ

3. ความเหมาะสมต่อการขยายเมืองในอนาคต พื้นท่ีฝั่งตะวันออกเป็นท่ีราบลุ่ม
กว้างขวาง สามารถขยายตัวเมืองไปทางเหนอื และตะวันออกได้

4. กรุงธนบุรีไม่เหมาะทางด้านทาเลท่ีต้ังยุทธศาสตร์ กล่าวคือ มีแม่น้าเจ้าพระยาผ่า
กลาง เปรียบเสมือนเมืองอกแตก เมื่อใดท่ีข้าศึกยกทัพมาตามลาแม่น้าก็สามารถตีถึงใจ
กลางเมืองไดโ้ ดยง่าย

2. ลกั ษณะของราชธานีใหม่
กรุงเทพมหานครเป็นราชธานีใหม่ของไทย สร้างข้ึนโดยเลียนแบบกรุงศรีอยุธยา

กาหนดพนื้ ทีเ่ ปน็ 3 ส่วนคอื

~ 38 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

1 . บริเวณ พ ระบรม ม ห า ราช วัง ปร ะก อบด้วย วัง ห ลวง วั ง ห น้า วัง ใ น
พระบรมมหาราชวงั (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) และรวมทง้ั ทุ่งพระเมรุ (ทอ้ งสนามหลวง)

2. บริเวณท่ีอยู่อาศัยภายในกาแพงเมือง อาณาเขตกาแพงเมืองประตูเมืองและปูอม
ปราการ สรา้ งขนึ้ ตามแนวคลองรอบกรุง ได้แก่ คลองบางลาพู และคลองโอง่ อ่าง

3. บรเิ วณทอ่ี ยู่อาศัยภายนอกกาแพงเมือง เป็นพื้นท่ีเกษตรกรรม มีบ้านเรือนราษฎร
ตงั้ อยู่ด้านนอกของคลองรอบกรุง มีคลองขดุ ในรัชกาลที่ 1 คอื คลองมหานาค

3. การปกครองในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น
ในสมัยรัชกาลท่ี 1-3 พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอานาจสูงสุดในการปกครอง

ประเทศ การจัดระเบียบการปกครองยังคงยึดถือตามแบบอย่างสมัยอยุธยาตอนปลาย มี
ดงั น้ี

1. การปกครองสว่ นกลาง มีเสนาบดที าหน้าท่บี รหิ ารราชการ ได้แก่
1.1 สมุหกลาโหม มีอานาจบงั คบั บญั ชาหัวเมืองฝุายใต้ ทงั้ ทหารและพลเรือน

มียศและราชทินนามว่า เจา้ พระยามหาเสนา ใช้ตราคชสหี ์เป็นตราประจาตาแหนง่
1.2 สมุหนายก มีอานาจบงั คบั บญั ชาหวั เมืองฝุายเหนอื ทง้ั กิจการทหารและ

พลเรือนมียศและราชทินนามว่า เจ้าพระยาจักรี หรือเจ้าพระยาบดินทร์เดชานุชิต ใช้ตรา
ราชสีห์เปน็ ตราประจาตาแหนง่

1.3 เสนาบดจี ตสุ ดมภ์ เปน็ ตาแหนง่ รองลงมา ประกอบดว้ ย
(1) กรมเวยี ง หรือกรมเมือง เสนาบดี คอื พระยายมราช มีหนา้ ทีด่ ูแล

กิจการทัว่ ไปในพระนคร
(2) กรมวงั เสนาบดี คอื พระยาธรรม มีหน้าทด่ี แู ลพระราชวังและตงั้

ศาลชาระความ
(3) กรมคลัง หรอื กรมท่า เสนาบดี คอื พระยาราชภักดี, พระยาศรี

พิพฒั นห์ รือพระยาพระคลัง มีหน้าทีด่ ้านการเงิน การคลัง และการตา่ งประเทศ
(4) กรมนา เสนาบดี คอื พระยาพลเทพ มีหน้าทด่ี แู ลไรน่ าหลวง และ

เกบ็ ภาษขี า้ ว

~ 39 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

2. การปกครองสว่ นภมู ิภาค หรือการปกครองหวั เมือง
2.1 หวั เมืองฝุายเหนอื (รวมทั้งหัวเมืองอสี าน) อยู่ในความรบั ผิดชอบของสมุ

หนายก หัวเมืองฝุายเหนอื แบง่ ตามฐานะตามระดบั ความสาคญั ดงั น้ี
(1) หัวเมืองช้ันใน (หวั เมืองจตั วา) อยู่ไม่ห่างไกลจากราชธานี มีเจา้ เมืองหรือ

“ผู้ร้ัง”เป็นผู้ปกครอง
(2) หวั เมืองช้ันนอก (เมืองชั้นตรี โท เอก) มีขุนนางชั้นสูงหรอื พระบรมวงศานุ

วงศเ์ ปน็ ผู้ปกครอง ได้แก่ เมืองพิษณโุ ลก นครสวรรค์ พิจติ ร ฯลฯ
2.2 หัวเมืองฝุายใต้ ข้นึ สังกดั สมุหกลาโหม นับตงั้ แตเ่ มืองเพชรบรุ ลี งไป จนถงึ

นครศรีธรรมราช ไชยา พงั งา ถลาง และสงขลา เปน็ ต้น มีฐานะเป็นหัวเมืองช้ันนอกทงั้ สนิ้
2.3 หัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออกของอ่าวไทย เปน็ หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่

นนทบุรี สมทุ รปราการ สาครบรุ ี ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรุ ี ฯลฯ อยู่ในความรับผิดชอบของพระ
คลงั หรอื กรมท่า

3. การปกครองประเทศราช
3.1 ฐานะของประเทศราช คอื เมืองของชนต่างชาตติ า่ งภาษา มีกษตั รยิ ์ของ

ตนเองเป็นผู้ปกครอง มีหน้าท่ีต้องส่งเคร่ืองราชบรรณาการมาถวายตามกาหนด และส่ง
ทหารมาชว่ ยเมือ่ เมืองหลวงมีศึกสงคราม

3.2 ประเทศราชของไทยสมัยรตั นโกสินทรต์ อนต้น มีทั้งดนิ แดนลา้ นนา ลาว
เขมร และหัวเมืองมลายู ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงแสน หลวงพระบาง เวียงจันทร์ จาปาศักด์ิ
เขมร ปัตตานี ไทรบรุ ี กลนั ตัน ฯลฯ

4. สมัยการปฏิรูปการปกครอง
ในสมัย รัชกาลที่ 5 ได้ปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายด้าน เช่น การให้ความเสมอ

ภาค ด้านการศึกษา การเลกิ ทาส เลกิ ระบบไพร่ ตงั้ สภาทป่ี รกึ ษาราชการแผ่นดิน และสภาท่ี
ปรึกษาในพระองค์ ตลอดจนมีการเปล่ียนแปลงระบบบริหารบ้านเมืองท้ังส่วนกลาง และ
สว่ นท้องถิน่

~ 40 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

ในสมัย รัชกาลท่ี 6 ได้สานต่อพระบรมราโชบายของรัชกาลท่ี 5 ในการท่ีจะให้
ประเทศไทย ได้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยการจัดตั้ง "ดุสิตธานี" ข้ึน เพื่อ
ทดลองจดั การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย

5. สมยั ประชาธิปไตย
ใ น ส มั ย รั ช ก า ล ท่ี 7 ไ ด้ มี ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ก า ร ป ก ค ร อ ง จ า ก ร ะ บ อ บ

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดย
คณะราษฎร และความยินยอมพร้อมใจของพระมหากษัตริย์ และได้มีรัฐธรรมนูญฉบับแรก
ใช้บังคบั เมือ่ 10 ธนั ยาคม พ.ศ. 2475

ปัจจุบันน้ีประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เป็น
ประมุข ภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเข้าใจ ระบอบประชาธิปไตย
มากนัก จึงเป็นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ให้เป็นไปอย่าง
เช่อื งช้า

8. การพัฒนาเศรษฐกิจไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถงึ ปจั จุบนั

เศรษฐกิจไทยในช่วงระยะ พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2484 ภายหลังจากการปฏิวัติ พ.ศ.
2475 การเมืองการปกครองของไทยได้เปล่ียนแปลงมาสู่ระบอบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย ผู้นารุ่นใหม่ทั้งฝุายทหาร และพลเรือน ส่วนใหญ่มาจากชนช้ันกลาง และ
ได้รบั การศึกษาแบบตะวนั ตก มีความคิดวา่ เศรษฐกิจของประเทศไทยในขณะน้ันตกอยู่ในกา
มือของต่างชาติ ซึ่งเป็นทงั้ ชาวจีน และชาวตะวันตก

ทางด้านอุตสาหกรรม รัฐบาลส่งเสริมใช้ชาวไทยรู้จักทาอุตสาหกรรม ประกาศคา
ขวัญว่า "ไทยทา ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลเริ่มดาเนินนโยบายลงทุนด้านอุตสาหกรรม และ
ธุรกจิ ทางด้านการบรหิ าร ซึ่งเราเรียกว่า "รฐั วิสาหกิจ"

เศรษฐกิจไทยในระหว่างสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เศรษฐกิจของไทย การค้าขายกับ
ต่างประเทศ เริ่มประสบความยากลาบาก สินค้าออกของไทยเริ่มลดลง สินค้าจาก

~ 41 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

ต่างประเทศมีราคาสูงข้ึน ในปี พ.ศ. 2483 รัฐบาลไทยเริ่มทาสงครามกับฝร่ังเศสด้วยเร่ือง
ปัญหาอนิ โดจีน

เศรษฐกิจไทยภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ถึง พ.ศ. 2502 รัฐบาลไทยยังใช้นโยบาย
แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจแบบเดิม คือ ส่งเสริมให้ชาวไร่ชาวนาไทยผลิตสินค้าเกษตรเพื่อนาส่ง
ไปขายตา่ งประเทศ สนิ ค้าหลักของไทยทีส่ ่งไปขายนารายได้เข้าประเทศมาก

เศรษฐกิจไทยภายใต้ระบบการลงทุนแบบเสรี (ในช่วง พ.ศ. 2501 ถึงปัจจุบัน) จอม
พลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ประกาศนโยบายสง่ เสรมิ การลงทนุ ของเอกชน มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจมีการ
วางแผนพัฒนาประเทศ ในระยะยาวการใช้งบประมาณอยู่ในช่วงระยะเวลา 5 ปี เรียกว่า
แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ มีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติในปี
พ.ศ. 2504 เป็นแผนแรก จากน้ันรัฐบาลต่อ ๆ มาก็ได้ประกาศแผนพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
จนถงึ ปัจจบุ นั คอื ฉบบั ท่ี 8 พ.ศ. 2540-2545

หลังจากไทยประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติแล้วสภาวะทางเศรษฐกิจได้
เปลย่ี นแปลงดงั ต่อไปนี้ มูลค่าสง่ ออก เพม่ิ ขึน้ 15 เท่าตวั

ส่ิงทอ เป็นสินค้าใหม่ทารายได้สูงเป็นอันดับ 2 รองจากข้าว และมันสาปะหลัง
นอกจากนั้น ได้แก่ อัญมณี แผงวงจรไฟฟูา

ธรุ กจิ การทองเที่ยว เจริญรดุ หนา้ จนมีรายได้สงู เปน็ อันดบั 1 ในปีพ.ศ. 2532

9. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจที่สาคัญของไทยในช่วงทม่ี ีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
ทส่ี าคญั ได้แก่

โครงการพัฒนาชายฝั่งตะวันออก (Eastern Seaboard) กาหนดขอบเขตมาบตาพุด
จังหวัดระยอง เป็นเมืองอุตสาหกรรมทันสมัย และเขตแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เป็นท่ีตั้ง
ทา่ เรอื พาณิชย์ และอุตสาหกรรมขนาดกลางขนาดย่อม เพอ่ื สง่ ออก
โครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคใต้ (Southern Seaboard) กาหนดให้เป็นแหล่ง
อตุ สาหกรรมประเภทซ่อมเรือ ตอ่ เรอื อตุ สาหกรรม ประมง พาณิชย์นาวี

~ 42 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม

10. หลงั จากการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ชนช้ันในสังคมแบ่งได้เป็น 3 ชนชั้น คือ ข้าราชการ ปัญญาชน และกรรมกร การ

เปล่ยี นแปลงวิถชี ีวติ ทีผ่ ู้คนมีการแข่งขันกันมากข้ึนตอ้ งปรบั ตัวมากข้ึน ซึง่ ให้ คุณธรรมท่ีดีใน
สังคมไทยแต่เดิมมาลดลง ค่านิยมในสังคมได้เปล่ียนแปลงไป ผู้หญิงก็ต้องออกทางานนอก
บ้านมากข้ึน เพื่อให้มี รายได้เพียงพอเล้ียงดูครองครัว สถานภาพของผู้หญิงในปัจจุบันจึง
เท่าเทียมกบั ผู้ชายท้ังสทิ ธิ และโอกาสในการทางาน

11. การเปล่ยี นแปลงทางการศึกษา
หลังจากการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การศึกษาของไทยมี

ความก้าวหน้ามากข้ึน ในปัจจุบันเรามีการศึกษาภาคบังคับ 6 ปี และปัจจุบันขยายโอกาส
ทางการศึกษาเป็น 9 ปี ซึ่งทาให้เยาวชนได้มีโอกาสหาความรู้ใส่ตัวมากข้ึน ก่อนจะออกไป
ทางานเลีย้ งชีพสาหรับผู้ไม่เรียนต่อ

12. การเปลย่ี นแปลงทางศลิ ปวฒั นธรรม
การเปล่ียนชื่อประเทศสยาม เป็นประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2482 การกาหนดวันข้ึนปี

ใหม่ โดยเปล่ียนเป็นวันท่ี 1 มกราคม ตามสากลนิยม แทนวันท่ี 1 เมษายน เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.
2484 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัตวิ ฒั นธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2483 ให้คนไทยแตง่ กายให้
เหมาะสม คอื นุ่งกางเกงแทนผ้าม่วงหรือโจงกระเบน สาหรับชาย ส่วนสตรีให้สวมกระโปรง
และยงั ต้องสวมเสอื้ รองเทา้ หมวก

13. ดา้ นศลิ ปกรรม
1. สถาปตั ยกรรม รับอทิ ธพิ ลของชาติตะวนั ตก เชน่ การสรา้ งอนสุ าวรีย์ อาคารตา่ ง ๆ
2. วรรณกรรมตะวันตกท่ีเคยมีการแปล ก็ถูกดัดแปลงหรือแต่งข้ึนมาโดยคนไทยมาก

ข้นึ
3. นาฏกรรม เช่น โขน ละคร เส่อื มความนยิ มลง เน่ืองจากมีความบันเทิงหลายหลาก

มากข้ึนทงั้ ภาพยนตร์ โทรทัศน์

~ 43 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชี้แจง : ใหน้ ักเรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. รัตนโกสนิ ทรม์ ีพระมหากษตั ริพระองค์แรกนามว่า
2. สนธิสัญญาเบาริง่ เกิดขนึ้ สมยั ใดและกับชาตใิ ด
3. สนธิสญั ญาเบอนี เกิดขนึ้ สมัยใดและกบั ชาตใิ ด
4. หวั เมืองชายฝง่ั ทะเลตะวนั ออกของอ่าวไทย เป็นหวั เมืองช้นั นอก ไดแ้ ก่
5. ผู้รง้ั เปน็ ผ้ปู กครองเมืองใด
6. ชนช้ันในสังคมหลังเหตุการณ์การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มี
อะไรบา้ ง
7. เมือ่ ใดทส่ี ยามมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์ราชย์
มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
8. กล่มุ บคุ คลทีท่ าการเปลีย่ นแปลงการปกครอง คือ ใคร
9. เหตุผลที่ย้ายราชธานีจากกรุงธนบรุ ีมาเปน็ กรุงเทพฯ เพราะ เหตใุ ดจงอธิบาย
10. กฎหมายตรา 3 ดวง ปรกอบด้วยอะไรบา้ ง

~ 44 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

โครงสร้างทางการปกครอง
และกระบวนการทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

ประชาธิปไตย(democracy) หมายถึง ระบอบการเมือง ซึ่งประชาชนมีอานาจสูงสุด
หรือการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพือ่ ประชาชน

1. โครงสร้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย
ในการจัดการปกครองของไทยได้ยึดหลักการของสากล ซึ่งเป็นยอมรับกันทั่วไป 3

ประการคือ การรวมอานาจ การกระจายอานาจ และการแบ่งอานาจ สรปุ ได้ดงั นี้

2. หลักการปกครองแบบรวมอานาจ อานาจท้ังหมดอยู่ท่ีส่วนกลางหรือรัฐบาลกลาง
ส่วนกลางมีอานาจสูงสุดในการบังคับบัญชา และส่วนกลางเป็นผู้ออกคาส่ังในการ
เปลย่ี นแปลงตวั ข้าราชการ

3. หลักการปกครองแบบแบ่งอานาจ ลักษณะการปกครองแบบน้ีอันท่ีจริง แล้วนับเป็น
ส่วนหน่ึงของการปกครองแบบรวมอานาจ แต่มีเหตุจาเป็นท่ีส่วนกลางต้องมีสถานท่ีทาการ
อยู่ทส่ี ว่ นต่างๆ ของประเทศได้แก่ จังหวดั อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน

4. หลักการปกครองแบบกระจายอานาจ การปกครองแบบน้ีมีลักษณะสาคัญ 3
ประการ คือ ส่วนกลางไม่มีอานาจเด็ดขาดเพียงส่วนเดียว ต้องยอมให้ท้องถิ่นมีอานาจใน
การปกครองดว้ ย คณะบุคคลผู้ใช้อานาจในการปกครองแบบกระจายอานาจจะต้องมาจาก
การ เลือกตั้งโดยประชาชนในเขตการปกครองนั้น หน่วยงานปกครองท้องถิ่นต้องมีฐานะ
เป็นนิติบคุ คล

5. สถาบันพระมหากษัตริย์ : บทบาทที่สาคัญของพระมหากษตั ริย์ปัจจุบนั
บทบาททีเ่ กี่ยวกับประเทศชาติ

 ทรงเป็นประมุขของชาติ เปน็ ทีเ่ คารพสักการะสูงสดุ และเป็นมิง่ ขวญั ของชาติ
 ทรงเป็นศูนย์รวมนา้ ใจของประชาชน

~ 45 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

 ทรงเป็นอคั รศาสนปู ถัมภก และทรงเป็นพทุ ธมามกะ
 ทรงเปน็ สัญลักษณ์แห่งความสามัคคีของคนในชาติ
 ทรงดารงตาแหนง่ จอมทัพไทย
 ทรงใช้อานาจอธิปไตยแทนประชาชน ผ่านทางสถาบันบริหารนิติบัญญัติ และ
ตลุ าการ

บทบาทหนา้ ทเ่ี กี่ยวกับประชาธิปไตย
 ทรงยอมรับ และอมุ้ ชรู ะบอบประชาธปิ ไตยให้ดารงอยู่ได้
ทรงทาให้ระบอบประชาธปิ ไตยมีความตอ่ เนอ่ื ง
 ทรงช่วยแนะนารัฐบาลดา้ นการปกครองยามจาเปน็
 ทรงช่วยยับย้ังเหตกุ ารณ์รุนแรงให้ผ่อนคลาย
 ทรงใช้อานาจอธปิ ไตยในนามของประชาชนชาวไทย
ทรงเป็นกลางทางการเมือง

บทบาทด้านวทิ ยาการของชาติ
 ทรงสนบั สนนดุ ้านการศึกษาและศิลปวัฒนธรรมของชาติ
 ทรงสนพระทัยใช้วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์แก้ปัญหาให้ราษฎร
 พระราชทานทุนเลา่ เรียนหลวง
 ทรงสง่ เสรมิ การจดั ประชมุ ทางวิชาการสาขาต่าง ๆ

บทบาทที่เกี่ยวกบั ประชาชน
 ทรงช่วยเหลอื และห่วงใยในความเปน็ อยู่ของราษฎรอย่างแทจ้ ริง
 ทรงออกเยี่ยมเยียนราษฎรทัว่ ประเทศ
 ทรงช่วยกระตุ้นให้คนไทยอืน่ ๆ ตระหนกั ในความเดือดร้อนของเพื่อรวมชาติ และ

หาทาง ช่วยเหลอื
 ทรงสรา้ งความเป็นปึกแผ่นของคนภายในชาติ ไม่ให้เชื้อชาติศาสนา และเผ่าพันธ์ุ

เป็น เคร่อื งทาลายความแตกแยก

~ 46 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

 ทรงแสดงบทบาทในการช่วยพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ทาให้ราษฎรมีความ
เปน็ อยู่ดีขึน้

 ทรงช่วยแก้ไขวิกฤตการณ์สาคัญของชาติ เช่น ปัญหาน้าท่วม ปัญหาการจราจร
ใน กรงุ เทพมหานคร เป็นต้น

กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนทากิกรรมท้ายบทเรียนลงในสมดุ ประจาวชิ า
1. ประชาธิปไตย มีความหมายว่าอยา่ งไร
2. หลักการของประชาธิปไตยมีอะไรบา้ ง
3. บทบาททีเ่ กีย่ วกับประเทศชาติ ของสถาบนั พระมหากษัตริย์ มีอะไรบา้ ง
4. บทบาทหนา้ ทเ่ี กี่ยวกับประชาธิปไตย ของสถาบนั พระมหากษตั ริย์ มีอะไรบา้ ง
5. บทบาททีเ่ กีย่ วกบั ประชาชน ของสถาบนั พระมหากษตั ริย์ มีอะไรบ้าง

~ 47 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ

สงครามโลกคร้ังที่ 1

เริ่มใน ค.ศ. 1914 ส้ินสุดใน ค.ศ.1918 เป็นความขัดแย้งระหว่างมหาอานาจ 2 ค่าย
คือ ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย – ฮังการี และอิตาลี (ผู้นาสาคัญ คือบิสมาร์ค แห่ง
เยอรมนี) กับฝุาย ประกอบด้วย Triple Entente ได้แก่ บริเตนใหญ่ ( อังกฤษ ) ฝร่ังเศส และ
รัสเซีย การรบเริ่มข้นึ หลังการลอบสังหารมกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย – ฮังการี และส้ินสุด
ลงด้วยความพ่ายแพ้ของมหาอานาจกลาง หรือ Triple Alliance มีการทาสนธิสัญญาแวร์
ซายส์ บังคับให้เยอรมนีและพันธมิตรเสียค่าปฏิกรรมสงครามชดใช้จานวนมหาศาลและเสีย
ดนิ แดนทเ่ี ปน็ อาณานิคมให้แก่ฝุาย Triple Entente

1. สาเหตสุ งครามโลกครัง้ ท่ี 1
ลัทธิชาตินิยม การเกิดลัทธิชาตินิยมจากคริสต์ศตวรรษท่ี 15 เป็นต้นมา ทาให้เกิด

ระบบรวมรฐั ชาติ สร้างระบบรวมอานาจเขา้ สู่ส่วนกลาง รฐั ชาติในประเทศยุโรปต่างแสวงหา
ความเป็นมหาอานาจ ทั้งทางทหารและเศรษฐกิจ รัฐชาติหมายถึง รัฐหรือประเทศท่ี
ประชาชนมีความรู้สึกผูกพันกัน มีความสามัคคี ภาคภูมิใจในความเป็นชาติ จงรักภักดีต่อ
พระมหากษัตริย์ ความรักชาติท่ีรุนแรงจนเป็นลัทธิชาตินิยม ทาให้เชื่อว่าชาติตนเหนือกว่า
ชาติอื่น ผลักดันชาติของตนได้เปรียบชาติอื่นไม่ว่าด้านเศรษฐกิจ หรือการทหาร นาไปสู่การ
แข่งขนั อานาจกัน จนกลายเป็นสงคราม เชน่ สงครามการรวมอิตาลี การรวมเยอรมนี จนถึง
สงครามโลกคร้ังทห่ี นึง่

ลัทธิจักรวรรดินิยม ลัทธิชาตินิยมนาไปสู่ลัทธิจักรวรรดินิยม ลัทธิจักรวรรดินิยม
หมายถึงประเทศท่ีพัฒนา แล้วประสบความสาเร็จด้านเศรษฐกิจ การทหาร และ
วิทยาศาสตร์ เข้าครอบครอง ท่ีด้อยพัฒนากว่า ลัทธิจักรวรรดินิยมเริ่มจากปลาย
คริสต์ศตวรรษท่ี 19 เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทาให้ต้องการวัตถุดิบและตลาด
มหาอานาจยุโรป เช่น อังกฤษ ฝร่ังเศส ปรัสเซีย ( เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขันกัน
ขยายอานาจในการครอบครองดินแดนในทวีปเอเชียอเมริกากลางและอัฟริกาโดยครอบงา
ทาวฒั นธรรม และวิถชี ีวติ เป็นแหล่งเกบ็ เกีย่ วผลประโยชน์ให้เมืองแม่

~ 48 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

การแบง่ กล่มุ พันธมิตรยโุ รป นโยบายการรวมกลุ่มท่ีมีผลประโยชน์ตรงกัน เริ่มต้น
ใน ค.ศ. 1907 เมื่อ เยอรมัน และออสเตรีย-ฮังการีลงนามในสนธิสัญญาพันธมิตรไตรมิตร
(Triple Alliance )ประจันหน้ากับรุสเซีย เน่ืองจากเยอรมนี ต้องการไม่ให้รัสเซียเป็นใหญ่ใน
ชนเผ่าสลาฟแหลมสมุทรบอลข่าน ต่อมามีอิตาลีมาร่วมประเทศ เพราะไม่พอใจฝรั่งเศสท่ี
แย่งครอบครองตูนิเซีย ในฐานะรัฐในอารักขา ฝุายออสเตรีย – ฮังการีซึ่งต้องการเป็นใหญ่
ในแหลมบอลข่านเช่นกัน โดยได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี อังกฤษ ฝร่ังเศส และรัสเซีย
ลงนามในสนธิสัญญาสันธไมตรีไตรมิตร (Triple Entente ) ค.ศ. 1907และเป็นพันธมิตรกับ
ญ่ปี นุ ด้วย

ความขัดแย้งเรื่องแหลมบอลข่าน สาเหตุสาคัญเกดิ จากการท่ีออสเตรีย – ฮังการี
ขัดแย้งกับเซอร์เบีย เร่ืองการสร้างเขตอิทธิพลในแหลมบอลข่าน เยอรมนีสนับสนุน
ออสเตรีย – ฮังการี ขณะท่ีรัสเซียสนับสนุนเซอร์เบีย ความขัดแย้งขยายความรุนแรงเป็น
สงครามระหว่างรฐั ในแหลมบอลขา่ น มหาอานาจจงึ มีโอกาสแทรกแซงและต้ังกลมุ่ พนั ธมิตร

จดุ ระเบิดของสงครามโลกคร้ังท่ี 1 มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการีคือ อาร์ค
ฟรานซิส เฟอรด์ นิ านด์ กบั พระชายาโซเฟีย ถูกลอบปลงพระชนม์ในวันท่ี 28 มิถุนายน ค.ศ.
1914ท่ีเมืองซาราเจโว ขณะเสด็จเยือนเมืองหลวงของบอสเนีย โดยคนร้ายชื่อ กาฟริโล ปริ
นซิพ นักศึกษาชาวบอสเนียสัญชาติเซอร์เบีย ออสเตรียเรียกร้องให้เซอร์เบียปฏิบัติตามข้อ
เรียกร้อง เซอร์เบยี ปฏิเสธออสเตรีย-ฮังการีจึงประกาศสงครามกับเซอร์เบีย 28 กรกฎาคม
1914 รัสเซียแสดงตนว่าเป็นผู้พิทักษ์เผ่าสลาฟจึงระดมพล เยอรมนีประกาศสงครามกับ
ฝรั่งเศสและรัสเซีย ต่อมาอังกฤษเข้าสู่สงครามเมื่อเยอรมนีบุกเบลเยียม และญ่ีปุนได้
ประกาศสงครามต่อเยอรมนี เพราะมุ่งหวงั ในอาณานคิ มของเยอรมนใี นจนี

2. ผลของสงครามโลกครัง้ ที่ 1
1. การสถาปนาองค์การสันนิบาตชาติ แต่มีจุดอ่อนในการรักษาสันติภาพ เพราะ

รสั เซีย ถอนตัวและสหรฐั อเมริกาไม่เขา้ เป็นสมาชิก ทง้ั ยังไม่มีกองทหารรักษาสนั ตภิ าพดว้ ย
2. เกดิ สนธสิ ัญญาสนั ตภิ าพท่ปี ระเทศผู้ชนะร่างขึน้ มี 5 ฉบบั
สนธิสัญญาแวร์ซายส์ทากับเยอรมนี เยอรมนีต้องเสียค่าปฏิกรรมสงคราม

จานวนมหาศาลและเสียดินแดนหลายแห่ง ทาให้เกิดวิกฤติเศรษฐกิจทั่วโลก ราคาสินค้า

~ 49 ~

เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ

ตกต่า ในเยอรมนีไม่สามารถใช้หน้ีสงครามได้และมองสนธิสัญญาน้ีว่าไม่เป็นธรรม จนฮิต
เลอรน์ ามาประณามเมื่อเริม่ มีอานาจ

สนธสิ ัญญาแซงต์ แยร์แมงทากบั ออสเตรีย
สนธสิ ัญญาเนยยี ทากับบลั แกเรีย
สนธสิ ญั ญาตริอานองทากับฮังการี
สนธสิ ญั ญาแซฟสท์ ากับตุรกี ตอ่ มาเกดิ การปฏิวตั ิในตรุ กีจงึ มีการทาสนธสิ ัญญา
ใหม่เรียกว่าสนธสิ ัญญาโลซานน์
3. ความเหล่ือมล้าทางชนชั้น และความยากจนต่อเน่ืองจากก่อนสงคราม นาไปสู่
การทีเ่ ลนิน ปฏิวัตเิ ปลย่ี นประเทศรัสเซียเป็นคอมมิวนิสตใ์ นช่วงปลายสงครามโลกครั้งท่ี 1
4. ในยุโรปมีรูปแบบของรัฐเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ ระหว่างสงครามโลกครั้งท่ี 1
ได้แก่รัสเซีย เลนินปฏิวัตินาระบบคอมมิวนิสต์มาปกครองรัสเซียใน ค.ศ. 1917 และในค.ศ.
1924 -1953 สตาลินได้ใช้ระบบเผด็จการท่ีเน้นการปราบศัตรูทางการเมืองและการผูกขาด
อานาจด้วยความรุนแรงมากข้ึน ส่วนในเยอรมนี ฮิตเลอร์ได้เป็นผู้นา ใช้ระบบเผด็จการโดย
อานาจพรรคนาซี ต้ังแต่ ค.ศ.1933 และในอิตาลี มุสโสลินีได้ต้ังพรรคฟาสซิสต์ข้ึนในเวลา
ตอ่ มา
5. เกิดประเทศใหม่ 7 ประเทศเน่ืองมาจากการแยกดินแดนได้แก่ ฮังการี
ยูโกสลาเวยี โปแลนด์ เชคโกสโลวาเกยี ลทิ วั เนยี แลตเวยี แอสโตเนยี

กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชีแ้ จง : ให้นกั เรียนทากิกรรมท้ายบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. สาเหตุสาคญั ของการเกิดสงครามโลกครั้งท่ี 1
2. ให้นกั เรียนยกตวั ประเทศกลมุ่ มหาอานาจกลาง
3. สนธิสญั ญาแวร์ซายส์เป็นสญั ญาท่ที ากบั ประเทศใด
4. ประเทศทแ่ี ยกตวั หลังสิน้ สงครามโลกครัง้ ท่ี 1
5. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 มีอะไรบ้าง

~ 50 ~


Click to View FlipBook Version