The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supawadee1234songkua, 2022-09-15 10:09:02

วิจัย ป.6 ไฟฟ้า

วิจัย ป.6 ไฟฟ้า

รายงานการวจิ ยั
เรอ่ื ง รายงานการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

โดยใช้บทเรยี นสำเร็จรูป เรอื่ ง ไฟฟ้า
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
โรงเรยี นชุมชนวัดเกาะเพชร

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช

นางสุภาวดี สงเกือ้

โรงเรยี นชุมชนวดั เกาะเพชร ตำบลเกาะเพชร อำเภอหวั ไทร
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 3

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

ก2

กิตตกิ รรมประกาศ

รายงานการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป เรอ่ื ง ไฟฟา้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นชมุ ชนวัดเกาะเพชร สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
นครศรธี รรมราช เขต 3 ผ้ศู ึกษากราบขอบครูอรทยั ยมสวัสด์ิ ท่ีกรณุ าให้คำแนะนำ ตรวจทาน
ปรบั ปรุงและแก้ไขชดุ แบบฝึกทักษะพัฒนาการเรยี นรู้ ด้วยความเอาใจใส่เปน็ อย่างดี
ขอขอบพระคุณคณะครูที่ให้การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื และใหก้ ำลงั ใจในการดำเนินการศึกษาและเกบ็ รวบรวม
ข้อมลู รวมท้ังนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนชมุ ชนวดั เกาะเพชร
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 3 ทีไ่ ด้ใหค้ วามร่วมมือในการศกึ ษาในครั้งนี้
เปน็ อยา่ งดี

ขอขอบคุณกำลงั ใจและการช่วยเหลือจากครอบครัวทกุ คน ท่ีชว่ ยเหลอื เกื้อกูลเอาใจใส่
และเป็นกำลงั ใจดว้ ยดีตลอดมา

ข3

ช่อื เรอื่ ง รายงานการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นโดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รูป เรอ่ื งไฟฟ้า
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนวัดเกาะเพชร
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต3

ผรู้ ายงาน นางสุภาวดี สงเกอ้ื
ปกี ารศึกษา 2565

บทคัดยอ่
การศึกษาครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์

(1) เพื่อเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นก่อนและหลงั เรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู
เรอ่ื ง ไฟฟา้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
(2) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นตอ่ การเรียนโดยใชบ้ ทเรียนสำเรจ็ รูป เร่อื ง ไฟฟ้า
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 กลมุ่ ตัวอยา่ งเป็นนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
โรงเรียนชมุ ชนวัดเกาะเพชร ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 20 คน
ไดม้ าโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

ผ้ศู กึ ษาได้ดำเนินการสรา้ งบทเรียนสำเร็จรูปสำเรจ็ รูป เรอื่ ง ไฟฟ้า รายวิชาวทิ ยาศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 1 เลม่ และแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรยี น
จำนวน 10 ข้อ จากนัน้ นำไปทดลอง รวบรวมข้อมูลทงั้ หมดมาวิเคราะห์ เพอื่ หาความแตกตา่ งของผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนและทำการสำรวจความพงึ พอใจของผ้เู รียนท่ีมตี ่อการเรยี น
โดยใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรปู ผลการศึกษาพบว่า 1) นกั เรยี นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ท่ีเรยี นรโู้ ดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รูป
เรอ่ื งไฟฟา้ มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียน โดยคา่ เฉลยี่ ( X ) ก่อนเรยี นมคี ่าเทา่ กบั 2.55
คิดเป็นร้อยละ 25.50 แต่หลังจัดการเรยี นรดู้ ้วยบทเรยี นสำเรจ็ รูป มคี ะแนนเฉลยี่ ( X ) สูงขน้ึ มคี ่าเทา่ กบั
6.45 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64.50 2) นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีความพงึ พอใจต่อการเรียน
โดยใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรปู เรอื่ งไฟฟา้ มคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั 4.31ซงึ่ สรุปผลไดว้ ่า
นกั เรยี นมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก

ค4

สารบัญ
บทที่ หนา้

กิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................... ก

บทคัดย่อ .......................................................................................................................... ข

สารบญั .................................................................................................................... ......... ค

บทที่ 1 บทนำ ................................................................................................................... 1

ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา ........................................................ 1

วัตถุประสงค์การศึกษา .................................................................................. 1

สมมติฐานการศึกษา ...................................................................................... 1

ขอบเขตการศึกษา .......................................................................................... 2

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ........................................................................................... 2

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ ............................................................................ 2

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง ......................................................................... 3

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี .............................. 3

แนวคดิ ทฤษฎที ่เี กี่ยวข้องกับการสร้างบทเรียนสำเร็จรปู ............................. 18

งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง ......................................................................................... 25

บทที่ 3 วิธดี ำเนินการศึกษา ............................................................................................ 28

ขอบเขตของการศกึ ษา ................................................................................... 28

เคร่อื งมือท่ีใช้ในการศกึ ษา ............................................................................. 28

การสร้างและหาคุณภาพของเคร่ืองมือ .......................................................... 28

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ................................................................................... 30

การวเิ คราะห์ข้อมลู ........................................................................................ 30

สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ..................................................................... 31

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ....................................................................................... 32

ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรยี นและ 32

หลังเรียน .........................................................................................................

ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรียน .......................................................... 34

บทที่ 5 สรุปการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ................................................ 36

สรุปการศึกษา ................................................................................................ 36

อภิปรายผล .................................................................................................... 36

ขอ้ เสนอแนะ .................................................................................................. 38

บรรณานุกรม ................................................................................................................... 39

5

บทที่ 1
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วิทยาศาสตร์เป็นสาขาวชิ าชว่ ยใหม้ นษุ ยไ์ ด้พัฒนาวิธคี ิด ท้ังความคิดเปน็ เหตเุ ปน็ ผล คิดสร้างสรรค์
คดิ วิเคราะห์ วิจารณ์ มที กั ษะสำคญั ในการ ค้นคว้าหาความรู้ มคี วามสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ
สามารถตัดสินใจโดยใชข้ ้อมูลท่ีหลากหลายและมปี ระจักษ์พยานท่ตี รวจสอบได้วิทยาศาสตร์เปน็ วฒั นธรรมของ
โลกสมัยใหม่ซึง่ เปน็ สังคมแหง่ การเรยี นร้ดู งั นั้นทุกคนจงึ จำเป็นตอ้ งได้รบั การพัฒนาใหร้ วู้ ิทยาศาสตร์เพอื่ ทจ่ี ะมี
ความรูค้ วามเข้าใจในธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยีท่มี นษุ ยส์ รา้ งสรรค์ขน้ึ สามารถนำความรไู้ ปใช้อยา่ งมเี หตผุ ลสรา้ ง
สรรค์และมคี ุณธรรผู้วิจัยได้ศึกษาสภาพปัญหาเกยี่ วกบั การเรียนการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์พบวา่ นกั เรียนขาด
ทกั ษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองการฝึกฝนทบทวนการทำการบา้ นการอา่ นตลอดจนการทำแบบฝึกหดั
และคน้ คว้าบางเนอ้ื หามไี มเ่ พียงพอกบั ความต้องการของนกั เรียนนักเรียนบางสว่ นยงั มีสมรรถภาพในการเรียนรู้
ที่ไมด่ พี อนักเรยี นบางสว่ นยงั ไมม่ ีนิสยั รักการเรียนร้เู มื่อรสู้ ภาพปญั หาแล้วกน็ ำข้อมลู ที่ไดม้ าเป็นแนวทางเสรมิ
การเรียนรู้พอจะสรปุ ได้วา่ หนังสอื หรอื แบบฝึกทักษะพัฒนาการเรยี นรหู้ มายถึงหนงั สอื ทจี่ ัดข้ึนโดยมวี ตั ถุ
ประสงคเ์ ป็นไปในทางสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนเกดิ การฝึกฝนทกั ษะในด้านต่างๆและทำให้รักในการเรยี นรู้มากข้นึ การ
วิจัยครง้ั น้ีเปน็ การศึกษาเพือ่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในรายวชิ าวิทยาศาสตร์โดยการนำบท
เรียนสำเร็จรูปมาใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการทำแบบฝึกหัดด้วยตนเองในวิชาทีค่ รสู อนเพือ่ ให้
นกั เรยี นศึกษาหาความรู้และมีการชว่ ยเหลือกันบ้างเล็กนอ้ ยและเพ่ือใหน้ ักเรยี นเกิดความสนกุ สนานเพลิดเพลิน
เกิดความซาบซงึ้ ในคณุ ค่าของการเรยี นรู้อกี ทั้งยังเปน็ การช่วยเสรมิ สรา้ งทกั ษะและนิสยั ของการเรียนทีด่ ใี ห้แก่
นกั เรียน

วัตถุประสงค์การศึกษา
1.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียนและหลงั เรียนของนักเรยี นทเี่ รียนโดยใช้

บทเรยี นสำเรจ็ รปู เรอื่ ง ไฟฟ้า
2. เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นต่อการเรียนโดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู เรอื่ ง ไฟฟ้า

สมมติฐานการศกึ ษา
1. นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรียน
2. นกั เรยี นมีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รูปในระดบั มาก

6

ขอบเขตการศกึ ษา
1. กลมุ่ ตวั อย่าง ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาเป็นนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชมุ ชนวัดเกาะเพชร

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565
จำนวนนักเรยี น 20 คน

2.เน้อื หาท่ใี ช้ในบทเรียนสำเร็จรูปเร่ืองไฟฟ้ามขี อบข่ายตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้
ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนชุมชนวดั เกาะเพชรสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3

3. ตัวแปรทีใ่ ช้ศกึ ษา คือ
3.1 ตัวแปรต้น คอื บทเรียนสำเรจ็ รูป เรอื่ งไฟฟา้
3.2ตวั แปรตามคือผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนก่อนเรยี นและหลังเรียนความพงึ พอใจต่อ
การเรยี นโดยใช้บทเรยี นสำเร็จรปู
นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
บทเรยี นสำเรจ็ รปู หมายถึง บทเรยี นท่ีสร้างข้นึ เรื่องไฟฟ้า โดยแบง่ เนื้อหาออกเปน็ ส่วน ๆ มี
แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น กรอบเนื้อหา กรอบคำถาม 8 กรอบและเฉลยท้ายกรอบ เพ่ือชว่ ยให้ผเู้ รยี น
สามารถเรยี นร้ไู ด้ด้วยตนเอง ตามข้ันตอนการฝึกและสามารถทบทวนความรู้ไดเ้ ม่ือไมม่ ีความเข้าใจเน้ือหานั้น
ๆ จนเกดิ ความกระจา่ งโดยมีครคู อยใหค้ ำแนะนำจนครบทุกบทเรยี น
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
แบบทดสอบท่ีผวู้ ิจยั จัดทำข้นึ และผ่านกระบวนการการทดลอง แก้ไข ปรับปรุงจากผู้เช่ยี วชาญ เพอื่ ใช้
วดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนโดยมเี นอื้ หาคลอบคลุมทกุ แผนการจัดการเรียนรู้ เปน็ ข้อสอบปรนัยชนิด
เลือกตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 10 ขอ้
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนทีไ่ ด้จากการทำแบบทดสอบ ทั้ง
กอ่ นเรยี น และหลงั เรยี น
นกั เรียน หมายถงึ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนชุมชนวัดเกาะเพชร
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
จำนวนนักเรยี น 20 คน
ความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รปู หมายถงึ
การวดั ผลและประเมินผลนักเรยี นโดยใช้ระดบั ความพึงพอใจในการเรยี นโดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รูป

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ

1. นกั เรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เรอ่ื งไฟฟ้า สงู ขึ้น
2. นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจตอ่ การเรียนโดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู เร่ืองไฟฟ้า

7

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้อง

จากการศึกษาเรื่องการพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างเรยี นโดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู เร่ืองไฟฟ้ารายวชิ าวิทยา
ศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่6ผรู้ ายงานได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง
หรอื สอดคล้องกับเรอ่ื งท่รี ายงาน ดังต่อไปนี้
1.หลกั สตู รกลุม่ สาระการวทิ ยาศาสตร์โรงเรียนชมุ ชนวัดเกาะเพชร
แนวทางตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)
2. แนวคดิ ทฤษฎีทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการสรา้ งบทเรียนสำเรจ็ รูป

2.1 ความหมายบทเรยี นสำเรจ็ รปู
2.2 ลกั ษณะของบทเรยี นสำเรจ็
2.3 ประเภทของบทเรียนสำเร็จรูป
2.4 ประโยชน์และคุณค่าของบทเรยี นสำเร็จรูป
2.5 ทฤษฎีจิตวทิ ยาท่ีใชใ้ นบทเรยี นสำเร็จรปู
2.6 ขน้ั ตอนการสรา้ งบทเรียนสำเรจ็ รูป
2.7 วิธีดำเนนิ การสร้างบทเรียนสำเรจ็ รูป
2.8 ข้อดีของบทเรยี นสำเร็จรปู
2.9 ขอ้ จำกดั ของบทเรียนสำเร็จรปู
2.10 การหาประสทิ ธิภาพของบทเรยี นสำเรจ็ รปู
3. งานวิจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
3.1 งานวจิ ัยในประเทศ
3.2 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ
1. หลักสตู รกลุม่ สาระการวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นชุมชนวัดเกาะเพชร พุทธศกั ราช 2564
แนวทางตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช
2560)
ความนำ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) นี้ได้กำหนดสาระการเรยี นรูอ้ อกเปน็ 8 สาระ
ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
สาระท่ี 4 สาระท่ี 5 เคมี สาระท่ี 6 ฟสิ ิกส์ สาระที่ 7 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ และสาระที่ 8 เทคโนโลยี
ซงึ่ องคป์ ระกอบของหลักสตู รทั้งในดา้ นของเน้ือหาการจดั การเรยี นการสอนและการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้น้นั มคี วามสำคญั อยา่ งยง่ิ ในการวางรากฐานการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรข์ องผู้เรียนในแต่ละระดับชัน้ ให้มคี วา
ม ตอ่ เน่ืองเชอื่ มโยงกนั ต้งั แตช่ ้ันประถมศึกษาปที ่1ี จนถึงช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท6่ี สำหรบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้

8

วิทยาศาสตร์ได้กำหนดตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางท่ีผ้เู รยี นจำเปน็ ต้องเรยี นเปน็ พนื้ ฐานเพื่อ
ให้สามารถนำความรนู้ ้ีไปใช้ในการดำรงชีวติ หรือศึกษาต่อในวิชาชีพท่ตี อ้ งใช้วิทยาศาสตร์ได้โดยจดั เรยี งลำดับ
ความยากง่ายของเนือ้ หาท้ัง8สาระในแตล่ ะระดับชนั้ ให้มกี ารเช่ือมโยงความรูก้ ับกระบวนการเรยี นรู้และการจัด
กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่สี ่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นพฒั นาความคิดทง้ั ความคิดเปน็ เหตุเป็นผลคิดสรา้ งสรรค์
คดิ วิเคราะห์วิจารณ์มที ักษะท่ีสำคญั ทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะในศตวรรษท่ี21ในการ
ค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรดู้ ้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรูส้ ามารถแก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบสามารถ
ตัดสนิ ใจโดยใช้ข้อมลู หลากหลายและประจักษ์พยานทีต่ รวจสอบได้กระทรวงศึกษาธกิ ารตระหนกั ถึงความ
สำคัญของการจัดการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ท่ีมุ่งหวังใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ติ ่อผ้เู รียนมากทสี่ ุดจึงมอบหมายใหส้ ถาบันส่
งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร(์ สสวท.)จัดทำตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ขึ้น
เพ่อื ให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ได้ใช้เปน็ แนวทางในการพฒั นา หนงั สอื เรยี น คู่มอื ครู
สอื่ ประกอบการเรียนการสอนตลอดจนการวดั และประเมินผลโดยตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่
สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ
พ.ศ.2560)ที่จดั ทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุงใหม้ คี วามสอดคล้องและเชื่อมโยงกนั ภายในสาระการเรยี นรูเ้ ดียวกันและ
ระหวา่ งสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตลอดจนการเช่อื มโยงเน้ือหาความร้ทู าง
วทิ ยาศาสตรก์ ับคณิตศาสตร์ด้วยนอกจากนย้ี ังไดป้ รับปรุงเพื่อใหม้ ีความทนั สมัยต่อการเปล่ยี นแปลงและ
ความเจริญกา้ วหนา้ ของวิทยาการต่าง ๆ และทัดเทยี มกับนานาชาติ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรส์ รุปเปน็
แผนภาพได้ดงั นี้

แผนภาพ สาระ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)

สาระท่ี 2
วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
- มาตรฐาน ว 2.1-ว 2.3

สาระท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระที่ 3
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
- มาตรฐาน ว 1.1-ว 1.3
- มาตรฐาน ว 3.1-ว 3.3

สาระที่ 4
เทคโนโลยี
- มาตรฐาน ว 4.1-ว 4.2

9

เปา้ หมายของการจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต

สำรวจตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบ หลักการ
แนวคดิ และทฤษฎีดังน้นั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรยี นไดเ้ ป็นผู้เรียนรแู้ ละค้นพบด้วยตนเอง
มากทีส่ ุด นนั่ คือใหไ้ ด้ทง้ั กระบวนการและองคค์ วามรู้ ต้ังแตว่ ัยเริม่ แรกกอ่ นเขา้ เรียน เม่ืออย่ใู นสถานศึกษา
และเม่ือออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชพี แลว้ การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในสถานศึกษา
มีเปา้ หมายสำคญั ดังนี้

1. เพอื่ ให้เขา้ ใจหลักการ ทฤษฎีที่เป็นพน้ื ฐานในวิทยาศาสตร์
2. เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจขอบเขต ธรรมชาติและขอ้ จำกัดของวิทยาศาสตร์
3. เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะท่สี ำคญั ในการศึกษาคน้ คว้าและคิดค้นทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
4. เพอ่ื พฒั นากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทกั ษะ
ในการส่ือสาร และความสามารถในการตดั สินใจ
5. เพอ่ื ใหต้ ระหนักถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษยแ์ ละสภาพแวดล้อม
ในเชิงที่มอี ทิ ธิพลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน
6. เพือ่ นำความรคู้ วามเข้าใจในเร่อื งวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ต่อสังคม
และการดำรงชีวติ
7. เพอ่ื ใหเ้ ปน็ คนมจี ิตวทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการ

เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้
กระบวนการในการสบื เสาะหาความรู้และแกป้ ัญหาที่หลากหลาย ใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ ทุกขั้นตอน
มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยกำหนดสาระสำคัญ
ดังน้ี

✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ
และวิวัฒนาการของส่งิ มีชวี ิต

✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร
การเคลอ่ื นท่ี พลังงาน และคลนื่

10

✧ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ เรียนร้เู ก่ยี วกบั องค์ประกอบของเอกภพ ปฏสิ ัมพนั ธ์
ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลย่ี นแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ
เปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลตอ่ สง่ิ มีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม

✧ เทคโนโลยี
● การออกแบบและเทคโนโลยีเรยี นรู้เกีย่ วกับเทคโนโลยเี พือ่ การดำรงชีวติ ในสงั คมที่มี
การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความร้แู ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อน่ื ๆ
เพอ่ื แก้ปัญหาหรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม
เลอื กใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่งิ แวดล้อม
● วทิ ยาการคำนวณ เรียนร้เู กยี่ วกับการคิดเชงิ คำนวณ การคดิ วเิ คราะหแ์ กป้ ญั หา
เปน็ ข้ันตอนและเป็นระบบ ประยุกตใ์ ชค้ วามรดู้ ้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาท่พี บในชีวติ จริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ ไมม่ ีชวี ิต กับส่ิงมชี ีวติ

และความสมั พนั ธร์ ะหว่างส่งิ มีชีวิตกับสิง่ มชี ีวติ ตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปลยี่ นแปลงแทนท่ใี นระบบนเิ วศ ความหมายของ ประชากร
ปญั หาและผลกระทบที่มีต่อทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่งิ แวดล้อม
รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของส่ิงมีชีวติ หน่วยพนื้ ฐานของส่งิ มชี วี ิต การลำเลยี งสารเข้า
และออกจากเซลลค์ วามสมั พันธ์ของโครงสร้าง และหน้าทข่ี องระบบต่าง ๆ
ของสัตว์และมนุษย์ทท่ี ำงานสัมพันธก์ นั ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าท่ี
ของอวัยวะตา่ งๆ ของพืชทท่ี ำงานสัมพนั ธ์กัน รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคญั ของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมทม่ี ีผลต่อสิง่ มีชีวติ ความหลากหลาย
ทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวติ รวมท้ังนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบัตขิ อง
สสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติ
ของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะ
การเคลอื่ นทแี่ บบต่าง ๆ ของวัตถุรวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพันธ์

11

ระหว่างสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวิตประจำวนั ธรรมชาติของ คลืน่ ปรากฏการณ์ท่ี
เกยี่ วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทั้ง นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ

กาแล็กซีดาวฤกษแ์ ละระบบสุริยะ รวมทัง้ ปฏสิ ัมพนั ธภ์ ายในระบบสุรยิ ะ
ท่สี ง่ ผลตอ่ ส่งิ มชี ีวติ และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง ภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณพี ิบตั ภิ ยั กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก
รวมท้งั ผลตอ่ สงิ่ มีชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พื่อการดำรงชีวติ ในสังคมที่มีการเปลีย่ นแปลง
อยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรแู้ ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตรแ์ ละ ศาสตรอ์ น่ื ๆ
เพ่อื แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคดิ สรา้ งสรรค์
ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่งิ แวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเปน็
ข้ันตอนและเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแกป้ ัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจริยธรรม

สาระ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วัดชน้ั ปี

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ

ความสมั พันธ์ระหว่างส่งิ ไม่มชี ีวติ กบั สง่ิ มีชวี ติ และความสัมพันธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวติ กับส่ิงมชี วี ติ ต่าง ๆ

ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนทใี่ นระบบนิเวศ

ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบทมี่ ีต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม

แนวทางในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อมรวมท้ังนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ

-- - -

12

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องส่ิงมชี วี ติ หน่วยพน้ื ฐานของสงิ่ มชี วี ติ การลำเลียงสารผ่านเซลล์
ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าทีข่ องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ทท่ี ำงานสัมพันธก์ นั

ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าทีข่ องอวัยวะต่าง ๆ
ของพชื ทีท่ างานสมั พนั ธ์กันรวมทงั้ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

ชนั้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้
องถนิ่

ป.6 ว 1.2 ป - สารอาหารทีอ่ ยใู่ นอาหารมี 6 ประเภท อาหารทีน่ ักเรยี น

6/1ระบุสารอาหารและบอก ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั เกลือแร่ รับประทานทโี่ รง

ประโยชน์ของสารอาหารแต่ วิตามินและนำ้ เรียนและอาหาร

ละประเภทจากอาหารทต่ี น - อาหารแตล่ ะชนดิ ประกอบด้วยสารอาหาร ที่ ประเภทต่าง ๆ

เองรบั ประทาน แตกตา่ งกนั ในท้องถิน่

ว 1.2 ป อาหารบางอยา่ งประกอบด้วยสารอาหาร -

6/2บอกแนวทางในการ ประเภทเดยี ว -

เลือกรบั ประทานอาหารให้ อาหารบางย่างประกอบดว้ ยสารอาหารมากกวา่

ได้สารอาหารครบถ้วนในสดั หนง่ึ ประเภท

สว่ นท่เี หมาะสมกับเพศและ - สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชน์ตอ่

วยั รวมทั้งความปลอดภยั ต่อ รา่ งกายแตกตา่ งกนั โดยคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี

สุขภาพ และไขมัน

ว 1.2 ป 6/3 เปน็ สารอาหารท่ใี ห้พลงั งานแก่รา่ งกาย

ตระหนกั ถึงความสำคัญของ สว่ นเกลอื แร่ วิตามนิ และน้ำเปน็

สารอาหาร สารอาหารที่ไม่ให้พลงั งานแก่รา่ งกาย

โดยการเลอื กรับประทาน แต่ช่วยใหร้ า่ งกายทำงานได้เป็นปกติ –

อาหารทม่ี สี ารอำหารครบ การรับประทานอาหารเพื่อให้ร่างกายเจรญิ

ถว้ นในสดั สว่ นทีเ่ หมาะสม เติบโตมกี ารเปลี่ยนแปลงของรา่ งกายตามเพศ

กับ เพศและวัย และวัย และ มสี ุขภาพดี

รวมทั้งปลอดภัยต่อสขุ ภาพ จำเปน็ ต้องรับประทานใหไ้ ด้พลงั งานเพยี งพอ

กับความต้องการของร่างกาย

และให้ไดส้ ารอาหารครบถ้วนในสดั สว่ นที่

เหมาะสมกบั เพศ และวัย

รวมทัง้ ต้องคำนงึ ถงึ ชนิดและปรมิ าณของวตั ถุ

เจือปนในอาหารเพื่อความปลอดภยั ต่อสุขภาพ

13

ป.6 ว 1.2 ป 6/4 - ระบบยอ่ ยอาหารประกอบด้วยอวัยวะตา่ ง ๆ -

สร้างแบบจำลองระบบย่อย ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร

อาหาร ลำไสเ้ ลก็ ลำไสใ้ หญ่ ทวารหนัก ตับ

และบรรยายหน้าท่ีของ และตบั อ่อน

อวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร ซึง่ ทำหนา้ ทร่ี ่วมกันในการย่อยและดูดซึม

รวมท้งั อธิบายการย่อยอาหา สารอาหาร

รและการดูดซึมสารอาหาร - ปาก

ว 1.2 ป 6/5 มฟี ันช่วยบดเคย้ี วอำหารให้มีขนาดเลก็ ลงและมี

ตระหนักถึงความสำคัญของ ลิ้นช่วยคลกุ เคลา้ อาหารกับนำ้ ลาย ในนำ้ ลาย

ระบบย่อยอาหาร มีเอนไซมย์ ่อยแป้งให้เป็นน้ำตาล

โดยการบอกแนวทางในการ – หลอดอาหาร

ดูแลรักษาอวยั วะในระบบ ทำหน้าทล่ี ำเลียงอาหารจากปาก

ย่อยอาหารให้ทำงานเป็น ไปยงั กระเพาะอาหาร

ปกติ ภายในกระเพาะอาหารมกี ารย่อยโปรตีนโดย

กรดและเอนไซมท์ ี่สรา้ งจากกระเพาะอาหาร

- ลำไสเ้ ลก็

มเี อนไซม์ทสี่ รา้ งจากผนงั ลำไส้เล็กเองและจาก

ตับออ่ นที่ช่วยยอ่ ยโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต

และไขมัน โดยโปรตนี คาร์โบไฮเดรต

และไขมันทีผ่ า่ นการยอ่ ยจนเปน็ สารอาหาร

ขนาดเลก็ พอทจ่ี ะ ดดู ซึมได้ รวมถึงน้ำ เกลือแร่

และวติ ามนิ จะถกู ดดู ซึมทผี่ นังลำไสเ้ ลก็

เข้าสกู่ ระแสเลือด เพอื่ ลำเลียงไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ

ของรา่ งกาย ซงึ่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต

และไขมันจะถูกนำไปใชเ้ ปน็ แหล่งพลังงาน

สำหรบั ใช้ในกิจกรรมตา่ ง ๆ สว่ นนำ้ เกลือแร่

และวิตามินจะช่วยใหร้ ่างกายทำงานได้เป็น

ปกติ

-ตบั

สรา้ งนำ้ ดแี ลว้ ส่งมายังลำไสเ้ ล็กช่วยใหไ้ ขมัน

แตกตวั

14

- ลำไสใ้ หญ่
ทำหนา้ ท่ดี ูดน้ำและเกลือแร่
เปน็ บริเวณทีม่ ีอาหารท่ยี ่อยไมไ่ ด้
หรอื ย่อยไมห่ มด เปน็ กากอาหาร
ซ่งึ จะถูกกำจัดออกทางทวารหนกั
- อวัยวะตา่ ง ๆ ในระบบย่อยอาหาร
มคี วามสำคญั จงึ ควรปฏบิ ัติตน
ดแู ลรักษาอวยั วะให้ทำงานเป็นปกติ

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม

สารพนั ธุกรรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธุกรรมทีม่ ผี ลต่อสิง่ มีชีวิต

ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสงิ่ มชี วี ติ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้อง

ถน่ิ

-- - -

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร

การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้

ท้องถน่ิ

ป.6 ว 2.1 ป - สารผสมประกอบดว้ ยสารตั้งแต่ 2

6/1อธิบายและเปรียบเทียบ ชนิดข้นึ ไปผสมกนั เช่น น้ำมนั ผสมนำ้

การแยกสารผสม ขา้ วสารปนกรวดทราย วธิ ีการ

โดยการหยิบออก การร่อน ท่ีเหมาะสมในการแยกสารผสมขึ้นอยู่กับลกั ษณะ

การใชแ้ มเ่ หล็กดึงดูด และสมบตั ิของสารทีผ่ สมกันถ้าองคป์ ระกอบของ

การรนิ ออก การกรอง สารผสมเป็นของแขง็ กบั ของแขง็ ท่ีมีขนาดแตก

และการตกตะกอน ต่างกันอย่างชัดเจนอาจใช้วธิ ีการหยบิ ออกหรือ

โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ การร่อนผ่านวัสดุ ทมี่ ีรู

รวมท้ังระบวุ ธิ แี กป้ ัญหาใน ถ้ำมีสารใดสารหน่ึงเปน็ สารแมเ่ หลก็ อาจใช้วธิ ี 15

ชวี ิตประจำวนั เกยี่ วกับการ การใชแ้ ม่เหล็กดึงดูดถ้าองค์ประกอบเปน็ ของแขง็ สาระการ
เรียนรทู้ ้องถ่นิ
แยกสาร ทไ่ี ม่ละลายในของเหลว อาจใช้วธิ กี ารรนิ ออก -

การกรอง หรอื การตกตะกอน

ซึ่งวธิ กี ารแยกสารสามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ น

ชวี ติ ประจำวนั ได้

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุ

ลกั ษณะการเคล่อื นท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.6 ว 2.2 ป 6/1 - วัตถุ 2 ชนิดท่ผี ่านการขัดถูแลว้ เมื่อนำเข้าใกล้กนั

อธบิ ายการเกดิ และผลของ อาจดงึ ดดู หรือผลกั กนั แรงท่ีเกิดขนึ้ นี้เป็นแรงไฟฟ้า

แรงไฟฟา้ ซึ่งเกิดจากวตั ถทุ ่ี ซงึ่ เปน็ แรงไม่สัมผัส เกิดข้ึนระหวา่ งวัตถุท่มี ปี ระจุไฟฟ้า

ผ่านการขดั ถูโดยใชห้ ลกั ฐาน ซึง่ ประจุไฟฟา้ มี 2 ชนิด คอื

เชงิ ประจักษ์ ประจุไฟฟา้ บวกและประจุไฟฟ้าลบ

วตั ถทุ ่ีมปี ระจุไฟฟา้ ชนิดเดียวกนั ผลักกัน

ชนดิ ตรงขา้ มกันดึงดดู กนั

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน

ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลนื่
ปรากฏการณ์ท่เี กยี่ วข้องกับเสียง แสง และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการ
เรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
ป.6 ว 2.3 ป 6/1 - วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายประกอบด้วย -

ระบุส่วนประกอบและบรรยายหน้า แหล่งกำเนดิ ไฟฟ้า สายไฟฟ้า

ท่ขี องแตล่ ะส่วนประกอบของวงจร และเคร่ืองใช้ไฟฟา้ หรืออปุ กรณ์ไฟฟา้

ไฟฟา้ อย่างง่ายจากหลักฐานเชิง แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ เชน่ ถ่านไฟฉาย หรอื แบตเตอรี่

ประจกั ษ์ ทำหนา้ ทใี่ ห้พลงั งานไฟฟา้

16

ว 2.3 ป 6/2 สายไฟฟ้าเปน็ ตัวนำไฟฟ้าทำหนา้ ทีเ่ ช่ือมต่อระหวา่ ง

เขยี นแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟา้ แหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้า และเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ เขา้ ดว้ ยกนั

อย่างงา่ ย เคร่อื งใช้ไฟฟ้ามหี น้าท่เี ปลีย่ นพลังงานไฟฟา้ เปน็

พลังงานอนื่

ว 2.3 ป 6/3 - เม่ือนำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อ

ออกแบบกำรทดลองและทดลอง เรียงกนั โดยใหข้ ้ัวบวกของเซลล์ไฟฟา้ เซลล์หนึ่งต่อ

ด้วยวิธีทเ่ี หมาะสมในการอธบิ ายวิธี กบั ขว้ั ลบของอีกเซลล์หนึง่ เป็นการตอ่ แบบอนุกรม

การและผลของการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า ทำให้มีพลังงานไฟฟ้าเหมาะสมกบั เคร่ืองใช้ไฟฟา้

แบบอนกุ รม ซึ่งการต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรมสามารถนำไปใช้

ว 2.3ป 6/4 ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน เชน่

ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรู้ การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ในไฟฉาย

ของการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนกุ รม

โดยบอกประโยชน์และการประยุก

ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

ว 2.3ป 6/5 - การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมเม่ือ

ออกแบบการทดลองและทดลอง ถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนึ่งออกทำใหห้ ลอด

ดว้ ยวิธีที่เหมาะสมในการอธบิ าย ไฟฟา้ ทเ่ี หลือดับท้ังหมดสว่ นการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบ

การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและ ขนาน เม่อื ถอดลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนง่ึ ออก

แบบขนาน หลอดไฟฟ้าที่เหลือกย็ ังสวา่ งไดก้ ารต่อหลอดไฟฟา้

ว 2.3 ป 6/6 แต่ละแบบสามารถนำไปใช้ ประโยชนไ์ ด้ เชน่

ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ การต่อหลอดไฟฟ้าหลายดวงในบา้ นจงึ ต้องต่อหลอด

ของการต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รม ไฟฟา้ แบบขนานเพ่ือเลือกใชห้ ลอดไฟฟา้ ดวงใดดวง

และแบบขนาน โดยบอกประโยชน์ หนงึ่ ได้ตามตอ้ งการ

ข้อจำกัดและการประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิต

ประจำวัน

ว 2.3 ป 6/7 อธบิ ายการเกิดเงามดื เม่ือนำวตั ถุทบึ แสงมาก้ันแสงจะเกิดเงาบนฉากรับ

เงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ์ แสงทีอ่ ย่ดู า้ นหลงั วัตถโุ ดยเงามรี ูปรา่ งคลา้ ยวัตถุที่ทำ

ว 2.3 ป ให้เกดิ เงาเงามวั เปน็ บรเิ วณที่มีแสงบางสว่ นตกลงบน

6/8เขยี นแผนภาพรงั สีของแสง ฉากสว่ นเงามืดเปน็ บรเิ วณทไ่ี มม่ ีแสงตกลงบนฉาก

แสดงการเกิดเงามืดเงามวั เลย

17

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ

กาแลก็ ซดี าวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะรวมทั้งปฏิสมั พันธ์ภายในระบบสุริยะทส่ี ง่ ผลต่อส่ิงมีชีวิตและการประยกุ ต์

ใช้เทคโนโลยีอวกาศ

ชั้น ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการ
เรยี นรทู้ ้องถิน่

ป.6 ว 3.1 ป 6/1 - เม่อื โลกและดวงจนั ทร์ -

สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ าย โคจรมาอยใู่ นแนวเส้นตรงเดยี วกนั กบั ดวงอาทิตยใ์ น

การเกดิ ระยะทางที่เหมาะสม ทำให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์

และเปรยี บเทียบปรากฏการ เงาของดวงจนั ทรท์ อดมายังโลกผูส้ ังเกตท่ีอยู่บริเวณเงา

ณส์ รุ ยิ ปุ ราคาและ จะมองเห็นดวงอาทิตยม์ ดื ไปเกดิ ปรากฏการณส์ ุริยปุ

จันทรุปราคา ราคาซ่งึ มีทง้ั สุริยปุ ราคาเตม็ ดวง สุรยิ ปุ ราคาบางส่วน

และสุริยปุ ราคาวงแหวนหากดวงจนั ทรแ์ ละโลกโคจร

มาอย่ใู นแนวเส้นตรงเดียวกนั กบั ดวงอาทิตย์

แล้วดวงจันทร์เคลื่อนทผ่ี ่านเงาของโลก

จะมองเห็นดวงจันทร์มดื ไปเกิดปรากฏการณจ์ นั ทรปุ

ราคา ซ่งึ มีทั้งจนั ทรปุ ราคาเต็มดวงและ

จันทรุปราคาบางส่วน

ว 3.1 ป 6/2 เทคโนโลยีอวกาศเร่มิ จากความต้องการของมนุษย์ใน -

อธิบายพฒั นาการของเทค การสำรวจวตั ถทุ อ้ งฟ้าโดยใช้ตาเปล่า กล้อง-

โนโลยอี วกาศ โทรทรรศนแ์ ละได้พัฒนาไปสู่การขนส่งเพ่อื สำรวจ

และยกตัวอยา่ งการนำเทค อวกาศดว้ ยจรวดและยานขนส่งอวกาศและยังคง

โนโลยอี วกาศมาใช้ พฒั นาอยา่ งต่อเนื่องปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยอี วกาศ

ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน บางประเภทมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน เช่น

จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ การใช้ดาวเทยี มเพือ่ การสือ่ สาร การพยากรณอ์ ากาศ

หรือการสำรวจทรัพยากรธรรมชำติการใช้อุปกรณ์

วัดชพี จรและการเตน้ ของหวั ใจ หมวกนิรภัย ชุดกฬี า

18

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง

ภายในโลกและบนผวิ โลกธรณีพบิ ัตภิ ยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลก

รวมทั้งผลต่อส่ิงมชี วี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม

ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการ
เรยี นรู้ทอ้ งถิ่น

ป.6 ว 3.2 ป - หินเป็นวสั ดุแข็งเกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชำติ ประกอบ - หินทพ่ี บในท้องถ่นิ

6/1เปรียบเทยี บ ดว้ ยแรต่ ้ังแต่หนึ่งชนดิ ขึ้นไป และทวั่ ๆ ไป

กระบวนการเกดิ หนิ สามารถจำแนกหนิ ตำมกระบวนการเกิดได้เป็น 3

อคั นี หินตะกอน ประเภท ได้แก่ หนิ อัคนี หินตะกอน และหนิ แปร

และหินแปรและ - หินอคั นีเกดิ จากการเย็นตวั ของแมกมา เนื้อหิน

อธบิ ายวัฏจักรหินจาก มีลักษณะเป็นผลกึ ท้ังผลกึ ขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก

แบบจำลอง บางชนิดอาจเป็นเนื้อแก้ว หรือมรี ูพรนุ

- หินตะกอน

เกดิ จากการทบั ถมของตะกอนเมอื่ ถูกแรงกดทับและ

มสี ารเช่อื มประสานจึงเกดิ เป็นหินเนื้อหินกลมุ่ น้ีส่วนใหญ่

มีลักษณะเปน็ เมด็ ตะกอนมที ั้งเนื้อหยาบและเน้ือ

ละเอยี ดบางชนิดเป็นเนื้อผลกึ ท่ยี ดึ เกาะกนั เกิดจากการ

ตกผลึกหรือตกตะกอนจากนำ้ โดยเฉพาะน้ำทะเล

บางชนิดมลี กั ษณะเปน็ ช้ัน ๆ จึงเรียกอีกชือ่ วา่ หนิ ช้นั

- หนิ แปร

เกดิ จากการแปรสภาพของหินเดมิ ซงึ่ อาจเป็นหนิ อัคนี

หนิ ตะกอน หรอื หินแปร โดยการกระทำของความร้อน

ความดัน และปฏกิ ิริยาเคมี

เน้อื หินของหนิ แปรบางชนิดผลึกของแรเ่ รียงตวั ขนานกนั

เป็นแถบ บางชนิดแซะออกเป็นแผน่ ได้ บางชนิด

เป็นเนอ้ื ผลึกท่ีมคี วามแขง็ มาก

- หนิ ในธรรมชาติทัง้ ประเภท

มกี ารเปล่ยี นแปลงจากประเภทหน่ึงไปเป็นอีกประเภท

หนึง่ หรอื ประเภทเดิมได้

โดยมีแบบรปู การเปลี่ยนแปลงคงทแ่ี ละต่อเนอ่ื งเป็น

วฏั จกั ร

19

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการ
เรียนร้ทู อ้ งถ่ิน

ป.6 ว 3.2 ป 6/2 หินและแรแ่ ต่ละชนดิ มลี กั ษณะและสมบัตแิ ตกตา่ ง -

บรรยายและยกตวั อยา่ งการ กัน มนุษยใ์ ช้ประโยชนจ์ ากแร่ในชีวิตประจำวนั หนิ และแรท่ มี่ ี

ใช้ประโยชนข์ องหนิ และแร่ ในลกั ษณะต่าง ๆ เช่น นำแรม่ าทำเคร่ืองสำอาง ในท้องถิน่

ในชวี ิตประจำวนั จากข้อมลู ยำสฟี นั เครื่องประดบั อุปกรณท์ างการแพทย์ และในจังหวดั -

ท่รี วบรวมได้ และนำหนิ มาใชใ้ นงานก่อสรา้ งต่าง ๆ เป็นตน้

ว 3.2 ป - ซากดกึ ดำบรรพเ์ กิดจากการทบั ถม - ซากดึก

6/3สร้างแบบจำลองท่ี หรอื การประทบั รอยของส่งิ มีชวี ิตในอดตี ดำบรรพท์ ม่ี ี

อธบิ ายการเกดิ จนเกดิ เป็นโครงสรา้ งของซากหรือร่องรอยของสิ่งมี ในทอ้ งถ่นิ

ซากดกึ ดำบรรพ์และคาดคะ ชวี ิตทีป่ รากฏอย่ใู นหินในประเทศไทยพบซากดึก และสถานท่ี

เนสภาพแวดล้อมในอดีต ดำบรรพ์ ทีห่ ลากหลาย เชน่ พืช ปะกำรัง หอย ปลา ตา่ ง ๆ

ของซากดึกดำบรรพ์ เตา่ ไดโนเสาร์ และรอยตนี สตั ว์ ในจังหวัด

- ซากดึกดำบรรพ์สามารถใช้เป็นหลกั ฐานหนงึ่ ทช่ี ว่ ย

อธิบายภาพแวดลอ้ มของพนื้ ที่ในอดตี ขณะเกิดสง่ิ มี

ชีวิตน้ัน เชน่ หากพบซากดกึ ดำบรรพ์ของ หอยนำ้ จดื

สภาพแวดล้อมบริเวณน้นั อาจเคยเปน็ แหล่งนำ้ จืดมา

กอ่ น และหากพบซากดึกดำบรรพ์ของพชื

สภาพแวดล้อมบรเิ วณนั้นอาจเคยเป็นปา่ มากอ่ น

นอกจากนซ้ี ากดึกดำบรรพ์ยังสามารถใชร้ ะบุอายขุ อง

หินและเป็นข้อมูลในการศึกษาววิ ัฒนาการของส่งิ มี

ชวี ิต

ว 3.2 ป 6/5 - มรสมุ เปน็ ลมประจำฤดูเกดิ บรเิ วณเขตร้อนของโลก -

อธิบายผลของมรสุมต่อการ ซึ่งเปน็ บริเวณกว้างระดบั ภูมิภาค

เกดิ ฤดูของประเทศไทย ประเทศไทยได้รบั ผลจากมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ

จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ในช่วงประมาณกลางเดือนตลุ ำคมจนถึงเดือน

กุมภาพันธท์ ำให้เกิด ฤดูหนาว

และได้รบั ผลจากมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ในชว่ ง

ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงกลางเดอื น

ตุลำคมทำให้เกิดฤดูฝนส่วนชว่ งประมาณกลางเดือน

กุมภาพันธ์จนถงึ กลางเดือนพฤษภาคมเป็นช่วง

เปล่ียนมรสมุ และประเทศไทยอยูใ่ กลเ้ ส้นศนู ย์สูตร

แสงอาทติ ย์เกือบต้งั ตรงและต้ังตรงประเทศไทย

20

ในเวลาเทย่ี งวันทำใหไ้ ด้รบั ความร้อนจำกดวงอาทติ ย์

อย่างเตม็ ที่อากาศจงึ รอ้ นอบอ้าวทำใหเ้ กดิ ฤดูรอ้ น

ป.6 ว 3.2 ป 6/6 - นำ้ ท่วม การกดั เซาะชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว - ภยั ธรรมชาติ

บรรยายลักษณะและผลกระ และ สึนามิ และธรณพี ิบัติ

ทบของ น้ำท่วม มผี ลกระทบต่อชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ มแตกต่างกัน ภัยทอี่ าจ

การกดั เซาะชายฝ่ัง ดนิ ถลม่ - มนษุ ย์ควรเรียนรู้วธิ ปี ฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภัย เชน่ เกิดในท้องถน่ิ

แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ ติดตามขา่ วสารอย่างสมำ่ เสมอ เตรยี มถุงยังชีพ หรอื จังหวัด

ว 3.2 ป ใหพ้ รอ้ มใช้ตลอดเวลา ใกลเ้ คยี ง

6/7ตระหนักถงึ ผลกระทบ และปฏบิ ัตติ ามคำส่ังของผูป้ กครองและเจา้ หน้าท่ี

ของภยั ธรรมชำติและธรณี อย่างเคร่งครดั เม่ือเกิดภยั ทางธรรมชำตแิ ละธรณี

พิบัตภิ ัยโดยนำเสนอแนว พิบัติภยั

ทางในการเฝา้ ระวังและ

ปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภยั จาก

ภยั ธรรมชาติและธรณีพบิ ัติ

ภยั ทอี่ าจเกดิ ในท้องถนิ่

ว 3.2 ป 6/8 - ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดจากแก๊สเรือนกระจก - สภาพหรือ

สร้างแบบจำลองทอี่ ธิบาย ในช้นั บรรยากาศของโลก กักเกบ็ ความร้อนแลว้ เหตกุ ารณใ์ น

การเกดิ ปรากฏการณ์เรือน คายความร้อนบางส่วนกลับสู่ผวิ โลก ทำให้อากาศ ท้องถิ่นทีเ่ กิด

กระจกและผลของปรากฏ บนโลกมีอณุ หภูมเิ หมะสมต่อการดำรงชีวิต จากผลผล

การณเ์ รือนกระจกต่อสิ่งมี - หากปรากฏการณ์เรือนกระจกรนุ แรงมากขึน้ กระทบของ

ชวี ติ จะมีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศโลก มนุษย์ ปรากฏการณ์

ว 3.2 ป จึงควรรว่ มกันลดกจิ กรรมทกี่ ่อให้เกดิ แก๊สเรือน เรือนกระจก

6/9ตระหนักถึงผลกระทบ กระจก

ของปรากฏการณ์เรือน

กระจกโดยนำเสนอแนวทาง

การปฏบิ ัตติ นเพ่ือลด

กจิ กรรมที่กอ่ ใหเ้ กิดแก๊ส

เรอื นกระจก

21

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสงั คมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

ใชค้ วามรูแ้ ละทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ เพื่อแกป้ ัญหา
หรอื พฒั นางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสง่ิ แวดล้อม

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี น

รทู้ ้องถนิ่

-- --

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจรงิ อย่างเปน็ ขน้ั ตอนและเปน็

ระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรยี นรู้ การทางาน

และการแกป้ ญั หาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รู้เท่าทัน และมจี ริยธรรม

ชั้น ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี น
รู้ท้องถิ่น

ป.6 ว 4.2 ป - การแกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนจะชว่ ยให้ -

6/1ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการ แกป้ ญั หาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

อธิบายและออกแบบวธิ ีการ - การใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะเป็น

แกป้ ัญหาท่ีพบในชวี ิตประจำวนั การนำกฎเกณฑ์

หรอื เงอื่ นไขทีค่ รอบคลมุ ทกุ กรณมี าใช้

พจิ ารณา ในการแก้ปัญหา

- แนวคดิ ของการทำงานแบบวนซ้ำ

และเง่ือนไข

- การพจิ ารณากระบวนการทำงานทมี่ ีการ

ทำงานแบบวนซ้ำหรือเง่ือนไขเปน็ วธิ กี ารทจี่ ะ

ชว่ ยให้การออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาเปน็ ไป

อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

- ตัวอย่างปัญหา เชน่

การค้นหาเลขหน้าท่ตี อ้ งการให้เร็วทส่ี ดุ

การทายเลข 1 – 1,000,000

โดยตอบให้ถูกภายใน 20 คำถาม,

22

การคำนวณเวลาในการเดนิ ทาง
โดยคำนึงถึงระยะทาง เวลา
จดุ หยดุ พกั

ว 4.2 ป - การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดย

6/2ออกแบบและเขยี นโปรแกรม เขียน เป็นข้อความ หรอื ผังงาน

อยา่ งงา่ ย - การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมกี าร

เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้ตัวแปร การวนซ้ำ การตรวจสอบเง่ือนไข

ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด – หากมขี ้อผิดพลาดใหต้ รวจสอบ

ของโปรแกรมและแก้ไข การทำงาน ทีละคำสั่ง

เม่ือพบจดุ ที่ทำใหผ้ ลลพั ธไ์ ม่ถูกต้อง

ให้ทำการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ทถ่ี กู ต้อง

- การฝกึ ตรวจหำข้อผดิ พลาดจากโปรแกรม

ของผู้อ่นื จะช่วยพฒั นาทักษะการหาสาเหตุ

ของปญั หาได้ดยี ่ิงขึ้น

- ตัวอย่างปัญหา เช่น โปรแกรมเกม

โปรแกรมหาคา่ ค.ร.น เกมฝึกพมิ พ์

- ซอฟตแ์ วรท์ ี่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เชน่

Scratch, logo

ป.6 ว 4.2 ป 6/3 - การคน้ หาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ใช้อินเทอร์เน็ตในการคน้ หาข้อมูล เป็นการค้นหาขอ้ มูลท่ไี ดต้ รงตามความต้อง

อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การในเวลาท่ีรวดเร็วจากแหล่งขอ้ มูลท่ีน่าเช่ือ

ถอื หลายแหลง่ และข้อมลู

มคี วามสอดคล้องกัน

– การใชเ้ ทคนิคการคน้ หาข้นั สงู เชน่ การใช้

ตัวดำเนนิ การ การระบรุ ปู แบบของขอ้ มลู

หรือชนดิ ของไฟล์

- การจัดลำดบั ผลลพั ธ์จากกาคน้ หาของ

โปรแกรมค้นหา

- การเรยี บเรยี ง สรุปสำระสำคัญ

(บูรณาการกบั วชิ าภาษาไทย)

ว 4.2 ป 6/4 - อันตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงาน ทางอนิ เทอรเ์ น็ต แนวทางในการปอ้ งกนั

23

ร่วมกนั อย่างปลอดภยั - วธิ ีกำหนดรหสั ผา่ น
เขา้ ใจสิทธแิ ละหน้าท่ขี องตน - การกำหนดสทิ ธ์ิการใช้งาน
เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน (สทิ ธใ์ิ นการเข้าถงึ )
แจง้ ผูเ้ กย่ี วขอ้ งเม่ือพบขอ้ มลู หรอื - แนวทางการตรวจสอบและปอ้ งกัน
บุคคลท่ีไม่เหมาะสม มลั แวร์ –
อนั ตรายจากการติดต้ังซอฟต์แวรท์ ่ีอยู่บน
อินเทอร์เนต็

2. แนวคิด ทฤษฎที เ่ี ก่ียวข้องกับการสร้างบทเรยี นสำเรจ็ รูป
2.1 ความหมายของบทเรียนสำเร็จรูป
ผกา สัตยธรรม ( 2542 : 115 )

กล่าววา่ บทเรยี นสำเรจ็ รูปเปน็ สื่อการสอนแบบหน่งึ ซ่ึงมีลักษณะเป็นบทเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Self Instruction)
ลกั ษณะของบทเรียนจะต้องมีเนือ้ หาซ่ึงเรยี งลำดับเร่อื งจากง่ายไปหายาก ชัดเจนและเข้าใจ

ทองพูล บญุ อ่งึ (2542 : 10) บทเรียนสำเร็จรปู ที่สรา้ งขนึ้ โดยกำหนดเนือ้ หา วัตถปุ ระสงค์ วธิ กี าร
ตลอดจนอุปกรณ์การสอนไวล้ ว่ งหนา้ ผ้เู รียนสามารถศกึ ษาค้นควา้ และประเมนิ ด้วยตนเองตามขนั้ ตอนที่กำหนด
ไว้

บญุ ชม ศรสี ะอาด (2545 : 76-77)
ไดใ้ หค้ วามหมายของบทเรียนสำเรจ็ รปู ว่าเปน็ สอื่ การเรยี นการสอนที่ม่งุ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนเรยี นด้วยตนเอง
จะช้าหรอื เรว็ ขนึ้ อย่กู บั ความสามารถของแตล่ ะบุคคล โดยแบง่ เนือ้ หาออกเป็นหลาย ๆ กรอบ (Frame)
แตล่ ะกรอบจะมเี นอ้ื หาเรยี บเรยี งไวม้ ุ่งให้เกิดการเรียนรูต้ ามลำดบั โดยมสี ่วนร่วมท่ผี ูเ้ รียนตอ้ งตอบสนองดว้ ย
การเขยี นคำตอบซง่ึ อาจอยใู่ นรูปแบบเตมิ คำลงในชอ่ งวา่ ง เลอื กตอบ ฯลฯและมสี ่วนเปน็ เฉลยคำตอบที่ถูกต้อง
ซึง่ อาจอย่ขู า้ งหน้าของกรอบนั้นหรือกรอบถดั ไป หรอื ส่วนช่ือของบทเรียนก็ไดบ้ ทเรยี นสำเร็จรูปจะ
สมบูรณ์จะมีแบบทดสอบวดั ความก้าวหนา้ ทางการเรียนโดยทำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแล้ว
พจิ ารณาวา่ หลังเรียนผ้เู รียนแตล่ ะคนมีคะแนนมากน้อยเพยี งใด

ธีระชัย ปูรณโชติ (2539 : 7) ใหค้ วามหมายบทเรียนสำเร็จรูป หมายถงึ แบบเรียนโปรแกรมหลาย
ๆ บทเรยี นทีเ่ สนอเนื้อหาเกีย่ วเนอื่ งกนั เขา้ เปน็ แบบเรยี นโปรแกรม โดยเสนอเน้ือหาทลี ะน้อย
มีคำถามใหผ้ ู้เรียนได้คดิ และตอบ แลว้ เฉลยคำตอบให้ทราบโดยทนั ที โดยมากบทเรยี น
แบบโปรแกรมมักจะเป็นรูปของสิง่ พิมพ์ทีเ่ สนอความคิดรวบยอดที่จดั ลำดับไวแ้ ลว้ อย่างดี

สรปุ บทเรยี นสำเรจ็ รปู เปน็ สอื่ การเรยี นรทู้ ่ีเหมาะสมสำหรับใหผ้ ้เู รยี น เรยี นรู้ด้วยตวั เอง
ประกอบกับการเรยี นรทู้ ่ีครบถว้ นสมบูรณ์ ผู้เรียนสามารถประเมินผลการเรียนรดู้ ้วยตวั เอง

24

2.2 ลักษณะสำคัญของบทเรยี นสำเร็จรปู
บญุ เก้ือ ควรหาเวช (2530 : 31-32) กลา่ วถงึ ลักษณะสำคัญของบทเรยี นสำเร็จรปู สรปุ เนื้อหาดังนี้
2.2.1 เนอื้ หาวิชาถกู แบง่ ออกเป็นขั้นตอนย่อย ๆ เรียกวา่ “กรอบ”

และกรอบเหลา่ นี้จะเรยี งลำดับจากง่ายไปหายาก
โดยมีขนาดแตกต่างกันตงั้ แต่ประโยคหนง่ึ จนถงึ ขอ้ ความหลาย ๆ ตอนเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนไปทลี ะน้อย
จากส่ิงท่รี ้แู ลว้ ไปสู่ความรใู้ หม่ เป็นการเร้าความสนใจไปในตวั

2.2.2 ภายในกรอบแตล่ ะกรอบจะตอ้ งให้นกั เรียนมกี ารตอบสนอง เช่น
การตอบคำถามหรือเติมข้อความลงในชอ่ งว่าง ทำใหน้ กั เรยี นแต่ละคนเกดิ ความเขา้ ใจเน้ือหา
ท่ไี ดร้ บั จากการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของบทเรยี น

2.2.3 นกั เรยี นไดร้ ับการสง่ เสรมิ ยอ้ นกลับทนั ที คือ จะไดร้ ับคำตอบทถี่ ูกตอ้ งทนั ที
ซ่งึ ให้นกั เรียนทราบว่าคำตอบของตนเองถูกต้องหรือไม่และสามารถแก้ไขข้อความทผ่ี ดิ ของตนเองไดท้ ันที

2.2.4 การจัดเรียงลำดบั หนว่ ยยอ่ ย ๆ ของบทเรยี นต่อเนือ่ งกันไปตามลำดับจากงา่ ยไปหายาก
การนำเสนอเน้ือหาในแตล่ ะกรอบ ควรลำดับเร่อื งใหช้ ัดเจนเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ
และทำให้ผู้เรียนตอบสนองเรื่องน้ันโดยตรง

2.2.5 ผู้เรยี นปฏบิ ตั หิ รอื ตอบคำถามแตล่ ะกรอบไปตามกำหนด
2.2.6 ผู้เรียนคอ่ ย ๆ เรียนเพิ่มเติมข้นึ เรื่อย ๆ
2.2.7 ผู้เรยี นมีโอกาสเรียนด้วยตนเอง โดยไมจ่ ำกัดเวลา
การใช้เวลาศึกษาบทเรียนนั้นข้นึ อยูก่ ับความสามารถของผเู้ รยี น
2.2.8 บทเรียนสำเร็จรูปได้ตงั้ จดุ หมายโดยเฉพาะไวแ้ ลว้
มผี ลทำให้ความสามารถวดั ได้ว่าบทเรียนนน้ั ๆ ไดบ้ รรลุเปา้ หมายหรอื ไม่

2.2.9 บทเรียนสำเร็จรูปยดึ ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง คือ
ตอ้ งคำนึงถงึ ผูเ้ รียนเปน็ เกณฑ์จะต้องเอาบทเรยี นที่เขยี นแล้วไปทดลองใช้กับผทู้ ่ีสามารถใชบ้ ทเรยี นนนั้ ได้
เพ่ือแก้ไขจดุ บกพร่องและปรับปรงุ ให้สมบูรณ์กอ่ นท่ีจะนำเอาไปใชจ้ รงิ

2.3 ประเภทของบทเรียนสำเรจ็ รปู
ธรี ะชยั ปรู ณโชติ (2539 : 11-20) แบ่งบทเรียนสำเรจ็ รปู ออกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี
1) บทเรียนแบบเสน้ ตรง (Linear Programming) เปน็ บทเรยี นแบบเสน้ ตรง ทีเ่ สนอ

เนอื้ หาทลี ะน้อยบรรจุลงในกรอบหรอื เฟรมต่อเน่ืองกันตามลำดบั จากกรอบทีห่ น่งึ ไปยงั กรอบท่ีสองจนถงึ กรอบ
สุดทา้ ยตามลำดับ โดยเรียงลำดับเน้ือหาจากง่ายไปหายาก สง่ิ ท่ีเรียนจากหนว่ ยยอ่ ย หรอื กรอบแรกๆ
จะเป็นพืน้ ฐานสำหรบั กรอบถัดไป ผูเ้ รยี นจะต้องเรียนตามลำดบั ทีละกรอบต่อเนื่องกนั ไปต้งั แต่กรอบแรก
จนถึงกรอบสดุ ทา้ ยโดยไม่ข้ามกรอบใดกรอบหนงึ่ เลย ทุกคนจะต้องเรยี นตามลำดับเชน่ นเ้ี หมือนกนั หมด
ไมว่ า่ จะมีระดบั สติปัญญาแตกตา่ งกันหรือไม่กต็ าม แต่คนทเ่ี รียนเกง่ สามารถทจี่ ะใช้เวลาในการเรียน
น้อยกวา่ คนทีเ่ รยี นอ่อนกว่า

25

แผนผงั ของบทเรยี นสำเร็จรูปแบบเสน้ ตรง มีลักษณะดงั ภาพท่ี 1

กรอบท่ี
1

กรอบที่
2

กรอบท่ี
3

กรอบท่ี
4

กรอบท่ี
5

ภาพประกอบ 1 แผนผังบทเรยี นสำเร็จรูปแบบเส้นตรง

2) บทเรียนสำเรจ็ รูปแตกก่งิ กา้ นสาขา (Branching Programming) เป็นการเขยี น
บทเรียนแบบลำดบั แตกตา่ งจากการเขยี นแบบเส้นตรง การเขียนโปรแกรมสาขา
จะมกี ารเรียงลำดับข้อความย่อย โดยอาศยั คำตอบของผเู้ รียนเปน็ เกณฑ์
ถ้าผูเ้ รียนตอบคำถามข้อความย่อยได้จำนวนหน่งึ ถา้ ตอบไม่ถูกอาจจะได้รับคำส่ังย้อนไปเรยี นข้อความย่อยต่าง
ๆ เพม่ิ ก่อนที่จะก้าวหนา้ ตอ่ ไป

26

แผนผงั ของบทเรยี นสำเรจ็ รปู แบบแตกกงิ่ หรอื สาขา มีลกั ษณะดังภาพที่ 2

3) บทเรียนสำเร็จรูปแบบผสม (Combiation Programmed) เปน็ บทเรยี นทใ่ี ห้โอกาส
การตอบสนองของนักเรยี น โดยมีท้งั แบบเส้นตรง และแบบแตกกิ่งสาขาในบทเรยี นเดียวกัน
โดยพิจารณาในแต่ละแบบ แต่ละตอนตามความเหมาะสม จะเสนอเนื้อหาทีละน้อยตามลำดบั ขัน้ มคี ำถาม
และเฉลยหรือแนวในการตอบคำถามไว้ใหต้ รวจสอบทนั ทีเพื่อเปน็ ข้อมูลยอ้ นกลับแก่ผเู้ รียนวา่ คำตอบของตนเอ
งถูกหรือผดิ

2.4 ประโยชน์และคุณคา่ ของบทเรียนสำเรจ็ รปู
ธรี ะชัย ปรู ณโชติ (2539 : 27) อธบิ ายถึงประโยชนข์ องบทเรียนสำเรจ็ รูป ดงั นี้
1) สนองความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผูเ้ รียนที่ทำใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนร้ตู ามเอกภาพของตน เชน่

ความสนใจ สติปัญญา วฒุ ภิ าวะ ฯลฯ
2) ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
3) ผู้เรยี นสามารถศึกษาบทเรียนเวลาใดเมื่อไรก็ไดต้ ามความพอใจของผเู้ รียนแม้แตจ่ ะเป็นที่บ้าน

ของผู้เรียนเอง
4) ผเู้ รยี นได้เรยี นรเู้ ปน็ ข้ันตอนทลี ะนอ้ ย และทราบผลการเรยี นรขู้ องตนเอง

ทกุ ข้นั ตอนเกิดแรงเสรมิ (Reinforcement)

2.5 ทฤษฎจี ติ วิทยาที่ใช้ในบทเรียนสำเร็จรูป
บุญเก้ือ ควรหาเวช (2530 : 30-31) และธรี ะชัย ปูรณโชติ (2539 : 7-9)
กลา่ วถึงทฤษฎีจติ วทิ ยาทใี่ ชใ้ นบทเรียนสำเร็จรปู วา่ บทเรียนสำเร็จรูปไดอ้ าศัยทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของธอร์นไดด์
(Thorndike) มาใช้ในการสรา้ งบทเรยี นสำเรจ็ รูปมีสาระสำคัญดงั น้ี
1) กฎแหง่ ผล (Law of Exercise) กฎนไี้ ด้กล่าวถงึ การเชอ่ื มโยงได้ ถ้าสามารถสรา้ งความพึงพอใจ
ใหแ้ กผ่ เู้ รียนได้ อาจจะไดจ้ ากการเสรมิ แรง เชน่ การร้วู า่ ตนเองตอบคำถามไดถ้ ูกตอ้ งหรอื ได้รางวลั เป็นตน้
2) กฎแหง่ การฝกึ หัด (Law of Exercise)
การทีผ่ ู้เรียนได้กระทำซ้ำหรือทำบ่อยคร้ังจะเปน็ การเสรมิ สร้างใหเ้ กิดการเรยี นรู้ทม่ี นั่ คงข้ึน
ฉะน้ันการเรียนร้จู ะเกิดขน้ึ มากหรอื น้อยจะขึ้นอยู่กับการให้ผู้เรียนไดม้ กี ารฝึกหัดในเรื่องท่ีเรยี นนั้นตามความ

27

เหมาะสมดว้ ยกฎแห่งความพร้อม (Law of Exercise) เมอ่ื รา่ งกายพร้อมท่จี ะทำแล้ว
ถ้ามีโอกาสทจ่ี ะกระทำย่อมเป็นท่พี งึ พอใจแตถ่ ้าไม่มีโอกาสยอ่ มไม่เป็นที่น่าพอใจ ในทางตรงกนั ข้าม
ถา้ รา่ งกายไม่พร้อมทีจ่ ะทำงานแตถ่ ้าบังคบั ใหต้ ้องกระทำจำยอมเกิดความไม่พอใจเชน่ กัน

2.6 ส่วนประกอบของบทเรยี นสำเรจ็ รูป
ปรัชญา ใจสะอาด (2522 : 39-40) กล่าวถงึ บทเรียนสำเร็จรปู ประกอบดว้ ยกรอบต่าง ๆ 4
กรอบดังน้ี

1) กรอบต้ังต้น (Set Frame) คอื กรอบใด ๆ
ก็ตามที่อยู่ตอนหนึ่งนกั เรียนสร้างการตอบสนองจะเปน็ อะไรนั้นนักเรียนสามารถจัดทำได้จากข้อมูลในกรอบเดี
ยวกนั โดยนักเรยี นไมม่ ีความจำเป็นต้องมีการเรยี นรสู้ ำหรับใช้มาตอบก่อน

2) กรอบแบบฝึกหัด (Practice Frame)
เป็นกรอบที่นกั เรยี นไดใ้ ช้เกย่ี วกบั สง่ิ ทีไ่ ด้จากการเรียนมาแล้วจากกรอบตัง้ ต้นหลกั การสำคญั คือ
จะตอ้ งให้นักเรียน
ได้ฝึกเฉพาะสิง่ ท่ีเขาได้รับจากกรอบต้ังต้นเทา่ นน้ั

3) กรอบสรปุ (Terminal Frame)
กรอบนนี้ ักเรียนจะต้องรวบรวมความรู้ที่ไดจ้ ากการเรยี นจากกรอบตน้ ๆ แล้วเขยี นตอบสนองมาเอง
นกั เรียนจะพบว่ามกี ารช้ีชอ่ งว่างไว้บา้ งหรือไม่

4) กรอบสง่ ท้าย (Subterminal Frame)
เป็นกรอบทใี่ ห้ความรู้ที่จำเป็นแกน่ กั เรียนเพื่อใหน้ กั เรยี นตอบสนองตามกรอบได้อย่างถูกต้อง
กรอบรองสง่ ท้ายควรจะมีความรู้อยู่ส่วนหน่ึงที่จะนำไปยังกรอบส่งทา้ ย
กรอบรองสง่ ท้ายท่ีอยู่ถดั ไปจะสะสมความร้ทู ่ีเพิ่มขนึ้ เร่ือย ๆ
จนกระทง่ั ผ้เู รียนบรรลถุ ึงความสามารถทจี่ ะสนองในกรอบสง่ ท้ายได้อยา่ งถกู ต้อง
การสร้างบทเรยี นสำเร็จรูปจึงมักสร้างกรอบส่งทา้ ยหรือกรอบสรุปกอ่ นกรอบรองสง่ ทา้ ย

2.7 ขน้ั ตอนการสร้างบทเรียนสำเร็จรปู
ธีระชัย ปรู ณโชติ (2539 : 27-37) กลา่ วถงึ ข้นั ตอนในการสรา้ งบทเรียนสำเร็จรูปดังนี้
ขัน้ ท่ี 1 ศึกษาการเขยี นบทเรียนสำเร็จรูปแบบตา่ ง ๆ
จนเข้าใจแจ่มแจ้งทง้ั ศกึ ษาจากตำราและสอบถามจากผู้รู้
ข้นั ที่ 2 กำหนดและเลือกวิชาที่จะเขยี น และระดับชน้ั สำหรบั ทจ่ี ะใชใ้ นบทเรียนสำเร็จรปู น้ัน
ขนั้ ท่ี 3 เลือกหนว่ ยการเรียนว่าจะเขียนในเรื่องใด
ขน้ั ท่ี 4 กำหนดหัวข้อต่าง ๆ
ท่เี ขียนโดยการศึกษาจากหลักสตู รประมวลการสอนโครงการสอนคมู่ ือครู
และหนงั สือวา่ ดว้ ยหลักสูตรกำหนดใหเ้ รยี นอะไรแลว้ เลอื กหัวข้อเร่ืองทีจ่ ะเขียน

28

ขั้นที่ 5 ศกึ ษาลกั ษณะของผู้เรียน ได้แก่ อายุ ระดับชน้ั
พื้นฐานความรเู้ ดิมและทกั ษะทนี่ กั เรียนเคยไดร้ บั การฝึกฝนมาก่อน ท้ังน้ีเพราะบทเรยี นสำเรจ็ รูป
มีหลกั การสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผู้เรยี นในดา้ นต่าง ๆ

ขน้ั ท่ี 6
ตง้ั จดุ มงุ่ หมายสำหรบั บทเรยี นสำเร็จรูปทจี่ ะเขยี นโดยต้องต้ังจดุ มงุ่ หมายทว่ั ไปและจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมซ่ึงเ
ปน็ จุดมุ่งหมายเฉพาะอนั จะเป็นแนวทางในการเขียนกรอบตา่ ง ๆ ในบทเรยี นอย่างดี
และยังเป็นประโยชนต์ อ่ การสรา้ งแบบทดสอบซง่ึ จะใชท้ ดสอบกบั นักเรยี น ก่อนและหลังเรยี น
การเขียนวัตถปุ ระสงค์ของการเรยี นการสอน ควรแยกเป็นข้อ ๆ
เพอื่ ให้วตั ถุประสงค์เด่นชัดข้ึนและต้องบรรยายถ้อยคำท่ีใหต้ ีความหมายไดช้ ัดเจน รัดกมุ
สามารถมองภาพการแสดงออกของผู้เรยี นได้ เชน่ การเขยี น การบอก จำแนก เปรยี บเทียบ เปน็ ตน้

ขน้ั ที่ 7 วางโครงเร่อื งที่เป็นลำดบั เรอ่ื งราวก่อนหลงั จากง่ายไปหายาก
ทั้งนเ้ี พราะบทเรียนสำเร็จรูปจะต้องแบง่ เนื้อหาออกเปน็ ตอน ๆ ยอ่ ย ๆ
และแตล่ ะตอนจะต้องตอ่ เนือ่ งสมั พันธ์กัน

ขั้นที่ 8 ลงมือเขยี นบทเรียนสำเร็จรูปตามจดุ มุ่งหมายทว่ี างไว้ โดยแบ่งบทเรยี นออกเป็นตอน
หรือบท
ท้ังนเ้ี พื่อความสะดวกในการเรยี นร้เู ปน็ การแบง่ หมวดหมู่เพ่ือให้นักเรียนได้เข้าใจและจดจำได้งา่ ยแลว้ ดำเนินกา
รเขยี นกรอบตา่ ง ๆ ในบทเรียนตามหลักการเขียนบทเรยี นสำเร็จรูป
การเขยี นกรอบในบทเรยี นจะเร่มิ ต้นด้วยกรอบใหค้ วามรู้ แลว้ ตดิ ตามด้วยกรอบแบบฝกึ หัด
และกรอบแบบทดสอบเป็นตอน ๆ ไป จำนวนกรอบจะมากหรือน้อยเพยี งไรขึ้นอยู่กบั ผูเ้ รียน
ถ้าบทเรยี นสำหรบั เด็กเกง่ จำนวนกรอบอาจน้อยกว่าบทเรียนสำหรบั เดก็ อ่อนก็ได้

ข้นั ท่ี 9 ควรนำบทเรียนสำเร็จรูปทเ่ี ขยี นเสร็จแล้วไปใหค้ รูสอนวิชานน้ั ๆ หรือผูท้ รงคุณวฒุ ิให้ข้อตชิ ม
เพื่อนำมาแก้ไขปรับปรงุ กรอบตา่ ง ๆ ในบทเรียนสำหรบั เด็กอ่อนก็ได้

ขัน้ ที่ 10 นำบทเรียนสำเร็จรูปทีป่ รับปรุงแก้ไขแลว้ มาพิมพ์ โดยยังไมใ่ ส่คำตอบของคำตอบตา่ งๆ
เพื่อทีจ่ ะนำบทเรียนไปใช้ขนั้ ทดลองหน่งึ ต่อหนึง่ หรอื การทดลองทเ่ี รียกว่าการทดลองขัน้ หนงึ่ คน

ข้นั ที่ 11 สรา้ งแบบทดสอบขึน้ ชุดหน่ึง ตามจดุ มุ่งหมายท่ีวางไว้ให้ครบถว้ น
และครอบคลุมทุกเรื่องตามบทเรียน บทเรียนตอนใดมีเนื้อหามากก็ออกมาก
บทเรยี นใดมเี น้ือหาน้อยก็ออกน้อย สำหรับแบบทดสอบท่ีสรา้ งขึ้นมานัน้ จะตอ้ งนำไปวิเคราะห์รายข้อ
เพ่ือหาความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนกและปรับปรุงแก้ไข ค่าความยากงา่ ยทเี่ หมาะสม คอื 0.20 ถงึ 0.80
และคา่ อำนาจจำแนกทเ่ี หมาะสม คือ 0.20 ข้นึ ไป

ขั้นที่ 12 นำบทเรยี นสำเร็จรูปท่เี ขยี นเสร็จตามข้อท่ี 10 ไปทดลองใช้กับนักเรียนหนง่ึ คน
โดยเริ่มทำแบบทดสอบก่อนเรียนแลว้ จับเวลาไว้เพ่ือจะทราบวา่ แบบทดสอบดังกล่าวนกั เรยี นสามารถ
ทำไดเ้ สร็จภายในเวลาประมาณกน่ี าที เม่ือนักเรียนทำแบบทดสอบเสร็จ

29

แล้วกใ็ ห้นกั เรียนเรยี นบทเรยี นสำเรจ็ รูปท่ีสรา้ งขึ้นโดยครูผู้สอนจะต้องอธิบายให้นักเรยี นเขา้ ใจความมุ่งหมายแ
ละวธิ กี ารเรยี นเสยี ก่อน นกั เรียนจะต้องอา่ นบทเรยี นไปทลี ะคำถาม เม่ือนกั เรียนตอบคำถาม
ผู้สอนจะเฉลยคำตอบท่ถี กู ตอ้ งทันทีผู้สอนจะอภปิ รายกับนักเรียนเพื่อหาทางปรบั ปรงุ แก้ไขบทเรยี นในกรอบนน้ั
หรือคำถามใหด้ ีข้นึ แลว้ นำมาปรับปรุงแก้ไขภายหลงั หลังจากทเี่ รยี นบทเรยี นเสรจ็
แลว้ กใ็ หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน เพื่อเปรียบเทียบคะแนนจากการทำแบบทดสอบ
ทงั้ สองครงั้ วา่ นกั เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจเพม่ิ ขนึ้ หรือไม่
ผลการเปรยี บเทยี บควรแสดงให้นักเรียนเหน็ วา่ มคี วามก้าวหนา้ ข้นึ หลังจากใชบ้ ทเรยี น

ขั้นท่ี 13 นำบทเรียนสำเรจ็ รูปไปทดลองกับนักเรียนกลุ่มเล็ก ที่เรยี นอยใู่ นระดับชัน้ ปานกลาง
จำนวน 10 คน มวี ธิ ีการในการทดลองเหมือนขนั้ 1 คน
ต่างกนั เพียงบทเรยี นจะมีคำตอบของคำถามไวใ้ ห้เสรจ็ มีลักษณะเหมือนบทเรยี นทนี่ ำไปใช้ไดจ้ ริง
นกั เรยี นต้องเรียนตามบทเรียนทีละกรอบ และตรวจคำตอบของตนกบั คำเฉลยที่ให้ไวใ้ นบทเรยี น
และในบทเรยี นสำเรจ็ รูปจะเขียนไวซ้ งึ่ นกั เรียนต้องทำความเข้าใจเสียก่อนจึงลงมือเรียนตามบทเรียน
นักเรียนทำเสรจ็ แลว้ บันทึกเวลาท่คี วรใชใ้ นการเรียนบทเรียนตอ่ ไป เมื่อทดลองเสรจ็ แล้วนำผล
การปรับปรุงแกไ้ ขเน้อื หาในกรอบนนั้

ขั้นท่ี 14 การทดลองภาคสนามกับนกั เรยี น 100 คน ไม่เจาะจงว่าเปน็ นักเรียนเก่งหรืออ่อน
แตเ่ ป็นตวั แทนของนักเรียนท้ังหมด
โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือทราบว่าบทเรยี นสำเรจ็ รปู ทีส่ ร้างขน้ึ มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานทยี่ อมรับโดยทั่ว
ไปหรอื ไม่

2.8 ขอ้ ดีของบทเรียนสำเร็จรปู

บญุ ชม ศรีสะอาด (2545:83) , บญุ เกอ้ื ควรหาเวช (2530:27) และ ธรี ะชยั ปูรณโชติ
(2539:27) กล่าวถงึ ข้อดีของบทเรียนสำเรจ็ รปู พอสรุปไดด้ งั น้ี

1) ผู้เรียนมีโอกาสเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง
และดำเนนิ ไปตามความสามารถของตนเป็นการตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล เปน็ อยา่ งดี

2) ชว่ ยประหยดั เวลาในการสอนของครู ทำใหค้ รมู โี อกาสให้ความสนใจ
ดูแลผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลไดม้ ากข้ึน

3) ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นร้จู กั การแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง
4) ช่วยแกป้ ัญหาการขาดแคลนครไู ด้
5) ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรเู้ ป็นข้ันตอนทีละนอ้ ยและทราบผลการเรยี นรู้ของตนเองทุกขน้ั ตอน
6) ผู้เรยี นสามารถศึกษาบทเรียนเวลาใดกไ็ ด้ ตามความพอใจ
7) ผ้เู รยี นสามารถแกไ้ ขความเข้าใจผิดของตนเองได้ จากการดูคำตอบในบทเรยี น
8) ผู้ที่ขาดเรยี นมโี อกาสเรยี นด้วยตนเองเพื่อใหต้ ามผู้อ่ืนได้ทัน

30

ทศิ นา แขมณี (2544:104) ได้กลา่ วถงึ ข้อดีของการสอนโดยใช้บทเรียนแบบโปรแกรมไว้ดงั น้ี
1) เปน็ วธิ สี อนทสี่ ่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รียนศกึ ษาด้วยตนเอง
2) เป็นวิธีสอนท่ีช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล สามารถเรียนร้ไู ด้ ตามความสามารถของตนเอง

เป็นการตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
3) เป็นวธิ สี อนทีช่ ว่ ยลดภาระครู และชว่ ยแกป้ ญั หาการขาดแคลนครู
2.9 ข้อจำกดั ของบทเรียนสำเรจ็ รูป

บญุ เกอื้ ควรหาเวช (2530:45) และ บญุ ชม ศรสี ะอาด (2545:84)
กล่าวถงึ ข้อจำกดั ของบทเรยี นสำเร็จรูป พอสรุปได้ดงั นี้

1) การใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู อยา่ งเดียวตลอด ทำใหผ้ ู้เรยี นขาดการตดิ ต่อซ่งึ กันและกนั
ไมส่ ่งเสรมิ การเรียนรซู้ ึง่ กนั และกัน

2) บทเรยี นสำเร็จรปู เหมาะสมสำหรบั เน้ือหาทีเ่ ป็นความจริง
หรอื ความรู้พ้ืนฐานมากกวา่ ท่ีต้องการความคิดเห็นและความคดิ ริเร่มิ

3) ทำใหผ้ ู้เรยี นขาดทักษะในการเขียนหนงั สือ เพราะผ้เู รยี นจะเขยี นเฉพาะคำตอบเท่านัน้
4) การใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู ในชนั้ เรียน จะมลี กั ษณะเป็นผู้ช่วยครมู ากกวา่ ท่ีจะใช้แทนครู
5) ภาษาท่ใี ช้อาจเปน็ ปญั หาในท้องถ่นิ
6) มสี ่วนทำให้เด็กเก่งเบ่ืองา่ ย โดยเฉพาะบทเรียนสำเร็จรูปเชงิ เสน้
7) การใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรูปในช้ันเรียน ผู้ท่ีเรยี นได้รวดเรว็ จะเสร็จก่อนและมีเวลา
อาจมีพฤติกรรมที่รบกวนผู้อ่ืน ส่วนผู้ท่เี รยี นชา้ บางคนอาจทำไมเ่ สรจ็ ตอ้ งใหเ้ รยี นนอกเวลา
หรือใหไ้ ปทำตอ่ ท่บี ้าน ยากแก่การควบคมุ
8) เด็กที่ขาดความซอ่ื สัตย์ตอ่ ตนเองอาจเป็นการฝึกใหม้ ีลักษณะนสิ ัยท่ีไม่ดีบางอย่างได้ เช่น
การโกงตวั เอง เปน็ ต้น
ทิศนา แขมณี (2544:104) ไดก้ ล่าวถงึ ข้อจำกัดของวิธสี อนโดยใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรมไว้ดังน้ี
1) เป็นวิธีสอนท่ีพง่ึ แบบเรียนแบบโปรแกรม หากไม่มีบทเรียน หรอื บทเรยี นไมม่ ีคุณภาพดพี อ
ก็ยอ่ มส่งผลต่อการเรียนของผูเ้ รยี น
2) การสรา้ งแบบเรยี นให้มีคุณภาพท่ดี ี เปน็ เรอื่ งท่ีต้องใช้เวลาและมีความยุง่ ยากในการจดั ทำ
ผสู้ รา้ งจำเปน็ ต้องมีความเข้าใจในการสรา้ งบทเรียน
3) บทเรยี นแบบโปรแกรมทีด่ ียังมีปรมิ าณน้อย
บทเรียนแบบโปรแกรมท่มี ีคุณภาพไม่ดีพอจะไมน่ า่ สนใจ และจะไม่สามารถดึงดูดความสนใจของผเู้ รียน
ทำให้ผู้เรยี นเบ่อื หนา่ ยได้

31

2.10 การหาประสิทธภิ าพของบทเรียนสำเร็จรปู
การหาประสทิ ธภิ าพของบทเรียนสำเรจ็ รปู เปน็ การนำบทเรียนสำเร็จรูปไปทดลองใช้ตามขั้นตอนที่
กำหนดไวเ้ พือ่ นำขอ้ มลู มาปรับปรุงและนำมาทดลองจรงิ
เกณฑป์ ระสิทธภิ าพ หมายถึง
ระดบั ประสทิ ธิภาพของบทเรียนสำเร็จรปู ช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรูเ้ ป็นระดับท่ีผูส้ รา้ งเกดิ ความพงึ พอใจหาก
บทเรียนสำเรจ็ รปู มีประสิทธภิ าพถึงระดับน้นั แล้ว จะมีคุณค่าทจี่ ะนำไปใช้สอนได้
ผู้ศึกษาค้นคว้าได้สร้างบทเรียนสำเร็จรปู จำนวน 7 เลม่
จำเปน็ ตอ้ งหาประสิทธิภาพโดยกำหนดเกณฑ์การพิจารณาจากหลักการทวี่ า่ การเรยี นรเู้ ป็นกระบวนการที่ชว่ ยใ
ห้เปล่ยี นแปลงพฤติกรรมผู้เรียนบรรลผุ ล
ดังนน้ั ในการกำหนดเกณฑต์ ้องคำนึงถึงกระบวนการและผลลพั ธโ์ ดยกำหนดตัวเลขเป็นร้อยละของคะแนนเฉลยี่
เปน็ E1/E2 (ชยั ยงค์ พรหมวงค์ 2537 : 194 – 195)
E1 หมายถงึ คา่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ คิดเปน็ ร้อยละของการทำแบบฝึกหัด
E2 หมายถงึ ค่าประสทิ ธิภาพของผลลพั ธ์ คิดเปน็ ร้อยละของการทำแบบทดสอบหลังเรียน
การกำหนดเกณฑป์ ระสิทธิภาพต้ังไว้ 80/80 ถงึ 90/90
สำหรับวชิ าท่มี ลี กั ษณะเปน็ เน้ือหาและไม่ต่ำกว่า 75/75 สำหรับวิชาทกั ษะ
การหาประสิทธิภาพของบทเรียนสำเรจ็ รปู ดำเนนิ การดงั น้ี (โสภณ น่มุ ทอง 2540 : 82)
1. แบบเดีย่ ว (1:1) เป็นการนำบทเรียนสำเร็จรูปทส่ี ร้างขึ้นไปทดลองกบั ผู้เรยี นรายบคุ คล
เพ่อื หาขอ้ บกพร่องการทดลองน้ี ควรกระทำกับผเู้ รียนท่ีมีระดับการเรยี น เกง่ ปานกลาง และอ่อน
เพ่อื หาขอ้ มูลในการปรบั ปรุง
2. แบบกลุม่ (1:10)
เปน็ การนำบทเรยี นสำเรจ็ รปู ท่ีได้จากการปรับปรุงจากการทดลองกับผู้เรียนรายบคุ คลครัง้ แรก
มาใช้ทดลองกับผ้เู รยี น 6 – 10 คน ที่มคี วามสามารถกระจายเพ่ือหาขอ้ มลู ในการปรบั ปรุงใหส้ มบูรณ์ยง่ิ ข้ึน
3. แบบภาคสนาม (1:100)
เปน็ การนำบทเรยี นสำเรจ็ รูปที่ได้จากการปรบั ปรงุ คร้ังทส่ี องไปทดลองใช้ในชน้ั เรียนท่ีมีผเู้ รยี นต้ังแต่ 40 – 100
คน และหาประสิทธิภาพ (E1/E2)
ถา้ ไม่ถงึ เกณฑ์ทีก่ ำหนดจะต้องดำเนินการปรบั ปรุงและทดลองหาประสิทธภิ าพซ้ำอกี ครง้ั
การหาประสิทธิภาพบทเรยี นสำเรจ็ รูปทผี่ ลิตขน้ึ ไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้ังไว้ เนอ่ื งจากตัวแปรที่ควบคุมไมไ่ ด้
เชน่ ความพร้อมเพรยี งของนักเรยี น สภาพบรรยากาศในห้องเรยี น เปน็ ตน้
อาจอนโุ ลมให้มีระดบั ผิดพลาดไดไ้ มต่ ่ำกว่าทีก่ ำหนดไว้ประมาณ 2.5 – 5%
การยอมรบั ประสิทธภิ าพของบทเรียนสำเรจ็ รปู 3 ระดบั คือ (ฉลองชัย สรุ วฒั บูรณ์ 2528 : 215)
1. สงู กวา่ เกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของบทเรียนสำเร็จรูปสงู กวา่ เกณฑท์ ่ีต้ังไวเ้ กนิ กวา่ 5% ขึ้นไป
2. เทา่ เกณฑ์ เมือ่ ประสทิ ธิภาพของบทเรียนสำเร็จรูป เท่ากบั เกณฑท์ ี่ต้ังไวไ้ ม่เกนิ กวา่ 5%
หรือไม่ต่ำกว่า 5 %

32

3. ตำ่ กวา่ เกณฑ์ เมื่อประสทิ ธิภาพของบทเรยี นสำเรจ็ รปู ต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตงั้ ไว้แต่ไมต่ ่ำกวา่
5% ถือว่ามีประสิทธิภาพยอมรับได้

นักเรียนทีน่ ำมาทดลองใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรยี นสำเร็จรปู นนั้ เปน็ ตัวแทนของนักเ
รยี นโดยพิจารณา ดังนี้

1. การทดลองเดี่ยว เปน็ การทดลองครู 1 คน นักเรยี น 1 คน
โดยใหท้ ดลองกับนักเรยี นอ่อนเสียกอ่ นทำการปรับปรุงแลว้ นำไปทดลองกับนักเรยี นปานกลางและเกง่
หากเวลาไม่อำนวยและสถานการณไ์ ม่เหมาะสมให้ทดลองกับเดก็ อ่อนหรอื ปานกลาง

2. การทดลองแบบกลุ่ม เป็นการทดลองครู 1 คน นักเรยี น 6 - 10 คน โดยให้คละกนั ทั้ง เก่ง
ปานกลางและอ่อน ห้ามทดลองกับนักเรยี นอ่อนหรือเก่งล้วน

3. การทดลองแบบสนาม เปน็ การทดลองครู 1 คน นักเรยี น 30 - 50 คน
ช้นั ทเี่ ลือกมาทดลองต้องมนี ักเรียนคละกันเปน็ นักเรยี นเก่งและอ่อน ห้องเรียนท่มี ีนักเรียนอ่อนหรือเกง่ ทง้ั หมด

การใช้บทเรียนสำเร็จรูป เปน็ การออกแบบให้ผูเ้ รยี น
โดยมงุ่ ไปท่ผี ู้เรยี นมากกว่าผู้สอนและผู้สอนควรจดั สภาพการเรียนรู้ใหผ้ ้เู รยี นได้บรรลุจดุ มุ่งหมายตามทวี่ างไว้
กอ่ นนำบทเรียนสำเร็จรปู ไปใช้จรงิ ผู้สอนสามารถช่วยให้ผเู้ รยี น
เรียนบทเรยี นสำเร็จรปู ไดด้ ดี ้วยการบูรณาการบทเรยี นสำเร็จรูปใหเ้ ข้ากบั กจิ กรรมอืน่ ๆ เช่น การบรรยาย
หรือการอภปิ ราย

จากทีก่ ลา่ วมาสรุปไดว้ ่า โดยปกติเนอ้ื หาที่เปน็ ความรู้ ความจำ มักจะกำหนดเกณฑ์ประสิทธภิ าพไว้
80/80, 85/85 หรือ 90/90 ส่วนเนื้อหาท่ีเป็นทักษะมกั จะกำหนดตำ่ กว่าน้ี เชน่ 70/70 หรือ 75/75
ซ่ึงการกำหนดเกณฑ์ประสทิ ธภิ าพไว้วา่ 80/80 คือ 80 ตัวแรก หมายถงึ
คะแนนเฉลี่ยทีผ่ ้เู รียนสามารถทำแบบฝกึ หดั ไดใ้ นบทเรียนสำเรจ็ รูป ได้คะแนนไมต่ ำ่ กวา่ ร้อยละ 80 และ 80
ตัวหลัง หมายถงึ ร้อยละของคะแนนเฉล่ยี ของนักเรยี นทุกคน
ทไี่ ด้จากการทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นหลังเรยี น ได้คะแนนเฉลี่ยไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ 80

3. งานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้อง
3.1 งานวิจัยในประเทศ
ณัฐฐนิ ี สุโพธิ์ (2545 : บทคดั ยอ่ ) ไดพ้ ัฒนาบทเรยี นสำเร็จรปู แบบเสน้ ตรง เรือ่ ง จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

หนว่ ยท่ี 3 สง่ิ ท่ีอยรู่ อบตัวเรา กลุม่ สร้างเสรมิ ประสบการณ์ชีวิต ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4
โรงเรียนบา้ นหนองตากร้า สำนกั งานการประถมศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดรอ้ ยเอ็ด จำนวน 23
คน เคร่ืองมือทใ่ี ชค้ ือ บทเรยี นสำเรจ็ รปู แบบเสน้ ตรง และแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
พบว่าบทเรยี นสำเร็จรูปแบบเสน้ ตรง เรือ่ ง จังหวัดร้อยเอ็ด หน่วยท่ี 3 สง่ิ ท่ีอยรู่ อบตัวเรา
กลุม่ สร้างเสริมประสบการณช์ ีวิต ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 มีประสิทธภิ าพ 87.10/85.59 ซ่งึ สูงกว่าเกณฑ์
80/80 ท่ตี ้ังไว้ และมคี ่าดชั นีประสิทธิผลของบทเรยี นสำเร็จรปู มีค่าเทา่ กบั .73
นกั เรยี นมีคะแนนเฉลีย่ หลงั เรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01

33

วนิดา สาวิสิทธ์ิ (2545 : บทคัดยอ่ )
ได้ศึกษาผลสัมฤทธ์ิของการเรียนโดยใช้บทเรยี นการ์ตนู และการเรียนปกติกล่มุ สร้างเสรมิ ประสบการณ์ชวี ติ
เรอ่ื ง ทรพั ยากรดิน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มผี ลการศกึ ษาคน้ คว้า พบว่า ภาพการ์ตูน เร่อื ง
ทรัพยากรดนิ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มปี ระสิทธภิ าพเท่ากับ 80.63/81.56 ซ่งึ สูงกวา่ เกณฑ์ 80/80
ทตี่ ง้ั ไว้ และนักเรียนท่ีไดร้ ับการเรียนโดยใช้ภาพการ์ตนู มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวา่ นักเรียน
ทไี่ ดร้ บั การเรียนวิธปี กติ อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .01

สฌุ ารักษ์ เมืองโคตร (2545 : บทคัดยอ่ ) ไดส้ ร้างบทเรยี นสำเร็จรูปจังหวัดของเรา (มุกดาหาร)
กลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวติ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 ท่มี ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85
กลมุ่ ตวั อยา่ งทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นควา้ เป็นนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 27 คน
โรงเรยี นบ้านหวา้ นใหญ่ สำนกั งานการประถมศึกษาอำเภอหวา้ นใหญ่ จังหวดั มกุ ดาหาร เครื่องมือท่ีใชค้ ือ
บทเรียนสำเร็จรปู เรอ่ื ง จงั หวัดของเรา(มุกดาหาร) และแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
เปน็ แบบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ 30 ขอ้ ผลการศึกษาพบวา่ บทเรยี นสำเร็จรปู เร่อื ง จงั หวัดของเรา (มกุ ดาหาร)
กลุ่มสรา้ งเสริมประสบการณ์ชีวิต ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 มีประสิทธภิ าพ 89.23/92.67 ซงึ่ สูงกวา่ เกณฑ์
85/85 ท่ีตั้งไว้ และมีคา่ ดัชนีประสทิ ธผิ ลของบทเรียนสำเร็จรูปมคี า่ เท่ากับ .77
แสดงว่านักเรยี นมีความสามารถในการเรยี นรู้เพิม่ ขึ้นร้อยละ 77

สนุ ทรี คำเลศิ (2546 : บทคัดยอ่ ) ไดพ้ ัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปแบบเสน้ ตรง วิชา คณิตศาสตร์
เรื่อง ทศนยิ ม ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบ้านบก (มน่ั สามัคคีพทิ ยาคาร) โรงเรยี นบ้านก่อ (ก่อวิทยาคาร)
โรงเรียนบา้ นโนนโหนน(อ่อนอุปการ) โรงเรยี นบ้านหนองคู สำนักงานการประถมศกึ ษาอำเภอวารนิ ชำราบ
จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 80 คน เคร่อื งมอื ท่ใี ช้คือ บทเรียนสำเร็จรูปแบบเส้นตรง เร่ือง ทศนิยม
และแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น พบว่าบทเรียนสำเรจ็ รูปแบบเสน้ ตรง เร่ือง ทศนยิ ม วชิ า
คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 90.59/94.11 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์ 90/90
ทตี่ ัง้ ไว้ และนักเรยี นมีคะแนนเฉล่ียหลงั เรยี นสงู กว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .01

ประจักษ์ สีแสด ( 2549 : บทคัดย่อ) ได้ทำการวิจัยเรอื่ งการพฒั นาบทเรยี นสำเรจ็ รูป
กล่มุ สาระสังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม เรอ่ื ง อรยิ สัจ 4 สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5
ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพอื่ เปรียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสำเรจ็ รปู
กล่มุ สาระสงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม เร่อื ง อรยิ สัจ 4 สำหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นดว้ ยบทเรียนสำเร็จรูป ผลการวจิ ยั พบว่า บทเรียนสำเร็จรูป
กลมุ่ สาระสงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เรือ่ ง อรยิ สัจ 4 สำหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5
ท่ผี ู้วิจัยสร้างขน้ึ มีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 83.92/84.81 ซึ่งสงู กว่าเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ 80/80
นักเรียนทเ่ี รยี นโดยใช้บทเรียนสำเร็จรปู มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียนอย่างมนี ัยสำคญั ทา
งสถติ ทิ ่ีระดบั .01

34

พระมหาเสงย่ี ม มณีวงษ์ (2550:81) ได้ทำการวิจยั ผลการเรียนรู้เรือ่ งวันสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
และศาสนพิธกี ลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมโดยใช้วิธีสอนแบบปุจฉาวิสชั นากบั วิธสี อน
แบบปกติ สำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ผลการวจิ ัยพบวา่ ผลการจดั การเรยี นรูโ้ ดยวธิ สี อน
แบบปจุ ฉาวิสัชนามคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลย่ี เท่ากับ 72.87 คะแนน และตามวธิ สี อนแบบปกติมีค่ารอ้ ยละ
ของคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 70.87 คะแนน ผลการจดั การเรยี นรเู้ รื่องวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพธิ ี
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 โดยใชว้ ธิ ีสอนแบบปจุ ฉาวิสชั นากับวิธีสอนแบบปกติ มีความแตกตา่ งกนั
และนกั เรยี นมีความพึงพอใจต่อวิธีสอนแบบปจุ ฉาวิสัชนาอยู่ในระดบั มาก

จตุพร เตยี ตระกูล (2553:บทคดั ย่อ) ได้ทำการวิจัยเรือ่ ง การพัฒนากจิ กรรมการเรียนรู้
กลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นร้แู บบ 4MAT ผลการวจิ ัยพบว่า การเรยี นโดย
ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80.17/82.62 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80
ท่ตี ัง้ ไว้ ดชั นีประสทิ ธผิ ล เทา่ กับ 0.7245 แสดงว่านกั เรียนมีความกา้ วหน้าในการเรยี นร้อยละ 72.45
นกั เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ.05
และนกั เรยี นที่เรียนโดยการจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอ่ื งหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4
โดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้แบบ 4MAT มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มาก

เยาวเรศ พันธ์โนราช (2554:91) ได้วิจยั เร่ือง การพฒั นากิจกรรมการเรยี นรู้
โดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รปู ประกอบการสอนตามหลกั ไตรสกิ ขา เร่อื ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา
กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ผลการวิจัยพบว่า (1)
บทเรียนสำเร็จรปู ทสี่ ร้างขึ้นมีประสทิ ธิภาพ 85.65/86.61 (2)
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 (3)
นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มีความพงึ พอใจต่อการเรียนรโู้ ดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รูปประกอบการสอน
ตามหลักไตรสิกขาเรื่อง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา โดยรวมอยูใ่ นระดับพอใจมาก

ลำภรณ์ พสิ ถาน (2554:บทคัดย่อ)ไดว้ ิจัยเรอื่ ง
การพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยการใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรูป เร่ืองวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา กลุ่มสาร
ะการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
โรงเรยี นบ้านโนนมว่ ง อำเภอนากลาง จังหวดั หนองบัวลำภู ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนสำเร็จรูป เรือ่ ง
วันสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1
มีประสิทธภิ าพเทา่ กับ 83.54/85.13 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรียนโดยใช้บทเรยี น เร่อื ง
วนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1
พบวา่ คะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียน 15.63 คะแนนเฉลยี่ หลังเรียน25.06 และคะแนนเฉลยี่ เพิ่มข้ึนเท่ากบั 9.43
ของคะแนนก่อนเรียน คะแนนเฉล่ียสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05
ความพงึ พอใจท่ีมีต่อบทเรียนสำเรจ็ รูป เรื่อง วนั สำคัญ

35

ทางพระพุทธศาสนา กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยมี
(ค่าเฉล่ีย=4.16 , S.D. = 0.22) ซงึ่ อยู่ในระดับพึงพอใจในระดับมาก

3.2 งานวจิ ัยในตา่ งประเทศ

บูธ (Booth. 1998 : 2980-A) ได้ทำการสำรวจเกี่ยวกับธรรมชาตขิ องทกั ษะในการรับรูข้ องเดก็
จากการใช้สอ่ื ประเภทที่ไม่ใช่วดี โิ อเพ่ือการศึกษากับการใชบ้ ทเรยี นการ์ตนู ที่เปน็ ภาพเคลื่อนไหวเพ่ือประเมินทัก
ษะด้านการรับรู้ทางสตปิ ัญญาและดา้ นอารมณ์ของเด็กจากการชมบทเรียนการ์ตูนทเี่ ป็นภาพเคล่อื นไหวกลมุ่ ตวั
อยา่ งเปน็ นักเรียนเกรด 4 จำนวน 104 คน ซงึ่ ทำการศึกษาตวั แปร 4 ตวั คือ เพศ เชื้อชาติ
ฐานะทางเศรษฐกจิ และผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการ โดยมเี คร่อื งมอื เป็นแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
แบบสมั ภาษณ์ ผลการทดลอง พบว่า (1)
นักเรียนสามารถเกิดทักษะในการเรียนรู้ดา้ นสตปิ ัญญาจากการชมบทเรยี นการต์ นู ที่เป็นภาพเคลือ่ นไหว (2)
นักเรียนสามารถใช้ทกั ษะการคิดในระดับสูงเพื่อนำมาประยุกต์ใชใ้ นการเกดิ การเรียนร้ทู างดา้ นสติปัญญา (3)
เพศ เชือ้ ชาติ ฐานะทางเศรษฐกจิ และผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ
ไมส่ ง่ ผลตอ่ การเกดิ ทกั ษะด้านการรับรทู้ างสตปิ ญั ญาของนักเรยี นจากการชมบทเรียนการ์ตูนท่ีเป็นภาพเคล่ือน
ไหว

วอลซ์ (Walsh. 1999 : 1896-A)
ไดศ้ ึกษาวิจัยเกี่ยวกับทศั นคติของนักศึกษาชาวญี่ปุ่นในเรื่องการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบทม่ี ีความสอ
ดคล้องกบั ลกั ษณะทางวัฒนธรรม โดยทำการเปรยี บเทยี บระหวา่ งการจดั การเรียนการสอน
โดยใชบ้ ทเรยี นการ์ตนู กบั การเรียนการสอนโดยวิธบี รรยายในชั้นเรยี น ผลการวิจยั พบว่า การใช้บทเรียนการ์ตูน
เปน็ วิธกี ารจัดการเรยี นการสอนทีม่ ปี ระสิทธิภาพสำหรบั นักศึกษาชาวญป่ี ุน่ โดยไม่สง่ ผลกระทบต่อบุคลกิ
ลกั ษณะส่วนตวั ดัง้ เดมิ ของเขา

สตอลล์ (Stall. 2001 : 5274-B)
ได้ทำการวิจยั สำรวจประสิทธภิ าพของการใช้บทเรียนการต์ ูนประกอบการเรียนการสอน เรื่อง
การใช้บทเรียนการ์ตนู ประกอบการสอนเร่ืองคำทม่ี ีหลายความหมาย โดยใช้ประชากรท่ีมีอายุระหวา่ ง 8-10 ปี
จำนวน 23 คน ผลการทดลองพบว่า (1) การสอนโดยใช้บทเรยี นการต์ ูนกับการสอนโดยวิธปี กติ
มีความแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (2) นักเรยี นที่ไดร้ ับการสอนโดยบทเรยี นการ์ตูนประกอบ
มีความสามารถด้านการเรยี นรเู้ พมิ่ ข้ึน (3) นักเรียนที่ไดร้ ับการสอนโดยใชบ้ ทเรยี นการต์ นู ประกอบมีความสนใจ
ในการอ่านหนังสอื เปลีย่ นไปจากเดมิ จากการศึกษาผลงานการวจิ ยั ท้งั ในประเทศและต่างประเทศพบว่า
การใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรูปในลักษณะต่างๆ เมื่อเปรยี บเทยี บกับวิธีสอนแบบปกติ ปรากฏว่า การเรียนการสอน
โดยใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรูปมปี ระสทิ ธิภาพมากกว่าการสอนแบบปกติและเมอื่ ทำการทดสอบหลังเรียนของ

36

บทเรยี นสำเรจ็ รูป นักเรียนจะมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติ
ดงั นน้ั บทเรียนสำเร็จรปู จงึ เป็นเคร่ืองมือท่สี ามารถจะนำไปใชป้ ระกอบการจดั การเรยี นการสอนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

37

บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ การศึกษา

การศึกษาครง้ั นี้เปน็ การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างเรยี นโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป เร่ืองไฟฟา้
รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ สำหรับนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ผูศ้ กึ ษาไดด้ ำเนนิ การเป็นขั้นตอนดงั น้ี

1. ขอบเขตการศึกษา
2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา
3. การสร้างและการหาประสิทธภิ าพเครอ่ื งมือ
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
5. สถติ ทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู
6. การวิเคราะห์ข้อมลู

ขอบเขตการศึกษา

1. กลุม่ ตวั อย่าง ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาเป็นนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นชุมชนวดั เกาะ
เพชร สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรรมราช เขต 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา
2565จำนวนนักเรยี น 20 คน

2. เนื้อหาทีใ่ ช้ในบทเรยี นสำเรจ็ รูป เรอ่ื งไฟฟา้ มขี อบข่ายตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560)
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีชุมชนวดั เกาะเพชร สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา
ประถมศึกษานครศรีธรรรมราช เขต 3
เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา

เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการดำเนนิ การศึกษา ประกอบดว้ ย
1. บทเรียนสำเร็จรปู เรือ่ ง ไฟฟ้า
2. แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนทีเ่ รียนโดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รปู เรอื่ ง ไฟฟ้า
การสร้างและการหาประสิทธภิ าพเคร่ืองมอื
1. ขน้ั ตอนการสรา้ งบทเรยี นสำเร็จรูป เร่อื ง ไฟฟา้ รายวิชาวิทยาศาสตร์
สำหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

การสรา้ งและการหาประสิทธภิ าพของบทเรียน ผู้ศึกษาไดด้ ำเนินการตามข้ันตอน ดงั น้ี
1.1 ศกึ ษาหลกั สตู รกลุ่มสาระการวทิ ยาศาสตร์โรงเรียนชุมชนวัดเกาะเพชร พุทธศกั ราช 2564
แนวทางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)
ศึกษาตัวชว้ี ดั หรือจดุ ประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะทีส่ ำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ของผู้เรียนตามหลักสตู รกำหนด เพือ่ กำหนดขอบเขตสาระการเรียนรู้เพื่อกำหนด

38

ขอบเขตสาระการเรยี นรู้และหน่วยการเรยี นรู้ทีจ่ ะทำการทดลองกับกลมุ่ ตัวอย่าง
1.2 ศกึ ษารายละเอยี ดเกี่ยวกับหลกั การ

เทคนคิ และวธิ ีการสร้างบทเรียนสำเร็จรูปจากหนงั สือและเอกสารรวมทั้งงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง
เพอ่ื เป็นแนวทางในการสรา้ งบทเรยี นสำเร็จรูปใหถ้ กู ต้องตามข้ันตอนอย่างเปน็ ระบบ

1.3 ศกึ ษาหนงั สือเรียน หนงั สอื อ่านประกอบ เอกสารตา่ งๆ เกย่ี วขอ้ งกับไฟฟา้
1.4 กำหนดสาระการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั และหน่วยการเรยี นรู้
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
1.5 ดำเนนิ การสรา้ งบทเรียนสำเรจ็ รปู เรือ่ ง ไฟฟา้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
สำหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
1.6 นำบทเรียนสำเรจ็ รปู ท่สี ร้างข้ึนเสนอผูเ้ ชีย่ วชาญ เพือ่ ตรวจสอบความถกู ต้องด้านเนื้อหา
ด้านการใชภ้ าษาในการสอ่ื สาร ความสมั พันธ์และความสอดคล้องกับสาระท่กี ำหนด
รวมทัง้ ความสอดคล้องกบั ตวั ช้ีวัดทผ่ี ู้ศึกษากำหนด
1.7 นำบทเรยี นสำเรจ็ รูปทปี่ รับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผเู้ ช่ยี วชาญ ไปใช้กับกล่มุ ตวั อยา่ ง
คือนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นชมุ ชนวัดเกาะเพชร สำนักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 จำนวนนกั เรียน 20 คน
3. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรียน เรอื่ งไฟฟ้า
รายวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นแบบทดสอบฉบบั เดียวกนั
แบบทดสอบชนดิ เลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 10 ข้อ ผู้ศึกษาไดด้ ำเนนิ การตามขั้นตอนดังนี้

3.1 ศกึ ษาหลักการวัดและประเมินผล ตลอดจนการเขยี นแบบทดสอบ
3.2 วิเคราะห์เน้อื หาและสรุปผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั ให้ครอบคลุมพทุ ธพิ ิสัย
จติ พสิ ยั และทักษะพิสยั ในแผนการจัดการเรยี นรู้ของบทเรียนสำเรจ็ รปู
3.3 สร้างแบบทดสอบแบบผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนแบบเลือกตอบชนดิ 4 ตวั เลือก
ครอบคลุมเน้อื หาตามผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวงั จำนวน 10 ข้อ

4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรยี นโดยใชบ้ ทเรียนสำเรจ็ รูป
แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรปู มลี ักษณะเป็นแบบ
ประเมนิ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียน จำนวน
1 ฉบับ มีขัน้ ตอนการสร้างดังนี้

1. ศกึ ษาหลกั การสร้างแบบประเมนิ ความพงึ พอใจจากเอกสารการวดั และประเมนิ ผล
2. สร้างแบบประเมนิ ความพึงพอใจเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
ข้อคำถามจำนวน 18 ข้อ โดยกำหนดคา่ ระดบั ความพงึ พอใจแต่ละชว่ งคะแนนและความหมาย ดังน้ี

39

ระดบั 1 หมายถงึ พงึ พอใจอยู่ในระดับน้อยท่ีสุด
ระดับ 2 หมายถึง พงึ พอใจอยใู่ นระดับนอ้ ย
ระดบั 3 หมายถึง พงึ พอใจอยู่ในระดับปานกลาง
ระดบั 4 หมายถึง พึงพอใจอยใู่ นระดับมาก
ระดับ 5 หมายถึง พึงพอใจอยู่ในระดับมากทีส่ ุด
สำหรับการใหค้ วามหมายของคา่ ทีว่ ัดได้ ผ้คู น้ คว้าได้กำหนดเกณฑ์ทใ่ี ชใ้ นการให้ความหมาย
โดยการใหค้ า่ เฉลีย่ เป็นรายด้านและรายข้อ ดงั นี้
1.00 - 1.50 หมายถึง พึงพอใจอยูใ่ นระดับน้อยท่สี ุด
1.51 - 2.50 หมายถงึ พึงพอใจอย่ใู นระดับน้อย
2.51 - 3.50 หมายถงึ พงึ พอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง
3.51 - 4.50 หมายถงึ พงึ พอใจอย่ใู นระดบั มาก
4.51 - 5.00 หมายถึง พึงพอใจอยใู่ นระดับมากที่สดุ
4. นำแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ที่ปรบั ปรงุ แล้ว ไปสอบถามนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรียนชมุ ชนวดั เกาะเพชร สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 3 ภาคเรยี นที่ 1
ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวนนักเรยี น 20 คน
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผ้รู ายงานทำการสอนด้วยบทเรยี นสำเรจ็ รปู เพอ่ื หาประสิทธิภาพของบทเรยี นสำเรจ็ รูป
ศกึ ษา หาความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลงั จากเรียนโดยใช้บทเรยี นสำเร็จรปู
การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างเรียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรปู เรอื่ งไฟฟา้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
สำหรบั นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ทำการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามขนั้ ตอนดังน้ี
1. ทดสอบความรู้ก่อนเรียนกบั กลุม่ ตัวอย่างด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
เรอ่ื ง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางเรียนโดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู เร่อื งไฟฟา้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์
สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ซง่ึ เปน็ แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ขอ้
3. ดำเนินการทดลองโดยใช้กลมุ่ ตัวอย่างประกอบกจิ กรรมการเรียนโดยบทเรียนสำเรจ็ รูป
และทำการฝกึ ปฏิบัติตามกรอบกิจกรรมจนครบ
5. หลงั จากเรียนครบทุกบทเรียนแลว้ ทดสอบความรู้หลงั เรียน เรือ่ งไฟฟ้า
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ด้วยแบบทดสอบแบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลอื ก
จำนวน 10 ข้อ กับกล่มุ ตวั อยา่ ง
6. ตรวจแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
7. ให้นกั เรียนทำแบบประเมินความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ บทเรียนสำเร็จรปู จากนั้นนำผล
ท่ีได้รับไปวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถติ ติ ่อไป

40

การวเิ คราะห์ข้อมลู
1.การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรียน
2. การประเมนิ ความพึงพอใจ ของนักเรียนทเ่ี รียนดว้ ยบทเรยี นสำเรจ็ รปู

สถติ ิท่ใี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู
1. เปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียน กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นโดยใช้สถติ ิพื้นฐาน

ได้แก่ คา่ เฉลย่ี คา่ ร้อยละ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
2. ประเมินความพึงพอใจ ของนกั เรยี นทเ่ี รยี นด้วยบทเรียนสำเรจ็ รูป เร่ืองไฟฟา้

รายวิชาวิทยาศาสตร์ สำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 โดยใช้ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉลี่ย
(Percentage) คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูลมีรายละเอียดดงั นี้

2.1 ค่าเฉล่ีย

X= X ค่าเฉล่ยี ของคะแนน
X N
=

 X = ผลรวมของคะแนน

N = จำนวน

2.2 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

S.D. = N  x2 − ( x)2

N(N −1)
S.D. = สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

 (X - X) = ผลรวมของคะแนนลบด้วยคะแนนเฉล่ีย

N = จำนวน

41

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู
การศึกษาครั้งน้ีเป็นการพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู เร่ืองไฟฟ้า
รายวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ีผ่ ู้ศึกษาได้เสนอผลการศึกษาในรูปตารางประกอบ
ความเรียง โดยแบ่งออกเปน็ 2 ตอน คอื
ตอนที่ 1 ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรยี นของ
นักเรยี นที่เรียนโดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รปู เรื่องไฟฟ้ารายวิชาวทิ ยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนต่อการเรยี นโดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รูป เรอ่ื ง
ไฟฟา้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ สำหรบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6

ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกอ่ นและหลงั เรียนของนักเรยี นท่ี

เรยี นโดยใช้บทเรียนสำเร็จรูป เร่อื งไฟฟ้า รายวิชาวิทยาศาสตร์ สำหรบั นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียน กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน

โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรื่องไฟฟา้ นักเรยี นแตล่ ะคนจะมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
หลังเรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรยี น ดังตาราง 1

ตาราง 1 ผลการเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นและหลงั เรยี นของนักเรยี นทีเ่ รียนโดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รูป เรอ่ื งไฟฟ้า

คนที่ คะแนนก่อนเรยี น (10 คะแนน) คะแนนหลังเรียน (10 คะแนน) ผลสมั ฤทธ์ิ

12 10 8

23 96

33 10 7

41 76

52 10 8

60 44

73 41

83 41

94 62

10 4 62

11 3 52

12 0 99

13 2 42
14 2
15 3 42
16 3 31
17 1 63
18 4 10 7
19 4 65
20 4 62
51
 X 51 51
129 78
X 2.55 6.45 3.9
รอ้ ยละ 25.50 64.50 39.00

จากตาราง 1 พบว่า คะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ทัง้ ก่อนเรยี นและหลังเรียน ของนักเรยี นกล่มุ ตัวอย่างจำนวน 20 คน ทเี่ รียนโดยใช้บทเรียนสำเร็จรปู ไฟฟ้า

ผลปรากฏดังน้ี คะแนนรวม (  X ) กอ่ นเรยี นมีค่าเท่ากับ 51 ค่าเฉล่ยี ( X ) ก่อนเรยี นมีค่าเท่ากับ 2.55

คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.50 คะแนนรวม (  X ) หลังเรียนมีคา่ เท่ากบั 129 ค่าเฉล่ยี ( X )หลงั เรยี นมคี ่าเทา่ กับ

6.45 คิดเปน็ รอ้ ยละ 64.50 แสดงว่าการจัดการเรียนรโู้ ดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู เรือ่ งไฟฟ้า

นักเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสงู ขนึ้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 39.00

ตอนที่ 2 ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรียนตอ่ การเรยี นโดยใช้บทเรยี นสำเร็จรปู

เรอื่ งไฟฟ้า รายวิชาวิทยาศาสตร์ สำหรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นต่อการเรยี นโดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู เรอ่ื งไฟฟา้

รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ สำหรบั นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ซ่งึ เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า(Rating

Scale) 5 ระดบั วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย และความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

เกณฑ์ในการแปลค่าระดับความคดิ เหน็ มีดังนี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545)

คา่ เฉล่ยี ความหมาย

4.51 – 5.00 มีความพึงพอใจระดับ มากท่ีสุด
3.51 – 4.50 มีความพึงพอใจระดับ มาก
2.51 – 3.50 มคี วามพึงพอใจระดับ ปานกลาง
1.51 – 2.50 มีความพึงพอใจระดับ น้อย
1.00 – 1.50 มีความพงึ พอใจระดับ นอ้ ยท่ีสุด

43

ตาราง 2 การประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรยี นที่เรยี นโดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รปู

เร่อื งไฟฟ้า รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ สำหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

รายการประเมนิ X S.D. แปลผล
ด้านเน้อื หา

1. เนอื้ หาในบทเรียนเป็นเรื่องท่ชี อบ 4.50 0.60 มาก

2. มเี วลาศกึ ษาค้นคว้าเรือ่ งท่ีเรยี นตามต้องการ 4.19 0.83 มาก

3. เน้อื หาท่ีเรยี นเหมาะสมกับระดับช้ัน 4.54 0.79 มากทส่ี ดุ

4. สามารถนำความรู้ที่ไดไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั 4.14 0.81 มาก

5. เนอ้ื เรอ่ื งทเี่ รียนเป็นเร่ืองท่ีเก่ยี วข้องกับชีวติ ประจำวนั 4.08 0.82 มาก

ด้านกิจกรรมการเรียนรู้

6. เกิดความสนกุ สนานกับการรว่ มกจิ กรรมในช่วั โมงที่เรียน 4.51 0.68 มากท่สี ดุ

7. ไดศ้ ึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองอยา่ งมีความสขุ 4.54 0.50 มากที่สุด

8. มคี วามภมู ใิ จเมื่อตอบคำถามได้ถูกต้อง 4.11 0.80 มาก

9. มีความพงึ พอใจท่สี ามารถตรวจสอบคำตอบไดด้ ว้ ยตนเอง 4.14 0.81 มาก

10. ทำให้ไดฝ้ ึกทักษะดา้ นการอ่านและเขยี นอย่างมน่ั ใจ 4.11 0.80 มาก

ดา้ นสอื่ และอปุ กรณ์ในการเรยี นรู้

11. รปู ภาพในบทเรยี น สวยงาม นา่ สนใจ 4.19 0.83 มาก

12. มกี ารแบง่ เน้ือหาการเรียนรู้ออกเปน็ กรอบ ไมน่ า่ เบื่อหน่าย 4.52 0.60 มากทส่ี ุด

13. ต่ืนเตน้ ทไี่ ดส้ มั ผัสรูปเลม่ ท่ดี งึ ดดู ใจ ของบทเรียนสำเร็จรูป 4.16 0.79 มาก

14. บทเรยี นสำเรจ็ รูปทำให้ประสบผลสำเรจ็ ไดด้ ี 4.41 0.83 มาก

ด้านการวดั ผลและประเมินผล 4.08 0.50 มาก
15. นักเรยี นมโี อกาสได้ทราบผลคะแนนของแบบฝึกหดั ทันที 4.58 0.48 มากทีส่ ดุ
16. คณุ ครมู วี ิธีทดสอบที่นา่ สนใจ 4.19 0.83 มาก
17. พงึ พอใจกบั ผลการทดสอบท้ายบท 4.51 0.64 มากที่สุด
18. คณุ ครใู หค้ ำชมเชยเสมอเม่อื ต้งั ใจเรยี น
รวมเฉลย่ี 4.31 0.71 มาก

จากตาราง 2 แสดงใหเ้ หน็ ว่า นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจตอ่ บทเรียนสำเรจ็ รปู โดยรวมอยใู่ น
ระดับมาก ( = 4.31) เมอื่ พจิ ารณาแต่ละรายการประเมิน พบว่า อยูใ่ นระดบั มากที่สุด จำนวน 6
รายการประเมนิ อยใู่ นระดบั มาก จำนวน 12 รายการประเมนิ สำหรับรายการประเมินที่มคี ะแนนเฉลยี่ สูงสุด
คือ คุณครมู วี ิธีทดสอบทน่ี ่าสนใจ (  = 4.58) รายการประเมนิ ทมี่ คี ะแนนเฉล่ยี น้อยท่ีสุดมี 2 รายการ คือ

44

เนือ้ เร่ืองที่เรียนเปน็ เร่ืองทเี่ กี่ยวข้องกับชวี ิตประจำวนั (  = 4.08)
และนกั เรียนมโี อกาสได้ทราบผลคะแนนของแบบฝกึ หดั ทนั ที (  = 4.08)

45

บทท่ี 5
สรปุ การศกึ ษา อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ
การศึกษาครง้ั นี้เป็นการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รปู เร่ืองไฟฟ้า
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ สำหรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ซึง่ สามารถสรุปขัน้ ตอนและผลการศึกษา
ดงั นี้
1. สรุปผลการศกึ ษา
2. อภิปรายผล
3. ขอ้ เสนอแนะ

สรุปผลการศึกษา

การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นโดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รปู เรอ่ื งไฟฟา้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นชุมชนวัดเกาะเพชร สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษนครศรีธรรมราช เขต 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ได้ผลการศึกษาดงั นี้

1. นักเรียนประถมศึกษาปที ่ี 6 ทีเ่ รยี นรูโ้ ดยใช้บทเรยี นสำเร็จรูป เร่อื งไฟฟา้
มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหลงั เรียนสูงกว่ากอ่ นเรยี น โดยคา่ เฉลีย่ ( X ) กอ่ นเรียนมีค่าเทา่ กับ 2.55
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25.50 แตห่ ลังจัดการเรยี นรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป มคี ะแนนเฉลี่ย ( X )สูงขึ้นมีคา่ เทา่ กับ 6.45
คดิ เป็นร้อยละ 64.5

3. นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 มคี วามพงึ พอใจต่อการเรยี นโดยใชบ้ ทเรียนสำเรจ็ รูป
เร่อื งไฟฟา้ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 ซงึ่ สรุปผลได้ว่านักเรยี นมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก

อภปิ รายผล
จากผลการศึกษาเกี่ยวกับประสิทธภิ าพของบทเรียนสำเรจ็ รูปเร่อื ง ไฟฟ้ารายวชิ าวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรยี น
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นชมุ ชนวัดเกาะเพชร สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา
นครศรีธรรมราช เขต 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 มปี ระเดน็ ท่นี า่ สนใจและนำมาอภปิ รายผลดงั นี้

1. นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ที่เรียนรโู้ ดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรูป เรอ่ื งไฟฟ้า
มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นหลังเรียนสงู กวา่ กอ่ นเรยี น ซึง่ สอดคลอ้ งกบั สมมตุ ฐิ านทีต่ งั้ ไว้ ท้ังน้ีอาจเปน็ เพราะ
การจัดกจิ กรรการเรยี นรโู้ ดยใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รูป เรอื่ ง ไฟฟ้า ซง่ึ ผ่านการสรา้ งและหาคณุ ภาพเปน็ อย่างดี
ประกอบกับกจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ เร่ือง ไฟฟา้ ในแผนการจัดการเรยี นรู้ก็น่าสนใจ ซึ่งเป็นการกระตุน้
และเร้าความสนใจใหก้ บั ผูเ้ รียนเปน็ อย่างดี จนทำให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
หลงั เรยี นสงู กว่าก่อนเรียน สอดคลอ้ งกับ วิรชั เครอื ทอง (2547:67-68) ไดว้ ิจยั เร่ือง
การสรา้ งบทเรียนสำเร็จรปู

46

เรือ่ ง ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2544 ผลการวิจัยพบวา่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลังเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .01 สอดคล้องกับ สุนีย์
ผจญศิลป์ (2546:66-67) ไดว้ ิจัยเรอ่ื งผลการสอนแบบไตรสิกขาที่มีต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น วชิ าสงั คมศกึ ษา
และการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษา ปีที่ 6 ผลการวจิ ัยพบว่า
(1) นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ทไ่ี ด้รบั การสอนแบบไตรสกิ ขามีสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกว่านักเรยี นท่ีได้รับ
การสอนแบบปกติอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05 (2) นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6
ท่ไี ดร้ ับการสอนแบบไตรสิกขา มีการคิดอย่างมีวิจารณญาณสงู กว่านักเรยี นทไี่ ดร้ ับการสอนแบบปกติ
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .05 (3) นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษา ปที ี่ 6 ที่ไดร้ บั การสอนแบบไตรสกิ ขา
มกี ารคดิ อย่างมีวิจารณญาณหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติท่ีระดบั .05 สอดคลอ้ งกบั
ภูมพิ รรณ ทวีชาติ (2549:91) ไดว้ ิจัยเรอื่ ง การศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและปรีชาเชิงอารมณ์
ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ท่ีเรยี นเร่ืองหลักธรรมในพุทธศาสนาที่ไดร้ ับการสอนแบบไตรสิกขา
กบั การสอนแบบรว่ มมือด้วยเทคนคิ เอส ที เอ ดี (STAD) ผลการวิจยั พบว่า
(1) นักเรยี นที่ได้รบั การสอนแบบไตรสกิ ขากบั การสอนแบบรว่ มมือด้วยเทคนคิ เอส ที เอ ดี (STAD)
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นแตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติที่ระดบั .05
(2) นักเรยี นที่ไดร้ บั การสอนแบบไตรสกิ ขากบั การสอนแบบร่วมมือดว้ ยเทคนคิ เอส ที เอ ดี
และปรชี าเชงิ อารมณ์ด้านความรู้สึก ดา้ นความคดิ และด้านการปฏิบตั ิแตกต่างกัน
อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 สอดคลอ้ งกับ เมธาวี เศกิ ศริ ิ (2549:71) ได้วิจยั เรื่อง
การพฒั นาบทเรยี นสำเรจ็ รปู กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรื่อง จังหวดั ของเรา
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 ผลการวจิ ัยพบวา่ ผลสัมฤทธ์ทิ าง
การเรียนหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 สอดคล้องกับ เกษมศรี บุญพอ
ได้สรา้ งบทเรียนสำเรจ็ รูปแบสาขา กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 2
หนา้ ที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนนิ ชวี ิตในสังคม เรือ่ ง กฎหมายนา่ รู้ สำหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่
3 ให้มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 90/90 ผลการวิจยั พบว่า
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรียนสงู กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .01 สอดคล้องกบั เยาวเรศ
พนั ธโ์ นราช (2554:91)
ได้วจิ ยั เรอื่ งการพฒั นากจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรปู ประกอบการสอนตามหลกั ไตรสกิ ขา เร่อื ง
หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
ผลการวิจัยพบว่า ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05

2. นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มคี วามพงึ พอใจต่อการเรียนโดยใชบ้ ทเรียนสำเรจ็ รูป สำเร็จรปู
เรอ่ื ง ไฟฟ้า มีคา่ เฉลยี่ เท่ากับ 4.31 ซึ่งสรุปผลไดว้ ่านกั เรยี นมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก
ท้งั นอี้ าจเปน็ เพราะบทเรยี นสำเรจ็ รูป เรอ่ื งไฟฟา้ ที่สร้างข้ึนเป็นส่ือทมี่ รี ูปภาพประกอบสวยงาม
มีเนือ้ หาและกจิ กรรมท่ชี วนติดตาม มกี ิจกรรมการวดั และประเมนิ ผลทีน่ ักเรียนสามารถตรวจสอบได้ดว้ ยตนเอง

47

สอดคลอ้ งกับ พระมหาเสงยี่ ม มณวี งษ์ (2550:81) ไดท้ ำการวจิ ัยเร่ือง
ผลการเรียนรูเ้ ร่ืองวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพธิ ี
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมโดยใชว้ ิธีสอนแบบปจุ ฉาวสิ ชั นากับวิธีสอนแบบปกติ
สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ผลการวจิ ยั พบวา่
นักเรยี นมีความพงึ พอใจต่อวธิ ีสอนแบบปุจฉาวสิ ัชนาอยใู่ นระดบั มาก สอดคล้องกับจตุพร เตยี ตระกลู
(2553:บทคัดย่อ) ได้ทำการวิจัยเร่ือง การพฒั นากิจกรรมการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม เรือ่ ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โดยใช้กิจกรรม
การเรยี นร้แู บบ 4MAT ผลการวิจยั พบวา่
นักเรยี นทเ่ี รียนโดยการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ รื่องหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
โดยใช้กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 4MAT มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก สอดคล้องกบั เยาวเรศ พนั ธโ์ นราช
(2554:91) ไดว้ จิ ยั เร่ือง
การพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรูปประกอบการสอนตามหลกั ไตรสกิ ขา เรื่อง
หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6
มีความพึงพอใจต่อการเรยี นรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรปู ประกอบการสอนตามหลกั ไตรสิกขา เรื่อง
หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาโดยสว่ นรวมอย่ใู นระดับพอใจมาก

ข้อเสนอแนะ
1. ครูผู้สอนหรือผู้ท่เี กีย่ วข้องกับการเรียนการสอน เร่อื ง ไฟฟ้า

ควรใหค้ วามสนใจในการพัฒนาการเรียนรู้โดยนำบทเรียนสำเร็จรปู ไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้เกดิ
ประสิทธภิ าพสูงสุด

2. ครผู สู้ อนควรชีแ้ จง กำกับดแู ลในกรณีทนี่ กั เรียนมีปญั หาการใชบ้ ทเรียนสำเรจ็ รปู เพื่อสรา้ ง
ความมนั่ ใจให้กับนกั เรียน และทำให้การเรยี นเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ

3. ครผู ู้สอนควรศึกษาให้นกั เรียนมีความรบั ผิดชอบต่อตนเอง คอยกระตนุ้ และเสรมิ แรง
ให้นกั เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรยี น

4. ครผู ู้สอนจึงควรม่งุ เสรมิ และสนับสนุน ตลอดจนใหก้ ำลังใจเพื่อใหผ้ ู้เรียนบรรลุ
ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั ไว้

5. การจดั กิจกรรมการเรยี นร้โู ดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รปู สามารถสอดแทรกเจตคติ คุณธรรม
จริยธรรมระหว่างเรยี นรขู้ องนักเรียน เช่น ความซื่อสตั ย์ ความรบั ผิดชอบ

6.ครูผู้สอนควรให้อสิ ระในการใชบ้ ทเรยี นสำเรจ็ รูปแก่นักเรียนเพ่ือให้นักเรยี นมเี วลาศกึ ษา
บทเรยี นมากทีส่ ดุ

48

บรรณานกุ รม
เกษมศรี บุญพอ. บทเรียนสำเร็จรูปแบบสาขา กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

สาระท่ี 2 หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรมและการดำเนินชวี ติ ในสงั คม เรื่อง กฎหมายน่ารู้ สำหรบั
นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3. ออนไลน์. เข้าถึงได้จาก : www.data bopp-obec.info/emis/
showdetail.php. (15 พฤษภาคม 2562).
ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ เทคโนโลยีและการสอ่ื สารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พย์ ูไนเด
โปรด๊ักชัน่ . 2526.
ไชยยศ เรอื งสุวรรณ. เทคโนโลยที างการศกึ ษา : หลกั การและแนวการปฏบิ ตั ิ .กรงุ เทพมหานคร:
วัฒนาพานชิ .2526.
ณัฏฐิณี สุโพธ์ิ. การพฒั นาบทเรียนสำเรจ็ รปู กลุ่มสร้างเสรมิ ประสบการณช์ ีวิต ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4
เร่อื ง จังหวัดรอ้ ยเอด็ . วิทยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2545.
ดำรง ตลุ าสืบ . “การใชช้ ดุ การสอนแบบส่อื ประสมในการสอนวชิ าคณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง เลขยกกำลัง
สำหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนเมอื งปานวิทยา จังหวดั ลำปาง” .วทิ ยานิพนธ์
ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร์ แขนงวชิ าหลักสูตรและการสอน.
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. 2541.
ทิศนา แขมณี. การสรา้ งบทเรียนสำเรจ็ รูป 14 วธิ ีสอนสำหรับครมู อื อาชพี . โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย, 2544.
ทศิ นา แขมณ.ี ศาสตรก์ ารสอน: องค์ความรเู้ พ่ือการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีมปี ระสิทธิภาพ .พมิ พ์
คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. 2545.
ทักษิณ ชันวัตร. คำบรรยายพิเศษ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศไทยในกระแสโลกาภวิ ตั น์.
กรงุ เทพมหานคร : เอพี กราฟกิ ดไี ซด์ และการพมิ พ.์ 2545.
ทับทมิ วงศป์ ระยูร และคนอนื่ ๆ . เศรษฐศาสตร์ มหาภาค 1 (แนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ.2545-2549). พิมพค์ รง้ั ที่ 4. กรงุ เทพมหานคร. 2545.
ทองคำ สาระวงษส์ ุทธ.ิ์ “การใช้ชุดการสอนแบบสอ่ื ประสมในการสอนวิชา ค 01 เรอ่ื ง พหนุ าม
สำหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นสามชกุ รัตนโภคาราม จงั หวดั
สุพรรณบรุ ี” วิทยานพิ นธ์ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ . สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ แขนง
วิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. 2538.
ทองพลู บญุ อ่ึง . “ผลงานทางวิชาการประเภทบทเรยี นสำเร็จรปู ” ข้าราชการคร.ู 12(1) : 10-14 ;
ตุลาคม – พฤศจกิ ายน, 2542.
ทะเบียนและวดั ผล . รายงานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นสังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม ประจำปีการศกึ ษา 2545 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 26 .จังหวัดลำพูน:
(อดั สำเนา). 2546.
ธรี ะชยั ปรู ณโชติ. การสร้างผลงานทางวิชาการเพื่อพฒั นาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร :

49

โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2539.
นพิ นธ์ ศขุ ปรีดี. เทคโนโลยกี ารศกึ ษา . กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์พฆิ เณศ. 2519.
บญุ เก้อื ควรหาเวช. นวตั กรรมทางการศกึ ษา. พิมพ์ครั้งท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร:

เจรญิ วทิ ย์การพิมพ์, 2530.
บุญชม ศรีสะอาด. การพฒั นาการสอน. กรุงเทพมหานคร : สวุ ีริยาสาสน์ , 2545.
เบญจพล พาลี. “การพฒั นาชุดการสอนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์. วชิ าวิทยานิพนธ์ปริญญา

ศกึ ษาศาสตรม์ หาบัณฑติ สาขาศกึ ษาศาสตร์ แขนงวชิ าเทคโนโลยแี ละส่ือสารการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. 2542.
ประจักษ์ สแี สด. การวจิ ยั เร่อื งการพัฒนาบทเรยี นสำเรจ็ รปู กล่มุ สาระสังคมศึกษาศาสนาและ
วฒั นธรรม เรื่อง อรยิ สัจ 4 สำหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5. วทิ ยานิพนธ์ คม.
อุบลราชธานี : มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี, 2549.
ประหยัด เนตรหาญ. “การใชช้ ดุ การสอนแบบส่ือประสมในการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรือ่ งการแยกตัว
ประกอบของพหนุ าม สำหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นคำเขื่อนแกว้ ชนูปถมั ภ์
จงั หวัดยโสธร” . วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต สาขาศึกษาศาสตร์ แขนง
วิชาหลักสูตรการสอน. มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. 2541.
ปรีชา เนาว์เย็นผล. “การวิจัยเชงิ ทดลอง” ในประมวลสาระชดุ วิชาการวิจัยหลักสูตรและกระบวนการ
เรียนการสอน หน่วยที่ 6 . นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช สาขาศกึ ษาศาสตร์.
2542.
ปรชั ญา ใจสะอาด. การพฒั นาบทเรยี นชว่ ยสอนสู่บทเรยี นสำเร็จรปู . กรงุ เทพมหานคร :
ม.ป.พ., 2522.
ผกา สัตยธรรม. ลักษณะของสือ่ การเรียนการสอนที่มีคุณภาพ. กรงุ เทพมหานคร : ม.ป.พ. 2542.
พระมหาธรี ะศักดิ์ ธติ กิ ิตตฺ ิ (สุขยง่ิ ). ศึกษาผลสัมฤทธ์กิ ารเผยแผค่ ณุ ธรรมแกน่ ักเรียนระดบั
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ของศูนยพ์ ัฒนาคุณธรรมจังหวดั สรุ ินทร.์ วทิ ยานพิ นธป์ ริญญา
พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต. (บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย).
2549. หนา้ จ. 2549.
ภมู พิ รรณ ทวชี าติ. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและปรชี าเชงิ อารมณ์ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษา
ปที ่ี 5 ทเ่ี รียนเรอื่ ง หลักธรรมในพุทธศาสนาท่ีไดร้ ับการสอนแบบไตรสกิ ขากบั การสอนแบบ
รว่ มมือดว้ ยเทคนคิ เอส ที เอ ดี (STAD). ออนไลน.์ เขา้ ถึงได้จาก : www.research.rmutt.th/.
(15 พฤษภาคม 2562).
เมธาวี เศิกศิริ. การพัฒนาบทเรยี นสำเร็จรูป กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เรื่อง จังหวัดของเรา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4. ออนไลน.์ เข้าถงึ ได้จาก :
www.th-th. Facebook.com/pubic. (15 พฤษภาคม 2562).
มลู นธิ เิ ซนคาเบียลแห่งประเทศไทย . “พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และท่แี ก้ไข

50

เพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545”. กรงุ เทพมหานคร: 2546.
เยาวเรศ พนั ธ์โนราช. การพัฒนากจิ กรรมาการเรยี นรู้โดยใชบ้ ทเรียนสำเร็จรูปประกอบการสอนตาม

หลกั ไตรสกิ ขา เรือ่ ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6. ออนไลน.์ เข้าถงึ ได้จาก www.Kalasin3.go.th/view.php.
(15 พฤษภาคม 2562).
รุ่งทิวา นาทศรที า. การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้โดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รปู วชิ าคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง
สมการช้ันประถมศึกษาปีที่ 6. รายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม :
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547.
ลำภรณ์ พสิ ถาน .การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนร้โู ดยการใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรปู เรอื่ ง วันสำคัญทาง
พระพุทธศาสนา กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปี
ที่ 1 โรงเรียนบ้านโนนม่วง อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบวั ลำภูรายงานการศึกษาค้นคว้า
อสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. 2554.
ลว้ น สายยศ . ระเบียบวิธีทางสถิตบิ างประการเพือ่ การวิจัย ใน ประมวลสาระชดุ การวิจยั หลักสตู รและ
กระบวนการเรียนการสอน . นนทบรุ ี : มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช สาขาศกึ ษาศาสตร์.
2526.
วิชาการ, กรม. การจัดสาระการเรยี นร้กู ลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ัน
มัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2546.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. 2546.
. การจดั สาระการเรียนร้กู ลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-6 ตามหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว. 2551.
. การจัดสาระการเรยี นรูพ้ ระพุทธศาสนา. กรงุ เทพฯ : กรมวชิ าการ, 2545.
วนิดา สาวสิ ทิ ธ์ิ. การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิของการเรียนโดยใช้บทเรยี นการต์ ูน และการเรยี นปกติ
กล่มุ สรา้ งเสริมประสบการณ์ชีวิต เรอื่ ง ทรัพยากรดนิ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5. รายงาน
การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม :มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2545.
วราลี ศรสี มบัติ. เศรษฐศาสตร์เบอื้ งต้น ตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) .
กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พ์ฟสิ กิ สเ์ ซ็นเตอร์. 2544.
วิชยั วงษ์ใหญ่ . “วฒั นธรรมการเรยี นรูใ้ นยุคโลกาภวิ ตั น”์ ใน ประมวลสาระชดุ วชิ าบริบททาง
การศึกษา หน่วยท่ี 13 . นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมธริ าช สาขาศกึ ษาศาสตร์.
วิเลศิ สาระภกั ดี. การพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปกลมุ่ ทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การคูณและการหาร
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3. รายงานการศึกษาคน้ คว้าอสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัย
มหาสารคาม, 2547.
วิทยากร เชยี งกูล . เศรษฐกิจโลกในกำมือทุนข้ามชาติ : จากโรงนาถงึ วอชงิ ตันเศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจ


Click to View FlipBook Version