The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ การการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภา

วจิ ัยในชนั้ เรยี นเพอื่ พฒั นาและแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้
การการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง ประวัติศาสตรเ์ อเชียตะวันออกเฉียงใต้
ดว้ ยกระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์ ทมี่ ีผลตอ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
และความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

นพดล สมใจ
โรงเรยี นบ้านสา้ น(ครุ ุราษฎรร์ งั สรรค)์

สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 2



คานา
วิจัยในช้ันเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้ เร่ือง ประวัติศาสตร์
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ท่ีมีผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
เป็นการวิจัยในชั้นเรียนที่ศึกษาแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ได้รับคาแนะนาจากผู้อานวยการ คณะครู บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน
บา้ นสา้ น(ครุ ุราษฎรร์ ังสรรค์)
ผู้ศึกษาวิจัยหวังว่ารายงานวิจัยในชั้นเรียนเล่มน้ีจะมีประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษา และเป็นแนวทาง
ในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่ึงการศึกษาวิจัยน้ีหาก
ผิดพลาดประการใดขออภยั มา ณ โอกาสนี้

นพดล สมใจ

สารบัญ ข

คานา หนา้
สารบัญ ก

รายงานการวิจยั โดยสรุป 1
บทที่ 1 บทนา 4
บทที่ 2 เอกสารท่เี ก่ยี วข้อง 9
บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการวิจัย 35
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 36
บทท่ี 5 สรปุ การวจิ ัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 40
บรรณานกุ รม 42
ภาคผนวก 43

1

รายงานการวจิ ยั โดยสรปุ
ชอื่ ผู้วจิ ัย นายนพดล สมใจ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี น บา้ นส้าน(คุรรุ าษฎรร์ งั สรรค์)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูท้ ่ี 4 ประวัติศาสตร์
ชั้นที่จดั การเรียนรู้ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3

1. ชื่อเรื่อง การจัดการเรียนรู้ เร่ือง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยกระบวนการ
ทางประวตั ศิ าสตร์ ท่มี ผี ลตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
2. จุดประสงค์การวจิ ัย

1. เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ประวตั ิศาสตร์เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

2. เพ่ือใหน้ ักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 มีความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ หลงั จัดการเรยี นรู้กระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
3. กลมุ่ เป้าหมาย นักเรยี นกลุ่มอ่อน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จานวน 35 คน
4. ระยะเวลาในการดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
5. นิยามคาศัพท์

- ประวัติศาสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ หมายถึง ประวัตศิ าสตร์ ความเป็นมา วัฒนธรรมของประเทศ
ต่างๆในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน)

- นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 หมายถงึ นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2
ปกี ารศึกษา 2564 แบง่ เป็นนักเรยี นชายจานวน 10 คน นกั เรียนหญิง 25 คน รวม 35 คน
6. สภาพความเปน็ มาปญั หา นักเรยี นรอ้ ยละ 70 มีคะแนนการทดสอบก่อนเรียนตา่ กวา่ 10 คะแนน
จาก 20 คะแนน ผลบนั ทกึ การจัดการเรียนรู้พบว่านักเรียนไม่สมารถวิเคราะห์สถานการณ์ในประวัติศาสตร์ได้
ทีใ่ ช้พืน้ ฐานของกระบวนการ 5W1s
7. วิธีการท่ีนามาแกป้ ญั หา กระบวนการทางประวัตศิ าสตร์
8. ขนั้ ตอนการดาเนินงาน ครศู ึกษาวิเคราะห์นักเรยี นเปน็ รายบุคคล ศกึ ษาหลักสูตรสถานศกึ ษา ศกึ ษาสาระ
การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ัด และศึกษากระบวนการกลมุ่ แบบรว่ มมอื ที่จะนาไปเป็นวิธีการพัฒนา
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน ครูจงึ มีวธิ ีการแก้ปญั หา ดังน้ี

ขน้ั ตอนท่ี 1 วเิ คราะห์ผู้เรียนเปน็ รายบคุ คลดว้ ยวิธกี ารสังคมมิติ
ข้นั ตอนที่ 2 ทดสอบก่อนเรียนเพอ่ื นาผลท่ีไดม้ าวิเคราะห์ข้อคน้ พบและครูสรา้ งข้อตกลงในการเรียนรู้
บนพนื้ ฐานของการ
ขัน้ ตอนที่ 3 ครูจัดทาแผนการจดั การเรยี นร้เู ชิงรุก (Active Learning) ทใี่ ชก้ ระบวนการทาง
ประวตั ศิ าสตร์ และแทรกการวเิ คราะหด์ ว้ ยเทคนิค 5w1h (Who What Where When Why และ How)
ขัน้ ตอนที่ 4 จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) เร่ือง ประวตั ศิ าสตรเ์ อเชยี ตะวันออก
เฉียงใต้ ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตรเ์ ปน็ แกนในการเรียนรู้และการทากิจกรรมตา่ งๆ ทั้งการสบื ค้น ระบุ
ปญั หา วเิ คราะห์สถานการณ์ เช่อื มโยงสถานการณ์ อธิบาย และสรปุ นาเสนอ ดาเนนิ การตามกรอบเวลาที่
กาหนด

2

ขนั้ ตอนท่ี 5 ทดสอบหลังเรยี นเพื่อดูพฒั นาการทางด้านผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรู้ นกั เรียนทา
แบบสอบถามความพงึ พอใจต่อกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์

9. สรปุ ผลการดาเนินงาน

จากการดาเนนิ การแก้ไขปญั หาจากการจัดการเรียนการเรยี นรู้ในสาระการเรยี นรู้ท่ี 4 ประวตั ิศาสตร์

ใหก้ ับนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนรอ้ ยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขึ้นและมี

ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์สูงขึ้นตามลาดับ คา่ ความพ่งึ พอใจต่อกิจกรรมกลุม่ ระดับดีมาก ปรากฏดงั

ตารางข้างต้นนี้

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงพฒั นาการทางผลสมั ฤทธิ์และความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ ก่อนเรยี นและ

หลงั เรียนรู้ ด้วยกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์ และระดับความพงึ่ พอใจตอ่ กจิ กรรมแบบกระบวนการทาง

ประวัติศาสตร์ ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบทดสอบวัดความสามารถ

ท่ี ชือ่ -นามสกุล ทางการเรียน ในการคิดวเิ คราะห์

Pre- Post- Average S.D. Pre- Post- Average S.D.

test test test test

1 เดก็ ชายไชยภพ ธะนะตา 3 14 8.50 3.89 2 8 5.00 2.12

2 เดก็ ชายเจนิพทั ธ์ บุญเทพ 4 16 10.00 4.24 1 9 5.00 2.83

3 เด็กชายธนดล วรรณภพ 5 14 9.50 3.18 1 9 5.00 2.83

4 เด็กชายธนพงษ์ ใจยนตร์ 5 16 10.50 3.89 0 8 4.00 2.83

5 เด็กชายสมโชค อินปา 5 17 11.00 4.24 4 8 6.00 1.41

6 เดก็ ชายสิปปนันท์ วีระเชวงกุล 5 15 10.00 3.54 0 8 4.00 2.83

7 เด็กชายกอบธรรม งามฉววี รรณ 5 14 9.50 3.18 3 7 5.00 1.41

8 เดก็ ชายจกั รพงษ์ จ๋อมจันทร์ 5 14 9.50 3.18 2 8 5.00 2.12

9 เดก็ ชายณฐั พงศ์ แซ่ต้ัง 5 14 9.50 3.18 1 8 4.50 2.47

10 เดก็ ชายณฏั ฐชัย ทองแดง 5 16 10.50 3.89 2 8 5.00 2.12

11 เดก็ ชายธนวัชร์ อินปา 5 17 11.00 4.24 3 7 5.00 1.41

12 เด็กชายธาวินทร์ พรหมรกั ษ์ 5 18 11.50 4.60 1 7 4.00 2.12

13 เด็กชายธีรทร อินปา 5 19 12.00 4.95 2 7 4.50 1.77

14 เดก็ ชายเสฎฐวุฒิ สมุ ทมุ 5 18 11.50 4.60 2 6 4.00 1.41

15 เด็กชายอภสิ ิทธิ์ แซ่หาญ 5 17 11.00 4.24 2 6 4.00 1.41

16 เด็กหญิงหนง่ึ ฤทยั บญุ เทพ 1 12 6.50 3.89 3 6 4.50 1.06

17 เดก็ หญิงวลิ าวลั ย์ บุญเทพ 4 16 10.00 4.24 3 7 5.00 1.41

18 เด็กหญิงจิภิญญา สุดธานี 10 18 14.00 2.83 3 7 5.00 1.41

19 เด็กหญงิ พลอยวรีย์ วงั ทะพนั ธ์ 9 18 13.50 3.18 4 7 5.50 1.06

3

แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ แบบทดสอบวดั ความสามารถ

ที่ ช่ือ-นามสกุล ทางการเรยี น ในการคิดวิเคราะห์

20 เด็กหญิงนรนิ ทิพย์ รกไพร Pre- Post- Average S.D. Pre- Post- Average S.D.
21 เดก็ หญิงนันทิชา อนิ ปา
22 เด็กหญิงสุพัตรชา คีรโี ชติกุล test test test test
23 เด็กหญิงกรวิการ์ ยาปัน
24 เดก็ หญงิ ปวีณา อุดอา้ ย 6 18 12.00 4.24 4 7 5.50 1.06
25 เดก็ หญิงกนั ตพิชญ์ สลอี ่อน
26 เด็กหญงิ เกวรนิ บวั เหล็ก 7 19 13.00 4.24 4 7 5.50 1.06
27 เดก็ ชายรชั ชานนท์ ยาปัน
28 เดก็ หญิงธัชวรรณ อนิ ปา 7 17 12.00 3.54 5 7 6.00 0.71
29 เด็กหญงิ พัณณิตา อนุจร
30 เด็กหญิงพิมพกานต์ อนุจร 4 16 10.00 4.24 4 8 6.00 1.41
31 เดก็ หญิงอัญธกิ า อนิ ปา
32 เดก็ หญิงปยิ ะธิดา สยุ ะ 4 18 11.00 4.95 4 7 5.50 1.06
33 เดก็ หญิงเกวลิน รกไพร
34 เด็กหญงิ ปณั ฑช์ นติ ชาวส้าน 2 15 8.50 4.60 4 7 5.50 1.06
35 เด็กหญิงอาริสา อินทะสอน
4 14 9.00 3.54 2 7 4.50 1.77

4 16 10.00 4.24 4 7 5.50 1.06

4 18 11.00 4.95 4 8 6.00 1.41

10 19 14.50 3.18 4 7 5.50 1.06

9 16 12.50 2.47 4 7 5.50 1.06

5 17 11.00 4.24 4 9 6.50 1.77

10 18 14.00 2.83 4 8 6.00 1.41

8 16 12.00 2.83 3 9 6.00 2.12

8 17 12.50 3.18 4 9 6.50 1.77

9 17 13.00 2.83 4 8 6.00 1.41

จากตารางน้ีสรุปได้ว่ากระบวนการทางประวตั ิศาสตรส์ ามารถพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ เรอ่ื ง ประวตั ศิ าสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ได้

10. ข้อเสนอแนะ
การจัดการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ทีเ่ หมาะสมครคู วรเลอื กเน้ือหาประเด็นท้าทายให้นักเรียนได้ตั้งคาถาม

ประเด็นความรู้ เลือกส่ือการเรียนรู้ที่เหมาะสม ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนให้นักเรียนได้แลกเปล่ียน
เรียน สบื คน้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูล สารสนเทศทางประวัติศาสตร์ นาไปสู่การสร้างสรรค์ช้ินงาน ผลงาน
ตามสนใจของผ้เู รียน

4

บทท่ี 1
บทนา

1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 เป็นกฎหมายเพ่ือการปฏิรูปการศึกษาท่ี

ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายที่สาคัญ คือ การปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา
ศักยภาพของตน ให้ก้าวสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างเข้มแข็ง แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.
2552 - 2559) ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดทางสายกลางอยู่บนพื้นฐานของความสมดุลพอดี
รู้จักพอประมาณ อย่างมีเหตุผล มีความรอบรู้เท่าทันโลก เพื่อมุ่งให้เกิดการพัฒนาท่ียั่งยืนและความอยู่ดีมีสุข
ของคนไทย เกิดการบูรณาการแบบองค์รวมท่ียึด “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมี “ดุลยภาพ” ท้ัง
ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ส่ิงแวดล้อม เป็นแผนท่ีบูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับ
การศึกษาทุกระดับ รวมท้ังเชื่อมโยงการพัฒนาการศึกษากับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นต้น โดยคานึงถึงการพัฒนา
อย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ มีเจตนารมณเ์ พ่ือพัฒนาชีวิตใหเ้ ป็น “มนษุ ย์ทสี่ มบูรณ์ทงั้ ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข”
และ (2)พัฒนาสังคมไทยใหเ้ ปน็ สงั คมท่ีมคี วามเข้มแข็งและมีดุลยภาพใน 3 ด้าน คือ เป็นสังคมคุณภาพ สังคม
แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ และสังคมสมานฉันท์และเอ้ืออาทรต่อกัน ซ่ึงนโยบายของแผนการศึกษา
แห่งชาติจะบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายได้นัน้ ครูมีส่วนสาคัญย่ิง ในการพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ คี ุณภาพ

กระทรวงศึกษาธิการได้จดั ทาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนา
ผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึก
ในความเปน็ พลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยดึ มน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ
และการศึกษาตลอดชวี ติ โดยมุ่งเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั บนพื้นฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2551 : 5) กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้หนึ่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ช่วยให้ผู้เรียนมี
ความรู้ ความเขา้ ใจว่ามนษุ ย์ดารงชวี ิตอย่างไรทัง้ ในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัว
ตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา
เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความ
อดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็น
พลเมืองดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก (กรมวชิ าการ. 2551 : 3)

5

กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อม
สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม
เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระ
ต่างๆไว้ ดังนี้ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิต
ในสังคม สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ สาระท่ี 4 ประวตั ิศาสตร์ และสาระที่ 5 ภมู ศิ าสตร์

ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาท่ีว่าด้วยพฤติกรรมหรือเร่ืองราวของมนุษย์ท่ีเกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยท่ีคน
ในอดีตสร้างเอาไว้ เปูาหมายของการเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็น
จรงิ มากที่สุด เพ่ือนามาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ท่ี
เชื่อมโยงระหว่างอดีต ปจั จุบัน และอนาคต กล่าวอีกนัยหน่ึงคือ สังคมมนุษย์ในปัจจุบันล้วนเป็นผลมาจากการ
กระทาของมนุษย์ในอดีต และอาจส่งผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต ดังน้ัน การศึกษาอดีตของสังคม
มนษุ ย์ คือ ความพยายามเข้าใจปัจจุบันโดยอาศัยวิธีการสืบค้นเร่ืองราวอย่างเป็นระบบจากร่องรอยหลักฐานที่
หลงเหลืออยู่ ซ่ึงเรียกว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical method) ประวัติศาสตร์ช่วยให้มนุษย์รู้จัก
ตัวเอง ทาให้รู้บางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับขอบเขตของตน ขณะเดียวกันก็รู้เก่ียงกับขอบเขตของคนอ่ืน กล่าวคือ
ชว่ ยให้มนษุ ย์รู้จกั และเข้าใจตัวเองมากขึ้น รวมทั้งเข้าใจสังคมของมนุษย์โดยส่วนรวม เกิดความเข้าใจในมรดก
วัฒนธรรมของมนุษยชาติ ความรู้ ความคิดอ่านกว้างขวาง ทันเหตุการณ์ ทันสมัย ทันคน และสามารถเข้าใจ
คุณค่าส่ิงต่างๆในสมัยของตนได้ ช่วยเสริมสร้างให้เกิดความระมัดระวัง ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ฝึกฝนความ
อดทน ความสุขุมรอบคอบ ความสามารถในการวินิจฉัย และมีความละเอียดเพียงพอท่ีจะเข้าใจปัญหา
สลับซับซ้อน และประวัติศาสตร์เป็นเหตุการณ์ในอดีตท่ีมนุษย์สามารถนามาเป็นบทเรียน ให้แก่ปัจจุบัน โดย
บทเรียนประวัติศาสตร์ อาจใช้เป็นประสบการณ์พ้ืนฐานการตัดสินใจ เหตุการณ์ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน
ปัจจุบัน หรืออนาคต และประยุกต์ใช้ในกระบวนการแก้ไขปัญหา และวิกฤตการณ์ต่างๆ ให้เป็นไปตามหลัก
จริยธรรม คณุ ธรรม ท้ังนเี้ พ่อื สนั ตสิ ขุ และพัฒนาการของสงั คมมนุษยเ์ อง

การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ที่ประสบปัญหาอยู่หลายประการ โดยเฉพาะในสาระการ
เรียนรู้ประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นเน้ือหาที่สลับซับซ้อน ต้องใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ เพ่ือแยกประเด็นต่างๆ
ออกเป็นเรื่องๆ และตัดสินปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสังคม คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยต้องใช้สื่อ
นวัตกรรม วิธกี าร เทคโนโลยี และสื่อการเรียนรู้ท่หี ลากหลาย ซ่งึ ครูมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องใช้กิจกรรม
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ เทคนิควิธีการใหม่ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น และเพ่ือส่งเสริมการ
พัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน (สุกัญญา อ่ิมใจ 2547 : 2) อีกทั้งในการเรียนการสอน
ภูมิศาสตรใ์ นปจั จบุ นั ทเ่ี น้นการบรรยายมากเกนิ ไปทาให้นักเรยี นเบอื่ หน่าย และกิจกรรมการเรียนรู้แบบเดิมไม่
สามารถกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนซ่ึงส่งผลกระทบต่อพัฒนาทางสติปัญญาของผู้เรียน (ทรงพล เต
ชะตานนท์ 2551 : 2) สอดคล้องกบั ขอ้ มลู การจดั การเรียนรสู้ ารท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปี
ท่ี 1 มีผลการทดสอบก่อนเรียนต่ากว่าร้อยละ 20 สอดคล้องกับการคัดกรองข้อมูลรายบุคคลของชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ท่ีมีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ต่ากวา่ ค่าเฉล่ีย รอ้ ยละ 50 จานวน 30 คน

การคิดวิเคราะห์มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถของนักเรียนเรียน ที่
เก่ียวกับการจาแนกความเห็นในประเด็นปัญหาจากทุกฝุายท่ีเกี่ยวข้องและการจัดเก็บข้อโต้แย้งที่มีตรรกะท่ี
สนับสนุนในแตล่ ะฝุาย แตกขอ้ โตแ้ ยง้ ออกเป็นสว่ น ๆ ตามเนอ้ื หาของคาแถลงและดึงเอาเนอ้ื หาส่วนเพ่ิมเติมท่ีมี
ความหมายตรงนัยของคาแถลง ตรวจสอบคาแถลงและความหมายตามนยั เหลา่ น้เี พื่อหาความขัดแย้งในตัวเอง
บง่ ชีเ้ นอื้ หาการอ้างทีข่ ดั แยง้ กนั ในบรรดาข้อถกเถียงต่าง ๆ ท่ีมแี ล้วจึงใสน่ า้ หนักหรือคะแนนใหข้ อ้ อา้ งน้นั ๆ

6

เพิ่มน้าหนักเม่ือข้ออ้างมีหลักฐานสนับสนุนที่เด่นชัด โดยเฉพาะการมีเหตุมีผลที่สอดคล้องกัน หรือมีหลักฐาน
จากแหล่งใหม่ๆ หลายแหล่ง ลดน้าหนักเมื่อข้ออ้างมีความขัดแย้งกัน ปรับน้าหนักขึ้นลงตามความสอดคล้อง
ของข้อมูลกับประเด็นกลาง จะต้องมีหลักฐานสนับสนุนที่เพียงพอสาหรับใช้ในการตัดสินข้ออ้างท่ีไม่น่าเชื่อถือ
หรือมฉิ ะนน้ั จะต้องไม่นาประเด็นการกล่าวอ้างดังกล่าวมาประกอบการตัดสิน ประเมินน้าหนักด้านต่างๆ ของ
ข้ออ้าง ผังมโนภาพ (Mind maps) เป็นเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพสาหรับการจัดรูปและการประเมินค่าข้อมูล
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง ในข้ันสุดท้าย เราอาจกาหนดน้าหนักเป็นตัวเลขสาหรับแต่ละแขนงของแผนที่ในใจ การคิด
วิเคราะห์ไม่ใช่ส่ิงท่ีใช้ประกันว่าได้บรรลุถึงความจริง หรือ ข้อสรุปที่ถูกต้องแล้ว ประการแรก เราอาจไม่
สามารถหาข้อมูลที่ถูกต้องได้ ซึ่งโดยข้อเท็จจริงแล้ว ข้อมูลท่ีมีความสาคัญอาจยังไม่มีการค้นพบ หรือยังเป็น
ขอ้ มลู ทีย่ ังไมม่ ีใครรวู้ า่ เปน็ อะไร ประการที่สอง ความลาเอยี งของคนการปิดบังหรือถ่วงประสิทธิภาพในการเก็บ
ประเมินข้อมูลที่มอี ย่แู ลว้

ดว้ ยเหตดุ ังกลา่ วข้างต้นผวู้ จิ ัยไดศ้ กึ ษาวจิ ยั การจดั การเรียนรู้ เร่ือง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ ด้วยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ สาหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

2. วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพอ่ื พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรอ่ื ง ประวตั ศิ าสตร์เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ สาหรบั นกั เรียน

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
2. เพอ่ื พัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรือ่ ง ประวัตศิ าสตร์เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้

สาหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

3. ขอบเขตของการวจิ ยั
1. ขอบเขตประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
- ประชากร นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบา้ นส้าน (ครุ ุราษฎรร์ ังสรรค)์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
- กลมุ่ ตวั อยา่ ง นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนบ้านส้าน (ครุ รุ าษฎร์รังสรรค)์

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 35 คน โดยการสุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง
2. ขอบเขตเน้ือหา เน้ือหาที่ใช้ในศึกษาวิจัย ได้แก่ เร่ือง ประวัตศิ าสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉียงใต้
3. ขอบเขตตัวแปร
ตวั แปรต้น
- กระบวนการทางประวัติศาสตร์
ตัวแปรตาม
- ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
- ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์

7

3.4 ขอบเขตระยะเวลา

การดาเนนิ งาน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา พ.ศ.2564

1. สังเกตและศึกษาประเดน็ ปัญหา พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.
ในการวจิ ยั 64 64 65 65 65
2. เกบ็ รวบรวบข้อมลู และศึกษา
เอกสารงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วข้อง
3. สร้างพัฒนาแผนการจัดการ
เรยี นรู้ สือ่ นวัตกรรม
4. ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ สอ่ื
นวตั กรรม
5. วิเคราะห์และสรปุ ผลงานวจิ ยั

4. นิยามศพั ท์เฉพาะ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัยท่ีเกิดจาก

กระบวนการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง ประวัติศาสตรเ์ อเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) หมายถึง ความสามารถในการคิดจาแนกแจกแจง

องค์ประกอบต่างๆในทางประวัติศาสตร์ บนพ้ืนฐานของ 5W1H ว่าใครทา ทาอะไร ท่ีไหน อย่างไร เมื่อไหร่
และส่งผลกระทบอย่างไร

วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical method) หมายถึง การศึกษา ค้นคว้า สืบค้น และต่อยอด
ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ สาหรับผู้ท่ีสนใจศึกษาและเรียนรู้เรื่องราวในอดีต สามารถนาแนวทางวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ 5 ข้ันตอน มาประยุกต์ใช้ในการศึกษาเรียนรู้ และเป็นขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์
ประกอบด้วย 5 ข้ันตอนดังนี้

ขน้ั ตอนที่ 1 การกาหนดเรือ่ งทต่ี ้องการศึกษาข้อมูล
ขั้นตอนท่ี 2 การนาหลักฐานมารวบรวม
ขั้นตอนท่ี 3 การนาหลกั ฐานทไ่ี ดม้ าประเมินคณุ ค่า
ขั้นตอนท่ี 4 การนาหลักฐานขอ้ มูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดหมวดหมู่
ขนั้ ตอนท่ี 5 การนาขอ้ มูลมาเรียบเรยี งและการนาเสนอ

5. ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. นกั เรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เรอ่ื ง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ สงู ขึ้นหลงั จากผา่ น

กจิ กรรมการเรยี นร้ดู ว้ ยกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
2. นกั เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรอื่ ง ประวัติศาสตร์เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้

สูงข้นึ หลังจากผ่านกจิ กรรมการเรยี นรูด้ ้วยกระบวนการทางประวัติศาสตร์

6. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั 8

ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม
-กระบวนการทางประวัติศาสตร์ -ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู้
-ความสามารถในการคิดวิเคราะห์

9

บทที่ 2

เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง

การจดั การเรยี นรู้ เร่ือง ประวัตศิ าสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ท่ี
มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ผ้วู ิจยั ไดศ้ ึกษาเอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง ดังนี้

1. กระบวนการทางประวัติศาสตร์
2. ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรู้
3. ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์
4. งานวิจัยที่เก่ยี วข้อง

1. กระบวนการทางประวตั ิศาสตร์

1.1 ความหมายของกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical Method) หมายถึง วิธีการสืบค้นเร่ืองราวในอดีต หรือการ
แสวงหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ โดยอาศัยการวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ประกอบกับหลักฐานอื่น ๆ เพ่ือให้ได้ข้อเท็จจริงท่ีใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากท่ีสุด บทบาทของวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์คือช่วยให้เราศึกษาข้อเท็จจริงต่าง ๆ ได้เป็นระบบ และทาให้ข้อเท็จจริงท่ีได้จากการศึกษามี
ความน่าเชือ่ ถอื เพราะวิธกี ารใหไ้ ด้มาซึง่ ขอ้ มูลนนั้ ถกู ต้องตามหลักวิชาการ
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษา ค้นคว้า เร่ืองราวหรือเหตุการณ์ทาง
ประวัตศิ าสตร์ โดยใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกับการเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลง ใน
สังคม โดยศึกษาจากเอกสารที่เป็นเอกสารชั้นต้นและชั้นรองเป็นหลักประกอบการเก็บข้อมูลภาคสนาม เป็น
กระบวนการเสริมในการเก็บรวบรวมข้อมูลและเป็นกระบวนการที่นักประวัติศาสตร์พยายามใช้ทดสอบ ความ
จริงของงานท่ีได้จากการรวบรวมของบุคคลอื่น เพื่อความเท่ียงธรรม ความชัดเจน มีค่าความเชื่อม่ันสูง และ
สามารถใชเ้ ปน็ ประโยชน์ในการวเิ คราะห์สังคมได้
วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจากหลักฐานแล้ว
นามาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในอดีตว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น หรือ
เหตุการณ์ในอดตี นนั้ ไดเ้ กิดและคลค่ี ลายอย่างไร ซึ่งเป็นความมุ่งหมายทีส่ าคัญของการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์

1.2 ความสาคญั ของกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์
สาหรับการศึกษาประวัติศาสตร์น้ัน มีปัญหาที่สาคัญอยู่ประการหนึ่ง คือ อดีตท่ีมีการฟื้นหรือจาลอง
ข้ึนมาใหม่นั้น มีความถูกต้องสมบูรณ์และเช่ือถือได้เพียงใดรวมทั้งหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์ อักษรและไม่เป็น
ลายลกั ษณอ์ ักษรทนี่ ามาใช้เป็นขอ้ มลู นั้น มีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงใด เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มี
อยมู่ ากมายเกินกวา่ ท่จี ะศึกษาหรือจดจาได้ หมด แตห่ ลกั ฐานทใ่ี ช้เป็นขอ้ มูลอาจมีเพียงบางส่วน ดังน้ัน วิธีการ
ทางประวัติศาสตร์จึงมีความสาคัญเพื่อใช้เป็นแนวทางสาหรับผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์ หรือผู้ฝึกฝนทาง
ประวัตศิ าสตร์จะได้นาไปใชด้ ้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลาเอยี ง และเพอ่ื ใหเ้ กิดความน่าเชือ่ ถือ

10

เน่ืองจากเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์มีความละเอียดอ่อนต่อข้อมูล ทาให้ผู้ทางานศึกษาทางด้าน
ประวัติศาสตร์ต้องมีความรอบคอบ มีความรอบรู้ มีความช่างสังเกต และชอบต้ังคาถามอยู่เสมอๆ เพื่อให้ได้
ข้อมูลที่แน่ชัดหรือชัดเจนมากท่ีสุด การค้นหาหลักฐานจากหลายๆแหล่งข้อมูลท่ีมีความน่าเช่ือถือ เพื่อนามา
ประกอบเป็นข้อมูลสาหรับการใช้อ้างอิง เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในแต่ละช่วงเวลาน้ัน การดาเนิน
ชีวติ วฒั นธรรมขนมธรรมตา่ งๆ ตลอดจนอทิ ธพิ ลจากสภาพแวดลอ้ มการเป็นอยู่มีความแตกตา่ งกนั

ดังนน้ั การมีขั้นตอนทางประวัติศาสตร์ที่สมบูรณ์ สามารถใช้หลักเหตุและผลมาเช่ือมโยงกัน ตลอดจน
สามารถนาข้อมูลมาประติประต่อเรยี บเรยี งตีความอยา่ งเปน็ ระบบ จะทาให้ได้วิธีทางประวัติศาสตร์ที่น่าเช่ือถือ
มากย่ิงข้ึน มีคุณภาพตรวจสอบได้ และเป็นประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นจริงๆ ตรงกับห้วงเวลาของเหตุการณ์ในยุค
สมัยของชว่ งน้ันๆ กบั ทางประวตั ิศาสตร์มากท่ีสุด

1.3 ขน้ั ตอนกระบวนการทางประวัตศิ าสตร์
การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ คือกระบวนการเก็บขอ้ มูลทีถ่ ูกรวบรวมและจดั เก็บอย่างเปน็ ระบบ ต้อง
อาศยั วิธกี าร ศึกษาที่เป็นแบบเฉพาะ มีขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ช่วยให้เกดิ ลาดบั การคดิ อย่างเปน็ ระบบ โดยอาศัย
หลักฐาน ประเภทต่าง ๆ อธบิ ายเรอ่ื งราวความเป็นมาของเหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์ เพอ่ื เขา้ ใจความเปน็ มา
ในอดตี ใหใ้ กลเ้ คยี งกับความเป็นจริงมากทส่ี ดุ ประกอบดว้ ย 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่
1. กาหนดหัวเร่ืองที่จะศึกษา เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีนัก
ประวัติศาสตร์หรือผู้สนใจทางประวัติศาสตร์มีความสนใจอยากรู้ สงสัย จึงต้ังประเด็นหรือหัวข้อที่ต้องการ
ศึกษาขึ้นมา ตัวอยา่ ง ประเด็นการศกึ ษาเก่ียวกบั ภูมิภาคอาจเปน็ เร่อื งที่อยู่ใกล้ตัว และขยายขอบเขตการศึกษา
ออกไปเป็นระดบั อาเภอ ระดับจงั หวัด และระดับภูมิภาค เช่น ประวัติวัดสาคัญในชุมชน / อาเภอ / จังหวัด /
ภมู ิภาค สถานทสี่ าคญั ในท้องถน่ิ / จังหวดั / ภมู ภิ าค บุคคลสาคญั ในทอ้ งถนิ่ / จงั หวัด / ภมู ิภาค
2. การรวบรวมหลักฐาน ข้ันรวบรวมหลักฐานต่างๆ ทั้งหลักฐานช้ันต้นและหลักฐานชั้นรอง คือ
เอกสารหรือหนงั สอื เก่ียวกับเร่ืองท่ีอยากรู้หรือสนใจ ในการรวบรวมหลักฐาน ควรเริ่มด้วยการศึกษาหลักฐาน
ช้ันรองโดยตรงก่อน เพื่อให้เข้าใจและมีความรู้เก่ียวกับเร่ืองท่ีต้องการศึกษา และรวบรวมความคิดของผู้ที่
ศกึ ษาเร่ืองดังกลา่ วมาก่อน แล้วจงึ ไปค้นคว้าจากหลักฐานช้ันต้น ซึ่งจะทาให้ได้รายละเอียดมากขึ้นและอาจมี
แนวคดิ เพ่ิมเติมขึน้ จากผ้ศู ึกษาไวแ้ ต่เดิม
3. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าของหลักฐาน เป็นการประเมินความถูกต้องและความสาคัญของ
หลักฐาน เพราะหลักฐานบางอย่างอาจเปน็ ของปลอม หรือเลียนแบบของเกา่ หรือเขียนโดยบุคคลท่ีไม่ได้รู้เห็น
เหตุการณ์โดยตรง แล้วมาบันทึกไว้เสมือนได้รู้เห็นเอง หรือแม้จะรู้เห็นเหตุการณ์โดยตรง แต่อาจมีความ
ลาเอียงเขา้ ขา้ งฝาุ ยใดฝุายหนง่ึ ไมว่ างตวั เป็นกลาง การวิเคราะหห์ ลกั ฐานแบง่ เปน็ 2 วธิ ี ดังน้ี

1. การประเมินภายนอก เป็นการประเมินหลักฐานจากสภาพท่ีปรากฏภายนอกว่าเป็นของ
แท้ ถูกต้องตามยุคสมัยหรือไม่ เช่น กระดาษที่บันทึกเป็นของเก่าจริงหรือไม่ สมัยน้ันมีกระดาษแบบน้ีใช้
หรอื ยัง วัสดุที่ใช้เขยี นเป็นของรว่ มสมยั หรอื ไม่

2. การประเมินภายใน เป็นการประเมินหลักฐานว่าถูกต้องทั้งหมดหรือไม่ เช่น การกล่าวถึง
ตัวบุคคล สถานที่ เหตุการณ์ว่าถูกต้อง มีจริงในยุคสมัยของหลักฐานน้ันหรือไม่ หรือแม้แต่สานวนภาษาว่าใน
สมยั น้นั ใช้กันหรือยงั

4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการจัดหมวดหมู่ข้อมูล เป็นข้ันตอนต่อจากท่ีได้รวบรวมหลักฐาน
และวิเคราะห์ความน่าเช่ือถือนั้นๆแล้ว ข้อมูล คือเร่ืองราวต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในหลักฐานท่ี
รวบรวมและวิเคราะห์แล้วจากหลักฐานท่ีเช่ือถือได้ จากนั้นจึงนาข้อมูลมาวิเคราะห์ คือ แยกประเภท โดย

11

เรียงเหตุการณ์ ตามลาดับเวลาก่อนหลัง เพราะความสาคัญของข้อมูล แล้วทาการสังเคราะห์ คือจัดเหตุการณ์
เร่ืองเดียวกัน และเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันไว้ด้วยกัน และศึกษาความต่อเนื่อง การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์
ตลอดจนปจั จยั ตา่ งๆ ที่มคี วามสาคญั ต่อเหตุการณ์

5. การเรียบเรียงหรือการนาเสนอ เป็นการเรียบเรียงข้อมูลที่ได้ค้นคว้า วิเคราะห์ และสังเคราะห์
มาแล้ว เพื่อนาเสนอข้อมูลในลักษณะท่ีเป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัย ตลอดจนความรู้ใหม่
ความคดิ ใหม่ท่ีไดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ นั้น ในรปู แบบการเขียนรายงานอยา่ งมีเหตุผล

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรู้
2.1 ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
สมพร เชือ้ พนั ธ์ (2547, น. 53) ได้ให้ความหมายของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซง่ึ หมายถงึ

ความสามารถ ความสาเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของผู้เรียนทไี่ ดจ้ ากการเรยี นรู้อนั เป็นผลมาจากการเรยี น
การสอน การฝึกฝนหรอื ประสบการณข์ องแต่ละบุคคลซ่งึ สามารถวดั ไดจ้ ากการทดสอบด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ

ปราณี กองจนิ ดา (2549, น. 42) ไดใ้ ห้ความหมายของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ซงึ่ หมายถึง
ความสามารถหรือผลสาเรจ็ ท่ีได้รบั จากกิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ
ประสบการณ์เรยี นรู้ทางดา้ นพทุ ธพิ ิสัย จิตพิสัย และทักษะพสิ ัย และยังไดจ้ าแนกผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนไว้
ตามลกั ษณะของวตั ถุประสงค์ของการเรียนการสอนท่แี ตกต่างกัน

จนิ ตนา วงศอ์ าไพ (2551) ไดใ้ หค้ วามหมายของ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ซึง่ หมายถึง ผลของการ
จดั การเรียนรู้ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงความสาเรจ็ ของผเู้ รียน ในด้านความรู้ ทักษะ สมรรถภาพต่าง ๆ ของสมองซึ่ง
สามารถพจิ ารณาได้จากการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรม และประสบการณ์ในการเรียนรทู้ ี่เกิดจากผลของการ
จัดการเรยี นร้ใู นรูปแบบต่าง ๆ

นิตยา เดวเิ ลาะ (2551) ได้ใหค้ วามหมายของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ซง่ึ หมายถงึ ผลของการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนที่เกิดจากความรู้ ทักษะและความสามารถในด้านตา่ ง ๆ ของนักเรียนจนเกิดการ
เปล่ียนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรยี นรู้

สชุ าดา ทองอินทร์ (2551) ได้ใหค้ วามหมายของ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ซึง่ หมายถงึ ความรู้
ทกั ษะ และความสามารถต่าง ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ภายหลังท่ีนักเรยี นไดร้ บั การฝึกฝนและอบรมส่ังสอนในเร่อื งท่เี รียน
มาแลว้ อันมผี ลให้เกิดการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมซง่ึ สามารถตรวจสอบไดจ้ ากการวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน

ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ให้คาจากัดความผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวา่ คอื คณุ ลักษณะ รวมถึง
ความรู้ ความสามารถของบคุ คลอันเป็นผลมาจากการเรยี นการสอน หรอื มวลประสบการณท์ ้งั ปวงท่บี ุคคล
ได้รับจากการเรียนการสอน ทาให้บุคคลเกิดการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมอง
ซงึ่ มจี ุดม่งุ หมายเพ่ือเปน็ การตรวจสอบระดบั ความสามารถสมองของบุคคลว่าเรียนแลว้ รอู้ ะไรบา้ ง และมี
ความสามารถด้านใดมากน้อยเทา่ ไร ตลอดจนผลทีเ่ กิดขึน้ จากการเรียนการฝึกฝนหรือประสบการณ์ต่างๆ ทง้ั
ในโรงเรยี น ทบ่ี ้าน และสง่ิ แวดลอ้ มอนื่ ๆ รวมทั้งความรสู้ กึ ค่านยิ ม จรยิ ธรรมตา่ งๆ ก็เป็นผลมาจากการฝึกฝน
ดว้ ย

12

สรปุ ไดว้ า่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถงึ ผลทเี่ กิดจากกระบวนการเรียนการสอนที่จะทาใหน้ กั เรียน
เกิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม และสามารถวดั ได้โดยการแสดงออกมาทง้ั 3 ด้าน คือ ด้านพทุ ธิพสิ ยั ด้านจิต
พสิ ัย และด้านทักษะพสิ ัย ซง่ึ ในการวิจัยคร้งั นี้ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีไดจ้ ากการวดั ความรู้
ความสามารถของนกั เรียนในการจัดการเรยี นรู้วชิ าภมู ิศาสตร์ เรอื่ ง รกั ษป์ าุ น่าน จากแบบทดสอบวดั สัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนท่ีผู้วิจัยสรา้ งข้นึ เอง

2.2 การวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
การวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นมคี วามจาเปน็ ต่อการเรียนการสอน หรือการตัดสินผลการเรียน เพราะ
เปน็ การวดั ระดับความสามารถในการเรยี นรู้ของบุคคลหลงั จากท่ไี ด้รับการฝึกฝน โดยอาศยั เครื่องมือประเภท
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธซ์ิ งึ่ เปน็ เครือ่ งมอื ที่นิยมมากที่สุด
การวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามแนวคิดของใชแ้ นวคดิ บลูมโดยใช้ (Revised Bloom ’s
Taxonomy) โดย Anderson &Krathwolh และคณะ (2000) ซึง่ มกี ระบวนการทางสตปิ ัญญาตามการจดั
หมวดหมูล่ าดบั ความรูข้ องบลูมที่ไดร้ บั การปรับปรุงใหม่ใหม้ ีความถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับการจัดการศึกษา
การวดั และประเมนิ ผลในปจั จบุ นั โดยท้ังหมด 6 ขัน้ เรยี งลาดบั จากความรูร้ ะดับตา่ ไปยังความรู้ระดบั สูง มี
ดังน้ี
1) จา (Remembering) เป็นความสามารถของสมองในการระลึก/จาความรหู้ รือสารสนเทศทีเ่ ก็บไว้
ในสมอง ซ่ึงเปน็ ความจาระยะยาว
2) เขา้ ใจ (Understanding) เป็นความสามารถทางสมองของบุคคลในการสรา้ งความหมายหรือ
ความร้จู ากส่ือหรือเคร่ืองมือทางการศึกษาด้วยตนเอง เช่น จากการอ่าน การอธิบายของครู ทักษะย่อยของ
ความสามารถในขน้ั นี้ ได้แก่ การแปลความหมาย (interpreting) การให้ตัวอยา่ ง (exemplifying) การจดั
จาแนก (classifying) การสรุป (summarizing) การเปรียบเทียบ (comparing) และการอธบิ าย (explaining)
3) ประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) จัดเป็นกระบวนการทางสมองในการใชก้ ระบวนการที่ไดเ้ รียนร้มู าใน
สถานการณ์ใหมห่ รอื สถานการณท์ ี่คลา้ ยคลึงกัน
4) วิเคราะห์ (Analyzing) กระบวนการทางปัญญาในข้ันนี้ เปน็ การแยกความรู้ออกเปน็ ส่วน ๆ โดย
สามารถให้เหตุผลวา่ ความรู้ส่วนยอ่ ยทแี่ ยกแตล่ ะส่วนมคี วามเกย่ี วข้องกบั โครงสรา้ งของความรู้ท้ังหมดอย่างไร
นักเรียนทม่ี ีความสามารถในการวเิ คราะห์จะต้องสามารถจาแนกความแตกตา่ งได้ จัดระบบความรู้ได้ และบอก
ทม่ี าของความรหู้ รอื องค์ประกอบแตล่ ะสว่ นได้
5) ประเมินค่า (Evaluating) เดมิ ความสามารถด้านการประเมนิ จดั เปน็ ความรขู้ ้ันสูงสดุ เป็น
ความสามารถของสติปญั ญาเก่ียวกบั การตรวจสอบและการวพิ ากษต์ า่ ง ๆ
6) สร้างสรรค์ (Create) เปน็ ความสามารถของสตปิ ัญญาในการสรา้ งส่งิ ใหมจ่ ากสิง่ ท่เี คยเรียนรูห้ รอื สิ่ง
ทพ่ี บเห็นในบรบิ ทตา่ ง ๆ นักเรียนท่มี คี วามสามารถในการสร้างสรรคจ์ ะต้องสามารถสร้างสรรค์งาน แผนงาน
หรอื ผลติ ภณั ฑ์ หรอื ช้นิ งานที่แปลกใหม่เยาวดี

13

วิบูลยศ์ รี (2540) ได้กลา่ วถึงขอ้ ตกลงเบอ้ื งตน้ ทคี่ วรคานงึ ถึงในการสรา้ งแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ไิ ว้
ดงั น้ี

1) เนอ้ื หา หรือทักษะภายในขอบเขตทค่ี รอบคลุมในแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิน์ นั้ จะต้องสามารถ
จากดั อยู่ในรปู ของพฤตกิ รรม ซึง่ มีความเฉพาะเจาะจงในลกั ษณะที่จะส่ือสารไปยังบุคคลอ่ืนได้ ถา้ เปูาหมาย
ทางการศกึ ษาไมส่ ามารถจากัดอยใู่ นรปู ของพฤติกรรมแลว้ ย่อมไมส่ ามารถท่จี ะวดั ไดใ้ นลักษณะของผลสมั ฤทธ์ิ
ไดอ้ ย่างชดั เจน

2) ผลติ ผลที่แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์วดั นน้ั จะตอ้ งเปน็ ผลติ ผลเฉพาะที่เกดิ ขึ้นจากการเรยี นการ
สอนตามวตั ถุประสงค์ทตี่ ้องการเท่านน้ั จะวัดผลผลิตผลอยา่ งอืน่ ไมไ่ ด้

3) ผลสมั ฤทธ์ิหรอื ความรตู้ ่าง ๆ ทแี่ บบทดสอบผลสมั ฤทธ์ิวัดได้น้นั ถ้าจะนาไปเปรียบเทียบกนั แลว้ ผู้
เข้าสอบทุกคนจะต้องมโี อกาสได้เรียนรู้ในเรอ่ื งน้ัน ๆ เท่าเทียมกนั

ผ้วู จิ ัยไดน้ าแนวคิดในการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามแนวคดิ ของใช้แนวคิดบลูมโดยใช้ (Revised
Bloom ’s Taxonomy) โดย Anderson &Krathwolh และคณะ (2000) ทมี่ ีองคป์ ระกอบสาคญั ดังน้ี
ความจา เขา้ ใจ ประยุกต์ใช้ วเิ คราะห์ ประเมนิ ค่า และสร้างสรรค์ มาปรับใชใ้ นการออกแบบบทสอบ
สอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการในงานวจิ ัยในคร้งั น้ี

2.3 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
สิริพร ทพิ ย์คง (2545) ไดใ้ ห้ความหมายของ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถึงชดุ
คาถามทีม่ งุ่ วัดพฤติกรรมการเรยี นของนักเรยี นวา่ มีความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพดา้ นสมองดา้ นตา่ งๆ ในเรื่อง
ที่เรยี นรู้ไปแล้วมากนอ้ ยเพยี งใด
สมพร เชอ้ื พนั ธ์ (2547) ได้ใหค้ วามหมายของ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น หมายถึง
แบบทดสอบหรือชดุ ของข้อสอบท่ใี ช้วดั ความสาเร็จหรือความสามารถในการทากจิ กรรมการเรียนรู้ของนกั เรยี น
ทีเ่ ปน็ ผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของครผู สู้ อนวา่ ผ่านจุดประสงค์การเรียนรทู้ ่ตี ้งั ไว้เพยี งใด
ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ให้คาจากัดความแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวา่ เปน็
เครอ่ื งมอื ในการวัดคุณลักษณะ รวมถึงความรู้ ความสามารถของผูเ้ รยี นทสี่ ามารถสะท้อนความรู้ความสามารถ
ของกลุ่มเปูาหมายได้
สทุ ธิวรรณ พีรศักดโิ์ สภณ (2559) การวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นการวัดความสามารถทางสมอง
หรือวัดดา้ นสตปิ ัญญาของผู้เรียนว่ามีความสามารถมากน้อยเพียงใดหลังจากที่ไดร้ บั ประสบการณจ์ ากการ
จัดการเรียนการสอนหรอื จากแหลง่ วทิ ยาการต่างๆ ดงั นั้นในการวัดความสามารถเพื่อดคู วามเจริญงอกงามของ
ผ้เู รยี นและดปู ระสทิ ธิภาพการเรียนการสอนแลว้ แบบทดสอบนับวา่ เป็นเคร่ืองมือทมี่ คี วามสาคัญมากท่ีจะทา
ใหท้ ราบส่ิงเหลา่ นั้นได้
ดังน้นั สรุปได้วา่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน คือแบบทดสอบท่ีใชว้ ดั ความสามารถทางด้าน
สติปญั ญาของผ้เู รยี น ท่ีเป็นผลมาจากการจดั การการเรียนรู้ ซ่ึงในการวจิ ัยในครัง้ น้ีแบบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
หมายถึง แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในการจัดการเรียนรวู้ ชิ าภูมิศาสตร์ เรือ่ ง รักษ์ปาุ
นา่ น ทผ่ี ้วู จิ ัยสร้างขน้ึ เอง

14

2.4 ลกั ษณะของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทด่ี ี
สริ ิพร ทพิ ยค์ ง (2545, น. 195) สอดคล้องกับ พิชติ ฤทธิ์จรูญ (2545, น. 135 – 161) นัก
การศกึ ษาที่ไดใ้ ห้ความเหน็ เก่ียวกบั ลกั ษณะของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิท่ดี ี
1. ความเทยี่ งตรง เปน็ แบบทดสอบท่สี ามารถนาไปวดั ในสิ่งท่ีเราตอ้ งการวดั ได้อยา่ งถูกต้อง ครบถว้ น
ตรงตามจุดประสงคท์ ่ตี ้องการวัด
2. ความเช่อื ม่ัน แบบทดสอบทม่ี คี วามเช่ือมน่ั คือ สามารถวัดไดค้ งที่ไมว่ ่าจะวดั ก่คี รัง้ ก็ตาม เช่น ถ้านา
แบบทดสอบไปวดั กับนักเรยี นคนเดมิ คะแนนจากการสอบท้ังสองคร้งั ควรมีความสมั พันธก์ ันดี เมอื่ สอบได้
คะแนนสูงในคร้ังแรกก็ควรได้คะแนนสูงในการสอบคร้ังที่สอง
3. ความเปน็ ปรนยั เป็นแบบทดสอบที่มคี าถามชดั เจน เฉพาะเจาะจง ความถูกต้องตามหลกั วชิ า และ
เขา้ ใจตรงกัน เมอื่ นักเรียนอ่านค าถามจะเข้าใจตรงกัน ข้อคาถามตอ้ งชัดเจนอา่ นแล้วเข้าใจตรงกนั
4. การถามลกึ หมายถึง ไม่ถามเพยี งพฤติกรรมข้ันความร้คู วามจา โดยถามตามตาราหรือถามตามที่
ครสู อน แต่พยายามถามพฤติกรรมขั้นสงู กว่าข้ันความรู้ความจา ได้แก่ ความเข้าใจการนาไปใช้ การวิเคราะห์
การสังเคราะหแ์ ละการประเมินค่า
5. ความยากง่ายพอเหมาะ หมายถงึ ข้อสอบท่ีบอกใหท้ ราบวา่ ข้อสอบขอ้ นัน้ มีคนตอบถูกมากหรือ
ตอบถูกน้อย ถ้ามคี นตอบถกู มากข้อสอบข้อนั้นกง็ า่ ยและถา้ มคี นตอบถูกน้อยข้อสอบข้อน้ันก็ยาก ข้อสอบทีย่ าก
เกินความสามารถของนักเรยี นจะตอบไดน้ ัน้ กไ็ ม่มีความหมาย เพราะไมส่ ามารถจาแนกนักเรยี นไดว้ ่าใครเก่ง
ใครอ่อนในทางตรงกนั ข้ามถ้าข้อสอบง่ายเกนิ ไปนักเรียนตอบไดห้ มด ก็ไม่สามารถจาแนกได้เช่นกนั ฉะน้ัน
ขอ้ สอบท่ดี คี วรมีความยากงา่ ยพอเหมาะ ไมย่ ากเกินไปไม่ง่ายเกินไป
6. อานาจจาแนก หมายถึง แบบทดสอบนสี้ ามารถแยกนักเรยี นได้วา่ ใครเกง่ ใครอ่อนโดยสามารถ
จาแนกนักเรยี นออกเป็นประเภทๆ ได้ทุกระดบั อย่างละเอยี ดตงั่ แตอ่ ่อนสุดจนถึงเก่งสุด
7. ความยุตธิ รรม คาถามของแบบทดสอบต้องไม่มีช่องทางชี้แนะใหน้ กั เรียนทีฉ่ ลาดใชไ้ หวพริบในการ
เดาได้ถูกต้องและไม่เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นทีเ่ กยี จคร้านซง่ึ ดูตาราอย่างคร่าวๆตอบได้ และตอ้ งเปน็ แบบทดสอบ
ที่ไมล่ าเอียงต่อกลุ่มใดกลมุ่ หนึ่ง
สรุปได้ว่า แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ท่ีดี ต้องเปน็ แบบทดสอบท่มี ีความเท่ียงตรงความเช่ือมนั่ ความเป็นปรนยั
มีความลกึ ซึ้งของเนื้อหา มคี วามยากง่ายพอเหมาะ มีคา่ อานาจจาแนก และมคี วามยุตธิ รรม
2.5 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ไดจ้ ดั ประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งออกเปน็
2 ประเภท คอื แบบทดสอบท่ีครูสร้างขน้ึ เอง (Teacher made tests) และแบบทดสอบมาตรฐาน
(Standardized tests) ซง่ึ ท้งั 2 ประเภทจะถามเน้อื หาเหมือนกัน คือถามส่ิงทผี่ ู้เรียนไดร้ ับจากการเรยี นการ
สอนซ่งึ จดั กลุม่ พฤตกิ รรมได้ 6 ประเภท คือ ความรู้ ความจา ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การ
สงั เคราะห์ และการประเมนิ
1. แบบทดสอบท่ีครูสรา้ งขน้ึ เปน็ แบบทดสอบท่คี รสู ร้างขน้ึ เองเพ่ือใช้ในการทดสอบผเู้ รียนในช้ันเรียน
แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ

15

1.1 แบบทดสอบปรนัย (Objective tests) ได้แก่ แบบถูก – ผดิ (True-false) แบบ
จบั คู่ (Matching) แบบเตมิ คาใหส้ มบรู ณ์ (Completion) หรอื แบบคาตอบสน้ั (Short answer) และแบบ
เลือกตอบ (Multiple choice)

1.2 แบบอัตนัย (Essay tests) ไดแ้ ก่ แบบจากัดคาตอบ (Restricted response items)
และแบบไม่จากัดความตอบ หรือ ตอบอยา่ งเสรี (Extended response items)

2. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เป็นแบบทดสอบท่สี รา้ ง โดยผเู้ ช่ยี วชาญทม่ี คี วามรู้
ในเน้อื หา และมที ักษะการสร้างแบบทดสอบ มีการวเิ คราะหห์ าคุณภาพของแบบทดสอบ มีคาชีแ้ จงเกยี่ วกับ
การดาเนินการสอบ การใหค้ ะแนนและการแปลผล มคี วามเปน็ ปรนัย (Objective) มคี วามเทยี่ งตรง
(Validity) และความเชอ่ื มัน่ (Reliability) แบบทดสอบมาตรฐาน ไดแ้ ก่ California Achievement Test,
Iowa Test of Basic Skills, Standford Achievement Test และ the Metropolitan Achievement
tests เปน็ ต้น

ส่วนพวงรตั น์ ทวีรตั น์ (2543) ได้จัดประเภทแบบทดสอบไว้ 3 ประเภท ดังน้ี
1. แบบปากเปล่า เป็นการทดสอบที่อาศัยการซักถามเปน็ รายบุคคล ใชไ้ ด้ผลดถี า้ มีผู้เข้าสอบจานวน
นอ้ ย เพราะตอ้ งใชเ้ วลามาก ถามได้ละเอยี ด เพราะสามารถโต้ตอบกันได้
2. แบบเขยี นตอบ เป็นการทดสอบท่เี ปล่ยี นแปลงมาจากการสอบแบบปากเปลา่ เนือ่ งจากจานวนผู้
เข้าสอบมากและมจี านวนจากัด แบ่งได้เปน็ 2 แบบ คอื

2.1 แบบความเรียง หรืออตั นยั เปน็ การสอบท่ีให้ผตู้ อบได้รวบรวมเรียบเรียงคาพูดของ
ตนเองในการแสดงทศั นคติ ความรู้สึก และความคดิ ไดอ้ ยา่ งอิสระภายใตห้ ัวเรื่องท่ีกาหนดให้ เปน็ ขอ้ สอบที่
สามารถ วดั พฤติกรรมดา้ นการสังเคราะห์ได้อยา่ งดี แต่มีขอ้ เสียทีก่ ารใหค้ ะแนน ซงึ่ อาจไม่เที่ยงตรง ทาให้มี
ความเป็นปรนัยได้ยาก

2.2 แบบจากัดคาตอบ เป็นข้อสอบ ที่มีคาตอบถูกใต้เง่ือนไขทก่ี าหนดให้อยา่ งจากัด ข้อสอบ
แบบนแ้ี บง่ ออกเปน็ 4 แบบ คอื แบบถูกผิด แบบเติมคา แบบจับคู่ และแบบเลอื กตอบ

3. แบบปฏิบัติ เปน็ การทดสอบทีผ่ ูส้ อบได้แสดงพฤติกรรมออกมาโดยการกระทาหรือลงมือปฏิบัติ
จรงิ ๆ เช่น การทดสอบทางดนตรี ชา่ งกล พลศกึ ษา เปน็ ต้น

แต่โดยทวั่ ไปแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นร้ทู คี่ รูสร้างมอี ย่ดู ว้ ยกนั 6 แบบ ดังนี้
1. ขอ้ สอบอตั นัยหรือความเรียง (Subjective or Essay test) เป็นข้อสอบท่ีมีเฉพาะคาถาม แล้วให้
นกั เรยี นเขยี นตอบอย่างเสรี เขียนบรรยายตามความรู้และเขยี นข้อคิดเหน็ ของแตล่ ะคน
2. ข้อสอบแบบกาถูก-ผดิ (True-false test) คือข้อสอบแบบเลือกตอบท่ีมี 2 ตัวเลือกแต่ตัวเลอื ก
ดังกลา่ วเป็นแบบคงท่ีและมีความหมายตรงกนั ข้าม เช่น ถูก-ผิด ใช-่ ไม่ใช่ จรงิ -ไม่จริง เหมือนกนั -ตา่ งกัน เปน็
ต้น
3. ข้อสอบแบบเติมคา(Completion test) เปน็ ข้อสอบที่ประกอบด้วยประโยค หรือข้อความท่ยี ังไม่
สมบูรณ์แลว้ ใหต้ อบเติมคาหรือประโยค หรือข้อความลงในชอ่ งวา่ งทีเ่ วน้ ไว้น้ันเพ่ือให้มใี จความสมบรู ณ์และ
ถูกต้อง

16

4. ขอ้ สอบแบบตอบสัน้ ๆ (Short answer test) เป็นข้อสอบที่คล้ายกับข้อสอบ แบบเติมคา แต่
แตกตา่ งกนั ที่ข้อสอบแบบตอบส้นั ๆเขยี นเปน็ ประโยคคาถามสมบรู ณ์ (ข้อสอบเตมิ คาเป็นประโยคหรือข้อความ
ที่ยงั ไมส่ มบูรณ์) แลว้ ให้ผตู้ อบเขียนตอบ ค าตอบทีต่ ้องการจะสัน้ และกะทัดรดั ได้ใจความสมบรู ณไ์ ม่ใช่เปน็
การบรรยาย แบบข้อสอบอัตนยั หรือความเรียง

5. ข้อสอบแบบจบั คู่ (Matching test) เปน็ ข้อสอบแบบเลือกตอบชนิดหน่งึ โดยมีค่าหรือข้อความแยก
ออกจากกนั เปน็ 2 ชดุ แลว้ ใหผ้ ตู้ อบเลือกจบั ควู่ า่ แตล่ ะข้อความในชดุ หน่งึ จะค่กู ับคาหรือข้อความใดในอีกชดุ
หนง่ึ ซง่ึ มี ความสมั พันธก์ นั อย่างใดอยา่ งหนงึ่ ตามท่ผี อู้ อกข้อสอบกาหนดไว้

6. ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice test) คาถามแบบเลือกตอบโดยทั่วไปจะประกอบด้วย
2 ตอน คือ ตอนนาหรือคาถาม (Stem) กบั ตอนเลือก (Choice) ในตอนเลือกนนั้ จะประกอบด้วยตัวเลือกท่ี
เปน็ คาตอบถกู และตัวเลือกลวง ปกตจิ ะมีคาถามทีก่ าหนดให้พิจารณา แล้วหาตวั เลอื กที่ถูกต้องมากทีส่ ดุ เพียง
ตวั เลอื ก เดยี วจากตวั เลอื กอื่นๆและคาถามแบบเลือกตอบที่ดนี ิยมใช้ตัวเลือกทใี่ กล้เคียงกัน

ดงั นนั้ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น แบ่งได้ 2 ประเภท คอื แบบทดสอบมาตรฐาน ซงึ่ สรา้ ง
จากผ้เู ช่ียวชาญดา้ นเนอื้ หาและด้านวดั ผลการศึกษา มีการหาคณุ ภาพเป็นอยา่ งดี สว่ นอกี ประเภทหนึง่ คือ
แบบทดสอบที่ครสู รา้ งข้นึ เพื่อใช้ในการทดสอบในชั้นเรียน ในการออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
ได้แก่ ขอ้ สอบอตั นยั หรือความเรยี งข้อสอบแบบกาถูกกาผิด ขอ้ สอบแบบเติมคา ข้อสอบแบบตอบสั้นๆ ขอ้ สอบ
แบบจบั คู่ และข้อสอบแบบเลือกตอบ ในการวจิ ัยครั้งนผ้ี วู้ จิ ัย สร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นแบบ
เลือกตอบเนือ่ งจากเปน็ แบบทดสอบทสี่ ามารถวัดพฤตกิ รรมท้งั 6 ด้านไดแ้ ก่ ความจา เข้าใจ ประยกุ ตใ์ ช้
วเิ คราะห์ ประเมินค่า และสรา้ งสรรค์ ผู้วิจัยได้เลือกแบบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนท่ีครูสรา้ งข้ึนเอง โดย
ใชข้ อ้ สอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice test)

2.6 การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
บญุ ชม ศรสี ะอาด (2546, น. 56-58) ไดก้ ลา่ วถึงการสร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นโดยดาเนินการตามข้นั ตอนต่อไปนี้
1. วิเคราะห์จุดประสงคเ์ นื้อหาวชิ าและทาตารางกาหนดลกั ษณะข้อสอบขัน้ แรกสดุ ต้องทาการ
วเิ คราะห์ว่าวิชาหรือหัวข้อท่สี รา้ งขอ้ สอบวัดผลนมี้ จี ดุ ประสงคข์ องการสอนหรือจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูอ้ ะไรบา้ ง
ทาการวิเคราะห์เนือ้ หาวชิ าว่ามีโครงสรา้ งอย่างไรจดั เขียนหัวขอ้ ใหญ่หัวข้อย่อยทกุ หัวข้อพิจารณาความเกยี่ ว
โยงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเนื้อหาเหล่านั้นจากนนั้ ก็จัดทาตารางกาหนดลกั ษณะข้อสอบหรือท่ีเรยี กวา่ ตาราง
วเิ คราะห์หลกั สูตรตารางน้ีมี 2 มติ ิคอื ดา้ นเนื้อหากับสมรรถภาพทีต่ ้องการวดั เขยี นหัวข้อเน้อื หาทเ่ี ปน็ หัวข้อ
เรอ่ื งใหญ่ๆตามหลกั สตู รวิชาน้ันลงไปในแต่ละแถวของตารางตามลาดับส่วนด้านบนจะเป็นสมรรถภาพซงึ่ ได้
จากการวเิ คราะหจ์ ุดประสงค์และในการทาตารางกาหนดลักษณะของข้อสอบนั้นข้ันแรกสุดพิจารณาวา่ จะออก
ขอ้ สอบทงั้ หมดก่ขี ้อเขียนจานวนข้อลงในชอ่ งรวมช่องสุดท้ายจากนน้ั พจิ ารณาวา่ หัวข้อเร่ืองใดสาคญั มากนอ้ ย
เขียนลาดบั ความสาคญั ลงไปแล้วกาหนดจานวนข้อสอบทีจ่ ะวัดในแต่ละหัวข้อตามอนั ดบั ความสาคัญจากนั้น
กาหนดจานวนขอ้ ในแต่ละช่องจานวนขอ้ สอบท่ีจะวดั ในแต่ละช่องขนึ้ อยกู่ ับว่าเรื่องน้ันต้องการให้เกิด
สมรรถภาพในดา้ นใดมากนอ้ ยกวา่ กนั การวเิ คราะห์จุดประสงค์ในการสร้างขอ้ สอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

17

แนวความคดิ ในการวดั ที่นิยมกันไดแ้ กก่ ารเขยี นข้อสอบวดั ตามการจดั ประเภทจดุ ประสงค์ทางการศึกษาดา้ น
พทุ ธิพิสัย (Cognitive) ซ่งึ จาแนกจดุ ประสงค์ทางการศึกษาดา้ นพุทธิพิสยั ออกเปน็ 6 ประเภทได้แก่วดั ด้าน
ความรคู้ วามจา (Knowledge) วดั ด้านความเข้าใจ (Comprehension) วัดด้านการนาไปใช้ (Application)
วดั ด้านการวเิ คราะห์ (Analysis) วดั ด้านสังเคราะห์ (Synthesis) และดา้ นประเมินคา่ (Evaluation)

2. กาหนดแบบของข้อคาถามและศึกษาวิธกี ารเขียนข้อสอบทาการพจิ ารณาและตัดสนิ ใจว่าจะใชข้ อ้
คาถามรปู แบบใดศึกษาวิธีการเขยี นขอ้ สอบศึกษาวธิ ีการเขียนข้อสอบหลักการเขยี นคาถามสมรรถภาพตา่ งๆ
ศึกษาเทคโนโลยใี นการเขยี นข้อสอบเพื่อนามาใช้เปน็ หลกั ในการเขยี นข้อสอบ

3. เขียนข้อสอบโดยใช้ตารางกาหนดลกั ษณะของข้อสอบที่จัดทาไวข้ ้นั ท่ี 1 เปน็ กรอบซึ่งจะทาให้
สามารถออกข้อสอบวดั ได้ครอบคลุมทกุ หัวข้อเน้ือหาและทุกสมรรถภาพสว่ นรูปแบบและเทคนคิ ในการเขียน
ขอ้ สอบยึดตามท่ศี ึกษาในขั้น ตรวจทานข้อสอบนาข้อสอบท่ีได้เขยี นไวใ้ นข้ันพจิ าณาทบทวนอีกคร้ังหนึง่ โดย
พจิ ารณาความถูกตอ้ งตามตารางกาหนดลักษณะข้อสอบหรอื ไม่ภาษาท่ีใชเ้ ขียนมีความชัดเจนเขา้ ใจง่าย
เหมาะสมดีแลว้ หรือไม่ตัวถกู ตัวลวงเหมาะสมกับเขา้ กบั หลักเกณฑห์ รือไม่หลงั พจิ ารณาข้อบกพร่องแล้วนาเอา
ข้อวิจารณ์นน้ั มาพิจารณาปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมย่ิงข้นึ

5. พิมพ์แบบทดสอบฉบับทดลองนาข้อสอบท้ังหมดมาพิมพเ์ ปน็ แบบทดสอบโดยพิมพ์คาชแี้ จงหรือ
คาอธบิ ายวิธีการทาแบบทดสอบไว้ทปี่ กของแบบทดสอบอยา่ งละเอียดและชัดเจนการจัดพิมพร์ ูปแบบให้
เหมาะสม

6. ทดลองใชว้ ิเคราะหค์ ุณภาพและปรบั ปรุงนาแบบทดสอบไปทดลองกับกลมุ่ ที่คลา้ ยกนั กบั กลมุ่
ตัวอย่างท่จี ะสอบจริงซ่ึงได้เรียนในวิชาเนอื้ หาท่ีจะสอบแล้วนาผลการสอบมาตรวจให้คะแนนทาการวเิ คราะห์
คณุ ภาพคดั เลอื กเอาข้อท่มี ีคุณภาพเข้าเกณฑ์ตามจานวนท่ีตอ้ งการถา้ ข้อทีเ่ ขา้ เกณฑ์มจี านวนมากกวา่ ท่ีต้องการ
กต็ ดั ข้อทมี่ ีเน้ือหามากกว่าทต่ี ้องการซ่งึ เป็นข้อสอบท่ีมีอานาจจาแนกต่าสดุ ออกตามลาดบั นาเอาผลการสอบท่ี
คดิ เฉพาะขอ้ สอบเข้าเกณฑเ์ หล่านนั้ มาคานวณหาค่าความเชอื่ ม่นั

7. พิมพแ์ บบทดสอบฉบับจริงนาขอ้ สอบที่มีอานาจจาแนกและระดบั ความยากเขา้ เกณฑ์ตามจานวนท่ี
ตอ้ งการในขน้ั ตอนที่ 6 มาพิมพเ์ ป็นแบบทดสอบฉบับที่จะใชจ้ รงิ ซึ่งจะต้องมคี าช้ีแจงวิธีทาด้วยและในการพิมพ์
นอกจากใช้รปู แบบท่ีเหมาะสมแลว้ ควรคานึงถึงความประณีตความถูกต้องซ่งึ จะต้องตรวจทานใหด้ ี

สมนกึ ภัททยิ ธนี (2551, น.97) ได้กลา่ วสรุปถึงการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นไว้
ว่า

1. ครูผูส้ อนควรทาความเขา้ ใจขอ้ สอบแตล่ ะชนิดและทุกครั้งทจ่ี ะออกข้อสอบชนิดใดควรคานึงถงึ
หลกั การออกข้อสอบชนิดนนั้ ๆดว้ ย

2. ขอ้ สอบชนิดใดก็ตามหากมีคณุ สมบตั เิ ปน็ ไปตามคุณลักษณะของแบบทดสอบที่ดหี ลายประการก็
เปน็ ข้อสอบที่ดมี ากเท่าน้ัน

3. ปจั จบุ ันนกั เรียนมจี านวนมากการพิมพ์และการตรวจข้อสอบสามารถใช้เคร่ืองจักรกลแทนการ
ตรวจดว้ ยคนจงึ ควรใช้ข้อสอบแบบเลือกตอบ

18

4. โดยทว่ั ไปในการสอบแต่ละคร้ังนา่ จะใช้ขอ้ สอบเพยี ง 2 ชนิดกม็ ีประสทิ ธภิ าพเพยี งพอแลว้ ได้แก่
ข้อสอบอตั นัยหรือความเรียงกบั ข้อสอบแบบเลือกตอบสว่ นขอ้ สอบชนิดอนื่ ๆนา่ จะใช้เป็นเพียงแบบฝึกหัดหรือ
อาจจะใชง้ านทดสอบย่อยเพอ่ื ย่วั ยุจูงใจใหน้ ักเรยี นสนใจในวิชาที่กาลงั สอนและสามารถพัฒนาให้เป็นขอ้ สอบ 2
ชนดิ น้ีกล่าวคือ

4.1 ถา้ เปน็ ข้อสอบแบบกาถูก–กาผิดควรพัฒนาให้เป็นข้อสอบแบบเลอื กตอบ
4.2 ถ้าเปน็ ข้อสอบแบบจบั คู่ควรพัฒนาใหเ้ ปน็ ข้อสอบแบบเลอื กตอบชนิดตวั เลือกคงท่ี
4.3 ถา้ เปน็ ข้อสอบเติมคาหรือตอบส้นั ๆควรพฒั นาใหเ้ ปน็ ข้อสอบแบบเลอื กตอบ (ถา้ ให้ตอบ
สน้ั ๆ) หรือแบบอตั นยั (ถ้าให้ตอบยาวๆ)
กญั จนา ลนิ ทรตั นศริ ิกุล (2559) ไดก้ ล่าวถงึ วธิ ีการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนไว้ใน
ประมวลสาระชุดวชิ าการวจิ ยั หลกั สูตรและการเรียนการสอน มีข้ันตอนดังน้ี
1) การศึกษาหลักสตู รและคู่มือครเู พอ่ื พจิ ารณามาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั
2) ศึกษาหนังสอื เรียน เอกสาร ตาราๆเพื่อพิจารณาเนอื้ หาสาระ
3) สร้างตารางเฉพาะ (table of specifications) หรอื ผังการสร้างแบบทดสอบ (table
blueprint) ซ่งึ มปี ระกอบดว้ ยจุดประสงค์การเรยี นรูห้ รอื เนื้อสาระท่ีต้องการวัดและระดับความรทู้ ่ีต้องการวัด
โดยทัว่ ไปยึดตามแนวคิดของบลูมและคณะทป่ี รบั ปรุงในปี 1990 โดยแอนเดอร์สันและแครทโวฮล์
(Anderson and Krathwohl, 2001) ซ่งึ แบง่ ออกเปน็ ความจา ความเข้าใจ การประยกุ ต์ การวเิ คราะห์ การ
ประเมิน และการสร้างสรรค์
4) กาหนดลกั ษณะของข้อสอบและจานวนข้อคาถาม การกาหนดลกั ษณะของขอ้ สอบเป็น
การพจิ ารณาว่าต้องการออกข้อสอบลกั ษณะใด
5) สร้างขอ้ สอบใหส้ อดคล้องกบั ผังการสรา้ งแบบทดสอบ
6) ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบโดยพิจารณาความตรงเชิงเน้หิ า โดยใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญ
พิจารณาขอ้ คาถามกับผงั แบบทดสอบ
7) ปรบั แก้แบบทดสอบตามข้อเสนอแนะของผ้เู ช่ียวชาญ จนกวา่ ขอ้ คาถามทุกข้อสอดคล้อง
กับผังการสร้างแบบทดสอบ
8) นาแบบทดสอบไปทดลองใชก้ บั นกั เรยี นที่มีลักษณะเหมือนกบั กลมุ่ ตวั อย่าง
9) ตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบเป็นรายข้อโดยพิจารณาความยากและอานาจจาแนก
10) ตรวจสอบความเที่ยงของแบบทดสอบท้ังฉบับ
สรปุ ได้ว่าแบบทดสอบทางการเรยี นเปน็ เคร่อื งมือวดั ผลท่ีสาคัญ เพราะเป็นสิง่ ท่ีให้ข้อมลู สะท้อนกลับ
แกค่ รูและผู้ที่มสี ่วนเกีย่ วข้องกับการจัดการศึกษาวา่ การจดั การเรยี นรนู้ บี้ รรลเุ ปาู หมายมากนอ้ ยเพยี งใด และ
สะท้อนถึงการจดั การเรยี นรู้ว่ามคี ณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพมากน้อยเพยี งใด และต้องปรับปรุงแกไ้ ข หรอื ไม่อย่างไร
ผวู้ จิ ยั ไดเ้ ลอื กวิธีการสร้างแบบทดสอบตามแนวคิดของกญั จนา ลินทรตั นศิริกลุ มาเปน็ แนวทางในการสร้างและ
พฒั นาแบบทดสอบที่ใชใ้ นการวิจยั ในครัง้ นี้

19

2.7 การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
สมนกึ ภัททิยธนี (2546, น. 67-71) ได้กล่าวถึงลกั ษณะแบบทดสอบท่ีมีคุณภาพควรมีลักษณะ ที่ดี
10 ประการ ดังนี้
1. ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถงึ คุณภาพของแบบทดสอบ ทีส่ ามารถวัดไดต้ รงกบั จุดมงุ่ หมายที่
ต้องการ หรือวัดในสิง่ ทต่ี ้องการวัดได้อยา่ งถกู ต้องแม่นยา ความเทย่ี งตรงจึงเปรยี บเสมือนหวั ใจของ
แบบทดสอบ ลกั ษณะความเท่ียงตรงของแบบทดสอบ แบ่งออกเป็น 4 ชนดิ คือ ความเที่ยงตรงตามเน้ือหา
ความเทยี่ งตรงโครงสร้าง ความเทย่ี งตรงตามสภาพและความเท่ยี งตรงตามการพยากรณ์
2. ความเช่อื มัน่ (Reliability) หมายถงึ ลกั ษณะของแบบทดสอบทง้ั ฉบับทสี่ ามารถวัดได้คงท่ีคงวาไม่
เปล่ยี นแปลง ไมว่ ่าจะทาการทดสอบใหม่กค่ี ร้งั กต็ าม
3. ความยตุ ิธรรม (Fair) หมายถึง ลกั ษณะของแบบทดสอบที่ไม่เปิดโอกาสให้มคี วามได้เปรยี บ
เสียเปรยี บในกลมุ่ ผูเ้ ข้าสอบด้วยกัน ไม่เปิดโอกาสให้นกั เรยี นทาขอ้ สอบไดโ้ ดยการเดา ไม่ให้นักเรียนที่ไม่สนใจ
ในการเรยี นทาข้อสอบได้ดี ผู้ทท่ี าข้อสอบไดค้ วรเปน็ นักเรียนท่ีเรยี นเกง่ และขยนั
4. ความลกึ ของคาถาม (Searching) ขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ จะต้องไมถ่ ามผิวเผินหรอื ถามประเภทความรู้
ความจา แตต่ ้องถามใหน้ กั เรียนนาความรคู้ วามเข้าใจไปคดิ ดดั แปลงแก้ปัญหาจึงจะตอบขอ้ สอบได้
5. ความย่ัวยุ (Exemplary) หมายถงึ แบบทดสอบทีน่ ักเรียนทาด้วยความสนุกเพลดิ เพลนิ ไมเ่ บ่อื
หน่าย
6. ความจาเพาะเจาะจง (Definition) หมายถงึ ข้อสอบที่มีแนวทางหรือทิศทางการถาม การตอบ
ต้องชดั เจน ไม่คลมุ เครือ ไมแ่ ฝงกลเมด็ ให้นักเรยี นไมเ่ ข้าใจ
7. ความเป็นปรนัย (Objective) แบบทดสอบจะเปน็ ปรนัยจะต้องมีคุณสมบตั ิ 3 ประการคอื

7.1 ตงั้ คาถามให้ชดั เจน ทาใหผ้ ู้เข้าสอบทุกคนเขา้ ใจความหมายได้ถูกต้องและตรงกัน เมื่อ
ส้นิ สุดการเรยี นการสอน ครผู ู้สอนจะทาการตรวจสอบระดับความสามารถของผู้เรียน โดยทาการวัดผลสัมฤทธ์ิ
ซึง่ จะวดั แบบใดข้ึนอย่กู บั ลักษณะและธรรมชาตขิ องวิชา อาจวัดด้านการปฏบิ ตั ิหรอื ด้านเนือ้ หา ถ้าเปน็ ด้าน
เนอื้ หานิยมวดั โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ท่สี ามารถวดั ได้ครอบคลุมท้ังดา้ นเน้ือหาและจุดประสงค์การ
เรียนรู้

7.2 ตรวจใหค้ ะแนนไดต้ รงกัน แมว้ ่าจะตรวจหลายครัง้ หรือหลายคนก็ตาม
7.3 แปลความหมายของคะแนนไดเ้ หมือนกัน
8. ประสิทธภิ าพ (Efficiency) หมายถงึ แบบทดสอบที่มจี านวนข้อมากพอประมาณ ใช้เวลาพอเหมาะ
ประหยัดค่าใชจ้ ่าย จดั ทาแบบทดสอบด้วยความประณีต สามารถตรวจให้คะแนนได้อย่างรวดเรว็ รวมถงึ การมี
สง่ิ แวดลอ้ มในการสอนที่ดี
9. อานาจจาแนก (Discrimination) หมายถงึ ความสามารถของข้อสอบในการจาแนกผู้สอบทม่ี ี
คณุ ลักษณะ หรือความสามารถแตกต่างกันออกจากกนั ไดข้ ้อสอบท่ีดีจะต้องมีอานาจจาแนกสงู
10. ความยาก (Difficulty) หมายถึง จานวนคนที่ตอบขอ้ สอบได้ถูกหรืออตั ราสว่ นของคนตอบถูกกบั
จานวนคนท้งั หมดท่ีเขา้ สอบมากน้อยเพยี งใด ขนึ้ อยู่กบั ทฤษฎีทเี่ ปน็ หลักยึด เช่น ตามทฤษฎีการวดั แบบองิ กลุ่ม

20

ขอ้ สอบทดี่ ีคือข้อสอบท่ีไม่งา่ ยหรือยากเกินไป หรือความยากง่ายพอเหมาะ ส่วนทฤษฎกี ารวดั แบบองิ เกณฑน์ ้ัน
ความยากง่ายไม่ใชส่ ิ่งสาคญั ส่ิงสาคัญอยู่ทข่ี ้อสอบนน้ั ได้วดั ในจุดประสงค์ทตี่ ้องการวดั ได้จริงหรือไม่ ถา้ วัดได้
จรงิ ก็นับว่าเปน็ ข้อสอบท่ีดี

กัญจนา ลินทรัตนศริ ิกลุ (2559, น. 9-46) ประมวลสาระชุดวชิ าการวจิ ยั หลกั สตู รและการเรียนการ
สอน ไดใ้ ห้ความเห็นว่า การหาคุณภาพของเครื่องมือ มีดงั น้ี 1. ความเทีย่ ง (reliability)
2. ความตรง (validity) 3. ความเป็นปรนัย (objectivity) 4. ความครอบคลมุ (comprehensiveness)
5. ความสามารถนาไปปฏิบัติ (practicability) 6. ความยากและอานาจจาแนก ดงั รายละเอียดนี้

1. ความเทยี่ งหรือความเชอื่ มั่น หมายถึง ความคงที่ของการวัด น่ันคอื เม่ือนาเครื่องใดๆไปวดั ผลทไ่ี ด้
จากการวดั น้นั ทุกครง้ั เหมือนเดมิ จาแนกได้ 3 ชนิดคือ ความเท่ียงแบบความคงที่ ความเทย่ี งแบบความเทา่
เทียม และความเท่ยี งแบบความสอดคล้องภายใน

2. ความตรง หมายถึง ความสามารถของเครื่องมอื ในการวัดสิ่งทตี่ ้องการวดั โดยพจิ ารณาวา่ เครื่องมือ
วัดคณุ ลกั ษณะอะไรและวัดอย่างไร ข้อคาถามเป็นตวั แทนของส่ิงทต่ี ้องการวดั หรือไม่ โดยานกึ ถึงว่าข้อคาถาม
ต้องกบั กับอะไรและตรงกับใคร

3. ความเปน็ ปรนัย หมายถงึ ความชดั เจนของข้อคาถามซงึ่ ผ้ถู ามและผตู้ อบเข้าใจในความหมายนัน้
ตรงกนั รวมถงึ การตรวจการให้คะแนนที่ชัดเจน ไม่วา่ จะตรวจหรอื ใหค้ ะแนนเวลาใดกต็ าม และทุกคนสามารถ
แปลความหมายของคะแนนไดเ้ หมอื นกัน

4. ความครอบคุลม หมายถงึ ความเหมาะสมของเคร่ืองท่ใี ชเ้ หมาะกับเน้ือหา เวลา และกลุ่มเปูาหมาย
การกาหนดขอ้ คาถาม จานวนขอ้ คาถามได้เหมาะสมกบั สิง่ ท่ีตอ้ งการวดั

5. ความสามารถในการนาไปปฏบิ ตั ิ เครื่องมือทน่ี าไปปฏบิ ัตไิ ดก้ ลา่ วคือต้องมลี กั ษณะ ดังนี้
1) งา่ ยตอ่ การนาไปใช้ เครอ่ื งมอื ต้องมีคาช้ีแจงสามารถนาไปใชไ้ ด้งา่ ยและชัดเจนไมย่ ุ่งยากแก่

ผ้ตู อบ
2) กาหนดเวลาในการใหเ้ หมาะสมกับจานวนข้อคาถามในเคร่ืองมือวิจัย เพื่อให้มีความ

เชอ่ื ถอื และความตรง
3) ง่ายตอ่ การตรวจใหค้ ะแนน หากเครือ่ งมือวิจัยมีคาชแ้ี จงท่ชี ดั เจนสามารถทาให้ตรวจให้

คะแนนได้งา่ ย
4) ง่ายต่อการแปลความหมายของคะแนนทไ่ี ดจ้ ากการตอบหรือการวดั

6. ความยาก (difficulty) และอานาจจาแนก (discrimnant) มกั ใชใ้ นกรณที ี่เป็นแบบทดสอบวดั
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นทเ่ี ปน็ ความร้แู ละความสามารถ ซ่ึงความยาก คือ สดั ส่วนของจานวนผูส้ อบทตี่ อบ
ข้อสอบขอ้ นน้ั ถกู ส่วนอานาจจาแนก คือ ความสามารถของข้อสอบในการจาแนกผสู้ อบทไี่ ด้คะแนนสงู ออก
จากผู้สอบท่มี ีคะแนนตา่

สรุปไดว้ ่าแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ ่ีดีต้องมีความลกึ และกว้างของเนื้อหาและสามารถวัดได้ตรงสิ่ง
ตอ้ งการจะวดั และผา่ นการหาคุณภาพทน่ี ่าเช่อื ถือและยอมรับได้ โดยในงานวจิ ยั คร้งั นผี้ ้วู จิ ัยไดน้ าแนวคิดของ

21

กัญจนา ลนิ ทรัตนศริ ิกลุ มาเป็นแนวทางหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นนาไปหา

คุณภาพโดยความเป็นปรนัย ความความเชอื่ มนั่ เท่ยี งตรง การอานาจจาแนก และความยาก

3. ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
3.1 ความหมายของการคิดวเิ คราะห์
โดยทแ่ี นวคิดเก่ยี วกบั การคดิ วิเคราะหเ์ พิ่งเปน็ ที่แพร่หลายและมคี วามสาคญั ต่อสังคมแหง่ โลกไร้

พรมแดนมากขนึ้ เป็นลาดับ จึงมผี เู้ ขียนหนังสอื และมีการเปิดสอนวชิ าน้อี ยา่ งแพรห่ ลายตามมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ
ทั่วโลก ดังนนั้ ความหมายและนิยามของ "การคิดวเิ คราะห"์ จงึ มีความหลากหลายดังนิยามท่ไี ดร้ วมรวมไว้
ข้างล่างน้ี ทั้งน้เี พื่อใหผ้ ู้ศกึ ษาเห็นภาพทก่ี ว้างขึน้ แหลง่ ท่ีมาได้ให้ไว้ที่ท้ายของแต่ละนยิ ามแลว้

การคิดวิเคราะห์ หมายถึง ชนดิ ของกจิ กรรมทางจิตทีแ่ จ่มแจง้ แม่นยาและมคี วามมุ่งหมายทช่ี ัดเจน
ปกติจะเกีย่ วโยงกบั การแก้ปัญหาทีซ่ ับซ้อนในโลกของความเป็นจรงิ เป็นการสร้างทางแก้ปญั หาเชงิ ซ้อน เป็น
การหยบิ ยกความแตกตา่ ง การสงั เคราะหแ์ ละบูรณาการข้อมูลข่าวสาร ชูความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับ
ความเหน็ หรอื การอนุมาณศักยภาพของผลท่จี ะตามออกมา แต่การคิดวเิ คราะหย์ งั โยงไปถงึ กระบวนการ
ประเมนิ คุณภาพในความคิดของตนเองได้ดว้ ย

การคิดวเิ คราะห์ หมายถึง ความสามารถในการประเมนิ ข้อมลู และความเห็นอย่างมรี ะบบ มีเปูาหมาย
ทช่ี ดั เจนและถูกต้องและด้วยวิธีการทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ

การคดิ วิเคราะห์ คือ เครอื่ งมือท่จี าเปน็ ยิง่ ยวดเพ่ือการตัดสินหรือลงความเหน็ ด้วยวิธีสืบเสาะ กาหมด
เปาู หมายที่ถูกต้องชัดเจนและการบงั คับตนเองไม่ให้ถกู ชักจูง เพื่อให้ได้มาซ่งึ การแปลความหมาย การวิเคราะห์
การประเมนิ และการลงความเห็นตลอดจนการอธิบายพยานหลักฐานหรอื สงิ่ อา้ งองิ แนวคิด วิธีการ การกาหนด
กฎเกณฑห์ รือบรบิ ทของข้อพิจารณาทเี่ ปน็ ที่มาของข้อสรปุ ความเห็น หรือข้อตัดสนิ

การคดิ วเิ คราะห์ คือ กระบวนการรับรูท้ ่ตี ้ังอยบู่ นพ้นื ฐานของการสะท้อนความคดิ และการอดทน (ต่อ
การหาความกระจา่ ง) ในความคลมุ เครือไม่ชดั เจนซึ่งมลี ักษณะประจา ดงั น้ี มีวินยั และชนี้ าตนเอง หนั เหไป
ทางการสืบค้น วเิ คราะห์และวจิ ารณ์ ใชว้ ิธแี กไ้ ขปัญหาแบบหลายมติ แิ ละหลายตรรกะมากกว่าการแก้แบบมิติ
เดียว ตรรกะเดยี ว หรือ ใช้ความรู้คดิ ยาวไปทางเดียว จะต้องใช้ความสามารถสรา้ งทางเลือกหลายทางท่ีนาไปสู่
การช่ังใจตดั สินที่ปราศจากการเอนเอยี ง

การคดิ วิเคราะห์ คือ การสะท้อนความคดิ ท่มี เี หตผุ ลโดยการพุ่งประเด็นไปเน้นทีก่ ารตดั สนิ ใจทจ่ี ะเชอ่ื
หรือตดั สินใจทจ่ี ะกระทาในสิ่งใดสิ่งหนงึ่ กล่าวให้ชดั กค็ ือการประเมนิ ในความจริง ความแมน่ ยา และ/หรือ
คุณค่าของความรู้หรือข้อถกเถียงทไ่ี ดร้ บั ในการนต้ี ้องการการวเิ คราะหค์ วามรหู้ รือความเช่อื ทีไ่ ด้รบั รู้มาอย่าง
ระมัดระวัง ตรงจดุ เกาะตดิ และเปน็ รูปธรรมทีม่ ีเหตผุ ล เพื่อให้สามารถตดั สนิ ได้วา่ สิง่ นั้น ๆ จรงิ หรือมคี ุณคา่
จริงหรือไม่

การคิดวิเคราะห์ คือ กระบวนการประเมินข้อเสนอหรือสมมุตฐิ านทีไ่ ด้รบั แลว้ ทาการไตร่ตรองตัด
สนิ บนพน้ื ฐานแห่งพยานหลักฐานทนี่ ามาสนับสนนุ

การคิดวเิ คราะห์ คือ การให้เหตผุ ลและการวิเคราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบ ท่รี วมถึงการตะลอ่ มและการมี
ตรรกะในของการคิดที่อยใู่ นระดบั สูง การเกบ็ เกีย่ วทักษะเชิงวิเคราะห์ที่จะชว่ ยให้นสิ ติ นักศึกษามคี วามสามารถ
ในการแก้แนวคิดหรือปญั หาต่าง ๆ ทซี่ บั ซ้อนได้

การคิดวเิ คราะห์ คือ กระบวนการทางจติ ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหห์ รือประเมินข้อมูล ข้อมลู ดังกล่าวอาจ
เก็บรวบรวมจากการสังเกตการณ์ ประสบการณ์ การใชเ้ หตุผล หรอื จากการสือ่ ความ การคิดวเิ คราะห์มพี ้ืนฐาน

22

ของมนั เองทางคุณคา่ แห่งพุทธิปญั ญาท่ีล้าลกึ ไปจากการแบ่งเรือ่ งราวโดยรวมถงึ ความกระจา่ งแจ้ง ความ
แมน่ ยา การมีพยานหลักฐาน การครบถว้ นและการมคี วามยุติธรรม

ความหมายของการคิดวิเคราะห์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของ
คาว่า “คิด” หมายความว่าทาให้ปรากฏเป็นรูป หรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเร่ืองขึ้นในใจ ใคร่ครวญ
ไตร่ตรอง คาดคะเน คานวณ มุ่ง จงใจ ต้ังใจ ส่วนคาว่า “วิเคราะห์” มีความหมายว่าใคร่ครวญ แยกออกเป็น
ส่วน ๆ เพ่ือศึกษาให้ถ่องแท้ดังน้ันคาว่า “คิดวิเคราะห์” จึงมีความหมายว่าทาให้ปรากฏเป็นรูปหรือเป็นเรื่อง
ข้ึนในใจ โดยการใคร่ครวญ ไตร่ตรอง โดยการแยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ จากการศึกษา
ความหมายของการคิดวิเคราะห์ สรุปได้ว่าการคิดวิเคราะห์เป็นกระบวนการทางปัญญา เป็นการคิดอย่าง
รอบคอบตามหลักของการประเมิน และมีหลักฐานอ้างอิง เพื่อหาข้อสรุปท่ีน่าเป็นไปได้เป็นการคิดแบบตรึก
ตรองและมีเหตุผล เป็นความสามารถในการคิดแยกแยะส่วนย่อยออกจากองค์ประกอบ โดยการใคร่ครวญ
ไตร่ตรอง คิดอยา่ งรอบคอบว่าประกอบไปด้วยสงิ่ ใด มคี วามสาคญั อยา่ งไร และสามารถบอกได้ว่า เรื่องราวหรือ
เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ เปน็ อย่างไร มีแนวโนม้ ไปในทางใด เพ่อื ประกอบการตดั สนิ ใจอย่างสมเหตุสมผล

การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติพุทธศักราช 2530 (2530:
492) คาว่า คิดหมายถึง นึกคิด ระลึก ตรึกตรอง ส่วนคาว่า วิเคราะห์หมายถึงว่า ดู สังเกต ใคร่ครวญ อย่าง
ละเอียดรอบครอบในเรื่องราวต่างๆ อย่างมีเหตุผล โดยหาส่วนดี ส่วนบกพร่อง หรือจุดเด่นจุดด้อยของเรื่อง
นัน้ ๆ แล้ว เสนอแนะสงิ่ ทีด่ ที ท่ี ี่เหมาะสมอยา่ งยตุ ิธรรม มนี ักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของการคิดไว้
ดังน้ี

Bloom, 1656 (อ้างถึงใน ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ, 2539 : 41-44 ) ให้ความหมายการ
คิดวิเคราะห์ เป็นความสามารถในการแยกแยะเพื่อหาส่วนย่อยของเหตุการณ์เร่ืองราวหรือเน้ือหาต่างๆ ว่า
ประกอบดว้ ยอะไร มีความสาคัญอยา่ งไร อะไรเป็นเหตูอะไรเป็นผล และทีเ่ ปน็ อยา่ งน้นั อาศัยหลกั การของอะไร

Dewey ,1933 (อ้างถึงในชานาญ เอ่ียมสาอาง, 2539 : 51) ให้ความหมายการคิดวิเคราะห์
หมายถึง การคิดอย่างใคร่ครวญ ไตร่ตรอง โดยอธิบายขอบเขตการคิดวิเคราะห์ว่าเป็นการคิดท่ีเริ่มต้นจาก
สถานการณ์ทม่ี คี วามยงุ่ อยาก และสน้ิ สดุ ลงดว้ ยสถานการณท์ ีม่ ีความชดั เจน

Russel, 1956 (อ้างถึงใน วิไลวรรณ ปิยปกรณ์, 2540 : 25) ให้ความหมายการคิดวิเคราะห์เป็น
การคิดเพ่อื แกป้ ญั หาชนิดหน่ึงโดยผคู้ ดิ จะต้องใชก้ ารพิจารณาตดั สนิ ในเร่ืองราวตา่ งๆว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
การคิดวเิ คราะหจ์ ึงเป็นกระบวนการประเมินหรือการจัดหมวดหมู่โดยอาศัยเกณฑ์ที่เคยยอมรับกันมาแต่ก่อนๆ
แลว้ สรปุ หรือพจิ ารณาตดั สิน

Ennis. (1985:83) ได้ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ เป็นการประเมินข้อความได้ถูกต้อง เป็น
การคิดแบบตรึกตรองและมีเหตุผล เพอ่ื การตดั สนิ ใจกอ่ นที่จะเชอ่ื หรือกอ่ นท่จี ะลงมือปฏบิ ัติ

Watsan and Glaser (1964:11) ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ว่า เป็นส่ิงที่เกิดจาก
สว่ นประกอบของทัศนคติ ความรแู้ ละทักษะ โดยทศั นคติเป็นการแสดงออกทางจิตใจ ต้องการสืบค้นปัญหาท่ีมี
อยู่ ความรจู้ ะเก่ียวขอ้ งกบั การใช้เหตุผลในการประเมินสถานการณ์การสรุปความอย่างเท่ียงตรงและการเข้าใจ
ในความเปน็ นามธรรม สว่ นทักษะจะประยกุ ตร์ วมอยใู่ นทศั นคติและความรู้

สมจติ สวธนไพบูลย์ (2541: 94) การคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการคิดพิจารณาอย่าง
รอบครอบโดยใชเ้ หตผุ ล ประกอบการตัดสินใจ

ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2542 : 14) ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ คือการแสวงหาข้อเท็จจริง
ด้วยการระบุ จาแนก แยกแยะ ข้อมูลในสถานการณ์ท่ีเป็นแหล่งคิดวิเคราะห์ ท้ังที่เป็นข้อเท็จจริงกับความ

23

คิดเห็น หรือจุดเด่น จดุ ดอ้ ย ในสถานการณ์เปน็ การจดั ขอ้ มูลให้เปน็ ระบบเพ่ือไปใชเ้ ป็นพน้ื ฐานในการคิดระดับ
อ่นื ๆ

อรพรรณ พรสีมา (2543 : 24) กล่าวว่า การคิดวิเคราะห์ เป็นทักษะการคิดระดับกลางซึ่งจะต้อง
ได้รับการพัฒนาต่อจากทักษะการคิดพื้นฐาน มีการพัฒนาแง่มุมของข้อมูลโดยรอบด้านเพ่ือหาเหตุผลและ
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองคป์ ระกอบต่าง ๆ

ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 251, 1071) ให้ความหมายคาว่า “คิด” หมายความว่า ทาให้ปรากฏ
เป็นรูป หรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องข้ึนในใจ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คาดคะเนคานวณ มุ่ง จงใจ ตั้งใจ
ส่วนคาว่า “วิเคราะห์” มีความหมายว่าใคร่ครวญ แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ ดังนั้นคาว่า คิด
วิเคราะห์ จึงมีความหมายว่า เป็นการใคร่ครวญ ตรึกตรองอย่างละเอียดรอบคอบแยกเป็นส่วน ๆ ในเร่ืองราว
ต่าง ๆ อยา่ งมีเหตุผล โดยหาจุดเด่น จดุ ด้อยของเร่ืองนัน้ ๆ และเสนอแนะส่ิงท่ีเหมาะสมอย่างมีความเป็นธรรม
และเป็นไปได้ ดังน้ันการพัฒนาคุณภาพการคิดวิเคราะห์จึงสามารถกระทาได้โดยการฝึกทักษะการคิดและให้
นักเรียนมีโอกาสได้คิดวิเคราะห์ สามารถเสนอความคิดของตนและอภิปรายร่วมกันในกลุ่มอย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ โดยครูและนักเรียนต่างยอมรับเหตุผลและความคิดของแต่ละคน โดยเชื่อว่า ไม่มีคาตอบท่ีถูกต้อง
เพยี งคาตอบเดียว

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2546 : 24) ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ว่าเป็นความสามารถใน
การจาแนกแจกแจงและแยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของส่ิงใดสิ่งหนึ่งหรือเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงซึ่งอาจจะเป็นวัตถุ
สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่าน้ัน เพ่ือค้นหา
สาเหตุท่แี ทจ้ รงิ ของส่ิงที่เกิดข้นึ

สุวิทย์ มูลคา (2547 : 9)ให้ความหมายของการวิเคราะห์และการคิดวิเคราะห์ว่าการวิเคราะห์
(Analysis) หมายถึง การจาแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกเป็นส่วน ๆ เพื่อค้นหาว่ามี
องค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง ทามาจากอะไร ประกอบขึ้นมาได้อย่างไรและมีความเช่ือมโยงสัมพันธ์กัน
อย่างไร การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) หมายถึงความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ของสิ่งใดส่ิงหน่ึงซึ่งอาจจะเป็นวัตถุส่ิงของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ระหว่างองคป์ ระกอบเหลา่ นน้ั เพือ่ คน้ หา สภาพความเป็นจรงิ หรอื สิ่งสาคัญของสิ่งท่ีกาหนดให้

ชาตรี สาราญ (2548 : 40-41) ได้ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ว่า การคิดวิเคราะห์คือ การ
รู้จักพิจารณา ค้นหาใคร่ครวญ ประเมินค่าโดยใช้เหตุผลเป็นหลักในการหาความสัมพันธ์เชื่อมโยง หล่อหลอม
เหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งสมบรู ณแ์ บบอยา่ งสมเหตุสมผลก่อนทีจ่ ะตดั สนิ ใจ

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2549 : 5) ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ว่าเป็นการ
ระบเุ รอื่ งหรือปัญหา จาแนกแยกแยะ เปรียบเทียบข้อมูลเพ่ือจัดกลุ่มอย่างเป็นระบบ ระบุเหตุผลหรือเช่ือมโยง
ความสัมพันธ์ของข้อมูล และตรวจสอบข้อมูลหรือหาข้อมูลเพ่ิมเติมเพ่ือให้เพียงพอในการตัดสินใจ/แก้ปัญหา/
คิดสรา้ งสรรค์

นักการศึกษาและนกั วิจยั สว่ นใหญม่ คี วามคิดเห็นเก่ียวกับความหมายของการคิดวิเคราะห์ที่สอดคล้อง
กัน คือ การคิดวิเคราะห์หมายถึง การพิจารณาส่ิงต่างๆ ในส่วนย่อยๆ ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ด้านความสัมพนั ธแ์ ละด้านหลกั การจัดการโครงสรา้ งของการส่ือความหมาย และสอดคล้องกับกระบวนการคิด
วิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ คือ การคิดจาแนก รวบรวมเป็นหมวดหมู่ และจับประเด็นต่างๆ เช่ือมโยง
ความสัมพันธ์ ดังน้ัน การคิดเชิงวิเคราะห์เป็นทักษะการคิดท่ีสามารถพัฒนาให้เกิดกับผู้เรียนได้ และให้คงทน
จนถึงระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักเรียนสามารถคิดได้ด้วยตัวเอง เกิดความสาเร็จในการเรียนรู้ เพราะการ
เรียนรู้ท่ีดีต้องเป็นเร่ืองของการรู้จักคิด ผู้วิจัยจึงสนใจพัฒนารูปแบบการสอนที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ เพ่ือ

24

กระตุ้นให้นักเรียนคิดเป็น เรียนรู้เป็น สามารถจาแนก ให้เหตุผล จับประเด็นเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ตัดสินใจ
และแก้ปญั หาต่างๆได้ จากขอ้ มลู ท่ไี ด้รบั การพินจิ พิจารณา

3.2 ความสาคญั ของการคิดวิเคราะห์
วิลเล่ียม แกรแฮม ซัมเนอร์ ได้เสนอข้อสรุปท่ีเป็นประโยชน์ย่ิงเก่ียวกับการคิดวิเคราะห์การคิด
วิเคราะห์คือการตรวจสอบและการทดสอบประเด็นของคาเสนอทุกประเภทท่ีผ่านเข้ามาขอการยอมรับ เพื่อดู
ว่าคาเสนอนั้นตรงกับความเป็นจริงหรือไม่ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์เป็นผลท่ีเกิดจากการศึกษาและ
การฝึกฝน จนเปน็ นสิ ยั และเป็นพลงั ทางใจ การคิดวิเคราะห์เป็นเงื่อนไขสาคัญแห่งความผาสุกของปวงชน เป็น
สิ่งมนุษย์ทั้งหญิงและชายพึงฝึกฝนให้ชานาญ การคิดวิเคราะห์คือหลักประกันที่สามารถปกปูองการบิดเบือน
การหลงละเมอ การหลอกลวง การเชอื่ ผีสางและการหลงผดิ ของเราและส่ิงล้อมรอบตัวเรา
เสง่ียม โตรัตน์ (2546 : 28) กล่าวถึง ลักษณะของการคิดวิเคราะห์ของการคิดวิเคราะห์ ไว้ว่า การ
คิดวิเคราะห์ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 องค์ประกอบ คือ ทักษะในการจัดระบบข้อมูล ความเช่ือถือได้
ของข้อมลู และการใช้ทักษะเหล่าน้ันอย่างมีปัญญาเพ่ือการช้ีนาพฤติกรรมดังนั้น การคิดวิเคราะห์จึงมีลักษณะ
ตอ่ ไปน้ี
1. การคิดวิเคราะห์จะไม่เป็นเพียงการรู้หรือการจาข้อมูลเพียงอย่างเดียว เพราะการคิดวิเคราะห์จะ
เปน็ การแสวงหาข้อมลู และการนาข้อมูลไปใช้
2. การคิดวิเคราะห์ไม่เพียงแต่การมีทักษะเท่าน้ัน แต่การคิดวิเคราะห์จะต้องเก่ียวกับการใช้ทักษะ
อย่างต่อเนือ่ ง
3. การคิดวิเคราะห์ไม่เพียงแตก่ ารฝึกทกั ษะอย่างเดยี วเท่านน้ั แต่จะต้องมีทักษะที่จะต้องคานึงถึงผลท่ี
ยอมรบั ได้
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2546 : 15-16) กล่าวถึง ลักษณะของการคิดวิเคราะห์และกิจกรรมท่ี
เกยี่ วข้องกับการคิดวเิ คราะห์ไว้ว่า การจัดกิจกรรมต่างๆ ท่ีประกอบเป็นการคิดวิเคราะห์แตกต่างไปตามทฤษฎี
การเรียนรู้ โดยท่ัวไปสามารถแยกแยะกจิ กรรมที่เกย่ี วข้องกบั การคิดวิเคราะห์ ได้ดงั นี้
1. การสังเกต จากการสงั เกตขอ้ มลู มากๆ สามารถสรา้ งเปน็ ข้อเท็จจรงิ ได้
2. ข้อเท็จจริง จากกการรวบรวมข้อเท็จจริง และการเชื่อมโยงข้อเท็จจริงบางอย่างที่ขาดหายไป
สามารถทาใหม้ ีการตีความได้
3. การตีความ เป็นการทดสอบความเทย่ี งตรงของการอ้างอิง จงึ ทาใหเ้ กิดการตงั้ ข้อตกลงเบ้อื งต้น
4. การต้ังขอ้ ตกลงเบ้ืองต้น ทาใหส้ ามารถมีความคิดเหน็
5. ความคิดเหน็ เป็นการแสดงความคดิ จะตอ้ งมหี ลักและเหตุผลเพื่อพฒั นาข้อวิเคราะห์
นอกจากน้ัน เป็นกระบวนการท่ีอาศัยองค์ประกอบเบ้ืองต้นทุกอย่างร่วมกัน โดยท่ัวไปนักเรียนจะไม่
เห็นความแตกตา่ งระหวา่ งการสงั เกตและข้อเทจ็ จรงิ หากนกั เรยี นเขา้ ใจถึงความแตกต่างก็จะทาให้นักเรียนเร่ิม
พฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะหไ์ ด้
สุวทิ ย์ มลู คา (2548 : 23-24) ได้จาแนกลกั ษณะของการคิดวเิ คราะห์ ไว้เปน็ 3 ด้าน คอื
1. การวิเคราะห์ส่วนประกอบ เป็นความสามารถในการแยกแยะค้นหาส่วนประกอบท่ีสาคัญของสิ่ง
หรือเร่ืองราวตา่ งๆ เชน่ การวิเคราะห์ส่วนประกอบของพืช หรือเหตุการณ์ต่างๆตัวอย่างคาถาม เช่น อะไรเป็น
สาเหตุสาคัญของการระบาดไขห้ วัดนกในประเทศไทย

25

2. การวิเคราะห์ความสมั พันธ์ เปน็ ความสามารถในการหาความสมั พนั ธ์ของส่วนสาคัญต่างๆ โดยระบุ
ความสัมพันธ์ระหวา่ งความคดิ ความสมั พนั ธใ์ นเชิงเหตุผล หรอื ความแตกต่างระหว่างข้อโต้แย้งท่ีเกี่ยวข้องและ
ไม่เก่ียวข้อง ตวั อย่างคาถาม เช่น การพัฒนาประเทศกบั การศกึ ษามคี วามสัมพนั ธก์ นั อยา่ งไร

3. การวิเคราะห์หลักการ เป็นความสามารถในการหาหลักความสัมพันธ์ส่วนสาคัญในเร่ืองน้ันๆ ว่า
สัมพันธก์ ันอยูโ่ ดยอาศัยหลกั การใด ตัวอยา่ งคาถาม เช่น หลักการสาคญั ของศาสนาพทุ ธ ได้แก่อะไร

จะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์น้ันจะต้องกาหนดสิ่งที่จะต้องวิเคราะห์ กาหนดจุดประสงค์ที่ต้องการจะ
วิเคราะห์ แล้วจึงวิเคราะห์อย่างมีหลักเกณฑ์ โดยใช้วิธีการพิจารณาแยกแยะ เทคนิควิธีการในการวิเคราะห์
เพอ่ื รวบรวมประเด็นสาคัญหาคาตอบให้กับคาถาม โดยมีลักษณะของการคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ วิเคราะห์
ความสาคญั และวิเคราะหห์ ลกั การของเรื่องราวหรอื เหตุการณ์ตา่ งๆ

1. การคิดวเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธไ์ ดแ้ ก่ การเชือ่ มโยงข้อมูล ตรวจสอบแนวคิดสาคัญและความเป็นเหตุ
เปน็ ผล แล้วนามาหาความสมั พันธ์และขอ้ ขัดแยง้ ในแต่ละสถานการณไ์ ด้

2. การคิดวิเคราะห์ความสาคัญ ได้แก่ การจาแนกแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงและ
สมมตฐิ านแล้วนามาสรปุ ความได้

3. การคิดวเิ คราะห์หลักการ ได้แก่ การวิเคราะห์รูปแบบ โครงสร้าง เทคนิค วิธีการและการเช่ือมโยง
ความคดิ รวบยอด โดยสามารถแยกความแตกตา่ งระหว่างขอ้ เทจ็ จรงิ และทัศนคตขิ องผเู้ ขียนได้

ไพรินทร์ เหมบุตร (2549 : 1) กล่าวถงึ ลกั ษณะของการคิดวเิ คราะหป์ ระกอบด้วย 4ประการ คือ
1. การมคี วามเข้าใจ และใหเ้ หตผุ ลแกส่ ง่ิ ทตี่ ้องการวิเคราะห์ เพื่อแปลความส่ิงนั้น ซึ่งข้ึนอยู่กับความรู้
ประสบการณ์ และคา่ นิยม
2. การตีความ ความรู้ ความเขา้ ใจ ในเร่อื งที่จะวิเคราะห์
3. การช่างสังเกต ช่างถาม ขอบเขตของคาถาม ยึดหลัก 5 W 1 H คือ ใคร (Who) อะไร (What) ที่
ไหน (Where) เมือ่ ไร (When) อยา่ งไร (How) เพราะเหตุใด (Why)
4. ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ใช้คาถามค้นหาคาตอบ หาสาเหตุ หาการเชื่อมโยง ส่งผลกระทบ วิธีการ
ขั้นตอน แนวทางแก้ปัญหา คาดการณ์ขา้ งหน้าในอนาคต
3.3 องคป์ ระกอบของการคิดวเิ คราะห์
เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศศ์ ักดิ์ (2546 : 26–30) ได้อธิบายถงึ องค์ประกอบของการคดิ วิเคราะห์วา่ แบ่ง
ออกเป็น 4 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการตีความเราไม่สามารถวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ได้ หากไม่เร่ิมต้นด้วยการทา
ความเข้าใจข้อมูลท่ีปรากฏ เร่ิมแรกเราจึงต้องพิจารณาข้อมูลที่ได้รับว่าอะไรเป็นอะไร ด้วยการตีความ การ
ตีความ (Interpretation) หมายถึงการพยายามทาความเข้าใจ และให้เหตุผลแก่ส่ิงที่เราต้องการจะวิเคราะห์
เพื่อแปลความหมายท่ีไม่ปรากฏโดยตรงของสิ่งนั้น เป็นการสร้างความเข้าใจต่อสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ โดยสิ่ง
นั้นไม่ได้ปรากฏโดยตรง คือตัวข้อมูลไม่ได้บอกโดยตรงแต่เป็นการสร้างความเข้าใจท่ีเกินกว่าสิ่งท่ีปรากฏ อัน
เป็นการสร้างความเข้าใจบนพื้นฐานของส่ิงท่ีปรากฏในข้อมูลที่นามาวิเคราะห์ เกณฑ์ที่แต่ละคนใช้เป็น
มาตรฐานในการตัดสินหรือเป็นไม้เมตรท่ีแต่ละคนสร้างขึ้นในการตีความน้ันย่อมแตกต่างกันไปตามความรู้
ประสบการณ์ และค่านิยมของแต่ละบุคคล เช่น การตีความจากความรู้ การตีความจากประสบการณ์ การ
ตคี วามจากขอ้ เขียน

2. ความรู้ความเข้าใจในเรื่องท่ีจะวิเคราะห์ เราจะคิดวิเคราะห์ได้ดีน้ัน จาเป็นต้องมี ความรู้
ความเข้าใจพื้นฐานในเร่ืองน้ัน เพราะความรู้จะช่วยในการกาหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ แจกแจงและ
จาแนกได้ว่าเร่ืองน้ันเกี่ยวข้องกับอะไร มีองค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง มีกี่หมวดหมู่ จัดลาดับความสาคัญ

26

อยา่ งไร และรู้วา่ อะไรเป็นสาเหตกุ ่อให้เกิดอะไร การวิเคราะหข์ องเราในเรือ่ งน้ันจะไม่สมเหตุสมผลเลย หากเรา
ไม่มคี วามรูค้ วามเข้าใจเร่ืองน้ัน เราจาเปน็ ต้องใช้ความรทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งเข้ามาเป็นองค์ประกอบในการคิด ถ้าเราขาด
ความรู้ เราอาจไม่สามารถวิเคราะห์หาเหตุผลได้ว่าเหตุใดจงึ เป็นเช่นน้ัน

3. ความช่างสังเกต ช่างสงสัยและช่างถาม นักคิดเชิงวิเคราะห์จะต้องมีองค์ประกอบ ทั้ง 3 นี้
ร่วมด้วยคือต้องเป็นคนที่ช่างสังเกต สามารถค้นพบความผิดปกติท่ามกลางส่ิงที่ดูอย่าง ผิวเผินแล้วเหมือนไม่มี
อะไรเกดิ ข้ึน ตอ้ งเป็นคนชา่ งสงสยั เม่ือเห็นความผิดปกติไม่ละเลยไป แต่หยุดพิจารณาขบคิดไตร่ตรอง และต้อง
เป็นคนช่างถาม ชอบตง้ั คาถามกบั ตวั เองและคนรอบ ๆ ขา้ ง เกย่ี วกับสงิ่ ที่เกิดขึ้น เพื่อนาไปสู่การคิดต่อเก่ียวกับ
เรอ่ื งน้ัน การตั้งคาถามจะนาไปสกู่ ารสืบคน้ ความจรงิ และเกดิ ความชัดเจนในประเด็นท่ตี อ้ งการวิเคราะห์

4. ขอบเขตคาถามที่เกี่ยวข้องกับการคิดเชิงวิเคราะห์ จะยึดหลักการตั้งคาถามโดยใช้คาว่า ใคร
(Who) ทาอะไร (What) ท่ีไหน (Where) เม่ือไร (When) ทาไม (Why) อย่างไร (How) คาถามเหล่าน้ีอาจไม่
จาเป็นต้องใชท้ ุกข้อ เพราะการต้ังคาถามมจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือให้เกดิ ความชัดเจน ครอบคลุมและตรงประเด็นที่เรา
ตอ้ งการสืบคน้

5. ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล นักคิดเชิงวิเคราะห์จะต้องมีความสามารถใน
การหาความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผล

นักคิดเชิงวิเคราะห์จึงต้องเป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการใช้เหตุผล จาแนกแยกแยะได้ว่า สิ่งใด
เป็นความจริง ส่ิงใดเป็นความเท็จ สิ่งใดมีองค์ประกอบในรายละเอียดเช่ือมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร เป็นเหมือน
คนท่ีใส่แว่นเพ่ือดูภาพยนตร์ 3 มิติ ขณะท่ีคนท่ัวไปไม่ได้ใส่แว่นจะดูไม่รู้เร่ือง เพราะจะเห็นเป็น 2 มิติที่เป็น
ภาพระนาบ แต่เม่ือใส่แว่นแล้วเราจะเห็นภาพในแนวลึก มองเห็นความซับซ้อนท่ีอยู่ภายใน รู้ว่าแต่ละส่ิงจัด
เรียงลาดับกันอย่างไร รู้เหตุผลท่ีอยู่เบื้องหลังการกระทา รู้อารมณ์ความรู้สึกที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังสีหน้าและการ
แสดงออก การคิดเชิงวิเคราะห์ช่วยให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมา
เป็นไปของเหตุการณ์ต่าง ๆ รู้ว่าเรื่องนั้นมีองค์ประกอบอะไรบ้าง รู้ว่าอะไรเป็นอะไร ทาให้เราได้ข้อเท็จจริงท่ี
เป็นฐานความรู้ในการ นาไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาการประเมินและการตัดสินใจเร่ืองต่าง ๆ ได้อย่าง
ถูกต้อง จากแนวคิดท่ีเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์ท่ีกล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า ลักษณะของการคิดวิเคราะห์โดยใช้
คาถาม 5W 1H เปน็ ความสามารถในการแยกแยะเพอ่ื หาส่วนย่อยของเหตุการณ์ เร่ืองราวหรือเน้ือหาเป็นการ
กาหนดหรือนิยามสิ่งท่ีจะวิเคราะห์ กาหนดจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ พิจารณาประเด็นตามหลักการ
วิเคราะห์ ตั้งข้อสันนิษฐาน วิจารณ์ แปลความ เลือกสรรข้อมูล เพ่ือช่วยในการประเมินค่า นาไปสู่การวินิจฉัย
และตดั สนิ ใจ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2548 : 52) กล่าวว่า องค์ประกอบของการคิด
วิเคราะหป์ ระกอบด้วย

1. การตีความ ความเข้าใจ และให้เหตุผลแก่สิ่งที่ต้องการวิเคราะห์เพื่อแปลความของส่ิงน้ันขึ้นกับ
ความร้ปู ระสบการณ์และค่านยิ ม

2. การมีความรูค้ วามเขา้ ใจในเรือ่ งทจ่ี ะวิเคราะห์
3. การชา่ งสงั เกต สงสยั ช่างถาม ขอบเขตของคาถาม ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการคดิ เชิงวิเคราะห์จะยึดหลัก 5
W 1 H คอื ใคร (Who) อะไร (What) ที่ไหน (Where) เมอ่ื ไร (When)ทาไม (Why) อยา่ งไร (How)
4. การหาความสัมพนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ล (คาถาม) ค้นหาคาตอบได้ว่า อะไรเป็นสาเหตุให้เร่ืองน้ันเชื่อมกับส่ิง
นี้ได้อย่างไร เรื่องนี้ใครเก่ียวข้อง เมื่อเกิดเร่ืองน้ีส่งผลกระทบอย่างไรมีองค์ประกอบใดบ้างท่ีนาไปสู่ส่ิงนั้น
มีวิธีการ ขั้นตอนการทาให้เกิดส่ิงนี้อย่างไร มีแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างไรบ้าง ถ้าทาเช่นนี้จะเกิดอะไรขึ้นใน
อนาคต ลาดับเหตกุ ารณน์ ด้ี วู า่ เกดิ ข้ึนไดอ้ ย่างไรเขาทาสิง่ นี้ได้อยา่ งไร สิ่งน้เี ก่ยี วข้องกบั สิง่ ทีเ่ กดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร

27

การคดิ วิเคราะห์เป็นกระบวนการที่ใช้ปัญญา หรือใช้ความคิดนาพฤติกรรม ผู้ที่คิดวิเคราะห์เป็น จึงสามารถใช้
ปัญญานาชีวิตได้ในทุกๆ สถานการณ์ เป็นบุคคลท่ีไม่โลภไม่เห็นแก่ตัวไม่ยึดเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง มีเหตุผล
ไม่มีอคติ มีความยุตธิ รรม และพรอ้ มทจ่ี ะสร้างสันติสุขในทุกโอกาส การคิดวิเคราะห์จะต้องอาศัยองค์ประกอบ
ทีส่ าคญั สองเรอ่ื ง คือ เร่ืองความสามารถในการให้เหตุผลอย่างถูกต้องกับเทคนิคการต้ังคาถามเพื่อใช้ในการคิด
วิเคราะห์ ซง่ึ ท้งั สองเรอื่ งมคี วามสาคญั ต่อการคิดวเิ คราะหเ์ ป็นอย่างยง่ิ (วนชิ สธุ ารตั น์. 2547 : 125-128)
ความสามารถในการให้เหตุผลอย่างถูกต้อง การที่จัดให้เร่ืองของการให้เหตุผลอย่างถูกต้องว่ามีความสาคัญก็
เน่ืองจากในเร่ืองของการคิดการใช้ปัญญาท้ังหลายน้ัน เร่ืองของเหตุผลจะต้องมีความสาคัญ ถ้าเหตุผลที่ให้ใน
เบ้ืองแรกไม่ถูกต้อง หรือมีความคลุมเครือไม่ชัดเจนแล้ว กระบวนการคิดก็จะมีความไม่ชัดเจนตามไปด้วยการ
เชื่อมโยงสาระต่างๆ เข้าด้วยกันย่อมไม่สามารถกระทาได้ และมีผลสืบเน่ืองต่อไปคือ ทาให้การสรุปประเด็นท่ี
ต้องการท้ังหลายขาดความชัดเจน หรืออาจผิดพลาดตามไปด้วย ความสามารถในการให้เหตุผลอย่างถูกต้อง
ประกอบดว้ ย (Center for Critical Thinking. 1996 : 8-9)

1. วัตถุประสงค์และเปูาหมายของการให้เหตุผล วัตถุประสงค์และเปูาหมายของการให้เหตุผลต้องมี
ความชัดเจนโดยปกติการให้เหตุผลในเร่ืองต่างๆบุคคลจะต้องให้เหตุผลท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือ
เปาู หมายของเร่ืองนั้น เช่นในการเขียนเรียงความ งานวิจัย การอภิปราย ฯลฯถ้าวัตถุประสงค์หรือเปูาหมายท่ี
กาหนดไวม้ ีความชัดเจน การให้เหตุผลก็จะเปน็ เรือ่ งง่าย แต่ถา้ ไมช่ ัดเจน หรือมีความสลับซับซ้อน จะต้องทาให้
ชัดเจนการให้เหตุผลก็จะเป็นเร่ืองง่าย หรืออาจจะต้องแบ่งแยกออกเป็นข้อย่อยๆเพ่ือลดความสลับซับซ้อนลง
และนอกจากน้ีเป็นเปาู หมายจะตอ้ งมคี วามสาคัญและมองเหน็ วา่ สามารถจะทาให้สาเรจ็ ได้จริงๆ

2. ความคิดเห็นหรือกรอบความจริงท่ีนามาอ้าง เม่ือมีการให้เหตุผล ต้องมีความคิดเห็นหรือกรอของ
ความจริงทน่ี ามาสนับสนุน ถ้าสง่ิ ทนี่ ามาอ้างมขี ้อบกพรอ่ ง การให้เหตุผลก็จะผิดพลาดหรือบกพร่องตามไปด้วย
ความคิดเหน็ ที่แคบเฉพาะตัว ซ่งึ อาจเกิดจากอคติหรือการเทียบเคียงที่ผิด ทาให้การให้เหตุผลทาได้ในขอบเขต
อันจากดั เทยี่ งตรง และมีเสถียรภาพ

3. ความถูกต้องของสิ่งท่ีอ้างอิง การอ้างอิงข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ หรือส่ิงต่างๆ มีหลักการอยู่ว่า
สิ่งที่นามาอ้างจะต้องมีความชัดเจน มีความสอดคล้อง และมีความถูกต้องแน่นอนถ้าสิ่งที่นามาอ้างผิดพลาด
การสรุปผลหรือการสร้างกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เป็นผลสืบเนื่องย่อมผิดพลาดด้วย สิ่งที่ต้องระมัดระวังก็คือ ต้อง
เขา้ ใจข้อจากดั ของข้อมลู ตา่ งๆลองหาขอ้ มูลอื่นๆท่ีมีลักษณะตรงกนั ขา้ ม หรือขัดแย้งกับข้อมูลท่ีเรามีอยู่บ้างว่ามี
หรอื ไมแ่ ละก็ตอ้ งแนใ่ จวา่ ขอ้ มลู ท่ใี ชอ้ ้างน้ันมคี วามสมบูรณ์เพียงพอด้วยข้อมูลข่าวสารท่ีไม่มีความถูกต้อง มีการ
บิดเบือนหรือการนาเสนอเพียงบางส่วนและปิดบังหรือมีเจตนาปล่อยปละละเลยในบางส่วน ทาให้การนาไป
อ้างอิงหรือเผยแพร่ขาดความสมบูรณ์ก่อให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบหรือสร้างความเสียหายต่อบุคคล
องค์การหรือสังคมได้ดังน้ันการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารก่อนที่จะนาไปใช้ประโยชน์ในการ
อา้ งอิงทุกๆเร่อื งจึงเป็นเรอื่ งทีค่ วรจะกระทาดว้ ยความรอบคอบและระมัดระวังเป็นอยา่ งยง่ิ

4. การสร้างความคิดหรือความคดิ รวบยอด การใหเ้ หตผุ ลจะตอ้ งอาศยั การสร้างความคิดหรือความคิด
รวบยอด ซงึ่ มตี ัวประกอบท่สี าคญั คอื ทฤษฎี กฎ หลักการ อันเป็นตัวประกอบสาคัญของการสร้างความคิดหรือ
ความคิดรวบยอดถา้ หากเข้าใจผิดพลาดในเรื่องของทฤษฎี กฎ หรือหลักการต่างๆ ดังท่ีกล่าวมาแล้ว การสร้าง
ความคิดหรือความคิดรวบยอดก็จะผิดพลาด การให้เหตุผลก็จะไม่ถูกต้องด้วย ดังนั้นเม่ือสร้างความคิดหรือ
ความคิดรวบยอดข้ึนมาได้แล้ว จะต้องแสดงหรืออธิบาย เพื่อบ่งบอกออกมาให้ชัดเจน ลักษณะของความคิด
รวบยอดที่ดีจะต้องมีความกระจ่างมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์มีความลึกซึ้ง และมีความเป็นกลางไม่โน้มเอียงไป
ทางใดทางหนง่ึ

28

5. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุผลกับสมมติฐาน การให้เหตุผลข้ึนอยู่กับสมมติฐานเม่ือใดมีการกาหนด
สมมตฐิ านขึ้นมาในกระบวนการแกป้ ัญหา ตอ้ งแนใ่ จว่าสมมตุ ิฐานนัน้ กาหนดข้ึนจากส่งิ ทเี่ ปน็ ความจริงและจาก
หลักฐานที่ปรากฏอยู่ ความบกพร่องในการให้เหตุผลสามารถเกิดข้ึนได้เมื่อบุคคลไปติดยึดในสมติฐานที่ตั้งขึ้น
จนทาให้ความคิดเห็นโน้มเอียงหรือผิดไปจากสภาพที่ควรจะเป็น สมมติฐานที่ดีจะต้องมีความชัดเจน สามารถ
ตัดสินใจ และมีเสถียรภาพเชน่ เดียวกนั

6. การลงความเห็น การให้เหตุผลในทุกๆเรื่อง จะต้องแสดงถึงความเข้าใจด้วยการสรุปและให้
ความหมายของข้อมูล ลักษณะการให้เหตุผลนั้นโดยธรรมชาติจะเป็นกระบวนการต่อเน่ืองท่ีเช่ือมโยงกันอยู่
ระหว่างเหตุกับผล เช่นเพราะว่าส่ิงนี้เกิดสิ่งนั้นจึงเกิดขึ้น หรือเพราะว่าส่ิงน้ีเป็นอย่างนี้สิ่งท่ีเกิดขึ้นจากสิ่งนี้จึง
เปน็ อย่างนัน้ ถ้าความเข้าใจในข้อมูลเบ้ืองต้นผิดพลาดการให้เหตุผลยอ่ มผิดพลาดด้วย ทางออกท่ีดีก็คือ การลง
ความเห็นจะทาได้ก็ต่อเมื่อมีหลักฐานบ่งบอกอย่างชัดเจน จะต้องตรวจสอบความเห็นน้ันสอดคล้องหรือไม่
สอดคลอ้ งกบั สมมตฐิ านขอ้ ไหนและมีอะไรเปน็ ตวั ช้ีนาอยู่อีกบา้ ง ซึง่ อาจทาให้การลงความเห็นผดิ พลาด

7. การนาไปใช้ เม่ือมีข้อสรุปแล้วจะต้องมีการนาไปใช้หรือมีผลสืบเนื่อง จะต้องมีความคิดเห็น
ประกอบว่าข้อสรุปที่เกิดข้ึนนั้น สามารถนาไปใช้ได้มากน้อยเพียงใด ควรจะนาไปใช้ลักษณะใดจึงจะถูกต้อง
ลกั ษณะใดไม่ถูกต้อง โดยพยายามคิดถึงทุกส่ิงที่อาจเป็นผลต่อเนื่องท่ีสามารถเกิดขึ้นได้ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การ
คิดวิเคราะห์ที่ดีหรือมีมาตรฐาน ในอันดับแรกจะต้องรู้จักการให้เหตุผลที่ถูกต้อง ซ่ึงต้องอาศัยองค์ประกอบ
หลายอย่าง ตามทไี่ ดแ้ สดงรายละเอยี ดมาแล้ว เร่ืองท่ีสาคญั และเปน็ หัวใจของการคิดวิเคราะห์อีกเรื่องหนึ่งก็คือ
เทคนิคการตั้งคาถาม เพ่ือการวิเคราะห์เป็นการบอกให้ทราบว่า นักคิดวิเคราะห์จะต้องใช้คาถามอย่างไร เพ่ือ
เปน็ การนาความคิดไปส่เู ปูาหมายทตี่ ้องการ ซ่งึ มีรายละเอยี ดตา่ งๆ ดังน้ี
เทคนคิ การตั้งคาถามเพอ่ื การคิดวเิ คราะห์ เป็นเร่ืองทมี่ ีความสาคัญพอๆกับความสามารถในการให้เหตุผลอย่าง
ถกู ตอ้ ง การตง้ั คาถามทด่ี จี ะช่วยส่งเสริมให้การใช้เหตุผลเป็นไปด้วยความสะดวก มีระบบและช่วยแก้ปัญหาได้
นักคิดวิเคราะห์ต้องมีความสามารถในการต้ังคาถามหลายๆแบบ คาถามที่ต้องการคาตอบกว้าง ๆ ต้องการ
หลายๆ คาตอบ คาถามตอ้ งการคาตอบเดียวแต่มีความลึกซ้ึง ลักษณะคาถามท่ีจะช่วยให้คิดหาเหตุผลในระดับ
ลึก หรือมีเหตุผลจากการใช้ปัญญาของการคิดวิเคราะห์นั้น จะต้องมีคุณสมบัติ 8 ประการ (Center for
Critical Thinking, 1996 : 8-9 อ้างถึงใน วนชิ สธุ ารตั น์. 2547 : 128-130 ) ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ความชัดเจน (Clarity) ความชัดเจนของปัญหาเป็นจุดเร่ิมต้นสาคัญของการคิด เช่น ตัวอย่างของ
ปัญหาท่ีตั้งข้ึนมาเพ่ือตรวจสอบความชัดเจน เช่นยังมีเรื่องอะไรอีกในส่วนน้ีที่เรายังไม่รู้สามารถยกตัวอย่างมา
อา้ งอิงได้หรือไม่ สามารถอธบิ ายขยายความสว่ นนั้นใหม้ ากขน้ึ ไดห้ รอื ไม่

2. ความเทีย่ งตรง (Accuracy) เป็นคาถามท่ีบอกว่าทุกคนสามารถตรวจสอบได้ถูกต้องตรงกันหรือไม่
เช่น จริงหรือ เป็นไปได้หรือ ทาไมถึงเป็นไปได้ สามารถตรวจสอบได้หรือไม่ตรวจสอบอย่างไร เราจะหาข้อมูล
หลักฐานได้อยา่ งไร ถ้าตรงน้ันเป็นเร่ืองจรงิ เราจะทดสอบมนั ได้อย่างไร

3. ความกระชบั ความพอดี (Precision) เปน็ ความกะทัดรัด ความเหมาะสม ความสมบูรณ์ของข้อมูล
เช่น จาเป็นต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องนี้อีกหรือไม่ ทาให้ดูดีกว่าน้ีได้อีกหรือไม่ ทาให้กระชับกว่านี้ได้อีก
หรอื ไม่

4. ความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง (Relevance) เป็นการตั้งคาถามเพ่ือคิดเชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ เช่น สิ่ง
นั้นเกี่ยวข้องกับปัญหาอย่างไร มันเกิดสิ่งต่างๆ ขึ้นตรงน้ันได้อย่าง ผลที่เกิดข้ึนตรงน้ัน มันมีที่มาอย่างไร ตรง
สว่ นนน้ั ชว่ ยให้เราเขา้ ใจอะไรได้บ้าง

5. ความลึก (Depth ) หมายถึงความหมายในระดับท่ีลึกความคิดลึกซ้ึง การตั้งคาถามท่ีสามารถ
เชื่อมโยงไปยังการคดิ หาคาตอบทีล่ ึกซึง้ ถอื วา่ คาถามนน้ั มีคณุ ค่าย่งิ เช่น ตัวประกอบอะไรบ้างท่ีทาให้ตรงนี้เป็น

29

ปัญหาสาคัญ อะไรท่ีทาให้ปัญหาเร่ืองนี้มันซับซ้อน ส่ิงใดบ้างที่เป็นความลาบากหรือความยุ่งยากที่เราจะต้อง
พบ

6. ความกวา้ งของการมอง (Breadth ) เป็นการทดลองเปล่ียนมุมมอง โดยให้ผู้อ่นื ชว่ ยเชน่ จาเป็น
จะต้องมองส่ิงน้ีจากด้านอ่นื คนอื่น ด้วยหรอื ไม่ มองปญั หานีโ้ ดยใชว้ ถิ ที างอืน่ ๆ บ้างหรือไม่ ควรจะให้
ความสาคญั ของความคดิ เห็นจากบุคคลอ่ืนหรอื ไม่ ยังมีข้อมูลอะไรในเร่ืองน้ีอีกหรอื ไม่ที่ไมน่ ามากล่าวถึง

7. หลกั ตรรกวิทยา (Logic ) มองในดา้ นของความคดิ เหน็ และการใช้เหตผุ ล เชน่ ทุกเรื่องท่ีเรารู้ เรา
เข้าใจตรงกันหมดหรือไม่ ส่งิ ที่พดู มีหลกั ฐานอ้างองิ หรอื ไม่ ส่ิงท่สี รปุ น้ันเป็นเหตผุ ลท่ีสมบรู ณห์ รือไม่ ส่งิ ที่กล่าว
อา้ งมีขอบข่ายครอบคลุมรายละเอียดท้ังหมดหรือไม่

8. ความสาคญั (Significance ) ซึ่งหมายถงึ การตง้ั คาถามเพ่ือตรวจสอบว่าสงิ่ เหล่านนั้ มีความสาคญั
อย่างแท้จริงหรือไม่ ท้ังนีเ้ น่ืองจากในบางครงั้ พบว่า ความสาคัญเป็นส่ิงที่เราต้องการจะใหเ้ ปน็ มากกวา่ เป็น
ความสาคญั จริงๆ เชน่ ส่วนไหนของความจรงิ ท่สี าคัญทส่ี ุด ยงั มีเรื่องอ่นื ๆ ทม่ี ีความสาคัญอยูอ่ ีกหรือไม่ นี่คือ
ปญั หาท่ีสาคัญท่ีสดุ ในเรอ่ื งน้ีใชห่ รือไม่ ตรงนี้เปน็ จุดสาคญั ที่ควรใหค้ วามสนใจหรือเปล่า
ดังนัน้ จะเห็นได้ว่า การคิดวิเคราะหจ์ ะเกดิ ความสมบูรณไ์ ด้นนั้ นอกจากจะต้องอาศยั ความสามารถในการให้
เหตุผลอย่างถูกต้องแลว้ เร่ืองของเทคนคิ การต้ังคาถามเพื่อการวิเคราะห์กม็ คี วามสาคัญที่ไมย่ ง่ิ หย่อนกวา่ กนั
โดยที่องคป์ ระกอบทั้งสองสว่ นนีจ้ ะทางานประสานสมั พนั ธก์ นั อย่างกลมกลนื ในทุกๆ ขัน้ ตอนของกระบวนการ
คิดวเิ คราะห์ ส่วนประกอบทั้งสองสว่ นจะตอ้ งไปดว้ ยกนั คุณคา่ ความสวยงาม ความลงตวั รวมทงั้ ประโยชน์
อย่างสมบูรณ์จึงจะเกิดข้นึ ได้

3.4 การจัดการเรียนเรียนรู้เพื่อพัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะห์
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 หลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544 มีผู้ศึกษาวิธีและเทคนิคการสอนพัฒนาทักษะ
การคิดวิเคราะห์ได้เนื่องจากวิธีการคิดวิเคราะห์มีการปฏิบัติตามหลักการเป็นขั้นตอนอย่างมีระบบและมี
ความสาคัญอย่างยิ่งอีกท้ังทักษะการคิดวิเคราะห์เป็นทักษะของการนาไปปรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ในการดาเนิน
ชีวิตประจาวนั ของมนุษย์ มนี ักวชิ าการทีศ่ กึ ษาข้อมลู จากอดตี จนถึงปจั จบุ นั ไดอ้ ธิบายไวห้ ลายประเด็นดังนี้
Jarolimek (อ้างถึงใน อาร์ม โพธ์ิพัฒน์, 2550 : 16) ได้กล่าวว่า วิธีการคิดวิเคราะห์สามารถสอนได้เพราะ
เป็นเรื่องความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่เกิดข้ึนจากกิจกรรมทางสมองตามทฤษฎีของ Bloom ว่าด้วยการ
อธบิ ายขนั้ ตอนและการเร่มิ จากความรคู้ วามเขา้ ใจ การนาไปใช้ซ่ึงเป็นจุดมุ่งหมายของการสอนให้เกิดพุทธิพิสัย
ระดบั ตา่ ส่วนทีอ่ ย่ใู นระดับสูงคือ การวิเคราะห์การสังเคราะห์ และการประเมินผลในส่วนของการวิเคราะห์ยัง
ได้แยกแยะพฤติกรรมการเรียนรู้คือความสามารถท่ีจะนาความคิดต่าง ๆ มารวมกันเพื่อนเกิดมโนทัศน์ใหม่ๆ
เพือ่ ใหเ้ ข้าใจสถานการณ์ตา่ ง ๆ
สุมน อมรวิวัฒน์ (2541: 130) ได้กล่าวว่า วิธีการคิดวิเคราะห์เป็นการพัฒนาทักษะคิดวิเคราะห์ที่
สอดคลอ้ งกับทางวทิ ยาศาสตร์ท่เี นน้ ถึงกระบวนการการคิดเพ่ือแก้ปัญหาการคิดวิพากษ์วิจารณ์ การคิดตีความ
การคดิ วเิ คราะห์และสงั เคราะห์ การคิดแบบย้อนทวนการคิดจาแนกแยกแยะ การคิดเช่ือมโยงสัมพันธ์และการ
คิดจัดอันดบั Gagne (อ้างถงึ ใน ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2544 : 16) กล่าวถึง การเรียนรู้ที่เป็นทักษะทาง
ปัญญาประกอบด้วย 4 ทักษะย่อยซึ่งแต่ละระดับเป็นพ้ืนฐานของกันและกันตามลาดับซ่ึงเป็นพื้นฐานของการ
เรียนรู้ท่ีเป็นการเชื่อมโยงส่ิงเร้ากับการตอบสนองและความต่อเนื่องของการเรียนรู้ต่างๆ เป็นลูกโซ่ซ่ึงทักษะ
ย่อยแตล่ ะระดับ ได้แก่

30

1. การจาแนกแยกแยะ หมายถงึ ความสามารถในการแยกแยะคุณสมบัตทิ างกายภาพของวตั ถตุ า่ ง ๆ
ท่รี บั รเู้ ข้ามาว่าเหมอื นหรือไม่เหมอื นกนั

2. การสร้างความคดิ รวบยอด หมายถึง ความสามารถในการจัดกลมุ่ วัตถุหรอื สิ่งต่างๆ โดยระบุ
คุณสมบัติรว่ มกันของวตั ถุส่งิ นั้นๆ ซ่ึงเปน็ คณุ สมบัติทที่ าให้กลุ่มวัตถุหรอื ส่งิ ตา่ งๆเหลา่ นั้นต่างจากกลุม่ วัตถหุ รอื
ส่งิ อน่ื ๆ ในระดบั รูปธรรม และระดับนามธรรมท่ีกาหนดข้ึนในสงั คมหรือวัฒนธรรมตา่ งๆ

3. การสร้างกฎ หมายถึง ความสามารถในการนาความคิดรวบยอดต่างๆ มารวมเป็นกลุ่ม ต้ังเป็น
กฎเกณฑข์ ึน้ เพื่อให้สามารถสรปุ อา้ งองิ และตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

4. การสร้างกระบวนการหรือกฎขั้นสงู หมายถึงความสามารถในการนากฎหลาย ๆข้อท่ีสัมพันธ์กันมา
ประมวลเข้าด้วยกัน ซึ่งนาไปสู่ความรู้ความเข้าใจท่ีซับซ้อนย่ิงขึ้นประเวศ วะสี (อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี,
2548 : 301-302) ได้กล่าวว่า ในการเรียนรู้ต้องให้นักเรียนได้มีโอกาสฝึกคิด ฝึกตั้งคาถาม เพราะคาถาม
เป็นเคร่ืองมือในการได้มาซ่ึงความรู้ควรให้ผู้เรียนฝึกการ ถาม-ตอบ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความกระจ่างใน
เรือ่ งท่ศี ึกษารวมท้ังไดฝ้ ึกการใช้เหตุผล การวิเคราะหแ์ ละการสังเคราะห์ ฝึกค้นหาคาตอบจากเรอ่ื งท่เี รียน
วีระ สุดสังข์ (2550 : 26-28) ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการคิดสามารถฝึกสมองให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ให้
พัฒนาขึน้ สามารถฝกึ ตามข้นั ตอนไดด้ งั น้ี

1. กาหนดส่ิงที่ต้องการวิเคราะห์ เป็นการกาหนดวัตถุ สิ่งของ เร่ืองราวหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้นมา
เพื่อเป็นตน้ เรอื่ งทจี่ ะใช้วเิ คราะห์

2. กาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ เป็นการกาหนดประเด็นสงสัยจากปัญหาหรือส่ิงท่ีวิเคราะห์
อาจจะกาหนดเป็นคาถามหรอื กาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารวเิ คราะห์ เพอื่ ค้นหาความจรงิ สาเหตหุ รอื ความสาคญั

3. กาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ เพ่ือใช้แยกส่วนประกอบของส่ิงที่กาหนดให้ เช่นเกณฑ์ในการ
จาแนกสง่ิ ท่มี คี วามเหมือนกันหรอื แตกตา่ งกัน

4. กาหนดการพิจารณาแยกแยะ เป็นการกาหนดการพินิจพิเคราะห์ แยกแยะ และกระจายส่ิงท่ี
กาหนดให้ออกเป็นส่วนย่อย ๆ โดยอาจใช้เทคนิคคาถาม 5 W 1 H ประกอบด้วย What(อะไร) Where (ที่
ไหน) When (เมือ่ ไร) Why (ทาไม) Who (ใคร) และ How (อย่างไร)

5. สรุปคาตอบ เป็นการรวบรวมประเด็นท่ีสาคัญเพ่ือหาข้อสรุปเป็นคาตอบหรือตอบปัญหาของสิ่งท่ี
กาหนดให้

อาจสรุปได้วา่ การพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์ทาได้โดยการดาเนินการจัดการเรียนรู้ เทคนิคการสอน
ตามขั้นตอนอย่างมีระบบจะช่วยให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ประสบผลสาเร็จตามความมุ่งหมายซึ่งใน
ขณะเดียวกันกระบวนการทางสมองมีการปฏิบัติตามลาดับขั้นตอน เริ่มจากความรู้ ความเข้าใจ การนาไปใช้ มี
การเชือ่ มโยงสิง่ เรา้ กบั การตอบสนองของการคิดโดยฝึกคิด ฝึกต้ังคาถาม กาหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ การคิด
ตคี วาม การคดิ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์การคิดแบบย้อนทวน การคิดจาแบบแยกแยะ การคิดเช่ือมโยงสัมพันธ์
และการคิดจัดอันดับเป็นการปฏิบัติตามหลักการเป็นขั้นตอนคือ การกาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ กาหนด
หลกั การพจิ ารณาแยกแยะและสรปุ หาคาตอบ

3.5 เทคนคิ วิธกี ารสอนสร้างเสรมิ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์
มีนักวิชาการกล่าวถึงเทคนิคการสอนให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ ไว้ดังน้ี เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
(2546 : 97-98) กล่าวโดยสรุปว่า เทคนิคการตั้งคาถามอยู่ในขอบข่าย “5 Ws 1H” การคิดเชิงวิเคราะห์
แทจ้ รงิ คอื การตอบคาถามที่เกยี่ วข้องกบั ความสงสยั ใคร่รขู้ องผู้ถาม เม่อื เหน็ สง่ิ หน่ึงส่ิงใดแล้ว อยากรู้เกี่ยวกับสิ่ง
นั้นมากข้ึนในแง่มุมต่างๆ เพ่ือให้ได้ข้อเท็จจริงใหม่ๆ ความเข้าใจใหม่ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการอธิบาย การ

31

ประเมนิ การแก้ปัญหาขอบเขตของคาถามเชิงวิเคราะห์และการตัดสินใจท่ีรอบคอบมากข้ึน ขอบเขตของคาถาม
เชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการจาแนกแจกแจงองค์ประกอบและการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างเร่ืองท่ี
วิเคราะห์ โดยใช้คาถามในขอบข่าย “ 5 Ws 1H” เพื่อนาไปสู่การค้นหาความจริงในเร่ืองนั้นๆทุกแง่ทุกมุม
โดยต้ังคาถาม ใคร (Who) ... ทาอะไร (What) ... ที่ไหน (Where) ... เม่ือไร (When) ...อย่างไร (How) ...
เพราะเหตใุ ด...ทาไม (Why)

อเนก พ.อนุกลู บุตร (2547 : 62-63) กล่าวไว้ดงั นี้ การสอนให้คดิ แบบวเิ คราะห์ มุ่งหมายให้นักเรียน
คิดออย่างแยกแยะได้ และคิดได้อย่างคล่องแคล่ว หรือมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ได้ขั้นแรก ครูผู้สอนต้องรู้จัก
ความคดิ แบบวิเคราะห์นอ้ี ย่างดีเสียก่อน ขั้นต่อๆ ไปจึงผสานการคิดแบบนี้เข้าไปในกระบวนการเรียนการสอน
ไม่ว่าจะใช้ระเบียบวิธีสอน เทคนิคการสอนแบบใด โดยแบ่งแนวทางการคิดในรูปกิจกรรมหรือคาถามให้
พัฒนาการคดิ แบบวเิ คราะห์ข้นึ ในตัวนกั เรียน การสอนการคิดวิเคราะห์ประกอบดว้ ย

1. การสอนการคิดวเิ คราะหแ์ ยกองคป์ ระกอบ (Analysis of elements) มงุ่ ให้นักเรียนคิดแบบ
แยกแยะว่าสิ่งสาเรจ็ รปู หน่งึ มีองค์ประกอบอะไร มแี นวทางดงั นี้

1.1 วเิ คราะห์ชนิด โดยมุ่งให้นักเรียนคดิ และวนิ ิจฉยั ว่า บรรดาข้อความ เรอ่ื งราวเหตุการณ์
ปรากฏการณ์ใดๆ ที่พิจารณาอยนู่ น้ั จัดเปน็ ชนิดใด ประเภทใด ลกั ษณะใด ตามเกณฑห์ รอื หลักการใหม่ท่ี
กาหนด เชน่ เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ให้นักเรยี นคดิ (ชว่ ยกันคดิ ) วา่ เปน็ ข้อความชนิดใด และเพราะอะไรตาม
เกณฑ์ท่กี าหนดให้ใหมเ่ หมอื นในตารา จดุ สาคัญของการสอนให้คิดแบบวิเคราะห์ชนิดก็คือ ต้องให้เกณฑใ์ หม่
และบอกเหตุผลทจี่ ัดชนดิ ตามเกณฑ์ใหมท่ ี่กาหนด

1.2 วิเคราะหส์ ่งิ สาคัญ มุ่งให้คดิ แยกแยะและวนิ ิจฉัยว่าองค์ประกอบใด สาคญั หรอื ไม่สาคัญ
เช่น ใหค้ ้นหาสาระสาคัญ แก่นสาร ผลลัพธ์ ข้อสรุป จดุ เดน่ จดุ ด้อย

1.3 วเิ คราะห์เลศนัย มงุ่ ใหค้ ิดค้นหาสิง่ ที่พรางไว้ แฝงเรน้ อย่มู ไิ ดบ้ ง่ บอกไว้ตรงๆแต่มีรอ่ งรอย
สง่ ใหเ้ หน็ วา่ มีความจรงิ นนั้ ซ่อนอยู่

2. การสอนการคดิ วเิ คราะหค์ วามสมั พันธ์ (Analysis of relationships) มงุ่ ใหน้ ักเรยี นคิดแบบ
แยกแยะวา่ มีองค์ประกอบใดสมั พนั ธ์กนั สัมพนั ธ์กันแบบใด สัมพนั ธ์ตามกันหรือกลบั กนั สมั พันธ์กนั สูงตา่
เพยี งไร มีแนวทางดังน้ี

2.1 วิเคราะหช์ นดิ ความสัมพันธ์ มุ่งใหค้ ิดแบบค้นหาชนิดของความสัมพนั ธ์วา่ สัมพันธแ์ บบ
ตามกนั กลับกันไม่สัมพันธก์ นั ความสมั พนั ธร์ ะหว่างองค์ประกอบกับองคป์ ระกอบองคป์ ระกอบกับเรอื่ งท้งั หมด
เช่น มุ่งใหค้ ิดแบบค้นหาความสมั พันธ์ระหว่าง สงิ่ ใดสอดคล้อง กบั ไมส่ อดคลอ้ งกบั เร่ืองนี้ คากลา่ วใดสรุปผิด
เพราะอะไร ข้อเท็จจริงใดไม่สมเหตุสมผลเพราะอะไร ข้อความในยอ่ หน้าท.ี่ .. เก่ยี วข้องอย่างไรกับขอ้ ความทง้ั
เรื่อง รอ้ ยละกับเศษสว่ น ทศนิยม เหมือนและตา่ งกนั อย่างไรบา้ ง

2.2 วเิ คราะห์ขนาดของความสมั พันธ์ โดยมงุ่ ให้คิดเพื่อคน้ หาขนาด ระดับของความสัมพันธ์
เชน่ สิ่งนี้เก่ียวขอ้ งมากทส่ี ดุ (น้อยทีส่ ุด) กับส่ิงใด

2.3 วิเคราะหข์ ั้นตอนของความสัมพันธ์ มงุ่ ให้คดิ เพื่อค้นลาดบั ขน้ั ของความสัมพันธใ์ นเรื่องใด
เรอ่ื งหนึง่ ทเ่ี ป็นเรื่องแปลกใหม่ เชน่ สิง่ ใดเปน็ ปฐมเหตุ ต้นกาเนิดของปัญหา เร่ืองราว เหตุการณ์ปรากฏการณ์
ส่ิงใดเป็นผลทีต่ ามมา ผลสดุ ท้ายของเรื่องราว เหตกุ ารณ์ ปรากฏการณ์

2.4 วเิ คราะห์วตั ถปุ ระสงค์และวิธกี าร มุ่งให้คิดและค้นว่าการกระทา พฤติกรรมพฤติการณ์
มเี ปาู หมายอะไร เชน่ ให้คดิ และค้นหาว่า การกระทานน้ั เพ่ือบรรลุผลอะไร ผลคือเกิดวนิ ัยในตนเอง
ความไพเราะของดนตรีขึน้ อยู่กบั อะไร ขน้ึ อยกู่ ับจังหวะ ความตอนที่...เกย่ี วข้องอย่างไรกับวตั ถปุ ระสงค์ของ
เรอ่ื ง ผลคือสนับสนุน หรือขยายความ

32

2.5 วิเคราะห์สาเหตแุ ละผลทีเ่ กิดตามมา มุ่งให้คดิ แบบแยกแยะให้เห็นความสมั พันธ์เชิง
เหตุผล ซึ่งเป็นยอดปรารถนาประการหน่ึงของการสอนให้คิดเป็น คือ คิดหาเหตุและผลได้ดีเช่น ให้คิดและ
ค้นหาว่า ส่ิงใดเป็นผลของ... ( สาเหตุ) ส่ิงใดเป็นเหตุของ... (ผล) ตอนใดเป็นสาเหตุท่ีสอดคล้องกับ.... เป็นผล
ขดั แย้งกับขอ้ ความ .... เหตุการณ์คใู่ ดสมเหตสุ มผล เปน็ ตัวอย่างสนบั สนุน

2.6 วิเคราะห์แบบความสัมพันธ์ โดยให้คน้ หาแบบความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง 2 สง่ิ แลว้ บอกแบบ
ความสัมพันธ์น้ัน หรือเปรียบเทียบกับความสัมพันธ์คู่อ่ืนๆ ท่ีคล้ายกัน ทานองเดียวกันในรูปอุปมาอุปไมย เช่น
เซนติเมตร : เมตร อธิบายได้ว่า เซนตเิ มตรเป็นสว่ นย่อยของเมตรเพราะฉะน้ันเซนติเมตร : เมตร คล้ายกับ ลูก
: แม่

3. การสอนคิดวเิ คราะหห์ ลักการ (Analysis of Organizational Principles ) มุ่งให้นักเรียนคิดอย่าง
แยกแยะจนจับหลักการได้ว่า ส่ิงสาเร็จรูปคุมองค์ประกอบต่างๆ อยู่ในระบบใด คือหลักการอะไร ขั้นตอนการ
วิเคราะห์หลักการต้องอาศัยการวิเคราะห์ขั้นต้น คือ การวิเคราะห์องค์ประกอบ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์
เสียก่อน กล่าวคือ ต้องแยกแยะสิ่งสมบูรณ์หรือระบบให้เห็นว่าองค์ประกอบสาคัญมีหน้าท่ีอย่างไร และ
องค์ประกอบเหล่าน้ันเก่ียวข้องพาดพิง อาศัยสัมพันธ์กันอย่างไร พิจารณาจนรู้ความสัมพันธ์ตลอดจนสามารถ
สรปุ จับหัวใจ หรือหลักการได้วา่ การทท่ี กุ ส่วนเหล่านัน้ สามารถทางานร่วมกนั เกาะกลุ่มกันคุมกันจนเป็นระบบ
อยู่ได้ เพราะหลักการใด ผลที่ได้เป็นการวิเคราะห์หลักการ (principle) ซึ่งเป็นแบบวิเคราะห์การสอนให้คิด
แบบวิเคราะหห์ ลักการเน้นการสอนวเิ คราะหด์ ังน้ี

3.1 วิเคราะห์โครงสร้าง มงุ่ ให้นกั เรียนคดิ แบบแยกแยะแล้วค้นหาโครงสรา้ งของส่งิ สาเร็จรูป
น้ัน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาใหม่ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ข้อความ การทดลอง เช่น การค้นคว้าน้ี (ทดลอง เน้ือ
เร่ืองน้ี การพิสูจน์) ดาเนินการแบบใด คาตอบคือ นิยามแล้วพิสูจน์- ตั้งสมมติฐานแล้วตรวจสอบ ข้อความน้ี
(คาพดู จดหมาย รายงาน) มลี กั ษณะใด โฆษณาชวนเชื่อ เรื่องนี้มีการนาเสนอเชน่ ไร – ขูใ่ หก้ ลัวแล้วล่อใหห้ ลง

3.2 การวิเคราะหห์ ลักการ ม่งุ ใหน้ กั เรยี นคดิ แบบแยกแยะแลว้ คน้ หาความจริงแม่บทของสิ่ง
น้ัน เร่ืองราวนั้น ส่ิงสาเร็จรูปน้ันโดยการคิดหาหลักการ เช่นหลักการสาคัญของเร่ืองน้ีมีว่าอย่างไร- ยึดความ
เสมอภาคระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์เหตุการณ์คร้ังนี้ลุกลามมากขึ้น (สงบ รุนแรง) เน่ืองจากอะไรคาโฆษณา
(แถลงการณ์ การกระทา) ใช้วิธใี ดจงู ใจให้ความหวังชาตรี สาราญ (2548 : 40-41) ได้กล่าวถึง เทคนิคการปู
พ้นื ฐานให้นักเรียนคดิ วเิ คราะหไ์ ด้ สามารถสรปุ รายละเอยี ด ดงั น้ี

1. ครจู ะต้องฝึกให้เด็กหดั คดิ ตงั้ คาถาม โดยยึดหลักสากลของคาถาม คือ ใคร ทา
อะไร ที่ไหน เมือ่ ไร เพราะเหตใุ ด อย่างไร โดยการนาสถานการณ์มาให้นักเรียนฝึกค้นคว้าจากเอกสารที่ใกล้ตัว
หรอื ส่ิงแวดล้อม เปดิ โอกาสให้นักเรยี นต้งั คาถามเอง โดยสอนวธิ ตี ั้งคาถามแบบวิเคราะห์ในเบื้องต้น ฝึกทาบ่อย
ๆ นักเรียนจะฝึกไดเ้ อง

2. ฝึกหาความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตุผล โดยอาศัยคาถามเจาะลึกเข้าไป โดยใชค้ าถามที่ชี้
บ่งถึงเหตุและผลกระทบท่ีจะเกิด ฝึกจากการตอบคาถามง่าย ๆ ท่ีใกล้ตัวนักเรียนจะช่วยให้เด็ก ๆ นาตัวเอง
เชื่อมโยงกับเหตุการณ์เหล่านั้นได้ดี ที่สาคัญครูจะต้องกระตุ้นด้วยคาถามย่อยให้นักเรียนได้คิดบ่อย ๆ จนเป็น
นิสยั เป็นคนชา่ งคิด ชา่ งถาม ชา่ งสงสัยกอ่ น แลว้ พฤติกรรมศกึ ษาวเิ คราะหก์ ็จะเกิดข้นึ แกน่ ักเรียน

สุวิทย์ มูลคา (2548 : 21-22) ได้กล่าวถึงเทคนิคการวิเคราะห์ไว้ดังน้ี การคิดวิเคราะห์เป็นการใช้
สมองซีกซ้ายเป็นหลัก เน้นคิดเชิงลึกจากเหตุไปสู่ผลเช่ือมโยงความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล เชิงเงื่อนไข การ
จัดลาดับความสาคัญ และเชิงเปรียบเทียบ แต่เทคนิคท่ีง่ายคือ 5 W 1H เป็นที่นิยมใช้คาตอบ What (อะไร)
Where(ทีไ่ หน) When (เมื่อไร) Why (ทาไม) Who (ใคร) How(อย่างไร) ชัดเจนในแต่ละเร่ือง ทาให้เกิดความ
ครบถว้ นสมบูรณ์ นยิ มใชเ้ ทคนคิ คาถามในชว่ งต้นหรือชว่ งเรมิ่ ต้น การคดิ วิเคราะห์

33

นอกจากน้ี ไพรินทร์ เหมบุตร (2549 : 3-4) ได้บอกวิธีการและข้ันตอนในการฝึกคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย
6 ข้ัน คอื 1. ศกึ ษาข้อมูลหรือสง่ิ ทต่ี อ้ งการวเิ คราะห์ 2. กาหนดวัตถปุ ระสงค์ / เปูาหมายของการคิดวเิ คราะห์
3. แยกแยะแจกแจงรายละเอียดสิ่งของที่ต้องการวิเคราะห์ 4. ตรวจสอบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบใหญ่และย่อย 5. นาเสนอข้อมูลการคิดวิเคราะห์ และ 6. นาผลมาวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตาม
เปาู หมาย

Bloom. (1961: 56 อา้ งถงึ ใน ประทีป ยอดเกตุ, 2550 : 30) ได้จาแนกจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ด้านการคิดตอนต้น และได้เรียบเรียงลาดับพฤติกรรมที่เกิดข้ึนง่ายไปสู่พฤติกรรมที่ซับซ้อนมีอยู่ 6 ระดับข้ัน
ดังน้ี ระดับความรู้ ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การคิดวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมินค่าจากการศึกษา
เทคนิคการสอนทางการคิดวเิ คราะห์ สรปุ ได้วา่ เทคนิคในการสอนคิดวิเคราะห์ ครูผู้สอนจะต้องเข้าใจความคิด
แบบวิเคราะห์ จึงนาไปผสานเทคนิค คาถาม “5W 1H”โดยการเปิดโอกาสให้เด็กต้ังคาถามตามเทคนิค
ดังกลา่ วบอ่ ย ๆ จนเปน็ นสิ ยั เปน็ คนช่างคิด ช่างถามช่างสงสัย แล้วพฤติกรรมวิเคราะห์ก็จะเกิดข้ึนกับนักเรียน
เพื่อนาไปสกู่ ารค้นหาความจริงในเร่อื ง

4. งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง
ชุมศักด์ิ อินทร์รักษ์ (2559) การจัดการเรียนรู้เป็นเทคนิคหนึ่งสาหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมุ่ง

หมายเพ่ือให้ผ้เู รยี นพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ นาไปสู่การสร้างปัญญา ปัจจุบันเป็นยุคสารสนเทศซึ่งผู้เรียน
สามารถเข้าถึงข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ผู้เรียนสามารถพัฒนา
ตนเองด้านการคิดวิเคราะห์โดยกระบวนการดีแคส (D=CAS Model) ซึ่งมีองค์ประกอบคือ 1) การศึกษา
ค้นคว้า (Discovery) เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง เป็นจริง และเหมาะสม 2) การจับประเด็น (Capture) เพ่ือให้

ได้สาระที่เป็นประโยชน์จากการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์สรุปผลเป็นประเด็นสาคัญ 3) การนาความรู้ไปใช้
(Application) เพ่ือให้เกิดการปฏิบัตสิ รา้ งสรรคผ์ ลงานท่ไี ดจ้ ากการค้นคว้า การจับประเด็นสาคัญ ส่งผลต่อการ
เรียนรู้ และการจัดประสบการณ์ของผู้เรียน 4) การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self – directed Learning) เพ่ือการ
พัฒนาตนเองให้เป็นคนใฝุรู้ ใฝุเรียนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีความกระตือรือร้น แสวงหาความรู้อยู่เสมอ ดังน้ัน

การจดั การเรยี นร้ตู ามกระบวนการดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อการคิดวิเคราะห์ซึ่งเป็นเคร่ืองมือทางการศึกษา
ตอ่ ไป

ชัยรัตน์ โตศิลา (2555). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อ
สง่ เสริมทักษะการคิดทางประวตั ศิ าสตร์ของนกั เรยี นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนา
กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์ของ
นักเรียนมัธยมศึกษาปที ่ี 2 และ 2) ศกึ ษาคณุ ภาพของกระบวนการเรียนการสอนท่ีพัฒนาข้ึน โดยพิจารณาจาก
ทักษะการคิดทางประวตั ิศาสตร์ ผวู้ จิ ยั ได้พัฒนากระบวนการเรยี นการสอน โดยใชว้ ิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์จาก
การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ แนวคิด
และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง นาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษามาสร้างกระบวนการเรียนการสอน แล้วนาไปทดลองใช้กับ
กลุ่มตัวอย่างซ่ึงเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร จานวน 2 ห้องเรียน
จานวนนกั เรียน 80 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 40 คน และกลุ่มควบคุม 40 คน ระยะเวลาในการทดลอง 15
สัปดาห์ เครอื่ งมือท่ีใช้ในการทดลองคือ แบบวดั ทกั ษะการคิดทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย
เลขคณิต ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติที และใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ 1.

34

กระบวนการเรียนการสอนท่ีพัฒนาข้ึนประกอบด้วยข้ันตอน 5 ข้ันตอน ได้แก่ 1) ข้ันอภิปรายเพ่ือกาหนด
ประเด็นศึกษา 2) ข้ันวิเคราะห์หลักฐานหลัก 3) ขั้นเปรียบเทียบข้อมูล 4) ข้ันปฏิสัมพันธ์กับหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ และ 5) ขั้นนาเสนอข้อค้นพบ 2. คุณภาพของกระบวนการเรียนการสอนซ่ึงพิจารณาจาก ผล
ของการทดลองใช้กระบวนการเรียนการสอนท่ีพัฒนาข้ึนมีดังนี้ 2.1 ทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์ของ
นกั เรียนหลังเรียนจากกระบวนการเรยี นการสอนท่ีพัฒนาขน้ึ สูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 2.2 ทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2.3 ทักษะการคิดทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่เรียนจาก
กระบวนการเรียนการสอนท่ีพัฒนาขึ้น มีพัฒนาการไปในทางที่ดีข้ึน นักเรียนสามารถกาหนดคาถามสาคัญ
ตั้งสมมตฐิ านวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ ตคี วามหลักฐาน และเชื่อมโยงข้อมูลเพ่ือนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของเส้น
เวลาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

วนารัตน์ ราชอาจ (2558) ศึกษาผลการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
และทักษะการคิดวิเคราะห์ เรื่อง พัฒนาการอาณาจักรสุโขทัยสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียน
เมอื งศรีเทพ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ การวิจยั ครง้ั น้มี ีวัตถุประสงค์เพอื่ (1) เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เร่ือง
พัฒนาการอาณาจักรสุโขทัย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ก่อน
และหลังการเรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์และ (2) เปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนก่อน
และหลังเรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเมืองศรี
เทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2556 จานวน 38 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม
เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์แบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่อื ง พฒั นาการอาณาจักรสุโขทัย และ แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า (1 )
ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรื่อง พัฒนาการอาณาจักรสโุ ขทัย ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนเมืองศรี
เทพ ท่ีเรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติท่ีระดับ .05
และ (2) ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05

ฐิติยา เนตรวงษ์ (2553, หน้า 98-102) ได้ทาการศึกษาเร่ือง การเรียนร่วมกันแบบผสมผสานและ
ใช้โครงงานเป็นฐานท่ีส่งผลต่อการสร้างความรู้ ความคิด และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผลการศึกษาพบว่า การ
จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานโดยใช้โครงงานเป็นฐาน สามารถสร้างความรู้
ความคิด และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้กับนักศึกษาหลักสูตเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏดุสิต
และผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05

รุจโรจน์ แก้วอุไร (2556, หน้า บทคดั ยอ่ ) ได้ทาการศกึ ษาเร่ือง การเรียนแบบโครงงานกบั โซเชียล
มีเดียเพื่อส่งเสรมิ ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผลการศกึ ษาพบวา่ การเรยี นแบบโครงงานเป็นการเรยี นร้รู ูปแบบ
หนงึ่ ท่เี หมาะสมสาหรับการเรียนในศตวรรษท่ี 21 เนอื่ งจากเปน็ กจิ กรรมทีเ่ น้นการปฏิบัตติ ามความสนใจของ
นกั เรยี น และจะช่วยพฒั นาสมรรถนะและทักษะทสี่ าคัญโดยเฉพาะทกั ษะการคิดวิเคราะห์ในศตวรรษท่ี 21
ของนักเรยี นไดเ้ ป็นอย่างดี

35

บทท่ี 3

วิธกี ารดาเนนิ การวิจัย

การวิจัยในชั้นเรียนเร่ือง การจัดการเรียนรู้ เรื่อง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วย
กระบวนการทางประวัติศาสตร์ ที่มีผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 มวี ิธกี ารดาเนินการวิจยั ดังนี้

1. ประชากร นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านสา้ น (ครุ ุราษฎร์รังสรรค์) ภาคเรียนท่ี 2
ปีการศึกษา 2564

2. กลุม่ ตวั อย่าง นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบา้ นส้าน (คุรรุ าษฎรร์ งั สรรค)์
จานวน 35 คน โดยการสุม่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง

3. เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการทดลอง ไดแ้ ก่ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ใี ชก้ ระบวนการทางประวัติศาสตร์

เร่อื ง ประวัติศาสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนบา้ นสา้ น(คุรุราษฎร์รังสรรค์)
จานวน 5 แผน รวม 10 ช่ัวโมง

เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการวจิ ยั ครง้ั นี้ ได้แก่
- แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางเรียนรูก้ ่อนและหลงั เรียน เรอ่ื ง ประวัติศาสตร์เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี ง
ใต้ แบบปรนยั 4 ตวั เลือก จานวน 20 ข้อ 20 คะแนน
- แบบฝกึ หดั วัดความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ แบบอัตนัย จานวน 2 ขอ้ ข้อละ 5 คะแนน
4. รูปแบบการทดลอง การทดลองแบบกลมุ่ เดยี ว (Pre-test, Post-test)
5. ข้นั ตอนการดาเนนิ การวิจยั
ขั้นตอนที่ 1 วเิ คราะหผ์ ู้เรยี นเป็นรายบุคคลด้วยวิธกี ารสังคมมิติ
ขน้ั ตอนที่ 2 ทดสอบก่อนเรยี นเพ่อื นาผลท่ีไดม้ าวิเคราะห์ข้อค้นพบและครูสรา้ งข้อตกลงใน
การเรียนรบู้ นพนื้ ฐานของการ
ขัน้ ตอนที่ 3 ครูจดั ทาแผนการจดั การเรียนร้เู ชงิ รุก (Active Learning) ทีใ่ ช้กระบวนการทาง
ประวัตศิ าสตร์ และแทรกการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค 5w1h (Who What Where When Why และ
How)
ขัน้ ตอนที่ 4 จดั กิจกรรมการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) เรื่อง ประวัติศาสตรเ์ อเชีย
ตะวันออกเฉยี งใต้ ใชก้ ระบวนการทางประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ แกนในการเรียนรูแ้ ละการทากจิ กรรมต่างๆ ทั้งการ
สืบคน้ ระบปุ ัญหา วิเคราะหส์ ถานการณ์ เชื่อมโยงสถานการณ์ อธิบาย และสรุปนาเสนอ ดาเนินการตามกรอบ
เวลาทีก่ าหนด
ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบหลงั เรยี นเพื่อดูพฒั นาการทางด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรู้ นักเรยี นทา
แบบสอบถามความพึงพอใจต่อกระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์
6. สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ในการวจิ ัยการเรยี นรู้ครง้ั นี้ใชส้ ถติ ใิ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดังน้ี คา่ เฉลี่ย สว่ น
เบ่ยี งแบนมาตรฐาน ดว้ ยการใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู
7. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ในการวิจัยครั้งน้ีใช้การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ความสามารถใน
การคิดวิเคราะห์ก่อนเรยี นและหลังเรียน

36

บทท่ี 4

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การจดั การเรยี นรู้ เร่ือง ประวัติศาสตร์เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ดว้ ยกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์ ท่ี
มผี ลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 มีผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เร่อื ง ประวตั ิศาสตร์เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ สาหรับนกั เรียนชน้ั

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

ตารางท่ี 2 แสดงผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เรื่อง ประวตั ิศาสตร์เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ก่อนเรยี นและ

หลงั เรยี น

แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ

ที่ ช่ือ-นามสกุล ทางการเรยี น

Pre- Post- Average S.D.

test test

1 เดก็ ชายไชยภพ ธะนะตา 3 14 8.50 3.89

2 เด็กชายเจนพิ ัทธ์ บุญเทพ 4 16 10.00 4.24

3 เดก็ ชายธนดล วรรณภพ 5 14 9.50 3.18

4 เดก็ ชายธนพงษ์ ใจยนตร์ 5 16 10.50 3.89

5 เด็กชายสมโชค อินปา 5 17 11.00 4.24

6 เดก็ ชายสปิ ปนันท์ วีระเชวงกุล 5 15 10.00 3.54

7 เด็กชายกอบธรรม งามฉวีวรรณ 5 14 9.50 3.18

8 เดก็ ชายจกั รพงษ์ จ๋อมจันทร์ 5 14 9.50 3.18

9 เดก็ ชายณัฐพงศ์ แซต่ งั้ 5 14 9.50 3.18

10 เดก็ ชายณฏั ฐชยั ทองแดง 5 16 10.50 3.89

11 เดก็ ชายธนวชั ร์ อนิ ปา 5 17 11.00 4.24

12 เดก็ ชายธาวนิ ทร์ พรหมรักษ์ 5 18 11.50 4.60

13 เดก็ ชายธีรทร อนิ ปา 5 19 12.00 4.95

14 เด็กชายเสฎฐวุฒิ สุมทมุ 5 18 11.50 4.60

15 เด็กชายอภสิ ิทธิ์ แซ่หาญ 5 17 11.00 4.24

16 เด็กหญงิ หนึง่ ฤทัย บญุ เทพ 1 12 6.50 3.89

17 เด็กหญิงวิลาวัลย์ บุญเทพ 4 16 10.00 4.24

18 เด็กหญิงจิภญิ ญา สดุ ธานี 10 18 14.00 2.83

19 เดก็ หญงิ พลอยวรยี ์ วังทะพนั ธ์ 9 18 13.50 3.18

37

ท่ี ชอื่ -นามสกุล แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี น
20 เด็กหญิงนรินทิพย์ รกไพร
21 เด็กหญิงนันทิชา อินปา Pre- Post- Average S.D.
22 เด็กหญงิ สุพัตรชา ครี ีโชตกิ ลุ test test
23 เด็กหญิงกรวิการ์ ยาปัน
24 เดก็ หญงิ ปวีณา อดุ อ้าย 6 18 12.00 4.24
25 เด็กหญิงกนั ตพิชญ์ สลีอ่อน
26 เด็กหญิงเกวริน บวั เหลก็ 7 19 13.00 4.24
27 เดก็ ชายรัชชานนท์ ยาปนั
28 เด็กหญงิ ธชั วรรณ อินปา 7 17 12.00 3.54
29 เดก็ หญงิ พัณณิตา อนุจร
30 เดก็ หญิงพมิ พกานต์ อนจุ ร 4 16 10.00 4.24
31 เดก็ หญงิ อญั ธกิ า อนิ ปา
32 เด็กหญิงปยิ ะธดิ า สุยะ 4 18 11.00 4.95
33 เด็กหญงิ เกวลนิ รกไพร
34 เด็กหญงิ ปณั ฑช์ นติ ชาวสา้ น 2 15 8.50 4.60
35 เด็กหญิงอาริสา อนิ ทะสอน
4 14 9.00 3.54

4 16 10.00 4.24

4 18 11.00 4.95

10 19 14.50 3.18

9 16 12.50 2.47

5 17 11.00 4.24

10 18 14.00 2.83

8 16 12.00 2.83

8 17 12.50 3.18

9 17 13.00 2.83

จากตารางท่ี 2 พบว่า ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลงั ผ่านการจัดการเรียนร้ดู ้วยกระบวนการทาง
ประวัติศาสตร์ มีคะแนนหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ี .05

38

ตอนท่ี 2 ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ เรอ่ื ง ประวัติศาสตรเ์ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
สาหรับนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

ตารางที่ 3 แสดงผลความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ เรอื่ ง ประวตั ศิ าสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้
กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน

ที่ ชอื่ -นามสกุล แบบทดสอบวดั ความสามารถ
1 เดก็ ชายไชยภพ ธะนะตา ในการคดิ วิเคราะห์

Pre- Post- Average S.D.
test test

2 8 5.00 2.12

2 เดก็ ชายเจนพิ ัทธ์ บุญเทพ 1 9 5.00 2.83

3 เดก็ ชายธนดล วรรณภพ 1 9 5.00 2.83

4 เดก็ ชายธนพงษ์ ใจยนตร์ 0 8 4.00 2.83

5 เด็กชายสมโชค อินปา 4 8 6.00 1.41

6 เดก็ ชายสปิ ปนันท์ วีระเชวงกุล 0 8 4.00 2.83

7 เดก็ ชายกอบธรรม งามฉววี รรณ 3 7 5.00 1.41

8 เดก็ ชายจักรพงษ์ จ๋อมจันทร์ 2 8 5.00 2.12

9 เด็กชายณัฐพงศ์ แซ่ต้งั 1 8 4.50 2.47

10 เด็กชายณฏั ฐชัย ทองแดง 2 8 5.00 2.12

11 เด็กชายธนวชั ร์ อนิ ปา 3 7 5.00 1.41

12 เด็กชายธาวนิ ทร์ พรหมรกั ษ์ 1 7 4.00 2.12

13 เด็กชายธรี ทร อนิ ปา 2 7 4.50 1.77

14 เด็กชายเสฎฐวุฒิ สุมทุม 2 6 4.00 1.41

15 เด็กชายอภิสทิ ธิ์ แซห่ าญ 2 6 4.00 1.41

16 เด็กหญงิ หนงึ่ ฤทัย บุญเทพ 3 6 4.50 1.06

17 เด็กหญงิ วลิ าวัลย์ บุญเทพ 3 7 5.00 1.41

18 เด็กหญิงจภิ ิญญา สดุ ธานี 3 7 5.00 1.41

19 เด็กหญงิ พลอยวรยี ์ วงั ทะพนั ธ์ 4 7 5.50 1.06

20 เด็กหญงิ นรินทิพย์ รกไพร 4 7 5.50 1.06

21 เด็กหญงิ นนั ทชิ า อินปา 4 7 5.50 1.06

22 เด็กหญิงสุพัตรชา คีรโี ชติกลุ 5 7 6.00 0.71

23 เด็กหญงิ กรวิการ์ ยาปนั 4 8 6.00 1.41

24 เดก็ หญงิ ปวณี า อดุ อา้ ย 4 7 5.50 1.06

39

ท่ี ชื่อ-นามสกลุ แบบทดสอบวัดความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์
25 เด็กหญิงกันตพชิ ญ์ สลีอ่อน
26 เดก็ หญงิ เกวริน บวั เหล็ก Pre- Post- Average S.D.
27 เดก็ ชายรัชชานนท์ ยาปัน test test
28 เดก็ หญงิ ธชั วรรณ อินปา
29 เด็กหญิงพณั ณิตา อนุจร 4 7 5.50 1.06
30 เด็กหญงิ พมิ พกานต์ อนุจร
31 เดก็ หญิงอญั ธิกา อินปา 2 7 4.50 1.77
32 เด็กหญงิ ปิยะธิดา สุยะ
33 เด็กหญงิ เกวลิน รกไพร 4 7 5.50 1.06
34 เด็กหญิงปณั ฑ์ชนิต ชาวสา้ น
35 เด็กหญงิ อาริสา อินทะสอน 4 8 6.00 1.41

4 7 5.50 1.06

4 7 5.50 1.06

4 9 6.50 1.77

4 8 6.00 1.41

3 9 6.00 2.12

4 9 6.50 1.77

4 8 6.00 1.41

จากตารางที่ 3 พบว่า ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์หลงั ผา่ นการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ
ทางประวัติศาสตร์ มคี ะแนนหลังเรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่ี .05

40

บทท่ี 5
สรุปการวิจยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การจดั การเรียนรู้ เร่ือง ประวัติศาสตร์เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ด้วยกระบวนการทางประวตั ศิ าสตร์
ทมี่ ผี ลตอ่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สาหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 สรุปการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังนี้

1. วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั
1. เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรอ่ื ง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ สาหรบั นกั เรียน

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
2. เพ่ือพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เร่ือง ประวัตศิ าสตรเ์ อเชียตะวันออกเฉยี งใต้

สาหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

2. ขอบเขตของการวจิ ยั
2.1 ขอบเขตประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากร นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านส้าน (คุรุราษฎรร์ ังสรรค)์

ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
กลุ่มตวั อย่าง นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบา้ นสา้ น (ครุ รุ าษฎร์รังสรรค์)

จานวน 35 คน โดยการสุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง
2.2 ขอบเขตเนอ้ื หา เนื้อหาทใี่ ชใ้ นศกึ ษาวิจัย ได้แก่ เรือ่ ง ประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
2.3 ขอบเขตตัวแปร
ตวั แปรตน้
- กระบวนการประวัตศิ าสตร์
ตวั แปรตาม
- ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
- ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์

3. สรุปผลการวจิ ัย
3.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลงั ผ่านการจัดการเรยี นรู้ด้วยกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์ มีคะแนน

หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่ี .05
3.1 ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์หลงั ผ่านการจัดการเรียนร้ดู ว้ ยกระบวนการทางประวตั ิศาสตร์

มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ .05

41

4. ข้อเสนอแนะ
ครูตอ้ งสนบั สนนุ ให้กาลังใจ กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความกระตอื รือรน้ ในการทางานแสดงออกอย่าง

อิสระ และแสดงออกซึง่ ความสามารถของนักเรยี นแต่ละคน สนบั สนนุ ให้นักเรียนสมารถวิเคราะหส์ รปุ ผลการ
เรยี นรแู้ ละประเมนิ ผลการทางานใหเ้ ป็นไปตามจุดมุ่งหมายทว่ี างไว้

42

บรรณานกุ รม

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ, สานักงาน. “ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2561 - 2580”. 2561

จรินันท์ ชาตชิ ยั นานนท.์ (2557). การพฒั นารูปแบบการสอนเพ่ือการส่งเสริมทกั ษะการคิดเชิงระบบ
ของนักศึกษาสาธารณสขุ ศาสตร.์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร/นครปฐม

จินตนา วงศอ์ าไพ. (2551). การเปรียบเทยี บความสามารถในการอ่าน การเขยี นและนิสยั รกั การอ่าน
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ทจ่ี ัดการเรยี นรแู้ บบมงุ่ ประสบการณ์ภาษา กบั การจัดการเรยี นรู้

ตามคมู่ ือครู.กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา.
ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิดทฤษฎแี ละการนาไปใช้. พิมพค์ รั้งท่ี 2.
กรงุ เทพฯ:วี พริน้ ท(์ 1991) จากดั .

ช่อทิพย์ บรมธนรตั น.์ (2558). การคดิ เชงิ ระบบ ตอนที่ 2. จุลสารสาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช, ปี 2558.
ชนิกานต์ ศรที องสขุ . (2561). การพัฒนาความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละมโนทัศน์ทาง
ภมู ิศาสตรท์ วปี ยโุ รป ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้นั ตอน รว่ มกบั
อนิ โฟกราฟกิ . มหาวิทยาลยั ศิลปากร/นครปฐม

นิตยา เดวิเลาะ (2551). ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษา
ปีท่ี 2 โดยใชห้ นงั สือส่งเสรมิ การอา่ น ชดุ มาตราตวั สะกดไทย. วทิ ยานิพนธ์ ค.ม.
(หลกั สูตรและการสอน). ฉะเชิงเทรา : บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์

บญุ ชม ศรสี ะอาด.(2546). การวิจยั เบื้องต้น พิมพ์ครงั้ ท่ี 7. กรุงเทพฯ: สวุ รี ยิ สาสน์ .
บญุ เลยี้ ง ทุมทอง, บุญรอด ศรีเจรญิ (2553).การสงั เคราะห์โมเดลการจดั การเรยี นรทู้ ี่ส่งเสรมิ
กระบวนการคิดกระบวนการคดิ เชิงระบบของผู้เรยี นในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. มหาวิทยาลัยขอ่ น
แก่น

บุญศรี พรหมมาพันธุ.์ (2535). “คุณลกั ษณะเครื่องมือวัดผล” การพัฒนาแบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรียน. นนทบุรี : สานักพมิ พ์มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.

ปราณี กองจนิ ดา (2549) (2549). การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตร์และทักษะ
การคิดเลขในใจของนักเรียนท่ีไดร้ ับการสอนตามรปู แบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหดั ทีเ่ น้นทักษะการคดิ
เลขในใจกบั นักเรียนที่ได้รบั การสอนโดยใชค้ ่มู ือครูวิทยานิพนธ์ ค.ม.
(หลกั สูตรและการสอน). พระนครศรีอยุธยา : บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏ
พระนครศรอี ยธุ ยา.

ชัยรัตน์ โตศิลา . (2555). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยใช้วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ เพอ่ื ส่งเสรมิ
ทกั ษะการคดิ ทางประวตั ิศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .

กจิ กรรมการจัดการเรียนร้ดู ้วยการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง ประวัติศาสตรเ์ อเชียตะวันออกเฉยี งใต้
ดว้ ยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ท่มี ผี ลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

และความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

กิจกรรมการเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ทส่ี ง่ เสรมิ ความสามารถในการคิด ดว้ ย 5W1H

นักเรยี นวเิ คราะหส์ ถานการณ์ เช่ือมโยงสถานการณบ์ นพ้นื ฐานข้อมูล สารสนเทศทางประวัติศาสตร์

นักเรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วมในการเรียนรทู้ ุกขั้นตอนของกระบวนการทางประวัติศาสตร์

กจิ กรรมการจดั การเรยี นรดู้ ้วยการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง ประวัตศิ าสตร์เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
ดว้ ยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ทม่ี ีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

กิจกรรมการเรยี นรไู้ ดร้ บั ความรว่ มมอื จากนักเรยี น สง่ เสริมการเรยี นรอู้ ยา่ งสร้างสรรค์ ผา่ นการตง้ั คาถาม
สบื คน้ หลกั ฐาน วิเคราะห์ สรปุ และนาเสนอ
ผลงานนักเรียนทเี่ กดิ จากกิจกรรมการจดั การเรียนรู้ด้วย
การจัดการเรียนรู้ เร่ือง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ด้วยกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ท่ีมีผลต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาค
เรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

ผลงานการเรียนรดู้ ้วย
กระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
เร่อื ง “วดั พระธาตุแชแ่ หง้ ”

ผลงานการเรยี นรูด้ ว้ ย
กระบวนการทางประวตั ิศาสตร์
เร่ือง “ปราสาทพนมรงุ้ ”

แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรยี น เรอ่ื ง ประวัติศาสตรเ์ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้
สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ จานวน 20 ข้อ 20 คะแนน

คาช้ีแจง นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพยี งตักเลอื กเดียว

1. การต้ังอยู่ก่ึงกลางอารยธรรมโบราณของประเทศไทยสง่ ผลดใี นดา้ นใดมากทีส่ ดุ

ก. การค้า ข. วัฒนธรรม

ค. สิง่ แวดล้อม ง. การปกครอง

2. ช้ินสว่ นของมนุษยส์ มัยหนิ เก่าท่ีเก่าแก่ที่สดุ ในประเทศไทยพบทีจ่ ังหวดั อะไร

ก. ลาพูน ข. ลาปาง

ค. เชียงราย ง. เชียงใหม่

3. มนุษย์สมยั หนิ เก่าอาศยั อยู่ท่ีไหน

ก. ป่าทึบ ข. ชายฝัง่ ทะเล

ค. ถา้ หรือเพิงผา ง. ท่รี าบลมุ่ แม่น้า

4. แควน้ ตามพรลิงคต์ งั้ อยู่ในภมู ิภาคใดของดนิ แดนไทย

ก. ภาคใต้ ข. ภาคเหนือ

ค. ภาคกลาง ง. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

5. อาณาจักรศรวี ชิ ัยไดร้ ับอิทธพิ ลทางศลิ ปะจากไหน

ก. เขมร ข. ลังกา

ค. จัมปา(จามปา) ง. อนิ เดีย

6. แควน้ หริภญุ ชยั ตั้งอยู่ในจังหวัดใด

ก. แพร่ ข. นา่ น

ค. ลาพูน ง. ลาปาง

7. ข้อใดกลา่ วถูกต้องเกีย่ วกับอาณาจักรศรีวชิ ัย

ก. มกี ษตั ริย์เปน็ ผหู้ ญิง ข. เป็นศูนย์กลางการค้า

ค. รับวฒั นธรรมจากเขมร ง. ปลูกข้าวเปน็ สินคา้ ออก

8. ข้อใดไม่ใชเ่ มืองสาคัญของอาณาจักรทวารวดี

ก. อ่างทอง ข. นครปฐม

ค. พิษณุโลก ง. สพุ รรณบรุ ี

9. หลกั ฐานทางวฒั นธรรมลพบรุ พี บมากในภาคใดของประเทศไทย

ก. ภาคใต้ ข. ภาคเหนอื

ค. ภาคกลาง ง. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

10. ใครคือปฐมกษตั รยิ ์แห่งแคว้นหริภุญชัย

ก. เจ้ามหายส ข. ฤๅษีวาสเุ ทพ

ค. เจา้ อนนั ตยส ง. พระนางจามเทวี

11. คาว่า “พะเยา”มคี วามสัมพนั ธ์กับอาณาจักรใด

ก. พกุ าม ข. พุกามยาว

ค. โยนกเชียงแสน ง. ล้านช้าง

12. ขอ้ ใดไมเ่ ป็นเมอื งโบราณในภาคเหนอื

ก. เขลางคน์ คร ข. สงิ หปรุ ะ

ค. ลา้ นนา ง. พลนคร

13. ถ้านักเรียนต้องการชมเกี่ยวกับความเป็นมาของจังหวัดน่านนกั เรยี นเลอื กทีจ่ ะไปศึกษาดูงานท่ีใดจึง

เหมาะสมที่สดุ ไดใ้ กลช้ ิดของจริงมากที่สดุ และได้ขอ้ มลู มากทส่ี ดุ

ก. วัดภมู ินทร์ ข. พิพธิ ภัณฑส์ ถานเมืองนา่ น

ค. วดั ช้างค้าวรวิหาร ง. หอ้ งสมุดประชาชนเมืองน่าน

14. พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชครองราชย์ พ.ศ. 1822–1841 ในจารึกหลกั ท่ี 1กลา่ วว่าพระองคท์ รงประดษิ ฐ์

ลายสือไทยเม่อื “1205 ศกปีมะแม”ศก 1205 น่าจะเปน็ ศักราชระบบใด

ก. จุลศักราช ข. มหาศักราช

ค. พุทธศักราช ง. ไม่สามารถระบไุ ด้

15. มนุษยเ์ ร่ิมเข้าสยู่ ุคประวตั ิศาสตร์เมื่อไร

ก. เม่อื ตัง้ ถ่ินฐานถาวร ข. เม่อื มรี ะบบการปกครอง

ค. เม่อื รจู้ กั ใช้ตวั หนงั สือบนั ทึกเรือ่ งราว ง. เมอ่ื รูจ้ ักถลงุ โลหะและนามาใช้ประโยชน์

16. นักประวตั ิศาสตรเ์ ชื่อว่ายุคประวตั ิศาสตร์ไทยเรมิ่ ประมาณปลายพทุ ธศตวรรษที่ 12

โดยยึดอะไรเป็นหลัก

ก. จารกึ หลกั ท่ี 1 จารกึ พ่อขุนรามคาแหง

ข. จารกึ โบราณพบที่ปราสาทเขาน้อย จงั หวัดสระแก้ว

ค. จารกึ เพนียดพบที่อาเภอเมืองจันทบุรี จงั หวดั จนั ทบุรี

ง. จดหมายเหตชุ าวตา่ งชาตทิ ่ีกลา่ วถงึ ดนิ แดนประเทศไทย

17. หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรจ์ าแนกตามความสาคัญของหลักฐานเปน็ ประเภทใดบ้าง

ก. หลกั ฐานชัน้ ตน้ และหลกั ฐานชนั้ รอง

ข. หลกั ฐานสมัยก่อนประวัติศาสตรแ์ ละหลักฐานสมัยประวตั ศิ าสตร์

ค. หลักฐานทีม่ นุษยต์ ้งั ใจสรา้ งขน้ึ และหลกั ฐานที่มนษุ ย์ไม่ไดต้ ง้ั ใจสรา้ ง

ง. หลกั ฐานทีเ่ ปน็ ลายลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็นลายลกั ษณ์อักษร

18. ลกั ษณะท่สี าคัญที่สดุ ของหลักฐานทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์อักษรไดแ้ ก่อะไร

ก. บนั ทกึ เปน็ ตวั หนงั สือ ข. สรา้ งขึ้นในสมยั ประวตั ิศาสตร์

ค. บอกเรื่องราวทางประวัตศิ าสตร์ ง. ระบุอายุของหลกั ฐานไวอ้ ย่างชดั เจน

19.ขอ้ ใดกลา่ วถงึ สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์

ก. เปน็ สมยั ท่มี ตี ัวหนงั สอื ใช้

ข. เปน็ สมยั ทไี่ ม่มีตวั หนงั สือใช้

ค. มกี ารถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง

ง. เปน็ สมัยข้ันกลางระหวา่ งสมยั ประวัตศิ าสตร์กบั สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์

20. หลกั ฐานท่เี ป็นลายลกั ษณ์อกั ษรท่ีเกา่ แกท่ ี่สดุ ของไทยคืออะไร

ก. จารึก ข. ตานาน

ค. จดหมายเหตุ ง. พระราชพงศาวดาร


Click to View FlipBook Version