รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 38
ปริมาณการลดจานวนกระดาษท่ีส่งมาให้สานกั งานอธบิ ดีผ้พู พิ ากษาภาค 4 ตรวจ
ประจาปี พ.ศ. 2563 (เดือนกุมภาพันธ์ – เดือนธันวาคม)
ลาดบั ท่ี เดือน จานวน (แผ่น)
1 กุมภาพนั ธ์ 220
2 มนี าคม 2,629
3 เมษายน 3,630
4 พฤษภาคม
5 มิถุนายน 19,526
6 กรกฎาคม 38,298
7 สิงหาคม 36,392
8 กนั ยายน 35,460
9 ตลุ าคม 25,438
10 พฤศจิกายน 19,512
11 ธันวาคม 14,762
รวมทงั้ หมด 11,288
207,155
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 39
ปริมาณสานวนคดีตามฐานความผิดที่สานักงานอธบิ ดผี ู้พพิ ากษาภาค 4 ตรวจเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว
ประจาปี พ.ศ. 2563 (เดือนกุมภาพันธ์ – เดอื นธันวาคม)
ลาดบั ประเภท ฐานความผดิ จานวน (คด)ี
ท่ี คดี
199
1 อาญา พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ,พ.ร.บ.มาตรการฯ,พ.ร.บ.จราจรทางบก
,พ.ร.บ.ขนส่งทาง บก,พ.ร.บ.รถยนต,์ พ.ร.บ.ป้องกนั และ 4
ปราบปรามการฟอกเงนิ 59
-
2 อาญา วินิจฉยั ชีข้ าดอานาจหน้าทรี่ ะหวา่ งศาล -
-
3 อาญา คดไี ต่สวนการชนั สูตรพลิกศพ 6
4 อาญา ป.อ. ลักษณะ 1 ความม่ันคงแหง่ ราชอาณาจกั ร (ม.107 - 135) 2
-
5 อาญา ป.อ. ลกั ษณ 1/1 การกอ่ การร้าย (ม.135/1 - 135/4) -
-
6 อาญา ป.อ. ลักษณะ 5 ความสงบสขุ ของประชาชน (ม.209 - 216) -
-
7 อาญา ป.อ. ลักษณะ 6 การก่อใหเ้ กดิ ภยันอนั ตรายตอ่ ประชาชน -
(ม.217 - 239) -
1
8 อาญา ป.อ. ลกั ษณะ 7 การปลอมและการแปลง (ม.240 - 269/15) 4
9 อาญา ป.อ. ลักษณะ 8 การค้า (ม.270 - 275)
10 อาญา พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการกระทาความผดิ เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์
11 อาญา พ.ร.บ. ความผดิ เก่ียวกบั เช็ค
12 อาญา พ.ร.บ. การชมุ นุมสาธารณะ
13 อาญา พ.ร.บ. สงวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่
14 อาญา ประมวลกฎหมายทด่ี ิน
15 อาญา พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนญู
16 อาญา ป.อ. ลักษณะ 11 เสรีภาพและช่ือเสียง (ม.309 - 333)
17 อาญา พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 40
ลาดับ ประเภท ฐานความผดิ จานวน (คดี)
ท่ี คดี
-
18 อาญา พ.ร.บ.ปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ ประเวณี 1
222
19 อาญา พ.ร.บ.การเลอื กตง้ั สมาชิกสภาท้องถนิ่ และผู้บรหิ ารทอ้ งถิน่ -
6
20 อาญา ป.อ. ลกั ษณะ 10 ชวี ติ และร่างกาย (ม.288 - 308)
-
21 อาญา ป.อ. ลักษณะ 13 ศพ (ม.366/1 - 366/4)
47
22 อาญา พ.ร.บ.ป่าไม,้ พ.ร.บ.ปา่ สงวนแหง่ ชาต,ิ 26
พ.ร.บ.อุทยานแหง่ ชาต,ิ พ.ร.บ.เลอ่ื ยโซย่ นต์ -
-
23 อาญา พ.ร.บ.อาวุธปนื เคร่ืองกระสนุ ปืน วตั ถรุ ะเบิด ดอกไม้เพลงิ -
และส่ิงเทียบอาวธุ ปืน พ.ศ.2490 441
4
24 อาญา ป.อ. ลกั ษณะ 9 เพศ (ม.276 - 287) 17
5
25 อาญา ป.อ. ลกั ษณะ 12 ทรัพย์ (ม.334 - 366) 85
42
26 อาญา ป.อ. ลักษณะ 2 การปกครอง (ม.136-166) 16
8
27 อาญา ป.อ. ลักษณะ 3 การยตุ ธิ รรม (ม.167 - 205) 1,195
28 อาญา ป.อ. ลักษณะ 4 ศาสนา (ม.206 - 208)
29 แพ่ง ป.พ.พ.บรรพ 4 ทรัพยส์ นิ
30 แพ่ง ความผดิ ฐานละเมดิ อานาจศาล
31 แพ่ง ป.พ.พ. บรรพ 6 มรดก
32 แพ่ง ป.พ.พ. บรรพ 5 ครอบครวั
33 แพง่ ป.พ.พ. บรรพ 1 หลกั ทว่ั ไป
34 แพง่ ป.พ.พ. บรรพ 3 เอกเทศสญั ญา
35 แพ่ง ป.พ.พ. บรรพ 2 หนี้
36 แพง่ พ.ร.บ.คุม้ ครองผบู้ รโิ ภค, พ.ร.บ.วธิ ีพิจารณาคดผี บู้ รโิ ภค
รวมทัง้ หมด
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 41
ผลการดาเนนิ งานตามภารกิจ
ของสว่ นวิชาการและงานคดี
ประจาปี พ.ศ. 2563
การตรวจราชการหนว่ ยงานในเขตอานาจอธบิ ดผี พู้ ิพากษาภาค 4
สานักงานอธบิ ดีผูพ้ ิพากษาภาค 4 ได้มีการตรวจราชการหน่วยงานในเขตอานาจอธิบดี
ผ้พู พิ ากษาภาค 4 โดยอธบิ ดีผ้พู ิพากษาภาค 4 ไดเ้ น้นย้าการปฏิบัตงิ านตามนโยบายประธานศาลฎกี าให้
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงได้มีการปรึกษาข้อราชการเก่ียวกับการบริหารงานต่าง ๆ ภายใน
หน่วยงาน และสอบถามถงึ ปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานของแต่ละหนว่ ยงาน ซ่ึงในปี พ.ศ. 2563
ไดม้ กี ารดาเนนิ การตรวจเยย่ี มและปรึกษาหารอื ข้อราชการ จานวน 30 หนว่ ยงาน ได้แก่
ตรวจเยีย่ มและปรึกษาหารอื ข้อราชการ รอบท่ี 1
วนั ทีต่ รวจราชการ หน่วยงาน
23 มิถุนายน 2563
ศาลจังหวดั ขอนแก่น
24 มิถนุ ายน 2563 ศาลแขวงขอนแกน่
25 มถิ ุนายน 2563 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั ขอนแก่น
30 มิถุนายน 2563
1 กรกฎาคม 2563 ศาลจงั หวัดมหาสารคาม
14 กรกฎาคม 2563 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดมหาสารคาม
15 กรกฎาคม 2563
16 กรกฎาคม 2563 ศาลแขวงพยคั ฆภูมิพสิ ัย
ศาลจังหวัดพล
ศาลจังหวดั รอ้ ยเอด็
ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวัดรอ้ ยเอด็
ศาลจังหวดั มกุ ดาหาร
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั มกุ ดาหาร
ศาลแขวงอดุ รธานี
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดอุดรธานี
ศาลจังหวัดอุดรธานี
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดหนองคาย
ศาลจงั หวดั หนองคาย
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 42
ตรวจเย่ยี มและปรกึ ษาหารอื ข้อราชการ รอบที่ 1 (ต่อ)
วนั ท่ตี รวจราชการ หน่วยงาน
21 กรกฎาคม 2563
ศาลจังหวดั ชมุ แพ
22 กรกฎาคม 2563 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดเลย
23 กรกฎาคม 2563
ศาลจังหวดั เลย
29 กรกฎาคม 2563
ศาลจงั หวัดกาฬสินธ์ุ
30 กรกฎาคม 2563 ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
31 กรกฎาคม 2563 ศาลจังหวดั สกลนคร
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวัดสกลนคร
ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั นครพนม
ศาลจงั หวดั นครพนม
ศาลจงั หวดั นครพนม
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 43
ตรวจเย่ยี มและปรึกษาหารอื ขอ้ ราชการ รอบท่ี 2
วนั ท่ตี รวจราชการ หน่วยงาน
17 พฤศจกิ ายน 2563
ศาลจังหวดั ขอนแกน่
24 พฤศจกิ ายน 2563 ศาลแขวงขอนแกน่
25 พฤศจิกายน 2563 ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั ขอนแกน่
1 ธนั วาคม 2563
2 ธนั วาคม 2563 ศาลจงั หวดั พล
ศาลแขวงพยัคฆภูมพิ สิ ัย
3 ธนั วาคม 2563
4 ธนั วาคม 2563 ศาลจังหวดั มหาสารคาม
16 ธันวาคม 2563 ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั มหาสารคาม
17 ธันวาคม 2563
21 ธนั วาคม 2563 ศาลจังหวดั หนองคาย
22 ธนั วาคม 2563 ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั หนองคาย
23 ธันวาคม 2563
ศาลจังหวดั บึงกาฬ
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั บงึ กาฬ
ศาลจงั หวดั สวา่ งแดนดนิ
ศาลจังหวดั สกลนคร
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั สกลนคร
ศาลจงั หวดั นครพนม
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั นครพนม
ศาลจังหวดั มกุ ดาหาร
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั มกุ ดาหาร
ศาลจงั หวดั ร้อยเอด็
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั อดุ รธานี
ศาลจงั หวดั อุดรธานี
ศาลแขวงอดุ รธานี
ศาลจังหวดั กาฬสินธ์ุ
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั กาฬสินธุ์
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 44
การตรวจนิเทศงานในระบบพิจารณาคดคี รบองคค์ ณะและต่อเนอ่ื งของหนว่ ยงาน
ในเขตอานาจอธบิ ดีผพู้ ิพากษาภาค 4
สานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้มีการตรวจนิเทศงานในระบบพิจารณาคดีครบองค์คณะ
และต่อเนื่องของหน่วยงานในเขตอานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 เพ่ือให้คาแนะนาแก้ไขข้อขัดข้องและ
ให้การสนับสนุนการบริหารจัดการคดีในระบบพิจารณาคดีครบองค์คณะและต่อเนื่องได้ตามเกณฑ์
มาตรฐาน ซึ่งในปี พ.ศ. 2563 ได้มีการดาเนินการนิเทศงานในระบบพิจารณาคดีครบองค์คณะและ
ตอ่ เนื่อง จานวน 3 หน่วยงาน ดังนี้
วันท่ตี รวจราชการ หน่วยงาน
13-14 กมุ ภาพนั ธ์ 2563
11 สิงหาคม 2563 ศาลจังหวดั หนองบวั ลาภู
9 กนั ยายน 2563 ศาลจังหวัดรอ้ ยเอด็
ศาลจงั หวดั มหาสารคาม
สถิติคดีการไกล่เกล่ียข้อพิพาท (อาญา) ปร
ลาดบั รายชื่อศาล เข้าสู่ศาล คดเี ขา้ สู่ระบบ คดที ีด่ าเนนิ ก
(คดี) ยกมา ใหม่ รวม จาหน่าย สาเร็จ
1 ศาลแขวงขอนแกน่ 1,368 0 83 83 0 83
07
2 ศาลแขวงพยัคฆภูมพิ ิสยั 36 0 7 7 0 454
3 ศาลแขวงอดุ รธานี 0 44
3,950 1 455 456 0 16
2 23
4 ศาลจังหวัดกาฬสินธ์ุ 3,589 11 60 71 0 10
5 ศาลจังหวัดขอนแก่น 45 5 25 30 0 11
0 20
6 ศาลจังหวัดชุมแพ 280 0 30 30 09
7 ศาลจังหวัดนครพนม 0 0 13 13
00
8 ศาลจงั หวัดบึงกาฬ 68 0 15 15
3 17
9 ศาลจงั หวัดพล 801 0 17 17 0 49
0 44
10 ศาลจังหวัดมหาสารคาม 3,623 8 14 22 17
1 28
11 ศ.มหาสารคามสาขาพยัคฆภูมพิ ิสัย 0 00 0 08
0 72
12 ศาลจังหวัดมุกดาหาร 1,044 9 30 39 33
13 ศาลจังหวัดร้อยเอ็ด 0 9 73 82
14 ศาลจังหวัดเลย 170 2 61 63
15 ศาลจงั หวัดสกลนคร 342 1 13 14
16 ศาลจังหวัดสว่างแดนดิน 104 29 36 65
17 ศาลจงั หวัดหนองคาย 13 0 17 17
18 ศาลจังหวัดหนองบัวลาภู 2,041 51 78 129
19 ศาลจงั หวัดอุดรธานี 912 12 9 21
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 45
ระจาปี พ.ศ.2563 (มกราคม-ธันวาคม) คดที เี่ สร็จไปทัง้ หมด รวมทุน
การไกล่เกล่ีย ทุนทรัพย์คดที ่ี ทรัพย์
ถอน ยอม รวม
ไม่ สาเร็จ/ ไกล่เกลี่ยสาเร็จ คา้ งไป ฟอ้ ง ความ คดที ่ีเสร็จ
สาเร็จ ร้อยละ ไปทั้งหมด
0 100 871,786 141 0 141 141
0 100 0 0 9 12 21 0
1 100 0 2 57 6 63 0
16 62 145,240 11 9 0 9 145,240
2 53 300,000 3 12 4 16 300,000
3 77 1,250,000 0 18 20 38 1,319,000
1 77 0 0 00 0 0
6 73 836,751 0 7 5 12 836,751
0 118 0 0 12 1 13 0
4 41 1,401,600 8 84 0 84 1,610,799
00 0 0 00 0 0
10 44 9 5 51 6 0
24 60 0 9 143 0 143 0
17 70 0 2 50 21 71 0
3 50 0 3 00 0 0
7 43 1,600,000 29 23 1 24 280,000
0 47 0 0 18 0 18 0
21 56 0 42 11 36 47 0
2 14 0 4 11 2 0
ลาดบั รายช่ือศาล เข้าสู่ศาล คดเี ข้าสู่ระบบ คดที ีด่ าเนนิ ก
(คดี) ยกมา ใหม่ รวม จาหน่าย สาเร็จ
20 ศาลเยาวฯกาฬสินธุ์ 1 01 1 01
21 ศาลเยาวฯขอนแกน่ 0 00 0 00
22 ศาลเยาวชนฯนครพนม 0 00 0 00
23 ศาลเยาวชนฯบึงกาฬ 0 01 1 01
24 ศาลเยาวชนมหาสารคาม 0 2 7 9 0 6
25 ศาลเยาวชนฯมกุ ดาหาร 200 0 0 0 0 0
26 ศาลเยาวชนฯร้อยเอด็ 221 0 4 4 0 4
27 ศาลเยาวชนฯเลย 0 02 2 02
28 ศาลเยาวชนฯสกลนคร 0 00 0 00
29 ศาลเยาวชนฯหนองคาย 0 00 0 00
30 ศาลเยาวชนฯหนองบัวฯ 0 00 0 00
31 ศาลเยาวชนฯอุดรธานี 0 00 0 00
รวม 18,808 140 1,051 1,191 10 919
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 46
การไกล่เกล่ีย ทุนทรัพย์คดที ี่ คดีทีเ่ สร็จไปทงั้ หมด รวมทุน
ทรัพย์
ไม่ สาเร็จ/ ไกล่เกลี่ยสาเร็จ คา้ งไป ถอน ยอม รวม
คดีทเ่ี สร็จ
สาเร็จ ร้อยละ ฟ้อง ความ ไปทั้งหมด
0 100 0 0 00 0 0
0 0 0 0 00 0 0
0
0 0 0 0 00 0 0
0
0 100 0 0 10 1 0
0
2 67 0 1 2 121 123 0
0
0 0 0 0 00 0 0
0
0 100 0 0 04 4 0
0
0 100 8,990 0 02 2
0 0 0 0 00 0
0 0 0 0 00 0
0 0 0 0 00 0
0 0 0 0 00 0
119 77 6,414,376 260 462 376 838
สถิตคิ ดกี ารไกล่เกลี่ยขอ้ พิพาท (แพ่ง) ประ
เข้าสู่ศาล คดีเข้าสู่ระบบ คดีที่ดาเนินการไกล
ลาดับ รายชื่อศาล
(คดี) ยกมา ใหม่ รวม จาหน่าย สำเรจ็ ไม่สำเร
1 ศำลแขวงขอนแก่น 674 0 224 224 0 224 0
2 ศำลแขวงพยัคฆภมู พิ สิ ัย 80
3 ศำลแขวงอดุ รธำนี 3,950 0 37 37 0 37 0
4 ศำลจังหวัดกำฬสินธุ์ 2,992
5 ศำลจังหวัดขอนแกน่ 145 1 455 456 0 454 1
6 ศำลจังหวัดชุมแพ 230
7 ศำลจังหวัดนครพนม 496 60 317 377 0 273 42
8 ศำลจังหวัดบงึ กำฬ 177
9 ศำลจังหวัดพล 356 36 57 93 1 44 22
10 ศำลจังหวัดมหำสำรคำม 5,284
6 100 106 0 99 2
14 122 136 8 109 5
3 59 62 0 58 2
1 171 172 0 169 2
722 1,386 2,108 95 1,239 94
11 ศ.มหำสำรคำมสำขำพยัคฆภูมิพิสยั 31 0 27 27 0 27 0
12 ศำลจังหวัดมุกดำหำร 225 22 63 85 5 47 12
13 ศำลจังหวัดร้อยเอ็ด 756 18 296 314 0 269 27
14 ศำลจังหวัดเลย 815 9 138 147 3 110 24
15 ศำลจังหวัดสกลนคร 1,441 19 78 97 5 57 11
16 ศำลจังหวัดสว่ำงแดนดนิ 130 79 107 186 24 60 20
17 ศำลจังหวัดหนองคำย 834 2 218 220 0 221 3
18 ศำลจังหวัดหนองบัวลำภู 832 53 127 180 0 102 35
19 ศำลจังหวัดอดุ รธำนี 606 43 208 251 26 163 21
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 47
ะจาปี พ.ศ.2563 (มกราคม-ธนั วาคม)
ล่เกล่ีย ทุนทรัพย์คดีที่ คดีท่ีเสร็จไปท้ังหมด รวมทุนทรพั ย์
สาเร็จ/ ไกล่เกล่ียสาเรจ็ ค้างไป ถอนฟอ้ ง ยอมความ รวม คดีท่ีเสรจ็ ไปทั้งหมด
รจ็ รอ้ ยละ
19,881,728 0 144 293 437 3,538,091,321
100 4,740,798
100 38,496,635 0 17 32 49 6,756,272
100 146,862,677
72 31,411,802 1 335 592 927 8,278,754
47 38,656,483
93 115,877,008 62 0 325 325 145,240
80 14,565,485
94 158,703,289 26 12 37 49 219,184,181
98 304,685,060
59 5 42 97 139 57,871,080
16,684,663 14 154 540 694 279,040,925
100 2 24 66 90 35,041,825
74,193,499 1 53 151 204 163,557,294
55 108,739,422
86 40,976,033 760 369 1,089 1,458 872,985,818
75 18,435,304
59 23,038,854 0 12 23 35 17,379,663
32 150,135,383
100 39,707,086 21 32 67 99 85,032,774
57 177,440,737
65 18 171 270 441 200,104,883
10 87 207 294 368,733,657
24 59 55 114 143,414,759
82 95 155 250 119,455,088
0 65 171 236 126,040,984
56 20 73 93 31,685,161
41 6 159 165 193,941,141
เข้าสู่ศาล คดีเข้าสู่ระบบ คดีท่ีดาเนินการไกล
ลาดับ รายชื่อศาล (คดี) ยกมา ใหม่ รวม จาหน่าย สาเร็จ ไม่สาเร
20 ศำลเยำวฯกำฬสนิ ธุ์ 119 29 41 70 1 30 9
21 ศำลเยำวฯขอนแกน่ 250 48 97 145 0 81 18
22 ศำลเยำวชนฯนครพนม 66 1 17 18 0 17 0
23 ศำลเยำวชนฯบงึ กำฬ 38 1 8 9 0 8 0
24 ศำลเยำวชนมหำสำรคำม 144 10 50 60 0 43 6
25 ศำลเยำวชนฯมกุ ดำหำร 47 9 18 27 0 12 4
26 ศำลเยำวชนฯร้อยเอด็ 148 4 54 58 10 48 5
27 ศำลเยำวชนฯเลย 61 5 21 26 0 16 5
28 ศำลเยำวชนฯสกลนคร 124 2 35 37 0 25 10
29 ศำลเยำวชนฯหนองคำย 108 2 8 10 0 7 1
30 ศำลเยำวชนฯหนองบัวฯ 67 1 17 18 0 17 0
31 ศำลเยำวชนฯอุดรธำนี 280 13 69 82 0 44 25
21,506 1,213 4,625 5,838 178 4,110 406
รวม
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 48
ล่เกลี่ย ทุนทรพั ย์คดีท่ี คดีท่ีเสร็จไปท้ังหมด รวมทุนทรพั ย์
สาเรจ็ / ไกล่เกล่ียสาเร็จ ค้างไป ถอนฟ้อง ยอมความ รวม คดีที่เสรจ็ ไปท้ังหมด
ร็จ ร้อยละ
23,293,750 30 40 28 68 28,892,750
43 30,903,100 108 43,561,870
56 5,680,000 46 29 79 20 5,955,000
94 16 849,713
89 849,713 1 5 15 73 9,697,208
72 8,844,500 16 6,261,216
44 3,900,000 08 8 48 11,728,490
83 11,728,490 27 8,144,496
62 5,569,853 11 34 39 47 27,781,779
68 4,201,276 7 1,300,000
70 2,300,000 11 1 15 17 2,030,000
94 2,553,572 80 44,885,547
54 19,079,574 4 1 47 6,626 6,657,828,889
70 1,642,135,774
5 8 19
2 15 32
21 6
1 2 15
13 30 50
1,249 1,871 4,755
สถิตกิ ารตรวจสานวนและร่างคาพิพากษาของข้าร
ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ขา้ ราชการตุลาการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
1. นายบุญเกียรติ ฤาชัยสา 57 37 76 29
2. นายวิโรจน์ ต้งั สภุ ากิต 15 44 53 13
3. นายทรงพล รัตนจันทร์ 8 23 38 9
4. นายศักดา วะสมบัติ 9 11 27 14
5. นายวิบูลย์ ธรรมมะ 34 40 56 23
6. นายสมยศ ชัยประสริฐ 13 16 23 6
7. นายวรยศ เอกะกุล 20 39 69 23
8. นางสิริลกั ษ์ เสียงไพรพันธ์ เผอื กผ่อง 43 32 73 29
9. นายพรณรงค์ ศรีตระกูล 25 33 46 18
10. นายจาเรญิ ศักดิ์ สารธิมา 14 33 49 10
11. นายมนตรี โรจน์วัฒนบูลย์ 14 36 30 8
12. นางสิรินทร ไพรราม ศุภสทิ ธิ์ 000 0
รวม 252 344 540 182
รายงานประจาปี พ.ศ. 2563 | 49
ราชการตุลาการ สานกั งานอธิบดีผู้พพิ ากษาภาค ๔
(มกราคม-กันยายน)
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
18 20 20 60 71 0 0 0 388
11 20 40 45 31 0 0 0 272
2 7 13 24 16 0 0 0 140
4 16 11 15 18 0 0 0 125
8 20 20 37 36 0 0 0 274
1 2 9 6 11 0 0 0 87
7 30 28 34 24 0 0 0 274
19 20 12 34 25 0 0 0 287
6 22 14 39 22 0 0 0 225
7 8 26 21 20 0 0 0 188
6 18 24 31 25 0 0 0 192
0 0 10 26 27 0 0 0 63
89 183 227 372 326 0 0 0 2515
สถิตกิ ารตรวจสานวนและร่างคาพพิ ากษาของขา้ รา
ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ขา้ ราชการตุลาการ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
1. นายสุมิตร ดวงสดี า 0 000
2.นายวรยศ เอกะกุล 0 000
3. นายณัฐภกฤษ เผอื กผ่อง 0 000
4. นางสิริลกั ษณ์ เสียงไพรพันธ์ เผอื กผอ่ ง 0 0 0 0
5. นายมหาชัย ศรีทองกลาง 0 000
6. นายวรัญญู แสงศิริ 0 000
7. นายจาเริญศักดิ์ สารธิมา 0 000
8. นายมนตรี โรจน์วัฒนบูลย์ 0 000
9. นางสิรนิ ทร ไพรราม ศุภสิทธ์ิ 0 000
รวม 0 0 0 0
รายงานประจาปี พ.ศ. 2562 | 50
าชการตุลาการ สานกั งานอธิบดีผพู้ ิพากษาภาค ๔
(ตุลาคม - ธันวาคม)
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
0 0 0 0 0 100 92 81 273
0 0 0 0 0 19 7 16 42
0 0 0 0 0 39 28 36 103
0 0 0 0 0 18 11 18 47
0 0 0 0 0 19 13 13 45
0 0 0 0 0 48 21 24 93
0 0 0 0 0 7 27 25 59
0 0 0 0 0 0 18 20 38
0 0 0 0 0 0 44 45 89
0 0 0 0 0 250 261 278 789
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 51
ผลการดำเนนิ งานตามภารกิจ
ของสว่ นบริหารทรัพยากรบคุ ล
ประจำปี พ.ศ. 2563
การดำเนนิ การตามแผนพัฒนาบคุ ลากร เพอ่ื พัฒนาขา้ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมในภาค
และศาลในสังกดั สำนักงานอธิบดผี พู้ พิ ากษาภาค 4
1. ดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาบคุ ลากรสำหรบั งบประมาณโครงการเพิ่มศักยภาพข้าราชการฝา่ ยตลุ า
การศาลยตุ ิธรรม สำหรับภาคและหน่วยงานในเขตอำนาจ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 4,509,152 บาท
แยกเปน็
1.1 คา่ ใช้จ่ายในการพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะท่สี อดคลอ้ งกับจุดเนน้ การพฒั นา
ของศาลยตุ ิธรรมเพือ่ การขบั เคลือ่ นนโยบายการบรหิ ารราชการศาลยุติธรรม จำนวน
1,174,152 บาท
1.2 คา่ ใช้จา่ ยในการอบรมภายในตามความต้องการในสายงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
และหลกั สมรรถนะของบุคลากรแตล่ ะหนว่ ยงาน (รองรบั มาตรฐานตำแหนง่ )
1.2.1 สำหรบั ข้าราชการตลุ าการ จำนวน 737,100 บาท
1.2.2 สำหรบั ข้าราชการศาลยุตธิ รรม พนักงานราชการ ลูกจา้ ง
จำนวน 2,178,000 บาท
1.2.3 สำหรบั ผู้พิพากษาสมทบ จำนวน 419,900 บาท
รวมทงั้ ส้นิ 3,335,000 บาท
โดยงบประมาณดังกล่าวสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้พิจารณาจัดสรรให้ภาคและ
ศาลในสังกัดสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ดำเนินการจัดอบรมสัมมนา ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการ
ดำเนนิ การรวมท้งั ส้นิ จำนวน 3,555,592 บาท
การดำเนนิ งานในส่วนของสำนักงานอธิบดภี าค 4 ได้จัดโครงการอบรมสัมมนา ดงั นี้
- หลักสูตร “การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานของบุคลากรของสำนักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 4” ในวันที่ 3 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุมสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 4 ชั้น 3 อาคารศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดขอนแก่น อำเภอเมืองขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น การดำเนินโครงการมีข้าราชการศาลยุติธรรม พนักงานราชการ และลูกจ้าง
ในสงั กัดเขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 40 คน
- หลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับเทคโนโลยีดิจิทัลภายใต้ภารกิจศาลยุติธรรม และ
สำนักงานศาลยุติธรรม” ในระหว่างวันที่ 11 – 13 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุมลานนาไทย
โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ การดำเนินโครงการมี
ขา้ ราชการศาลยตุ ิธรรม พนกั งานราชการ และลูกจ้างในสงั กัดเข้าร่วมโครงการ จำนวน 45 คน
- หลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพเก่ยี วกับระบบยื่น ส่ง และรบั คำคู่ความทางเอกสารทางระบบ
รบั – ส่งอเิ ล็กทรอนิกส์ (e – Filing Version 3) ในวนั ท่ี 21 สิงหาคม 2563
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 52
ณ ห้องประชุมคอนเวนชั่น 3 โรงแรมอวานี ขอนแก่น โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์
อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ในการดำเนินโครงการมีข้าราชการฝ่ายตุลาการ
ศาลยุติธรรมในสังกัดภาคและศาลในเขตอำนาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 เข้าร่วมโครงการรวม
ทง้ั สนิ้ จำนวน 112 คน
- หลักสูตร “ข้อสังเกตจากการตรวจสำนวนและร่างคำพิพากษาศาลในเขตอำนาจของอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 4 และการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการตรวจร่างคำพิพากษา” ในรูปแบบการ
ประชุมผ่านจอภาพ (Video Conference) ในวันที่ 18 มิถุนายน และวันที่ 2 กรกฎาคม
2563 ณ ห้องประชุมสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ชั้น 3 อาคารศาลเยาวชนและ
ครอบครัวจังหวัดขอนแก่น อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น การดำเนินโครงการมี
ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมในสังกัดสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 เข้าร่วม
โครงการรวมทง้ั ส้ิน จำนวน 253 คน
2. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศในส่วนภมู ภิ าค ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ทั้งสิ้นจำนวน 432,000 บาท เพื่อดำเนินการพัฒนาด้านบุคลากรด้านภาษาต่างประเทศให้กับข้าราชการ
ฝา่ ยตลุ าการศาลยตุ ิธรรม พนกั งานราชการ และลูกจ้าง(เงนิ งบประมาณ) ในสังกดั ภาค และศาลในสังกดั
สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 และศาลซึ่งมีที่ตั้งในภาค สำหรับข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม
ในพื้นที่ภาค 4 (รวมศาลอุทธรณ์ภาค 4 ศาลแรงงานภาค 4 ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
ภาค 4) รวม 34 หนว่ ยงาน โดยจัดสรรใหแ้ ต่ละศาลไปดำเนนิ การเอง
ผลการดำเนนิ งาน มีคา่ ใช้จ่ายในการดำเนนิ การทัง้ สิน้ จำนวน 430,375 บาท
การดำเนินงานในส่วนของสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษา ภาค 4 ได้จัดโครงการอบรม หลักสูตร
“การใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารในการปฏบิ ัติราชการ และเพอ่ื ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ” ในระหว่างวันที่
4 – 5 และ 8 – 11 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุมสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ชั้น 3 อาคาร
ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวัดขอนแก่น อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น มผี ู้เขา้ รว่ มอบรม จำนวน 39 คน
3. โครงการทุนสนับสนุนการศึกษาระดับปริญญาโทภายในประเทศ (ส่วนภูมิภาค) ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563
สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้รับจัดสรรทุนสนบั สนุนการศึกษาระดับปริญญาโทสำหรบั
ข้าราชการตุลาการและข้าราชการศาลยุติธรรม จำนวน 10 ทุน ทุนละ 280,000 บาท รวมเป็นเงิน
จำนวน 2,800,000 บาท เพื่อจัดสรรให้กับข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมในภาค ศาลในสังกัด
สำนกั งานอธบิ ดีผ้พู พิ ากษาภาค 4 ศาลอทุ ธรณภ์ าค 4 ศาลแรงงานภาค 4 และศาลอาญาคดีทุจริตและ
ประพฤติมชิ อบภาค 4
ผลการดำเนินงานมีข้าราชการศาลยุติธรรมได้รับทุนสนับสนุนการศึกษา จำนวน 18 คน/ทุน
เนื่องจากมีผู้สอบผ่านคัดเลือกเกินกว่าทุนที่ได้รับจัดสรร และได้รับการจัดสรรจำนวนทุนเพิ่มเติม รวม
งบประมาณทใ่ี ช้ในการจัดสรรท้งั สน้ิ จำนวน 3,880,000 บาท
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 53
ผลการดำเนนิ งานตามภารกจิ
ของส่วนแผนงานและงบประมาณ
ประจำปี พ.ศ. 2563
งานพิจารณาพพิ ากษาคดี กิจกรรมพิจารณาพิพากษาคดี
- คา่ ใช้จ่ายด้านบริหารจัดการ วงเงินกำหนดไว้ท่ภี าค จำนวนเงิน 2,000,000 บาท
อนุมตั จิ ัดสรรใหห้ นว่ ยงานในสังกัด จำนวน 5 ศาล เป็นเงิน 261,970 บาท
งานช่วยเหลือและคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพของคคู่ วามตามกฎหมาย
- กิจกรรมชว่ ยเหลือและคุม้ ครองสิทธิเสรภี าพของคคู่ วามตามกฎหมาย วงเงินกำหนดไว้ท่ภี าค จำนวน
10,000,000 บาท
อนมุ ัติจดั สรรให้ศาลในสังกัด จำนวน 17 ศาล เปน็ เงิน 7,548,428 บาท
งานระงับข้อพพิ าท กิจกรรมไกล่เกล่ียและประนอมข้อพพิ าท
- ค่าใช้จา่ ยด้านบริหารจดั การ วงเงินกำหนดไว้ทภ่ี าค จำนวนเงิน 5,000,000 บาท
อนุมตั จิ ดั สรรใหห้ นว่ ยงานในสงั กดั จำนวน 5 ครัง้ ( 5 ศาล) เป็นเงนิ 354,000 บาท
กจิ กรรมสนบั สนนุ การพจิ ารณาพิพากษาคดี
- ค่าใช้จา่ ยด้านบคุ ลากร วงเงินกำหนดไว้ที่ภาค จำนวนเงนิ 2,500,000 บาท
อนุมตั ิจดั สรรให้หน่วยงานในสงั กดั จำนวน 19 คร้งั ( 9 ศาล) เป็นเงนิ 1,235,136.95 บาท
- คา่ ใช้จ่ายด้านบริหารจัดการ วงเงนิ กำหนดไวท้ ่ภี าค จำนวนเงนิ 4,000,000 บาท
อนุมตั จิ ดั สรรให้หนว่ ยงานในสังกดั จำนวน 8 ครัง้ ( 9 ศาล) เป็นเงิน 3,974,500 บาท
กิจกรรมจดั ซื้อครภุ ณั ฑ์
- ครุภัณฑก์ รณีทดแทน วงเงินกำหนดไวท้ ี่ภาค จำนวนเงิน 2,000,000 บาท
อนมุ ัตจิ ัดสรร จำนวน 6 รายการ เปน็ เงิน 1,971,000 บาท
- ครภุ ัณฑก์ รณีฉุกเฉิน/เร่งดว่ น วงเงินกำหนดไวท้ ่ภี าค จำนวนเงิน 2,000,000 บาท
อนมุ ัตจิ ัดสรร จำนวน 9 รายการ เปน็ เงิน 826,108 บาท
- ครุภัณฑเ์ ครื่องเรือน กรณีทดแทนวงเงนิ กำหนดไวท้ ีภ่ าค จำนวนเงิน 2,000,000 บาท
อนมุ ตั จิ ัดสรร จำนวน 15 รายการ เป็นเงนิ 614,100 บาท
โครงการเปิดทำการศาลนอกเวลาราชการ เพอ่ื เรง่ รัดการพจิ ารณาพิพากษาคดี
- ประเภทคดีจัดการพิเศษ
ศาลเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 17 ศาล อนุมัตดิ ำเนนิ การ 25,631 คดี จำนวนเงนิ
12,800,000 บาท
- ประเภทคดีไกลเ่ กล่ยี
ศาลเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน - ศาล อนมุ ตั ดิ ำเนนิ การ - คดี จำนวนเงนิ - บาท
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 54
ผลการดำเนินงานตามภารกจิ
ของส่วนคลังและอาคารสถานที่
ประจำปี พ.ศ. 2563
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (1 ตลุ าคม 2562 - 30 กันยายน 2563) สว่ นคลังและอาคาร
สถานท่ีไดม้ กี ารดำเนินการในเร่ืองตา่ ง ๆ ดังน้ี
ดา้ นการเงิน : สำนกั ศาลยตุ ธิ รรมประจำภาค 4 ได้รับโอนเงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 จากสำนักงานศาลยตุ ธิ รรม จำแนกตามงบรายจา่ ยดังนี้
ค่าใช้จ่ายด้านบคุ ลากร
- กจิ กรรมสนับสนนุ การพิจารณาพพิ ากษาคดแี ละบริหารท่วั ไป 8,025,000 บาท
- โครงการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ ของสำนกั งานอธบิ ดผี ู้พิพากษาภาค
548,960 บาท
- โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการสนับสนนุ การพจิ ารณาพพิ ากษาคดขี องศาลยตุ ิธรรม
250,000 บาท
ค่าใช้จ่ายดา้ นบริหารจัดการ
- กิจกรรมสนับสนุนการพจิ ารณาพพิ ากษาคดแี ละบริหารทวั่ ไป 4,764,000 บาท
- กิจกรรมประชาสัมพนั ธง์ านศาลยตุ ิธรรม 130,000 บาท
- กิจกรรมจ้างเหมารกั ษาความสะอาด 515,520 บาท
- โครงการประชาสมั พันธศ์ าลยตุ ธิ รรมเพ่อื การบรกิ รประชาชนและสังคม 249,000 บาท
- โครงการใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์แกข่ า้ ราชการฝา่ ยตุลาการศาลยุติธรรมและบำบัดฟน้ื ฟู
สมรรถภาพเด็กและเยาวชนผูก้ ระทำผดิ ตามคำสัง่ ศาล 50,000 บาท
- กจิ กรรมบรหิ ารงานบคุ คลขา้ ราชการศาลยุตธิ รรม 66,000 บาท
- โครงการเพ่ิมศักยภาพข้าราชการฝ่ายตลุ าการศาลยตุ ิธรรมทีศ่ าลและภาคดำเนนิ การ
4,509,752 บาท
- โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 432,000 บาท
- โครงการสนับสนนุ ทุนการศกึ ษาภายในประเทศ 5,040,000 บาท
ค่าใชจ้ า่ ยด้านลงทนุ
- กิจกรรมปรับปรุงซ่อมแซมอาคารศาล สถานทแ่ี ละบา้ นพัก 263,000 บาท
- กจิ กรรมจัดซื้อครภุ ัณฑ์ 317,000 บาท
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 55
งานพัสดุ : ที่สำนักงานศาลยุติธรรมมอบอำนาจให้แก่สำนักศาลยุติธรรมประจำภาค 4 และอธิบดี
ผพู้ ิพากษาภาค 4 ดำเนนิ การใหแ้ กศ่ าลในสงั กดั สำนักงานอธิบดีผพู้ ิพากษา ภาค 4 และศาลในพนื้ ท่ี
สำนักงานอธบิ ดผี ู้พิพากษาภาค 4
1. การจัดจา้ งพมิ พ์แบบพิมพ์ศาล ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 3 ครัง้
1.1 ครงั้ ท่ี 1 จำนวน 4 ศาล 6 แบบ จำนวนเงนิ 92,775.00 บาท
1.2 ครั้งที่ 2 จำนวน 9 ศาล 22 แบบ จำนวนเงนิ 181,080.00 บาท
1.3 คร้ังที่ 3 จำนวน 5 ศาล 35 แบบ จำนวนเงิน 77,350.00 บาท
2. การรับ – ส่งมอบเครื่องวิทยโุ ทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ จำนวน 2 ครงั้
2.1 การจัดสรรทดแทน รอบครบกำหนดเดอื นพฤษภาคม 2563 รวมจำนวน 14 เครอ่ื ง
ให้แก่ศาลในสังกดั สำนักงานอธบิ ดีผู้พิพากษาภาค 4 จำนวน 10 ศาล
2.2 การจัดสรรทดแทน รอบครบกำหนดเดือนกรกฎาคม 2563 รวมจำนวน 58 เครื่อง
ให้แกศ่ าลในสังกัดสำนักงานอธิบดีผพู้ พิ ากษาภาค 4 จำนวน 43 เคร่ือง จำนวน 28 ศาล
ศาลในพื้นที่สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 คือ ศาลอุทธรณ์ภาค 4 จำนวน 7 เครื่อง
ศาลอาญาคดีทจุ รติ และประพฤติมิชอบภาค 4 จำนวน 8 เครือ่ ง
3. การจัดจ้างก่อสร้าง ปรับปรุงซ่อมแซมต่อเติมอาคารศาล สถานที่และบ้านพักภายในวงเงิน
งบประมาณ 30 ลา้ นบาทขน้ึ ไป แตไ่ มเ่ กนิ 50 ล้านบาท จำนวน 2 รายการ
3.1 งานกอ่ สรา้ งอาคารชดุ พักอาศัยข้าราชการตลุ าการ จำนวน 12 หน่วย
พรอ้ มสงิ่ กอ่ สรา้ งประกอบ ศาลยุตธิ รรมในจังหวดั ขอนแกน่ วงเงนิ งบประมาณ
๓0,1๐๐,๐๐๐.00 บาท
ดำเนินการจัดจา้ งเรยี บรอ้ ยแลว้
ผรู้ บั จา้ ง หา้ งหุน้ สว่ นจำกัด นครรุง่ เรือง กรปุ๊
สญั ญาจา้ งก่อสร้างฯ เลขท่ี 3/2563 ลงวนั ท่ี 31 สิงหาคม 2563
วงเงนิ ในสญั ญา 26,770,000.00บาท
งวดงาน 26 งวด ระยะเวลาเวลาแล้วเสรจ็ 460 วนั
(วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2563 ถึง วนั ที่ 3 มกราคม 2565)
อยรู่ ะหวา่ งดำเนนิ การก่อสรา้ ง ตามรูปแบบและรายการของสัญญาจา้ ง
ทัง้ นีส้ ำนกั งานอธิบดผี ู้พพิ ากษาภาค 4 เป็นหนว่ ยเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณ
ไดเ้ บกิ จา่ ยเงินเรียบร้อยแล้ว จำนวน – งวด
3.2 งานปรับปรุงซ่อมแซมบ้านพักผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 1 หลัง บ้านพักผู้พิพากษา 7
หลัง และอาคารชุดพักอาศัยข้าราชการศาลยุติธรรม 35 หน่วย ศาลจังหวัดอุดรธานี
วงเงินงบประมาณ ๓5,6๐๐,๐๐๐.00 บาท
ดำเนินการจดั จา้ งเรยี บร้อยแล้ว
ผู้รบั จ้าง หา้ งห้นุ สว่ นจำกัด ทับทองแท่งการโยธา
สญั ญาจ้างก่อสร้างฯ เลขที่ 4/2563 ลงวันท่ี 22 กันยายน 2563
วงเงนิ ในสัญญา 27,910,400.00บาท
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 56
งวดงาน 14 งวด ระยะเวลาเวลาแลว้ เสรจ็ 360 วนั
(วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2563 ถงึ วนั ท่ี 26 ตุลาคม 2564)
อยรู่ ะหวา่ งดำเนินการกอ่ สรา้ ง ตามรูปแบบและรายการของสัญญาจา้ ง
ทง้ั นี้ศาลจังหวดั อดุ รธานี เปน็ หนว่ ยเบิกจา่ ยเงินงบประมาณ
ได้เบกิ จา่ ยเงนิ เรยี บรอ้ ยแลว้ จำนวน - งวด
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 57
ผลการดำเนนิ งานตามภารกิจ
ของส่วนเจ้าพนกั งานตำรวจศาล
ประจำปี พ.ศ. 2563
ตามความมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติเจ้าพนักงานตำรวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ กำหนดหน้าที่
และอำนาจของเจ้าพนักงานตำรวจศาลเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและรักษาความปลอดภัย
บุคคลและทรัพย์สินในบริเวณศาล ป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดในบริเวณศาล รักษา
ความปลอดภัยและคุ้มครองข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงาน และลูกจ้างของศาลและ
สำนักงานศาลยุตธิ รรมซึ่งกระทำการตามหน้าที่ หรอื เพราะเหตุทีจ่ ะกระทำ หรือได้กระทำการตามหน้าท่ี
รวมทั้งอาคารสถานที่ และทรัพย์สินของศาล และสำนักงานศาลยุติธรรม การปฏิบัติตามคำสั่งศาลใน
การเป็นผู้จัดการตามหมายจับ การติดตามจับกุมผู้ต้องหาหรือจำเลยที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
แล้วหลบหนีหรือจะหลบหนี ตลอดจนการดำเนินงานเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ
เจ้าพนักงานตำรวจศาลตามพระราชบัญญัติเจ้าพนักงานตำรวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ และกฎหมายที่
เก่ยี วขอ้ ง มาตรา ๕ แห่งพระราชบญั ญตั เิ จ้าพนกั งานตำรวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ กำหนดหนา้ ทแี่ ละอำนาจของ
เจ้าพนักงานตำรวจศาลเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและรักษาความปลอดภัยบุคคลและ
ทรัพย์สินในบริเวณศาล ป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดในบริเวณศาล รักษาความปลอดภยั
และคุ้มครองข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงาน และลูกจ้างของศาลและสำนักงานศาล
ยุติธรรมซึ่งกระทำการตามหน้าที่ หรือเพราะเหตุที่จะกระทำ หรือได้กระทำการตามหน้าที่ รวมทั้ง
อาคารสถานที่ และทรัพย์สินของศาล และสำนักงานศาลยุตธิ รรม แบ่งเปน็ ๓ ภารกิจ ดงั นี้
๑) การดำเนินการตามหมายจับ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (เดอื นพฤษภาคม - เดือนธันวาคม)
ส่วนเจา้ พนักงานตำรวจศาลได้ดำเนินการตามคำสัง่ ศาลในการจับกมุ จำเลยทไี่ ด้รบั การปลอ่ ย
ช่ัวคราวโดยศาลแลว้ หนีหรอื จะหลบหนี หรอื ผูท้ ไ่ี ม่ปฏบิ ัตติ ามหมายเรียกหรอื คำส่ังศาล ตามมาตรา ๕
(๔) (๕) แห่งพระราชบญั ญัตเิ จ้าพนกั งานตำรวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังนี้
หมาย EM หมายคดถี ึงที่สดุ หมายอาญาอื่น
๙๓ ๒๑ ๖๙
ผลการดำเนินการด้านการจับกุม
๖๙ ๙๓
๒๑
หมายEM หมายคดถี งึ ที่สดุ หมายอาญาอน่ื
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 58
ผลการดำเนินการตามหมายจับของเจ้าพนักงานตำรวจศาล
ตั้งแตว่ นั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๓ ถึงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๓
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 59
๒) ภารกิจด้านการรักษาความปลอดภยั
ส่วนเจ้าพนักงานตำรวจศาลได้ดำเนินการจัดทำคำสั่งและบัญชีอยู่เวรรักษาการณ์และตรวจเวร
รักษาการณ์ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (เดือนพฤษภาคม - เดือนธันวาคม) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความ
เสียหายแก่บุคคลและทรัพย์สินของทางราชการ และมีการตรวจเวรประจำวันในวันทำการทุกวัน ซึ่งผล
การปฏิบัติงานสถานการณป์ กติ
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 60
๓) ภารกจิ พิเศษที่ได้รับมอบหมาย
ภารกิจในการรักษาความปลอดภัยและคุ้มครองข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พนักงาน
และลูกจ้างของศาลและสำนักงานศาลยุติธรรมซึ่งกระทำการตามหน้าที่ หรือเพราะเหตุที่จะกระทำ
หรือได้กระทำการตามหน้าที่ ซึ่งเจ้าพนักงานตำรวจศาลสำนักศาลยุติธรรมประจำภาค ๔ จำนวน
๔๙ ครั้ง เช่น รักษาความสงบเรียบร้อยในการประชุมคณอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
ประจำภาค ๔ รักษาความปลอดภัยอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๔ และคณะ ในการตรวจราชการศาล
ในพนื้ ทีเ่ ขตอำนาจอธบิ ดีผูพ้ ิพากษาภาค ๔ รักษาความปลอดภัยข้าราชการฝ่ายตลุ าการศาลยตุ ิธรรม
พนักงาน และลูกจ้างของศาลและสำนักงานศาลยตุ ธิ รรม ในงานพธิ ีตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 61
ผลการดำเนินงานตามภารกิจ
ของสว่ นชว่ ยอำนวยการ
ประจำปี พ.ศ. 2563
ในปี พ.ศ.2563 สว่ นชว่ ยอำนวยการมผี ลการดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
ผลการดำเนินการในด้านสารบรรณ
การรบั – ส่ง หนงั สอื ของสำนกั งานอธิบดีผู้พพิ ากษาภาค 4
หนังสอื รับ จำนวน 11,767 เร่ือง
หนงั สือส่ง จำนวน 7,507 เรื่อง
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 62
การประชุมคณะอนกุ รรมการบริหารศาลยตุ ธิ รรมประจำภาค 4 ในงบประมาณ พ.ศ. 2563
ดำเนนิ การจัดประชุมทัง้ สิ้น 6 ครัง้
ครง้ั ท่ี 1/๒๕63
วนั ศกุ รท์ ่ี 24 มกราคม 2563
ณ ห้องประชมุ ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวัดขอนแก่น ชนั้ ๑
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น
เร่ืองเพอ่ื พจิ ารณา
1. ข้อพจิ ารณาคดคี รอบครองปรปักษ์
ขอให้ศาลแจ้งให้ผู้พพิ ากษาในศาลทราบแนวทางการเขียนคำพิพากษาคดีฝ่ายเดียว เพราะทุกปี
จะมปี ญั หาเม่อื มผี ู้พิพากษาย้ายมาใหม่
2. ขอ้ พจิ ารณาคดียาเสพติด
ข้อพจิ ารณาคดยี าเสพตดิ ในสว่ นทจี่ ะเรียนทีป่ ระชุม มี 2 ประเดน็
ประเด็นแรกเป็นเรื่องมาตรา 100/2 ในกรณีที่ลงโทษต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนดมี
ข้อพิจารณาในส่วนที่เป็นทางวิชาการกับในส่วนที่เป็นทางปฏิบัติ หลักเกณฑ์มาตรา 100/2 ถึงแม้จะมี
แนวออกมา แต่ว่ามีรายละเอียดปลีกย่อยต้องใช้ประสบการณ์พอสมควร ถ้ากรณีนี้ขึ้นมาผู้พิพากษา
จะต้องไปปรึกษาทา่ นหวั หน้าศาล
ประเด็นที่สอง ในการที่ปรึกษาหารือกันแล้วว่าเข้าข่ายเข้ากรณีที่จะต้องใช้มาตรา
100/2 แล้ว แนวทางขอให้เป็นไปตามแนวทางที่มอบไปให้เมื่อกลางปีที่ผ่านมา ซึ่งจะมีรายละเอียดใน
กรณีที่ให้ข้อมูลแล้วจับได้ในปริมาณเท่าไร สัดส่วนควรจะลดเท่าไร ถ้าหากไม่เป็นไปตามแนวทางน้ัน
ต้องส่งมาที่สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษา สิ่งที่มีความเป็นห่วงเรือ่ งมาตรา 100/2 คือทางสำนักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาคต้องการคุ้มครองท่านผู้พิพากษา ว่าท่านใช้ดุลพินิจมาตรา 100/2 ไม่ได้ใช้โดยพลการ
ท่านใช้โดยอาศัยข้อเท็จจริงที่ปรากฏในสำนวน และได้ปรึกษาหารือกับผู้ที่มีประสบการณ์มากกว่าท่าน
และปรกึ ษาองค์คณะดว้ ย
3. การนำแอพพลิเคชน่ั ไลนม์ าแจง้ ผลการส่งหมายและบรกิ ารสำเนาเอกสารแก่คคู่ วาม
ศาลแขวงขอนแก่น นำแอพพลิเคชั่นไลน์มาแจ้งผลการส่งหมายที่ส่งไม่ได้ให้คู่ความทราบ
ขั้นตอนของการแจ้งผลการส่งหมายที่ส่งไม่ได้ คือ เมื่อโจทก์ยื่น คำฟ้องต่อศาล เจ้าหน้าที่ศาลจะให้ทนาย
หรือผู้รับมอบอำนาจของโจทก์สแกน QR Code เพื่อเข้าเป็นสมาชิกไลน์กลุ่มรายงานผลการส่งหมาย
หลังจากนั้นเมื่อมีการส่งหมายแล้วส่งไม่ได้ เจ้าหน้าที่จะแจ้งในไลน์กลุ่มว่าคดีนี้ส่งหมายไม่ได้ให้โจทก์ไป
ตรวจสอบ โจทก์มีหน้าที่ไปตรวจสอบภูมิลำเนาของจำเลย แล้วแจ้งเข้ามายืนยันเข้ามาในไลน์ว่าภูมิลำเนา
ยังคงเดิมหรือไม่ ถ้ายังคงเดิมต้องนำหลักฐานมายืนยันต่อศาลในวันนั่งพิจารณาคดี ถ้าไม่นำมาในวันน่ัง
พิจารณาคดีถือว่าไม่ได้แถลงตามที่กำหนดไว้ สำหรับศาลจะนำคดีที่ไม่สามารถส่งหมายได้ไปประกาศ
e-Notice ไว้ล่วงหน้า
เรื่องของการนำแอพพลิเคชั่นไลน์มาบริการสำเนาเอกสารของศาลแขวงขอนแก่น ขณะนี้มีการ
บรกิ ารอยู่ 2 อยา่ ง คือ บริการสำเนาคำพิพากษา และบริการสำเนารายงานกระบวนพิจารณา
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 63
ครง้ั ท่ี 2/๒๕63
วนั ศกุ รท์ ี่ 13 มีนาคม 2563
ณ ห้องประชมุ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั ขอนแกน่ ช้นั ๑
ตำบลในเมือง อำเภอเมอื งขอนแก่น จังหวัดขอนแกน่
เรอ่ื งเพ่ือพจิ ารณา
1. การส่งสำนวนและร่างคำพิพากษาตรวจทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์
สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 จัดทำระบบการรายงานคดีและตรวจสำนวนด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (ECRM) โดยมีศาลนำร่อง คือ ศาลจังหวัดขอนแก่น ศาลแขวงขอนแก่น ศาลเยาวชนฯ
ขอนแก่น ซึ่งตอนนี้ก็อยู่ระหว่างการปรับปรุงให้สมบูรณ์ที่สุดก่อนที่จะใช้ในทุกศาลในภาค ซึ่งคาดว่า
น่าจะเริ่มใช้ในช่วงเดือนเมษายน ระบบนี้ขั้นตอนปฏิบัติ 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ต่อไปในอนาคตศาลในภาค 4
จะรายงานคดีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ECRM) ซึ่งการรายงานในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ECRM) ทำให้
ลดการใช้กระดาษ และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลสามารถตรวจสอบข้อมูลคดีของศาลที่รายงานผ่านระบบฯ
ได้และสามารถลดขั้นตอนได้เยอะมากเพราะไม่ต้องพิมพ์หนังสือนำส่ง ต่อไปจะให้รายงานคดีผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (ECRM) ให้แต่ละศาลมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบปฏิบัติ ส่วนที่ 2 เกี่ยวข้องกับผู้
พิพากษาคือการส่งสำนวนและร่างคำพิพากษามาตรวจ ทางภาคก็จะเร่ิมตรวจเฉพาะคดีที่สำนวนไม่หนา
มาก ได้ทดลองใช้บางส่วนคือคดีสืบประกอบการรับสารภาพ คดีที่ดิน ฝ่ายเดียว คดีคนไร้ความสามารถ
คดีชันสูตรพลิกศพ ซึ่งเป็นคดีไม่ได้ซับซ้อนมาก ซึ่งระบบการรายงานคดีและบริหารสำนวนคดีด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์เป็นระบบ Intranet ซึ่งการรายงานคดีและการบริหารสำนวนจะต้องทำที่ศาลเท่านั้น แต่
หากมีภารกิจที่ศาลอื่น สามารถใช้ Intranet ของศาลอื่นเข้าระบบเพื่อตรวจสอบสำนวน ณ ศาลที่ไป
ราชการได้
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รับ
1. ศาลในเขตอำนาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 สามารถรายงานคดี และส่งสำนวนและร่าง
คำพิพากษา ไดส้ ะดวก รวดเรว็ และมีประสิทธภิ าพ
2. ส่งเสริมให้มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินการรายงานคดี และการส่งสำนวนและ
รา่ งคำพิพากษา
3. หน่วยงานศาลลดคา่ ใช้จ่ายในการดำเนินการ เช่น การลดการใช้กระดาษ ลดค่าใช้จ่ายในการ
จดั สง่ เอกสารและสำนวนทางไปรษณีย์ เป็นตน้
4. ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถจัดเก็บ ค้นหาข้อมูลการรายงานคดีและการส่ง
สำนวนและร่างคำพิพากษาได้ถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพย่งิ ขึ้น
2. การยกระดบั การคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพขั้นพน้ื ฐานของผ้ตู ้องหาหรอื จำเลย
ศาลจังหวัดมหาสารคามได้รับมอบหมายให้เป็นหนึ่งในศาลต้นแบบการยกระดับการคุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพขั้นพื้นฐานของผู้ต้องหาหรือจำเลย และได้ดำเนินการตามนโยบายประธานศาลฎีกาโดย
คำนึงถึงเหยื่ออาชญากรรม และความสงบสุขของสังคมเป็นสำคัญ โดยศาลจังหวัดมหาสารคามได้มีการ
คิดค้นคำร้องใบเดียว ๑ ใบ ขึ้นมาโดยคำร้องใบเดียวได้รับแนวคิดมาจากศาลต้นแบบ (ศาลจังหวัด
กาญจนบรุ )ี แต่จากการทำงานร่วมกนั ของคณะทำงานไดม้ ีความคดิ ว่าคำร้องใบเดยี วเราสามารถตอ่ ยอดได้
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 64
โดยเดิมแผ่นหลังของคำร้องใบเดียวเป็นแผ่นเปล่า คณะทำงานต่อยอดโดยทำเป็นคำสั่งศาลหลายรูปแบบ
อยู่ที่แผ่นหลังคำร้องใบเดียวเป็นคำสั่งรูปแบบง่ายๆ เริ่มตั้งแต่การประเมินความเสี่ยง การสอบข้อเท็จจริง
อนญุ าตใหป้ ล่อยช่ัวคราวโดยไม่มีประกัน อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยมปี ระกัน อนญุ าตให้ปล่อยช่ัวคราว
โดยมีประกันและหลักประกัน และให้ติด EM หรือรวมถึงการตั้งผู้กำกับดูแล หลังจากผู้พิพากษาพิจารณา
คำร้องใบเดียวแลว้ ผู้พิพากษาจะเลือกส่ังแบบไหน ซ่งึ เปน็ การอำนวยความสะดวกใหผ้ ู้พิพากษาโดยเฉพาะ
อยา่ งย่ิงในช่วงการเปล่ียนผ่านวิธคี ิดจากแนวคดิ ดั้งเดิมท่ีคำนึงถึงหลักประกันเป็นสำคญั มาคำนึงถึงวิธีการ
อื่นประกอบด้วย และเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญและจะมาทดแทนหลักประกันก็คือการตั้งผู้กำกับดูแล
โดยได้ไปพูดกับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ให้ทราบถึงนโยบายของท่านประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับการยกระดับการ
คมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพข้ันพ้ืนฐานของผู้ตอ้ งหาหรือจำเลย รวมทง้ั บทบาทและหน้าท่ีของผู้กำกับดูแลซึ่ง
ผู้ใหญ่บ้านหรือกำนันอาจต้องทำหน้าที่นี้ต่อไป นอกจากนี้ยังได้ตั้งศูนย์ประเมินความเสี่ยงขึ้นมา โดยเริ่ม
ทดลองจากคดีที่มีอัตราโทษจำคุกไม่เกิน ๕ ปี และขยายจากคดีที่มีอัตราโทษจำคุกไม่เกิน ๕ ปี เป็นไม่
จำกดั อัตราโทษ
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 65
ครง้ั ท่ี 3/๒๕63
วนั ศกุ ร์ท่ี 29 พฤษภาคม 2563
ณ หอ้ งประชุมศาลเยาวชนและครอบครัวจงั หวดั ขอนแกน่ ชนั้ ๑
ตำบลในเมอื ง อำเภอเมืองขอนแกน่ จังหวัดขอนแกน่
เรอ่ื งเพื่อพจิ ารณา
1. ปัญหาข้อขดั ข้องในการประสานงานศาลช้นั ตน้ กบั ศาลอทุ ธรณภ์ าค 4 และขอ้ สงั เกต
ท่วั ไป
ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 4 แนะนำบทบาทของผู้พิพากษาหัวหน้าศาลว่าเป็นบทบาทที่มี
ความสำคญั ในทางสงั คมทีต่ อ้ งเปน็ ผนู้ ำหรอื เปน็ ตัวแทนของศาลยตุ ิธรรมในต่างจังหวดั ดงั นี้
1. การดำรงตนให้ผู้พิพากษาในศาลของท่านได้เห็นเป็นแบบอย่างที่ดี และต้องดำรง
ตนให้สังคมข้างนอกให้มีความเชื่อมั่นว่าเราจะประสิทธิประสาทความยุติธรรมให้แก่คู่ความที่มีความ
เดอื ดร้อนและมาขอความยตุ ิธรรมจากศาลนัน้ ได้อย่างดี
2. ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจะต้องตอบสนองนโยบายของผู้บริหารศาลยุติธรรมคือ
ท่านประธานศาลฎีกา ซึ่งท่านได้เน้นย้ำนโยบาย 5 ด้าน เชื่อว่าท่านคงทราบกันดีอยู่แล้ว แต่ในส่วนท่ี
เกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับศาลอุทธรณ์ภาค 4 ผมอยากเน้นย้ำในบทบาทการสั่งปล่อยชั่วคราว ซึ่ง
ท่านประธานศาลฎีกามีนโยบายใหม่ล่าสุด ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 โดยท่านมีดำริว่า “ความ
ยุติธรรมไม่มีวันหยุด” ฉะนั้น จึงให้ทุกชั้นศาลเปิดทำการในวันหยุด จึงขอฝากส่วนของงานธุรการว่า
เนื่องจากการทำงานในวันหยุดนั้น จะต้องมีการสับเปลี่ยน หมุนเวียน เจ้าหน้าที่ ที่ไม่เคยปฏิบัติงาน
สั่งปล่อยชั่วคราว ให้มาทำงานด้านนี้ จึงต้องมีการเน้นย้ำ ฝึกอบรมให้ความรู้ในการปฏิบัติงานให้กับ
เจา้ หนา้ ท่ี เปน็ ต้นวา่
1. การรวบรวมเอกสารหลักฐานให้ครบถว้ น
2. การปฏิบัติงานในวันหยุด หากไม่สามารถสั่งปล่อยชั่วคราวอย่างรวดเร็วได้ เท่ากับว่าเราไม่
ตอบสนองต่อนโยบายของท่านประธานศาลฎีกา เพราะหากศาลสูงสั่งปล่อยชั่วคราวไปแล้ว ผู้ต้องขัง,
ผู้ต้องหาหรือจำเลย ควรจะได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวในวันนั้น มิใช่ปล่อยให้คำสั่งของศาลอุทธรณ์
ภาค 4 ติดค้างอยู่ในระบบและเพิ่งจะมีการเปิดระบบเพื่อตรวจสอบคำสั่งของศาลสูงในวันจันทร์ ซึ่งทำ
ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ไม่ไดร้ ับการปลอ่ ยตวั ช่ัวคราวในโอกาสอนั เหมาะสม หรือในวนั ท่ศี าลส่ังน่ันเอง
3. บทบาทผู้พิพากษาหัวหน้าศาลในการแนะนำผู้พิพากษาในศาลในการแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ในการปฏิบัติราชการ ไม่ว่าจะเป็นงานคดีหรืองานธุรการที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบันผู้พิพากษามีภารกิจเป็น
จำนวนมาก ต้องขับเคลื่อนนโยบายต่าง ๆ ของสำนักงานศาลยุติธรรมที่นำเทคโนโลยีใหม่เข้ามาใช้อย่าง
ต่อเนื่อง ถึงกระนั้น ก็ไม่ควรละเลยบทบาทในการแนะนำปัญหาข้อขัดข้องให้กับผู้พิพากษาในศาลและ
ตรวจสอบความถูกต้องของสำนวนคดี โดยเฉพาะคดสี ำคัญและคดที ีม่ ที นุ ทรัพยส์ ูง เปน็ ต้น
4. ค่าฤชาธรรมเนยี ม ซึ่งคูค่ วามจะตอ้ งวางในช้ันอทุ ธรณ์และเกดิ ปัญหาค่อนข้างมาก โดยเฉพาะ
ในคดีผู้บริโภค และผู้พิพากษาในศาลสูงได้รับการอบรมในเรื่องการคิดค่าฤชาธรรมเนียมอย่างเข้มข้น
ในทางปฏิบัติของศาลช้ันต้นมักจะมอบหมายให้เจ้าหน้าที่การเงินคำนวณให้และแจ้งไปยงั คู่ความสำหรับ
การวางเงนิ คา่ ฤชาธรรมเนยี ม ก่อนท่ีผ้พู พิ ากษาจะส่ังรบั เงนิ คา่ คำคคู่ วามหรอื รับอทุ ธรณ์ ขอใหต้ รวจสอบ
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 66
อีกครั้งว่าถูกต้องหรือไม่ เพราะหากไม่ถูกต้องจะได้มีคำสั่งให้จ่ายเงิน ค่าฤชาธรรมเนียมเพิ่มเติม จะเป็น
ช่วยลดปัญหาอกี ทางหนงึ่
2. การบรหิ ารจัดการคดใี นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ ศย 016/ว 97 (ป) ลงวันที่ 23 เม.ย. 2563 เรื่อง คำแนะนำของ
ประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับแนวปฏิบัติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Corona Disease : COVID-19) (ฉบับที่ 3) ได้กำหนดมาตรการด้านการบริหารจัดการคดี ด้านการ
จัดการบริหารบุคลากร และด้านการบริหารจัดการอาคารสถานที่ ประกอบกับประกาศคณะกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การบริหารจัดการคดีภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ โดยให้ศาลชั้นต้นทุกศาลเลื่อนนัดพจิ ารณาคดีจัดการพิเศษ คดีสามัญ และคดีสามัญพิเศษ
ออกไป
3. การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน ตามนโยบายประธานศาลฎีกา
ข้อ 1
นโยบายข้อที่ ๑. ยกระดับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของผู้ต้องหาและจำเลย โดย
คำนึงถึงเหยือ่ อาชญากรรมและความสงบสุขของสงั คม
๑.๑ กำหนดมาตรการในการขอปล่อยชั่วคราวที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงการคุ้มครองสิทธิ
เสรภี าพความสะดวกรวดเรว็ และการลดความเหลื่อมลำ้ ในการเข้าถึงสทิ ธทิ ่ีจะไดร้ ับการปลอ่ ยชวั่ คราว
๑.๒ กำหนดวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมต่อผู้ต้องหา จำเลย เหยื่ออาชญากรรม ผู้เสียหาย ตลอดจน
กลุ่มผูเ้ ปราะบางในสังคม ทุกข้นั ตอนของกระบวนการทางศาล
๑.๓ เพมิ่ บทบาทเชงิ รกุ ในการให้ขอ้ มูลแกป่ ระชาชนเกีย่ วกบั ข้นั ตอนการดำเนนิ คดีในศาลและให้
ประชาชนได้รับรถู้ ึงสทิ ธขิ องตนตามกฎหมาย
สำหรับศาลต้นแบบในสังกัดสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 คือ ศาลจังหวัดมหาสารคาม
และเพอื่ ขยายผลไปยังศาลในสังกัดภาค 4 จงึ มกี ารกำกบั และติดตามการดำเนินการของศาลจังหวัดและ
ศาลแขวง เพื่อรายงานไปยงั สำนกั ประธานศาลฎีกาในวันท่ี 15 ก.ค. 2563
สำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้ขอให้ศาลในสังกัดดำเนินการตามศาลต้นแบบให้เสร็จส้ิน
ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 โดยมอบหมายให้ศาลจังหวัดมหาสารคามเป็นผู้ให้คำแนะนำการ
ดำเนินการดังกล่าวและใหศ้ าลในสงั กดั รายงานผลการดำเนินการ
สำหรับศาลเยาวชนและครอบครัวฯ อยู่ระหว่างการพิจารณากำหนดแนวทางให้เหมาะสมกับ
ลกั ษณะและประเภทคดี ของคณะทำงานร่วมกับอธบิ ดีผู้พพิ ากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง
คณะทำงานไดก้ ำหนดแนวทางให้ศาลตน้ แบบดำเนินการไว้ 2 กรณี คือ
1. แนวทางในการยกระดบั การคมุ้ ครองสิทธิและเสรภี าพขั้นพืน้ ฐาน
2. แนวทางการปล่อยชั่วคราวตามคำแนะนำของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยการขยายโอกาส ใน
การเขา้ ถึงสทิ ธทิ ี่จะได้รับการปลอ่ ยชัว่ คราว พ.ศ. 2562
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 67
แนวทางศาลต้นแบบในการยกระดับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานฯ
ด้านอาคารสถานท่ี
๑. จัดใหม้ ีหอ้ งพกั พยาน และผ้เู สียหายท่เี หมาะสม
๒. จัดให้มีห้องพักพยานที่เป็นเด็กแยกต่างหากจากห้องพักพยานทั่วไป รวมทั้งมีวิธีปฏิบัติ
ต่อพยานที่เป็นเด็กตามคำแนะนำของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยแนวทางการปฏิบัติต่อพยานที่เป็นเด็กใน
คดีอาญา พ.ศ. ๒๕๕๙
๓. ห้องควบคุมมีการแยกห้องระหว่างผู้ต้องขัง/จำเลยที่เป็นหญิงและชาย รวมทั้งมีห้องน้ำ
แยกกันเป็นสัดสว่ น
๔. จัดให้มีห้องรอคำสั่ง คำร้องขอปล่อยชั่วคราวสำหรับผู้ต้องหา/จำเลยที่ยังไม่เคยถูกควบคุม
มาก่อน
๕. จัดให้มีห้องหรือวิธีการชำระค่าปรับที่สะดวกแก่ผู้ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษปรับ โดยไม่ต้อง
นำตวั ไปควบคุม
๖. ห้องเวรชคี้ วรมีการแยกระหว่างผ้ตู ้องขัง/จาเลยทีถ่ ูกควบคุมตวั มาก่อนแล้วกบั ผู้ท่ียังไม่เคยถูก
ควบคมุ มาก่อน
สำหรับแนวทางที่ 1 แนวทางศาลต้นแบบในการยกระดับการคุ้มครองสิทธิฯ ได้จัดแบ่ง
การบริการไวห้ ลายดา้ น ดังนี้
ด้านบุคลากร
๑. ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ผู้พิพากษา และข้าราชการธุรการมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติที่
เหมาะสมตอ่ ผู้ต้องขบั /จำเลย ผเู้ สยี หาย พยาน
๒. ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล ผู้พิพากษา และข้าราชการธุรการมีความรู้ความเข้าใจแนวทางในการ
ยกระดบั การคมุ้ ครองสิทธเิ สรภี าพขนั้ พื้นฐานของประชาชน
๓. บุคลากรที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจและมุ่งมั่นในการให้ความรู้แก่ประชาชน ผู้ต้องหา/
จำเลยเพือ่ ใหท้ ราบถงึ สิทธขิ องตนในขั้นตอนตา่ ง ๆ ของการดำเนินคดี
ด้านระบบการปล่อยช่ัวคราว
๑. จัดวางระบบการเสนอคำรอ้ งขอปล่อยชัว่ คราวพรอ้ มแบบพิมพต์ ่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
๒. จัดวางแนวทางในการพิจารณาสั่งปลอ่ ยชว่ั คราวโดยไม่มีประกัน มปี ระกันและหลักประกัน
๓. จดั ให้มีระบบประเมินความเส่ยี งเพื่อเปน็ ฐานขอ้ มูลในการพิจารณาคำรอ้ งขอปล่อยชว่ั คราว
๔. จัดวางแนวทางหรอื วธิ กี ารในการตงั้ ผูก้ ำกบั ดูแลผถู้ กู ปล่อยชว่ั คราวฯ
๕. จัดวางแนวทางหรือวิธีการในการกำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ในการปล่อยชั่วคราว
๖. กำหนดแนวปฏิบตั ิหรอื ขน้ั ตอนในการพจิ ารณาสง่ั คำร้องขอปลอ่ ยชั่วคราวทส่ี อดคล้องกับ
คำแนะนำประธานศาลฎกี าฯ
7. เปิดทำการเพ่ือพจิ ารณาสงั่ คำร้องขอปล่อยชว่ั คราวในวนั หยุดราชการ
๘. ลดขัน้ ตอนการทำงานท่ีซำ้ ซ้อนหรือไม่จำเป็น
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 68
ด้านการกำหนดมาตรฐานระยะเวลา
๑. กำหนดมาตรฐานระยะเวลาในการมีคำสง่ั คำร้องขอปล่อยช่วั คราวฯ
๒. กำหนดมาตรฐานระยะเวลาในการพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่จำเลยต้องขัง ดังนี้
ในศาลชั้นต้น - ไม่เกิน ๖ เดือน นับแต่วันออกหมายขังระหว่างพิจารณาในศาลชั้นอุทธรณ์
ไม่เกิน ๓ เดือน นับแต่วันรับคดีไว้พิจารณาในศาลฎีกา - ไม่เกิน ๖ เดือน นับแต่วันรับคดี
ไวพ้ ิจารณา
๓. กำหนดมาตรฐานระยะเวลาในการส่งสำนวนที่มีการอุทธรณ์/ฎีกาไปยังศาลชั้นอุทธรณ์/ศาล
ฎีกา - ไม่เกิน ๓ วัน นับแต่วันสั่งรับคำแก้อุทธรณ์/คำแก้ฎีกา หรือนับแต่วันครบกำหนดยื่นคำ
แก้อุทธรณ/์ คำแกฎ้ ีกา แล้วแตก่ รณี
ดา้ นการประชาสัมพนั ธ์
1. จัดให้มีการให้ความรู้แก่กลุ่มผู้ต้องขัง/จำเลยในเรือนจำหรือกลุ่มเสี่ยงที่จะกระทำผิดถึงสิทธิ
ที่จะได้รับการปล่อยชั่วคราว และสิทธิในการดำเนินคดีในศาล โดยกำหนดแผนปฏิบัติการ
ไม่น้อยกว่าปีละ ๓ ครง้ั
2. จัดให้มีบอร์ดแสดงบัญชีมาตรฐานหลักประกันในที่ที่เห็นได้ง่าย พร้อ มมีเจ้าหน้าท่ี
ที่สามารถให้รายละเอียดข้อมูลดังกล่าวแก่ผู้มาติดต่อกับแสดงบัญชีมาตรฐานดังกล่าวใน
เวบ็ ไซตข์ องศาลด้วย
3. จดั ให้มีแผนภมู แิ สดงขน้ั ตอนการขอปล่อยชั่วคราว
4. จัดให้มีระบบการประสานข้อมูลในการรับและส่งคำร้องขอปล่อยชั่วคราวระหว่าง
ศาลชั้นตน้ กบั ศาลสูง เพ่ือความรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพ
5. จัดใหม้ ีระบบการแจ้งคำสงั่ คำรอ้ งขอปลอ่ ยช่วั คราวที่รวดเร็วแก่ผปู้ ระกัน
6. จดั ให้มีระบบตดิ ตามคำส่งั คำรอ้ งขอปลอ่ ยชั่วคราว (Tracking) เพอ่ื ผู้ประกนั สามารถติดตาม
คำสั่งเองได้โดยสะดวก
7. มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราว ตลอดจนสถิติต่าง ๆ ต่อสาธารณะ
โดยสมำ่ เสมอ
ดา้ นสถติ แิ ละการประเมินผล
1. มีการเกบ็ ข้อมูลสถิติเก่ยี วกับคำร้องขอปล่อยช่ัวคราวตามแบบทีก่ ำหนดโดยถูกตอ้ ง
2. มีการรวบรวมสถิติข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์เสนอผู้บริหารอย่างน้อย เดือนละ
๑ ครง้ั
3. จัดการประชุมผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อทราบสภาพปัญหาและ
หาแนวทางแก้ไขเปน็ ประจำโดยสม่ำเสมอ อยา่ งน้อย ๒ เดอื น ตอ่ คร้ัง
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 69
แนวทางการปล่อยชั่วคราวตามคำแนะนำของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขยายโอกาสในการ
เข้าถึงสทิ ธทิ ี่จะได้รับการปล่อยชวั่ คราว พ.ศ. 2562
1. คำร้องขอปล่อยช่วั คราว
1.1 คำร้องขอปล่อยชว่ั คราวท่ีไมเ่ สนอหลกั ประกันมาพร้อมกับคำร้อง
1.2 คำรอ้ งขอปล่อยช่วั คราวทีเ่ สนอหลักประกนั พร้อมกับคำร้อง
2. การพจิ ารณาและส่ังคำรอ้ งขอปลอ่ ยช่ัวคราว
การพิจารณาคำร้องขอปล่อยชั่วคราวเป็นไปตามข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหา
หรือจำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 และ
ระเบยี บราชการฝ่ายตุลาการศาลยุตธิ รรมว่าดว้ ยการปล่อยชวั่ คราว พ.ศ. 2548
ทง้ั น้ี เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 29 วรรค 5
ซึ่งบัญญัติว่า “คำขอประกันผู้ต้องหาหรือจำเลยในคดีอาญาต้องได้รับการพิจารณา และจะเรียก
หลกั ประกนั จนเกนิ ควรแก่กรณมี ิได้ การไม่ให้ประกนั ตอ้ งเป็นไปตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ”
การประเมนิ ความเส่ียงอาจทำโดย
1. ให้เจ้าหน้าที่เก็บข้อมูลผู้ต้องหาหรือจำเลย หรือข้อมูลอื่น ๆ ตั้งแต่โอกาสแรกที่บุคคล
เหล่าน้ันมาศาล และรายงานให้ศาลทราบโดยใชแ้ บบประวตั ผิ ตู้ ้องหา/จำเลย (แบบฟอรม์ ศาล)
2. ดำเนินการตามคู่มือสำหรับผู้พิพากษาในการนำร่องปฏิรูปการปล่อยชั่วคราวด้วยระบบ
ประเมนิ ความเสี่ยงและการกำกบั ดูแลในชน้ั ปล่อยชั่วคราวฯ
3. การอนุญาตใหป้ ล่อยชั่วคราวไปพลางก่อน
ในกรณีที่ศาลเห็นควรมีคำสั่งอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยมีประกันและหลักประกัน แต่
หลักประกันไม่เพียงพอหรือไม่อาจเสนอหลักประกันได้ทัน ศาลมีอำนาจให้ปล่อยชั่วคราวไปพลางก่อน
แล้วใหเ้ สนอหลักประกันใหค้ รบภายในเวลาทศี่ าลกำหนด
4. เงื่อนไขและมาตรการที่ศาลอาจกำหนดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติในระหว่างที่ได้รับ
การปล่อยชั่วคราว
การอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวไม่ว่าจะเป็นการปล่อยโดยไม่มีประกัน มีประกัน หรือมีประกัน
และหลักประกัน ศาลมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติหรือใช้มาตรการตาม
พระราชบญั ญัตมิ าตรการกำกับและตดิ ตามจับกุมผหู้ ลบหนีการปลอ่ ยช่วั คราวโดยศาล พ.ศ. 2560
5. การแตง่ ตงั้ ผกู้ ำกบั ดูแลผถู้ กู ปล่อยชัว่ คราว
ตามพระราชบัญญัติมาตรการกำกับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
พ.ศ. 2560 สามารถดำเนินการได้ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยกำหนดเงื่อนไขให้
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 70
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติเพื่อป้องกันการหลบหนีหรือภัยอันตรายหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นตาม
มาตรา 108 วรรคสาม (ป.วิ อาญา)
6. ผลของการไม่ปฏบิ ัติตามเงื่อนไขในการปลอ่ ยชวั่ คราว
หากผู้ถูกปล่อยชั่วคราวทำผิดเงื่อนไขหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรการที่ศาลกำหนด ศาลมีอำนาจ
เพิกถอนคำสงั่ อนญุ าตใหป้ ลอ่ ยชวั่ คราว
ในกรณีที่พบผู้ถูกปล่อยฯ หลบหนี ผู้แจ้งความนำจับและเจ้าหน้าที่ผู้จับมีสิทธิได้รับเงินสินบน
และเงินรางวัลจากศาล ตาม พ.ร.บ. มาตรการกำกับและติดตามฯ พ.ศ. 2560 โดยยื่นคำร้องต่อ
ศาลชั้นต้นท่ีออกหมายปลอ่ ยภายในสามสิบวนั นับแต่วนั ท่สี ง่ ผูต้ อ้ งหาหรอื จำเลยต่อศาล
7. การอา่ นคำสง่ั คำร้องขอให้ปล่อยช่วั คราวในชน้ั อุทธรณห์ รือช้ันฎกี า
เมื่อศาลชั้นต้นได้รับคำสั่งคำร้องให้ปล่อยชั่วคราวในชั้นอุทธรณ์หรือชั้นฎีกา หรือคำร้องอุทธรณ์
คำสั่งศาลชั้นต้นที่ไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว ทางโทรสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ศาลชั้นต้นอ่านคำส่ัง
ดังกล่าวให้จำเลยหรือผู้ร้องขอประกันฟังทันที ทั้งนี้ ให้ดำเนินการตามระเบียบราชการฝ่ายตุลาการ
ศาลยตุ ธิ รรมว่าด้วยการปลอ่ ยชว่ั คราว พ.ศ. 2548
4 ปัญหาและข้อขัดข้องในการใช้งานระบบคดีและการบริหารสำนวนด้วยระบบ
อิเล็กทรอนกิ ส์ (ECRM)
จากการทดลองปฏิบัติงานระบบ ECRM ที่ผ่านมาได้ทดลองใช้เบื้องต้นเริ่มในเดือน เมษายน
2563 ก็พบปัญหาและมีได้รับความช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจากคณะทำงานของศาลใน
จังหวัดขอนแก่น และเริ่มปฏิบัติงานจริงเต็มรูปแบบเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 ยังพบปัญหาติดขัด
อยู่เล็กน้อยแต่เป็นทางด้านเชิงเทคนิค การดำเนินการแก้ไขระบบเสร็จแล้ว สำหรับปัญหาข้อขัดข้องใน
เรื่องปฏิบัติ ผู้ที่จะเกี่ยวข้องจริง ๆ ด้านนี้คือ เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงาน สำหรับวันนี้อยากให้มองเห็น
ภาพรวมแบบคร่าวๆ ของระบบกอ่ น
ระบบดังกล่าวนี้เราจะอ้างอิงการใช้งานตามระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมว่าด้วย
การรายงานคดีสำคัญในศาลชั้นต้นและศาลชั้นอุทธรณ์ต่อประธานศาลฎีกาและการรายงานคดีและการ
ตรวจสำนวนคดีในสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมีวิธีการปฏิบัติงานที่เป็นปกติและ
วิธีการทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ทางสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้มีการประกาศเพิ่มเติมเม่ือ
เดือนทผ่ี า่ นมา (เมษายน 2563)
“ปจั จุบันไดใ้ ชร้ ะบบดงั กล่าวน้ี เพ่อื ดำเนนิ การรายงานคดจี ำนวนรอ้ ยละ 100”
สำหรับภาพรวมการรายงานคดี (ข้อมูล ณ วันที่ 24 พ.ค. 2563) ว่ามีจำนวนคดีอาญา
เขา้ มาในระบบฯ จำนวนเท่าใด ตามรายงานดังนี้
- รายงานคดีเข้ามาในระบบ จำนวน 360 คดี
- มีคำส่ังแลว้ จำนวน 351 คดี
- อยรู่ ะหวา่ งมีคำสั่ง จำนวน 7 คดี
- อยู่ในระหว่างการสง่ สำนวนฯ จำนวน 297 คดี
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 71
ขอ้ มลู คดีอยู่ระหว่างการสง่ สำนวนยงั ไมช่ ัดเจนว่าจะตอ้ งส่งมาตรวจหรอื ไม่ เพราะบางเร่ือง อยู่ท่ี
ผลของคดี อาทิ คดีแพ่งมีการฟ้องเข้ามาแล้ว และอยู่ในข่ายที่จะต้องส่งสำนวนฯ แต่ในกรณีที่ทำยอม
หรอื ถอนฟ้องกรณนี ี้ตอ้ งสง่ สำนวนฯ เขา้ มายงั สำนักงานอธิบดีผูพ้ พิ ากษาภาค 4
นอกจากเรื่องการตรวจสำนวนฯ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ระบบของเรายังเพิ่มเติมเรื่อง
การรายงานของศาลสูง คือ คดีในชั้นศาลอุทธรณ์ ในระบบปกติของศาลอุทธรณ์จะถือว่าเป็นที่สุด
โดยเฉพาะคดียาเสพติดกับคดีในชั้นฎีกา ซึ่งจะได้กล่าวถึงในช่วงท้ายที่ส่วนที่เก่ียวข้องกับการรายงาน
ของศาลสูง ซึ่งเมื่อมีการระบบดังกล่าวนี้ ผู้ที่ได้ข้อมูลของระบบจะเห็นแนวคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์
ภาค 4 หรือฎกี าว่าเปน็ เช่นใด
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 72
ครง้ั ท่ี 4/๒๕63
วันศุกรท์ ี่ 24 กรกฎาคม 2563
ณ ห้องประชมุ ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวัดขอนแก่น ชน้ั ๑
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวดั ขอนแกน่
ระเบยี บวาระที่ 3 เรอ่ื งเพื่อพจิ ารณา
1. การกำหนดโทษและรอการโทษ
การยกร่างคำพิพากษานั้นคือการกำหนดโทษซึ่งดูน่าจะไม่มีปัญหาอะไรแต่ก็มีปัญหาได้ เราจะ
เห็นได้ว่ากฎหมายกำหนดโทษ เช่น ลักทรัพย์จำคุกไม่เกิน 3 ปี ฆ่าผู้อื่นประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต
จำคุก 15 ปีถึง 20 ปี แล้วเราจะลงเท่าไรดีก็ต้องมีบัญชีมาตรฐานการลงโทษ เกี่ยวกับคดีชำเราเด็กน้ัน
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 ก็มีว่าโดยเด็กจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม ยินยอมหรือไม่ยินยอมเรา
จะลงโทษเท่ากัน โดยไม่ได้ให้ความสำคัญวา่ จะยินยอมหรือไม่ยินยอมก็ตามอย่างนี้เราลงโทษเท่ากันหรือ
อย่างไร เราจะต้องกำหนดโทษให้เหมาะสมก่อน ส่วนอย่างอื่นที่เขาได้ประโยชน์ก็ค่อยว่ากันอีกที ตาม
สทิ ธิท่ีเขามี โดยสรปุ ถา้ คดีหลายๆกระทงการกำหนดโทษเราต้องมองภาพรวมด้วยและอาจลงข้นั ต่ำ
2. ข้อสังเกตจากการตรวจราชการและผลการประเมินการปฏิบัติราชการของศาลในเขต
อำนาจอธิบดีผพู้ ิพากษาภาค 4 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (รอบที่ 1)
ข้อมูลท่ีใช้ตรวจจะเป็น 2 ส่วนคือข้อมูลทางบุคลากรกับข้อมูลทางธุรการ ข้อมูลแรกคือ
ข้อมูลตุลาการเป็นข้อมูลในเชิงความสำเร็จของคดี ข้อมูลความสำเร็จในการนำพยานมาเบิกความ
ความสำเรจ็ ในการจดั การคดที ่ีจำเลยขงั ให้เสร็จภายใน 6 เดือน จะเปน็ หลักๆ ในการประเมิน
เวลาประเมินจะมีการให้คะแนนมี 4 ระดับ ในส่วนของภาคเราได้ 4.25 ขึ้นไปนี้ถือว่าเยี่ยม
ทกุ ศาล
ในส่วนข้อมูลทางคดีจะมีปัญหาเล็กน้อยคือในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคมเรามีภาวะ
โควิดระบาดทำให้หลายศาลเลื่อนคดีออกไปหมดเลยมีเป็นบางศาลเท่านั้นที่เห็นกลไกระบบการประเมิน
บ้าง เห็นว่าถ้าพอทำได้ก็ทำก็จะทำไปก็ทำในส่วนที่ทำได้ ในส่วนที่ค้างก็จะหนักน้อยกว่าศาลอื่น ในการ
ประเมินรอบต่อไปในเชิงคดมี ันมีขอ้ พิจารณา ข้อแรกคือ 3 เดือนที่จะถึงนีเ้ ราจะหนักกว่า 9 เดือนท่ผี ่าน
มา หนักกว่าทีนี้จะหนักจะเบาเพียงใดปัจจัยแรกที่ทำให้ท่านพิจารณาก็คือว่าช่วงต้นเดือนกรกฎาคม
คดีทำสำเรจ็ ไปเยอะ ถา้ สำเร็จไปมากคดเี ท่าที่ค้างมากจ็ ะเบา
อีกปัจจัยหนึ่งที่เปน็ ตัวชี้ซึ่งท่านผูพ้ ิพากษาปกติที่ไม่รู้ทราบว่าเขาประเมินเดือนกนั ยายน ข้อนี้คือ
การเลื่อนคดีหลังเดือนกันยายนจำนวนมาก ข้อสำคัญก็คือว่า ช่วงต่อไปนี้จนถึงกันยายนการเลื่อนคดี
ถ้าไม่จำเป็นอย่าเลือ่ น หากจำเป็นต้องเลือ่ นขอให้เลื่อนอยู่ในช่วงเดือนกันยายนเพือ่ ความสำเร็จของท่าน
มันอาจจะอยู่ในช่วงที่เขาประเมินอยู่ ข้อพิจารณาต่อไปคดีที่ฟ้องใหม่ถ้าเป็นไปได้ให้อยู่ในเดือนกันยายน
เพราะถ้าท่านนัดคดีนัดแรกไปหลังกันยายนสิ่งที่เกิดขึ้นคือคดีค้างทันทีในวันรับฟ้อง เพราะฉะนั้นถ้า
สมมุติว่านัดกันไปแลว้ ถ้าจัดการกลับมาได้ก็จัดการ แต่ถ้ามีความจำเป็นจัดการไม่ได้มันก็เปน็ เร่ืองเหตผุ ล
ความจำเป็นอืน่ เราไม่วา่ กัน แต่ว่าในเชิงประเมินสถติ มิ ันคอื คดีค้าง
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 73
ขอเพิ่มเติมระบบ ECRM ศาลสามารถเข้าไปดูคำพิพากษาศาลสูงที่ถึงที่สุดแล้วของทั้งภาคได้
เลยท่านสามารถเช็คว่าคดีแบบเดียวกับท่านแนวคำพิพากษาของศาลสูงในที่เกี่ยวข้องในภาคเราเขา
ตัดสินอย่างไร ส่วนนี้เกิดขึ้นได้เนื่องจากเรามีระเบียบรายงานคดีในกรณีคดีที่ตามกฎหมายถึงที่สุดคดี
ของศาลสูงไม่ว่าจะเป็นศาลฎีกา หรือศาลอุทธรณ์โดยส่วนศาลอุทธรณ์ก็เป็นคดีผู้บริโภค คดียาเสพติด
ซึ่งศาลต้องส่งสำเนาคำพิพากษามาที่ภาคเพื่อภาคจะรวบรวมประชาสัมพันธ์กระจายแก่ศาลใ นภาค
แต่พอใชร้ ะบบนี้ ไมต่ ้องส่งสำเนาทเ่ี ปน็ กระดาษมา แตว่ า่ ให้เจ้าหน้าท่ีทร่ี ับผิดชอบสแกนคำพิพากษาแล้ว
ส่งเข้ามาในระบบพอเข้ามาแล้วตรวจสอบเรียบร้อยทั้งภาค เราสามารถที่จะใช้เป็นข้อมูลในการศึกษา
แนวคำวินิจฉัยได้แต่ว่าหลายศาลที่เราไปคุยตรงนี้ถ้าหากไม่มีคำสั่งมอบหมายงานที่ชัดเจนเจ้าหน้าที่เขา
จะโยนกันไปโยนกนั มาโดยเฉพาะรายงานคำพพิ ากษาศาลสูงจะเปน็ การโยนระหว่างงานอุทธรณ์ฎีกางาน
หนา้ บลั ลงั กก์ ับงานสารบรรณ แต่ศาลท่ีเราไปตรวจหลายศาลท่านผูอ้ ำนวยการมคี ำส่ังชัดเจนว่างานน้ีใคร
เป็นคนดำเนินการแต่ก่อนมอบหมายก็มีการคุยกันก่อนว่าส่วนไหนงานมากน้อยขนาดไหนถ้ามีคำสั่งท่ี
ชัดเจนสามารถตัดปัญหาได้เลย ในส่วนของข้อสังเกตก็มีประมาณนี้ขอเอาใจช่วยในการประเมินร่าง
ถดั ไป
กรณีที่หัวหน้าศาลทำความเห็นสนับสนุนร่าง ขอให้ดูด้วยว่าท้ายฟ้องโจทก์ขอมากี่ข้อ แล้วร่าง
วินิจฉัยครบหรือไม่ เช่น คดีฟ้องขับไล่ให้รื้อถอนรั้วออกไปและขอเรียกค่าเสียหาย โดยการรื้อถอนถ้า
จำเลยไม่รื้อโจทก์จะรื้อเองโดยคิดค่าใช้จ่ายกับจำเลย ร่างวินิจฉัยแค่ประเด็นเดียว คือ ประเด็นบุกรุกส่วน
คำขออื่นไม่วินิจฉัยให้โจทก์ ซึ่งในส่วนคำขอให้รื้อถอนเป็นเรื่องในการบังคับคดีที่ได้บัญญัติไว้อยู่แล้วจึงไม่
ตอ้ งมีคำพิพากษาในสว่ นน้ี คำขอในส่วนน้ตี อ้ งวินิจฉยั ให้ยก หวั หนา้ ศาลต้องดูข้อกฎหมายในส่วนนด้ี ว้ ย
3. การยกระดับมาตรฐานการพิจารณาพิพากษาคดี เพื่อให้ความยุติธรรมเป็นที่ประจักษ์
ตามนโยบายประธานศาลฎีกา ขอ้ ที่ 2
การยกมาตรฐานคุณภาพคำพิพากษา การกำหนดกรอบระยะเวลาที่เหมาะสมในการพิจารณา
คดี ปัญหาขณะนี้ก็คือผู้บริโภค เนื่องจากปริมาณคดีขึ้นสู่ศาลเป็นจำนวนมาก อีกทั้งคดีต้องแล้วเสร็จ
ภายใน ๖ เดอื น และการประเมินชีว้ ัดความสำเร็จในพันธกิจของศาล
สำหรับการบริหารคดีผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล นั้น ต้องนำเทคโนโลยีมาใช้
ประกอบและจะต้องทำงานในเชิงรุก เน่อื งจากมีปริมาณขึ้นสศู่ าลเป็นจำนวนมาก ซึ่งทราบวา่ ผู้พพิ ากษา
หัวศาลแขวงขอนแก่น(ทา่ นรพีพงศ์ ช่วยประทิว) ได้จ่ายสำนวนคดผี ้บู รโิ ภคดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะ
ทำให้จ่ายสำนวนแล้วเสร็จอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเป็นการจ่ายสำนวนในประเภทเดียวกันให้องค์คณะ
เดียวกัน เพื่อความสะดวกในการเขียนคำพิพากษารวมทัง้ คู่ความไม่ได้เคลื่อนยา้ ยห้องพจิ ารณา และควร
มีการประชุมยกร่างฯคดีประเภทเดียวกันล่วงหน้า ค้นคว้าคำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะทำให้
การเขียนคำพพิ ากษาน้นั ตัดสนิ ไปในแนวเดียวกนั มีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล การส่งหมายฯ ควรให้
มีผลทันที นอกจากนี้ท่านหัวหน้าศาลและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต้องช่วยกันติดตามการฟ้องคดีผู้บริโภค
อย่างสม่ำเสมอว่ารับฟ้องไปแล้ว มีปริมาณคดีเท่าไร ตรวจวันนัด นัดไปถึงไหน ดังนั้นท่านหัวหน้าศาล
ต้องติดตามกำกับอยู่ตลอดเวลา ต้องสานพลังทั้งศาล เพื่อให้คดีผู้บริโภคแล้วเสร็จตามกรอบระยะเวลา
อย่างมีประสิทธิภาพประสทิ ธิผล
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 74
สำหรับคดีอาญาเวรชี้ ในคดีประเภทไม่ค่อยพบบ่อย เป็นต้นว่า คดีป่าไม้ คดีศุลกากร คดี
เกี่ยวกับการควบคุมอาคาร ควรศึกษากฎหมายเรื่องนั้น ๆ ค้นคว้าคำพิพากษาฎีกา ที่เกี่ยวข้องล่วงหน้า
ศึกษาบัญชีโทษ รวมทั้งยกร่างฯ ล่วงหน้า ซึ่งเป็นการทำงานในเชิงรุก ส่งผลให้การเขียนคำพิพากษาได้
สะดวกและมีประสิทธิภาพจะไม่ถูกแก้จากศาลสูง นอกจากนี้ ควรสังเกตคำพิพากษาศาลฎีกาด้วยว่า
มีวงเล็บที่ถูกเป็นอย่างไร เพื่อนำมาปรับปรุงการเขียนคำพิพากษาในครั้งต่อไป ถ้าเป็นไปได้หากมีการ
ประสานงานกับอัยการขอให้เขาส่งข้อมูลคำฟ้องล่วงหน้า เพราะว่าท่านผู้พิพากษาท่านจะได้ศึกษา
สำนวนเตรียมตัวไว้ล่วงหน้า นอกจากนี้ คดีอยู่ในศาลแขวงให้ระวังการย้อนสำนวนจากศาลสูง เช่น
ไม่สอบเรื่องทนายความ ซึ่งเป็นคดีเช็ค กล่าวคือผู้พิพากษาท่านหนึ่งไต่สวนมูลฟ้องแล้วคดีมีมูล จำเลย
หลบหนี ศาลจำหน่ายคดีชั่วคราว ต่อมาจับจำเลยได้ ผู้พิพากษาท่านที่ไต่สวนมูลฟ้องย้ายแล้ว จำเลยให้
การรับสารภาพ แต่ผู้พิพากษาย้ายมาใหม่ไม่ได้สอบเรื่องทนาย ตัดสินคดีไปเลย หากคู่ความอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์ต้องย้อนสำนวนอย่างเดียวจะทำให้คู่ความเสียเวลา ข้อสังเกตเกี่ยวความผิดตามพระราช
บัญญตั ปิ า่ สงวนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ มาตรา ๒๖/๔ , ๒๖/๕ ท่แี ก้ไขใหม่ บญั ญัติใหพ้ นกั งานอัยการเม่ือ
ฟ้องคดีอาญาแล้ว ให้เรียกค่าเสียหายในคราวเดียวกัน เกี่ยวกับค่าเสียหาย เมื่อจำเลยรับสารภาพแล้ว
ศาลชั้นต้นต้องสอบจำเลยว่าในคดีแพ่งจะให้การอย่างไร และพนักการอัยการต้องสืบพยานด้วยเกี่ยวกับ
เรื่องค่าเสียหายถึงจะตัดสินได้ ถ้าจะตัดสินอย่างคดีทั่วไปกล่าวคือเมื่อจำเลยรับสารภาพแล้วตัดสินท้ัง
คดีอาญาและคดีแพ่ง หากคู่ความอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์ย้อนสำนวนให้ศาลชั้นต้นดำเนินคดี ในส่วนแพ่ง
ใหม่ ตามคำพพิ ากษาศาลฎกี าท่ี ๓๙๖๙/๒๕๖๑
จากการที่ได้ตรวจร่างฯความผิดเกี่ยวกับชีวิต พบว่าการเขียนทางสืบบางครั้งคัดลอกคำเบิก
ความมาเลย อย่างนี้ทำให้คำพิพากษาไม่สวยงาม ที่ถูกต้องควรสรุปเหตุการณ์สั้นๆสาระสำคัญตั้งแต่ต้น
จบ โดยใช้ภาษาทางราชการ ต่อไปเกี่ยวกับการเขียน “พิเคราะห์แล้ว...” ไม่ว่าจำเลยจะปฏิเสธหรือรับ
สารภาพก็ตาม ควรมีข้อความว่า “พิเคราะห์แลว้ ข้อเท็จจรงิ เบื้องต้นรับฟังไดว้ ่า........” เช่น คำพิพากษา
ศาลฎีกาที่ ๗๑๔๔/๒๕๔๕ เป็นต้น การเขียนต่อไปหากเป็นข้อหาที่ไม่ต้องสืบพยานโจทก์ประกอบคำรับ
สารภาพ เช่น ข้อหามีและพาอาวุธปืนฯ ข้อหานี้ไม่ต้องใช้ “ปัญหาที่ต้องวินิจฉัย” นำหน้าเนื่องจากไม่ใช่
ปัญหาที่ต้องวินิจฉัย ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๐๖๓/๒๕๖๐ ต่อไปจึงใช้ปัญหาที่ต้องวินิจฉัยเพราะ
เป็นปญั หาที่ต้องวนิ จิ ฉยั จรงิ
สำหรับ “ปัญหาที่ต้องวินิจฉัย” ซึ่งเป็นในช่วงที่กล่าวถึงโจทก์ว่ามีพยานผู้ใดบ้าง ควรเขียน
เฉพาะพยานโจทก์ปากที่สำคัญเท่านั้น ที่ตรวจพบคือเขียนพยานโจทก์ครบทุกปาก บางครั้งพบเขียน
พยานโจทก์ทุกปากและยังเขียนพยานจำเลยทุกปากแล้วจึงวินิจฉัย (เห็นว่า) บางครั้งพบช่วงวินิจฉัยโดย
หยิบยกวินิจฉัยพยานจำเลยก่อน ทางภาคฯก็ต้องมีการปรับแก้เพราะว่าคดีอาญาโจทก์มีหน้าที่นำสืบ
และเราต้องวินิจฉัยพยานโจทก์ก่อน ถ้าวินิจฉัยพยานโจทก์รับฟังได้ ก็ค่อยวินิจฉัยพยานจำเลยว่ารับฟัง
ไม่ได้เพราะอะไร เช่น คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๘๕๗/๒๕๕๐ เป็นต้น แต่ถ้าพยานโจทก์รับฟังไม่ได้เสีย
แล้ว ก็ไมจ่ ำต้องวนิ ิจฉยั พยานจำเลยอีก ตอ่ ไปเกีย่ วกบั การใหเ้ หตผุ ลในคำพพิ ากษา ช่วงนี้ถือว่าเป็นหัวใจ
ของคำพิพากษาก็ว่าได้ เพราะเป็นการถ่ายทอดเหตุผลของความยตุ ิธรรมจากผู้พิพากษาทีต่ ดั สินคดีไปยัง
คู่ความ ประชาชนและสังคม ก็อยากให้ช่วยกันดูช่วยกันคิดวิเคราะห์ ดังนั้นเหตุผลในการวินิจฉัยต้องมี
หลักเกณฑ์ที่แน่นอนเปน็ ที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป สำหรับเหตุผลแห่งคำวินิจฉัยอันเป็นที่ยอมรบั กต็ ้องดู
จากคำพิพากษาศาลฎีกาที่เคยให้เหตุผลไว้ หากให้เหตุผลตัดสินยังไม่ชัดเจน ผลท่ีตามมาก็คือคู่ความ
อาจจะไม่รู้ว่าจะอุทธรณ์คำพิพากษาอย่างไร และเมื่อคดีขึ้นสู่ศาลอุทธรณ์แล้ว ศาลอุทธรณ์จะตรวจดู
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 75
เหตุผลคำพิพากษาศาลชั้นต้น ตรวจเหตุผลของผู้อุทธรณ์ ตรงนี้ศาลอุทธรณ์จะเห็นฝีมือของผู้พิพากษา
ศาลชั้นต้น และเห็นฝีมือของผู้อุทธรณ์เช่นกัน นอกจากนี้เหตุผลการตัดสินต้องหลีกเลี่ยงการใช้คำซ้ำ
วกวน ข้อความควรส้นั กระชับไม่ยาวเกนิ ไป
ความผิดเกี่ยวกับชีวิตส่วนมากผู้กระทำผิดจะเป็นผู้มีวิถชี วี ิตในชนบท ได้ทนายขอแรง ซึ่งบางคดี
ก็ไม่ต้องการทนาย ขอยกตัวอย่างคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๐๙/๒๕๔๘ เป็นเรื่องที่พนักงานอัยการฟ้อง
ว่าจำเลยฐานฆ่าบุพการี จำเลยให้การปฏิเสธ คดีนี้ศาลชั้นต้นตัดสินประหารชีวิต ครั้นคดีขึ้นสู่ศาลฎีกา
ศาลฎีกาวินจิ ฉยั ว่าขณะจำเลยกระทำผดิ เป็นโรคจิต คงจำคุกสทุ ธเิ พยี ง ๔ ปี คดีนีศ้ าลชัน้ ตน้ ไม่ได้หยิบยก
วินิจฉัยเรื่องจำเลยเป็นโรคจิตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๕ คนในภาคอีสานเขาจะยอมรับ
กรรมอย่างง่าย ๆ คือเขาไม่ค่อยเข้าใจในกฎหมาย ก็ต้องหวังพึ่งท่านผู้พิพากษาช่วยกลั่นกรองโดยการ
ตดั สนิ ใหเ้ กิดความเปน็ ธรรม ถูกต้อง ซึง่ เป็นไปตามนโยบายทา่ นประธานศาลฎีกา
คดีที่พบบ่อยกรณีที่จำเลยใช้ปืน ส่วนมากจะเป็นปืนแก๊ป ถ้ายิงในระยะใกล้กระสุนจะทำให้
ผิวหนังถลอก กรณีนี้เป็นความผิดฐานพยายามอย่างเป็นไม่ได้อย่างแน่แท้ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 81 ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๒๔๙/๒๕๕๔ แต่ถ้าลงโทษฐานพยายามกระทำความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 80 ตามคำฟ้องโจทก์ การลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
๘๐ หรือ ๘๑ โทษที่จำเลยได้รับจะแตกต่างกัน และอีกกรณีหนึ่งที่พบบ่อย คือ ปืนเถื่อนไม่มีหมายเลข
ทะเบียนแต่ยึดปืนของกลางไม่ได้ เมื่อมีการสืบพยานโจทก์แล้ว ต้องฟังเป็นคุณแก่จำเลยว่าเป็นปืนมี
ทะเบียนของผู้อื่นตามพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯ มาตรา ๗๒ วรรคสาม ความผิดลักษณะนี้ถ้าฟ้องเกิน
๑๐ ปี อายุความจะขาด เป็นไปตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๔๔๓/๒๕๕๔ นอกจากนี้หากเป็นคดีท่ี
โจทกฟ์ ้องข้อหาหรือฐานความผดิ ภายในอายุความ แต่ทางพจิ ารณาได้ความว่า ข้อหาหรือฐานความผิดที่
โจทก์ฟ้องนนั้ ขาดอายุความ ตอ้ งถอื ว่าคดโี จทกข์ าดอายุความตามคำพิพากษาศาลฎกี าที่ 5494/2534
เรื่องพยายามฆ่าโดยใช้อาวุธปืนสงคราม ต้องลงโทษตามพระราชบัญญัติอาวุธปืนฯมาตรา ๗๘
วรรคสาม ซึ่งมีอัตราโทษจำคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต โทษหนักกว่าฐานพยายามฆ่าตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘ ประกอบมาตรา ๘๐ ตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๑๖๓/๒๕๕๕ นอกจาก
นี้ความผิดเกี่ยวกับชีวิตลักษณะการฆ่าโดยไตร่ตรองไว้ก่อน แม้จำเลยจะรับสารภาพก็ตาม ขอให้ช่วยกัน
วิเคราะหว์ า่ เป็นการฆา่ โดยไตร่ตรองหรอื ไม่ เพราะโทษหนกั ในเร่อื งนีข้ อใหศ้ กึ ษาคำพพิ ากษาศาลฎีกาว่า
การกระทำลกั ษณะใดเปน็ การไตรต่ รองหรือไม่ใช่การไตรต่ รอง
การกระทำความผิดเป็นกรรมเดียวหรือหลายกรรมให้ช่วยกันดู เพราะหากวินิจฉัยคลาดเคลื่อน
ศาลสูงจะแก้คำพิพากษา นอกจากนี้เพื่อความสะดวกในการเขียนคำพิพากษาควรศึกษาคำพิพากษา
ศาลฎีกาล่วงหน้าว่าศาลฎีกาวางหลักการวินิจฉัยอย่างไร โดยแบ่งประเภทลักษณะเป็นหมวดหมู่ดังน้ี
แนววินิจฉัยเป็นการกระทำโดยป้องกัน จำเป็น ป้องกันจำเป็นเกินสมควร บันดาลโทสะ ตัวการ พยาน
เดี่ยวลงโทษได้ ลงโทษไม่ได้ พยานคู่ลงโทษได้ ลงโทษไม่ได้ ไม่มีประจักษ์พยานลงโทษได้ ลงโทษไม่ได้
สำหรับคดีที่ไม่มีประจักษ์พยานลงโทษได้นั้น มีคำพิพากษาศาลฎีกาที่น่าสนใจ คือ คำพิพากษาศาลฎีกา
ที่ 1325/2542 และ 5953/2543 (ไม่ได้ลงพิมพ์) พยานกลับคำให้การในชั้นสอบสวนลงโทษได้
ลงโทษไม่ได้ เหตุเกิดกลางวัน-กลางคืนลงโทษได้ ลงโทษไม่ได้คำพยานซัดทอดลงโทษได้ ลงโทษไม่ได้
สำหรับคำพยานซัดทอดรับฟังลงโทษได้มีคำพิพากษาศาลฎีกาจะน่าสนใจได้ตัดสินไว้ คือ คำพิพากษา
ศาลฎีกาที่ ๘๑๙๒/๒๕๖๑, ๑๑๕๓๐/๒๕๕๕ และ ๑๒๑๔/๒๕๕๕ ส่วนคำพยานซัดทอดรับฟังลงโทษ
ไมไ่ ด้ คอื คำพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๒๑๐๘/๒๕๖๒, ๙๑๗/๒๕๕๔ และ ๔๑๑๕/๒๕๕๑ เป็นต้น
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 76
ช่วงพิพากษาว่า ก่อนเขียนขอให้ค้นคำพิพากษาศาลฎีกาว่าเขียนอย่างไร ศึกษาคู่มือวิธีพิจารณา
คดียาเสพติดประกอบ ตรวจสอบว่าเพิ่มโทษแล้วหรือยัง บวกโทษ นับโทษต่อ ลดโทษ รวมโทษถูกต้อง
หรือไม่ ของกลางริบหรือไม่ ลงโทษสูง-ต่ำกว่ากฎหมายหรือไม่ ลงโทษตามบัญชีโทษหรือไม่ สำหรับ
ความผิดเกี่ยวกับชวี ติ ไม่มบี ัญชโี ทษเป็นดุลพินิจ ควรวิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีเป็นเกณฑ์ในการลงโทษ
เช่น ผู้เสียหายหรือผู้ตายมีส่วนกระทำผิดหรือไม่ ยิงถูก ยิงไม่ถูก ถูกอวัยวะสำคัญ พิการตลอดชีวิต เป็น
ต้น นอกจากนี้ยังมีข้อสังเกตเกี่ยวกับร่างคำพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑ เช่น การยอมความในคดีแพ่ง ต้องพิพากษาตามยอม
พร้อมกับคดีอาญา คำร้องขอได้เรียกดอกเบี้ยหรือไม่ หากไม่ขอ จะกำหนดดอกเบี้ยให้ไม่ได้ หากขอต้อง
ดูต่อไปว่าขอเรียกดอกเบี้ยตั้งแต่วันไหน จำเลยหรือผู้เสียหายจะเรียกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็นจำเลย
ร่วมไม่ได้ ช่วงวินิจฉัยคดีอาญาควรใช้ “ผู้เสียหาย” ช่วงวินิจฉัยคดีแพ่งให้ย่อหน้า ควรใช้ “ผู้ร้อง” หาก
ผู้เสียหายขอเป็นโจทก์ร่วมด้วย ควรใช้ “โจทก์ร่วม” ทั้งหมด ต้องสั่งค่าฤชาธรรมเนียมทุกครั้ง ส่วนมาก
นิยมสั่งให้ค่าฤชาธรรมเนียมเป็นพับ คำพิพากษาคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๔๔/๑ ควรศึกษาคำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๙๗๘/๒๕๖๒ และ ๕๗๖๐/
๒๕๖๑ ประกอบการเขียนคำพิพากษา
ก่อนเขียนคำพิพากษาควรศึกษาสำนวนให้ละเอียด ศึกษาข้อกฎหมาย คำพิพากษาศาลฎีกา
และตำรากฎหมายที่เกี่ยวข้อง ศึกษาคู่มือตุลาการ รวมทั้งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
๒๕๕๕ ก่อนส่งร่างคำพิพากษามาภาคฯควรตรวจทานด้านภาษา เนื้อหา เหตุผลเพื่อความสมบูรณ์
ถูกต้อง ตรวจสอบพยาน องค์คณะลงชื่อครบหรือไม่ ที่สำคัญต้องส่งภายใน ๑๕ วันทำการเพื่อให้ภาคฯ
มีเวลาตรวจ เมื่ออ่านคำพิพากษาแล้วให้ตรวจพิสูจน์อักษรอีกครัง้ และส่งสำเนาร่างคำพิพากษาคืนภาคฯ
พร้อมข้อความที่ภาคฯปรับแก้ภายในเวลาที่กำหนด สำหรับรูปแบบร่างคำพิพากษาที่ส่งภาคฯ ควรเว้น
ระยะด้านขวาด้านซ้ายให้เท่ากัน ระยะเว้นบรรทัดใช้ขนาด “๒” ตัวหนังสือใช้ “ไทยสารบัญขนาด ๑๗”
รูปครุฑไม่น่ามี เนื่องจากให้มีพื้นที่ที่วางในร่างคำพิพากษาเพื่อให้หัวหน้าภาคฯ และรองอธิบดีฯ ได้
ปรับแก้
เรื่องรอการลงโทษ มาตรา 56 ที่บอกมีอยู่ 2 ฝ่ายให้ดูประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 94
ความผิดอันกระทำโดยประมาทความผิดลหโุ ทษไม่ถือว่าเป็นความผิดเพ่ือการเพิม่ โทษ ทางฝ่ายที่บอกวา่
ผมไมใ่ ชเ้ ง่อื นไขใหมเ่ พราะวา่ กฎหมายเดมิ ยังบอกเลยว่าความผิดลหโุ ทษความผดิ ประมาทเท่าน้ันที่พอจะ
รอการลงโทษได้ เพราะฉะนั้นก็จะไม่ทำ ไม่ใช้เหตุผลมีกันมากมาย ยกทฤษฎีกันในวันนั้นทั้ง 2 ฝ่าย
โดยสรปุ ท่านหัวหนา้ ก็พจิ ารณาเอาเองถ้าท่านใช้มนั ก็ไมผ่ ิดกฎหมาย แต่มันสมควรหรือไหมกอ็ ีกเร่ืองหนึ่ง
เพราะว่าฎีกาที่ 5688/2562 จำเลยไม่เข็ดหลาบศาลฎีกาไม่รอการลงโทษ และมีฎีกาหนึ่งที่อยากจะ
พูดในระยะเวลาสั้น ฎีกาที่ 801/2562 เป็นข้าราชการเบียดบังเงินทางราชการไปนับแสนบาท จำเลย
ปฏิเสธ คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยตามฎีกาของจำเลยทั้ง 2 ว่า มีเหตุสมควรรอการลงโทษหรือไม่ เหตุผล
ของศาลฎีกา เห็นว่าแม้จำเลยทั้ง 2 จะอายุมาก และเคยทำคุณงามความดีมามากไม่เคยกระทำผิดมา
ก่อนแต่จำเลยทั้ง 2 อาศัยช่องว่าง กฎ ระเบียบ เบียดบังเงินไปนับแสนบาท หากรอการลงโทษจะเป็น
ตัวอย่างให้เจ้าพนักงานของรัฐไม่เกรงกลัวต่อกฎหมายบ้านเมืองที่ศาลล่างทั้ง 2 ไม่รอการลงโทษต้อง
ด้วยความเห็นของศาลฎีกา แต่อย่างไรก็ตามจากการนำสืบของจำเลยทั้ง 2 เป็นประโยชน์และทาง
ราชการได้รับเงินทั้งหมดกลับคืนมาแล้วประกอบกับจำเลยทั้ง 2 เคยทำคุณงามความดีมามาก ถึงแม้จะ
ปฏิเสธกล็ ดโทษใหก้ ่ึงหน่ึง
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 77
การดำเนินงานตามนโยบายประธานศาลฎีกาในด้านการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
ศาลในสังกัดสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 สามารถดำเนินการได้ครบถ้วนทุกด้าน ก็ขอชื่นชมท่าน
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลไว้ ณ โอกาสนี้ จากการตรวจราชการศาลในสังกัดสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 4 ทผ่ี ่านมาอยากจะฝากขอสงั เกต
1. หลายศาลยังมีปัญหาเกี่ยวกับงบกระทบยอดเงินฝากธนาคารไม่ว่าจะเป็นรายการผล
รายงานกลั่นกรองการตรวจสอบ รายการเช็คค้างเกินที่ยังไม่นำส่งรายได้แผ่นดินและรายการรับลงเงิน
ผ่านระบบ corporate online ที่ยังไม่บันทึกบัญชี รวมถึงรายการและข้อผิดพลาดที่ต้องปรับปรุงบัญชี
ให้ถูกต้อง จึงอยากขอให้ท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลช่วยตรวจสอบและเร่งดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง
โดยเรว็
2. รายงานการเงินประจำเดือนบางศาลไม่ได้ทำรายงานท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลทุก
เดือนแต่มีรายงานเฉพาะที่ภาคเป็นรายไตรมาสเพราะฉะนั้นเวลาที่ทางหน่วยงานเข้าไปตรวจสอบ กว่า
จะพบเจอขอ้ มูลอาจเสยี เวลาจึงขอให้ท่านช่วยตรวจสอบและทำการจัดทำรายงานประจำเดือนให้ถูกต้อง
ครบถว้ นทนั เวลาทก่ี ำหนดสามารถดูระเบยี บไดท้ ่ี หนงั สือเวยี นดว่ นทสี่ ดุ ที่ ศย012/ว190 (ป) ลงวันท่ี
27 ธันวาคม 2561 และในช่วยเดือนกรกฎาคมก็เป็นช่วงไตรมาสสุดท้ายใกล้สิ้นปีงบประมาณก็ขอให้
ท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลช่วยตรวจสอบทะเบียนคุมเงินงบประมาณทุกครั้งที่ ท่านอนุมัติเบิกจ่ายว่า
เบิกจ่ายถูกต้องถูกครบและถูกกจิ กรรมหรือไหม รวมท้งั ตรวจสอบด้วยว่าวงเงินงบประมาณท่ีได้รับไปน้ัน
เพียงพอต่อการเบิกจ่ายหรือไหมหากไม่เพียงพอศาลต้องรีบดำเนินการจัดทำคำของบประมาณเพิ่มเติม
ไตรมาส 4 คือช่วงระหว่าง 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 กันยายน 2563 มายังภาคภายในวันที่ 5
สิงหาคม 2563 ทั้งนี้หากทะเบียนคุมเงินงบประมาณไม่ถูกต้องจะส่งผลต่อการจัดทำรายงานการเงิน
งบประมาณเบิกจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ที่ศาลต้องรายงานภายในวันที่ 30 กันยายน
2563
เรือ่ งทางด้านธุรการมขี ้อขัดขอ้ งโดยเฉพาะเรือ่ งระเบยี บ ดังน้ี
1. เร่อื งการใช้รถ ซง่ึ ไมช่ ดั เจนว่าหัวหน้าศาลได้ใช้รถต้ไู ดห้ รือไม่
2. หัวหน้าศาลมีรถประจำตำแหน่งแล้วไม่สามารถที่จะใช้คนขับรถของศาลมาขับรถประจำ
ตำแหน่งเพ่อื มาทำงาน อยา่ งนท้ี ำไดห้ รือไม่
ตอบข้อหารือประเด็นแรก กรณีผู้มีสิทธิได้รับรถประจำตำแหน่งและเลือกรับเงินค่าตอบแทน
เหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจำตำแหน่ง ห้ามมิให้นำรถยนต์ส่วนกลางหรือรถประจำตำแหน่งมาใช้ใน
การปฏิบัติราชการเสมือนเป็นรถประจำตำแหน่ง หรือนำมาใช้ในกรณีเดินทางเพื่อปฏิบัติราชการใน
หน้าที่ปกติประจำของข้าราชการผู้มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนเหมาจ่ายฯ เช่น การเดินทางเพื่อเข้าร่วม
ประชุมกับส่วนราชการต่าง ๆ เว้นแต่ เป็นการเดินทางโดยได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการชั่วคราวซึ่ง
ได้รับอนุมัติตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการใน
ราชอาณาจักรของข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมพ.ศ. 2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ประกอบกับ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการและการจัดการประชุมของทาง
ราชการ พ.ศ. 2524 และที่แก้ไขเพิ่มเติม บุคคลดังกล่าวมีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางตาม
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมทั้งมีสิทธิขอ
อนุมัติใช้รถยนต์ของส่วนราชการเป็นพาหนะในการเดินทางไปราชการได้ ดังนั้น ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 78
ที่อยู่ในเขตอำนาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ได้ขออนุมัติเดินทางไปราชการต่ออธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 4 เพื่อเข้าร่วมประชุมคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจำภาค 4 โดยใช้รถยนต์ตู้
(ส่วนกลาง) ทา่ นอธิบดผี พู้ ิพากษาภาค 4 อนุมตั ิ ท่านผพู้ ิพากษาหวั หนา้ ศาล ใชร้ ถยนตต์ (ู้ สว่ นกลาง) ได้
ประเด็นที่สอง หลักเกณฑ์และวิธีการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจำ
ตำแหน่งตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6 /16849 ลงวันที่ 4 กันยายน 2549
ขอ้ 3.1 เมอ่ื ข้าราชการผู้มีสิทธิได้เลือกรับเงินคา่ ตอบแทนเหมาจ่ายฯ แล้วใหจ้ ดั หารถยนต์ส่วนตัวมาใช้ใน
การปฏบิ ัติราชการในตำแหน่งหน้าที่หรอื ท่ีได้รับมอบหมายโดยชอบหรืองานท่ีเก่ียวเนื่องโดยตรงกับงานใน
ตำแหน่งหน้าที่ หรือฐานะที่ดำรงตำแหน่งนั้น รวมตลอดถึงการใช้เพื่อเดินทางไป – กลับ ระหว่างที่พัก
และสำนักงาน และเพื่อการอื่นที่จำเป็นและเหมาะสมแก่การดำรงตำแหน่งหน้าที่ในหมู่ข้าราชการและ
สังคม รวมทั้งห้ามมิให้ใช้พนักงานขับรถยนต์ของทางราชการ โดยให้หัวหน้าส่วนราชการควบคุม กำกับ
ดูแลไม่ให้มีการประพฤติมิชอบโดยการนำรถส่วนกลาง รถรับรอง หรือรถประจำตำแหน่งไปใช้อีกหากผู้ใด
ฝา่ ฝืนถอื เปน็ ความผิดวนิ ัย ดังนน้ั เมอื่ ได้รบั เงนิ คา่ ตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจำตำแหน่งแล้ว
จึงไมส่ ามารถใหพ้ นักงานขับรถยนต์ของศาลมาขับรถประจำตำแหน่งได้
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 79
ครง้ั ท่ี 5/๒๕63
วันศุกรท์ ี่ 18 กนั ยายน 2563
ณ ห้องประชุมศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวดั ขอนแก่น ชน้ั ๑
ตำบลในเมอื ง อำเภอเมอื งขอนแกน่ จงั หวดั ขอนแก่น
ระเบยี บวาระท่ี 3 เรอื่ งเพ่ือพิจารณา
1. ขอสงั เกตในการตรวจร่างคำพิพากษา
ข้อสังเกตจากการตรวจร่างคำพิพากษา เรื่องที่มีปัญหาอยู่ตลอดมี 2 เรื่อง คือประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์เรื่องคนไร้ความสามารถ และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเรื่องชันสูตรพลิก
ศพคนไร้ความสามารถต้องส่งไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา ต้องเผยแพร่ในสาธารณะ การใช้คำหรือ
เหตุผลต้องเหมาะสม คนไร้ความสามารถมีปัญหาตั้งแต่ชื่อเรื่อง แบบเดิมตามคู่มือใช้ชื่อว่า เรื่องคนไร้
ความสามารถ ซึ่งครอบคลุมแล้วเพราะคนไร้ความสามารถรวมถึงการสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถแล้วตั้ง
ผ้อู นบุ าล แตม่ ีผพู้ ิพากษาบางท่านเห็นว่าไม่ชดั เจน เหน็ วา่ ควรใชช้ อื่ เร่อื งทผี่ ูร้ ้องขอคือ เรอ่ื งขอตง้ั ผู้อนบุ าล
และมผี ้พู พิ ากษาบางท่านเห็นว่าจะตั้งผูอ้ นุบาลก่อนไดอ้ ย่างไร ตอ้ งขอเป็นคนไร้ความสามารถก่อน จึงเห็น
ควรตั้งชื่อเรื่องว่า เรื่องขอให้สั่งเป็นคนไร้ความสามารถ ผู้พิพากษาบางท่านเห็นว่าตั้งคนไร้ความสามารถ
ขอตั้งผู้อนุบาล ขอให้สั่งเป็นคนไร้ความสามารถ ยังไม่สมบูรณ์ต้องชื่อเรื่องว่า ขอให้สั่งเป็นคนไร้ ความ
สามารถและตั้งผู้อนุบาล ทั้ง 4 ชื่อนี้ไม่ผิดอะไร ผมเห็นท่านมนตรี โรจน์วัฒนบูลย์ ผู้พิพากษาหัวหน้า
ศาลประจำสำนักงานอธิบดีผพู้ พิ ากษาภาค 4 หมายเหตุไว้ในร่างคำพิพากษาว่า เรอื่ งขอตั้งผอู้ นุบาลมีฎีกา
ใชแ้ ตไ่ ม่เป็นทน่ี ิยมควรใช้คนไร้ความสามารถให้เหมือนกนั ทุกศาลในเขตอำนาจสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 4 จึงอยากฟงั ความเห็นของท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเยาวชนและครอบครัวว่ามคี วามเห็นอย่างไร
เห็นว่าชือ่ เร่ืองคนไร้ความสามารถครอบคลุมแล้ว
เรื่องคำสั่งให้ส่งร่างตรวจทางอิเล็กทรอนิกส์ ท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลบอกว่าสำนักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 4 สั่งให้ส่งทางอิเล็กทรอนิกส์ จะขัดคำสั่งได้อย่างไร ตอนที่ท่านรองอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 4 สั่งตรวจอาจจะยงั มองไม่ออกวา่ เอกสารจะมากขนาดไหน เลยตอ้ งส่ังตรวจตามปกติคือทางระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ถ้าท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเห็นว่ามีบางกรณีไม่ธรรมดามีการสืบพยานมีผู้เข้ามา
คัดค้าน เช่น ชันสูตรพลิกศพกรณีการเสียชีวิตขณะที่เจ้าพนักงานเข้าควบคุมตัว มีการยิงต่อสู้กัน ซึ่งทำ
ให้มีเอกสารเยอะมากขอส่งทางไปรษณีย์ ถ้าท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลหรือผู้พิพากษาเห็นว่าส่งทาง
อิเล็กทรอนิกส์ไม่ไหว ให้โทรศัพท์มาบอกก่อน ทางสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 จะได้เปลี่ยนคำสั่ง
ให้สง่ ทางไปรษณีย์
เรื่องระบบ ECRM ถ้าคดีใดมีเอกสารจำนวนมาก ท่านรองอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 สั่งแล้ว
ให้ประสานก่อนส่งว่าเอกสารมีจำนวนมาก สแกนไม่ไหว สามารถแก้ไขคำสั่งได้ ในฐานะคณะทำงาน
ระบบ ECRM ขอรับไว้เป็นข้อสังเกตเพื่อนำไปปรับปรุงหรือออกแนวทางในการตรวจว่าเรื่องใดควรส่ง
ตรวจด้วยระบบ ECRM หรอื เรือ่ งใดควรส่งตรวจทางไปรษณยี ์
ข้อกฎหมายสำหรับบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้อยู่ใน
ความอนุบาล การแต่งตั้งผู้อนุบาล อำนาจหน้าที่ของผู้อนุบาลและการสิ้นสุดของความเป็นผู้อนุบาล ให้
เป็นไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ปัญหาอยู่ที่มาตรา 1463 ใน
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 80
กรณีที่ศาลสั่งให้สามีหรือภริยาเป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ ภริยาหรือสามีย่อม
เป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ แต่เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรืออัยการร้องขอ และถ้ามีเหตุสำคัญ ศาลจะแต่งต้ัง
ผู้อื่นเป็นผู้อนุบาลหรือ ผู้พิทักษ์ก็ได้ ส่วนใหญ่ที่ตรวจเจอคือไต่สวนไม่ค่อยละเอียดแต่ก็ให้ตามคำร้องขอ
ไป หลักคือสามีภริยากันต้องให้สามีภริยาเป็นผู้อนุบาลก่อน ถ้ามีเหตุสำคัญถึงค่อยตั้งผู้อื่นแต่ที่เห็นไต่
สวนมายังไม่รู้ว่ามีสามีหรือภริยาหรอื ไม่ ถ้าไม่มีสามีภริยาต้องเป็นบิดามารดา ถ้าสังเกตมาตรานี้ให้ดีการ
ร่างกฎหมายมีการลำดับความสำคัญคือ ถ้าศาลสั่งให้สามีหรือภริยาเป็นคนไร้ความสามารถ ภริยาหรือ
สามีย่อมเป็นผู้อนุบาล กฎหมายลำดับไว้แล้ว ถ้าสามีเป็นคนไร้ความสามารถ ภริยาย่อมเป็นผู้อนุบาล
มาตรา 1569/1 ในกรณีที่บุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะและไม่มีคู่สมรสถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
หรือเสมือนไร้ความสามารถ ให้บิดามารดา หรือบิดาหรือมารดาเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์แล้วแต่กรณี
เว้นแตศ่ าลจะส่งั เปน็ อยา่ งอื่น สว่ นมาตรา 1598/18 ในกรณีทีบ่ ดิ ามารดาเปน็ ผู้อนุบาลบตุ ร ถ้าบุตรนน้ั
ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ใช้อำนาจปกครองมาใช้บังคับโดย
อนุโลม แต่ถ้าบุตรนั้นบรรลุนิติภาวะแล้ว ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ปกครองมาใช้
บงั คบั โดยอนโุ ลม เวน้ แตส่ ทิ ธติ ามมาตรา 1567 (2) และ (3) สว่ นคณุ สมบัตขิ องผอู้ นบุ าลให้เป็นไปตาม
บทบัญญตั บิ รรพ 5 แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เรื่องชันสูตรพลกิ ศพ มีปัญหาตั้งแต่ชื่อเร่ืองเหมือนกัน
คู่ความระหว่างอัยการผู้ร้อง นักโทษชาย หรือนาย ก นามสกุล ข ผู้ตาย ท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
ประจำสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 ท่านตัดนักโทษชายออก ขออนุญาตใช้คำนำหน้าว่า นาย นาง
นางสาว ผมเห็นด้วย ฎีกามีการใช้คำว่า นักโทษชาย แต่เขาเสียชีวิตไปแล้ว คืนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ให้เขา เลยเห็นด้วยกับการใช้คำว่า นาย นาง นางสาว ท่านผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจะได้ทราบที่มาของ
การตัดคำนี้ออกเพราะมีความเห็นแบบนี้ การชันสูตรพลิกศพบางเรื่องถูกมองข้ามไป ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญามาตรา 148 การตายที่ต้องมีการชันสูตรพลิกศพ 1. ตายผิดธรรมชาติ 2. ตาย
ในระหวา่ งอย่ใู นความควบคุมของเจ้าพนักงานซงึ่ อา้ งวา่ ปฏิบตั ิราชการตามหน้าที่ และอีกขอ้ อยู่ในมาตรา
150 วรรคสาม ความตายที่เกิดขึ้นโดยการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าท่ี
มาตรา 150 วรรคหนึ่ง กรณีตายผิดธรรมชาติ ผู้ที่จะทำการชันสูตรคือพนักงานสอบสวนและแพทย์
ซึ่งไม่มีปัญหาอะไร แต่ปัญหาอยู่ที่มาตรา 150 วรรคสาม เป็นกรณีที่ความตายเกิดขึ้นจากการกระทำ
ของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่และตายระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน
ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ กรณีนี้ ผู้ร่วมการชันสูตรต้องประกอบด้วย พนักงานอัยการและ
พนักงานฝ่ายปกครองตำแหน่งตั้งแต่ระดับปลัดอำเภอหรือเทียบเท่าขึ้นไปแห่งท้องที่ท่ี ศพนั้นอยู่เป็น
ผู้ชันสูตรพลิกศพร่วมกับพนักงานสอบสวนและแพทย์ มาตรา 150 วรรคห้า เมื่อได้รับสำนวนชันสูตร
พลิกศพแล้ว ให้พนักงานอัยการทำคำร้องขอต่อศาลชั้นต้นแห่งท้องที่ที่ศพนั้นอยู่ เพื่อให้ศาลทำการไต่
สวนและทำคำสั่งแสดงว่าผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงพฤติการณ์ที่ตาย ถ้าตายโดยคนทำร้าย
ให้กล่าวว่าใครเป็นผู้กระทำร้ายเท่าที่จะทราบได้ ที่พูดเรื่องนี้เพราะมีหนึ่งเรื่อง มีการคัดค้านเข้ามา ท่าน
ผู้พิพากษาก็ร่างคำสั่งว่า พิเคราะห์พยานหลักฐานข้อเท็จจริงแล้ว และตั้งประเด็นว่า คดีมีปัญหาต้อง
วินิจฉัยว่าความตายเกิดขึ้นอยู่ในระหว่างการควบคุมของเจ้าพนักงานที่ปฏิบัติราชการตามหน้าที่หรือไม่
ถา้ ต้งั ประเด็นแบบน้กี ว็ ินิจฉัยง่าย เพราะว่าตายอยูร่ ะหวา่ งควบคมุ อยู่แล้ว แตม่ าตรา 150 เพียงแต่ให้ไต่
สวนแล้วทำคำสั่งเลย ไม่ต้องตั้งประเด็นอะไร ไต่สวนได้ความว่าอย่างไรแล้วพิเคราะห์ว่าผู้ตายคือใคร
ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงพฤติการณ์ที่ตาย ถ้าตายด้วยโรคภัยไข้เจ็บในระหว่างถูกควบคุมจะไม่ค่อยมี
รายงานประจำปี พ.ศ. 2563 | 81
ปัญหา แต่ปัญหาคือกรณีผกู คอตายในห้องควบคุมในสถานีตำรวจ และได้เขียนจดหมายบอกว่าขอโทษที่
ต้องทำแบบน้ชี าตนิ ้ขี อลา ท่านผู้พิพากษากเ็ ขยี นมาบอกวา่ มจี ดหมายในทำนองลาตาย ซึ่งผมมองว่าไมใ่ ช่
ทำนองลาตายแต่เป็นการลาตายแล้ว และกรณีผู้ตายมีการค้ายาเสพติด เจ้าพนักงานมีการวางแผนเข้า
จับกุมระหว่างเข้าควบคุมตัวเกิดการต่อสู้และถูกยิงตาย ในคำสั่งต้องระบุว่าตายที่ไหน มีกรณีผูกคอตาย
ทุกฝ่ายทั้งพ่อ แม่ พี่ น้อง ของผู้ตายเห็นด้วยว่าผูกคอตาย พยานหลักฐานของตำรวจและพนักงาน
อัยการออกมาทำนองว่า ผูกคอตายเพราะความเครียด พ่อ แม่ พี่ น้อง ผู้ตายก็รู้ว่าผู้ตายเครียดและบ่น
ว่าจะฆ่าตัวตายมาแล้ว สรุปว่าเป็นการฆ่าตัวตายซึ่งทุกฝ่ายยอมรับแล้วว่าฆ่าตัวตาย แต่คำสั่งของศาลไม่
ระบุว่าฆ่าตวั ตาย อกี กรณคี ือถกู ผู้ตอ้ งขังดว้ ยกันทำรา้ ยจนเสียชีวติ มกี ล้องวงจรปิดบันทึกไวช้ ัดเจน คำส่ัง
ศาลก็ไม่ระบุอีก เพียงแต่ระบุว่าได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ตามมาตรา 150 ให้ระบุว่าผู้ตายคือใคร ตายที่
ไหน เมื่อใด และถึงพฤติการณ์ที่ตาย ถ้าตายโดยคนทำรา้ ยให้กล่าวว่าใครเป็นผู้กระทำร้ายเท่าที่จะทราบ
ได้ กรณีนี้ทราบชัดเจนอยู่แล้วเพราะกล้องวงจรปิดบันทึกไว้ จึงต้องขออนุญาตเติมเข้าไปว่าผู้ตายถูก
ผู้ต้องขังรายอื่นที่อยู่ในห้องควบคุมเดียวกันทำร้ายจนได้รับบาดเจ็บจนเสียชีวิตในระหว่างที่อยู่ ในความ
ควบคุมของเจ้าพนักงาน มาตรา 150 วรรคเก้า คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ให้ถึงที่สุดแต่ไม่กระทบ
กระเทือนถึงสิทธิฟ้องร้อง และการพิจารณาพิพากษาคดีของศาล หากพนักงานอัยการหรือบุคคลอื่นได้
ฟ้องหรือจะฟ้องคดีเกี่ยวกับการตายนั้น ถ้ามีการฟ้องเกี่ยวกับการตายตรงนี้ ไม่ได้ผูกพันหรือผู้มัดให้คดี
อื่นต้องฟังคดีนี้เป็นเด็ดขาด ยังสามารถใช้สิทธิได้ แต่ศาลต้องมีคำสั่งให้รัดกุมที่สุดเพื่อคนที่เกี่ยวข้องจะ
ไดไ้ มก่ ระทบกระเทอื น
ข้อสังเกตในการตรวจร่างคำพิพากษาสำหรับศาลเยาวชนและครอบครัว คดียาเสพติดตาม
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด มาตรา 13 จะไม่นำมาใช้กับศาลเยาวชนและครอบครัว ตาม
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด มาตรา 4 จากการตรวจร่างคำพิพากษาพบว่าบางคดียังใช้
มาตรา 13 ในศาลเยาวชนและครอบครวั อยู่ อาจเปน็ เพราะท่านผู้พิพากษาบางท่านย้ายจากศาลจังหวัด
ไปอยู่ศาลเยาวชนและครอบครวั ตอ้ งใชม้ าตรา 176 วรรคหนง่ึ ตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความ
อาญา
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ มาตรา 100/2 มีฎีกาฝากให้พิจารณา 2 ฎีกา ได้แก่ ฎีกาท่ี
4524/2560 และ ฎีกาที่ 2446/2562 ซึ่งวางหลักเกณฑ์เหมือนกันโดยศาลฎีกาวางหลักเกณฑ์ว่า
พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 100/2 บัญญตั ิวา่ ถา้ ศาลเหน็ ว่าผกู้ ระทำความผิด
ผู้ใดได้ให้ข้อมูลที่สำคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพ
ติดให้โทษต่อพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ หรือพนักงานสอบสวน ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่า
อัตราโทษขั้นต่ำที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นก็ได้ ซึ่งตามบทบัญญัติดังกล่าวผู้ให้ข้อมูลในการปราบ
ปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษจะต้องเป็นผู้กระทำความผิดและให้ข้อมูลต่อ
พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจที่จับกุมผู้กระทำความผิด หรือพนักงานสอบสวนในคดีที่ผู้กระทำ
ความผิดถูกดำเนินคดี และข้อมูลดังกล่าวต้องเป็นข้อมูลที่สำคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ในการ
ปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ ข้อความสำคัญคือ ต้องเป็นเจ้าพนักงานฝ่าย
ปกครองหรือตำรวจที่จับกุมหรือพนักงานสอบสวนในคดีที่ผู้กระทำความผิดถูกดำเนินคดี ถ้าดูจากหลัก
เกณฑ์ของศาลฎีกาจะมี 2 อย่าง คือประการแรกการแจ้งข้อมูลต้องแจ้งแก่พนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ตำรวจที่จับกุมผู้กระทำความผิดหรือพนักงานสอบสวนในคดีที่ผู้กระทำความผิดถูกดำเนินคดี ประการท่ี
สองข้อมูลดังกล่าวต้องเปน็ ข้อมูลทีส่ ำคญั ตามร่างคำพิพากษาที่ส่งมาตรวจ จะเน้นที่ขอ้ มูลน้ันเป็นข้อมลู