แบบฝกึ วัดความสามารถในการคิดวเิ คราะห์
เรื่อง ประวตั ศิ าสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
คาช้ีแจง นักเรยี นอา่ นบทความ สถานการณน์ ้ีแล้ววเิ คราะห์สถานการณต์ ามประเดน็ ท่ีกาหนดใช้
บทความท่ี 1 ฟนู นั (Funan)
ฟูนันเป็นรัฐที่รุ่งเรืองอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าโขงตอนล่าง ปัจจุบันเป็นที่ต้ังของประเทศกัมพูชา
เวียดนามตอนใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย บางตอนของที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา และภาคใต้ของ
ไทย ลงมาถึงแหลมมลายู ฟูนันรวมตัวกันเป็นรัฐแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นรัฐชลประทานภายใน
ดินแดนทป่ี ระชาชนดารงชีวติ ดว้ ยการเกษตร โดยใชน้ ้าจากระบบชลประทานที่พัฒนาเป็นอย่างดี นอกจากนั้น
ฟนู ันยังมเี มอื งท่าสาหรับจอดเรือและค้าขายกับต่างประเทศ จึงมีรายได้จากการค้าและการเดินเรือ เรื่องราว
ของอาณาจักรฟูนัน จากบันทึกของจีนปรากฎว่า ได้เขียนเล่าถึงความม่ังคั่ง ความเป็นอยู่ของชุมชนท่ีเป็น
ระเบยี บ มีคุณธรรม มีการปกครองระบบกษัตริย์ มเี มอื งต่างๆมาขึ้นดว้ ยหลายเมือง มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง
มีการติดต่อต่างประเทศ ท้ังในเอเชียและโลกตะวันตก ชาวพ้ืนเมืองมีชนช้ันสูงเป็นพวกมาลาโยโพนีเซียน ชน
ชั้นล่างเป็นพวกเนกริโตและเมลานีเซีย ฟูนันมีประวัติความเป็นมา เริ่มจากการรวมตัวกันของผู้คนเป็นชุมชน
เล็กขนาดหมู่บ้านจากนั้นพัฒนาข้ึนมาจนกลายเป็นรัฐ ฟูนันมีความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีน ดังนั้น เร่ืองราว
ของอาณาจกั รฟูนันจงึ ปรากฏในเอกสารจนี เป็นจานวนมาก ทก่ี ล่าวไว้คอื เมอื งต่างๆของฟูนันมีกาแพงล้อมรอบ
มีปราสาทราชวัง และบ้านเรือนราษฎร ชาวฟูนันมีผิวดา ผมหยิก เดินเท้าเปล่า ทาการเพาะปลูก ชอบการ
แกะสลักเคร่ืองประดับ การสลักหิน มีตัวอักษรใช้ มีทาสเชลยศึก มีการค้าทองคา การค้าเงิน ค้าไหม การ
พิจารณาคดีความใช้แบบจารตี นครบาล มีแหลง่ น้าใชร้ ่วมกนั มกี ารทดน้า เพื่อการเพาะปลูก
5W1h ประเดน็ เรยี นรู้ เชือ่ มโยง
What
Where บทความน้คี วรตงั้ ช่ือเรอ่ื งว่าอยา่ งไร
Who สถานที่ ทป่ี รากฏในบทความนี้
When บคุ คลสาคญั ทอี่ ย่ใู นบทความนี้
Why ระยะเวลา ช่วงเวลาทป่ี รากฏในบทความนี้
How ปัจจยั ใดท่ีสง่ ผลตอ่ ฟนู ันในบทความน้ี
ฟนู นั ส่งผลกระทบอยา่ งไรต่อปจั จบุ ัน
แบบฝกึ วัดความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
เรือ่ ง ประวัตศิ าสตรเ์ อเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
คาช้ีแจง นักเรยี นอ่านบทความ สถานการณ์น้ีแล้ววเิ คราะห์สถานการณ์ตามประเด็นที่กาหนดใช้
บทความท่ี 2 กมั พูชา (Khmer Empire)
รัฐนครวัด สมัยคริสต์ศตวรรษท่ี 9 กษัตริย์องค์แรกๆเริ่มพัฒนาเทคนิคในการเกษตร ควบคุม
สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างศาสนสถาน อาณาจักรจึงยังไม่ขยายไปกว้างไกลมากนัก โดยได้ครอบครอง รัฐ
เล็กๆในดินแดนประเทศไทยปัจจุบัน รัฐนครวัดพัฒนาตนเองจนเป็นใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วย
ความพยายามในการเอาชนะการขาดแคลนน้า เพราะในดินแดนรัฐแม้จะมีฝนตกแต่ก็แล้งยาวนานถึง 6 เดือน
ชาวกัมพชู าจงึ ใช้เวลาหลายศตวรรษพัฒนาการเกบ็ น้า โดยพัฒนาอ่างเกบ็ นา้ (เขมรเรียก บาราย)ทาให้มีน้าใช้ใน
ฤดแู ลง้ จนกลา่ วได้วา่ ชาวนครวดั มีทักษะในงานวิศวกรรมระบบชลประทาน ทาให้พื้นที่รอบนครวัดสามารถ
ปลูกข้าวได้ถึงปีละ 3 คร้ัง พอเพียงเลี้ยงประชากร ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจท่ีทาให้ นครวัดสามารถ
รองรับจานวนประชากรจานวนมากพอท่ีจะสร้างศาสนสถานขนาดใหญ่ความเสื่อมของอาณาจักรน ครวัด
เน่ืองมาจากความสนใจในการขยายอาณาเขต โดยการทาสงคราม เช่น เข้าตีรัฐจามปาเป็นนิจ จนใน
คริสต์ศตวรรษที่ 12 ได้ปกครองดินแดนจามปาท้ังหมด การทาสงคราม การสร้างนครวัด ทาให้เกิดความ
ยงุ่ ยากขน้ึ จนราษฎรกอ่ การจลาจล ส่วนรฐั ต่างๆที่อยู่ในอานาจของนครวัด เช่น บริเวณท่ีปัจจุบันเป็นดินแดน
ประเทศไทย ลาว เวียดนาม ได้ทาสงครามปลดแอกจากนครวัด จนถึงขั้นเข้าทาลายระบบชลประทานของ
นครวัด ทาให้นครวัดเสียอานาจให้กับพวกจาม ในค.ศ.1177 อาณาจักรกัมพูชาจึงได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งใน
สมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7(ค.ศ.1181-1219)ได้ทรงรวบรวมผู้คนขับไล่พวกจามออกจากนครวัด และสร้าง
ราชธานีแห่งใหม่ข้ึนที่ “เมืองนครธม” ได้ขยายอานาจออกไปปกครองดินแดนแม่น้าโขงตอนล่าง ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ลุ่มแม่น้าโขงตอนบน และลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา โปรดให้สร้างปราสาท
บายนทเ่ี มืองนครธมเปน็ ศาสนสถานในพุทธศาสนานิกายมหายาน ยอดปราสาทเป็นพระพักตร์พระโพธิสัตว์อว
โลกิเตศวร ภาพสลักภายในปราสาทเป็นเร่ืองราวเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเขมร และภาพการทา
สงครามระหวา่ งชาวเขมรกับพวกจาม
5W1h ประเด็นเรยี นรู้ เชอ่ื มโยง
What
Where บทความนค้ี วรตั้งช่ือเรอื่ งว่าอย่างไร
Who สถานท่ี ท่ปี รากฏในบทความนี้
When บุคคลสาคัญที่อยใู่ นบทความนี้
Why ระยะเวลา ชว่ งเวลาทีป่ รากฏในบทความน้ี
How ปจั จยั ใดทีส่ ง่ ผลต่อฟนู นั ในบทความนี้
ฟนู ันส่งผลกระทบอย่างไรต่อปัจจบุ ัน