The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่องการร้อยมาลัย นางสาว ดรุณี ตั้งพิมาย รหัส 116430102028

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-21 04:56:32

เรื่องการร้อยมาลัย นางสาว ดรุณี ตั้งพิมาย รหัส 116430102028

เรื่องการร้อยมาลัย นางสาว ดรุณี ตั้งพิมาย รหัส 116430102028

รายงานวชิ าการ
เรอ่ื งการร้อยมาลยั

จดั ทำโดย
นางสาวดรณุ ี ตงั้ พิมาย
รหสั 11643012028-8 กลมุ่ 31.

เสนอ
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนดิ า สมประจบ

รายงานเล่มน้เี ปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวิชา การคน้ คว้าและการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
(01210017) สาขาการจัดการการโรงแรม คณะศลิ ปะศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564







รายงานวชิ าการ
เรอ่ื งการร้อยมาลยั

จดั ทำโดย
นางสาวดรณุ ี ตงั้ พิมาย
รหสั 11643012028-8 กลมุ่ 31.

เสนอ
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนดิ า สมประจบ

รายงานเล่มน้เี ปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวิชา การคน้ คว้าและการเขียนรายงานเชิงวิชาการ
(01210017) สาขาการจัดการการโรงแรม คณะศลิ ปะศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564





คำนำ

รายงานเล่มน้ีจดั ทำขึ้นเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การคน้ คว้าและการเขียนรายงานเชงิ วิชาการ
(01210017) โดยมจี ดุ ประสงคใ์ นการศกึ ษาหาความร้ใู นเรื่อง ประวัตคิ วามเป็นมาเกย่ี วกับมาลยั
ประโยชนข์ องมาลัยประเภทของมาลัย วัสดแุ ละอปุ กรณใ์ นการร้อยมาลัย การเลอื กดอกไม้ ใบไม้ และ
วสั ดตุ กแต่ง วิธีการแต่งตัวมาลยั การเกบ็ รักษามาลัยที่ทำเสร็จแลว้ ขน้ั ตอนการรอ้ ยมาลยั วธิ กี ารรอ้ ย
มาลยั การเกบ็ รกั ษา ได้ศกึ ษาอยา่ งเข้าใจเพ่ือเปน็ ประโยชนก์ ับการศึกษา

ผจู้ ดั ทำหวงั วา่ รายงานเลม่ นี้จะเป็นประโยชน์กบั ผู้อา่ น นกั เรยี น หรอื นกั ศึกษา ท่ีกำลงั หา
ขอ้ มลู เร่ืองน้ีอยู่ หากมีข้อแนะนำหรือข้อผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่นี ้ี
ดว้ ย

ผู้จัดทำ
(นางสาวดรุณี ต้งั พิมาย)
วนั ที่ 20 ตุลาคม 2564





สารบญั

คำนำ .......................................................................................................................................... ก
สารบญั ....................................................................................................................................... ข
สารบัญ(ตอ่ )................................................................................................................................ค
สารบญั รปู ภาพ ........................................................................................................................... จ
บทที่ 1 บทนำ...............................................................................................................................

1.1 ประวตั คิ วามเป็นมาเกย่ี วกบั มาลัย .......................................................................... 1
1.2 ประโยชน์ของมาลยั ................................................................................................ 2
1.3 ประเภทของมาลัย .................................................................................................. 4

1.3.1. แบ่งตามหนา้ ทีใ่ ชส้ อยมีดงั นี้ ................................................................. 4
1.3.1.1 มาลัยชายเดยี ว หมายถงึ ..................................................... 4
1.3.1.2. มาลัยสองชาย .................................................................... 5
1.3.1.3 มาลัยชำร่วย ..................................................................... 5

1.3.2. แบ่งตามลกั ษณะรูปแบบของการร้อย ................................................... 5
1.3.2.1 มาลัยซกี หรอื ...................................................................... 5
1.3.2.2 มาลยั กลม ........................................................................... 5
1.3.2.3 มาลยั แบน ........................................................................... 5
1.3.2.4 มาลัยรี ................................................................................ 5
1.3.2.5 มาลยั สามเหล่ียม ................................................................. 5
1.3.2.6 มาลยั สเ่ี หลย่ี ม ..................................................................... 5
1.3.2.7 มาลัยตุ้ม ............................................................................. 5
1.3.2.8 มาลัยตวั หนอน..................................................................... 5
1.3.2.9 มาลยั ตัวหนอนคู่ .................................................................. 6
1.3.2.10 มาลยั สามกษตั ริย์.............................................................. 6
1.3.2.11 มาลยั พวงดอกไม้ .............................................................. 6

1.3.3. แบ่งตามลักษณะโครงรา่ งโดยทั่วไปมีดังน้ี .............................................. 6
1.3.3.1 มาลยั ตัวสัตว์ ........................................................................ 6
1.3.3.2 มาลัยลูกโซ่........................................................................... 6
1.3.3.3 มาลัยเปีย ............................................................................. 6





สารบัญ (ตอ่ )

1.3.3.4 มาลัยเถา............................................................................ 6
1.3.3.5 มาลัยครยุ ....................................................................... 6
1.3.3.6 มาลัยดอกกลว้ ยไม้ ............................................................. 6
บทท2่ี วัสดแุ ละอปุ กรณใ์ นการร้อยมาลัย......................................................................................
2.1 วัสดุและอปุ กรณ์..................................................................................................... 7
2.2 การเลอื กดอกไม้ ใบไม้ และวัสดุตกแต่ง................................................................ 8
2.2.1 ชนิดของดอกไมแ้ ละใบไมท้ ่ใี ชร้ ้อยมาลยั ................................................. 8
2.2.2 การเลอื กดอกไม้ ใบไม้ และวสั ดตุ กแต่ง............................................... 8
2.2.3 ความสดของดอกไม้ .............................................................................. 8
2.2.4 ความสวยงามของมาลัย......................................................................... 8
2.3 วธิ กี ารแต่งตัวมาลัย................................................................................................. 9
2.4 การเก็บรักษามาลยั ท่ที ำเสรจ็ แล้ว.........................................................................10
บทท่ี 3 ขน้ั ตอนการร้อยมาลัย.......................................................................................................
3.1 ข้นั ตอนการรอ้ ยมาลยั ...........................................................................................11
3.2 วิธีการรอ้ ยมาลยั ...................................................................................................13
3.2.1 สว่ นประกอบของมาลยั ........................................................................13
3.2.2 ความหมายของคำตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ นการทำงานมาลยั ................................13
3.3 การร้อยดอกข่า.....................................................................................................15
3.4 มาลัยซกี ...............................................................................................................16
3.5 มาลัยตมุ้ ...............................................................................................................17
3.5 มาลยั กลม.............................................................................................................24
3.6 มาลัยกลีบดอกรกั .................................................................................................26
3.7 มาลัยดอกมะลิ......................................................................................................27
3.8 มาลัยดอกบานไมร่ โู้ รย..........................................................................................28
3.9 มาลัยดอกพุด........................................................................................................29
บทที่ 4. การเก็บรักษา ..................................................................................................................
3.1 การเกบ็ รักษาดอกไม้ ............................................................................................33
3.2 การเกบ็ รักษาใบไม้ ...............................................................................................33
3.3 การเกบ็ รักษาอุปกรณ์...........................................................................................33





สารบัญ (ตอ่ )

3.4 หน้าท่ีการใชส้ อยของพวงมาลัย ..........................................................................34
3.4.1หนา้ ท่ีใชส้ อยของมาลยั ซกี .....................................................................34
3.4.2 หน้าท่ีใชส้ อยของมาลัยต้มุ ...................................................................34
3.4.3 หนา้ ที่ใชส้ อยของมาลัยกลม.................................................................34

บทที่ 5. สรุป ............................................................................................................................35
บรรณานกุ รม............................................................................................................................37





สารบัญรูปภาพ

ภาพท่ี 1 ดอกขา่ .......................................................................................................................15
ภาพท่ี 2 มาลยั ซีก.....................................................................................................................18
ภาพที่ 3 มาลยั ตมุ้ .....................................................................................................................21
ภาพที่ 4 พวงมาลัยกลม............................................................................................................25
ภาพท่ี 5 พวงมาลยั กลบี ดอกรัก ................................................................................................27
ภาพท่ี 6 พวงมาลยั ดอกมะลิ.....................................................................................................28
ภาพที่ 7 พวงมาลยั ดอกบานไมร่ ้โู รย .........................................................................................29
ภาพที่ 8 พวงมาลัยดอกพดุ .......................................................................................................30



บทที่ 1
บทนำ

1.1 ประวตั คิ วามเป็นมาเกยี่ วกับมาลัย
บรรพบุรุษของไทยเรามีชื่อเสียงในงานด้านศิลปะการประดิษฐ์อย่างมากมาย โดยเฉพาะการ

ประดิษฐ์ตกแต่งพวงดอกไม้ ใบไม้ ผลไม้ และวัสดุอื่น ๆ เป็นที่ขึ้นชื่อมานานแต่โบราณกาลแล้ว
แตไ่ มป่ รากฏแนช่ ัดว่าได้มีการเริ่มตน้ มาแต่ในสมัยใดแน่ คงเน่อื งมาแต่ไม่มีการจดบันทึกเป็นลายลักษณ์
อักษรไว้นั่นเอง จึงไม่มีหลักฐานใด ๆ ให้อนุชนรุ่นหลังได้สืบค้น ต่อมาในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี
แต่ครั้งสมัยพระเจ้าอรุณมหาราช คือพระร่วงเป็นพระเจ้าแผ่นดินมีพระสนมเอก คือ ท้าวศรีจุฬา
ลักษณ์ หรือนางนพมาศซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถในงานด้านฝีมือในการประดิษฐ์ดอกไม้สดเป็นเลิศ
ในสมัยนั้นตามหลักฐานท่อี า้ งถึงในพระราชนิพนธ์เรื่องพระราชพิธี 12 เดอื น ตอนหนงึ่ ท่ีกล่าวถึง
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ได้คิดตกแต่งโคมลอยให้งดงามวิจิตรกว่าโคมของพระสนมอื่นทั้งปวง โดยการ
นำเอาดอกไม้ต่าง ๆ มาประดิษฐ์ตกแต่ง และยังได้เอาผลไม้มาทำการแกะสลักตกแต่งประกอบไปดว้ ย
แต่ก็มิได้มีการอ้างถงึ ว่า ในการตกแต่งครัง้ นั้นมีการรอ้ ยมาลัยมาประดับตกแต่งด้วยหรือไม่ และใน
หลักฐานท่ีอ้างถงึ ตอนหน่งึ ว่า ในเดือนเมษายนมีพระราชพธิ ีสนามใหญ่บรรดาเจ้าเมือง เศรษฐี คหบดี
เข้าเฝ้าถวายบังคมสมเด็จพระร่วงเจ้า เพื่อถวายเครื่องราชบรรณาการ พระสนมกำนัลต่าง ๆ ก็ร้อย
กรองดอกไม้เปน็ รูปสัตวต์ า่ ง ๆ ใสเ่ ม่ียงหมากถวายใหส้ มเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแกผ่ มู้ าเฝ้าและ
ในคร้ังนน้ั นางนพมาศก็ร้อยดอกไมส้ ีเหลืองเป็นรปู พานทองสองชัน้ รองขัน มีระยา้ ระบายงดงามในขันใส่
เมี่ยงหมาก แล้วร้อยดอกไม้เป็นตาข่ายคลุมขันอีกทีหนึ่งเป็นที่เจริญตาและถูกกาละเทศะอีก สมเด็จ
พระร่วงเจ้าจึงทรงบัญญัติว่าถ้าชาวไทยทำการรับแขกเป็นการสนามใหญ่ มีการอาวาหมงคล หรือวิ
วาหมงคล เป็นตน้ ใหร้ อ้ ยกรองดอกไมเ้ ปน็ รูปพานขันหมากดงั นี้ และใหเ้ รยี กว่า พานขนั หมาก

ในสมยั รัตนโกสินทร์ทุกรัชกาล งานฝีมอื ด้านการประดิษฐ์ดอกไม้กเ็ ป็นท่ีขนึ้ ชือ่ ลือชามาก และก็
เป็นท่ีนยิ มประดษิ ฐใ์ นงานตา่ ง ๆ แทบทกุ งาน โดยเฉพาะงานพธิ ตี ่าง ๆ ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพระ
ราชนิยมการทำดอกไม้ของไทยเป็นอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะมีงานราชพิธใี ด ๆ เจ้านายฝ่ายในต้องประกวดกัน
จัดแต่งดอกไม้มาถวายให้ทรงใช้ในงานนั้น ๆ เสมอ พระมเหสีเทวีทุกตำหนักใฝ่พระทัยในการจัดแต่ง
ดอกไม้ไปตาม ๆ กัน แต่ละพระองค์ก็มีชื่อเสียงในทางต่าง ๆ กัน สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินี
นาถพระพันปีหลวง ครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็นพระบรมราชินีนาถโปรดเกล้าฯ ให้ฝึกหัดอบรม
ข้าหลวงและครูโรงเรียนราชินีให้รู้จักทำดอกไม้แห้งลียนแบบดอกไม้สดด้วย ทรงส่งเสริมฟื้นฟูการทำ
ดอกไม้เป็นอันมาก พระองค์เองก็ทรงใช้เวลาว่างประดิษฐ์ดัดแปลงการทำดอกไม้แบบเก่าให้แปลก
พสิ ดารออกไปอกี มพี ระนามเลอื่ งลือในการร้อยพวงมาลยั ซ่งึ แต่เดิมมาไทยนยิ มร้อยมาลัยดว้ ย ดอก

2

มะลิ และเป็นมาลัยสขี าวกลมธรรมดาเท่านน้ั และพลกิ แพลงต่างกนั ไปบา้ งกเ็ ป็นมาลัยเกลยี ว คือ มี
ลวดลายเป็นเกลียวข้นึ ไป

สมเดจ็ พระพันปีหลวงได้ทรงคิดร้อยมาลัยดว้ ยดอกไม้ตา่ ง ๆ และใชใ้ บไม้แทรกทำให้มีลวดลาย
และสีตา่ ง ๆ กนั อย่างงดงาม และพลิกแพลงทำรูปตา่ ง ๆ กนั ด้วย และในงานพระศพสมเด็จพระ
ปิยมาวดีศรีพัชรินทรมาตา ซึ่งเป็นพระมารดาของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปี
หลวงและสมเด็จพระศรสี วรนิ ทราบรมราชเทวีพระพันวัสสาอัยยกิ าเจา้ พระองคน์ ี้ พระศพประดษิ ฐาน
อยู่ ณ วงั สะพานถา่ น ( คอื ทต่ี ลาดบำเพญ็ บุญเวลาน้ี ) สมเดจ็ พระพนั ปีหลวง มีพระราชเสาวณยี ด์ ำรัส
ให้ท้าววรคณานันท์ ( ม.ร.ว.ปั้ม มาลากุล ) จัดทำมาลัยไปประดับพระศพ เช่น ตกแต่งตามฉัตรรัด
พระโกษและแขวนตามประตู หน้าต่าง ตามประเพณีงานใหญ่ ๆ ของเจ้านายตลอดงานนี้
มาลยั ทีต่ กแตง่ เปลีย่ นสี เปลีย่ นรปู เปล่ียนแบบเรื่อย ๆ มา จงึ นบั ได้วา่ ตง้ั แตบ่ ัดนั้น การรอ้ ยมาลัย
ได้มีการววิ ฒั นาการก้าวหน้ากว่าเดิมเป็นต้นมาหลายแบบ และในระหว่างนั้นท่านเจ้าคุณประยูรวงศ์
ก็ได้จัดทำมาลัยครุยขึ้นมา ท้าววรคณานันท์ เป็นผู้มีชื่อเสียงว่าเป็นเจ้าของมาลัยงามหลายแบบ
และความรู้ความชำนาญในเรื่องร้อยมาลัยนี้ก็ได้สืบต่อมาจนถึง ม.ล.ป้อง มาลากุล ผู้ซึ่งมี
ความสามารถ ในเรอื่ ง การทำดอกไม้สดและดอกไม้แห้งเป็นอย่างย่งิ

มาลยั หมายถึง ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์แบบไทยลกั ษณะหนึ่ง โดยการนำดอกไม้ กลบี ดอกไม้ ใบไม้
และส่วนต่าง ๆ ของดอกไม้ที่ร้อยได้ มาร้อยเป็นพวง มีลักษณะต่าง ๆ กันมากมายหลายแบบ ตั้งแต่
แบบดัง่ เดมิ จนถึงแบบสมัยใหม่ ซึง่ ก็ดดั แปลงมาจากแบบดัง่ เดมิ น่ันเอง

1.2 ประโยชน์ของมาลัย
มาลัยมีมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีหน้าที่ใช้สอยต่าง ๆ กันไปตามโอกาสและความ

เหมาะสม ดังนั้นก็จะกลา่ วรวม ๆ กนั มาลยั ชนดิ ต่าง ๆ มีประโยชนด์ งั นี้คอื

1. ใช้สำหรับคล้องคอเป็นเกียรติแก่เจ้าของงาน เช่น เจ้าบ่าว -เจ้าสาว ในงานแต่งงาน
ผู้บังคับบัญชา หรือผู้มาร่วมงานคนใหม่ในงานเลี้ยงรับผู้มาใหม่ หรือผู้ที่จะย้ายไปปฏิบัติหน้าที่ยังที่
ทำงานอ่ืนในงานเลี้ยงสง่ ผู้ท่จี ะจากไปยงั ท่ีอื่น ถา้ จดั งานเปน็ พธิ ีก็มักจะนยิ มใชม้ าลัยสองชายชนิดสำหรับ
คลอ้ งคอ เพอื่ เป็นการแสดงถึงการให้เกยี รตแิ ก่บคุ คลน้ัน ๆ เปน็ สำคัญ

2. ใช้สำหรับคล้องคอเพื่อแสดงความยินดีหรือต้อนรับแขก เช่น การต้อนรับแขกต่างประเทศ
อาจใช้มาลัยสองชายสำหรับคล้องคอ ในตอนที่ไปรับที่สนามบินเพื่อเป็นการบ่งบอกหรือแสดงออกถึง
ความยนิ ดที ่บี คุ คลนนั้ ๆ ไดม้ าเยย่ี มเยือน

3

3. ใช้สำหรับคล้องคอ หรือสวมคอเพื่อแสดงความยินดี หรือเป็นเกียรติแก่ผู้มีชัยชนะในการ
ประกวดต่าง ๆ เชน่ การประกวดความงาม การประกวดร้องเพลง หรอื การประกวดการแสดงตา่ ง ๆ
ฯลฯสว่ นใหญม่ ักนยิ มใชม้ าลยั สองชาย หรืออาจเปน็ มาลยั พวงดอกไม้สวย ๆ กไ็ ด้

4. ใช้สำหรับคล้องคอ หรือสวมคอเพื่อแสดงความยินดี หรือเป็นเกียรติแก่ผู้มีชัยชนะในการ
แข่งขันต่าง ๆ เช่น การแข่งขันกีฬา กรีฑา และการละเล่นต่าง ๆ ส่วนใหญ่นิยมใช้มาลัยสองชาย หรือ
มาลยั สำหรบั สวมคอเชน่ กนั

5. ใช้สำหรับมอบให้กับบุคคลผู้มีชื่อเสียง เพื่อเป็นการรับขวัญ หรือเพื่อเป็นการแสดงออกซ่ึง
ความรกั และศรัทธา ความนิยมชมชอบ เช่น บุคคลสำคัญ บคุ คลดเี ดน่ หรอื ดาราทเ่ี ปน็ ขวัญใจประชาชน
สว่ นใหญน่ ิยมใช้มาลยั สองชายสำหรับสวมคอ หรือมาลัยคล้องมอื

6. ใชส้ ำหรับทลู เกล้าฯ ถวายในการรับเสด็จในการเข้าเฝ้าตามโอกาสท่ีเหมาะสม สว่ นใหญ่ก็นิยม
ใชม้ าลัยคลอ้ งมอื ทีเ่ รียกว่า มาลัยขอ้ พระกร

7. ใช้สำหรับมอบให้แกป่ ระธานหรอื แขกผู้ใหญ่ในงาน เช่น งานรดน้ำสงั ข์แก่คู่บ่าวสาว งานมอบ
ประกาศนียบตั ร งานมอบทุนตา่ ง ๆ ซง่ึ มกั จะใชม้ าลัยคลอ้ งมือหรือมาลัยมือถือ

8. ใช้สำหรับเป็นของชำร่วยแก่แขกที่มาในงาน เช่น งานรดน้ำสังข์แก่คู่บ่าวสาวในงานมงคล
สมรสท่ีนยิ มใชค้ ือ มาลัยชำร่วยขนาดเล็กกระจุ๋มกระจ๋ิมหรอื มาลัยตวั สัตวข์ นาดเลก็ ก็น่ารักและสวยงามดี

9. ใชส้ ำหรบั สวมคอในงานประเพณีพื้นบ้านของไทยบางท้องถ่ิน เช่น ภาคเหนือจงั หวัดเชียงใหม่
นิยมใช้มาลัยพวงดอกมะลิสวมคล้องที่คอ เช่น งานเลี้ยงขันโตก งานทำบุญในวันสงกรานต์ ประเพณีรด
นำ้ ดำหัวผูใ้ หญ่ ฯลฯ ซ่ึงผู้ทม่ี ารว่ มในงานนั้นตา่ งกส็ วมมาลัยพวงดอกมะลิ ซึง่ ก็เป็นเอกลักษณ์แบบไทยที่
ดีและนา่ ภาคภูมิใจอย่างหนงึ่ เชน่ กนั เพราะนอกจากจะสวยงามดีแลว้ ยงั ส่งกลิ่นหอมช่วยสร้างบรรยากาศ
ในงานนั้น ๆ ให้สดช่นื สนกุ สนานย่ิงขน้ึ อีกด้วย

10. ใช้แขวนประตู หน้าต่าง หรือเพดานตามช่องแคบ ๆ แทนเคร่ืองแขวนชนิดเล็ก เช่น มาลัยโซ่
มาลัยเปยี

11. ใชห้ ้อยแทนเฟอ่ื งดอกรกั เชน่ มาลยั แบน มาลัยกลม มาลัยตัวหนอน และมาลัยรี

12. ใช้บูชาพระพุทธรูปหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ เช่น มาลัยชายเดียว หรือมาลัยสองชาย จะใช้
ขนาดพวงเลก็ ใหญข่ นาดใดยอ่ มแลว้ แต่ความเหมาะสมเปน็ สำคัญ

4

13. ใช้แขวนหรือห้อยประดับเครื่องดนตรีไทยในเวลาที่จะเล่น นอกจากนั้นยังเป็นการกราบ
ระลึกถงึ ครูบาอาจารย์ผ้ทู ่ีให้ความรแู้ ละอีกประการหน่งึ กเ็ ปน็ ม่ิงขวัญกำลังใจอีกด้วย ท่นี ิยมใช้ก็คือมาลัย
ซกี หรือมาลยั กลมขนาดเล็กมอี บุ ะห้อยเป็นชาย

14. ใชใ้ นการประกอบทา่ รำของการรำไทยบางชุด เชน่ ฟอ้ นมาลยั รจนาเส่ยี งพวงมาลัย หรือชุด
เจา้ เงาะรจนา ฯลฯ ซง่ึ ก็นิยมใช้มาลยั ชายเดียวพวงขนาดเล็ก อาจจะเปน็ มาลยั ซกี หรือมาลยั กลมก็ได้

15. ใช้ในพิธีบวงสรวงเทพยดาต่าง ๆ เช่น พิธีบวงสรวง พิธีแก้บน มักจะนิยมใช้มาลัยชายเดียว
มาลยั สองชาย หรือมาลัยพวงดอกไมก้ ไ็ ด้ เชน่ มาลยั สามสี มาลัยเจด็ สีเจด็ ศอก

16. ใช้สำหรับตกแต่งรัดมวยผม เช่น มาลัยซีกดอกมะลิ หรอื มาลยั ซีกกลบี กหุ ลาบ

17. ใช้ประดิษฐ์เป็นดอกไม้สำหรับจัดแจกัน หรือจัดตกแต่งสถานที่ต่าง ๆ เช่น มาลัยตุ้มใส่ก้าน
แขง็ มาลยั ซีกผูกมัดเป็นดอกไม้

18. ใช้ในการคารวะผู้ที่เคารพนับถือ ที่ได้ล่วงลับไปแล้ว เช่น ห้อยคล้องกรอบรูป ซึ่งมักจะนิยม
ใช้มาลยั สองชายรบิ บนิ้ สดี ำหรือขาว

19. ใช้ในการประดับตกแต่งงานดอกไม้สดต่าง ๆ เช่น มาลัยกลม มาลัยแบน มาลัยตัวหนอน
มาลยั ลูกโซ่ ฯลฯ

20. ใช้ในการตกแต่งสิ่งต่าง ๆ บางโอกาส เช่น รัดฐานพระพุทธรูป รัดธูปเทียนแพ รัดเอวโกศ
ฯลฯ สว่ นใหญน่ ยิ มใช้มาลยั ซีก มาลยั กลม และมาลยั แบน

21. ใช้แขวนหรือห้อยหน้ารถ หัวเรือ รูปปนั้ อนุสาวรยี บ์ คุ คลสำคัญ หรือส่งิ ที่เคารพบูชาต่าง
ๆ สว่ นใหญน่ ยิ มใชม้ าลยั สองชายหรอื มาลัยชายเดียว

22. ใช้ในการตกแต่งประดับเวที หรือสถานที่ในงานพิธี เช่น ตกแต่งเวทีที่ประทับในงาน
พระราชทานปริญญาบัตร ตกแต่งโต๊ะอาหารในงานเลี้ยงรับรองพิธีใหญ่ ๆ ตกแต่งโต๊ะอาหารในงาน
เลี้ยงฉลองมงคลสมรส ฯลฯ ส่วนใหญ่ที่นิยมใช้ คือ มาลัยกลม มาลัยแบน มาลัยรี มาลัยตัว
หนอน และมาลัยตุ้ม

1.3 ประเภทของมาลัย
1.3.1. แบง่ ตามหนา้ ที่ใชส้ อยมีดงั นี้
1.3.1.1 มาลัยชายเดียว หมายถึง มาลัยที่มีลักษณะเป็นพวงกลมมีอุบะห้อยเป็นชาย
เพียงพวงเดียว ซึ่งบางคนอาจเรียกว่า มาลัยมือ, มาลัยข้อมือ, หรือ มาลัยคล้องแขน ก็ได้ ถ้าใช้

5

ในการทูลเกล้าฯถวาย ก็เรียกว่า มาลัยข้อพระกร มาลัยชายเดียวนี้ใช้สำหรับคล้องมือ คล้อง
แขน หรอื บชู าพระ

1.3.1.2. มาลัยสองชาย หมายถึง มาลัยที่นิยมผูกต่อกับริบบิ้น หรือโบว์ทั้งสองชาย
และมีอุบะห้อยชายมาลัยข้างละพวง มาลัยสองชายนี้ ใช้สำหรับคล้องคอบุคคลสำคัญใน
งานนน้ั ๆ ใชแ้ ขวนหนา้ รถ หรือหัวเรือกไ็ ด้ บางคนเรยี กมาลัยประเภทนี้ว่า มาลัยคล้องคอ
ถ้าใชค้ ล้องคอเจ้าบา่ วเจ้าสาว เรยี กวา่ มาลัยบ่าวสาว

1.3.1.3 มาลยั ชำรว่ ย หมายถงึ มาลยั ขนาดเลก็ ๆ นา่ รักกระจมุ๋ กระจ๋ิม สำหรับมอบ
ใหก้ ับบคุ คลจำนวนมากเป็นของชำรว่ ย ตอบแทนการขอบคุณที่มาร่วมงานนน้ั ๆ

1.3.2. แบง่ ตามลักษณะรปู แบบของการร้อย มดี ังนีค้ ือ

1.3.2.1 มาลยั ซกี หรอื มาลยั เส้ียว หมายถงึ มาลัยทรี่ อ้ ยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวาง
เพยี งคร่ึงวงกลม หรือน้อยกวา่ น้ัน

1.3.2.2 มาลัยกลม หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นวงกลม
รูปทรงตามยาวตรง และขนานกันไปตลอดเขม็

1.3.2.3 มาลัยแบน หมายถึง มาลัยที่มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรูปยาวตามกลีบ
ปลายกลีบของด้านตรงข้ามยาวประมาณจดแนวเส้นรอบวง แต่ปลายกลีบของด้านขวางและ
ดา้ นตรงขา้ มแคบ

1.3.2.4 มาลัยรี หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรูปรี รูปทรง
ตามยาวตรงขึน้ ไปตลอดเขม็

1.3.2.5 มาลัยสามเหลี่ยม หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรู
สามเหลี่ยมด้านเทา่ รูปทรงตามยาวทัง้ สามด้านตรงขนึ้ ไปตลอดเขม็

1.3.2.6 มาลัยสี่เหลี่ยม หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวาง เป็นรูป
ส่ีเหลยี่ มจตุรสั รูปทรงตามยาวทงั้ สด่ี า้ นตรงขึน้ ไปตลอดเขม็

1.3.2.7 มาลัยตุ้ม หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรูปวงกลม
ขนาดเลก็ แลว้ คอ่ ย ๆ ใหญ่ขนึ้ ทลี ะนอ้ ย ช่วงกลางปอ่ งโค้งมนแลว้ คอ่ ย ๆ ลดใหเ้ ล็กลงทีละน้อย
จนมขี นาดเท่ากับตอนข้ึนตน้ รูปทรงตามยาวหัวทา้ ยเรยี วชว่ งกลางโค้งมน

1.3.2.8 มาลัยตัวหนอน หมายถึง มาลัยท่ีร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็น
วงกลม จากเล็กแล้วค่อย ๆ ใหญ่ขึ้นทีละน้อยช่วงกลางป่องโค้งมน แล้วค่อย ๆ ลดลง

6

จนกระทั่งเล็กเท่ากับตอนขึ้นต้นรูปทรงตามยาวหัวท้ายเรียวช่วงกลางป่องโค้งมน คล้ายมาลัย
ตุ้มแตย่ าวกว่า

1.3.2.9 มาลัยตัวหนอนคู่ หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรูป
กลมเล็กแล้วค่อย ๆ ใหญ่ขึ้น ช่วงกลางป่องโค้งมนแล้วค่อย ๆ ลดให้เล็กลง จนกระทั่งเท่ากับ
ตอนข้ึนต้น ซง่ึ คล้ายกบั มาลัยตุ้ม รูปทรงตามยาวเหมือนมาลัยต้มุ สองตุม้ ร้อยต่อในเข็มเดียวกัน
น่ันเอง

1.3.2.10 มาลัยสามกษัตริย์ หมายถึง มาลัยท่ีร้อยดว้ ยดอกบานไม่รโู้ รยกรองเป็นชัน้ ๆ
ขนาดเท่ากันทุกชั้น ร้อยคล้องต่อกันสามวงโดยใช้ดอกบานไม่รู้โรยสามสี คือ สีแดง ชมพู และ
ขาว

1.3.2.11 มาลัยพวงดอกไม้ หมายถึง มาลัยที่ร้อยด้วยดอกไม้เรียงต่อกันเป็นสายยาว
แล้วนำมาผกู มดั ตอ่ กนั เป็นวง

1.3.3. แบง่ ตามลักษณะโครงร่างโดยทัว่ ไปมีดงั น้ี

1.3.3.1 มาลัยตัวสัตว์ หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้เป็นรูปร่างลักษณะคล้ายตัวสัตว์ เช่น
หนกู ระรอก กระแต กระต่าย ชะนี ฯลฯ

1.3.3.2 มาลัยลูกโซ่ หมายถึง มาลัยที่ร้อยจากมาลัยกลมหรือมาลัยซีก แล้วนำเอามา
ผูกคล้องต่อกนั ตงั้ แตส่ องวงข้นึ ไป ให้มีลกั ษณะเปน็ ห่วง ๆ คลอ้ งกนั คล้ายโซ่

1.3.3.3 มาลัยเปีย หมายถึง มาลัยที่ร้อยจากมาลัยกลม และมาลัยตุ้ม นำมาประกอบ
เข้าเป็นพวง โดยเอามาลัยกลมผูกต่อกันเป็นวงอยู่ตรงกลาง ส่วนบนและล่างร้อยต่อด้วยมาลัย
ตุ้มดา้ นละ 1 ตมุ้

1.3.3.4 มาลัยเถา หมายถึง มาลัยที่ร้อยจากมาลัยซีกแล้วนำมาผูกต่อกันเป็นวงกลม
วงละขนาดตงั้ แตข่ นาดใหญแ่ ละคอ่ ย ๆเลก็ ลงตามลำดับ โดยวางเรียงซ้อนกันลกั ษณะเปน็ เถา

1.3.3.5 มาลัยครุย หมายถึง มาลัยที่ร้อยจากมาลัยกลมขนาดใหญ่ มีอุบะห้อย
ตุ้งต้งิ คลา้ ยระบายเป็นครยุ โดยรอบท้ังดา้ นในและด้านนอก ใชส้ ำหรับสวมสะพายจากไหล่ขวา
มาซา้ ยคล้ายกบั การห่มสไบเฉียงเมอื่ น่งุ จูงกระเบนนั่นเอง

1.3.3.6 มาลัยดอกกล้วยไม้ หมายถึง มาลัยที่ร้อยด้วยดอกกล้วยไม้ล้วน ๆ เป็นส่วน
ของตัวมาลยั ไมต่ ้องรอ้ ยดอกอย่างอนื่ แซมเป็นลวดลายใด ๆ ทัง้ สิ้น





บทที่2
วสั ดุและอปุ กรณใ์ นการร้อยมาลัย

2.1 วสั ดแุ ละอปุ กรณ์
วสั ดุอปุ กรณ์ต่าง ๆ ที่สำคญั และจำเปน็ ในการร้อยมาลัย มีดงั ต่อไปน้ี
2.1.1. ดอกไม้ ดอกไม้ที่ใช้ในการร้อยมาลัย ได้แก่ กุหลาบ มะลิ เฟื่องฟ้า บานบุรี กล้วยไม้

ผกากรอง (ดอกตูม) กะเม็ง พุด พุทธชาด เขี้ยวกระแต หางนกยูง (ดอกตูม) ดอกหญ้า พังพวย
เลบ็ มอื นาง มากาเร็ต (ดอกตูม) เบญจมาศนำ้ (ดอกตูม) บานไม่ร้โู รย ประทดั พิกุล ดอกรกั ฯลฯ

2.1.2. ใบไม้ ใบไม้ท่ีใชร้ อ้ ยมาลยั ได้แก่ ใบกระบือ ใบแก้ว ใบมะยม ใบพังพวย ใบ
จามจรุ ี ใบดอนหญ้าขาว ใบดอนหญา้ แดง ใบหมากผ้หู มากเมยี ใบชบา ใบโกสน ฯลฯ

2.1.3. เข็มมาลัย มีสองขนาด คือ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ แต่ก็ต่างกันไมม่ ากนัก ควร
จะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน ถ้างานรอยดอกไม้เล็ก ๆ หรือกลีบเล็ก ๆ ก็ควรใช้เข็มมาลัยขนาด
เลก็ แต่ถา้ รอ้ ยดอกไมด้ อกใหญ่ หรอื ดอกไม้ทม่ี กี ลีบใหญ่ ๆ กค็ วรใช้เขม็ มาลัยขนาดใหญ่และยาวกว่า

2.1.4. เข็มสั้นหรือเข็มมือ ปกติใช้เบอร์ 8, เบอร์ 9อย่างชนิดยาว เพราะเป็นขนาดที่เหมาะสม
ทส่ี ุด

2.1.5. ด้าย มีสองขนาด คอื ใหญแ่ ละเล็ก ขนาดใหญ่สำหรับรอ้ ยมาลยั ขนาดเล็กสำหรับ
รอ้ ยอบุ ะ เย็บหรือมดั ดอกข่า และเยบ็ รบิ บิ้นหรือโบว์

2.1.6. ใบตอง สำหรบั ไวป้ ูพ้นื ก่อนวางดอกไม้ ใบไม้ หอ่ ดอกไม้ และทำแป้น
2.1.7. กระดาษทราย สำหรบั ไว้ขัดเขม็ มาลยั เข็มมือเมอ่ื มสี นมิ เกาะ ควรเลือกใช้เบอร์ 0 เพราะ
มีความละเอยี ดทีส่ ุด
2.1.8. มีดเลก็ มดี บางคม ๆ สำหรบั ไวต้ ัดดอกไม้ เชน่ ดอกบานไม่ร้โู รย
2.1.9. กรรไกร ควรมี 2 ขนาด คือ ขนาดเลก็ และขนาดกลาง

2.1.9.1 ขนาดเลก็ ปลายแหลมคม ใชส้ ำหรับตดั กลีบดอกไม้ ใบไม้
2.1.9.2 ขนาดกลาง สำรบั ตดั ใบตองและดา้ ยในบางโอกาส
2.1.10. คมี สำหรับไวจ้ ับเข็มมาลัย ขณะที่ทำการรูดมาลยั ออกจากเข็ม
2.1.11. น้ำมันวาสลิน สำหรับไว้ทาเข็มมาลัยก่อนร้อย ขณะร้อยและก่อนจะรูดมาลัยออก
จากเขม็ (ควรทาตั้งแตจ่ ากใตแ้ ปน้ ใบตองมายงั ก้นเขม็ ตรงร้อยด้าย)
2.1.12. กะละมัง สำหรบั ไว้พักดอกไม้ ใบไม้
2.1.13. ถาด สำหรบั ใสด่ อกไม้ ใบไม้ และอุปกรณ์ในการรอ้ ยมาลัย
2.1.14. แก้วนำ้ หรอื ขันนำ้ เลก็ สำหรับใส่น้ำไว้พรมดอกไมข้ ณะร้อย

8

2.1.15. ทีฉีดน้ำ ควรใช้ชนิดที่ปรับให้เป็นละอองฝอย ๆ ได้ สำหรับไว้พรมดอกไม้ ใบไม้
จำนวนมาก

2.1.16. ผ้าขาวบาง สำหรับไวค้ ลมุ ดอกไม้เพอื่ ใหส้ ดอยูไ่ ดน้ าน

2.2 การเลือกดอกไม้ ใบไม้ และวสั ดุตกแต่ง
2.2.1. ชนดิ ของดอกไม้และใบไม้ท่ีใช้รอ้ ยมาลยั
ดอกไม้ที่ใช้ร้อยทั้งดอก ได้แก่ ดอกพุดตูม มะลิตูม บานไม่รู้โรย พุทธชาด ดอกรั ก

เล็บมือนาง เข้ยี วกระแต ชบาหนู ประทัด ฯลฯ
ดอกไมท้ ีใ่ ชก่ ลบี รอ้ ย ไดแ้ ก่ กหุ ลาบ บานบุรี หงอนไก่ รกั เร่ เฟอ่ื งฟ้า แพงพวย ฯลฯ
ใบไม้ที่ใช้ร้อยมาลัย ได้แก่ ใบกระบือ ใบโกสน ใบแก้ว ใบมะยม ชบาด่าง ใบตอง

อ่อน กาบพลบั พลงึ ใบกา้ มปู ฯลฯ
2.2.2. การเลอื กดอกไม้ ใบไม้ และวัสดตุ กแตง่
นับว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งทีค่ วรคำนึงถึง เช่น การปลิดกลีบกุหลาบไม่ใหช้ ำ้ จะช่วยให้สดอยู่

ไดน้ านทเี ดียวมขี น้ั ตอนดังน้ี มอื ซา้ ยจบั กา้ นกหุ ลาบคว่ำลง มือขวาจับกลีบกหุ ลาบชนั้ บนแล้วคอ่ ยดึงเข้า
หาตัว หมนุ ก้านกุหลาบออกขา้ งนอกอยา่ งชา้ ๆ กลีบกหุ ลาบกจ็ ะหลดุ ออกโดยไมบ่ อบชำ้ ตามที่ต้องการ

การพับกลีบกุหลาบโดยพับเอาโคนกลบี ออกข้างนอกเวลาร้อย การพับกลีบกุหลาบ ควรเลือก
กุหลาบที่มีโคนกลีบสวย ไม่มีรอยเว้าแหว่ง ถือโคนกลีบขึ้นข้างบน พับทบครึ่งตามความยาวของ
กลบี (เอาด้านสเี ข้าไวข้ า้ งใน) แลว้ พบั กลีบกลบั ออกมาทง้ั สองขา้ ง

การพบั กลบี ใบไม้ ใบไม้ทใี่ ชใ้ นการร้อยมาลัย มีวธิ ใี นการพับกลีบในแบบต่าง ๆ ข้ึนอยู่กับชนิด
ลกั ษณะ และรปู ทรงของดอกไม้และใบไมท้ ่ีเรามีอยู่วา่ เหมาะสมกับการพับแบบใดมากท่สี ุด กค็ วรใช้
วธิ กี ารพบั แบบนน้ั ๆ ตามโอกาสอันควรด้วย เพราะดอกไม้ ใบไม้ แต่ละทอ้ งถนิ่ แตล่ ะฤดูกาลน้ัน
ยอ่ มหาไดง้ ่ายและยากไม่เหมอื นกัน

2.2.3. ความสดของดอกไม้
ดอกไมแ้ ละใบไม้ที่ใชใ้ นการร้อยมาลยั ควรตอ้ งสดและใหม่อยู่เสมอ ควรไดร้ บั การดูแลรักษาท่ี
ดีอย่างถูกต้องตามธรรมชาติของดอกไม้ชนิดนั้น ๆ ด้วย ควรหลีกเลี่ยงการจับต้องอย่างแรง และใน
ระหว่างการร้อยมาลัยนั้นก็ควรจับต้องดอกไม้ ใบไม้อย่างเบามือ เพื่อจะได้ไม่เกิดรอยช้ำเหี่ยวเฉาง่าย
สามารถจะคงความสดสวยอยไู่ ดน้ านเทา่ ทคี่ วร

2.2.4. ความสวยงามของมาลัย
ความสวยงามของมาลัยน้ันย่อมจะต้องข้นึ อยกู่ บั ส่งิ ต่อไปนี้

2.2.4.1. สัดส่วนของมาลัย มาลัยแต่ละแบบแตล่ ะชนิดนั้นยอ่ มมีสัดส่วนทีเ่ ฉพาะใน
พวงนั้น ๆ ซึ่งไม่อาจกล่าวเป็นตัวเลขที่กำหนดเป็นกฎเกณฑ์ได้ตายตัวแน่นอน แต่ต้อง

9

คำนึงถึงสัดสว่ นเป็นสำคัญอันดับแรก โดยจะต้องคำนึงถึงขนาดของมาลัยต่อความยาวของอุบะ
จำนวนขาของอุบะที่ใช้ ขนาดของมาลัยซีกท่ีจะใช้รัด และส่วนประกอบอื่น ๆ ทุกชิ้น ควร
จะตอ้ งไดส้ ดั สว่ นกนั เสมอจึงจะเกดิ ความงามได้

2.2.4.2. สีสันของมาลัย สีของดอกไม้ ใบไม้ที่ร้อยมาลัยก็เป็นสิ่งสำคัญอีกประการ
หนึ่งเช่นกัน ควรจะเปน็ สีท่สี ดใสไมเ่ ศรา้ หมอง ในมาลยั แตล่ ะชุดแต่ละแบบนนั้ ควรจะใช้สี
ทีม่ ีความกลมกลนื เขา้ กันได้ในบางสว่ น แตบ่ างส่วนที่ควรจะเน้นให้เกิดจุดเด่น ก็ควรจะใช้สีท่ี
ตัดกันจะช่วยเพิ่มความน่าดูและสวยงามขึ้นได้อย่างมาก เช่น มาลัยที่ร้อยใส่ลวดลายต่าง ๆ
ควรจะเลือกใช้สีทีต่ ดั กนั เพอ่ื จะไดเ้ น้นลายให้เดน่ ชดั ขน้ึ อย่างชัดเจน

2.2.4.3. ฝีมือการร้อย ควรจะต้องมีความประณีตตั้งแต่การตัดกลีบ (สำหรับดอกไม้
ใบไม้บางชนิด)การพับกลีบ การส่งกลีบ การร้อยเรียงลำดับได้เรียบเสมอกัน การผูกมัดไว้ให้
เรียบร้อย สิ่งเหล่านี้ถ้าทำด้วยความประณีตจะทำให้เกิดความสวยงามได้อีกประการหน่ึง
เช่นกนั

2.2.4.4. ความสดของดอกไม้ ดอกไมห้ รือใบไม้ที่ใช้ในการร้อยมาลัย ควรจะต้อง
สดและใหม่อยู่เสมอ ควรได้รับการดูแลรักษาที่ดีอย่างถูกตอ้ งตามธรรมชาติของดอกไม้ชนิดน้นั
ๆ ด้วย ควรหลกี เลยี่ งการจบั ตอ้ งอยา่ งแรง และในระหว่างการร้อยมาลัยนน้ั กค็ วรจบั ต้องดอกไม้
ใบไม้อย่างเบามือ เพื่อจะได้ไม่เกิดรอยช้ำเหี่ยวเฉาง่าย สามารถจะคงความสดอยู่ได้นาน
เทา่ ท่คี วร

2.3 วธิ ีการแต่งตัวมาลัย
เมื่อร้อยมาลัยครบทุกส่วนแล้วจึงนำส่วนประกอบต่าง ๆ นั้นมาผูกมัดเข้าด้วยกันจนกระทั่ง

สำเรจ็ เป็นพวงท่ีสมบูรณ์ ซ่งึ มีหลกั ท่ัวไปดังนี้
1. สำรวจและตกแตง่ ตัวมาลัยใหเ้ รียบร้อย
2. ผูกอบุ ะกบั ตวั มาลัย
3. ผกู มาลัยซีกปดิ รอยต่อระหว่างอุบะกบั มาลัย
4. ผูกมาลัยกับริบบิ้น (ถ้าเป็นมาลัยที่ผูกกับริบบิ้น เช่น มาลัยสองชาย มาลัยชายเดียวผูกกับ

รบิ บ้ินสำหรบั ถือ และมาลยั ชำร่วย)

2.4 การเกบ็ รกั ษามาลัยทีท่ ำเสรจ็ แล้ว
มาลัยที่ทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว ถ้ายังไม่ถึงเวลาที่จะใช้ก็ควรจะต้องมีวิธีการเก็บรักษาที่ดีเพื่อให้

พวงมาลัยสดสวยอยไู่ ดน้ านเทา่ ทคี่ วร ซง่ึ มหี ลายวธิ ดี ้วยกันคือ
1. วางในถาดทร่ี องด้วยใบตอง แล้วคลมุ ดว้ ยผา้ ขาวบางชบุ น้ำบิดใหห้ มาด ๆ เกบ็ ไวใ้ นทเี่ ย็น

แตล่ มไม่โกรก วธิ นี นี้ ิยมใชก้ ับการเก็บระยะเวลาไม่นานนกั

10

2. ใส่ถุงพลาสตกิ วางหรือแขวนไวใ้ นทีเ่ ยน็ แตล่ มไมโ่ กรก วธิ กี ารนีน้ ยิ มใช้กบั การเก็บในระยะ
เวลานานกวา่ วธิ กี ารแรก

3. ใส่ถงุ พลาสติกเกบ็ ไว้ในชอ่ งเก็บผกั สดของตเู้ ย็น วธิ กี ารนี้ใช้กบั วธิ ีการเกบ็ ในระยะเวลานาน
สกั หน่อย เชน่ การเกบ็ นานหลาย ๆ ชัว่ โมงหรือการเก็บค้างคืน





บทที่ 3
ขน้ั ตอนในการร้อยมาลยั

3.1 ขน้ั ตอนการร้อยมาลยั
3.1.1 การเตรยี มเข็มมาลัย
1. ตรวจดูเข็มมาลัยว่าตรงหรือไม่ ถ้ามีส่วนใดโค้งงอจะต้องคลึงให้ตรงเสียก่อน โดยวางเข็ม

มาลัยลงบนพื้นเรียบแล้วใช้ไม้เรียบ ๆ วางทับเข็ม คลึงไปมาแบบเดียวกับการคลึงลวดในการทำดอกไม้
แห้งนน่ั เอง

2. ตรวจดูว่าเข็มเป็นสนิมหรือไม่ ถ้าเป็นต้องใช้กระดาษทรายชนิดละเอียดเบอร์ 0 ขัดให้
สะอาดเสียก่อน

3. ใชน้ ำ้ มนั วาสลนิ ทาเขม็ ใหล้ ืน่ แล้วเชด็ ใหส้ ะอาด
3.1.2 การเตรียมแป้นใบตอง ก่อนอื่นจะต้องสำรวจดูว่าจะร้อยมาลัยอะไรบ้าง จำนวนกี่เขม็
ก็ควรทำแป้นให้ครบ โดยถือหลักเกณฑ์ว่าการร้อยมาลัย 1 เข็ม จะต้องใช้แป้นใบตอง 2 อัน
ขนาดเทา่ กัน คอื ขนาดใหญ่กว่ามาลยั ท่จี ะรอ้ ยเลก็ นอ้ ย
3.1.3 การถือเข็มมาลัย จะต้องถือเข็มด้วยมือซ้าย ควรถือให้ถนัดแน่นและมั่นคง จะอยู่
ระหว่าง 3.5 นิ้ว นับจากก้นเข็มขึ้นมา เวลาจะพับกลีบดอกไม้ในการร้อยมาลัยจะต้องใช้มือขวาพับ
เพราะว่ามือซ้ายยงั ตอ้ งถือเข็มอยู่ แตใ่ ชว้ ธิ ดี งั นค้ี ือ ใช้น้วิ นางและน้ิวกอ้ ยมอื ซ้ายจบั เข็มปดั เขม็ ให้เหออก
แล้วใช้มือซ้ายเพยี งหวั แมม่ ือและนิ้วชช้ี ว่ ยมือขวา จับปลายกลบี ดอกที่พบั ไวเ้ ทา่ นั้น
3.1.4 การปลิดกลีบกุหลาบ นับว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างหน่ึงที่จะตอ้ งทำให้ถูกวธิ ี เพื่อให้กลีบที่
ปลดิ ออกมาแลว้ จะได้ไม่บอบช้ำซง่ึ จะชว่ ยคงความสวยสดอยู่ไดน้ านทเี ดียว มขี ั้นตอนละวิธีการดังนี้คือ
ใช้มือซ้ายจับก้านดอกกุหลาบคว่ำลง มือขวาจับกลีบกุหลาบชั้นบนแล้วค่อยดึงเข้าหาตัว หมุนก้าน
กุหลาบออกข้างนอกอย่างชา้ ๆ กลีบกุหลาบก็จะหลดุ ออกโดยไม่บอบชำ้ ตามท่ีตอ้ งการ
3.1.5 การตัดกลีบดอกไม้และใบไม้ ดอกไม้และใบไม้บางอย่างที่ใช้ร้อยมาลัย เช่น ดอก
เฟื่องฟ้า ดอกบานบุรี ใบกระบือ ใบแก้ว ใบมะยม ใบชบา ฯลฯ ก่อนจะนำมาร้อยต้องตัดกลีบให้มี
ขนาดรูปทรงดังนี้ก่อน ระวังอยา่ ใหป้ ลายแหลมหรอื ป้านเกนิ ไปจะทำให้พบั กลบี แลว้ ไม่สวยเท่าทค่ี วร
3.1.6 การพับกลบี ดอกไม้ ดอกไมบ้ างอย่างท่ใี ชร้ ้อยมาลัย มวี ิธีการพบั กลีบดงั นี้

1.การพับกลีบ โดยพับเอาโคนกลีบออกข้างนอกในเวลาร้อย เช่น การพับกลีบกุหลาบ
ควรเลือกกลีบกุหลาบที่มีโคนกลีบสวยไม่มีรอยเว้าแหว่ง ถือโคนกลีบขึ้นข้างบน พับทบครึ่ง
ตามยาวของกลีบ (เอาด้านสีเข้มไว้ข้างใน) แล้วพับทบกลีบกลบั ออกมาทั้งสองขา้ ง การพับกลบี
วิธนี ้เี มอ่ื ร้อยแลว้ มองดูจะสังเกตไดว้ า่ กลีบค่อนขา้ งเรยี วแหลม

2.การพับกลีบโดยพับเอาปลายกลีบออกข้างนอกในเวลาร้อย เช่น กลีบกหุ ลาบควร
เลอื กกุหลาบกลบี ไมใ่ หญน่ ัก และควรเปน็ กลีบขนาดเดียวกนั โดยพบั ทบคร่ึงเอาดา้ นสเี ข้ม

12

เข้าข้างในแล้วพับทบกลีบออกทั้งสองข้าง การพับกลีบแบบนี้เมื่อร้อยแล้วมองดูจะ
สงั เกตได้ว่ามาลัยสีเข้ม และมลี กั ษณะกลีบกลมมนกวา่ การพับกลีบแบบแรก

3.การพับกลีบดอกไม้โดยวิธีพับแบบเอาปลายกลีบออกข้างนอกอีกแบบหนึ่ง คือ ม้วน
กลีบทางด้านริมขวามือเข้ามาเป็นรูปหลอดกลม ๆ การพับกลีบแบบนี้อาจใช้สำหรับร้อยแตง
ลวดลาย เช่น กลีบกุหลาบ กลีบบานบุรี กลีบกล้วยไม้มาดาม ฯลฯ เพื่อให้เกิดลวดลายที่เด่น
และแปลกออกไปจากกลีบท่ีร้อยเปน็ พนื้ ของมาลัยนัน้ ๆ

3.1.7 การพับกลบี ใบไม้ใช้ร้อยมาลัย มีวิธีการพับกลีบใบแบบตา่ ง ๆ ดงั นี้
1.การพับกลีบทบครึ่งแล้วทบกลีบออกมาทั้งสองข้าง การพับกลีบแบบนี้จะต้องตัด

ใบไม้ให้มีรูปทรงดังนี้ก่อน ควรวางด้านปลายใบขึ้นข้างบนเสมอและควรหลีกเลี่ยงเส้นกลางใบ
ด้วยเพราะถ้ามีเส้นกลางใบติดอยูท่ ี่กลีบจะทำให้มองดูรู้สึกแข็งกระด้างเกินไป และไม่ควรใช้ใบ
อ่อนจะเหี่ยวง่าย

2.การพับกลีบใบแบบทบครึ่งธรรมดาโดยไม่ต้องทบกลีบออกข้าง จะต้องตัดใบก่อน
แล้วพบั ดังน้ี การพบั กลีบแบบน้ีจะเห็นได้ว่า ถงึ แมจ้ ะเปน็ ใบไม้ท่ีเล็กหรือแคบก็ใช้ได้ใบไม้ท่ีแข็ง
กรอบแตกง่าย ควรใช้ วิธีการพับแบบน้ี

3.การพับกลีบใบแบบม้วนเป็นหลอดกลมเหมือนกับการพับกลีบดอกในข้อ 3 แต่การ
พับแบบนี้จะต้องตัดกลีบดังนี้ และใบไม้ควรมีความกว้างและความยาวพอเพียง การพับกลีบ
ดอกไม้และใบไม้ย่อมขึ้นอยู่กับชนิด ลักษณะและรูปทรงของดอกไม้และใบไม้ที่เรามีอยู่ว่า
เหมาะสมกับการพับแบบใดมากที่สุด ก็ควรใช้วิธีการพับแบบนั้น ๆ ตามโอกาสอันสมควรด้วย
เพราะดอกไม้ ใบไม้แตล่ ะท้องถ่นิ แต่ละฤดูกาลนั้นย่อมหาไดง้ ่ายและยากไม่เหมอื นกนั

3.1.8 การทำแป้นใบตอง ขนาดของแป้นใบตองนั้นขึ้นอยู่กับมาลัยที่จะร้อย ควรให้แป้น
ใบตองมีขนาดใหญ่กว่ามาลัยที่จะร้อยเล็กน้อย ไม่ควรให้ใหญ่หรือเล็กมากเกินไป เพราะจะทำให้เกิด
ความไม่เหมาะสมและไม่สะดวกในตอนที่จะรูดมาลัยออกจากเข็ม วิธีการพับแป้นใบตองมีขั้นตอน
ดงั ต่อไปนี้

1. ฉีกใบตองขนาดเท่ากัน 2 ชิ้น (ขนาดกว้าง 1.5 นิ้ว) ตัดหัวและปลายให้เรียบร้อย
วางซอ้ นทางด้านแขง็ ทำมุมฉากซ่งึ กนั และกนั

2. พับริมใบตองด้านแข็งชิ้นที่ 1 ทบเข้ามาเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเท่ากับขนาดความ
กวา้ งของใบตองทฉ่ี ีกไว้

3. พับริมใบตองชิ้นที่ 2 ทบลงมาเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเท่ากับความกว้างของใบตอง
เชน่ กัน

4. มือขวาจับใบตองชน้ิ ที่ 1 ดา้ นขวามอื ทบมาทางซ้าย
5. ใชม้ อื ขวาจบั ใบตองช้ินที่ 2 ทบขึ้นไปทางด้านบน

13

6. กลบั ใบตองหงายข้ึนใชม้ ือขวาจับชนิ้ ที่ 1 ทบมาทางซ้าย
7. จบั ใบตองชน้ิ ท่ี 2 ทบลงมาด้านล่าง
8. กลับใบตองหงายขึ้น มือขวาจับชิ้นที่ 2 ทบลงมา และมือซ้ายจับชิ้นที่ 1 ทบลงมา
ทางขวา
9. กลับใบตองหงายขึ้น ตัดปลายใบตองชิ้นที่ 2 ส่วนที่เหลือทิ้งไป (ถ้าใบตองช่วงยาว
เกนิ ไป)
10. ตัดริมทั้งสองของปลายใบตองชิ้นที่ 1ให้เล็กลงนิดหน่อย เพื่อสะดวกและง่ายต่อ
การสอดเก็บปลายใหเ้ รยี บรอ้ ย

3.2 วธิ ีการรอ้ ยมาลัย
ก่อนที่จะร้อยมาลัยจะต้องใส่หรือร้อยแป้นใบตองก่อน 1 แป้น อยู่ในระดับเหนือมือที่จับเข็ม

มาลัย ใช้วาสลินทาเข็มให้ลื่นแล้วจึงเริ่มร้อยกลีบแรก โดยต้องร้อยจากทางด้านซ้ายสุดแล้วกลีบต่อ ๆ
มา ค่อยหมุนตามเข็มนาฬิกา แต่ละชั้นก็ควรให้สับหว่างกันด้วยขณะร้อย ต้องหมั่นทาวาสลินที่เข็ม
ด้วย โดยเฉพาะดอกไม้ใบไม้ที่มียางมาก ๆ และต้องพรมน้ำบางตามความเหมาะสม เมื่อร้อยจบเข็ม
แลว้ จะตอ้ งใส่หรอื รอ้ ยแปน้ ใบตองปิดทบั อีก 1 แป้น

3.2.1 สว่ นประกอบของมาลยั
1.ตัวมาลัย อาจใช้เป็นมาลัยกลม มาลัยแบน มาลัยรี มาลัยสามเหลี่ยม มาลัยสี่เหลี่ยม

มาลัยตมุ้ ฯลฯ
2.อบุ ะ ท่นี ิยมใชห้ อ้ ยประดับพวงมาลยั ได้แก่ อุบะแขก อบุ ะพู่ และอุบะตงุ้ ติง้ (สำหรับ

หอ้ ยมาลยั ตมุ้ )
3.ซีก ที่ใช้ผูกรัดรอยต่อระหว่างตัวมาลัยกับอุบะนั้น ควรเป็นซีกที่มีขนาดสัดส่วนท่ี

เหมาะสมกับตัวมาลัย แต่ก็ไม่ควรเล็กจิ๋วหรือใหญ่โตเทอะทะเกินไป ซึ่งมองดูแล้วจะทำให้
สดั ส่วนของพวงมาลยั ไมด่ เี ท่าท่ีควร

4.ริบบิ้น นับว่าเป็นส่วนประกอบอย่างหนึ่ง สำหรับพวงมาลัยที่ใช้คล้องคอ มาลัย
ชำรว่ ย มาลยั มือถอื ท่ใี หแ้ กป่ ระธานหรือแขกผู้ใหญ่ (ในบางแบบ)

3.2.2 ความหมายของคำตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการทำงานมาลัย
1.เข็มมาลัย เป็นเข็มเหล็กยาวประมาณ 12 – 14 นิ้ว ปลายแหลมมี 2 ขนาด ขนาดเล็กใช้
กับงานละเอียด ส่วนขนาดใหญ่ใช้กับงานดอกไม้ดอกใหญ่หรือดอกไม้ที่มีกลีบใหญ่ ๆ เวลาซื้อควรต้อง
เลอื กใหเ้ หมาะสมกับงานนั้น ๆ ดว้ ย
2.เข็มสั้นหรอื เข็มมือ หมายถึง เข็มสั้นธรรมดาใช้สำหรับเย็บดอกข่า เย็บโบว์ หรือร้อยอุบะก็ได้
ปกติมกั จะใช้เบอร์ 8 และเบอร์ 9

14

3.ดา้ ย ดา้ ยที่ใชใ้ นงานมาลยั มี 2 ขาด คอื ขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก
ดา้ ยรอ้ ยมาลยั ใชเ้ สน้ ใหญ่ ( สีขาว ) ควรใช้ด้ายคู่
ด้ายร้อยอุบะ ใชเ้ ส้นเล็ก ( สีขาว ) เบอร์ 40 หรอื เบอร์ 60
ด้ายสำหรับเยบ็ หรือมัดดอกข่า ใช้เสน้ เล็ก ควรใชส้ เี ดยี วกับกลบี ดอกไม้ท่ใี ชท้ ำต้มุ ดอกข่า
4.ดอกตมุ้ เป็นส่วนประกอบอยา่ งหนึ่งของอุบะที่อยู่ส่วนล่างสุด เช่น ดอกกุหลาบตูม ดอก
จำปี ดอกจำปา ดอกบานไมร่ โู้ รย ดอกชบาหนู ดอกกล้วยไม้ หรอื ดอกข่าประดิษฐ์ ฯลฯ
5.ดอกข่า เป็นดอกไม้ที่ประดิษฐ์ให้มีลักษณะคล้ายดอกข่าใช้แทนดอกตุ้มของอุบะ อาจ
ประดิษฐ์จากกลีบกหุ ลาบ ดอกพุด ดอกมะลิ ฯลฯ
6.อบุ ะ เปน็ สว่ นทีใ่ ชส้ ำหรับหอ้ ยชายมาลยั เพอื่ ให้เกดิ ความสวยงาม น่ารักย่งิ ข้ึน
7.ซีก เป็นมาลัยประเภทหนึ่งที่มีลักษณะรูปทรงตามขวางเพียงเสี้ยวหน่ึงถึงครึ่งวงกลม สำหรับ
นำไปผกู รดั เปน็ มาลัยลกู โซ่ หรอื สำหรบั ผกู ปิดรอยตอ่ ของมาลัยเพือ่ ใหเ้ กดิ ความสวยงามย่งิ ขนึ้
8.แป้น หมายถึง ส่วนที่เป็นที่สำหรบั รองรับดอกไม้ท่ีร้อยอยู่ในเขม็ มาลัย และยังใชส้ ำหรับปิด
ท้ายของการร้อยมาลัยเมื่อจบเข็มแล้วเป็นการช่วยกันมิให้ดอกไม้ชั้นสุดท้ายรวนหรือหลุดล่วงไปได้ง่าย
ในขณะทำการรูดมาลยั ออกจากเข็ม
9.ส่งกลีบหรือส่งก้าน หมายถึง ความยาวช่วงระยะระหว่างปลายกลีบ หรือปลายดอกถึงจุดท่ี
เข็มแทง
10.หน้าเรียบ หมายถึง การส่งกลีบหรือส่งก้านดอกให้ปลายเสมอกัน มองดูแล้วได้ระดับ
เรยี บร้อยสวยงาม ไมส่ งู ๆ ตำ่ ๆ หรือโค้งเวา้ เป็นคลนื่
11.กรอง หมายถึง วิธีการประดิษฐ์ดอกไม้วิธีหนึ่ง โดยการนำเอาดอกไม้บางชนิด เช่น ดอก
บานไม่รู้โรยมาเฉือนให้เป็นแว่นบาง ๆ ด้วยมีดคม ๆ แล้วนำมาร้อยด้วยเข็มทีละแว่นว้อนกันจนยาวพอ
ต้องการทจี่ ะนำไปใช้ในงานนนั้ ๆ ซ่ึงวธิ กี ารน้เี รียกวา่ กรองดอกบานไม่ร้โู รย
12.ประคำดอกรัก หมายถึง วิธีการประดิษฐ์ดอกรักให้มีรปู ร่างลักษณะกลม ๆ คล้ายลูกประคำ
โดยการเลือกดอกรักสีเดยี วกัน ขนาดดอกเท่ากันจำนวน 2 ดอก ผ่าตามกลีบท้ังห้าสักเล็กน้อยแล้วนำมา
ประกบกนั ประคำดอกรักนส้ี ามารถจะนำมาเรียงเถาแล้วรอ้ ยเป็นสายอบุ ะก็ได้
13.แต่งตัว หมายถึง การนำส่วนต่าง ๆ ของมาลัยมาประกอบเข้าด้วยกันจนสำเร็จตามลำดับ
ขน้ั ตอนให้มีรูปรา่ งครบถ้วนถูกต้องไดส้ ดั ส่วน และสวยงามตามแบบของมาลัยประเภทนั้น
14.วาสลิน เป็นน้ำมันชนิดหนึ่งใช้สำหรับทาเข็มมาลัยก่อนร้อย ขณะร้อยเพื่อให้การรูดมาลัย
ออกจากเข็มได้ง่าย สะดวกขึ้น และสำหรับไว้ทาเข็มมาลัยที่ทำความสะอาดเรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นการ
รักษาเข็มอย่างถูกวธิ ีดว้ ย
15.ริบบิ้นหรือโบว์ หมายถึง ส่วนที่จะใช้ผูกติดกับมาลัยสำหรับคล้องคอ หรือใช้มือถือก็ได้ อาจ
เป็นริบบ้ินทที่ ำจากผ้า ไนลอน ฟาง พลาสติก หรือริบบิน้ เงิน ริบบิ้นทอง

15

3.2.3 วิธีการรูดมาลัยออกจากเขม็
1. พรมน้ำดอกไมใ้ หท้ ่วั เขม็ กะวา่ ให้เปยี กถงึ เขม็ (ถ้าเปน็ ดอกพุดไม่ต้องพรมเพราะดอกพุดจะบาน
ง่าย)
2. ทาน้ำมันวาสลินต้ังแตใ่ ตแ้ ป้นใบตองจนถึงกน้ เข็ม
3. คนหนึ่งจับคีมหนีบเข็มมาลัยด้านปลายเอาไว้ให้มั่นคง อีกคนหนึ่งใช้มือขวาจับเข็มหลวม ๆ
ด้วยน้ิวหัวแมม่ อื กับนิ้วช้ี แตใ่ ช้นำหนักจากนวิ้ กดลงบนแป้นใบตองท่ีปดิ คลุมมาลัยอยู่ สว่ นมอื ซ้ายจับเข็ม
หลวม ๆ ใตแ้ ป้นด้วยนิ้วหวั แม่มือกบั นว้ิ ชี้ ดนั แป้นใบตองขึ้นเล็กน้อย พรอ้ มกับเอานว้ิ กลางละนิ้วนางเข้า
หนีบประกบเขม็ ไวด้ ว้ ย เพื่อกนั มใิ ห้มาลัยรวนเสยี รปู ทรงและลวดลาย
4. ตกลงให้สัญญาณซึ่งกันและกันทั้งสองคนว่าจะดงึ เข็มและรูดมาลัยพรอ้ ม ๆ กัน โดยอาจใช้วิธี
นับ1, 2, 3 ก็ได้ เมื่อมาลัยหลุดออกพ้นเข็มแล้วให้หยุดดึงได้ แต่คนที่ดึงหรือรูดมาลัยยังจะต้องค่อย ๆ
ประกอบมาลยั อย่รู ะหว่างชว่ งกลางของดา้ ย แลว้ จัดดอกให้เรยี งเข้าท่เี ดิมใหเ้ รียบรอ้ ยด้วย
5. ถ้ารูดมาลัยออกจากเข็มแล้ว เกิดการหดหรือเบียดแน่นเกินไป ก็ควรตกแต่งปรับรูปทรงให้ดี
ขึ้นโดยใช้วิธีถือปลายด้ายข้างละมือทั้ง 2 คน แล้วขยับเขยื้อนดึงด้ายไปมาเล็กน้อย มาลัยก็จะคลาย
ขยายตัวออกได้แต่ไมค่ วรดงึ มาก จะทำให้มาลยั ยดื ยานเกินไปกเ็ สียรปู ทรงได้เชน่ กนั
3.3 การร้อยดอกขา่

ดอกขา่ คือ ดอกไม้ทปี่ ระดษิ ฐจ์ ากกลีบดอกไม้ให้มรี ูปรา่ งลักษณะเป็นตุ้มค่อนข้างยาวปลาย
รีแหลมคล้ายกบั ดอกขา่ จรงิ ใชส้ ำหรับทำดอกตมุ้ ของอุบะ

ดอกไม้ที่นิยมใช้ทำดอกข่า ได้แก่ กุหลาบ พุด มะลิ ดอกไม้อื่นบางชนิด ก็สามารถ
นำมาทำดอกข่าได้ แต่ว่ายังไม่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากว่าใช้เวลาในการประดิษฐ์มาก
หรอื ทำแล้วไม่คงทนตอ่ การใชเ้ ทา่ ท่ีควร

ภาพท่ี 1 ดอกขา่

16

วิธีการทำดอกข่ามี 2 วิธี
1.การเย็บ
2.การมดั

3.3.1. การทำดอกข่าโดยวิธีการเย็บ เป็นวิธีที่ทำได้ง่ายเพราะมีความมั่นคงไม่หลุดง่าย
ในขณะทำ เหมาะสำหรับผู้ที่หัดทำใหม่ ใช้ฝึกหดั ทำให้เกิดความชำนาญก่อนโดยไมท่ ้อแท้ใจ มีวิธีการ
และขน้ั ตอนดงั นี้

1. ตัดใบตองกว้างประมาณ 2 นิ้ว ยาว 2 นิ้ว จำนวน 1 ชิ้น นำกลีบกุหลาบขนาดเล็ก
วางทาบที่มุมซ้ายด้านบนของใบตอง แล้วใช้นิ้วหัวแม่มือซ้ายค่อย ๆ ม้วนใบตองเข้ามาให้เป็น
หลอดกลม

2. ใช้เข็มเย็บให้กลีบชั้นที่ 1 ติดกับม้วนใบตอง ใช้ด้ายพันรอบแล้วเย็บให้แน่นอีกคร้ัง
หนึ่ง

3. เรมิ่ นำกลีบชั้นท่ี 2 จำนวน 2 กลีบ โดยการพับกลีบกระพุ้ง (ขวาทบั ซา้ ย) แล้วนำมา
วางประกบเข้าหากลบี ช้ันท่ี 1 กลีบชั้นที่ 2 น้ี ต้องลดลำดับปลายกลบี ตำ่ ลงมากวา่ ปลายกลีบชั้น
ท่ี 1 เล็กนอ้ ย ใชด้ ้ายพนั แลว้ เยบ็ อีกครงั้ จึงใสก่ ลีบท่ี 2 ใหว้ างดา้ นตรงข้ามกับกลีบแรกของชั้นท่ี
2 โดยให้ลักษณะกลบี ประกบเข้าหากนั ใชด้ ้ายพันแลว้ เยบ็ ใหแ้ น่น

4. การเย็บกลบี ช้ันที่ 3 ใชว้ ธิ กี ารพับและเยบ็ กลีบเชน่ เดียวกับชน้ั ที่ 2 แตใ่ ช้จำนวนกลีบ
3 กลีบ โดยพยายามวางให้สับหว่างและเลี่ยงหว่างบ้าง แต่ทั้ง 3 กลีบให้วางประกบโดยรอบ
ชั้นท่ี 2 ลดลำดบั ปลายกลีบใหต้ ่ำกวา่ ปลายกลบี ชั้นท่ี 2 เลก็ นอ้ ยพอสวยงาม

5. การเย็บกลีบชั้นที่ 4 ใช้จำนวน 4 กลีบ ใช้วิธีการพับและเย็บเช่นเดียวกับชั้นท่ี
2 และ 3 วางกลบี ประกบเข้ากบั ชัน้ ท่ี 3 โดยวางให้สับหว่างและเล่ยี งหวา่ งกันบ้าง เวน้ ระยะ
กลีบทัง้ 4 ให้เทา่ กนั เรยี งรอบชนั้ ที่ 3 ลดลำดบั ปลายกลบี ให้ต่ำลงมากวา่ ปลายกลีบของช้ันที่
3 เล็กน้อย เมื่อทำครบจำนวนกลีบตามต้องการแล้ว เย็บให้แน่นแล้วตัดด้ายที่เหลือออก
จากนั้นก็ตัดก้านสว่ นทเ่ี ป็นใบตอง ควรตัดหา่ งจากรอยเย็บด้ายลงมาประมาณ ½ ซ.ม. การทำ
ดอกขา่ วธิ ีนี้ ส่วนมากใชป้ ระมาณ 4 น้วิ ถ้าต้องการดอกเล็กก็ใช้กลีบ 3 ชนั้ แต่ถ้าต้องการ
ดอกใหญ่ก็เพมิ่ เป็น 4 – 5 ชั้น

3.3.2. การทำดอกข่าโดยวิธีการมัด เป็นวิธีที่ทำไม่ยากนัก เหมาะสำหรับผู้ที่ชำนาญแล้ว
หรือผูท้ ต่ี อ้ งทำจำนวนมาก เพราะจะสะดวกและรวดเรว็ กว่าวิธีการเย็บ แตว่ ธิ ีนีจ้ ะเป็นการยากและ
ลำบากใจแก่ผู้หัดทำใหม่ ๆ เพราะว่าถ้ามัดแน่นเกินไปกลบี ก็จะฉีกขาด แต่ถ้ามัดหลวมกลีบดอกก็จะ
หลุด หรือเคลื่อนที่ได้จะทำให้รูปทรงของดอกข่าไม่สวยเท่าที่ควร การมัดดอกข่ามีวิธีทำตามขั้นตอน
ดังนี้

17

1. ตัดใบตองกว้างประมาณ 2 นิ้ว ยาว 4 น้ิวจำนวน 1 ช้ิน ใชน้ ว้ิ หัวแม่มือกับนว้ิ ช้ีของ
มือขวาจบั ปลายใบตองดา้ นบนรมิ ขวามือ ม้วนเฉียงลงมาเปน็ ลกั ษณะรูปกรวยยอดแหลมม้วน
ไปจนกระทั่งสดุ ใบตองอกี ด้านหน่งึ

2. เลือกกลีบกุหลาบขนาดเล็กจำนวน 2 กลีบ นำกลีบที่ 1 พับกระพุ้ง (ขวาทับซ้าย)
ประกบเข้ากับยอดแหลมของกรวยใบตองในข้อ 1 ใช้ด้ายมัดให้แน่นโดยใช้วิธีทำด้ายเป็นห่วง
คล้องแล้วมัดให้แน่น อีกกลีบหนึ่งก็ทำเช่นเดียวกัน แต่วางกลีบประกบตรงข้ามกับกลีบแรก
วางปลายกลีบท้งั สองให้เท่ากันและชิดกัน

3. เลือกกลีบกุหลาบขนาดกลางจำนวน 3 กลีบ พับกลีบเปน็ กระพุง้ วางประกบกับกลีบ
ชนั้ แรก แต่ลดปลายกลบี ลงมาต่ำกว่าปลายกลบี ของช้ันท่ี 1 เลก็ นอ้ ย มดั ใหแ้ นน่ ทำเช่นเดียวกนั
นท้ี ง้ั 3 กลีบโดยรอบ ชั้นแรกควรวางระยะห่างแตล่ ะกลบี ให้เท่ากนั ด้วย (กลบี แรกควรวางให้สับ
หวา่ งกบั ชัน้ แรก)

4. เลือกกลีบกุหลาบขนาดใหญ่จำนวน 4 กลีบ พับกลีบให้เป็นกระพุ้งวางประกบ
โดยรอบกลีบชั้นที่ 2 กลีบแรกวางใหส้ ับหว่างกับชั้นท่ี 2 ลดปลายกลีบใหต้ ำ่ ลงมากว่าปลายกลีบ
ชั้นที่ 2 เล็กน้อย ใช้ด้ายพันและมัดให้แน่นกลีบต่อ ๆ ไปทำเช่นเดียวกัน ควรเว้นระยะห่าง
ระหว่างแต่ละกลบี ให้เทา่ กัน เรียงต่อกนั โดยรอบ มดั ให้แน่น จากน้นั ก็ตัดปลายได้ท่เี หลือออก
แล้วตดั กา้ นสว่ นทีเ่ ป็นใบตอง ควรตดั หา่ งจากรอยได้ท่มี ัดไว้ลงมาประมาณ ½ ซ.ม. ถา้ ต้องการ
ดอกข่าทีใ่ หญก่ วา่ น้กี เ็ พ่ิมจำนวนชัน้ ให้มากกว่าน้ีเป็น 4 ชนั้ และชนั้ ที่ 4 กใ็ ช้กลีบขนาดใหญ่
จำนวน 4 กลีบ วางให้สับหว่างกับกลีบในชั้นที่ 3 ลดปลายกลีบต่ำลงมากว่าชั้นที่ 3
เลก็ น้อยพอสวยงาม

18

3.4 มาลยั ซีก
มาลัยซีกหรือเสี้ยว หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเพียงครึ่งวงกลมหรอื

น้อยกว่า ซึ่งมีหลายขนาดด้วยกัน เช่น มาลัยซีกสามหลัก มาลัยซีกห้าหลัก มาลัยซีกเจ็ดหลัก และ
มาลยั ซีกเก้าหลัก

มาลัยซีกขนาดเล็กที่สุด หรือเรียกมาลัยเสี้ยว หรืออาจเรียกว่า มาลัย 2 – 1 ก็ได้ คือ มาลัย
ซกี สามหลัก

มาลัยซีกท่มี ีขนาดใหญท่ ส่ี ดุ คอื มาลัยซกี สบิ เอ็ดหลัก หรืออาจเรียกว่า มาลยั 6 – 5 กไ็ ด้
การเรยี กชื่อมาลัยแต่ละชนดิ น้ัน จะเรยี กตามลกั ษณะแนวตามยาวเป็นหลัก เช่น มาลัยซีกสาม
หลกั มาลัยซีกห้าหลัก มาลัยซีกเจด็ หลัก มาลยั ซกี เก้าหลัก แต่บางคนจะเรียกสนั้ ๆ วา่ ซกี 3 , ซีก
5 , ซกี 7 ซกี 9 และบางครั้งกเ็ รียกตามลกั ษณะของการร้อยเชน่ 2 – 1 ( สองหนึ่ง ) มาลยั 3 – 2
, มาลยั 4 – 3 และมาลัย 5 – 4

ภาพท่ี 2 มาลัยซีก

ดอกไม้ที่นิยมใชร้ อ้ ยมาลยั ซีกโดยท่ัวไป ได้แก่ ดอกกุหลาบ ดอกพุด กลีบดอกรัก แกนกลาง
ดอกรกั เปลือกดอกรัก และดอกมะลิ

ดอกไม้ ใบไม้ทน่ี ิยมรอ้ ยเปน็ ลายมาลัยซีก ไดแ้ ก่ ดอกกะเม็ง ดอกผกากรอง ( ดอกตมู ) และ
ใบไม้ต่าง ๆ ท่ีใชส้ ำหรบั รอ้ ยมาลัย

มาลัยซกี มี 2 แบบ คอื แบบพ้นื ลว้ น ๆ และแบบมลี าย
วิธกี ารร้อยมาลยั ซีก มหี ลกั สำคัญดังนี้

1. จะต้องเริ่มต้นร้อยจำนวนกลีบมาก และจบการร้อยด้วยจำนวนกลีบน้อยเสมอ เช่น มาลัยซีก
เจด็ หลกั จะตอ้ งเริม่ รอ้ ยแถวแรก = 4 กลบี แถวท่ี 2 = 3 กลบี

19

2. แต่ละแถวจะตอ้ งร้อยใหก้ ลีบสบั หวา่ งกันเสมอ
3. พยายามเลือกกลีบขนาดเท่า ๆ กนั และเวลาร้อยจะต้องส่งกลีบใหเ้ ท่ากนั ทุกกลีบและทุกแถว
ด้วย เมอ่ื เวลาร้อยเสรจ็ แลว้ จะเห็นเปน็ แนวหรือแถวตามยาวข้ึนไปอยา่ งชดั เจนเปน็ ระเบยี บสวยงาม ซึ่ง
เรยี กวา่ หลกั นน่ั เอง

แผนผงั มาลัยซีกแบบตา่ ง ๆ 0
มาลยั ซีกสามหลัก หรือ มาลยั 2 – 1 00
แถวที่ 14
แถวที่ 13 0
แถวที่ 12 00
แถวที่ 11
แถวท่ี 10 0
แถวที่ 9 00
แถวที่ 8
แถวที่ 7 0
แถวท่ี 6 00
แถวท่ี 5
แถวท่ี 4 0
แถวท่ี 3 00
แถวที่ 2
แถวที่ 1 0
หลักท่ี 00

0
00
123

0 = กลบี กหุ ลาบ หรือดอกพดุ หรอื ดอกมะลิ

วธิ ที ำ แถวที่ 1 กหุ ลาบ 2 ร้อยเรยี งต่อกนั ในลักษณะไม่เกนิ ครง่ึ วงกลม
แถวท่ี 2 กุหลาบ 1 รอ้ ยอยรู่ ะหวา่ งกลีบท่ี 1 กบั 2 ของแถวท่ี 1
แถวท่ี 3,5,7,9,11 และ 13 รอ้ ยเหมอื นแถวที่ 1
แถวที่ 4,6,8,10,12 และ 14 รอ้ ยเหมือนแถวที่ 2
หมายเหตุ จะร้อยจำนวนกี่แถวก็ได้แล้วแต่โอกาสใช้สอยว่าต้องการความยาวเท่าใด แต่ควร

จบลงด้วยแถว กหุ ลาบ 1 เสมอ เพือ่ เวลาผกู รดั จะไดต้ อ่ กันพอดี

20

มาลยั ซีกหา้ หลัก หรอื มาลยั 3 – 2

แถวที่ 14 00
แถวที่ 13 000
แถวท่ี 12
แถวท่ี 11 00
แถวที่ 10 000
แถวท่ี 9
แถวที่ 8 00
แถวท่ี 7 000
แถวที่ 6
แถวที่ 5 00
แถวที่ 4 000
แถวที่ 3
แถวท่ี 2 00
แถวที่ 1 000
หลกั ท่ี
00
000

00
000
12345

0= กลีบกหุ ลาบ หรอื ดอกพุด หรือดอกมะลิ

วธิ ีทำ แถวท่ี 1 กุหลาบ 3 ร้อยเรยี งตอ่ กนั ในลักษณะไม่เกนิ ครง่ึ วงกลม
แถวที่ 2 กุหลาบ 2ร้อยเรียงต่อกัน โดยกลีบแรกอยู่ระหว่างกุหลาบกลีบที่ 1 กับ 2 ของ
แถวที่ 1 และกลีบที่ 2 รอ้ ยอยู่ระหวา่ งกหุ ลาบกุหลาบกลบี ที่ 2 กับ 3 ของแถวท่ี 1
แถวท่ี 3,5,7,9,11 และ 13 รอ้ ยเหมือนแถวท่ี 1
แถวที่ 4,6,8,10,12 และ 14 รอ้ ยเหมอื นแถวที่ 2

หมายเหตุ จะร้อยจำนวนกี่แถวก็ได้ย่อมแล้วแต่ความยาวที่ต้องการ แต่ควรจบลงด้วยแถวกุหลาบ 2
เสมอ เพ่ือเวลาผูกรดั จะได้ตอ่ กันพอดี

3.5 มาลยั ตุ้ม
มาลัยตุ้ม หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรูปกลม โดยเริ่มต้นจะเป็น

วงกลมขนาดเล็กแล้วค่อย ๆ ใหญ่ขึ้น หรือกว้างขึ้นทีละน้อยมาถึงประมาณช่วงกลางแล้วค่อย ๆ
ลดลงทีละน้อย ให้มีขนาดเท่ากับตอนแรก ๆ จนกระทั่งเหมือนตอนขึ้นต้น ส่วนลักษณะรูปทรง
ตามยาวนน้ั คล้าย
ดอกบวั ตมู ช่วงหัวท้ายเรียว ตรงกลางป่องโคง้ มน มาลัยตุ้มขนาดเล็กสุดนิยมร้อย 9 ชนั้

21

และขนดใหญ่ที่สดุ 15 ชั้น การรอ้ ยมาลัยตุ้มจำนวนชนั้ จะต้องเปน็ เลขคี่เสมอ เช่น 9 , 11 , 13 และ
15

ภาพที่ 3 มาลยั ตมุ้

มาลัยตุ้มมี 2 แบบ
1.แบบมลี าย
2.แบบไมม่ ลี าย
วิธกี ารร้อยมาลัยตมุ้ มีหลักสำคัญดงั ตอ่ ไปนี้
1. จะต้องเริ่มต้นร้อยด้วยดอกเล็ก หรือกลีบเล็กก่อนควรส่งก้านหรือส่งกลีบสั้นที่สุด และชั้นต่อ
ๆ ไป ควรส่งก้านให้ยาวขึ้นทีละน้อย ๆ จนถึงช่องราวประมาณครึ่งเป็นช่วงที่มีความป่องโตเต็มที่
เท่ากับขนาดที่ต้องการ (ช่อง 2 – 3 แถว ตรงกลาง) แล้วค่อย ๆ ส่งก้านสั้นลงทีละน้อย ย้อนกลับมา
เทา่ กบั ขนาดตอนข้ึนต้น
2. ความยาวของมาลัยตุ้มประมาณ 2.5 นิ้ว – 3.5 นิ้ว ต้องระวังอย่าร้อยให้ยาวนัก เพราะมองดู
แลว้ จะกลายเปน็ มาลยั ตวั หนอนไป
3. การขึ้นต้นมาลัยตุ้มนั้น จำนวนดอกหรือกลีบไม่แน่นอนย่อมขึ้นอยูก่ ับขนาดของดอกหรือกลีบ
ด้วยว่า มีขนาดเล็กหรือใหญ่ ถ้าดอกใหญ่หรือกลีบใหญ่ก็ขึ้นจำนวนกลีบน้อยแล้วค่อย ๆ เพิ่มขึ้นตาม
ความเหมาะสมในช้ันต่อ ๆ ไป เชน่ ถ้าดอกพุดตมู ดอกมะลิตูม (ขนาดเลก็ ) หรอื กลบี กหุ ลาบ จะ
ขึน้ ตน้ ประมาณ 5 ดอก หรือ 5 กลบี แตถ่ า้ เปน็ ดอกบานไมร่ โู้ รยจะขนึ้ ต้นเพียง 1 ดอกเทา่ น้นั

22

แผนผังมาลยั ตุ้มแบบไม่มีลาย จำนวนกลบี
มาลยั ตุ้มขนาด 9 5
ชัน้ แถวหรอื ชนั้ ท่ี 6
9 00000 7
8
8 00 0000 8
7 00 0 0 0 0 0 8
6 00 0 0 0 0 00 7
5 00 0 0 0 0 0 0 6
4 00 0 0 0 0 0 0 5
3 000 0000
2 00 0000
1 0 0000
กลบี ที่ 1 2 3 4 5

0 = กลีบกุหลาบ
วธิ ที ำ ชนั้ ท่ี 1 กหุ ลาบ 5 ร้อยโดยรอบเข็ม จัดวางระยะหา่ งระหว่างแต่ละกลบี ให้เทา่ กัน
ชั้นที่ 2 กุหลาบ 6 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกุหลาบกลีบสุดท้ายกับกลีบที่ 1 ของชั้นที่ 1

กลีบตอ่ ๆ ไปก็รอ้ ยใหส้ บั หว่างกนั ไปเร่อื ย )
ชัน้ ที่ 3 กหุ ลาบ 7 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกุหลาบกลบี สดุ ทา้ ยกบั กลบี ที่ 1 ของชั้นท่ี 2 )
ชั้นที่ 4 กุหลาบ 8 ( กลบี แรกอยู่ระหวา่ งกุหลาบกลีบสุดท้ายกับกลีบที่ 1 ของช้นั ที่ 3 )
ชั้นท่ี 5 กุหลาบ 8 ( กลบี แรกอย่รู ะหวา่ งกหุ ลาบกลบี สดุ ทา้ ยกบั กลีบท่ี 1 ของชั้นที่ 4 )
ชนั้ ที่ 6 กุหลาบ 8 ( กลบี แรกอยู่ระหวา่ งกุหลาบกลีบที่ 1 กบั 2 ของชั้นท่ี 5 )
ชั้นที่ 7 กหุ ลาบ 7 ( กลบี แรกอยรู่ ะหวา่ งกหุ ลาบกลีบที่ 1 กับ 2 ของช้ันท่ี 6 )
ช้ันที่ 8 กุหลาบ 6 ( กลบี แรกอยู่ระหวา่ งกุหลาบกลบี ที่ 1 กบั 2 ของชน้ั ท่ี 7 )
ชน้ั ท่ี 9 กุหลาบ 5 ( กลบี แรกอยรู่ ะหว่างกุหลาบกลบี ท่ี 1 กับ 2 ของช้ันท่ี 8 )

หมายเหตุ การร้อยกลีบในแต่ละชั้น ให้สับหว่างกันทุกชั้น ชั้นที่ 4 , 5 และ 6 เป็นชั้นที่
อยู่ในช่วงที่กว้างสุดของมาลัยแบบนี้ เมื่อร้อยออกมาแล้วจะได้มาลัยตุ้มที่มีลักษณะรูปทรงที่สวยงาม
เพราะมีชว่ งตรงกลางป่องมนกลมกลืนกนั

แผนผังมาลัยตุ้มแบบมีลาย
มาลัยตมุ้ ลายขนมเปยี กปนู สอดไสแ้ บบที่ 1

23

แถวหรือชั้นที่ 00000 จำนวนกลีบ
13 00 000 0 5
12 00 0 0 0 0 0 6
11 00 0 x 0 0 0 7
10 000 x x 0 0 0 7
9 000x @x 0 0 0 8
8 0 0x @ @ x 0 0 0 8
7 0 0 0x @ x 0 0 0 9
6 00 0 x x 0 0 0 9
5 000 x 0 0 0 8
4 00 0 0 0 0 0 7
3 00 0 0 0 0 7
2 6
1 0 00 00 5
123 45
กลบี ท่ี

0 = กลบี กหุ ลาบ
x = ใบกระบอื หรือใบแกว้ หรอื ใบมิอื่น ๆ
@ = ดอกหญา้ ผักคราด (ผักเผด็ ) หรือดอกเบญจมาศน้ำ หรือกลีบบานบุรี

วธิ ีทำ ชน้ั ท่ี 1 กุหลาบ 5 ร้อยโดยรอบเข็ม จดั วางระยะห่างระหวา่ งแตล่ ะกลบี ใหเ้ ท่ากนั
ชั้นที่ 2 กุหลาบ 6 ( กลบี แรกอย่รู ะหวา่ งกหุ ลาบกลีบสุดทา้ ยกบั กลีบที่ 1 ของชนั้ ท่ี

1 สว่ นกลบี อน่ื ๆ ก็สับหวา่ งไปเรือ่ ย ๆ )
ช้นั ที่ 3 กุหลาบ 7 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกลบี สุดทา้ ยกบั กลีบที่ 1 ของช้นั ท่ี 2
ชัน้ ท่ี 4 กุหลาบ 3 ( กลบี แรกอยู่ระหวา่ งกลบี สุดท้ายกับกลีบท่ี 1 ของชัน้ ท่ี 3 )ใบ

1 กุหลาบ 3
ชั้นที่ 5 กุหลาบ 3 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกลีบสุดท้ายกับกลีบที่ 1 ของชั้นที่ 4 )

ใบ 2 กหุ ลาบ 3
ชั้นที่ 6 กุหลาบ 3 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกลีบสุดท้ายกับกลีบที่ 1 ของชั้นที่ 5 )

ใบ 1 ดอกหญา้ 1 กหุ ลาบ 3

24

ชั้นท่ี 7 กุหลาบ 2 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกุหลาบกลีบที่ 1 กับ 2 ของชั้นที่ 6 )
ใบ 1 ดอกหญา้ 2 ใบ 1 กหุ ลาบ 3

ชัน้ ท่ี 8 กุหลาบ 3 ( กลีบแรกอย่รู ะหว่างกุหลาบกลีบสุดท้ายกับกลีบท่ี 1 ของช้ัน
ท่ี 7 ) ใบ 1 ดอก หญา้ 1 ใบ 1 กหุ ลาบ 3

ชั้นที่ 9 กุหลาบ 3 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกลีบที่ 1 กับ 2 ของชั้นที่ 8 ) ใบ 2
กหุ ลาบ 3

ชั้นที่ 10 กุหลาบ 3 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกลีบที่ 1 กับ 2 ของชั้นที่ 9 ) ใบ 1
กุหลาบ 3

ชัน้ ที่ 11 กุหลาบ 7 ( กลบี แรกอย่รู ะหวา่ งกหุ ลาบกลีบที่ 1 กับ 2 ของชน้ั ที่ 10 )
ชั้นท่ี 12 กุหลาบ 6 ( กลีบแรกอยู่ระหวา่ งกุหลาบกลบี ที่ 1 กบั 2 ของช้นั ที่ 11 )
ช้ันที่ 13 กุหลาบ 5 ( กลีบแรกอย่รู ะหว่างกหุ ลาบกลีบท่ี 1 กับ 2 ของชัน้ ที่ 12 )

หมายเหตุ การรอ้ ยกลบี ดอกไม้หรือดอกไม้ส่วนท่ีเป็นลายนัน้ จะต้องส่งกลีบหรือส่งก้านให้ปลาย
กลบี หรือปลายดอกเสมอกบั ปลายกลบี กหุ ลาบทรี่ ้อยเปน็ พืน้ อยใู่ นชั้นนน้ั ๆ ด้วย

3.5 มาลยั กลม
มาลัยกลม หมายถึง มาลัยท่รี ้อยให้มลี ักษณะรปู ทรงตามขวางเป็นวงกลม และรูปทรงตามยาว

ตรง และขนานกันไปตลอดเข็ม นิยมร้อยตั้งแต่ขนาด 6 กลีบขึ้นไป จนถึง 12 กลีบ หรือ
มากกว่านี้ก็ได้ ย่อมแล้วแต่ชนิดของดอกไม้ ถ้าดอกเล็กหรือกลีบเล็กก็จะใช้จำนวนกลีบมาก แต่ถ้า
ดอกไมด้ อกใหญ่หรือกลบี ใหญก่ ็ใชจ้ ำนวนกลบี น้อย

มาลยั กลมแบง่ ออกเปน็ 2 แบบใหญ่ ๆ ด้วยกัน คอื
1.มาลัยกลมแบบไม่มลี าย หรือเรียกอีกอยา่ งหนึ่งว่า มาลยั เกล้ยี ง หรอื ตอน หมายถึง มาลัยกลม
ที่ร้อยด้วยกลีบดอกไม้ หรือดอกไม้ หรือใบไม้ล้วน ๆ ไม่มีลวดลายใด ๆ และเป็นสีเดียวกันตลอด เช่น
มาลัยกลีบกุหลาบ มาลัยกลมดอกพุด มาลัยกลมดอกมะลิ มาลัยกลมกลีบดอกรัก มาลัยกลมดอก
บานไมร่ ้โู รย ฯลฯ
2. มาลัยกลมแบบมีลาย หรือบางคนเรียกว่า มาลัยกลมยกดอก หมายถึง มาลัยกลมที่ร้อยใส่
ลวดลายต่าง ๆ ลงไป ลายที่นิยมใช้สำหรับร้อยใส่มาลัยกลม ได้แก่ ลายประเภทลายเกลียว ลายคดกริช
ลายตาประชุม และลายประกอบ มาลัยแบบนี้มักนิยมร้อยด้วยดอกพุดหรือกลีบกุหลาบ เป็นพื้นและ
ลวดลายที่ร้อยใส่ลงไปนั้นมักจะใช้ดอกไม้ กลีบดอกไม้ หรือใบไม้ที่มีสีสด ๆ หรือสีที่ติดกันหรือสีที่มอง
แล้วเด่นเพอื่ ที่จะได้เหน็ ลวดลายชดั เจนสวยงาม

25

ภาพที่ 4 พวงมาลยั กลม

วิธีการรอ้ ยมาลัยกลม มหี ลกั ท่ีสำคญั ดังนี้
1.คัดเลอื กดอกหรอื กลีบดอกให้ขนาดเท่า ๆ กัน
2.การส่งกลีบหรือก้านดอก จะต้องให้ยาวเท่า ๆ กันทุกกลีบ หรือทุกดอกทั้งในแถวเดียวกันและ
ระหว่างแถวด้วย เพื่อให้มาลัยทีร่ ้อยเสร็จแล้วนัน้ มสี ัดส่วน และรูปทรงสวยงาม ดังนั้นในการร้อยดอกไม้
แต่ละดอกหรอื แตล่ ะกลีบ ควรจะตอ้ งวัดก้านกา้ นก่อนแทงใสเ่ ข็ม
3.รอ้ ยแถวแรก หรอื ชัน้ แรกให้เปน็ วงกลม จดั ระยะหา่ งแต่ละกลบี ให้เท่ากนั โดยเร่มิ ร้อยกลบี แรก
เรียงจากซา้ ยวนไปทางขวา (ตามเขม็ นาฬิกา) จนครบจำนวนกลีบตามตอ้ งการ
4.ร้อยแถวที่ 2 โดยวางกลีบให้สับหว่างกับกลีบในแถวแรกทุกกลีบจนครบ จำนวนกลีบเท่ากับ
แถวท่ี 1 และแถวตอ่ ๆ ไปก็ทำเช่นเดยี วกนั ข้อควรระวัง คอื ทุก ๆ แถวจะตอ้ งมจี ำนวนกลบี เท่ากันและ
สบั หวา่ งกนั ทุกแถวดว้ ย ถา้ แถวใดจำนวนกลีบลดนอ้ ยลงหรอื เพม่ิ ขนึ้ แสดงวา่ จะต้องร้อยสับหว่างผิด
5.มาลัยกลมแบบไม่มีลาย ร้อยเรียงวนโดยรอบเข็ม ควรจัดระยะห่างแต่ละกลีบให้เท่ากัน
เมอ่ื ร้อยครบจำนวนกลีบในแถวท่ี 1 ตามตอ้ งการ แลว้ กเ็ ร่ิมร้อยแถวที่ 2 โดยกลีบแรกของแถวที่ 2 นี้
จะต้องอยูร่ ะหวา่ งกลีบสุดท้าย และกลบี ที่ 1 ของแถวที่ 1และกลบี ตอ่ ๆ ไป ก็รอ้ ยใหส้ บั หว่างเช่นกันทุก
แถว และจำนวนกลบี ของแตล่ ะแถวก็ตอ้ งเท่ากันด้วย
6.มาลัยกลมแบบมีลาย ถ้าลายด้านเดียวจะขึ้นต้นจำนวนกี่กลีบก็ได้ แต่ถ้าเป็นมาลัยกลม
แบบมีลายสองดา้ น จะต้องขน้ึ จำนวนกลบี คเู่ สมอ นิยมขึ้น 8 หรอื 10 กลบี หรอื มากกว่า
นัน้ (ถ้าเปน็ มาลยั ทม่ี ีขนาดใหญ่) วิธีการรอ้ ยกเ็ รียงวนโดยรอบเข็มเช่นกนั พอถงึ ลวดลายก็ร้อยกลีบท่ีมี
สีต่างไปจากสีกลีบที่ร้อยเป็นพื้นอยู่เดิมแล้วนั่นเอง จะร้อยลายอะไรนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการหรือ
เหน็ ว่าสวยงามเหมาะสมเป็นสำคญั

26

แผนผงั มาลยั กลมแบบไมม่ ีลาย

มาลัยกลม 6 กลบี

แถวที่ 11 000000

แถวท่ี 10 000000

แถวที่ 9 000000

แถวท่ี 8 000000

แถวท่ี 7 000000

แถวท่ี 6 000000

แถวท่ี 5 000000

แถวท่ี 4 000000

แถวที่ 3 000000

แถวที่ 2 000000

แถวที่ 1 000000

กลีบที่ 1 2 3 4 5 6

0 = ดอกไม้ หรือกลีบดอกไม้ หรือใบไมท้ ่ีใช้รอ้ ยมาลัย

วิธีทำ แถวท่ี 1 ดอก 6 โดยรอบเข็มจดั ระยะห่างแตล่ ะดอกใหเ้ ท่ากัน
แถวที่ 2 ดอก 6 ( ดอกแรกอยู่ระหว่างดอกสุดท้ายกับดอกที่ 1 ของแถวที่ 1 ดอกต่อ

ๆ ไปก็สับหว่าง กับดอกในแถวที่ 1 ทุกดอกจนครบจำนวน 6 ดอกถ้าขาดหรือเกินกว่านี้แสดงว่าร้อยสับ
หวา่ งผดิ )

หมายเหตุ มาลยั กลมแบบไมม่ ลี าย สามารถรอ้ ยได้ไม่ยากนกั โดยรอ้ ยจำนวนกลีบเทา่ กนั ทกุ แถว
ส่งกลีบหรือส่งก้านให้เท่ากันทุกกลีบ กลีบแต่ละแถวร้อยให้สับหว่างกันทุกแถวร้อยไปจนกระทั่งได้
ความยาวตามต้องการ

3.6 มาลยั กลบี ดอกรกั
กลบี ดอกรักทผี่ ่าออกเป็นกลีบ ๆ หนึ่งดอกจะได้ 5 กลบี นิยมนำมารอ้ ยมาลัยกลม ขอ้ สำคัญ

ควรจะต้องเลือกดอกรกั ดอกใหญ่ ๆ เพ่ือจะได้กลีบดอกที่ใหญ่ยาวและมีสีขาว ต้องตัดแกนในดอก
รกั ออก
ควรระวังอย่าให้กลีบดอกรักฉีกขาดหรือช้ำและแกนในหรือแกนกลางดอกรักนี้ เก็บไว้ร้อยมาลัยซีก
ตอ่ ไป เมอ่ื ตดั กลีบดอกรกั ออกมาจะได้ดังรูป

27

วิธีการร้อย

ภาพที่ 5 พวงมาลยั กลบี ดอกรกั

การร้อยมาลัยกลีบดอกรักนี้ จะค่อนข้างยาก เพราะว่า กลีบมีขนาดเล็ก และมีความลื่นจับ
ยากหน่อย แตก่ ็ตอ้ งใชค้ วามพยายามและความอดทนของผ้รู ้อยอย่างยง่ิ จึงจะประสบผลสำเร็จด้วยดี มี
วธิ กี ารดงั นี้

1. จับกลีบดอกรกั เอาดา้ นท่มี ีสว่ นโค้งเขา้ หาตัวผ้รู ้อย แลว้ ร้อยแทงเขม็ ตรงสว่ นกระพุ้งท่ีใหญ่ท่ีสุด
โดยรอ้ ยรอบเขม็ จำนวน 6 กลีบ เว้นระยะหา่ งโดยรอบทกุ กลบี ใหเ้ ท่ากัน

2. รอ้ ยแถวท่ี 2 วางกลีบใหส้ ับหวา่ งกบั แถวท่ี 1 สง่ กลบี ใหป้ ลายเทา่ กันทุกกลีบและทกุ แถวด้วย
3.ต้องรอ้ ยใหห้ ัวไปทางเดียวกนั ทุกกลีบ
หมายเหตุ มาลยั กลบี ดอกรักนิยมนำมาแตง่ ตัวเป็นมาลัยลกู โซ่ สำหรับทำเปน็ มาลัยคล้องคอ
มาลยั สำหรบั ถือ และมาลัยชำร่วย ซึ่งถา้ จะร้อยเปน็ มาลยั ชำรว่ ยควรข้นึ 5 กลีบ

3.7 มาลัยดอกมะลิ
ดอกมะลิเป็นดอกไม้ที่มีกลิ่นหอม นิยมนำมาร้อยมาลัยเช่นเดียวกัน โดยมากมักจะนิยมร้อย

เป็นมาลัยกลม มาลัยซีก และมาลัยตุ้ม ข้อสำคัญจะต้องเลือกดอกที่ตูมและมีรูปทรงเดียวกัน
ขนาดเทา่ กนั จึงจะรอ้ ยออกมาได้เรยี บและสวยงาม ดอกมะลเิ ป็นดอกไม้ที่ร้อยง่าย เหมาะสำหรับ
ผู้ที่จะเริ่มฝึกหัด ได้เป็นอย่างดี แต่ในบางท้องถิ่นราคาค่อนข้างแพง เวลาจะร้อยต้องเด็ดกลีบเลี้ยง
หรอื ขว้ั ออกกอ่ น

28

ภาพท่ี 6 พวงมาลยั ดอกมะลิ

วิธีการร้อย มีหลักทวั่ ไปดังน้ี
1. ร้อยดอกแรกจากซ้ายเรียงไปจนครบรอบจำนวน 6 ดอก จะได้รูปทรงที่สวยงามที่สุด ซึ่งไม่
แน่นและไม่หลวมเกินไป
2. ร้อยแถวที่ 2 ให้ร้อยดอกสับหว่างกับแถวแรกโดยรอบจำนวน 6 ดอก เช่นกัน ร้อยเช่นนี้
สลบั กันจนกระทัง่ มคี วามยาวตามตอ้ งการ
3.8 มาลยั ดอกบานไมร่ โู้ รย
ดอกบานไม่รู้โรย เป็นดอกไม้ที่มีขนาดดอกใหญ่ มีความทนทานไม่เหี่ยวง่ายสามารถนำมา
ร้อยมาลัยกลมได้เช่นกัน แต่นิยมร้อยเป็นมาลัยคล้องมือ หรือมาลัยสำหรับแขวนห้อยโยงตกแต่ง
สถานทต่ี า่ ง ๆ อาจรอ้ ยเปน็ มาลัยกลมธรรมดาไมม่ ีลายก็ได้ หรอื จะรอ้ ยแบบมลี ายกไ็ ด้ แตต่ อ้ งเป็นลาย
ที่ไมซ่ บั ซอ้ นนัก เพราะว่าดอกบานไม่ร้โู รยก็ต้องใชด้ อกบานไมร่ โู้ รยเปน็ ลาย แต่ใชส้ ีทตี่ ่างกับดอกท่ีร้อย
เป็นพื้น ดังนั้นจะร้อยลวดลายมากและซับซ้อนไม่ได้ ส่วนใหญ่ถ้าร้อยลายก็มักจะใช้ลายเกลียว หรือ
ลายขนมเปยี กปนู เทา่ น้นั

29

ภาพท่ี 7 พวงมาลยั ดอกบานไมร่ ู้โรย

วธิ กี ารรอ้ ย มหี ลกั ทวั่ ไปดังนี้
1. เลือกดอกขนาดกลางให้เท่า ๆ กันทุกดอกไม่ตัดก้านส้ันต้องเกบ็ ก้านไวส้ ำหรับร้อยด้วย ตัดใบ
ออก
2.ร้อยวนโดยรอบเข็ม แต่ละดอกวางให้ชิดกันพอดีประมาณ 6 ดอก แถวต่อไปก็ร้อยจำนวน
ดอกเท่ากนั และวางดอกใหส้ ับหวา่ งกนั รอ้ ยเชน่ นีต้ ลอดไปจนกระท่งั ไดค้ วามยาวตามต้องการ
หมายเหตุ การร้อยมาลัยกลมดอกบานไม่รู้โรยนี้ ควรจะต้องร้อยให้กลมและแน่นจริง ๆ จึงจะ
สวยงาม
3.9 มาลัยดอกพุด
ดอกพุด เป็นดอกไม้ที่มสี ีขาวบริสุทธิ์ มองดูแล้วขาวสะอาดตา นอกจากนิยมร้อยเป็นมาลัยซีก
แล้ว ยังสามารถนำมาร้อยเป็นมาลัยกลมได้เช่นกัน ดอกพุดตูมมีขนาดดอกที่เล็ก ดังนั้นถ้าร้อยมาลัย
กลมจึงต้องใช้จำนวนดอกมากกว่าดอกไมห้ รือกลีบดอกไม้ชนิดอื่น ๆ โดยรอบเข็มมักจะใช้ประมาณ 12
– 13 ดอก ยอ่ มขนึ้ อยกู่ ับขนาดของดอกว่าเล็กหรือใหญ่ ในแต่ละแถวน้ันก็ต้องใชจ้ ำนวนดอกเท่ากัน
ในการร้อยมาลัยกลมน้ีควรใช้ดอกขนาดกลาง
การร้อยมาลยั ดอกพุดลว้ น ๆ น้คี ่อนข้างยากเชน่ กัน เพราะเปน็ งานที่ตอ้ งการความละเอียดและ
อดทนพอสมควร เพือ่ ทจ่ี ะให้ได้มาลยั ทสี่ วยเรยี บเสมอกัน

30

ภาพท่ี 8 พวงมาลยั ดอกพุด

วิธกี ารรอ้ ย มีหลักทั่วไปดังนี้

1. คัดเลือกดอกที่มีขนาดเท่า ๆ กัน โรยด้วยแป้งมันเล็กน้อยโดยทั่วเพื่อซับยางจะได้สะดวกใน

การรอ้ ย และยงั ชว่ ยให้ดอกพดุ ไม่เหลอื งเร็วอกี ดว้ ย

2. ร้อยดอกแรกจากซ้ายเรียงไปตามเข็มนาฬิกาจนครบหนึ่งรอบ เรียกว่า 1 แถว (ประมาณ 12–

13 ดอก)

3. ร้อยแถวที่ 2 จำนวนดอกเท่ากับแถวที่ 1 โดยร้อยแต่ละดอกให้สับหว่างกับดอกในแถวที่ 1

ดว้ ย

4. ร้อยแตล่ ะแถวให้ดอกสบั หวา่ งกนั ทุก ๆ แถว จนกระท่งั ไดค้ วามยาวตามต้องการ

แผนผังมาลัยกลมแบบมีลาย

1.ลายเกลียว

1.1ลายเกลียวเดีย่ ว (ขน้ึ 8 กลีบ)

แถวท่ี 6 000000XX

แถวที่ 5 000000XX

แถวที่ 4 000000XX

แถวที่ 3 000000XX

แถวท่ี 2 000000XX

แถวท่ี 1 000000XX

กลีบท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8

0 = กลบี กหุ ลาบ

X = ใบไม้


Click to View FlipBook Version