The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการกำลังพล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dfdmod4, 2022-12-18 21:16:41

การจัดการกำลังพล

การจัดการกำลังพล

1

พ.อ.เจนศึก ศลิ ามณีรัตน

รอง ผอ.กบพ.สกพ.สม.

2

การจัดการ
กาํ ลงั พล

3

นโยบายกําลงั พลของ สป.
คาํ สง่ั สป.(เฉพาะ) ท่ี ๔๘๕/๕๕ ลง ๑๐ ก.ย.๕๕

๑. ให นขต.สป. และ นขต.ระดับกรมของ สน.ปล.กห.,
ศอพท., วท.กห. และ สสน.สป. ปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ ระเบียบ และ
คํ า สั่ ง
ท่กี ําหนด รวมถึงนโยบายการกาํ ลงั พลของ สป. ดงั น้ี

- การจดั หากาํ ลังพล
- การจดั การกาํ ลงั พล
- การพัฒนากําลงั พล
- การจดั ทําแผนงานการกาํ ลังพล
- การงบประมาณ
- หลักเกณฑก ารพิจารณาเลื่อนกาํ ลังพลใหครอง

ตําแหนง อัตราสูงข้ึน
๒. ให สม. ควบคุมกํากับดูแลการปฏิบัติใหเปนไปตามคําสั่ง
เวน แตการดําเนินการกาํ ลังพลที่อยูใ นดลุ ยพินิจของ ปล.กห.

4

การจัดการ
กาํ ลงั พล

5

การเลือ่ น การบรรจุ การปรับ
เงินเดอื น ยาย
การเปลย่ี น จัดการ
กําลงั พล การเลอื่ น
เหลา ฐานะ
การชว ย
ราชการ

6

บรรจุ

7

ขอ บงั คับ กห.วาดวยการบรรจุ ปลด ยา ย และลดตาํ แหนงขา ราชการกลาโหม
พ.ศ.๒๕๐๒

ผูมอี ํานาจส่ังบรรจุ
ตําแหนงต่ํากวาชัน้ สญั ญาบตั ร ใหผบู ังคับบญั ชา ตัง้ แตช ั้น
ผบ.พล., ผบ.กองเรือ, ผบ.กองพลบิน หรือเทียบเทา ขึ้นไปเปน ผสู ่งั

ตาํ แหนงช้นั สัญญาบัตร รมว.กห. เปนผสู ัง่ (เวน นายพล
พระมหากษัตรยิ จะไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ)

8

ขอบงั คับ กห.วาดว ยการบรรจุ ปลด ยาย และลดตําแหนง ขาราชการกลาโหม
พ.ศ.๒๕๐๒

เกณฑอ ายใุ นการบรรจุ

- สัญญาบตั ร อายไุ มเ กิน ๓๕ ป
- ประทวน อายไุ มเ กนิ ๓๐ ป

9

ใหบรรจุนายทหารสัญญาบัตรประเภทท่ี ๑ ไมนอยกวารอยละ ๑๕
ของยอดกําลังพลนายทหารสัญญาบัตรท่ีบรรจุจริง ยกเวน สตน.กห.,
กง.กห., ธน. และ รภท.ศอพท. (กาํ เนิด นร.หลกั )

ใหบรรจนุ ายทหารสัญญาบัตรประเภทท่ี ๒ ไดไมเกินรอยละ ๑๕
ของยอดกาํ ลงั พลนายทหารสัญญาบตั รทีบ่ รรจุจรงิ (กาํ เนิด นป.)

ใหบรรจุนายทหารสัญญาบัตรประเภทที่ ๓ ไดไมเกินรอยละ
๗๐ ของยอดกําลังพลนายทหารสัญญาบัตรที่บรรจุจริง ยกเวน
สตน.กห., กง.กห., ธน. และ รภท.ศอพท. ใหบรรจุไดไมเกินรอยละ ๘๐
ของยอดกําลังพลนายทหารสัญญาบัตรท่ีบรรจุจรงิ (กาํ เนดิ พ.)

10

ใหพิจารณาบรรจุนายทหารสัญญาบัตรที่สําเร็จการศึกษาจาก
รร.สธ.เหลาทพั โดยใหบรรจุกาํ ลงั พลใน สป. ท่ีมีคุณสมบัติครบถวนกอน
หากจําเปนจึงขออนุมัติปรับยายผูท่ีมีคุณสมบัติท่ีตองการจากหนวยนอก
สป. มาบรรจุ

11

ใหพ จิ ารณาบรรจุบุคคลดังตอไปนี้
- นายทหารประทวนในสังกัด สป. ทเ่ี ล่อื นฐานะ
- นายทหารประทวนในสังกัด สป. ท่ีมีคุณวุฒิตรงตาม
คาํ ชีแ้ จงทา ยอตั ราของหนวย
- นายทหารกองหนนุ
- บุคคลพลเรือน

12

ใหพ ิจารณาบรรจุบุคคลดงั ตอไปน้ี
- ลกู จางหรอื พนักงานราชการ ในสังกดั สป.
- ผูท่ีสําเร็จการศึกษาหลักสูตรตาง ๆ ท่ี กห. สามารถผลิตได

เอง หรอื รร.ประจําเหลา เชน นักเรยี นทหารในสงั กดั กห.
- นายสบิ กองหนุนท่ีมคี ณุ วุฒติ รงตามคําช้แี จงทา ยอตั รา
- บคุ คลพลเรือน

13

กรณีลาออกเพ่ือไปสมัครรบั เลอื กตัง้
- ผูลาออกตองแสดงเจตนารมณในการลาออกวา เม่ือไมไดรับการ

เลือกต้ังจะขอบรรจุกลับเขารับราชการ และตองเสนอรายงานขอ
บรรจุกลับเขารับราชการถึงตนสังกัดเดิม ภายใน ๗ วันทําการ
นับตั้งแตถ ัดจากวันประกาศผลการเลือกต้ังอยา งเปนทางการ
- หากไมมีตําแหนงอัตราวางรองรับ อาจบรรจุกลับในตําแหนงประจํา
หนวย และใหก ารบรรจุกลบั เขารบั ราชการมีผลต้งั แตว นั ออกคาํ ส่งั

14

กรณลี าออกชั่วคราวเพอื่ ไปปฏิบตั ิหนา ท่ี
ท่ีสถาบนั เทคโนโลยีปองกนั ประเทศ (องคก ารมหาชน)
- กอนเสร็จสิ้นภารกิจไมนอยกวา ๑ ป ใหขาราชการที่ขอบรรจุกลับเสนอ
รายงานผาน สทป. ถึงสวนราชการตนสังกัดเดิม ท้ังน้ี ใหสวนราชการ
ตนสังกดั เดมิ พจิ ารณาสงวนตําแหนงเพ่อื รองรบั การบรรจุกลับ ดงั น้ี

- ช้ันนายพล และ พ.อ.พิเศษ, น.อ.พิเศษ ใหเสนอรายช่ือถึง
สม. เพื่อรวบรวมนําเรยี น ปล.กห. พจิ ารณาตําแหนงบรรจกุ ลบั

- ช้ันยศ พ.อ., น.อ. ลงไป ใหหนวยตนสังกัดพิจารณา
ตําแหนง อตั ราทว่ี า ง หากไมมีใหบ รรจกุ ลบั ในตาํ แหนงประจําหนว ย

15

กรณลี าออกชั่วคราวเพือ่ ไปปฏิบัตหิ นา ท่ี
ทส่ี ถาบันเทคโนโลยปี องกนั ประเทศ (องคการมหาชน)
- กรณีผูท่ีประสงคจะบรรจุกลับในหนวยอ่ืนท่ีมิใชหนวยตนสังกัดเดิม
ใหหนวยตนสังกัดเดิมเสนอรายงานถึง สม. เพื่อนําเรียน ปล.กห.
พิจารณาอนุมัติ และให สม. ประสานกับหนวยที่จะดํารงตําแหนง
เพื่อพิจารณาตําแหนงอัตราและใหความเห็นชอบ กอนดําเนินการ
บรรจุ

16

อยูในอํานาจของ ปล.กห. เปนผูพิจารณา ทั้งน้ี หากเปน
ตําแหนงอัตราแรกบรรจุ ใหเสนอความตองการกําลังพลตามแผนงาน
การกําลังพลในปถัดไป หากหนวยมีความจําเปนเรงดวน ใหเสนอเร่ือง
ถึง สม. พรอมทั้งชี้แจงเหตุผลความจําเปนประกอบ เพ่ือนําเรียน
ปล.กห. พิจารณาตอ ไป

17

การปรับ
ยา ย

18

หมายถงึ การหมุนเวยี นกําลงั พล การเลื่อนข้ึนครองตําแหนง
อตั ราสงู ข้ึน หรือเทา เดมิ หรือนอ ยลงกวา เดมิ

ความมงุ หมาย
๑. เพ่ือใหใชค วามรคู วามสามารถมาพัฒนางานตาม
ตาํ แหนง
๒. เพือ่ เพิม่ ขดี ความสามารถในการปฏิบัติงานของหนว ย
๓. เพ่อื บาํ รุงขวัญและกาํ ลังใจ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการ

ปฏิบัตงิ านของกาํ ลังพล

19

ขอ บงั คับ กห.วาดวยการบรรจุ ปลด ยา ย เลือ่ น และลดตาํ แหนง
ขาราชการกลาโหม พ.ศ.๒๕๐๒

ขอ ๕ ผูมีอาํ นาจสั่งยา ย เลอื่ น และลดตาํ แหนง
(๑) ตําแหนงตํ่ากวาช้ันสัญญาบัตร ใหผูบังคับบัญชาต้ังแตชั้น

ผูบังคับกองรอย ผูบังคับการเรือช้ัน ๓ หรือตนเรือชั้น ๒ ผูบังคับหมวดบิน
ช้นั ๒ หรอื เทียบเทา ข้ึนไป เปนผสู งั่

แตถาเปนการเปล่ียนพรรค เหลา จําพวก หรือวิทยาการ
ในหนาที่ตองไดรับอนุมัติจาก ลก.รมว.กห., ปล.กห., ผบ.ทสส.,
ผบ.ทบ., ผบ.ทร. และ ผบ.ทอ. กอ น

20

ขอบังคับ กห.วา ดว ยการบรรจุ ปลด ยา ย เลอ่ื น และลดตําแหนง
ขา ราชการกลาโหม พ.ศ.๒๕๐๒

(๒) ตาํ แหนงชนั้ สัญญาบตั ร

ชน้ั ยศ ผูอนุมัติ
ผบ.รอย ผบ.เรอื ชน้ั ๓ หรอื ตนเรือชัน้ ๒ ผบ.พล., ผบ.กองเรือ, ผบ.กองพลบนิ
ผบ.หมวดบินชั้น ๒ หรือเทยี บเทาลงไป หรอื เทียบเทา ขน้ึ ไปเปนผูส่งั
การเปลี่ยนพรรค เหลา จําพวก หรือวทิ ยาการ
ในหนา ที่ หรอื การเลอ่ื นหรอื ลดตําแหนง ปล.กห., สรอ., ผบ.ทสส., ผบ.ทบ.,
ผบ.กรม ผบ.หมวดเรอื ผบ.กองบนิ ผบ.ทร. และ ผบ.ทอ. เปน ผสู ั่ง
หรือเทยี บเทาลงไป
ผบ.พล. ผบ.กองเรือ ผบ.กองพลบนิ พระมหากษตั ริยจ ะไดทรงพระกรณุ า
หรือเทียบเทา ข้ึนไป โปรดเกลา ฯ

21

หลกั เกณฑท ั่วไปในการปรบั ยา ย และหมนุ เวียนกําลงั พลเพอ่ื ปฏบิ ตั ิหนาท่ี
- พิจารณาปรบั ยา ยหมุนเวยี นกําลังพลในระดบั ตาง ๆ โดยไม
ควร ใหกาํ ลงั พลปฏิบัตหิ นา ท่ีในตําแหนงเดิมเกนิ กวา ๓ ป
- ใหพิจารณาความรูความสามารถ คุณวุฒิ การศึกษา
ประสบการณ การทํางาน ผลการปฏิบัติงาน ความประพฤติ ให
เหมาะสมกบั ตําแหนงใหม

22

คณะกรรมการพิจารณาการปรับยา ย
- คณะกรรมการระดบั หนวย
- คณะกรรมการระดบั สป.
- คณะท่ี ๑ พจิ ารณาปรบั ยา ยระดับ พ.อ., น.อ. และ พ.อ.พเิ ศษ,
น.อ.พิเศษ
- คณะที่ ๒ พิจารณาปรบั ยายระดับ พ.ท., น.ท. ลงไป
ท้ังน้ี เพ่ือใหเปนตามระบบคุณธรรม โปรงใส บริสุทธิ์

ยุติธรรม เหมาะสมกับความรูความสามารถ เปนไปตามระเบียบแบบ
แผนของทางราชการ และเกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ

23

วาระการปรบั ยา ย
- การปรับยา ยวาระประจาํ ป ดาํ เนินการปล ะ ๒ วาระ คือ
วาระ ต.ค. และ วาระ เม.ย.
- การปรบั ยา ยนอกวาระ เปนการปรบั ยา ยตามความจําเปน หรือ
ตามความเหมาะสม เพ่ือผลในการปฏิบัติงานของหนว ย

24

การปรับยายกาํ ลังพลใหดํารงตําแหนงอัตราสูงขึน้
ใหพิจารณาคุณสมบัติใหเปนไปตามระเบียบ กห.วาดวยการ

แตงต้ังยศและการเล่ือนยศของขาราชการทหาร พ.ศ.๒๕๔๑ รวมทั้ง
หลกั เกณฑอ ืน่ ๆ ตามท่ี สป. กําหนด และใหพิจารณาดาํ เนินการดงั น้ี

- จะตองมีความรู ความสามารถ คุณลักษณะ ประสบการณ
ตลอดจนความประพฤตเิ หมาะสมท่ีจะครองตาํ แหนง

- กรณีไดร บั เงินเดอื นต่าํ กวา ขั้นตํ่าสุดของระดับถัดไปมากกวา ๑ ช้ัน
แตไมเกิน ๒ ชั้น หรือมีจํานวนปรับราชการในชั้นยศเดิมขาดเกินกวา ๑ ป
แตไ มเกิน ๒ ป ใหป รับยา ยเปน รรก. ในตําแหนงที่ไดรบั อนมุ ัติ

25

การปรบั ยายขา ราชการจากหนวยนอก สป. มารับราชการใน สป.
ใหกระทําเทาที่จําเปน และใหเสนอเหตุผลความตองการ

ตลอดจนความเหมาะสมกับตําแหนงที่จะปรับยาย ทั้งนี้ อยูในอํานาจ
ของ ปล.กห. พิจารณาใหค วามเห็นชอบและอนมุ ัติ

ไมควรเปนการปรับยายเพ่ือเลื่อนขึ้นครองอัตราสูงข้ึน เวนกรณี
จําเปน ขาดแคลนกําลังพลท่ีมีความรู ความสามารถ คุณสมบัติเหมาะสม
กบั ตาํ แหนง ที่ตอ งการปรบั ยาย

26

การปรบั ยายในตาํ แหนงนายทหารปฏิบัติการประจําหนวย (นปก.)
อยูในดุลยพินิจของ ปล.กห. เปนผูพิจารณาในภาพรวม ทั้งน้ี

การเสนอขอปรับยายเขาตําแหนง นปก. ใหยดึ ถือหลักเกณฑ ดังน้ี
- ผูท่ีดํารงตําแหนงหลัก จะตองมีความจําเปนและมีเวลาในช้ันยศ

พ.อ.พิเศษ, น.อ.พเิ ศษ มาแลวไมนอยกวา ๔ ป
- การปรับยาย พ.อ., น.อ. เพ่ือเล่ือนตําแหนงอัตราสูงขึ้นเปน นปก.

จะตองครองยศ พ.อ., น.อ. มาแลว ไมนอ ยกวา ๗ ป

27

การปรับยายในตําแหนง ประจาํ หนว ย
ใหเปนไปตามระเบียบ หลักเกณฑท่ี กห. กําหนด รวมถึง

หลักเกณฑอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ ท้ังน้ี อยูในอํานาจของ ปล.กห. เปนผู
พิจารณาใหความเห็นชอบและอนุมัติ โดยใหหนวยจัดทําเอกสาร
หลักฐานประกอบการปรับยายเสนอตอ สม. ท้ังนี้ การปรับยายกําลังพล
ในตําแหนงประจําหนวย กรณีชวยราชการเกินกวา ๑ ป มิไดหมายรวมถึง
การชวยราชการภายใน สป. สําหรับกรณีการเขารับการศึกษาใน
รร.สธ. ของเหลาทพั ใหปรบั ยา ยเปน ประจํา สม.

28

การเลื่อน
ฐานะ

29

ใหหนวยจัดทําแผนการเลื่อนฐานะ โดยบรรจุไวในแผนงาน
การกําลังพลของหนวย สงถึง สม. ภายหลังการปรับยาย วาระ ต.ค.
ภายใน ๑๕ วนั ทาํ การ ดังนี้

- แผนการคดั เลอื กเพอื่ เลอ่ื นฐานะ
- แผนการสอบคัดเลอื กผูท ี่มคี ุณวฒุ ปิ ริญญาตรีเพอื่ เลอื่ นฐานะ
กรณีการคัดเลือกเพ่ือเลื่อนฐานะ ใหหนวยตรวจสอบคุณสมบัติ
ผูท่ีเขารับการคัดเลือกใหมีคุณสมบัติครบถวนเปนไปตามหลักเกณฑ
ที่ กห. กาํ หนด

30

การชวย
ราชการ

31

- กรณีไปชวยราชการกระทรวงอื่น ใหไปชวยราชการไดไมเกิน
๒ ป ถาเกิน ๒ ป ใหพนจากตําแหนงทาง กห.

- ไปชวยราชการไดคราวละไมเกิน ๑ ป แตไมเกินกวา ๒ ป
ติดตอกัน เม่ือครบกําหนดหรือหนวยที่ขอตัวหมดความจําเปน ใหสงตัว
กลบั หนว ยตน สังกัดทนั ที

- ผูที่บรรจุในตําแหนงหลัก ใหพิจารณาใหไปชวยราชการนอยที่สุด
โดยเฉพาะผูท่ีดํารงตําแหนงที่มีเงินประจําตําแหนง ไมสมควรพิจารณา
ใหไปชวยปฏิบัติราชการ หากมีความจําเปนจะตองไมกระทบตอภารกิจ
ของหนวยตน สังกดั

32

- ไปชวยราชการไดเฉพาะกับหนวยราชการเทานั้น เวนการขอตัว
ไปชว ยปฏิบัติราชการตามโครงการพระราชดําริ

- ใหหนวยตนสังกัดสอบถามความสมัครใจของกําลังพล และบันทึก
เปน ลายลกั ษณอักษรประกอบการรายงานเสนอเร่อื งดวย

- การขอตัวกําลังพลจากหนวยนอก สป. มาชวยปฏิบัติราชการ
ใน สป. ใหกระทําไดเฉพาะกรณีที่มีความจําเปนตองใชกําลังพลที่มี
ความรูความสามารถเฉพาะ หรือขาดแคลนไมสามารถผลิตไดเอง และ
ใหหลกี เล่ียงการขอกาํ ลังพลในตาํ แหนงหลักมาชว ยปฏบิ ัติราชการ

33

การเปล่ยี น
เหลา

34

การขอเปลี่ยนเหลาทหารใน สป. ใหกระทําเทาที่จําเปน ท้ังน้ี
ใหคํานึงถึงความจําเปนตอการปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพ และความ
เหมาะสมกับตําแหนงงาน ตลอดจนคานิยมของเหลาทหารในเหลาทัพ
โดยรวมถงึ ภารกจิ หนา ทคี่ วามรับผดิ ชอบของหนว ยตน สงั กดั

35

กาํ ลงั พลทจ่ี ะขอเปลี่ยนเหลาทหาร จะตอง
- ไมเคยเปลี่ยนเหลา มากอน
- มเี วลารับราชการในเหลา เดมิ มาแลวไมนอยกวา ๑ ป
- มเี วลารับราชการไมเกนิ ๕ ป
- มชี นั้ ยศไมเกนิ ร.อ. และ ส.อ. แลวแตก รณี
- มรี า งกาย ความประพฤติเหมาะสมกบั เหลา ใหม
- มคี วามรูค วามสามารถเหมาะสมกับเหลาใหม
- ไดรบั ความยนิ ยอมจากเหลาเดิมและเหลาใหม

36

การเลอื่ น
เงนิ เดอื น

37

กรณเี กษียณอายุราชการ
ใหเลื่อนชั้นเงินเดือนเปนบําเหน็จประจําปครึ่งปหลัง จํานวน ๑ ขั้น
ใหแกขาราชการที่เกษียณอายุราชการใน ๑ ต.ค. ของทุกป เพ่ือประโยชน
ในการคํานวณบําเหน็จบํานาญ ต้ังแต ๓๐ ก.ย. ของทุกป เวนผูที่
คุณสมบัติไมครบถวน

38

กรณอี นมุ ตั ิใหไปศกึ ษา
ใหเสนอรายงานให สม. ดําเนินการออกคําส่ังเล่ือนช้ันเงินเดือน
เปนบําเหน็จประจําปทันที เม่ือขาราชการผูนั้นสําเร็จการศึกษากลับมา
ปฏบิ ัติราชการแลว

39

การ
เลอ่ื นยศ

40

พระราชบญั ญตั ิยศทหาร พ.ศ.๒๔๗๙

มาตรา ๔ ๑. นายทหารสัญญาบัตร

ทหารบก ลําดับยศและเทยี บยศ ทหารอากาศ
จอมพล ทหารเรอื จอมพลอากาศ
พลเอก พลอากาศเอก
พลโท จอมพลเรอื พลอากาศโท
พลตรี พลเรือเอก พลอากาศตรี
พลจตั วา พลเรือโท พลอากาศจตั วา
พนั เอก พลเรอื ตรี นาวาอากาศเอก
พันโท พลเรอื จตั วา นาวาอากาศโท
พันตรี นาวาเอก นาวาอากาศตรี
รอ ยเอก นาวาโท เรืออากาศเอก
รอ ยโท นาวาตรี เรืออากาศโท
รอยตรี เรอื อากาศตรี

เรอื เอก

เรอื โท

เรอื ตรี

41

มาตรา ๔ ๒. นายทหารประทวน ทหารอากาศ
พันจา อากาศเอก
ทหารบก ลาํ ดับยศและเทยี บยศ พันจาอากาศโท
นายดาบ ทหารเรอื พนั จา อากาศตรี
จาสบิ เอก จาอากาศเอก
จา สบิ โท พันจา เอก จา อากาศโท
จาสบิ ตรี พันจา โท จาอากาศตรี
สิบเอก พนั จาตรี
สิบโท จา เอก
สิบตรี จาโท
จาตรี

42

เครือ่ งหมายยศทหาร

ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ

43

การเลอ่ื นยศ

ระเบียบ กห.วา ดว ยการแตงตงั้ ยศและการเลื่อนยศของขา ราชการทหาร พ.ศ.๒๕๔๑

ขอ ๕ การแตง ต้ังยศใหแ ตง ตง้ั ยศตํ่าสุดกอน
ขอ ๖ หลกั เกณฑการเลอื่ นยศ

- มีตําแหนง อัตรา
- จํานวนปรับราชการ
- รับเงินเดอื นไมต าํ่ กวาช้นั ตาํ่ สุดของยศที่จะเลอื่ น
ขอ ๗ ประจําหนวยเพือ่ การศกึ ษา เลอ่ื นยศได ร.ท., ร.อ.

44

การเล่อื นยศ

ระเบยี บ กห.วา ดว ยการแตงตง้ั ยศและการเล่ือนยศของขาราชการทหาร พ.ศ.๒๕๔๑

ขอ ๘ หลักเกณฑก ารนับจาํ นวนปท่ีรบั ราชการใหนับเปน ป
๘ เดอื น ๑ ป
เศษของเดอื น ๑ เดอื น
การปด เศษเฉพาะเลอ่ื นยศครง้ั แรก

- ลาตดิ ตามคูสมรสไปตา งประเทศ (ไมไดเ งนิ เดือน) ไมนับ

- ถูกส่ังพกั ราชการและกลับเขารบั ราชการ (ไดเงนิ เดอื นครึ่งหนงึ่ ) นับครึ่ง

45

การเลื่อนยศ

บรรจุเดือน ไดเลื่อนวาท่ยี ศวนั ที่ ๑ เดือน
ม.ค. ก.ย.
ก.พ. ต.ค.
ม.ี ค. พ.ย.
เม.ย. ธ.ค.
พ.ค. ม.ค.
ม.ิ ย. ก.พ.
ก.ค. ม.ี ค.
ส.ค. เม.ย.
ก.ย. พ.ค.
ต.ค. ม.ิ ย.
พ.ย. ก.ค.
ธ.ค. ส.ค.

46

การเลือ่ นยศ

ระเบยี บ กห.วา ดว ยการแตงตงั้ ยศและการเลือ่ นยศของขาราชการทหาร พ.ศ.๒๕๔๑

ขอ ๙ - การเลือ่ นยศ (การขอพระราชทานยศ) ใหกระทาํ ปล ะ ๒
ครงั้ ต.ค., เม.ย. เสนอบัญชีถึง สป. ภายใน ๑๕ ก.ย., ๑๕ ม.ี ค.

- การเลือ่ นยศเปนวาที่ยศ ระดบั น.๑ (ร.ต. - ร.อ.) ตั้งแต ๑
ของเดอื นถดั ไป ระดบั น.๒ ขนึ้ ไป ต้ังแตว นั ทมี่ คี ณุ สมบตั ิ
ครบถวน นายทหารประทวน ต้งั แต ๑ ของเดือนถดั ไป

47

การเลือ่ นยศ

ระเบียบ กห.วา ดวยการแตงตงั้ ยศและการเล่อื นยศของขา ราชการทหาร พ.ศ.๒๕๔๑

ขอ ๑๑

ยศทหาร จาํ นวนป ปร วม
สิบตรี จา ตรี ๓
จา อากาศตรี ๓ ๖
สบิ โท จา โท ๙
๓ ๑๐
สิบเอก จา เอก ๑๑
เอก จาอากาศโท ๓ -
จา สิบตรี พันจา ตรี
อากาศตรี ๑ 48
จาสิบโท พันจา โท
อากาศโท จา อากาศ ๑
จาสบิ เอก พนั จา เอก
-

พนั จา

พันจา

พันจา

หลกั สตู รตอจากชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน

ประเภท จาํ นวนป การครองยศ (ป)
นักเรยี นนายสิบ นักเรียนจา ของหลกั สูตร ส.ต. ส.ท. ส.อ.
หรอื นักเรยี นจาอากาศ ๒๓๓
๑ ๑๓๓
ประกาศนยี บตั รวิชาพยาบาล ๒ ๑๒๓
ผดงุ ครรภและอนามัยของเหลาทพั ๓ ๑๑๓
กองหนุนประเภทท่ี ๑, ส.ต./จ.ต. ๔ ๑๑๓
กองประจําการ สมัครเขา รบั ราชการตอ ๔

๒๓๓

49

หลักสูตรตอ จากมธั ยมศึกษาตอนปลาย

ประเภท จาํ นวนป การครองยศ (ป)
นกั เรยี นนายสบิ นกั เรยี นจา ของหลักสตู ร ส.ต. ส.ท. ส.อ.
หรอื นักเรียนจา อากาศ ๑๒๓
๑ ๑๑๓


50


Click to View FlipBook Version