31
วิธีทำ แถวที่ 1 กหุ ลาบ 6 ใบ 2 โดยรอบร้อยเว้นระยะหา่ งแต่ละกลบี ใหเ้ ท่ากัน
แถวท่ี 2 กุหลาบ 6 ( กลีบแรกอยู่ระหว่างกลีบท่ี 1 กบั 2 ของแถวท่ี 1 ) ใบ 2
แถวที่ 3 - 14 กุหลาบ 6 ใบ 2 ร้อยเช่นเดียวกับแถวที่ 2 โดยแต่ละแถวให้กลีบสับ
หวา่ งกันทุกแถว เสมอ จะรอ้ ยกแ่ี ถวก็ได้ ให้ไดค้ วามยาวตามต้องการท่จี ะใช้เปน็ สำคัญ
หมายเหตุ กลีบท่ี 7 – 8 ของแต่ละแถว คือ ลายเกลียวทีจ่ ะเคลื่อนเวยี นไปรอบเข็มเพียงเกลียว
เดียวโดด ๆ แต่ลายเกลียวคู่จะเห็นลายเกลียวสองลายเคลื่อนขนานกันเป็นคู่ไป ถ้าร้อยกลีบแรกของ
แถวที่ 2 อยู่ระหว่างกลีบสุดท้ายกับกลีบที่ 1 ของแถวแรก แถวอื่น ๆ ก็เช่นกัน จะได้ลายเกลียวท่ี
หมุนเคลื่อนที่ด้านตรงข้าม คือ ลายจะเคลื่อนจากด้านขวามือออกไปด้านนอกตัวแล้วเวียนกลับเข้า
มาทางด้านซ้ายมือ
แผนผังมาลยั กลมแบบมีลาย
1.ลายเกลียว
1.2ลายเกลยี วคู่ ( ขึน้ 8 กลีบ )
แถวท่ี 14 00XX00XX
แถวที่ 13 00XX00XX
แถวที่ 12 00XX00XX
แถวที่ 11 00XX00XX
แถวที่ 10 00X X00XX
แถวที่ 9 00XX00XX
แถวที่ 8 00XX00XX
แถวท่ี 7 00XX00XX
แถวท่ี 6 00XX00XX
แถวท่ี 5 00XX00XX
แถวที่ 4 00XX00XX
แถวท่ี 3 00XX00XX
แถวท่ี 2 00XX00XX
แถวท่ี 1 00XX00XX
กลบี ท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8
0 = กลีบกหุ ลาบ
X = ใบไม้
32
วธิ ที ำ แถวที่ 1 กุหลาบ 2 ใบ 2 กหุ ลาบ 2 ใบ 2 โดยรอบเข็มจัดวางระยะห่างแต่ละกลบี ให้เทา่ กัน
แถวที่ 2 กหุ ลาบ 2 (กลีบแรกอยู่ระหวา่ งกลีบท่ี 1 กับ 2 ของแถวท่ี 1) ใบ2 กหุ ลาบ 2 ใบ 2
แถวที่ 3-14 ร้อยเช่นเดียวกับแถวที่ 2 โดยแตล่ ะแถวใหก้ ลีบสับหว่างกันทุกแถว
หมายเหตุ กลีบที่ 3 – 4 ของแต่ละแถว คือ ลายเกลียวที่ 1 และกลีบที่ 7 – 8 ของแต่ละ
แถว คือลายเกลียวที่ 2 เมื่อร้อยเสร็จแล้วจะเห็นว่าเกลียวทั้งสองนี้จะเคลื่อนขนานเวียนขึ้นไปรอบ
เข็ม ถ้าร้อยกลีบแรกของแถวที่ 2 อยู่ระหว่างกลีบสุดท้ายกับกลีบที่ 1 ของแถวแรก แถวอื่น ๆ ก็
เชน่ กัน จะไดล้ ายเกลยี วที่หมุนเคลอื่ นท่ีด้านตรงข้าม คือ ลายจะเคลอื่ นจากด้านขวามือออกไปด้าน
นอกตวั แล้วเวียนกลบั เขา้ มาทางดา้ นซา้ ยมือ
บทที่ 4.
การเกบ็ รกั ษา
3.1 การเกบ็ รกั ษาดอกไม้
การเก็บดอกไม้จากต้น ควรเก็บตอนเช้าตรู่ก่อนพระอาทิตย์ขึ้น หรือตอนพลบค่ำ การตัด
ใบตองควรตดั ทงิ้ ไว้ลว่ งหน้าก่อนใช้เพ่ือให้ใบตองนม่ิ โดยผ่ึงไว้ในทร่ี ่ม
ดอกพุดตมู ใหล้ ้างด้วยนำ้ แกวง่ สารสม้ ใส่ตะแกรงเกลีย่ ไวใ้ นทรี่ ่ม
ดอกกุหลาบ ตัดก้านกุหลาบเฉียง ๆ ในน้ำเพื่อช่วยใหก้ ้านดูดน้ำได้มากขึน้ ควรใช้กรรไกร
คม ๆ ตัดแล้วห่อก้านด้วยใบตองแช่นำ้ ที่สะอาด ๆ ไว้วางในที่อากาศโปร่งเย็น ไม่มีลมโกรก คอยพรม
น้ำอยเู่ สมอ
ดอกรัก อย่าพรมนำ้ ใส่ตะแกรงคลุมดว้ ยผ้าขาวบางทีพ่ รมน้ำพอช้ืน
ดอกพทุ ธชาดและดอกเขี้ยวกระแต ห่อรวมกันแน่น ๆ ใส่กระทงไว้ไมต่ ้องพรมนำ้ วางไว้ใน
ทเ่ี ย็น
ดอกบานไม่รู้โรย ไม่ต้องแก้มัดออก ตัดก้านให้เท่ากันแล้วแช่ก้านไว้ในน้ำ พรมน้ำที่ดอก
ใชผ้ า้ ขาวบางพรมน้ำให้ชุ่มปิดไว้
ดอกจำปีดอกจำปา เดด็ เกสรข้างในออก ดอกจะไมบ่ าน ใส่กระทงหรอื ถา้ ต้องการรักษา
รปู ทรงใหเ้ รียงดอกหอ่ ดว้ ยใบตองแน่นแลว้ พรมนำ้ หรือใชผ้ า้ ขาวบางพรมนำ้ คลุมไว้
ดอกกล้วยไม้ ไม่ควรพรมน้ำที่ดอก เพราะจะทำให้ดอกเปลี่ยนสี เช่น ดอกแวนด้าสีม่วง
จะกลายเป็นสีขาว
3.2 การเก็บรกั ษาใบไม้
ใบไม้ในการใช้ตกแต่งและร้อยมาลัย ส่วนใหญ่สามารถตัดสดๆจากต้นได้เลย แต่เม่ือตัดมาแล้ว
กม็ วี ธิ กี ารเก็บรกั ษาท่ีแตกตา่ งกนั ไป ดงั น้ี
ใบกระบือ ใบโกสน ใบแก้ว ใบมะยม ใบตองอ่อน เมื่อตัดออกมาแล้ว ให้เก็บรักษาโดยการพรม
นำ้ แล้วหอ่ ด้วยใบตอง แลว้ จึงนำมาแช่ต้เู ย็น ชน้ั ลา่ งสดุ
กาบพลับพลึง ใบก้ามปู ชบาด่าง เมื่อตัดออกมาแล้ว ให้เก็บรักษาโดยการตัดโคนก้าน
เล็กนอ้ ย แล้วนำมาแช่นำ้ หรอื จะพรมนำ้ แลว้ นำไปแชต่ เู้ ย็นกไ็ ด้
3.3 การเกบ็ รกั ษาอปุ กรณ์
วิธเี กบ็ รกั ษาอปุ กรณ์ในการอ้ ยมาลัย
1. เข็มร้อยมาลยั ใช้แลว้ ควรล้างใหส้ ะอาด เชด็ ให้แหง้ ทาดว้ ยนำ้ มนั วาสลิน
ห่อกระดาษไขแกว้ เพ่อื ไม่ให้เข็มเปน็ สนมิ
2. คีม เช็ดให้แห้ง ไมค่ วรใหถ้ กู นำ้ เพราะทำให้เปน็ สนิม
34
3. เครื่องฉดี นำ้ เทนำ้ ออก เช็ดใหแ้ หง้ เพ่ือไม่ให้เปน็ ตะไคร่น้ำ
4. น้ำมนั วาสลนิ ปิดฝาใหส้ นิท เก็บในท่ีแห้ง เพาะจะทำใหไ้ ม่ละลายและใช้ไดน้ าน
3.4 หน้าทก่ี ารใชส้ อยของพวงมาลัย
3.4.1หน้าท่ใี ช้สอยของมาลัยซกี
1. ใชร้ ัดปดิ รอยต่อมิใหเ้ หน็ ปม หรอื ความไมเ่ รียบรอ้ ย
2. ใชค้ ล้องต่อกนั เป็นมาลยั ลกู โซ่
3. ใชท้ ำเป็นมาลัยลกู โซ่
4. ใชท้ ำเปน็ มาลยั เถา
5. ใช้ผูกรัดทำเปน็ ดอกทัดหู
6. ใชผ้ ูกรัดทำเปน็ ดอกไม้สำหรบั ปักแจกนั หรอื จดั ดอกไมแ้ บบต่าง ๆ
7. ใชร้ ัดมวยผม
8. ใช้เป็นส่วนประกอบตกแตง่ งานประดษิ ฐด์ อกไมส้ ดของไทยบางอยา่ ง
3.4.2 หน้าที่ใช้สอยของมาลยั ตุม้
1.ใช้เป็นมาลัยชำร่วยให้แก่แขกที่มาในงาน เช่น งานหลั่งน้ำพระพุทธมนต์ในพิธีมงคล
สมรส หรือในโอกาสตา่ ง ๆ
2.ใช้เป็นส่วนประกอบตกแต่งในงานประดิษฐ์ดอกไม้สดของไทย เช่น งานเครื่องแขวน
ดอกไมส้ ดของไทย
3.รอ้ ยใส่ไม้ไผ่แหลม ๆ ต่อกา้ นแลว้ ปกั แจกนั หรือจัดดอกไมส้ ดในโอกาสต่าง ๆ
4.ใชเ้ ป็นสว่ นประกอบของมาลยั เปีย
5.ใช้เป็นสว่ นประกอบของมาลยั ครุย
6.ใชป้ ระกอบเป็นมาลัยคลอ้ งมือ
3.4.3 หน้าท่ีใช้สอยของมาลยั กลม
1. ใช้ทำเปน็ มาลยั คลอ้ งคอ
2. ใชท้ ำเปน็ มาลยั มอื หรอื มาลยั คลอ้ งแขน
3. ใชท้ ำเปน็ มาลัยแขวนหนา้ รถ แขวนหวั เรือ
4. ใช้เปน็ ส่วนประกอบตกแต่งงานประดษิ ฐ์ดอกไมส้ ดของไทยบางอย่า
บทที่ 5
สรปุ
มาลัย หมายถึง ดอกไม้ประดิษฐ์แบบไทยลักษณะหนึ่ง โดยการนำดอกไม้ กลีบดอกไม้
ใบไม้ และส่วนต่าง ๆ ของดอกไม้ที่ร้อยได้ มาร้อยเป็นพวง มีลักษณะต่าง ๆ กันมากมายหลายแบบ
ตั้งแต่แบบด่ังเดิมจนถึงแบบสมัยใหม่ ซึ่งก็ดัดแปลงมาจากแบบดั่งเดิมนั่นเอง งานดอกไม้พวงมาลัยอย่คู ู่
กับคนไทยมาอย่างช้านาน พวงดอกไม้ประดิษฐ์ ที่นำดอกไม้ ใบไม้ ต่าง ๆ เช่น กลีบดอกกุหลาบมอญ
ดอกพุด ดอกรัก ดอกผกากรอง ใบแก้ว ดอกข่า ดอกมะลิ ดอกมะลุลี ดอกบานไม่รู้โรย ดอกเล็บมือนาง
บานบุรี หงอนไก่ รักเร่ เฟื่องฟ้า มาร้อยเป็นพวงมาลัย โดยมักจะนำมาใช้กราบไหว้พระและสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ
รวมถงึ นำมาทำเปน็ พวงมาลัยดอกไม้สด สำหรับนำไปไหว้ บดิ ามารดา ญาตผิ ้ใู หญ่ ตามเทศกาลต่าง ๆ
ประโยชน์ของพวงมาลัย
พวงมาลัยมปี ระโยชนม์ ากมาย คนไทยมักจะนำดอกไม้และพวงมาลยั มาประดับตกแต่งใน
ประเพณตี ่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการนำไปเปน็ พวงมาลยั บ่าสาว การนำพวงมาลัยไปไหว้ญาติผู้ใหญ่ นำไป
ตกแตง่ ทรงผม ประดับหวั เรือ ประดบั ตกแต่งในบ้านเรือน ใช้ในการบชู าสง่ิ ศักดิ์สิทธิ์
ประเภทของมาลัย
พวงมาลัยมมี ากมายหลายประเภท แต่มักจะแบง่ ได้ 3 ประเภทใหญๆ่ ไดด้ งั นี้
แบง่ ตามหน้าทีใ่ ชส้ อย
มาลยั ชายเดยี ว
มาลยั สองชาย
มาลัยชำรว่ ย
แบง่ ตามลกั ษณะรปู แบบของการร้อย
มาลัยซกี หรือ มาลยั เสี้ยว
มาลยั กลม
มาลัยแบน
มาลยั รี
มาลัยสามเหล่ียม
มาลัยสเ่ี หลีย่ ม
มาลยั ตุม้
มาลัยตัวหนอน
35
มาลัยตัวหนอนคู่
มาลยั สามกษัตริย์
มาลยั พวงดอกไม้
แบง่ ตามลักษณะโครงร่าง
มาลัยตัวสัตว์
มาลยั ลกู โซ่
มาลัยเปีย
มาลยั เถา
มาลัยครยุ
มาลยั ดอกกลว้ ยไม้
วัสดุและอุปกรณใ์ นการร้อยมาลัย
การร้อยมาลัย ต้องใช้องค์ประกอบมากมาย ไม่ว่าจะเป็นดอกไม้สด ใบไม้ ใบตอง รวมไปถึง
อุปกรณ์ในการร้อยมาลัย ไม่ว่าจะเป็น เข็ม ด้าย กะละมัง คีมตัดลวด กรรไกร การเลือกใช้วัสดุและ
อปุ กรณ์ในการร้อยมาลัยจงึ เป็นส่งิ ทสี่ ำคัญมาก การเลอื กดอกไม้ ต้องเป็นดอกไม้ทส่ี ด ไมเ่ ห่ียว เพราะถ้า
หากดอกไม้ไม่สด การที่เรานำมาทำชิ้นงาน อาจทำให้ชิ้นงานของเรามีอายุการใช้งานในระยะส้ัน การ
เลอื กอุปกรณ์ในการร้อยมาลัย ต้องเลอื กอปุ กรณท์ ่ีได้คุณภาพ มีความมนั่ คง แขง็ แรง เพราะหากอุปกรณ์
ไม่มีความม่นั คง แขง็ แรม อาจทำใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่องาน และอาจทำให้เกิดอตั รายตอ่ ชวี ิตเราได้
ข้นั ตอนในการร้อยมาลัย
ก่อนที่จะร้อยมาลัยจะต้องใส่หรือร้อยแป้นใบตองก่อน 1 แป้น อยู่ในระดับเหนือมือที่จับเขม็
มาลัย ใช้วาสลินทาเข็มให้ลื่นแล้วจึงเริ่มร้อยกลีบแรก โดยต้องร้อยจากทางด้านซ้ายสุดแล้วกลีบต่อ ๆ
มา ค่อยหมุนตามเข็มนาฬิกา แต่ละชั้นก็ควรให้สับหว่างกันด้วยขณะร้อย ต้องหมั่นทาวาสลินที่เข็ม
ด้วย โดยเฉพาะดอกไม้ใบไม้ที่มียางมาก ๆ และต้องพรมน้ำบางตามความเหมาะสม เมื่อร้อยจบเข็ม
แลว้ จะตอ้ งใส่หรือรอ้ ยแป้นใบตองปิดทบั อกี 1 แปน้
การรอ้ ยดอกข่า
ดอกข่า คือ ดอกไมท้ ี่ประดิษฐ์จากกลีบดอกไม้ให้มีรปู ร่างลักษณะเป็นตุ้มค่อนข้างยาวปลาย
รีแหลมคล้ายกบั ดอกขา่ จรงิ ใช้สำหรบั ทำดอกตุ้มของอุบะ
ดอกไม้ที่นิยมใช้ทำดอกข่า ได้แก่ กุหลาบ พุด มะลิ ดอกไม้อื่นบางชนิด ก็สามารถ
นำมาทำดอกข่าได้ แต่ว่ายังไม่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย เนื่องจากว่าใช้เวลาในการประดิษฐ์มาก
หรอื ทำแล้วไม่คงทนต่อการใช้เทา่ ที่ควร
36
มาลัยซีกหรือเสี้ยว หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเพียงครึ่งวงกลมหรือ
น้อยกว่า ซึ่งมีหลายขนาดด้วยกัน เช่น มาลัยซีกสามหลัก มาลัยซีกห้าหลัก มาลัยซีกเจ็ดหลัก และ
มาลยั ซกี เก้าหลัก
มาลยั ซีกขนาดเล็กทีส่ ุด หรอื เรียกมาลัยเสีย้ ว หรืออาจเรยี กว่า มาลยั 2 – 1 ก็ได้ คอื มาลัยซีก
สามหลกั
มาลัยซกี ที่มขี นาดใหญท่ ่สี ุด คือ มาลยั ซกี สบิ เอ็ดหลกั หรืออาจเรยี กว่า มาลยั 6 – 5 ก็ได้
การเรยี กชอ่ื มาลัยแต่ละชนดิ นั้น จะเรยี กตามลักษณะแนวตามยาวเป็นหลัก เช่น มาลัยซีกสาม
หลกั มาลัยซกี หา้ หลัก มาลัยซกี เจ็ดหลัก มาลัยซีกเกา้ หลัก แต่บางคนจะเรียกส้นั ๆ วา่ ซกี 3 , ซีก
5 , ซีก 7 ซกี 9 และบางคร้งั กเ็ รียกตามลักษณะของการร้อยเชน่ 2 – 1 ( สองหนงึ่ ) มาลัย 3 – 2
, มาลัย 4 – 3 และมาลัย 5 – 4
มาลัยตุ้ม หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นรูปกลม โดยเริ่มต้นจะเป็นวงกลม
ขนาดเล็กแล้วค่อย ๆ ใหญ่ขึ้น หรือกว้างขึ้นทีละน้อยมาถึงประมาณช่วงกลางแล้วค่อย ๆ ลดลงทีละ
น้อย ให้มีขนาดเท่ากับตอนแรก ๆ จนกระทั่งเหมือนตอนขึ้นต้น ส่วนลักษณะรูปทรงตามยาวนั้น
คลา้ ย
ดอกบวั ตมู ช่วงหัวท้ายเรยี ว ตรงกลางปอ่ งโคง้ มน มาลยั ตุ้มขนาดเลก็ สดุ นยิ มรอ้ ย 9 ชนั้
และขนดใหญ่ทสี่ ดุ 15 ชั้น การร้อยมาลัยตมุ้ จำนวนชั้นจะต้องเป็นเลขค่ีเสมอ เช่น 9 , 11 , 13 และ
15
มาลัยกลม หมายถึง มาลัยที่ร้อยให้มีลักษณะรูปทรงตามขวางเป็นวงกลม และรูปทรงตามยาวตรง
และขนานกนั ไปตลอดเข็ม นิยมรอ้ ยต้งั แต่ขนาด 6 กลีบข้นึ ไป จนถึง 12 กลีบ หรอื มากกว่าน้ี
ก็ได้ ย่อมแล้วแต่ชนิดของดอกไม้ ถ้าดอกเล็กหรือกลีบเล็กก็จะใช้จำนวนกลีบมาก แต่ถ้าดอกไม้ดอก
ใหญห่ รือกลบี ใหญก่ ใ็ ช้จำนวนกลบี นอ้ ย
มาลยั กลมแบ่งออกเปน็ 2 แบบใหญ่ ๆ ด้วยกนั คือ
1.มาลัยกลมแบบไม่มีลาย หรอื เรยี กอีกอย่างหน่ึงว่า มาลัยเกลย้ี ง หรือ ตอน หมายถึง มาลัยกลม
ที่ร้อยด้วยกลีบดอกไม้ หรือดอกไม้ หรือใบไม้ล้วน ๆ ไม่มีลวดลายใด ๆ และเป็นสีเดียวกันตลอด เช่น
มาลัยกลีบกุหลาบ มาลัยกลมดอกพุด มาลัยกลมดอกมะลิ มาลัยกลมกลีบดอกรัก มาลัยกลมดอก
บานไม่รู้โรย ฯลฯ
2. มาลัยกลมแบบมีลาย หรือบางคนเรียกว่า มาลัยกลมยกดอก หมายถึง มาลัยกลมที่ร้อยใส่
ลวดลายต่าง ๆ ลงไป ลายท่ีนิยมใช้สำหรับร้อยใส่มาลัยกลม ได้แก่ ลายประเภทลายเกลียว ลายคดกริช
ลายตาประชุม และลายประกอบ มาลัยแบบนี้มักนิยมร้อยด้วยดอกพุดหรือกลีบกุหลาบ เป็นพื้นและ
ลวดลายที่ร้อยใส่ลงไปนั้นมักจะใช้ดอกไม้ กลีบดอกไม้ หรือใบไม้ที่มีสีสด ๆ หรือสีที่ติดกันหรือสีที่มอง
แลว้ เด่นเพอ่ื ทจ่ี ะไดเ้ หน็ ลวดลายชดั เจนสวยงาม
37
มาลยั กลบี ดอกรกั
กลีบดอกรกั ทีผ่ ่าออกเป็นกลบี ๆ หนง่ึ ดอกจะได้ 5 กลีบ นิยมนำมารอ้ ยมาลัยกลม ข้อสำคัญ
ควรจะต้องเลือกดอกรักดอกใหญ่ ๆ เพ่ือจะได้กลีบดอกที่ใหญ่ยาวและมีสีขาว ต้องตัดแกนในดอก
รักออก ควรระวงั อยา่ ใหก้ ลบี ดอกรกั ฉีกขาดหรือช้ำและแกนในหรือแกนกลางดอกรักน้ี เกบ็ ไว้ร้อยมาลัย
ซกี ต่อไป เมอ่ื ตัดกลีบดอกรกั ออกมาจะได้ดังรูป
มาลยั ดอกบานไม่รูโ้ รย
ดอกบานไม่รู้โรย เป็นดอกไม้ที่มีขนาดดอกใหญ่ มีความทนทานไม่เหี่ยวง่ายสามารถนำมา
ร้อยมาลัยกลมได้เช่นกัน แต่นิยมร้อยเป็นมาลัยคล้องมือ หรือมาลัยสำหรับแขวนห้อยโยงตกแต่ง
สถานทต่ี า่ ง ๆ อาจรอ้ ยเป็นมาลัยกลมธรรมดาไมม่ ลี ายก็ได้ หรือจะร้อยแบบมีลายกไ็ ด้ แต่ต้องเป็นลาย
ที่ไม่ซบั ซอ้ นนกั เพราะวา่ ดอกบานไมร่ โู้ รยก็ต้องใช้ดอกบานไมร่ ู้โรยเปน็ ลาย แตใ่ ช้สที ต่ี ่างกับดอกที่ร้อย
เป็นพื้น ดังนั้นจะร้อยลวดลายมากและซับซ้อนไม่ได้ ส่วนใหญ่ถ้าร้อยลายก็มักจะใช้ลายเกลียว หรือ
ลายขนมเปยี กปนู เทา่ นั้น
มาลยั ดอกพุด
ดอกพุด เป็นดอกไม้ที่มสี ขี าวบริสุทธิ์ มองดูแล้วขาวสะอาดตา นอกจากนิยมร้อยเป็นมาลัยซกี
แล้ว ยังสามารถนำมาร้อยเป็นมาลัยกลมได้เช่นกัน ดอกพุดตูมมีขนาดดอกที่เล็ก ดังนั้นถ้าร้อยมาลัย
กลมจึงต้องใช้จำนวนดอกมากกว่าดอกไมห้ รือกลีบดอกไม้ชนิดอ่ืน ๆ โดยรอบเข็มมักจะใช้ประมาณ 12
– 13 ดอก ย่อมข้ึนอยกู่ ับขนาดของดอกว่าเล็กหรือใหญ่ ในแต่ละแถวนั้นก็ต้องใช้จำนวนดอกเท่ากัน
ในการร้อยมาลัยกลมน้คี วรใชด้ อกขนาดกลาง
การรอ้ ยมาลัยดอกพุดลว้ น ๆ น้คี ่อนข้างยากเช่นกนั เพราะเปน็ งานทตี่ อ้ งการความละเอียดและ
อดทนพอสมควร เพ่อื ท่ีจะให้ได้มาลัยที่สวยเรยี บเสมอกัน
บรรณานุกรม
“การรอ้ ยมาลัย”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.kr.ac.th/el/01/pornpen/b1.htm.
2564. [สบื คน้ วันที่ 19 ตลุ าคม 2564]
“การรอ้ ยมาลยั ดอกไม้สด”. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://poopesirinapa.blogspot.com/.
[สบื คน้ วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2564]
“การเก็บรกั ษาอุปกรณ์”. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :
http://www.thaigoodview.com/node/74043. [สืบค้นวันที่ 20 สงิ หาคม 2564]
“ชนดิ ของมาลยั ”. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : https://pirun.ku.ac.th/~b5310102841/page4.html.
2564. [สืบค้นวันท่ี 9 สงิ หาคม 2564]
“ทักษะการรอ้ ยมาลัยซีก”. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/krunaweb/
bi-khwam-ru-4-3-kar-fuk-thaksa-kar-rxy-malay-sik. [สืบคน้ วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2564]
“ประวัตมิ าลยั ”. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://lak12102.wordpress.com/ [สืบคน้ วนั ที่ 20
สงิ หาคม 2564]
“มาลัยกลม”. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : http://www.ptcn.ac.th/port_ptcn
/Stu.Port/nittaya/index_files/Page319.htm. 2564. [สบื ค้นวนั ที่ 19 ตุลาคม 2564]
“มาลยั ซีก”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://pattanans.wordpress.com/category/. 2564.
[สืบค้นวันท่ี19 สงิ หาคม 2564]
“มาลัยแบน”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://brandgarland.wordpress.com/the-steeringflat.
2564. [สบื คน้ วันท่ี19 สงิ หาคม 2564]
“พวงมาลยั มาลัย”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/. [สบื ค้นวันที่ 20
สิงหาคม 2564]
สมพร สนิ กว่ั . มาลัยดอกไม้พื้นบา้ น (ฉบบั สุดคุม้ ). พิมครงั้ ท่ี1. สำนกั พมิ พ์ : วาดศิลป์, บจก.
เดือนปที พ่ี มิ พ์ : 5/2017
เสกสรรค์ ชัยเกษมสขุ . แผนการจดั การเรียนการสอนการร้อยมาลยั . โรงเรียนบ้านเชือก. 2550. [สบื คน้
วันท่ี 20 สิงหาคม 2564]