“เคยจกี ะลา” (กะปปิ ิง้ ) :
วถิ ีแหง่ อาหารและการกินภาคใต้ ว่าด้วยการเช่อื มสัมพันธ์และมติ รภาพ1
"Kei Jee Kala" (Grill shrimp paste) : the way of food and eating in the
south, friendship and connection
พระปลดั ระพิน พทุ ธสิ าโรIPhrapalad Raphin Buddhisaro
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Email [email protected]
บทคัดยอ่
บทความนีส้ ะทอ้ นคดิ จากเรือ่ งเล่าในการลงพนื้ ทวี่ จิ ยั โดยมภี าพจำเป็นความประทบั ใจ โดยเร่ืองทีป่ ระสบ
พบเจอผ่าน “เคยจี-กะปิปิ้ง” วิถีแห่งอาหารมาบันทึกเล่าแบ่งปันผ่านเรื่องเล่า พูดคุยสะท้อนคิด นำมาค้นคว้า
เพิ่มเตมิ กับเอกสาร งานวจิ ัย นำเสนอสะทอ้ นคดิ แบบความเรียง
ผลการบันทึกสะท้อนคิดพบว่า วิถีแห่งอาหารในวิถีแบบภาคใต้ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง ท่ีผ่านภูมิ
ปัญญา การประดิษฐ์สรา้ ง รวมทงั้ เป็นความลงตวั ทผี่ สมผสานระหวา่ งอตั ตลักษณ์เชงิ พนื้ ที่ โดยมีทรัพยากรทม่ี าจาก
ทะเล สู่การถนอมอาหาร การนำกะลาในเชิงพื้นท่ีมอี ย่จู ำนวนมากมาเป็นอปุ กรณ์ในการถนอมอาหาร และอาหาร
น้ันถูกนำมาเปน็ ส่วนผสมทีล่ งตัวในครัว ในแบบเคยจี พรอ้ มเคร่อื งเคียง และอาหาร ทำใหเ้ คยจีกลายเป็นช่องทาง
สร้างมิตรภาพผ่านการกิน สะท้อนอัตตลักษณ์เชื่อมประสานเป็นมิตรภาพระหวา่ งกัน ดังพุทธพจน์ท่ีว่า “เนกาสี
ละภเต สุขัง” แบ่งกันกินจึงจะมีสุข เคยจีที่อยู่ในครัว จึงถูกนำมาเป็นอาหารบนโต๊ะในคราวนี้ด้วย พร้อมเชื่อม
ประสานเป็นมติ รภาพผ่านการกนิ ในทีส่ ุด
คำสำคัญ เคยจีกะลา (กะปปิ ้ิง),วถิ แี หง่ อาหารและการกนิ ภาคใต้,มิตรภาพและการเชอ่ื มสัมพันธ์
Abstract
This article reflects the thoughts from the stories in the research area. with images that
are necessary to impress by the things that have been encountered through "Keijee-Kapi Ping",
the way of food is recorded and shared through stories. reflect bring to further research with
papers, research, presentations, reflections, essays
1ถอดประสบการณ์ของการเดินทางเก็บข้อมลู วจิ ัย ระหว่าง 5-7 เมษายน 2565 ภายใตแ้ ผนงานโครงการวจิ ยั การพฒั นา
โครงสรา้ งเชงิ ระบบเพือ่ การปกครองคณะสงฆไ์ ทยทเ่ี ข้มแขง็ ในประเทศไทย งบประมาณสถาบันวิจยั พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปงี บประมาณ 2565
The results of the reflection recording revealed that The way of food in the southern way
has its own uniqueness through wisdom invention as well as being the perfect blend of spatial
identity with resources that come from the sea to food preservation Using a large number of
spatial shells as food preservation equipment And the food is brought to be the perfect
combination in the kitchen in kei ji style with side dishes and food, making kee gee a way to build
friendships through eating. reflecting the identity that connects to the friendship between each
other As the Buddha said, "Nekasi, Labhate, Sukhang", sharing will lead to happiness. keiji in the
kitchen Therefore, it was brought as food on the table this time as well. Ready to connect to
friendship through eating in the end
Keywords: Kei Jee Kala (Khapi Ping), Southern food and eating methods, friendship and
connection
บทนำ
จุดสนใจสำหรบั เร่ือง “เคยจกี ะลา-กะปกิ ิ้งใสก่ ะลา” คือการทท่ี า่ นอนุสรณ์ (พระอนสุ รณ์ อนตุ ฺตโร) นิสิต
สาขาวชิ าการจัดการเชิงพุทธ พูดในระหว่างเรยี นว่าจะนำ “เคยจกี ะลา” ไปปนั หรอื แบ่งปัน เมอื่ จะต้องไปพบกัน
ในการเดินทางเมื่อ 6-7 เมษายน 2565 เมื่อฟังคร้ังแรก ก็เฉยๆ เพราะเป็นการพูดคุยผ่าน Zoom ระหว่างเรยี น
ดว้ ยคิดว่า กะปิ กะลา กค็ งเคม็ ๆ ทว่ั ไป ไมไ่ ด้มีอะไรพิเศษกระมงั แต่ฝง่ั นสิ ิตผูเ้ รียน ก็นำเสนอประหน่ึงเป็นความ
ภาคภูมิใจ เป็นความพิเศษ จนกระทัง่ ผ่านเวลานั้นไปพร้อมลมื เป็นที่เรียบร้อย และเม่ือพบกนั จริง ๆ เมื่อวนั ที่ 7
เมษายน 2565 ทา่ นอนุสรณ์ที่พบขณะเดินทางไปยงั วัดกลางใหม่ ซ่ึงเปน็ วดั ของรองเจ้าคณะจงั หวัดสุราษฎร์ธานี
เพือ่ สมั ภาษณ์เกบ็ ข้อมูลวิจยั ในแผนงานโครงการวิจัย การพฒั นาโครงสรา้ งเชงิ ระบบเพ่ือการปกครองคณะสงฆ์ไทย
ที่เข้มแข็งในประเทศไทย โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย ประจำปงี บประมาณ 2565 โดยงานจะเนื่องด้วยการบริหารกิจการคณะสงฆ์ หรือองค์ความรู้ท่ี
จะไปเปน็ เคร่อื งมือ ในการสง่ เสริมให้เกิดการบรหิ ารจดั การคณะสงฆ์ภายใต้กลไกการปฏริ ปู ซง่ึ หมายถึงบรหิ ารโดย
มีฐานมาจาก สู่การพัฒนาระบบด้วยปัญญา พัฒนาเป็นเครื่องมือให้เกิดระบบสำหรับบริหาร เมื่อเจอกัน พูดคุย
สนทนากนั เป็นท่ีเรียบรอ้ ยตามวัตถุประสงคข์ องการมา พร้อมประโยคคม ๆ จากเจ้าของสถานที่ทีว่ ่า “ตรงเวลา
อย่าตามเวลา” จากนัน้ จึงร่ำลาแยกย้ายกนั หลวงพี่อนุสรณ์ที่เอย่ ถึงแต่ตน้ เร่ือง กอ่ นจากค่อย ๆ นำ “เคยจี-กะปิ
ปงิ้ ” ทหี่ อ่ ใสถ่ งุ พลาสตกิ Packaging อย่างง่ายสไตล์บา้ น ๆ คอ่ ย ๆ ส่งให้แบบนอบน้อมต่อการให้อย่างไรบอก ๆ
ไม่ถูก แล้วนำถวายเจ้าอาวาสวดั กลางใหม่ (พระครูปริยัติคุณาวุธ) รองเจ้าคณะจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ที่ได้รับการ
แตง่ ต้ังตามมติมหาเถรสมาคม ในการประชมุ คร้งั ที่ 26/2561 มตทิ ่ี 547/2561 เมือ่ 10 ตุลาคม 2561 และท่านก็
บรรจงรบั แบบดใู ส่ใจ และให้ความสำคญั มองจากสายตาของผู้เขียนก็ถุงพลาสติกแบบธรรมดา กะลาสดี ำ ๆ และ
กะปิ ท่ีมีกลิน่ ฉุนเล็กน้อยถงึ มาก แตส่ ่ิงที่สอ่ื ออกมาคือความจรงิ ใจ ภูมิใจของผู้นำมาให้ ทำให้เห็นว่ากะปิ ที่ดูแสน
จะธรรมดา กลายเป็นของมีคุณค่า ซึ่งเป็นคุณค่าทางใจ เป็นภูมิปัญญาเชงิ พื้นที่ ท่ีสะท้อนถึงอัตตลกั ษณ์ ตัวตน
และบรบิ ทของอาหาร เคยจีจงึ กลายเป็นอาหาร พื้นถิน่ พื้นที่ เปน็ จติ วญิ ญาณทปี่ ระกอบสร้างรวมเปน็ อารหารแหง่
ตัวตนทันที ที่สำคญั ทำให้เห็นมิตรภาพของสมาชิกในนามวทิ ยาลัยสงฆส์ ุราษฎร์ธานีจากการเดินทางในครัง้ น้ีดว้ ย
ทง้ั ทา่ นกรฑี า แหง่ วัดปา่ เขาหวั ช้าง (นครศรีธรรมราช) กบั ภาพจำของน้ำทว่ มวัดและการพยายามหาท่ีกนิ ท่ฉี ันในวนั
แรกกบั บรรยากาศขบั รถฝา่ ฝนหารา้ นอาหารวา่ ไมร่ จู้ ะไปรา้ นไหน กันดี แตม่ ีเป้าหมายคอื ให้ไดก้ ิน หลวงพีธ่ รรมนญู
(พระครูเนกขัมธรรมธาร) แห่งวัดปากน้ำละแม (ชุมพร) ที่พบเจอระหว่างที่ร้านก่วยเตี๋ยวพุงวัว เมนูเด็ดร้าน
ปลายทางของพวกเรา ที่สอบถามได้ความว่าไปหาคนมาเรียนหนังสือกับ อาจารย์สุข (ดร.สุขอุสา นุ่นสุข) หลวง
แก้ว (ดร.พระครูสมุห์ดิษฐภูมิ จิรธมฺโม) อาจารย์แหวว (ดร.สุภาภรณ์ โสภา) อาจารย์น้อง (ว่าที่ ดร.ภัทชรดา
สุวรรณนวล) หลวงพ่ีพระปลดั พิชติ แห่งวัดเขาพัง (สรุ าษฎรธ์ านี) และหลวงพ่ีอนสุ รณ์แหง่ วดั ปากนำ้ ละแม (ชมุ พร)
ต้นเรื่องของกะปิปิ้ง เคยจี ตามชื่อบทความ และอีกหลายอย่างในภาพจำ ต่อการอำนวยความสะดวกอย่าง
ประทบั ใจต่อความเปน็ เจ้าของพ้นื ท่ี ทั้งประสานอำนวยความสะดวกใหแ้ ก่คณะของพวกเรา ๆ เมอื่ ไปแล้วมีภาพจำ
ด้วยเกรงว่าอาจลืมเลือนและเป็นความทรงจำเฉพาะตวั จงึ บันทึกไว้ด้วยอยากบอกใหค้ นอ่ืนรู้ว่ามีความประทับใจ
แบบน้ี นำมาเล่าแบ่งปนั พร้อมบันทึกการเรียนรู้เกี่ยวกับ “เคยจี-กะปิป้ิง” วิถีแห่งอาหาร รวมทั้งมิตรภาพที่ถูก
เชื่อมประสานผ่าน “กะปิปิ้ง-เคยจี” เรื่องเล็ก ๆ จากมุมที่อยากเล่าประสบการณ์ของพื้นที่และการเดินทางต่อ
ประหนึ่งเปน็ บันทกึ ขอบคุณท่จี ะพึงถูกประทบั ไว้เป็นความทรงจำต่อไป
ภาพท่ี 1 วิถีแหง่ อาหารบนโตะ๊ อาหาร และเคยจี ประสบการณ์ การเดนิ ทางและการแบ่งปันในวิถขี องหาร ร้านตำ
ลุงหลวง ถนนดอนนก ซอย 11 ในเมืองสรุ าษฎรธ์ านี (ภาพผเู้ ขยี น 6 เมษายน 2565)
เคยจี ภูมปิ ัญญาและวิถขี องการเก็บอาหาร
พยายามสอบถามจากคนพ้ืนถิ่นและคนใต้ ทำนองว่าสอบถามตรวจสอบความเข้าใจของตวั เองต่อข้อมลู
เชิงประจกั ษ์ ซงึ่ ทุกคนส่วนใหญจ่ ะรจู้ ักวา่ “เคยจี” คืออะไรและบรโิ ภคอย่างไรในวิถอี าหารเรียกว่าเปน็ วิถีประเพณี
อาหารพนื้ ถน่ิ ของคนใต้ เมอ่ื สบื คน้ ในพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิต ท่ีใหค้ วามหมายของ เคย ไว้วา่ (น.) ช่ือกงุ้ ขนาด
เ ล ็ ก ห ล า ย ชน ิ ด ห ล า ย สก ุ ล ใน 2 วง ศ์ ได ้ แก ่ วง ศ์ Mysidae เ ช่ น เ คย ต า ด ำ [ Mesopodopsis
orientalis (Tattersall)] อ ั น ด ั บ Mysidacea แ ล ะ ว ง ศ ์ Sergestidae เ ช ่ น เ ค ย ต า
แดง (Acetes erythraeus Nobill) อันดับ Decapoda ขนาดยาวไม่เกิน 3.4 เซนติเมตร มีหนวด 2 แฉก ลำตัว
แบนขา้ ง เปลอื กบาง ใส เน้อื ยยุ่ เหมาะสำหรับใช้หมกั เกลือทำกะปแิ ละน้ำเคย ดงั นัน้ เคยในนยิ ามนจี้ งึ หมายถึงกงุ้ ท่ี
นำมาแปรรูปเป็นอาหารเพือ่ การบรโิ ภคในรูปของกะปิหรอื เคย เมือ่ ไปดูคำวา่ จี หรือจี่ ที่เปน็ คำกิรยิ า (ก.) เผา, ใช้
เข้าคู่กับคำ เผา เป็น เผาจี่, โดยปรยิ ายหมายความว่า ทอดในกระทะทีท่ านํ้ามนั นอ้ ย ๆ เช่น แป้งจี่ ข้าวจี่ เมื่อมา
รวมกันจึงเป็นชนิดของการแปรรูปอาการอีกชนิดหนึ่ง เมื่อสอบถามจากเจ้าของพื้นที่แท้ ๆ พี่หลวงธรรมนูญ
อาจารยแ์ หววและอีกหลายทา่ น กใ็ ห้ข้อมลู ไมแ่ ตกต่างกนั พร้อมประโยคสำทับจากอาจารยแ์ หวว (สุภาภรณ์ โสภา
,2565) ทีว่ า่ “ทสี่ ุดตอ้ งใชก้ ุ้งทำกะปิ หรอิื ตอ้ งใชเ้ คยดๆี ในการทำ ชาวบ้านจะนิยมเอาเคยจี กนิ กบั ขา้ วสวยหงุ รอ้ น
คลุกข้าวกินก็อร่อย” ดังนั้นสาระสำคัญที่นา่ สนใจซึ่งสรุปโดยรวมว่า เคยจี หรือกะปิ เป็นแนวทางของการถนอม
อาหารทีผ่ า่ นกระบวนการของภูมปิ ัญญาและการดำเนนิ ชีวติ เหมอื นวิถขี องคนไทยในองคร์ วมและประชาชาติท่ีว่า
ด้วยวถิ ีของการเกบ็ รักษาอาหารให้ไดน้ านท่สี ุด หรอื การถนอมอาหาร กะปิ เคย นำ้ ปลาหมัก ปลาร้า ลว้ นเป็นองค์
ความรูท้ ่ีสะสมจากคนสูค่ น จากร่นุ สรู่ ่นุ “เคยจี” มองดแู บบไมใ่ สใ่ จกจ็ ะพน้ื ๆ บ้าน ๆ แตค่ วามน่าสนใจ คืออย่าง
น้อยเปน็ การสะท้อนภูมิปัญญา ที่ว่าด้วยการเก็บอาหาร การประดษิ ฐ์สร้างความเป็นเอกลักษณ์ของตัวเองภายใต้
ความโดดเดน่ เฉพาะตัว (เอกลกั ษณ์ จารุกิจไพศาล,2557) ดงั ท่กี ัมพชู านำเสนอความเป็น “ไตรฮก๊ ” ท่หี มายถึงการ
ถนอมอาหารในรปู ของปลาร้า บนเสน้ ทางสายเกลอื ในอดตี ท้ังด้วยกัมพูชามแี หลง่ นำ้ ที่เปน็ แหลง่ ผลิตอาหารตามวถิ ี
แหง่ ธรรมชาติที่ขน้ึ ชอ่ื ในสว่ น ลาว-ไทย กม็ ีวถิ แี ห่ง “ปลารา้ -ปลาแดก” (นิลบุ ล ไพเราะ,2562) หรอื ในวถิ ีอาหาร
ของเกาหลี กับกิมจิ การถนอมอาหารผักดองที่เป็นภาพจำของประชาคมโลก เป็นต้น (ลักษณารีย์ ภัทรทวีสิน
,2562)
เมอ่ื สำรวจจากงานวจิ ยั ของ ประกิจ พงษ์พทิ กั ษ์ (2016) เรื่อง การสร้างสรรคช์ ุดการแสดง “ระบำเย่อื เคย
ราย็อง” ท่ีสะท้อนผลการวจิ ัยเป็นประวัติความเป็นมา ขั้นตอนการทำเยื่อเคยหรอื กะปิ ของหมู่ที่ 3 ตำบลหนอง
ละลอก อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง การทำเยื่อเคยหรือกะปิของกลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่ที่ 3 ตำบลหนอง
ละลอก มีการสืบทอดมาเป็นระยะเวลากวา่ 100 ปี จากบรรพบุรษุ จนกลายมาเปน็ สนิ คา้ พ้ืนเมอื งท่สี ร้างชื่อเสยี งมา
ยาวนาน
รวมไปถึงในงานวิจัยของ วิมลรัตน์ ธรรมชาติ และคณะ (2564) เรื่อง การแปรรูปกุ้งเคยเพื่อส่งเสริม
เศรษฐกิจชุมชน กรณีศึกษา: ชุมชนบ้านพังปริง หมู่ที่ 1 ตำบลกลาย อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ี
สะท้อนผลการศึกษากระบวนการแปรรปู กุ้งเคย เพื่อส่งเสรมิ เศรษฐกิจชุมชน ปัญหาในการแปรรูปกุง้ เคย ฯ และ
ศึกษาแนวทางส่งเสริมการแปรรูปกุ้งเคย ฯ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยของที่สะท้อนถึงกะปิ หรือวิถีของอาหารใน
รูปแบบของกะปิ ในงานของ ศศิอาภา บุญคง และคณะ (2021) ในเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบกะปิก่ึง
สําเร็จรูป ที่นำกะปิมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีทำให้อยู่ได้นาน และมีรูปแบบหีบห่อบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาอย่าง
เหมาะสมเป็นกะปิก่ึงสำเร็จรูป แต่ยังคงเอกลักษณ์เป็นผลติ ภัณฑ์พื้นถิน่ ตามแบบวถิ ีแหง่ อาหาร รวมไปถึงในงาน
ของ ภัศริดา เหมศรีสวัสดิ์ และคณะ (2563) ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่น :
กรณีศึกษา น้ำพริกกะปิชะคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ท่ีมีวิถีของอาหารที่เนื่องด้วยกะปิเป็นองค์ประกอบด้วย
เช่นกัน และในงานวิจัยของ เสาวณี จุลิรัชนีกร สุดชีวัน จันทอง (2557) ในเรื่อง โอกาสและศักยภาพทางการ
ตลาดสำหรับผลติ ภัณฑ์กะปผิ งของกลมุ่ OTOP เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ท่ีมงุ่ ศกึ ษาการผลิตกะปิผง
ความต้องการของตลาด การแขง่ ขนั และกลยุทธ รวมทงั้ ปัจจยั เช่อื มโยงตอ่ การผลติ ในองค์รวมในพ้ืนทอ่ี ำเภอจะนะ
จังหวัดสงขลา รวมไปถึงการจัดแสดงสินค้าในงาน OTOP ผ่านช่องทางการตลาดออนไลน์ สําหรับลูกค้าที่อยู่
ต่างประเทศ และส่งเสริมการตลาดให้ลูกค้ามีการทดลองใช้ก่อน ในงานเรื่อง การศึกษาพฤติกรรรมการซื้อและ
ความตอ้ งการการบริโภคสนิ ค้าประมงอินทรีย์ บนพน้ื ฐานการพึง่ พาตนเองทย่ี ัง่ ยืนของกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน จังหวัด
จันทบุรี และจังหวดั ตราด (ศักดิ์ดา อ่างวัฒนกิจ และคณะ,2563) ในงานวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาทางอาหารในชว่ ง
อุทกภัยของชาวบ้านในหมูบ่ า้ น หัวตะพานมอญ ตำบลวัดยม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (นพา ลี
ละศุภพงษ,์ 2564) จากงานวิจยั สะท้อนผลว่า “เคย” หรือ กะปิ เป็นวิธีการถนอมอาหาร รวมทั้งถกู พัฒนาให้เป็น
ผลิตภัณฑ์หนึ่งของชุมชนในวิถีของการกิน พื้นบ้าน การแสวงหาแหล่งอาหารจากประมง จนกระทั่งกลายเป็น
เอกลกั ษณ์ของวถิ ใี นการปรงุ อาหารในแบบอษุ าคเนย์ ดงั ปรากฏในงาน สิริน ฉกามานนท์ และคณะ (2022) ในเร่อื ง
แนวทางการสืบสานคณุ ค่าและอตั ลักษณ์ร่วมทางวัฒนธรรม: น้ำพริกแหง่ อษุ าคเนย์ ที่ศกึ ษาถึงกะปิ เป็นส่วนหนึ่ง
ของเคร่ืองปรงุ ดังปรากฏในงานวจิ ยั ท่ีว่า
น้ำพริกที่ใช้เป็นเครื่องจิ้ม ได้แก่ น้ำพริกกะปิและน้ำพริกปลาร้าในกรุงเทพและปริมณฑล
ประเทศไทย แจว่ บองในหลวงพระบาง ประเทศลาว และตกึ เกรอื งในพนมเปญ ประเทศกัมพชู า ทีส่ ะทอ้ น
ผลการศึกษาออกมาว่า 1) คุณค่าและอัตลักษณร์ ว่ มทางวัฒนธรรมของน้ำพริกแห่งอุษาคเนยแ์ บ่งเป็น 5
ประเด็นได้แก่ (1) ด้านประวัติศาสตร์สะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นรากเหง้าที่ผสานเราชาวอุษาคเนย์ไว้
ด้วยกัน (2) ด้านสุนทรียศาสตร์สะท้อนอัตลักษณ์ความงามที่เรียบง่ายแต่ลุ่มลึก (3) ด้านจริยศาสตร์
สะทอ้ นอตั ลักษณ์ความรักความอบอ่นุ ในแบบฉบับของชาวอุษาคเนย์ (4) ด้านภูมปิ ญั ญาสะท้อนอตั ลกั ษณ์
การดำรงชีวิตทส่ี อดคลอ้ งกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และ (5) ด้านวถิ ชี ีวติ สะท้อนอัตลักษณ์วิถีแห่ง
อษุ าคเนย์
ภาพที่ 2 มิตรภาพทีว่ ่าด้วยอาหารและการกนิ ปฏิสัมพนั ธข์ องพนื้ ทีข่ องจังหวัดสรุ าษฎร์ และนครศรีธรรมราช
ระหว่าง 5-7 เมษายน 2565 (ภาพผูเ้ ขียน 6 เมษายน 2565)
ดงั นน้ั จากภาพรวมสะทอ้ นใหเ้ หน็ ว่า เคย เคยจี หรอื กะปปิ ิง้ จงึ เป็นเร่ืองภูมิปัญญาทวี่ า่ ด้วยของการผลิต
อาหาร การถนอมอาหาร และการสะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ การสรา้ งมูลค่าเพมิ่ ในรูปแบบของผลติ ภณั ฑ์ ทน่ี ำเอกลกั ษณ์มา
เป็นแบบแผนของอาหาร โภชนาการของส่ิงท่ีมีในวิถีของทอ้ งถิ่นและชมุ ชนดงั ปรากฏ
เคยจีกะลา (กะปิป้ิง) เอกลักษณ์เป็นภาพจำสคู่ วามทรงจำ
กะปิ ในภาษาไทยอาจเป็นภูมิปัญญาทีว่ ่าดว้ ยเร่อื งอาหารที่มีพัฒนาการทสี่ ืบคน้ ได้วา่ มีหลกั ฐานนับแตค่ รั้ง
กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี (พ.ศ.อยุธยา (1893–2310) ที่สะทอ้ นว่ากะปิ เป็นสิ่งที่คู่ครัวของวิถีแห่งอุษาคเนย์มา
อยา่ งยาวนาน ดังปรากฏในงานวิจยั ของทตั ดารา กาญจนกุญชร และคณะ (2560) ในเรื่อง ววิ ัฒนาการเครื่องแกง
ไทย- The Evolution of Thai Curry Pastes ที่เสนอข้อมูลว่า “ความเป็นมาของเครื่องแกงไทย เกิดขึ้นในสมยั
สุโขทัยในภูมิคาถา มีใช้วัตถุดิบที่มาจากแหล่งน้ำ มีการปลูกพืช ผัก และเครื่องเทศ มีการเลี้ยงสัตว์ เพื่อนำมา
ประกอบอาหาร มีการใชอ้ ปุ กรณ์ในการปรงุ อาหาร มีการนำเข้าอปุ กรณ์ใส่อาหารจากประเทศจีน ในสมัยอยุธยามี
การบริโภคแกงที่ใส่กะปิ มีส่วนผสมของสมุนไพร เครื่องเทศ และผักกลิ่นฉุน มีการบริโภค เนื้อสัตว์ วัตถุดิบที่มา
จากแหล่งน้ำและทะเล โดยแกงบางชนิดได้รับอิทธิพลจากการประกอบอาหารจากจีน ญี่ปุ่น เปอร์เซีย ฝรั่งเศส
มอญ โปรตุเกส อินเดีย และฮอลันดา เครื่องแกงไทยโบราณมักจะมีรสชาติตะไคร้และ ใบมะกรูดรวมกับกะทิ
เครอ่ื งเทศทใี่ ช้ในเคร่อื งแกงไทยขึ้นอยู่กบั ภมู ิภาค อาหารไทยท่สี ร้างขึ้นจากเครือ่ งแกง เปน็ ท่ีนยิ มท่วั โลก” หรือใน
งานของ ลัญจกร จันทรอ์ ดุ ม มณฑกานต์ ทองสม (2561) ในงานวิจัยเรื่อง การคัดแยกแบคทเี รียท่ีผลติ ฮีสทามีน
และการวิเคราะหค์ ุณภาพผลติ ภัณฑอ์ าหารทะเลหมักในพ้นื ทจ่ี งั หวดั นครศรีธรรมราช ในภาพรวมของงานวจิ ยั นัย
ของกะปิ คือการถนอมอาหาร ซึ่งสอดคล้องกับบรบิ ทของพื้นท่ีที่มีวัตถุดบิ สำหรับการผลิตจนเป็นเอกลักษณ์ของ
ชมุ ชนทอ้ งถิ่นน้ัน ๆ
แนวคิดเชื่อมโยงในแบบเคยจี (กะปิปิ้ง) ที่ทำให้เห็นบริบทการเชื่อมโยงและการใช้สิ่งใช้ที่เนื่องด้วย
ภูมศิ าสตรเ์ ชงิ พื้นท่ีผา่ นวถิ ีของ (1) กะลา ท่ีเปน็ ส่วนจากมะพรา้ ว ในเร่อื งการบริหารวตั ถทุ ่ีใช้ในพ้นื ถิน่ ดว้ ยภาคใต้มี
การผลิตมะพร้าวเพื่อบริโภคจำนวนมาก ดังนั้นกะลามะพร้าวเป็นวัตถุที่เหลอื เนือ่ งจากมะพร้าว จึงถูกนำมาเป็น
บรรจุภณั ฑ์ ทมี่ ลี ักษณะรว่ มเชน่ ตระกลู ขนมไทยทีเ่ นื่องด้วยใบตองเป็นบรรจภุ ณั ฑ์ ใบมะพร้าว กับขนมไทยหลาก
ชนิด แต่นัยของแนวคิดนี้ไปสัมพันธ์กับเรื่ององค์ความรู้ ภูมิปัญญาและการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องกับ
สภาพแวดลอ้ มและภูมศิ าสตรเ์ ชงิ พ้ืนทด่ี ้วยเช่นกนั (2) จี / จ่ี / หรือความเช่ือมโยงทางภาษาท่ีใช้ร่วมกันระหว่าง
ภาคอสี านและใต้ ที่การปงิ้ เปน็ ลักษณะรว่ มและถูกบันทกึ ไวเ้ ปน็ การเชอ่ื มโยงเชงิ สงั คมผา่ นศาสตรท์ างภาษา จึงได้
ยินคำวา่ “ข้าวจ่ี/หรือบญุ ขา้ วจี่-ข้าวเหนยี วปง้ิ ” เช่ือมไปยัง “เคยจ”ี กะปปิ ง้ิ ท่ีสะทอ้ นถงึ ความเช่ือมโยงทางภาษา
และภมู ปิ ญั ญาท่ีวา่ ดว้ ยการถนอมอาหารน้ดี ว้ ย (3) อัตลกั ษณข์ องความภาคภูมใิ จ ในวิถีแห่งชุมชน การทีเ่ คยจี เปน็
อาหารพน้ื ถิ่นที่มีลักษณะเฉพาะพื้นที่ แตก่ ป็ รากฏภาพเปน็ ความต้งั ใจนำมาให้ ผสมรวมกบั ความอ่อนน้อมต่อวัตถุ
เป็นเครื่องเชื่อมผ่านภาพลักษณข์ องการของพี่หลวงอนุสรณ์ต่อพระครูปริยัติคณุ าวุธ แห่งวัดกลางใหม่ ซึ่งเป็น
ความน่าสนใจประทับใจต่ออัตลักษณ์ เป็นเช่นเขมรภาคภูมิใจต่อ “ไตรฮ๊ก-ปลาร้า” ที่ประหนึ่งเป็นอัตลักษณ์
แห่งชาติพันธุ์ เกาหลี กับวิถีแห่งการถนอมอาหารในมติ ิของกิมจิ หรือรัฐชาติตระกูลเมืองหนาวกบั วิถีของ “เนย”
การถนอมอาหารจากสตั วว์ ถิ ีแห่งอาหารซง่ึ สว่ นสำคญั ของการดำเนนิ ชีวติ และความภาคภมู ิใจด้วย
ภาพท่ี 3 การประสาน และการจดั วางภายใตม้ ิตรภาพท่เี น่ืองด้วยอาหาร การกิน และการพดู คุย ปฏสิ ัมพันธ์ของพื้นทีข่ องจงั หวดั สุ
ราษฎร์ และนครศรีธรรมราช ระหวา่ ง 5-7 เมษายน 2565 (ภาพผเู้ ขียน 6 เมษายน 2565)
จากอารมณ์และความรู้สกึ ของเคยจี ผ่านภาพลกั ษณท์ เี่ หน็ ของการให้ ท้ังการรบั ซึง่ แสดงออกเปน็ อารมณ์
ร่วมในกันและกัน จนกระทัง่ กลายภาพจำและพัฒนาสู่ “ความทรงจำ” ดังนั้นจากภาพที่ผูเ้ ขียนเห็น ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้ให้ และของทีจ่ ัดมอบให้ เป็นความทรงจำ ที่งดงามร่วมกัน อาหารคงเป็นเครือ่ งมือแต่ปฏิสัมพันธน์ ่าจะ
เป็นองค์ประกอบร่วม “ทายก-ปฏิคาหก” และ “ศิษย์-อาจารย์/ผู้ใหญ่-ผู้น้อย” ตามหลักพระพุทธศาสนา
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งผใู้ หก้ บั ผรู้ บั จึงเปน็ ความวิจิตรร่วมกัน ดังท่ีผเู้ ขียนนำมาเขียนเล่าผ่านเคยจีน้ี
ภาพท่ี 4 รปู วัดเขาพัง สุราษฎรธ์ านี สถานทที่ ่องเทยี่ วมชี ื่อของจงั หวัด และวดั ปา่ เขาหัวช้าง นครศรธี รรมราช กบั
สถานการณน์ ำ้ ท่วมฉบั พลนั และการชว่ ยเหลือภายใตห้ ลกั “รูอ้ ะไรไมส่ ู้รู้จักกัน-วสิ าสา ปรมา ญาต”ิ (ภาพผเู้ ขียน
6 เมษายน 2565)
มิตรภาพของการจัดวางแบบ “กะปิ-เคย-จี-กะลา”
ความน่าสนใจอยู่ตรงท่ี กะปิ เปน็ วถิ แี หง่ อาหาร จีเปน็ วิถีของคำ ที่นิยามในความหมายวา่ ป้ิง เปน็ การผสม
รวมที่ลงตัว ในวิถีแห่งมิตรภาพ กะปินี้จึงทำให้เห็นมิตรภาพท่ีทุกท่านในนามทีมงานของสุราษฎร์ธานี ประสาน
อำนวยการ และดำเนนิ การนับตั้งแต่สนามบนิ ประจำจังหวัด เชื่อมไปยังวัดป่าเขาหวั ช้าง ของท่านกรฑี า (พระครู
ภาวนาจนั ทคณุ ,ดร.วิ เจ้าอาวาส) ท่นี ำ้ ท่วมฉับพลันหลังฝนตกหนักเม่ือคืนกอ่ นรุง่ สางทค่ี ณะพวกเราจะไปถงึ มีการ
โทรประสานให้วุ่นวายว่าเขา้ พื้นที่ไม่ได้น้ำยงั ท่วม เข้าพื้นที่ได้น้ำแหง้ แล้ว ดังนั้นการเข้าพ้ืนท่ีเพ่ือไปฉนั เพล ที่วัด
เจดีย์หลวง ของ'พระครูสุนทรพจนบัณฑิต (พระมหาสหัส ฐิตสาโร ป.ธ.4, พธ.บ., M.A., ศษ.ด., รศ.) เจ้าคณะ
อำเภอขนอม จ.นครศรธี รรมราช จงึ ถูกยกเลกิ ไปด้วยสาเหตนุ ำ้ ท่วมฉับพลนั เชน่ กนั เพราะเขา้ วดั ไมไ่ ด้ในภาคเชา้ จงึ
ไปหาแหลง่ ฉันอาหารตามรา้ นอาหารรมิ ถนนขณะท่ียงั ตกปรอย และตกแรงสลับกนั ไป เรียกว่าฝา่ ฝนหาแนวกินกัน
เลยทีเดยี ว นับเป็นบรรยากาศน่าประทับใจของการเดินทางลงภาคใตอ้ กี ครัง้ และกลบั มาพบสมั ภาษณ์ในภาคบา่ ย
การประสานพักท่ีวดั ธารทอง ท่ีมีพระครูสุทธิสุวรรณารกั ษ์ (จรัญ วิสทุ โฺ ธ) เจ้าอาวาสวดั ธารทอง และรกั ษาการเจ้า
คณะตำบล ในวยั ทีเ่ กินกว่า 50 ปี ท่ีกำลังทำงานสนกุ ดว้ ยความม่งุ มั่น มีความกระตอื รือรน้ ในการต้อนรับแขกกับ
คณะของพวกเรา จดั ทห่ี ลบั ที่นอนให้ มแี ววตาของความจรงิ จังมุ่งหวงั ในทุกอริ ิยาบถของการเคลื่อนกาย ทั้งมีการ
บรหิ ารจัดการวดั ไดอ้ ยา่ งชำนาญผ่านความสะอาดเปน็ ระเบยี บทีส่ มั ผสั ได้ เหมาะแก่การเป็นสถานที่ฝกึ อบรมพัฒนา
ทรพั ยากรมนษุ ย์ มีสถาบันพลังจิตตานุภาพ ในเครอื ขา่ ยของสมเด็จพระญาณวชิโรดม (วิรยิ งั ค์ สิรนิ ฺธโร,7 มกราคม
2463-22 ธันวาคม 2563) วัดธรรมมงคล (กทม.) แห่งคณะสงฆ์ธรรมยตุ ิกนกิ าย ท่เี ปน็ มรดกของทา่ นแม้มรณภาพ
ไปแลว้ แตส่ ง่ิ ท่ีท่านไดเ้ ร่ิมยังคงถูกขับเคล่ือนและถกู สานตอ่ กระทง่ั ปจั จุบนั ให้เป็นเครอื่ งมอื สำหรบั ทำงานเชิงพื้นที่
และคำพูดที่น่าประทบั ใจคือ “ทะเลาะกบั คนอืน่ อย่าทะเลาะกันเอง” เพราะเม่ือท่านทำงานในพื้นที่ผา่ นสถาบนั
พลงั จติ ตานภุ าพแล้ว ทำให้ได้ประสบการณ์ตรงในความ “แย้งย้อนระหว่างนกิ าย” รวมไปถึงการพกั คา้ งแรมท่ีวัด
ธารทองแหง่ นี้ ทำใหไ้ ดส้ มั ผัสกบั อารมณ์ของคำว่า “จรงิ ใจ” จากเจ้าของสถานท่ี และวิถขี อง “คา่ ย” ฝึกอบรมท่ี
รับทัง้ ในส่วนของศูนยฝ์ ึกสมาธิประชาชนท่ีสนใจ และเยาวชนนักเรียน และตื่นมาในการเร่ิมต้นวันใหมพ่ รอ้ มกับ
กาแฟเช้าทีท่ า่ นเจา้ อาสบรรจงจัดการให้ พร้อมชักชวนเช้ือเชญิ ด้วยความประทับใจ ก่อนสมาชิกร่วมเดินทางจะมา
รบั พาไปรับอาหารเชา้ ของวนั ที่ถูกยกยอดจากอาหารเพลของเมื่อวานตามแผนเดมิ ทีฝ่ นตกแรงจนนำ้ ทว่ มฉบั พลันที่
วัดเจดีย์หลวงอาหารเมื่อวานเพลยกยอดมาเช้าน้ี โดยมีพระครูสุนทรพจนบัณฑิต ที่ในอดีตเคยเป็นศิษย์วัด
ชลประทาน ผบู้ รหิ ารและอาจารย์คณะครศุ าสตร์ เม่อื ถงึ วัยเกษียณได้กลับภูมิลำเนาบ้านเกดิ พฒั นางานท่ีวัดที่บ้าน
และดำรงตำแหนง่ เจา้ คณะอำเภอในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ แม้จนกระทัง่ ประสานอำนวยความสะดวกมาพบ
ท่านพระครูปริยตั คิ ุณาวธุ (เสรี ภูริปญฺโญ ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดกลางใหม่ และรองเจ้าคณะจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
พระครูปริยัตยาภิรม (สมบูรณ์ สมฺปุณฺโณ ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดพัฒนารามรูปปัจจุบันและเจ้าคณะจังหวัดสุ
ราษฎรณ์ธานี พระครพู ศิ าลพฒั นานกุ ิจ รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยบริหาร วทิ ยาลัยสงฆ์สรุ าษฎร์ธานี พรอ้ มกบั มติ รภาพ
ผา่ นการให้ “พระเครอื่ ง” และองั เปาเปน็ คา่ กาแฟ ทร่ี ้าน Sky Hill ร้านมชี อ่ื ของเมืองสุราษฎร์ของนัก Check In ท่ี
ผสมผสานระหวา่ งทศั นยี ภาพมุมสงู กับรา้ นกาแฟและการดืม่ พรอ้ มระหวา่ งทางไดพ้ บกราบพระครคู ีรเี ขตคณารกั ษ์
(สมปอง ฐิตญาโณ) เจ้าอาวาสวัดตาขนุ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอบา้ นตาขุน ผ้เู ปน็ ครอู าจารย์ พระปลัดพชิ ิต ธีรภทฺ
โท สงั กัดเดมิ วดั ตาขุน ตำแหนง่ เจ้าคณะตำบลเขาวง ทป่ี จั จบุ นั ถูกสง่ ไปรกั ษาการเจ้าอาวาสในเขตปกครองคือวัด
เขาพงั ทมี่ สี ถานท่รี มณยี สถาน “ภเู ขารปู หัวใจ” เหมาะแก่การทอ่ งเทย่ี ว พรอ้ มจัดแจงบริหารพื้นท่ีรมณียสถาน
ทางน้ำภายในเขื่อนเชี่ยวหลาน (เขื่อนรัชชประภา) กับฉายา “กุ้ยหลินเมืองไทย” จนเป็นที่ประทับใจแก่คณะ
พร้อมเมนูแนะนำกาแฟที่ร้าน Inthanin Coffee ผสมน้ำผึ้งสูตรพิเศษจากป่าธรรมชาติพกติดย่ามมาจากวัดตาม
คำแนะนำของหลวงพพี่ ชิ ิตก่อนสง่ ขึน้ เคร่ืองทสี่ นามบนิ สรุ าษฎร์ธานี และหลวงแกว้ (พระครสู มหุ ด์ ษิ ฐภูมิ จริ ธมฺโม)
เจ้าอาวาสวัดประชาวงศาราม (วดั กรูด) อำเภอพุนพิน ทน่ี ำพาไปรับอาหารเพลจากรา้ นมื้อเทย่ี งในวันท่สี องของการ
เดินทาง ท่รี ้านตำลุงหลวง ถนนดอนนก ซอย 11 ในเมืองสรุ าษฎร์ธานี กับเมนพู ืน้ ถน่ิ ภาคใต้ขนานแท้ท่ีอร่อยเป็น
ความทรงจำตดิ ล้ิน ผสมรวมกบั เคยจีของฝากทีน่ ำมาขนึ้ โต๊ะพร้อมจิม้ เคียงผสมกบั ผกั พ้นื ถิ่นดว้ ย พร้อมเล่าสู่กันฟัง
เสนอแนวคดิ เรื่องปาล์มทดลองพืชปลูกผสม โดยทดลองปลูกทเุ รยี นระหว่างต้นปาล์ม กว่า 300 ต้น และมุ่งม่ันว่า
จะสำเร็จเป็นต้นแบบการผสมผสานที่ลงตัว เมื่อถูกนำพาไปยังวัดผู้เขียนในวันถัดมาจึงได้เดินไปดูเพื่อผลเชิง
ประจักษ์ทเุ รียนปลูกแซมระหวา่ งตน้ ปาลม์ ท่รี อเวลาเตบิ โตตามเจตนารมณข์ องการปลูก แล้วกน็ ึกในใจวา่ ถ้าไม่ตาย
ด้วยสถานการณ์โควดิ เสียกอ่ นคงได้หวงั มากนิ ในอกี 5-10 ปีข้างหน้ากเ็ ปน็ ได้ ทั้งหมดเป็น “มิตรภาพ” ที่งดงาม
ของการจัดวาง ประสาน อำนวยการของทีมงานวทิ ยาลัยสงฆ์สรุ าษฎร์ธานี ทเี่ ปน็ กัลยาณมิตรทางวชิ าการ วิชาชีพ
ผู้แสวงหาความรู้ได้ความรู้ และนำความรู้มาสร้างงานเชิงพ้ืนท่ี และเครือข่าย “Network” ที่ผู้เขียนได้ยินเป็น
ความทรงจำนับแตค่ รงั้ มาอยู่รว่ มเป็นอันเตวาสิกกบั หลวงพอ่ พระครพู ศิ าลวิริยคณุ (สงิ ห์โต ติสฺโส พ.ศ.2496-2561)
อดตี เจ้าอาวาสวดั บึงทองหลาง กทม. (พ.ศ.2501-2546) ทีผ่ ู้เขยี นสังกัดอย่อู าศัยทีว่ ่า ดเี พราะพวก สะดวกเพราะ
เงิน ซึ่งข้อความนี้ก็จริงในหลายส่วน แต่ในทัศนะผูเ้ ขียนเองเงนิ ก็สำคัญแต่ต้องมีองคป์ ระกอบที่ครบผสมรวมกับ
มติ รภาพและเครือข่ายท่ีเกิดขึน้ จงึ เปน็ ความประทับใจและขอนำมาเลา่ แบ่งปนั ไว้กันลมื
ภาพที่ 5 ผใู้ หย้ ่อมเปน็ ท่รี ักของผถู้ ูกให้-ททมาโน ปิโย โหติ การรับของให้และการพูดคุย ปฏิสมั พันธ์ของพนื้ ที่ของจงั หวัดสุราษฎร์
และนครศรีธรรมราช ระหวา่ ง 5-7 เมษายน 2565 (ภาพผู้เขียน 6 เมษายน 2565)
บทสรุป
เคยจี กะปิปิ้ง ทีเ่ ป็นท่ีมาของเรื่องเล่าน้ี ในทัศนะผูเ้ ขยี นถือวา่ เปน็ ภาพสะท้อนของตัวแทนที่นา่ ประทบั ใจน้ี
และเปน็ ความทรงจำที่น่าจดจำ จงึ นำมาเล่าแบ่งปันสะท้อนให้เห็นว่าวิถแี ห่งอาหารเป็นวถิ ีที่มิอาจลืมเลือน และ
เป็นวถิ ีที่น่าทรงจำ จดจำและควรค่าแก่การนำมาเลา่ ตอ่ แบ่งปนั ให้กลายเป็นเอกลกั ษณ์ อัตลักษณ์ จติ วญิ ญาณเชิง
พื้นที่และผสมรวมออกมาเป็นภาพจำที่น่าประทบั ใจของเราด้วยเชน่ กัน (1) กะปิ เคย เป็นวิถีแหง่ อาหารว่าด้วย
การกินและการบริโภค การถนอมอาหาร ภูมิปัญญา (2) เคยจีเป็นจิตวิญญาณ ที่ว่าด้วยอัตลักษณ์เชิงพื้นที่ อัน
หมายถงึ เฉพาะพนื้ ถิ่นท่ีทีม่ ีการประดษิ ฐ์สรา้ งจนเปน็ ของตัวเอง (3) เคยเป็นจดุ เชอ่ื มต่อระหวา่ งคนนอกกบั คนใน ว่า
ดว้ ยการกิน การกนิ จึงเปน็ จดุ เช่อื ม มติ รภาพและการพดู คุย เพราะกนิ แลว้ ทำให้เกิดความทรงจำอันน่าประทับใจ
ตอ่ กัน (4) การกนิ เคย กะปิ จงึ เปน็ จดุ เชื่อมประสานว่าด้วยความทรงจำร่วมกันท่ีเกิดข้นึ ระหวา่ งการเดนิ ทาง 5-7
เมษายน 2565 ที่สุราษฎรธ์ านี และนครศรธี รรมราช ดินแดนแหง่ ปราชย์ทางพระพุทธศาสนาอยา่ งท่านพุทธทาส
(พ.ศ.2449-2536) กับการก่อตั้งสวนโมกข์ตั้งแต่ พ.ศ.2475 ให้กลายเป็นสถาบันแห่งพลังทางปัญญาพุทธ
จนกระท่ังปจั จุบัน และดินแดนแห่งจดุ กำเนิดของพระพุทธศาสนาแบบลงั กาวงศ์กับพระธาตุเมืองนคร และดนตรี
มงั คละหรอื ดนตรีกาหลอทม่ี าพร้อมกนั พร้อมสง่ ต่อไปยังจงั หวดั สโุ ขทัยบา้ นเกดิ ของผูเ้ ขยี น ท่ีปรากฏอยใู่ นปจั จุบัน
ของประเทศไทย จตคุ ามผีอารักษท์ ่ีครั้งหนึ่งเคยสร้างเงนิ สรา้ งงานเปน็ ความม่ังคงให้จงั หวดั นครศรีธรรมราช พรอ้ ม
สง่ ตอ่ ให้ผรี ุน่ นอ้ งอย่างไอ้ไขผ่ ู้มาสรา้ งกระแสใหก้ บั คนนครเป็นเม็ดเงิน อาชีพและรายได้แม้จะสร่างซาและหายไป
บ้างแล้วก็ตาม แต่ทั้งหมดของเรื่องเล่าเนื่องด้วยเคยจี กะปิปิง้ ที่น่าจดจำพร้อมนำมาเล่าแบ่งปนั ทั้งหมดคงไม่มี
คำตอบวา่ ต้องเป็นอย่างไรแตบ่ นั ทึกแบ่งปนั ในการเดินทางเพ่อื เล่าถึงพนื้ ของการเดินทางวา่ เราพบแบบนี้ ประทับใจ
แบบนแ้ี ละอยากนำมาเลา่ แบง่ ปันอยา่ งนต้ี อ่ ไป
เอกสารอา้ งองิ
ทัตดารา กาญจนกุญชร และคณะ. (2560). ววิ ฒั นาการเครอ่ื งแกงไทย- The Evolution of Thai Curry Pastes.
วารสารวิทยาลยั ดุสิตธาน.ี 11 (ฉบบั พิเศษ), 249-266.
นพา ลลี ะศุภพงษ์. (2564). ภูมปิ ญั ญาทางอาหารในชว่ งอทุ กภัยของชาวบ้านในหม่บู า้ น หัวตะพานมอญ ตำบลวัด
ยม อำเภอบางบาล จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา. วารสารวิชาการอยุธยาศกึ ษา. 13 (1),87-99.
นลิ บุ ล ไพเราะ. (2562). ปลารา้ - ปลาแดก : การส่ือสารและผลิตซ้ำความหมาย "มิตรภาพ"ในความสัมพันธไ์ ทย –
ลาว'. วารสารการเมืองการปกครอง. 9 (3),187-218.
ประกิจ พงษพ์ ทิ ักษ.์ (2016). การสร้างสรรค์ชดุ การแสดง “ระบำเยื่อเคยรายอ็ ง” วารสารพฒั นศลิ ปว์ ิชาการ.
1 (1),35-51.
พระครูสุนทรพจนบัณฑิต (พระมหาสหสั ฐติ สาโร) เจา้ คณะอำเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช,สมั ภาษณ์.
พระครภู าวนาจันทคณุ ,ดร.วิ เจา้ อาวาสวดั ปา่ เขาหัวช้าง อำเภอขนอม จ.นครศรีธรรมราช,สัมภาษณ.์
พระครสู ทุ ธิสวุ รรณารักษ์ (จรญั วิสทุ ฺโธ) เจา้ อาวาสวัดธารทอง อำเภอขนอม จงั หวดั นครศรีธรรมราช,สมั ภาษณ.์
พระครปู รยิ ัตคิ ุณาวุธ (เสรี ภรู ปิ ญฺโญ ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดกลางใหม่ และรองเจา้ คณะจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี,
สมั ภาษณ์.
พระครปู ริยตั ยาภิรม (สมบรู ณ์ สมปฺ ณุ โฺ ณ ป.ธ.4) เจา้ อาวาสวัดพัฒนาราม เจา้ คณะจังหวดั สรุ าษฎรณธ์ านี,
สัมภาษณ.์
พระครูพิศาลพฒั นานกุ ิจ (สจุ ินต์ ทปี ธมโฺ ม) รองผู้อำนวยการฝา่ ยบรหิ าร วทิ ยาลยั สงฆ์สรุ าษฎรธ์ านี,สัมภาษณ.์
พระครคู ีรเี ขตคณารักษ์ (สมปอง ฐติ ญาโณ) เจ้าอาวาสวัดตาขนุ ทป่ี รึกษาเจ้าคณะอำเภอบา้ นตาขุน,
สัมภาษณ์.
พระปลดั พิชติ ธีรภทฺโท เจ้าคณะตำบลเขาวง รกั ษาการเจ้าอาวาสวดั เขาพัง,สมั ภาษณ.์
ภัศรดิ า เหมศรสี วัสด์ิ และคณะ. (2563). การศึกษาภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่น : กรณีศึกษา น้ำพริกกะปิชะคราม
จังหวัดสมุทรสงคราม ที่มีวิถีของอาหารท่ีเน่ืองด้วยกะปิเป็นองค์ประกอบด้วยเช่นกัน. วารสาร
วัฒนธรรมอาหารไทย. 2(1), 25–32.
ลกั ษณารยี ์ ภัทรทวสี ิน. (2562). กิมจิ : คณุ คา่ ทางวฒั นธรรมและมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ทศวรรษที่ 1960-ปจั จบุ นั .
หลกั สูตรปรญิ ญาอกั ษรศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาเอเซียศกึ ษา คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิมลรัตน์ ธรรมชาติ และคณะ. (2564.) ในงานวจิ ัยเรอ่ื ง การแปรรูปกุ้งเคยเพื่อสง่ เสรมิ เศรษฐกิจชุมชน กรณศี ึกษา:
ชุมชนบา้ นพงั ปริง หมูท่ ี่ 1 ตำบลกลาย อำเภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช. วารสาร มจร เพชรบรุ ี
ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาลยั สงฆ์เพชรบุร.ี 4 (2),54-68.
ศศอิ าภา บุญคง และคณะ. (2564). การพฒั นาผลิตภณั ฑ์ตน้ แบบกะปกิ งึ่ สาํ เร็จรปู . วารสารวิทยาชีวติ และ
ส่ิงแวดล้อม ( Life Sciences and Environment Journal) , Pibulsongkram Rajabhat University
Life Sciences and Environment Journal.22 (2),148-157.
ศกั ด์ิดา อ่างวฒั นกจิ และคณะ. (2563) . การศกึ ษาพฤตกิ รรรมการซอ้ื และความต้องการการบรโิ ภคสนิ คา้ ประมง
อินทรยี ์ บนพื้นฐานการพึ่งพาตนเองทย่ี ัง่ ยนื ของกลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชน จังหวัดจนั ทบุรี และจงั หวดั ตราด.
วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี. 9 (1),95-108.
สิริน ฉกามานนท์ และคณะ. (2565). แนวทางการสบื สานคณุ คา่ และอัตลักษณ์รว่ มทางวฒั นธรรม: นำ้ พรกิ แหง่
อษุ าคเนย์. วารสารกระแสวฒั นธรรม. 23 (43),34-45.
เสาวณี จุลริ ัชนกี ร สดุ ชีวัน จนั ทอง. (2557). โอกาสและศักยภาพทางการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์กะปิผงของกลมุ่
OTOP เพอ่ื รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น วารสารวทิ ยาการจดั การ. 31 (1),147-167.
เอกลักษณ์ จารุกจิ ไพศาล. (2557). การแสดงอตั ลักษณ์ของรา้ นอาหารอีสาน : กรณศี กึ ษารา้ นอาหาร อสี านในเขต
กรุงเทพมหานคร. ปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สอ่ื สารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง