เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชดุ คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
สงครามโลกคร้ังที่ 2
สงครามโลกครั้งท่ีสองเป็นความขัดแย้งระหว่างคู่สงคราม คือ ฝุายอักษะ
ประกอบด้วย เยอรมนี อิตาลีและญ่ีปุน อีกฝุายหน่ึงได้แก่ อังกฤษ ฝร่ังเศส และรัสเซีย
ตอ่ มาจึงมีประเทศอน่ื ๆ เข้าร่วม สงคราม ทาให้สงครามขยายไปท่ัวโลก
1. สาเหตุเริ่มตน้ ของสงคราม
สนธิสัญญาสันติภาพท่ีไม่เป็นธรรม ระบุให้ประเทศท่ีแพ้สงครามโลกครั้งท่ี 1
ชดใช้ค่าเสียหาย ค่าปฏิกรรมสงครามและเสียดินแดน เช่นสนธิสัญญาแวร์ซายส์ เยอรมนี
ต้องเสียอาณานิคม ต้องคืนแค้วนอัลซาล – ลอเรนแก่ฝร่ังเศส โปเซนและปรัสเซียตะวันตก
ให้โปแลนด์ มอรสเนท ยูเพนและมัลเมดีให้เบลเยี่ยม ชเลสวิคและโฮลสไตน์ให้เดนมาร์ก
แคว้นซูเดเตนให้เชคโกสโลวาเกีย และ เมเมลให้ลิทัวเนีย จ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม ปีละ 5
พันล้านดอลลาร์ ถูกจากัดกาลังทหารมีทหารได้ไม่เกิน 100,000 คน ห้ามเกณฑ์ทหารเป็น
ต้น จากเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นการกระตุ้นให้เกิดสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ข้ีน ฮิตเลอร์และ
พรรคนาซีได้ปลกุ ระดมต่อตา้ นการเสยี ค่าปฏิกรรมสงคราม และนาความอดยาก ยากจนมา
ให้ประชาชนอย่างต่อเนือ่ ง
ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ ท่ีไม่สามารถบังคับประเทศท่ีเป็นสมาชิก
และไม่ปฏิบตั ิตามสตั ยาบนั ได้
ความแตกต่างทางด้านการปกครอง กลุ่มประเทศฟาสซิสต์มีความเข้มแข็งมาก
ข้ึน ได้รวมกันเป็น มหาอานาจอักษะ (Berlin-Rome-Tokyo Axis ) จุดประสงค์แรก คือเพื่อ
ต่อต้านรัสเซีย ซึ่งเป็นคอมมิวนิสต์ ต่อมาได้ขยายไปสู่การต่อต้านชนชาติยิวและนาไปสู่
ความขดั แย้งกับประเทศฝุายสัมพันธมิตร
บทบาทของสหรัฐอเมริกา สหรัฐปิดประเทศโดดเด่ียว สมัยประธานาธิบดีมอนโร
ตามแนวคิดในวาทะมอนโร สหรัฐจะไม่แทรกแซงกิจการประเทศอ่ืนและไม่ยอมให้ประเทศ
อ่นื มาแทรกแซงกิจการของตนเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 1 และรัฐบาล
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ประชาชนจึงเลือกพรรคเดโมแครตเข้ามาเป็นรัฐบาลปกครอง
~ 51 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
ประเทศโดยประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดี รุสเวลท์ ได้รับเลือกต่อกันถึงส่ีสมัย ( ค.ศ.1933 –
1945 )
ชนวนทีน่ าไปสู่สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ฉนวนโปแลนด์(Polish Corridor) มีชาวเยอรมนี
อาศัยอยู่มาก เยอรมนีเสียดินแดนส่วนน้ีให้แก่โปแลนด์ตามสนธิสัญญาแวร์ซาย์ และฉนวน
โปแลนด์ยังแบ่งแยกดินแดนเยอรมนีเป็นสองส่วน คือส่วนปรัสเซียตะวันตกและปรัสเซีย
ตะวันออก ฮิตเลอร์ ขอสร้างถนนผ่านฉนวนโปแลนด์ไปปรัสเซียตะวันออก อังกฤษและ
ฝร่ังเศสคัดค้าน ฮิตเลอร์จึงยกเลิกสัญญาท่ีเยอรมนีจะไม่รุกรานโปแลนด์ และทาสัญญาไม่
รุกรานกับสหภาพโซเวียต เยอรมนีเริ่มสงครามด้วยการบุกโปแลนด์ 1 กันยายน ค.ศ. 1939
แบบสายฟูาแลบ (Blitzkrieg)
ฉนวนโปแลนด์ อังกฤษและฝร่ังเศสประกาศเข้าร่วมสงคราม ด้านมหาสมุทร
แปซิฟิก ญ่ีปุนบุกแมนจูเรียในปี ค.ศ.1931 และเสนอแผนการท่ีจะสถาปนา “วงไพบูลย์แห่ง
มหาเอเชียบูรพา” เพื่อผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและด้านอ่ืนๆ ญ่ีปุนโจมตีฐานทัพเรือ
สหรัฐอเมริกาท่ี อ่าวเพิร์ล ฮาร์เบอร์ เมื่อวันท่ี 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 สหรัฐ จึงเข้าสู่
สงครามโลกคร้ังท่ีสอง โดยประกาศสงครามเข้าร่วมกับฝุายพันธมิตร ขณะเดียวกันญ่ีปุน
เปิดสงครามในตะวันออกเฉียงใตห้ รือเรียกว่า “สงครามมหาเอเชียบูรพา”
สงครามโลกในยุโรปส้ินสุดลงเมื่อกองทัพสัมพันธมิตรบุกเข้าเบอร์ลินในเดือน
มิถุนายน ค.ศ.1944 และเมื่อสหรัฐอเมริกาท้ิงระเบิดปรมาณูท่ีเมืองฮิโรชิมาและเมืองนางา
ซากิ ในวันที่ 6 และ 9 สิงหาคม ค.ศ.1945 สงครามโลกจึงสนิ้ สดุ ลง
2. ผลของสงครามโลกครงั้ ทีส่ อง
เกิดองค์การสหประชาชาติเพื่อดาเนินงานแทนองค์การสันนิบาตชาติ ด้วย
วัตถุประสงค์เพื่อรักษาสันติภาพของโลกและให้กลุ่มสมาชิกร่วมมือช่วยเหลือกัน นับว่ามี
ความเข้มแข็งกว่าเดิม เพราะสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมเป็นสมาชิกผู้ก่อต้ังและมีกองทหารของ
สหประชาชาติ
ทาให้เกิดสงครามเย็นตั้งแต่หลังสงครามโลกคร้ังท่ีสองเป็นต้น ประเทศสหภาพโซ
เวยี ต ปกครองโดยสมัยสตาร์ลินมีนโยบายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ไปสู่ ยุโรปตะวันออก และ
เยอรมนีตะวันออก ซึ่งมีทหารรัสเซียเข้าปลดปล่อยดินแดนเหล่าน้ีจากอานาจฮิตเลอร์ใน
สงครามโลกครั้งท่ีสอง ขณะท่ีสหรัฐต้องการสกัดก้ันการขยายตัวดังกล่าว และเผยแผ่การ
~ 52 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ
ปกครองแบบเสรีประชาธิปไตยในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะดินแดนอาณานิคมท่ีประกาศ
เอกราช เปน็ ประเทศใหม่หลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง จนเกิดสภาวการณ์ท่ีเรียกว่า สงคราม
เยน็ ( Cold War )
กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมดุ ประจาวชิ า
1. สาเหตุสาคัญของการเกิดสงครามโลกครั้งท่ี 2
2. ให้นักเรียนยกตวั ประเทศกลมุ่ สมั พนั ธมิตร
3. สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ตรงกบั สมยั รชั กาลทเ่ี ทา่ ใดและสยามอยู่ฝ่ายใด
4. ผูน้ าพรรคนาซีเยอรมนี คือ ใคร
5. ผลของสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีอะไรบ้าง
~ 53 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ
สงครามเย็น( Cold War )
สงครามเย็นหมายถึง การประจันหน้าด้านอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ
สหรัฐอเมริกา ผู้นาลัทธิเสรีประชาธิปไตยกับสหภาพโซเวียตประเทศ ผู้นาลัทธิคอมมิวนิสต์
เป็นการปะทะกันทกุ ๆ วถิ ีทาง ยกเวน้ ด้านการทหาร การขยายอานาจในสงครามเย็นจึงเป็น
ลักษณะการแสวงหาพรรคพวกร่วมอุดมการณ์และแข่งขันกันเป็นมหาอานาจทางการเมือง
การทหาร และเศรษฐกิจ โดยไม่ทาสงครามกันอย่างเปิดเผย แต่เป็นการสนับสนุนให้
ประเทศทเ่ี ปน็ พวกของแต่ละฝุายทาสงครามตวั แทน
1. สาเหตุของสงครามเยน็
สหรัฐอเมริกาได้ประกาศวาทะทรูแมน (Trueman Doctrine)ในค.ศ 1947 มี
สาระสาคัญว่า ...สหรัฐอเมริกาจะโต้ตอบการคุกคามของประเทศคอมมิวนิสต์ทุกรูปแบบ
และทุกสถานท่ี แล้วแต่สหรัฐจะเห็นสมควร โดยไม่จากัด ขนาด เวลา และสถานท่ี ....จะให้
ความช่วยเหลือประเทศต่าง ๆ ให้พ้นจากการคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ พร้อมท้ังให้
ความช่วยเหลือแก่กรีซและตุรกีเป็นตัวอย่าง สืบเน่ืองมาจากสหภาพโซเวียตเผยแพร่ลัทธิ
คอมมิวนิสต์ และแทรกแซงให้ความช่วยเหลือกบฎในตุรกีและกรีกเพื่อจัดตั้งรัฐบาล
คอมมิวนิสต์ การประกาศวาทะทรแู มนจงึ เปน็ จดุ เริ่มตน้ สงครามเยน็ ที่แท้จริง ต่อมาสหรัฐได้
ประกาศแผนการมาร์แชล(Marshall Plan) เพื่อให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจกับยุโรป
ตะวนั ตก
ขณะเดียวกันสหภาพโซเวียตได้ตอบโต้ด้วยการจัดตั้ง องค์การโคมินฟอร์ม (
Cominform ) ใน ค.ศ. 1947 เพื่อขยายลัทธิคอมมิวนิสต์สู่ประเทศต่าง ๆ และสัญญาว่าจะให้
ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจแก่ประเทศท่ีเป็นคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะในยุโรปตะวันออก
ตอ่ มาไดซ้ ึง่ พฒั นามาเป็นองค์การ โคมินเทอร์น (Comintern)
การเผชิญหน้าทางทหาร ใน ค.ศ. 1949 สหรัฐอเมริกาได้จัดต้ังองค์การสนธิสัญญา
ปูองกันร่วมกันแห่งแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization ) ประกอบด้วย
ภาคี 12 ประเทศ คอื องั กฤษ ฝร่ังเศส เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ลักซัมเบอร์ก สหรัฐอเมริกา
~ 54 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ
แคนาดา เดนมารค์ ไอซ์แลนด์ อติ าลี นอร์เวย์และเปอร์ตุเกส ต่อมาตุรกีและกรีซ ได้เข้าเป็น
สมาชิก และในค.ศ. 1955 เยอรมนีตะวันตกได้เขา้ เป็นสมาชิกดว้ ย
ในค.ศ.1955 สหภาพโซเวียตได้ชักชวนให้ประเทศในยุโรปตะวันออกลงนามใน
สนธิสัญญาวอร์ซอร์ ( Warsaw Pact)ซึ่งเป็นสนธิสัญญาว่าด้วยความร่วมมือทางทหาร
ประเทศภาคี คือ สหภาพโซเวียต เยอรมนีตะวันออก โปแลนด์ ฮังการี รูมาเนีย บัลกาเรีย
และเชคโกสโลวาเกีย
2. วกิ ฤตการณเ์ บอรล์ นิ (The Berlin Blockade) ค.ศ.1948
เบอร์ลินถูกแบ่งเป็น 4 ส่วนแบ่งเขตยึดครองคือ ฝรั่งเศส อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ได้
ส่วนยึดครองทางเบอร์ลินตะวันตกและเยอรมนีตะวันตก สหภาพโซเวียตได้เบอร์ลินส่วน
ตะวันตกและเยอรมนีตะวันตก เมื่อส้ินสุดสงครามโลกคร้ังท่ีสองสหภาพโซเวียตได้ประกาศ
ปิดล้อมเบอร์ลินไม่ให้สัมพันธมิตรเข้าออกเบอร์ลินในวันท่ี 19 มิถุนายน 1948 ถึง
พฤษภาคม 1949 มิให้มีการติดต่อกับภายนอก เพื่อบังคับให้มหาอานาจตะวันตกละท้ิง
เบอร์ลิน โดยปิดเส้นทางคมนาคมทางบก ทางน้า ตัดกระแสไฟฟูาประเทศสัมพันธมิตรและ
คณะมนตรีความม่นั คงแก้ปญั หาโดยการใช้เคร่อื งบินบรรทุกเคร่ืองอุปโภคบริโภคไปโปรยให้
ชาวเบอร์ลินตะวันตกเป็นเวลากว่า 1 ปี เหตุการณ์ดังกล่าวนาไปสู่การแบ่งแยก เยอรมันนี
เป็น 2 ประเทศและแบ่งเบอร์ลินเป็น 2 ส่วนอย่างถาวร การแบ่งเขตยึดครองเบอร์ลินของ
ของมหาอานาจ 4 ประเทศ สร้างกาแพงยาวกว่า 27 ไมล์ ก้ันระหว่างเบอร์ลินในค.ศ.1961
เรียกกาแพงเบอรล์ นิ
ในค.ศ.1949 เยอรมนีตะวันตกได้ต้ังเป็นประเทศ ชื่อว่า สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน
และสหภาพโซเวียตได้ต้ังเขตปกครองของตนในเยอรมนีตะวันออกเป็น สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยเยอรมัน เมื่อแบ่งประเทศแล้ว ชาวเยอรมนีตะวันออกได้อพยพมาอยู่ในเขต
ตะวันตกมากข้ึนตลอดเวลา ทาให้รัสเซียต้อง สร้างกาแพงยาวกว่า 27 ไมล์ ก้ันระหว่าง
เบอรล์ นิ ใน ค.ศ.1961 เรยี ก กาแพงเบอร์ลิน
กาแพงเบอร์ลินสร้างในปี ค.ศ. 1961 แบ่งเบอร์ลินตะวันตกและตะวันออก ออกจาก
กัน เป็นสัญลักษณ์สาคัญหน่ึงของสงครามเย็น และถูกทาลายไปเมื่อ ค.ศ. 1989 ในเดือน
มกราคม ค.ศ. 1990 โดยมิคาอิล กอบาชอฟ ยินยอมให้เยอรมันท้ังสองตัดสินใจอนาคต
~ 55 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชดุ คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ
ตนเอง โดยสหภาพโซเวียตจะไม่เข้าแทรกแซงจึงมีการรวมเยอรมันเป็นประเทศเดียวกัน
อย่างเป็นทางการ เรียกว่า สหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรม
กิจกรรมทา้ ยบทเรียน
คาชี้แจง : ให้นกั เรียนทากิกรรมทา้ ยบทเรียนลงในสมุดประจาวชิ า
1. สาเหตุสาคญั ของการเกิดสงครามเย็น
2. การปกครองที่แตกตา่ งกนั 2 ข้ัว คือ ค่ายใดและประกอบดว้ ยประเทศใดบ้าง
3. สงครามเยน็ เปน็ สงครามท่มี ีลกั ษณะอยา่ งไร
4. ยกตัวอย่างกลมุ่ เทศฝง่ั คอมมิวนิสต์ มากอย่างน้อย 5 ประเทศ
5. สงครมเย็นสน้ิ สุดลงไดอ้ ย่างไร
~ 56 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ
เกร็ดประวตั ิศาสตร์
บุคคลสาคญั ในประวตั ิศาสตร์โลก
~ 57 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 58 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 59 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 60 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 61 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 62 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 63 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 64 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 65 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครนู พดล สมใจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
บคุ คลสาคัญทีโ่ ลกต้องจา
~ 66 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 67 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 68 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 69 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 70 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 71 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 72 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
รัชกาลที่ 10
~ 73 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 74 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 75 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 76 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 77 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 78 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 79 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 80 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวตั ศิ าสตร์ ชุด คมั ภีร์ประวตั ศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
~ 81 ~
เอกสารประกอบการสอน วิชา ประวัตศิ าสตร์ ชุด คัมภีร์ประวัตศิ าสตร์ พัฒนา/เรียบเรียง โดย ครูนพดล สมใจ
บรรณานุกรม
คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ. มรดกอารยธรรมโลก. กรงุ เทพมหานคร :สานกั พมิ พ์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2545.
สปุ ราณี มุขวชิ ิต.ประวัติศาสตร์ยุโรป.เวียนนา ค.ศ.1815 – เบอรล์ นิ 2 นคร.
สวุ มิ ล รุ่งเจรญิ . อารยธรรมสมยั ใหม่-ปัจจบุ ัน. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2540.
สงครามโลกคร้ังท่ี 1 (ออนไลน)์ . (2558). สบื ค้นจาก :
https://sites.google.com/site/phumisastr1 [22 เมษายน 2563]
สงครามโลกคร้ังท่ี 2 (ออนไลน์). (2558). สบื ค้นจาก :
https://sites.google.com/site/phumisastr1 [22 เมษายน 2563]
สงครามเย็น(ออนไลน)์ . (2558). สบื ค้นจาก : https://sites.google.com/site/phumisastr1
[22 เมษายน 2563]
อาณาจกั รธนบรุ ี (ออนไลน์). (2557). สบื ค้นจาก : (แหลง่ ที่มา :
https://th.wikipedia.org/wiki/ธนบุร)ี [22 เมษายน 2563]
วิธีการทางประวัติศาสตร์ (ออนไลน์). (2559). สบื ค้นจาก : (แหลง่ ทีม่ า :
https://sites.google.com/site/withikarthangprawtisastr/withi-kar-thang-prawatisastr [22
เมษายน 2563]
หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ (ออนไลน)์ . (2559). สบื ค้นจาก : (แหลง่ ทีม่ า :
https://sites.google.com/site/thenewstoneages/3-hlak-than-thang-prawatisastr-
historical-sources [20 เมษายน 2563]
การนบั ศกั ราช (ออนไลน์). (2560). สบื ค้นจาก : (แหลง่ ที่มา : dek- gerbdee.com
[19 เมษายน 2563]
~ 82 ~