The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

ÊÁ¹Ø ä¾Ã
ã¹¾ÃÐäµÃ»® ¡

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ผ้เู ขยี น ดร.อุษา กล่นิ หอม
พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 มีนาคม 2561 จา� นวน 1,000 เล่ม
ข้อมลู ทางบรรณานุกรมหอสมดุ แห่งชาติ
อุษา กลิ่นหอม: มูลนธิ สิ ขุ ภาพไทย, 2561, 240 หนา้
1. สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก
ISBN 978-616-786-107-4
ออกแบบปก-จัดรูปเล่ม: ชนิสรา นาถนอม
พิมพ์ที่: อษุ าการพิมพ์
178/25 ซ.วุฒพิ ันธ์ ถ.ราชปรารภ 5 แขวงพญาไท เขตราชเทว ี กรุงเทพฯ 10400
โทรศพั ท ์ 0-2656-3470, 0-2251-5815 โทรสาร 0-2656-4284
สนับสนนุ โดย
สา� นักงานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.)
จดั พิมพโ์ ดย
โครงการจดั การความรแู้ ละการส่ือสารสาธารณะในการส่งเสรมิ บทบาทพระพุทธศาสนาและการแพทย์แผนไทย
เพ่ือการดูแลสขุ ภาวะใหก้ ับสงั คมไทย
มลู นิธิสขุ ภาพไทย
520/1-2 ถนนเทศบาลรังรักษ์เหนอื ซอย 16
แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900
โทรศพั ท์ 0-2589-4243 โทรสาร 0-2591-8092
E-mail: [email protected]
Website: http://www.thaihof.org

สารบัญ หน้า
(6)
คา� นา� 1
แหลง่ ทม่ี าของข้อมูล 1
สรุปผลการศึกษา 4
รายชอ่ื พืชในพระไตรปิฎก 4 (ภาพ 179)
5 (ภาพ 179)
กรรณิการ์ 6 (ภาพ 180)
กรรณิการเ์ ขา (ตน้ กรรณิการ์อินเดีย) 7 (ภาพ 180)
กระจับ 8 (ภาพ 181)
กระดอม 9 (ภาพ 181)
กระดงิ่ ทอง 10 (ภาพ 182)
กระถนิ พิมาน 12 (ภาพ 182)
กระทมุ่ 13 (ภาพ 183)
กระท่มุ เลอื ด 14 (ภาพ 183)
กระบาก 15 (ภาพ 184)
กระเบา 17 (ภาพ 184)
กฤษณา 18 (ภาพ 185)
กลว้ ยมีเมลด็ 19 (ภาพ 185)
กลว้ ยไม่มีเมลด็ 20 (ภาพ 186)
กะลัมพกั กะลา� พัก (ตาตมุ่ ทะเล และสลดั ได) 22 (ภาพ 186)
กากะทงิ (ตน้ นาคะ) 23 (ภาพ 187)
การเกด 24 (ภาพ 187)
กุ่มบก 25 (ภาพ 188)
เกด 25 (ภาพ 188)
โกสุม 27 (ภาพ 189)
ขนนุ ส�าปะลอ สาเก 28 (ภาพ 189)
ขอ่ ย 29 (ภาพ 190)
ขานาง 30 (ภาพ 190)
คนทา 32 (ภาพ 191)
คนทีเขมา 33 (ภาพ 192)
แคฝอย (แคหิน) 34 (ภาพ 192)
ง้วิ ปา่ 35 (ภาพ 193)
จนั ทน์ 36 (ภาพ 193)
จันทนก์ ระพ้อ 37 (ภาพ 194)
จันทน์แดง (ไทย) 38 (ภาพ 194)
จนั ทนแ์ ดง (อินเดยี )
จา� ปา

(4) หนา้
40 (ภาพ 195)
41 (ภาพ 195)
จิก 42 (ภาพ 196)
ชบา 43 (ภาพ 196)
ชะเอมเครอื 44 (ภาพ 197)
ชะเอมตน้ 46 (ภาพ 197)
ช้างนา้ ว 47 (ภาพ 198)
ซาก 48 (ภาพ 198)
ซึก 49 (ภาพ 199)
ดอกดิน 50 (ภาพ 199)
ดปี ลี 51 (ภาพ 200)
ต้นคา� 53 (ภาพ 200)
ต้นบุนนาค 54 (ภาพ 201)
ตน้ บนุ นาคเขา 55 (ภาพ 201)
ตะโก 57 (ภาพ 202)
ตะเคียน 58 (ภาพ 202)
ตาล 59 (ภาพ 203)
ตาละ หรอื ตาล ี 60 (ภาพ 203)
ตาเสอื 62 (ภาพ 204)
ทองกวาว 63 (ภาพ 204)
ทองหลาง 64 (ภาพ 205)
ใบเฉยี ง 64 (ภาพ 205)
เปง้ 66 (ภาพ 206)
เปราะหอม 68 (ภาพ 206)
ผลโกฐ 69 (ภาพ 207)
ฝาง 70 (ภาพ 207)
พญามือเหล็ก 71 (ภาพ 208)
พรกิ ไทย 72 (ภาพ 208)
พริกหาง 73 (ภาพ 209)
พิลังคะ (ลูก) พลิ ังกาสาส้มกงุ้ 74 (ภาพ 209)
พุดอินเดีย 75 (ภาพ 210)
พุทรา 76 (ภาพ 210)
มณฑารพ 77 (ภาพ 211)
มะกล�า่ หลวง 78 (ภาพ 211)
มะขวดิ 79 (ภาพ 212)
มะขามปอ้ ม 80 (ภาพ 212)
มะคา� ไก่ 81 (ภาพ 213)
มะง่วั 82
มะซาง 82 (ภาพ 213)
มะเด่อื (พืชในสกลุ มะเด่ือที่ปรากฏในพระไตรปิฏก) 83 (ภาพ 214)
กร่าง 84 (ภาพ 214)
ไทร 86 (ภาพ 215)
ไทรย้อย
ไทรใหญ ่

(5) หนา้
87 (ภาพ 215)
88 (ภาพ 216)
นิโครธ 89 (ภาพ 216)
ผกั เลือด 90 (ภาพ 217)
มะเด่ือ 91 (ภาพ 217)
โพ 92 (ภาพ 218)
เลียบ 93 (ภาพ 218)
ปร ู๋ 95 (ภาพ 219)
มะตูม 96 (ภาพ 219)
มะปราง 97 (ภาพ 220)
มะเฟอื ง 98 (ภาพ 220)
มะไฟ 99 (ภาพ 221)
มะม่วง 101 (ภาพ 221)
มะรนื่ 102 (ภาพ 222)
มะรุม 103 (ภาพ 222)
มะหาด 105
โมกมนั 105 (ภาพ 223)
ไม้รักด�า 106 (ภาพ 223)
ย่านทราย (ไมเ้ ถา) 107 (ภาพ 224)
ย่านทราย (ไม้ยืนต้น) 108 (ภาพ 224)
ยหี่ รา่ 109 (ภาพ 225)
รกฟา้ รกฟา้ ขาว 111 (ภาพ 225)
รงั 112 (ภาพ 226)
ราชดดั 113 (ภาพ 226)
ลา� เจยี ก 114 (ภาพ 227)
ล�าดวน 115 (ภาพ 227)
เลบ็ เหยย่ี ว 116 (ภาพ 228)
ว่านนา้� (เล็ก) 117 (ภาพ 228)
วา่ นนา�้ 119 (ภาพ 229)
สมอ (สมอไทย) 120 (ภาพ 229)
สมอพิเภก 121 (ภาพ 230)
สะคร้อ 124 (ภาพ 230)
สะเดา 125 (ภาพ 231)
สาละ (ลังกา) 126 (ภาพ 231)
สาละ (อินเดยี ) 127 (ภาพ 232)
หัวกระเทยี ม 128 (ภาพ 232)
อโศก (โสกน้�า) 129 (ภาพ 233)
อโศก (อโศกอินเดีย)
อุโลก 131

ตาราง 1 รายชื่อพันธไุ์ ม้ทปี่ รากฏในพระไตรปิฎก 174
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก ภาพสมนุ ไพรในพระไตรปิฎก 175

คาํ นํา

เมอ่ื เอ่ยถงึ พระไตรปิฎก คนทั่วไปยอ่ มนกึ ถงึ เรือ่ งราวในพระพุทธศาสนาที่มีเน้อื หา “หนกั ” อ่านยาก เปน็
เร่ืองของนักบวชหรือคนที่สนใจพระธรรมวินัยอย่างลึกซึ้งเท่าน้ัน แต่เมื่อใครก็ตามได้ลองอ่านดูกลับพบว่า นอกจาก
หลักธรรมคา� สอนแลว้ ยังมเี ร่ืองการแพทย์ การเยียวยาบา� บัดโรคภัยไข้เจ็บ การดแู ลสุขภาพ การกนิ อาหารเพือ่ สุขภาพ
พืชสมุนไพร ฯลฯ จึงอาจกล่าวได้ว่าเน้ือหาในพระไตรปิฎกเป็นภูมิปัญญาด้านสุขภาพท้ังกายและใจ และรวมถึง
พทุ ธศาสนามีบทบาทส�าคัญตอ่ การดูแลสขุ ภาพของตนเองและสขุ ภาพของสังคมด้วย

ในเวลานี้สังคมไทยหันกลับมาฟื้นฟูส่งเสริมการใช้สมุนไพร การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยอย่าง
จริงจัง ซึ่งภูมิปัญญาเหล่าน้ีได้รับแนวคิด หลักการหรือมีรากความรู้จากพระพุทธศาสนาท่ีผสมผสานกับความรู้ด้ังเดิม
ของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ จึงมผี ้คู นสนใจถงึ ความรู้ยาสมุนไพรในคัมภรี โ์ บราณทอ่ี ยตู่ ามวัด ความรจู้ ากพระ รวมถงึ การพูดถงึ
การแพทย์แบบพุทธศาสนา แต่พบว่ายังไม่มีการศึกษาพืชที่กล่าวไว้ในพระไตรปิฎกเลย จะมีอยู่ก็เป็นการศึกษาต้นไม้
ในพระพุทธประวัติเท่าน้นั

เหตนุ ้ี “โครงการจดั การความรแู้ ละการสอื่ สารสาธารณะในการสง่ เสรมิ บทบาทพระพทุ ธศาสนาและการแพทย์
แผนไทย เพื่อการดูแลสุขภาวะให้กับสังคมไทย” ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ (สสส.) จึงท�าการศึกษาพืชในพระไตรปิฎก โดยศึกษาเอกสารหลักจากพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ซง่ึ มจี า� นวน 45 เลม่ และเอกสารจากอนิ เดยี เรอ่ื ง A Critical Apprraisal of AYURVADIC
MATERIAL in BUDDHIST LITERATURE with Special Reference to Tripitaka (การประเมินสมนุ ไพรของ
อายรุ เวทในพระไตรปฎิ ก 1985 หรือ 2528 โดย Dr.Jyotir Mitra)

ขอขอบคุณ ดร.อุษา กลิ่นหอม นักชีววิทยาที่เชื่อม่ันและสนใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ท่ีมี
วริ ยิ ะอตุ สาหะในการอา่ น คน้ ควา้ จา� แนกพชื ตามหลกั ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ เรยี บเรยี งและเขยี นออกมาเปน็ หนงั สอื “สมนุ ไพร
ในพระไตรปฎิ ก” เลม่ นี ้ ซงึ่ ไดแ้ จกแจงช่ือพืชท่พี บจา� นวน 321 ชนดิ จดั ท�าเป็นตารางให้เรยี นร้ไู ด้ง่าย (ไม่สามารถ
ระบุชื่อวิทยาศาสตร์ได้ 17 ชนิด) และได้คัดเลือกพืชหรือสมุนไพรจ�านวนกว่า 100 ชนิดท่ีมีรายละเอียดของพืช
การเพาะปลูก ระบบนิเวศ การใชป้ ระโยชน์ และอ้างอิงถงึ ที่กลา่ วไว้ในพระไตรปิฎกเลม่ ต่าง ๆ เพอื่ ใชเ้ ป็นการอ้างอิง
หรอื ศกึ ษาค้นควา้ ตอ่ ได้

หวังเป็นอย่างย่ิงว่า ความรู้เหล่าน้ีจะช่วยให้เกิดการส่งเสริมสนับสนุนการปลูกพืชหรือสมุนไพรเพิ่มมากขึ้น
ทง้ั ในพืน้ ทบ่ี ้านส่วนตัว ทสี่ าธารณะ ตามหน่วยงานทงั้ รัฐเอกชน และทีส่ า� คญั ที่สุดใหม้ กี ารปลูกในวัดวาอาราม นอกจาก
เพิม่ พืน้ ที่สีเขยี วให้วัดร่มรื่นเหมาะแก่การเจริญสตภิ าวนาแลว้ วัดยงั เปน็ แหล่งเรียนรสู้ มุนไพรสูเ่ รอ่ื งราวในพระไตรปิฎก
ท่ีให้เด็กเยาวชนและคนท่ัวไปสามารถศึกษาเรียนรู้ ต้นไม้ ธรรมะ และสุขภาพไปในคราวเดียวกันได้อย่างเพลิดเพลิน
ดว้ ย.

มลู นธิ สิ ุขภาพไทย

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

1. แหล่งท่มี าของข้อมูล

การศกึ ษาเอกสารพระไตรปฎิ กคร้งั น้ ี ได้ใชเ้ อกสารทมี่ าจาก 3 แหล่ง ไดแ้ ก่
1. พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยซึ่งมีจ�านวน 45 เล่มได้มีการจัดท�าให้มาอยู่
ในรปู ดิจิทลั ทา� ใหส้ ะดวกในการค้นหา (http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/) และมกี ารแบ่งหน้าเปน็
สว่ น ๆ ทา� ใหเ้ หมาะแก่ศึกษา ค้นหา ทบทวนและน�ามาอ้างองิ
2. พระไตรปฎิ กภาษาไทยจากฐานขอ้ มลู ของ http://www.84000.org/ และ http://www.tipitaka.com/
ทัง้ 2 web นี้ไมม่ ีการแบ่งหนา้ ทา� ให้ยากต่อการนา� มาใชใ้ นการอา้ งองิ เน้ือหาจาก 2 รายการนใี้ นภาพรวมเหมอื นกบั
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั แตอ่ าจมีศพั ทบ์ างคา� ท่ีใช้แตกตา่ งกนั ไปบ้าง
3. เอกสารจากอินเดีย เร่ือง A Critical Apprraisal of AYURVADIC MATERIAL in BUDDHIST
LITERATURE with Special Reference to Tripitaka (การประเมนิ สมุนไพรของอายุรเวทในพระไตรปฎิ ก 1985
หรือ 2528 โดย Dr.Jyotir Mitra)
การรายงานผลการศกึ ษาในเอกสาร หากพบค�าว่าฉบับภาษาไทยหมายถึงเอกสารตามขอ้ 1 และ 2 สว่ น
เอกสารในข้อ 3 จะใชค้ �าวา่ ฉบบั ของอนิ เดียนอกจากนี้ยังได้น�าเอาเอกสารอกี ชน้ิ หนึ่งมาใช้เพอื่ ทา� การวเิ คราะหด์ ้วย คือ
หนงั สอื ชอ่ื “ลทั ธนิ กั พรตและการเยยี วยาในอนิ เดยี โบราณ: ระบบการแพทยใ์ นพทุ ธอาราม” (Asceticism and Healing
in Ancient India: Medicine in the Buddhist Monastery) โดย เค็นเน็ธ จี ซีสค์ (Kenneth G. Zysk)
แปลเป็นภาษาไทย โดย ธีรเดช อทุ ัยวทิ ยารัตน ์ (2552ข) (ดูภาพ 1: ภาคผนวกภาพ หนา้ 176)

2. สรุปผลการศกึ ษา

การศกึ ษาเอกสารพระไตรปิฎกฉบบั ภาษาไทยทง้ั 45 เลม่ ซึง่ ทา� การคน้ หาช่ือพชื ท้งั หมดจากนัน้ น�าชื่อพืชที่
ได้มาเทียบเคียงกับชื่อพรรณไม้ท่ีปรากฏในเอกสารทางการในหนังสือ ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์
(2557) ในกรณที ี่มชี ื่อภาษาไทยเหมือนกนั ในหลายชนิด (Species) ทา� การบันทกึ เอาไว้ทัง้ หมด จากนั้นน�ามาคดั เลอื ก
โดยใช้เกณฑ์ว่าพืชชนิดนั้นต้องมีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศอินเดีย โดยใช้การสืบค้นจากฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้แก ่
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี http://www.phargarden.com/ ฐานข้อมูล
สมุนไพร “สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนิด” http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/ ฐานข้อมูลสมุนไพร
Med Thai https://medthai.com/ และ Wikipedia ดังน้ันผลการศึกษาที่มีช่ือพืชเป็นภาษาไทยเหมือนกัน

2 สมุนไพรในพระไตรปิฎก

และมีหลักฐานว่ามีการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศอินเดีย ได้ท�าการบันทึกไว้ทุกช่ือ แต่มีการนับเป็น 1 รายการ
(ดูตาราง 1 ภาคผนวกรายชื่อพันธุ์ไมท้ ป่ี รากฏในพระไตรปิฎก หน้า 131) เช่น

เหลาชะโอน Oncosperma horridum (Griff.) Scheff.
เหลาชะโอน Oncosperma tigillaria (Jack) Ridl.

ในกรณีที่ไม่พบช่ือในเอกสารช่ือพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันท์ (2557) น�าช่ือไปค้นหาใน
พจนานกุ รมภาษาบาล ี (http://www.palidict.com/content และ http://www.nkgen.com/buddhist/buddhist.
htm) และเอกสารฉบับของอนิ เดยี เพอื่ ระบชุ นิด (Species) ให้ไดม้ ากทีส่ ดุ

การตรวจทานขั้นสุดท้าย ช่ือวิทยาศาสตร์ท้ังหมดน�ามาตรวจสอบความถูกต้องที่เป็นปัจจุบันกับฐานข้อมูล
ของ The Plant List (http://www.theplantlist.org/)

ผลจากการศกึ ษาพบวา่ มพี ชื ทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ กฉบบั ภาษาไทยไมน่ อ้ ยกวา่ 321 ชนดิ สามารถจดั จา� แนก
เป็นช่ือวิทยาศาสตร์ได้ 304 ชนิด เป็นพืชที่ไม่สามารถศึกษาถึงช่ือวิทยาศาสตร์ได้ จ�านวน 17 ชนิด (รายละเอียด
ปรากฏในตาราง 1) ท้ังนี้ในบางตอนกล่าวว่าเป็นพืชท่ีพบในสวรรค์หรือเป็นพืชไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ในปัจจุบัน
เช่น ตน้ หรดาล ทป่ี รากฏในเล่มท่ ี 28 หนา้ 504 ได้กล่าวไวว้ า่ เป็นพนั ธ์ุไม้ทีข่ น้ึ ปนกับไม้อื่นในสระโบกขรณ ี หรอื ไม้
บางชนิดท่ีไม่ปรากฏว่าเป็นช่ือพันธุ์ชนิดใดที่มีเรียกในประเทศไทย จึงไม่สามารถสืบสาวไปได้ว่าน่าจะเป็นไม้กลุ่มใด
เช่น แคธน ู เครือทับทิม เป็นตน้ หรอื บางชนิดมีชอ่ื เรยี กในภาษาไทยแต่เมอื่ วิเคราะห์เชงิ ลกึ พบว่าพืชชนดิ นั้นไม่ปรากฏ
ในแถบประเทศอินเดยี แตพ่ บเฉพาะในแถบเอเชยี หรือเปน็ ไม้ประจ�าถิน่ ของไทย ในการศกึ ษาคร้ังนจี้ ึงไดน้ า� เสนอชนดิ
ท้ังท่ีมีอยู่ในประเทศไทยและที่น่าจะเป็นชนิดที่กล่าวถึงในพระไตรปิฎก จากการศึกษาในคร้ังน้ีพบว่าพันธุ์ไม้ปรากฏ
อยู่ในพระไตรปฎิ ก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ตั้งแตเ่ ลม่ ที่ 1 จนถงึ เล่มท่ี 33 ส่วนใหญ่อยูใ่ นเล่มท่ี 5

ต�าราจากอินเดียรายงานว่าพันธุ์พืชในพระไตรปิฎกที่เกี่ยวข้องกับยาในอายุรเวทมีการกล่าวถึงจ�านวน 435
รายการ (แต่ในตารางแนบท้ายพบว่ามีการไล่ล�าดับข้ามไป 1 หมายเลข แสดงว่ามีพืชจ�านวน 434 รายการ)
ในจ�านวนนีเ้ ป็นไลเคน 1 รายการ เห็ด 1 รายการ และหอยสองฝา 1 รายการ ซง่ึ อาจเป็นข้อผดิ พลาดในการจัดทา�
ต้นฉบับ เน่ืองจากหอยสองฝาเป็นสัตว์วัตถุ ซึ่งควรจะอยู่ในบทที่ว่าด้วยสัตว์ที่ใช้เป็นสมุนไพร สมุนไพรท่ีปรากฏใน
พระไตรปิฎกและมกี ารใช้ในอายรุ เวท ในจ�านวน 434 รายการ สามารถจ�าแนกจนถงึ ชอ่ื วทิ ยาศาสตรไ์ ด ้ 278 ชนิด
และยงั มอี กี 64 รายการ ท่เี ปน็ พชื ท่ไี มร่ ู้จัก

การศกึ ษาเปรียบเทยี บระหว่างเอกสารฉบบั ภาษาไทยและฉบับของอินเดยี
จากการศึกษาเปรียบเทียบพืชที่ปรากฏในเอกสารฉบับภาษาไทยและฉบับของอินเดียพบว่า มีเน้ือความท่ี

แตกกันดงั นี้
1. ในเอกสารภาษาไทยใช้คา� วา่ “ภตู คิ าม” หมายถึงการจัดจา� แนกกลมุ่ พชื เป็น 5 กลุม่ คอื
(1) พืชพนั ธุเ์ กดิ จากเหง้า ไดแ้ ก่ ขมนิ้ ขงิ ว่านนา�้ ว่านเปราะ อตุ พดิ ข่า แฝก แหว้ หม ู หรือพืชพนั ธ์ุ

อย่างอ่ืนซึ่งเกดิ ทเ่ี หง้า งอกที่เหง้าน้ชี ื่อวา่ พชื พันธเ์ุ กดิ จากเหง้า แตใ่ นเอกสารฉบับของอินเดีย ยกตัวอย่างพืชในกลุ่มน้ี
ว่า ขมิ้น ขิง ว่านน�า้ 1 วา่ นน้�า 2 โหรา (เอกสารเดิมแปลว่ากระเทยี ม) โกฐก้านพรา้ ว หญ้าแฝก แห้วหมู

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 3

(2) พืชพนั ธ์ุเกดิ จากล�าตน้ ได้แก่ ต้นโพ ตน้ ไทร ตน้ ดปี ลี ตน้ มะเด่ือ ตน้ เต่าร้าง ตน้ มะขวิด หรือ
พชื พนั ธอ์ุ ยา่ งอนื่ ซงึ่ เกดิ ทลี่ า� ตน้ งอกทลี่ า� ตน้ นช้ี อื่ วา่ พชื พนั ธเ์ุ กดิ จากลา� ตน้ แตเ่ อกสารจากอนิ เดยี ระบวุ า่ เปน็ โพ นโิ ครธ
ผกั เลอื ด และมะขวิด

(3) พชื พนั ธเุ์ กดิ จากตา ได้แก่ อ้อย ไม้ไผ่ ไม้ออ้ หรือพืชพันธ์ุอยา่ งอนื่ ซง่ึ เกดิ ทต่ี า งอกทต่ี า นีช้ อ่ื ว่า
พืชพันธ์เุ กิดจากตา ในเอกสารฉบับอนิ เดยี ระบวุ า่ เปน็ ออ้ ย ไผ่ปา่ หญา้ แขม

(4) พชื พันธเุ์ กิดจากยอด ไดแ้ ก่ ผักบุ้งลอ้ ม แมงลกั เถาหญ้านาง หรือพืชพนั ธุอ์ ย่างอื่นซงึ่ เกิดทย่ี อด
งอกที่ยอดน้ีช่ือว่า พืชพันธุ์เกิดจากยอด แต่เอกสารจากอินเดียไม่มีการระบุกลุ่มพืชท่ีเกิดจากยอด แต่กล่าวถึงกลุ่ม
พืชท่ีเกิดจากการปักช�า (Cutting) เช่น ย่ีหร่าหรือกะเพราควายหรือโหระพาช้าง (Ocimumgratissimum L.)
มารจ์ อแรม (Origanum majorana L.) หญา้ ยุงหรือขอ้ี น้ (Pavonia odorata Willd.)

(5) พชื พันธ์เุ กิดจากเมล็ด ได้แก ่ ขา้ ว ถว่ั งา หรือพชื พันธอ์ุ ยา่ งอ่นื ซง่ึ เกิดท่เี มล็ด งอกท่ีเมล็ด น้ีชือ่ วา่
พืชพันธเ์ุ กดิ จากเมลด็ แต่ในเอกสารของอนิ เดยี ไม่มกี ารระบุชนิดของพชื ในกลุม่ น้ไี ว้

จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่าการถอดแปลชื่อพืชจากภาษาบาลีมาเป็นภาษไทย ยังมีความเข้าใจไม่ตรงกัน
ในชนิดของพืช เช่น พืชที่เกิดจากเหง้า ในกลุ่มท่ี 1 ในฉบับภาษาไทยมีว่านเปราะ แต่ในฉบับของอินเดียหมายถึง
ว่านน�า้ อีกชนดิ หนึ่ง ซึ่งเปน็ พชื ทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั (ภาพ 2: ภาคผนวกภาพ หน้า 176) รวมท้งั อุตพติ ทป่ี รากฏใน
เอกสารฉบบั ภาษาไทย แตใ่ นเอกสารของอนิ เดยี ระบวุ า่ เป็น โหราและโกฐก้านพรา้ ว (ภาพ 3: ภาคผนวกภาพ หนา้
177)

ส�าหรบั พืชในกล่มุ ท ่ี 2 ในเอกสารฉบับภาษาไทยระบวุ ่าเปน็ ต้นไทรและมะเด่อื แตเ่ อกสารของอนิ เดียระบุ
ว่าเปน็ ต้นนิโครธและผักเลอื ด ซึง่ พืชท้ัง 4 ชนดิ อยูใ่ นสกุลเดยี วกนั (ภาพ 4: ภาคผนวกภาพ หนา้ 178) ในเอกสาร
ฉบับภาษาไทยยงั มีการเพมิ่ ชนดิ ของพืชมาอกี 2 ชนิด คือ ต้นดปี ลีและตน้ เต่าร้าง ซึ่งไม่ปรากฏในเอกสารฉบบั ของ
อนิ เดยี

พชื ในกลุม่ ท่ี 3 ทเ่ี กดิ จากตา มีความแตกตา่ งกนั ระหว่างเอกสารฉบับภาษาไทยคอื ออ้ และแขมที่ปรากฏ
ในเอกสารของอินเดีย

จากการศึกษาในครั้งนี้พบรายช่ือพรรณไม้ที่ปรากฎในพระไตรปิฎกถึง 321 ชนิด บางชนิดแม้ว่าจะ
ไมม่ กี ารปรากฏในประเทศไทย แตม่ ตี น้ ไมบ้ างชนดิ ทม่ี คี วามใกลเ้ คยี งทส่ี ามารถเตบิ โตไดใ้ นประเทศไทย จงึ รวบรวม
มานา� เสนอไว้ที่นี้ แตใ่ นหนงั สือเล่มน้ ี ไดค้ ัดเลือกพชื บางชนดิ จา� นวน 100 กว่าชนิดมาน�าเสนอเพื่อส่งเสรมิ ใหม้ ี
การปลูกในวัด ที่สาธารณะหรือพื้นที่ว่างเปล่า เพื่อเป็นอนุรักษ์พันธุกรรมของพืชเหล่าน้ีไว้ จึงเสนอข้อมูล
รายละเอียดของพชื การเพาะปลูก ระบบนเิ วศ การใช้ประโยชน์ และการปรากฏในพระไตรปิฎกเล่มตา่ ง ๆ เพือ่
ใชเ้ ป็นการอ้างอิง

การจัดท�าข้อมูลครั้งน้ี เพื่อแนะน�าให้รู้จัก รู้ประโยชน์ และเพื่อส่งเสริมให้ปลูกซ่ึงอาจน�าไปสู่การจัด
ให้มีศูนย์เรียนรู้พรรณไม้ในพระไตรปิฎกตามสถานท่ีต่าง ๆ ด้วย โดยเฉพาะฟื้นฟูวัดให้มีการปลูกพันธุ์ไม้หรือ
สมุนไพรในพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงความรู้จากตัวหนังสือในพระไตรปิฎกกับพืชพันธุ์ต่าง ๆ และช่วย
สร้างวดั ให้รม่ รื่น สง่ เสรมิ การเรียนรู้สภาพแวดล้อมตามพระไตรปิฎก รวมถึงการน�าเอาความร้กู ารดูและสขุ ภาพ
ทง้ั กายและใจตามหลักพระพทุ ธศาสนามาใช้ให้กว้างขวางยง่ื ข้ึนดว้ ย

4 สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก

3. รายช่ือพชื ในพระไตรปฎิ ก

กรรณิการ์

ส่วนท่ปี รากฏในพระไตรปิฎก
....ประวตั ใิ นอดตี ชาตขิ องพระเอกฉตั ตยิ เถระ (พระเอกฉตั ตยิ เถระ เมอ่ื จะประกาศประวตั ใิ นอดตี ชาตขิ องตน

จงึ กลา่ ววา่ ) ขา้ พเจา้ ไดส้ รา้ งอาศรม เกลอ่ื นกลน่ ดว้ ยทรายขาวสะอาดใกลแ้ มน่ า�้ จนั ทภาคา และไดส้ รา้ งบรรณศาลาไว…้ .
ตน้ ปรู ตน้ คัดเคา้ ตน้ ตนี เป็ด ตน้ มะกล่า� หลวงต้นคนทสี อ และต้นกรรณกิ ารล์ ว้ นมดี อกบานสะพร่งั อยู่ใกล้ ๆ อาศรม
ของข้าพเจ้า (เล่ม 33 หน้า 6-7)

....ประวัติในอดีตชาติของพระตีณิกิงกณิปุปผิยเถระ (พระตีณิกิงกณิปุปผิยเถระ เมื่อจะประกาศประวัติใน

อดตี ชาตขิ องตน จงึ กลา่ ววา่ )ขา้ พเจา้ ไดเ้ หน็ พระพทุ ธเจา้ พระนามวา่ วปิ สั สผี ปู้ ราศจากธลุ คี อื กเิ ลส ผทู้ รงเปน็ ผนู้ า� สตั วโ์ ลก
รุ่งเรอื งดังดอกกรรณกิ าร์ ประทบั นง่ั อยู่ทซ่ี อกภูเขา (เล่ม 33 หน้า 166)

กรรณกิ ารม์ ีถน่ิ เดมิ อยู่ทีอ่ ินเดยี สนั นิษฐานวา่ เข้ามาในไทยชว่ งปลายสมัยกรงุ ศรอี ยุธยาหรอื สมัยตอนต้นของ
กรุงรัตนโกสินทร ์ ค�าวา่ “กรรณกิ าร”์ อาจมาจากคา� วา่ “กรรณิกา” ซง่ึ หมายความถึง ชอ่ ฟา้ กลบี บวั ดอกไม ้ ตุ้มหู
และเคร่ืองประดับหู จึงมกี ารตั้งข้อสงั เกตวา่ รูปทรงของดอกกรรณิการ์คลา้ ยจะเป็นต่างหหู รือเครอ่ื งประดับหไู ด้อย่างด ี
เนอ่ื งจากดอกกรรณกิ ารม์ หี ลอดท่ีนา่ จะสอดในรหู ไู ด้นั่นเอง

ชื่อสามัญภาษาไทย กรรณิการ์

ชอ่ื สามัญภาษาองั กฤษ Night blooming jasmine, Night Jasmine, Coral Jasmine

ชอ่ื พืน้ เมอื ง กรรณกิ าร์ กณกิ าร ์ กรณิการ์ (ภาคกลาง) กนั ลกิ า กรรณิกา (ภาคกลาง) สะบนั งา (น่าน)

ปาริชาต ิ (ทัว่ ไป)

ช่ือบาลี-สนั สกฤต กณกิ ารระ กัณณิการะ

ชื่อวิทยาศาสตร์ Nyctanthes arbor-tristis L.

ชอื่ วงศ์ Oleaceae

ถิ่นกา� เนิด มีถ่ินก�าเนดิ ดัง้ เดมิ ในตอนกลางของประเทศอินเดีย

นิเวศวิทยา เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนที่ระบายน้�าได้ดี มีความชื้นปานกลาง แสงแดดแบบเต็มวันและ

ครง่ึ วนั หากปลกู ในทแ่ี หง้ แลง้ จะออกดอกนอ้ ย โดยจะออกดอกในชว่ งประมาณเดอื นสงิ หาคม

ถึงเดือนพฤศจกิ ายน

การขยายพันธ์ุ การเพาะเมล็ด การตอนกง่ิ หรือการปักชา� กิ่ง

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
ไมพ้ มุ่ กง่ึ ไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ ไมผ่ ลดั ใบมคี วามสงู ของตน้ ประมาณ 3-5 เมตร เปลอื กของลา� ตน้ มลี กั ษณะขรขุ ระ

และเปน็ สีน้า� ตาล ก่ิงอ่อนเป็นเหลยี่ มสเ่ี หล่ียม และมขี นแข็งสากมอื ใบเป็นใบเด่ยี ว ออกตรงขา้ มกนั ลักษณะของใบ
เป็นรูปไข่ออกดอกเป็นช่อ ออกตามซอกใบหรือง่ามใบดอกเป็นดอกย่อยสีขาวและมีกลิ่นหอม ดอกจะบานในช่วงเย็น
และจะรว่ งในช่วงเชา้ วนั ร่งุ ข้นึ ผลมีลกั ษณะเป็นรูปไขก่ ลับหรอื มีลักษณะเปน็ รูปทรงกลมค่อนข้างแบน ปลายผลเปน็ มน
และมีตง่ิ แหลม

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 5

การใชป้ ระโยชน์
ดอกมีสาร Carotenoid nyctanthin ที่ให้สีเหลืองอมแสด ใช้ทา� เปน็ สีสา� หรับย้อมผ้า ด้วยการใช้โคนกลีบ

ดอกสว่ นหลอดสสี ้มแดงน�ามาโขลกแบบหยาบ ๆ เติมน�า้ แลว้ คนั้ สว่ นน้�ากรองจะได้นา�้ ที่มสี ีเหลอื งใส ใช้เปน็ สยี อ้ มผา้ ได้
และถ้าเติมน้�ามะนาวหรือสารส้มลงไปเล็กน้อยในขณะย้อมก็จะท�าให้สีคงทนย่ิงขึ้น นอกจากจะใช้ย้อมสีผ้า สีจร
สผี า้ ไหมแลว้ ยงั ใชท้ า� สขี นมไดอ้ กี ด้วย ดอกใชส้ กัดทา� เป็นนา้� มนั หอมระเหย น�าไปใชส้ �าหรับท�าเปน็ น�้าหอม กรรณกิ าร์
ปลกู เปน็ ไม้ประดับ ไมฉ้ ากหลังหรอื บงั สายตาได้ และควรห่างจากลานนั่งเลน่ พอสมควร เพราะดอกจะมกี ล่นิ หอมแรง
ในช่วงเย็น ในประเทศอินเดียจะนับถือต้นกรรณิการ์เป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ชนิดหนึ่ง (ประเทศอินเดียมีต้นกรรณิการ์เขา
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่สูงได้ถึง 30 เมตร) ต้นกรรณิการ์จัดเป็นไม้มงคล สรรพคุณทางยา ดอกมีรสขม ช่วยแก้ลม
วงิ เวยี น รากมีรสขมฝาด ใชเ้ ปน็ ยาบ�ารงุ ธาตุ ใบมรี สขม ชว่ ยทา� ใหเ้ จรญิ อาหาร เปลอื กมรี สขมเยน็ ใช้เปลอื กช้ันในน�า
มาตม้ กับน�า้ ด่ืมเปน็ ยาแก้อาการปวดศีรษะ

กรรณกิ ารเ์ ขา (ต้นกรรณิการอ์ ินเดีย)

ส่วนท่ีปรากฏในพระไตรปฎิ ก
....ประวัตใิ นอดตี ชาตขิ องพระสารบี ุตรเถระ (พระอานนทเถระกลา่ ววา่ ) ตอ่ ไปนี้ ขอท่านท้งั หลายจงตง้ั ใจฟัง

ประวัติ ในอดีตชาติของพระเถระท้ังหลาย (ต่อไป) (พระสารีบุตรเถระบรรลุสาวกบารมีญาณแล้วได้อุทานข้ึนว่าในที่

ไมไ่ กลภูเขาหมิ พานต์ มีภเู ขาลกู หนงึ่ ช่ือลมั พกะ (ใกล้ ๆ ภเู ขาลัมพกะนัน้ ) เขาสร้างอาศรม
และสร้างบรรณศาลาไวอ้ ย่างดเี พือ่ ขา้ พเจ้า….ต้นกรรณิการ์ ต้นกรรณิการเ์ ขา ตน้ ประดู่ ตน้ อญั ชนั มากมาย

ส่งกล่ินหอมอบอวลคล้ายกล่ินทิพย์ประดบั อาศรมของขา้ พเจา้ ใหง้ ดงาม (เล่มท่ี 32 หนา้ 26-27)

ต้นกรรณิการเ์ ขา มาจากคา� เรียกวา่ หนานปลิง ซ่งึ มชี ื่อสามญั ในภาษาอังกฤษว่ากรรณิการ์ (Karnikar Tree)
ในพระไตรปิฎกจงึ เรยี กว่ากรรณกิ าร์เขา ชือ่ สามญั อกี ชอ่ื หน่ึง คอื จานอาหารเยน็ (Dinner Plate Tree) เรียกกันท่ัวไป
เช่นน้ีเนื่องด้วยชาวอินเดีย พม่าและฟิลิปปินส์นิยมใช้ใบแก่น�าไปท�าเป็นจานใส่อาหารหรือน้�าแกงน่ันเอง และยังใช้
ห่อของหรอื เปน็ วสั ดมุ งุ หลงั คา ส่วนของดอกมกี ลิ่นหอมและมีการน�ามาใช้เป็นยาฆา่ แมลงไดด้ ้วย

ชื่อสามัญภาษาไทย กะหนานปลิง

ชอื่ สามญั ภาษาอังกฤษ Karnikar Tree,Kanak Champa, Muchakunda, Bayur Tree, Maple-Leafed Bayur

Tree, and Dinner Plate Tree

ช่ือพื้นเมอื ง เต้าแมว (เชียงใหม่) สลักกะพาด (สระบุรี) ปอหูช้าง สนานดง สากกะเท้า (อุตรดิตถ์)

สลกั กะพาด (สระบรุ ี) กะหนานปลงิ หคู วาย (ประจวบครี ีขนั ธ)์ ตองเต๊า ปอเตา๊ (ภาคเหนือ)

ปอชา้ งแหก สลกั กะพาด ปอหูช้าง หนานปิง (ภาคกลาง) ชะต่อละ (กะเหรย่ี ง-แมฮ่ ่องสอน)

ตะมยุ่ (เมย่ี น)

ช่ือบาล-ี สนั สกฤต กณกิ ารระ กณั ณกิ าระ

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Pterospermum acerifolium (L.) Willd.

ชื่อวงศ์ Malvaceae

ถิ่นก�าเนิด ในแถบเอเชียใต้

6 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

นิเวศวิทยา มีเขตการกระจายพันธุ์ในอินเดีย พม่า และมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายพันธุ์
การขยายพันธุ์ ทั่วทุกภาค โดยพบขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา บนพ้ืนท่ีระดับต�่าจนถึงพ้ืนที่สูงจากระดับ
นา�้ ทะเลประมาณ 900 เมตร
ใชเ้ มล็ด

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ ่ มีความสงู ไดป้ ระมาณ 18-25 เมตร ทรงต้นเปลาตรง เปลอื ก

ต้นเป็นสีเทาหรือสีน้�าตาลอ่อน เปลือกต้นค่อนข้างเรียบ มีช่องอากาศตามยาวอยู่ทั่วไป ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีแดง
แทรกลายเสน้ สขี าว เนื้อไม้สดมีสีชมพเู ร่อื ๆ แลว้ จะเปลยี่ นเปน็ สีน�้าตาล ใบเปน็ ใบเด่ียว ออกเรยี งสลับ ลักษณะของ
ใบมีรปู ทรงไม่แน่นอน ส่วนใหญม่ กั เป็นรปู ไข่หรือรูปรี แผน่ ใบแผ่คอ่ นขา้ งกว้างจนเกือบเปน็ แผ่นกลม ปลายใบแหลม
โคนใบเวา้ ลึกคล้ายรูปหัวใจ ส่วนขอบใบมักเวา้ หา่ ง ๆ ไม่เป็นระเบยี บ ออกเปน็ ดอกเดย่ี ว ตั้งขึน้ ตามงา่ มใบ ดอกตมู
รูปทรงกระบอกห้าเหล่ียม ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน ผลมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก
เป็นสัน 5 เหลยี่ ม

การใช้ประโยชน์
เนื้อไม้มีรสฝาด ใช้เป็นยาบ�ารุงโลหิต ในอินเดียทางภาคเหนือจะใช้ดอกเป็นยาฆ่าแมลง บางพื้นท่ีใช้ดอก

เป็นอาหารเนอ้ื ไมใ้ ช้ในงานกอ่ สรา้ งท่ัวไป ชาวเม่ียนจะใชเ้ น้อื ไม้ในการใชส้ ร้างบา้ น และใช้ท�าสะพาน ใชป้ ลกู เปน็ ไมใ้ ห้
ร่มเงาและปลูกเป็นไม้ประดับทวั่ ไปในอินเดยี

กระจบั

สว่ นที่ปรากฏในพระไตรปฎิ ก

....(เนื้อความต่อเนื่องจากกรรณิการ์เขา) ....ปทุมบางกอก�าลังมีดอกตูมเหง้าบัวเลื้อยไปทั่ว กอกระจับมีใบ
ดารดาษงดงามอยใู่ นบึง (เลม่ 32 หน้า 28)

ชือ่ สามญั ภาษาไทย กระจับ

ชื่อสามัญภาษาองั กฤษ Water chestnut

ชอื่ พ้ืนเมือง กระจับ มาแงง่ กะจับ มาแง่ง (พายบั ) เขาควาย

ชอ่ื บาล-ี สนั สกฤต กเสรุ. โคกณฺฏก. (ของมวย) น. สฆึ าฏก Singhāțaka

ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Trapa natans var. bispinosa (Roxb.) Makino

ชื่อวงศ์ Lythraceae

ถิ่นกา� เนดิ พบไดท้ ้ังในยโุ รป เอเชยี และอัฟรกิ า

นิเวศวทิ ยา อาศยั อยูใ่ นนา�้

การขยายพนั ธ์ุ ใช้ฝกั หรือแยกหนอ่

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 7

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพืชน�้าล้มลุกอายุหลายฤดู มีอยู่ทั่วไป ลักษณะเป็นกอลอยน�้า ชอบน้�าน่ิง มีรากหยั่งยึดดินและมีไหล

ใบเด่ยี วม ี 2 แบบ ใบท่ีลอยนา�้ มีกา้ นยาว อวบน้า� และพองเปน็ กระเปาะตรงกลาง ทา� ให้ลอยน้�าไดด้ ี แผน่ ใบมรี ปู รา่ ง
คล้ายสี่เหล่ียมขนมเปียกปูน หรือรูปพัด ใบจะเรียงรอบล�าต้นเวียนเป็นเกลียวถี่ ๆ ท�าให้ดูเหมือนใบแผ่เป็นวงรอบต้น
ใบอีกแบบหนึ่งอย่ใู นนา้� เป็นเส้นฝอย ๆ คล้ายราก ดอกเป็นดอกเด่ียวสขี าว ออกที่โคนก้านใบ มกี ลีบดอก 4 กลีบ
บานอยเู่ หนอื น้�า เมื่อตดิ ผลแลว้ ก้านดอกจะงอกลับลงน�้าและผลจะเจรญิ อยูใ่ ต้นา้� ผลออ่ นสมี ่วงอมแดงจะเปลี่ยนเปน็
สดี า� เมือ่ แก่ สว่ นท่ีเป็นเขาโค้ง 2 ข้างเจริญมาจากกลีบเลยี้ ง ผลหรือฝักกระจบั มีสดี �าขนาดใหญ่ เปลอื กหนาแขง็ งอโคง้
คลา้ ยเขาควาย เมื่อกะเทาะเปลอื กนอกท่แี ข็งออก จะไดเ้ นอ้ื ในสีขาว มีแป้งมาก

การใชป้ ระโยชน์
กินเน้ือกระจับเป็นยาดับร้อน ดับกระหาย กินผลต้มสุกช่วยย่อยระบบขับถ่าย บ�ารุงก�าลัง แก้อ่อนเพลีย

บ�ารุงก�าลังหลังฟ้ืนไข ้ แกอ้ าการปวดเมอ่ื ย ปวดหลงั ปวดเอว ใบกระจับ มีรสเปร้ยี วใชใ้ นการกัดเสมหะ แกไ้ อ ขับเมอื ก
ลา้ งส�าไส้ และเป็นยาชว่ ยเสริมสมรรถภาพทางตาของเด็ก เป็นยาถอนพิษไดด้ ี กระจบั ยังกนิ เปน็ อาหารกนิ เล่นไดด้ ้วย

กระดอม

ส่วนทป่ี รากฏในพระไตรปฎิ ก
....เรอ่ื งนา้� ฝาดท่เี ปน็ ยาสมยั นน้ั ภิกษทุ งั้ หลายผู้เปน็ ไข้ ต้องการน�้าฝาดที่เป็นยาภิกษทุ ง้ั หลายจึงน�าเร่อื งนไี้ ป

กราบทูลพระผมู้ ีพระภาคใหท้ รงทราบพระผูม้ ีพระภาครับสงั่ ว่า “ภกิ ษุท้งั หลาย เราอนุญาตนา�้ ฝาดทีเ่ ปน็ ยา คอื นา้� ฝาด
สะเดา นา้� ฝาดโมกมัน น�า้ ฝาดขีก้ า น้า� ฝาดบอระเพด็ น้า� ฝาดกระถินพิมานหรือน้�าฝาดที่เป็นยาชนิดอ่ืนทีม่ อี ยู่ ซ่ึงไมใ่ ช่
ของเค้ียวของฉนั รับประเคนแล้วเก็บไว้ไดจ้ นตลอดชพี เม่อื มเี หตุจ�าเป็น ภกิ ษจุ ึงฉันได้ เม่อื ไม่มเี หตุจ�าเป็น ภกิ ษุฉนั
ต้องอาบัตทิ กุ กฏ” (เล่ม 5 หน้า 47)

แต่เน่ืองจากในเอกสารพระตรีปิฎก ฉบับ 84000 พระธรรมขันธ์มีความแตกต่าง คือ ใช้ค�าว่าน้�าฝาด
ตน้ กระดอม น้า� ฝาดบอระเพด็ นา้� ฝาดกระถินพมิ านหรือน�า้ ฝาดที่เปน็ ยาชนิดอ่นื ทม่ี ีอยู ่ จึงน�าเสนอต้นกระดอมไว้ดว้ ย

ชอื่ สามัญภาษาไทย กระดอม

ชอ่ื สามัญภาษาอังกฤษ -

ชอื่ พ้นื เมือง ขก้ี าดง ขก้ี านอ้ ย (สระบรุ )ี ผกั แคบปา่ (นา่ น) ขกี้ าลาย (นครราชสมี า) ดอม (นครศรธี รรมราช)

ผักขาว (เชียงใหม่) มะนอยหก มะนอยหกฟ้า (แม่ฮ่องสอน) มะนอยจา (ภาคเหนือ)

ขีก้ าเหล่ียม (ภาคอีสาน)

ชื่อบาล-ี สันสกฤต ปโฏลปโฏล. ปโทล. ตติ ตฺ ก

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Gymnopetalum chinense (Lour.) Merr.

ชอื่ วงศ์ Cucurbitaceae

ถน่ิ กา� เนดิ มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย พม่า ศรีลังกา ภูมิภาคมาเลเซียและภูมิภาค

อนิ โดจนี ส่วนในประเทศเทศไทยน้นั มกี ารกระจายพนั ธุ์อยทู่ ัว่ ทกุ ภาค

8 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

นเิ วศวิทยา ขึ้นท่ัวไปตามท่ีรกร้างเจริญเติบโตได้ดีในทุกสภาพดินฟ้าอากาศ ชอบดินร่วนและระบายน้�า
การขยายพนั ธุ์ ไดด้ ี
ใช้เมล็ด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมเ้ ถาเลื้อยล�าตน้ และมีมือเกาะ มีขน ล�าต้นมกั เปน็ หา้ เหลย่ี มใบเปน็ ใบเดีย่ วเรยี งสลบั กนั ลกั ษณะของ

ใบมรี ูปร่างแตกต่างกันออกไป ตั้งแตเ่ ป็นรปู ไตไปจนถงึ รูปสามเหล่ียม รูปหา้ เหล่ยี ม หรือรูปแฉกดอกเป็นแบบแยกเพศ
อยูบ่ นตน้ เดียวกนั กลีบดอก 5 กลีบ มีสขี าวผลมีสแี ดงสม้ ผลออ่ นแหง้ มีสนี ้�าตาล ลักษณะของผลคลา้ ยรูปกระสวยหรอื
รปู รี แหลมทั้งหวั และท้าย

การใชป้ ระโยชน์
ผลออ่ นของกระดอมสามารถนา� มารบั ประทานได ้ แตผ่ ลแกห่ รอื ผลสกุ หา้ มรบั ประทานเพราะมพี ษิ ผลออ่ น

นยิ มนา� มาใชท้ า� แกงปา่ หรอื แกงควั่ โดยผา่ เอาเมลด็ ออกกอ่ นนา� มาใชแ้ กงหรอื จะนา� มาใชล้ วกจมิ้ กนิ กบั นา�้ พรกิ ไดเ้ ชน่ กนั

ผลใชต้ ม้ นา้� ดม่ื ชว่ ยบา� รงุ โลหติ และชว่ ยแกอ้ าการสะอกึ ผลออ่ นมรี สขม ชว่ ยบา� รงุ นา้� ดชี ว่ ยบา� รงุ นา้� นมของสตรชี ว่ ยบา� รงุ

มดลูก เมล็ดใช้เป็นยาบ�ารุงธาตุในร่างกาย แต่ในอินเดียใช้รากแห้งบดผสมกับน้�าร้อนกิน ใช้เป็นยาทาถูนวดตาม

กลา้ มเนือ้ ที่มีอาการปวดเม่อื ย ข้อมูลทางเภสชั วิทยาของสมนุ ไพรกระดอม ชว่ ยยับยง้ั การจบั ตัวกนั ของเกล็ดเลอื ดและ

ช่วยทา� ใหก้ ล้ามเนอ้ื เรียบหดตวั

กระด่ิงทอง

สว่ นทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก

….ครั้นแลว้ ข้าพเจา้ เป็นผู้มจี ิตรา่ เริงมใี จเบิกบาน โปรยดอกกระดง่ิ ทองโดยพลนั (เล่มที่ 33 หน้า 53)
….ข้าพเจา้ เสวยผลวบิ ากของดอกกระดง่ิ ทองได้ครองเทวสมบตั ติ ลอด 58 ชาติ (เลม่ ท่ี 33 หนา้ 55)

ชือ่ สามัญภาษาไทย บานบรุ ี

ช่ือสามัญภาษาองั กฤษ Allamanda, Common allamanda, Golden trumpet, Golden trumpet vine,

Yellow

ชื่อพ้ืนเมือง บานบรุ ี (ท่ัวไป)

ชอ่ื บาลี-สนั สกฤต -

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Allamanda cathartica L.

ชื่อวงศ ์ Apocynaceae

ถ่ินกา� เนดิ มีถิน่ กา� เนดิ อยใู่ นประเทศบราซิลและอเมริกาเขตร้อน

นิเวศวทิ ยา ชอบน�้าปานกลาง เจริญเติบโตได้ดีในดินท่ีร่วนซุยหรือดินร่วนปนทราย ปลูกเล้ียงได้ง่าย

เตบิ โตเร็ว ทนความแล้งและดินเคม็ ไดด้ ี มกั ข้ึนกลางแจ้ง ชอบแสงแดดแบบเตม็ วนั แตอ่ ยู่

ได้ทง้ั ในที่ร่มร�าไรและท่มี แี สงแดดจัด

การขยายพันธุ ์ การปักช�า การตอน และการเพาะเมล็ด

สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก 9

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพรรณไม้พุ่มกงึ่ เลอ้ื ย หรอื เปน็ ไมเ้ ถาอาศยั ตน้ ไม้อน่ื เพ่ือพยงุ ตัวข้ึนไป ล�าต้นหรอื เถามีลกั ษณะกลมเรียบ

และเป็นสีนา้� ตาล ทุกส่วนของตน้ มียางสีขาวขน้ ล�าต้นไม่มีขน ล�าต้นมีความสงู ประมาณ 2-4.5 เมตร ใบเปน็ ใบเด่ียว
และจะติดเป็นคู่อยู่ตรงข้ามกัน หรืออาจจะติดอยู่รอบ ๆ ข้อ ข้อละประมาณ 3-6 ใบ ลักษณะของใบบานบุรีเป็น
รูปขอบขนาน รูปขอบขนานแกมรูปหอก รูปรี หรือเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบแหลมหรือเป็นต่ิงแหลม โคนใบสอบ
ส่วนขอบใบเรียบ แผ่นใบดา้ นบนเป็นสีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน มองเหน็ เสน้ ใบไดช้ ดั เจน สว่ นท้องใบมสี อี อ่ นกว่าดอกมี
ขนาดใหญ ่ ออกดอกเป็นชอ่ กระจกุ บรเิ วณยอด โดยจะออกตามซอกใบและทปี่ ลายก่งิ ดอกมีกลบี เลยี้ งเป็นสีเขียวปลาย
แยกเป็นแฉก 5 แฉก ส่วนดอกย่อยเป็นสีเหลือง มีกลีบดอก 5 กลีบ ลักษณะเป็นรูปขอบขนานหรือเป็นรูปหอก
ปลายกลีบดอกมนใหญ่โคนเชื่อมติดกันเป็นท่อส้ันหรือเป็นหลอดแคบ ดอกตูม กลีบดอกจะบิดไปในทางเดียวกัน
ผลเป็นรูปทรงกลม เป็นหนาม เมื่อแกจ่ ะแตกออกได ้ ภายในผลมเี มลด็ รูปไข่จา� นวนมาก

การใชป้ ระโยชน์
ใช้ปลูกเปน็ ไมป้ ระดบั ตามสวน รมิ ถนน รมิ ทะเล ตามทางเดิน หรือปลกู คลมุ ดิน สามารถตัดแต่งให้เป็นทรง

พ่มุ ได ้ อกี ท้งั ยังมีดอกท่ีสวยงาม สามารถออกดอกไดต้ ลอดทง้ั ปี โดยเฉพาะในช่วงฤดรู อ้ นจะออกดอกดกมากเป็นพิเศษ

กระถินพมิ าน

ส่วนท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก
“ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราอนญุ าตนา�้ ฝาดทเี่ ปน็ ยา คอื นา้� ฝาดสะเดา นา้� ฝาดโมกมนั นา้� ฝาดขกี้ า นา้� ฝาดบอระเพด็

นา�้ ฝาดกระถินพมิ านหรอื น้�าฝาดทเี่ ป็นยาชนดิ อืน่ ทีม่ อี ยู่ ซึง่ ไม่ใชข่ องเค้ยี วของฉัน รับประเคนแลว้ เกบ็ ไวไ้ ดจ้ นตลอดชพี
เมือ่ มีเหตจุ �าเปน็ ภิกษจุ งึ ฉนั ได้ เมื่อไมม่ ีเหตจุ �าเป็น ภกิ ษุฉัน ต้องอาบตั ิทุกกฎ” (เล่ม 5 หน้า 47)

ต้นพิมานหรือกระถินพิมานเป็นต้นไม้ท่ีมีลักษณะพิเศษ คือเมื่อแตกใบอ่อนจะมีต้นท่ีแตกใบอ่อนเป็นสีเขียว

และตน้ ท่ีมใี บอ่อนสแี ดง ซงึ่ เป็นทีม่ าของชื่อในภาคกลางทีเ่ รยี กว่า แฉลบขาว แฉลบแดง

ชื่อสามัญภาษาไทย กระถินพิมาน

ชื่อสามญั ภาษาองั กฤษ Elephant Thorn

ชื่อพน้ื เมือง กระถินพิมาน (ภาคกลาง) คะยา หนามขาว (ภาคเหนือ) กระถินป่า แฉลบขาว แฉลบ

วมิ านแดง กระถินวิมาน (สโุ ขทยั ) กระถนิ แดง กระถินขาว

ชือ่ บาล-ี สันสกฤต เรณปุ ูชกเถราปทานนาค. นาคมาลิกา

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Acacia tomentosa Willd.

ช่อื วงศ์ Fabaceae

ถนิ่ ก�าเนิด มีการกระจายพันธุใ์ นอนิ เดีย ศรลั งั กา เมยี นมา ไทย เวยี ดนาม มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี

นเิ วศวิทยา ขึ้นตามปา่ ละเมาะและปา่ เบญจพรรณท่ีแห้งแลง้

การขยายพันธุ์ ใชเ้ มล็ด

10 สมุนไพรในพระไตรปิฎก

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
กระถินพิมานเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 เมตร พุ่มเรือนยอดโปร่งแผ่กว้าง

คล้ายรูปร่ม กิ่งอ่อนมีขนหนาแน่น ตามกิ่งมีหูใบแปลงรูปเป็นหนามแหลมแข็ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น
เรียงสลบั มีต่อมขนาดใหญท่ ี่ปลายกา้ นใบประกอบตรงรอยตอ่ ระหว่างแขนงค่ลู ่างสดุ ใบประกอบแยกแขนง 7-23 ค่ ู
แต่ละแขนงมใี บยอ่ ย 20-50 ค ู่ เรยี งตรงขา้ มชิดกัน ใบยอ่ ยรูปขอบขนาน ปลายมน โคนเบ้ียว แผน่ ใบมขี นทง้ั 2 ด้าน
ไม่มกี า้ นใบย่อย ดอกออกเปน็ ชอ่ แบบกระจุกแน่น ออกเดีย่ ว ๆ ตามงา่ มใบ 1-4 ช่อ กล่ินหอมอ่อน มขี น ดอกเลก็
สีขาว มีจ�านวนมาก ออกชิดกันแน่นบนแกน ช่อกลมคล้ายช่อดอกกระถิน เม่ือบานเต็มท่ี กลีบเล้ียงและกลีบดอก
4-5 กลีบ เล็กมาก ติดกันเป็นหลอดส้ัน ๆ ผลเป็นฝักแบนแคบรูปขอบขนาน ฝักแก่สีน้�าตาล โค้งงอ มีหลายเมล็ด
เมล็ดรูปไข่

การใช้ประโยชน์
ในด้านสมุนไพร รากใช้ดับพิษไข้กาฬ แก้ไข้พิษ แก้ปวดฝีในหู แก้ปวดหู แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย เช่น

ตะขาบ แมลงป่องแกพ้ ษิ งู รากน�ามาฝนใช้นา้� ทาบาดแผล แก้ไฟลามทงุ่ แก้โรคผิวหนงั ในด้านอาหาร ใบสามารถใชเ้ ปน็
อาหารสัตว์ได้ และใบขอตน้ พิมาฯ เปน็ แหลง่ ใหน้ ้า� หวานไดจ้ ึงน�ามาเปน็ พชื ส�าหรบั การเลยี้ งผึ้งได้เปน็ อย่างด ี เนอื่ งจาก
บริเวณโคนใบของกระถินเทพามีต่อมน้�าหวาน จึงมักพบแมลงต่าง ๆ มารุมตอมหาอาหารท่ีใบอยู่เป็นประจ�า ดอก
และเกสรเป็นแหล่งอาหารของผึ้งไดเ้ ปน็ อยา่ งดเี ช่นเดยี วกับใบ

ประโยชน์อ่ืน ๆ เปลือกต้นมีสารแทนนิน มีการน�าไปใช้ฟอกหนังสัตว์ นอกจากน้ีเปลือกต้นยังใช้ท�าเป็น
เชอื กได้ เนอื้ ไมใ้ ช้ท�าอุปกรณ์ต่าง ๆ และใช้ประโยชนไ์ ด้หลายอยา่ ง เช่น ท�าไม้แปรรปู เฟอรน์ ิเจอร ์ ไมโ้ ครงสร้างต่าง ๆ
หรอื ใชใ้ นงานกอ่ สรา้ งทไ่ี มต่ อ้ งรบั นา�้ หนกั มาก และสามารถนา� มาแปรรปู ทา� ไมอ้ ดั หรอื เยอื่ กระดาษทมี่ คี ณุ ภาพดไี ดอ้ กี ดว้ ย
บางครง้ั นา� ไมก้ ระถนิ พมิ านเปน็ เชอื้ เพลงิ ได ้ การปลกู กระถนิ พมิ านสามารถเจรญิ เตบิ โตไดด้ ใี นสภาพดนิ ไมด่ ี และในขณะ
เดียวกันช่วยปรับปรุงสภาพดินได้ด้วยเน่ืองจากเป็นพืชตระกูลถ่ัว กระถินพินมาณปลูกเพื่อใช้เป็นร่มเงาเป็นไม้ประดับ
เป็นพืชคลุมดนิ และแนวกันลมไดด้ ้วย

กระทุม่

ส่วนทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก
ในพระไตรปฎิ ก กล่าวไว้ในหลายท.่ี ..
....ตน้ จา� ปา ตน้ ช้างน้าว ตน้ กระท่มุ (ในฉบบั 84000 พระธรรมขันธ์ เปน็ ต้นกะวาน) ตน้ กากะทิงต้นบุนนาค

และต้นการะเกด มีดอกบานสะพรั่งส่งกล่ินหอมอบอวลคล้ายกล่ินทิพย์อยู่รอบ ๆ อาศรมของข้าพเจ้า (เล่มที่ 32
หน้า 27)

....ตน้ ราชพฤกษ์ ตน้ อญั ชนั เขยี ว ตน้ กระทมุ่ และตน้ พกิ ลุ มากมายสง่ กลนิ่ หอมอบอวลคลา้ ยกลน่ิ ทพิ ยป์ ระดบั
อาศรมของขา้ พเจ้าให้งดงาม (เล่มท่ี 32 หนา้ 27)

....ต้นค�า ต้นสน ต้นกระทุ่มสะพรั่งด้วยผลมีรสหวาน เผล็ดผลเป็นประจ�าอยู่ไม่ไกลอาศรมของข้าพเจ้า
(เลม่ ที่ 32 หนา้ 30)

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 11

....ประวตั ใิ นอดีตชาตขิ องพระกทมั พปปุ ผยิ เถระ (พระกทัมพปปุ ผยิ เถระ เม่ือจะประกาศประวตั ิในอดตี ชาติ

ของตน จงึ กล่าววา่ ) ในทไ่ี มไ่ กลภเู ขาหิมพานต์ มีภเู ขาลกู หนึง่ ชอื่ วา่ กุกกฏุ ะมีพทุ ธะ 7 พระองคอ์ าศยั อยทู่ เ่ี ชิงภูเขาน้ัน
ข้าพเจา้ เห็นตน้ กระทุ่มมดี อกบานสะพร่ังดงั ดวงจนั ทรล์ อยเด่น (ในทอ้ งฟ้า) จึงใช้มือทั้ง 2 ประคอง โปรยบูชาพทุ ธะ
ทง้ั 7 องค์ (เลม่ ที่ 32 หนา้ 322)

....พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสีผู้มีพระฉวีวรรณดังทองค�า ผู้เช่นกับทองค�ามีค่ามีพระลักษณะอัน

ประเสรฐิ 32 ประการกา� ลงั เสดจ็ ไประหว่างรา้ นตลาดข้าพเจ้าน่ังอยู่ในปราสาททีป่ ระเสรฐิ ได้เห็นพระองคท์ รงเปน็ ผ้นู า�
สัตว์โลกจึงประคองดอกกระทมุ่ บูชา (เลม่ ที่ 32 หนา้ 546)

ประวัติในอดีตชาติของพระพักกุลเถระ (พระพักกุลเถระ เมื่อจะประกาศประวัติในอดีตชาติของตน จึง

กลา่ วว่า) ในที่ไมไ่ กลภเู ขาหมิ พานต์ มีภูเขาลูกหนง่ึ ช่อื โสภิตะพวกศิษย์ของขา้ พเจา้ ชว่ ยกันสรา้ งอาศรมอยา่ งสวยงามให้
ขา้ พเจ้า...มตี ้นค�า ตน้ ช้างนา้ ว ต้นกระทุ่ม ตน้ ไทร และต้นมะขวดิ อาศรมของข้าพเจ้าเปน็ เชน่ น้ีขา้ พเจา้ พรอ้ มดว้ ยศษิ ย์
อยทู่ ี่อาศรมน้นั บชู า (เล่มท่ี 32 หน้า 635)

...ตน้ ค�า ตน้ ช้างนา้ ว ตน้ กระทุ่ม ตน้ มะเฟือง มดี อกบานส่งกลิน่ หอมอบอวลคลา้ ยกลิน่ ทิพย์ประดับอาศรม

ของข้าพเจ้าให้งดงาม (เลม่ ท่ี 32 หน้า 698)

ชือ่ สามญั ภาษาไทย กระทุ่ม

ช่อื สามัญภาษาองั กฤษ Wild cinchona

ชอ่ื พ้นื เมือง ตะกู (จนั ทบุร ี นครศรธี รรมราช สุโขทัย) ตะโกใหญ่ (ตราด) ตุ้มพรายทุ่มพราย (ขอนแก่น)

กระทุ่มบก กระทุ่มก้านยาว (กรุงเทพฯ) ตะโกส้ม (ชัยภูมิ ชลบุรี) แคแสง (ชลบุรี)

โกหว่า (ตรัง) กรองประหยนั (ยะลา) ตุม้ ก้านซว้ ง ต้มุ กา้ นยาว ต้มุ เนีย่ ง ตมุ้ หลวง (ภาค

เหนือ) กระทุ่ม (ภาคกลาง ภาคเหนือ) ตุ้มขีห้ ม ู (ภาคใต)้ กวา๋ ง (ลาว) ปะแด๊ะ เปอแด๊ะ

สะพร่ัง (กะเหร่ียง-แมฮ่ ่องสอน) ปาแย (มลาย-ู ปตั ตาน)ี

ช่อื บาลี-สันสกฤต ตน้ กทัมพะกทมพฺ . ปิยก. นปี . ฌามก

ช่อื วิทยาศาสตร์ Neonauclea sessilifolia (Roxb.) Merr.

ชื่อวงศ์ Rubiaceae

ถ่นิ กา� เนิด เขตการกระจายพันธุ์กว้าง โดยสามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา

อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี

ในประเทศไทยสามารถพบไดท้ ่ัวทกุ ภาค

นเิ วศวิทยา ข้ึนตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมล�าธารที่ระดับ

ความสงู จากระดบั นา้� ทะเลต้ังแต่ 500-1,500 เมตร

การขยายพันธ์ุ ใช้เมลด็

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมย้ นื ต้นผลดั ใบหรอื ไม่ผลดั ขนาดกลางถึงขนาดใหญ ่ มีความสงู ของตน้ ประมาณ 15-30 เมตร บางคร้งั

มีพพู อน ลา� ตน้ เปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกบั ลา� ต้น ปลายกง่ิ โนม้ ลง เปลือกลา� ตน้ เป็นสีเทาแก ่ แตกเป็นร่องตามยาว
ใบเป็นใบเด่ยี ว ออกเรียงตรงขา้ มกัน ลกั ษณะของใบเป็นรูปร ี รปู ไข ่ หรือรปู ขอบขนาน ปลายใบมนออกแหลมหรือเป็น

12 สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก

ต่ิงแหลม โคนใบมน กลม หรือเป็นรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบออกดอกท่ีปลายกิ่งเป็นช่อกลมกระจุกแน่นดอกย่อยมี
ขนาดเล็กอัดกนั แนน่ ติดบนใบประดับขนาดเล็ก ผลเปน็ ผลรวมที่เกดิ จากวงกลีบเล้ียงท่เี ช่ือมติดกนั หรือผลเป็นกระจุก
กลมผลยอ่ ยแยกกนั มขี นาดประมาณ 0.3 เซนติเมตร ผิวขรขุ ระ อมุ้ น้�า ภายในผลมีเมล็ดขนาดเล็ก

การใช้ประโยชน์
ด้านยาสมนุ ไพร ใบและเปลือกช่วยลดความดันโลหติ น้�าตม้ จากใบและเปลือกตน้ ใช้อมกลวั้ คอแก้อาการ

อกั เสบของเยอื่ เมอื กในปาก ช่วยแกอ้ าการปวดมดลกู ผลใชเ้ ปน็ ยาฝาดสมานในโรคท้องรว่ ง ประโยชนอ์ น่ื ๆ ไมก้ ระทุ่ม
มเี น้อื ไมท้ ่ีละเอียด สเี หลอื งหรอื สขี าว สามารถนา� มาใช้ทา� พื้นและฝาทใ่ี ชง้ านในร่ม หรือน�ามาใชท้ �ากลอ่ ง ทา� อปุ กรณ์
หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีน�้าหนักเบา และยังใช้ท�าเป็นเย่ือกระดาษได้อีกด้วย ในประเทศจีนและประเทศอ่ืน ๆ ใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมปลูกเป็นสวนป่าเพื่อการใช้สอย ส่วนในประเทศไทยก�าลังได้รับความนิยมเป็น
ไม้เศรษฐกิจตัวใหม ่ ใหผ้ ลตอบแทนเรว็ เน่ืองจากเปน็ ไม้โตเร็ว (นิยมเรียกวา่ ตน้ ตะก ู หรือตะกูยักษ์)

กระทมุ่ เลอื ด

ส่วนทป่ี รากฏในพระไตรปิฎก
....ณ ท่ใี กลส้ ระน้นั มชี ะเอมต้น ชะเอมเครือ ก�ายานประยงค์ เนระพูสี แห้วหมู สตั ตบุษย์ สมุลแว้ง พิมเสน

สามสบิ กฤษณา เถากระไดลงิ เปน็ จา� นานมากบวั บก โกฐขาว กระท่มุ เลือด ตน้ หนาดขม้นิ แกม้ หอม หรดาล กา� คูณ
สมอพิเภกไครเ้ ครอื การะบูร และกลงิ คุก (เลม่ ที่ 28 หนา้ 504)

ชื่อสามญั ภาษาไทย ขว้าว

ชอ่ื สามญั ภาษาองั กฤษ Yellow teak, Haldu

ชื่อพ้ืนเมอื ง ขว้าวเขว้าคว่าว (กลางเหนือ) กระทุ่มขว้าว (ตาก) กระทุ่มดงกระทุ่มแดง (กาญจนบุรี)

กาว (เลย) ขาว (อุบลราชธาน ี อดุ รธาน)ี ตองแดงเหลืองตะเพียนทอง (ลา� ปาง) ตมุ้ กว้าว

(เหนือ) ตองเหลืองตานถวายตุ้มควาย (เชยี งใหม)่ ต้มุ ก้านแดงเฝา้ (เพชรบูรณ)์ ลอ่ งเลาะ

(นครราชสีมา) วาว (สรุ าษฎร์ธานี)

ชอ่ื บาล-ี สนั สกฤต Girikadamba (สันสกฤต)

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale

ชอ่ื วงศ์ Rubiaceae

ถน่ิ ก�าเนดิ พบการกระจายพันธ์ุใน จีน อนิ เดีย ศรีลงั กา อัสสัม บังคล เมยี นมาร์ ไทย กมั พชู า ลาว

เวยี ดนาม มาเลเซยี

นเิ วศวทิ ยา พบในป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ทางภาคเหนือ ภาคอีสาน ตะวันตกและภาคกลาง

ทค่ี วามสงู จากระดับนา�้ ทะเล ปานกลาง 200-500 เมตร เป็นพืชทที่ นแลง้ ไดด้ ี แต่ไมท่ นไฟ

การขยายพันธุ์ เป็นพืชท่ีมีระบบรากจ�านวนมาก ส่วนของรากสามารถแตกเป็นต้นใหม่ได้ ขยายพันธุ์ด้วย

เมลด็ ก็ได้

สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก 13

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไมต้ ้นผลัดใบ สูงถึง 15-30 เมตร เรือนยอดกลม โปร่ง ลา� ต้นเปลาตรง โคนตน้ มักเปน็ พูพอน เปลือกนอก

เรียบหรอื แตกเปน็ ร่องตน้ื ๆ สีน้�าตาลเทา เปลอื กในสชี มพูถงึ แดงอิฐ กระพี้สีเหลอื งใบ เดยี่ ว เรยี งตรงข้ามสลับตัง้ ฉาก
แผ่นใบรปู หวั ใจปลายแหลม โคนรูปหัวใจ ขอบเรียบผวิ ด้านบนมีขนสาก ผิวดา้ นลา่ งมีขน สีขาวนมุ่ ดอก ออกเป็นชอ่
กระจกุ แน่น เด่ยี วหรอื 2-3 ช่อ ท่ีงา่ มใบบรเิ วณปลายก่งิ ผล แห้งแตก ขนาดเลก็ ผวิ แขง็ รวมชดิ กัน เปน็ กอ้ นกลม
ลกั ษณะเป็นฝา 2 ฝา มหี ลายเมล็ด แตล่ ะเมล็ดมปี ีก

การใช้ประโยชน์
ดา้ นสมนุ ไพร ใบ คั้นเอาน�้าใสแ่ ผล (มีฤทธฆิ์ ่าแบคทเี รียทท่ี า� ให้เกิดหนอนในแผล) แกไ้ อ แก้หวัด แก้ปวด

ศีรษะ รักษาตาแดงในควาย เปลือก แก้ไข้ ป้องกันการเน่า และแผลติดเช้ือ เน้ือไม้ สีเหลืองอ่อน ใช้ท�าพื้นฝา
กรอบประตหู น้าตา่ ง ท�าเครือ่ งเรอื นและไม้บผุ นัง ทา� เรือขุด แจว พาย เคร่อื งมอื ทางการเกษตร ครก สาก กระเด่อื ง
กระสวยและหูกทอผ้า ท�าหวี เครื่องกลึง และแกะสลัก ถังไม้ พานท้ายปืน หีบใส่ของ ไม้บรรทัดและไม้ฉาก
ท�าของเล่นส�าหรับเด็กไดด้ ้วย

กระบาก

ส่วนท่ปี รากฏในพระไตรปฎิ ก
....ผลสมอ ผลมะขามปอ้ ม ผลมะมว่ ง ผลหวา้ ผลสมอพิเภก ผลกระเบา ผลกระบาก (รกฟ้า) ผลมะตมู

และผลมะปราง ข้าพเจ้ามีใจผ่องใสได้ถวายผลไม้น้ันทุกชนิดแด่พระผู้มีพระภาคพระนามว่าสิทธัตถะผู้แสวงหาคุณ

อนั ยง่ิ ใหญ่ ทรงอนเุ คราะห์สัตวโ์ ลกทง้ั ปวง.... (เลม่ ที่ 32 หนา้ 443)

ชอื่ สามญั ภาษาไทย กระบาก

ชอื่ สามญั ภาษาอังกฤษ Mesawa

ชอ่ื พนื้ เมือง กระบาก ตะบาก (ล�าปาง) กระบากขาว (ชลบุรี ชุมพร ระนอง) กระบากโคก (ตรัง)

กระบากชอ่ กระบากด้าง กระบากด�า (ชุมพร) กระบากแดง (ชมุ พร ระนอง) ชอวาตาผอ่

(กะเหร่ียง-กาญจนบุรี) บาก (ชุมพร) ประดิก (เขมร-สุรินทร์) พนอง (จันทบุรี ตราด)

หมีดังว่า (กะเหร่ยี ง-ลา� ปาง) บาก (ภาคอสี าน)

ชอื่ บาลี-สันสกฤต -

ชื่อวิทยาศาสตร์ Anisoptera costata Korth.

ชอื่ วงศ์ Dipterocarpaceae

ถิน่ กา� เนิด มีการกระจายพันธ์ใุ น บรูไน ดารูสซาลัม กมั พูชา อนิ โดนเี ซยี (เกาะชวา กลมิ ันตัล สุมาตรา)

มาเลเซยี เมยี นมาร ์ ฟิลิปปินส ์ สงิ คโปร ์ ไทย เวียดนาม

นเิ วศวทิ ยา ขนึ้ อยตู่ ามป่าดิบช้ืน ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณชน้ื ทีม่ กี ารถ่ายเทน้�าไดด้ ีทั่วไป ท่สี ูงจาก

ระดับน�้าทะเล 10-400 เมตร มีมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และ

ภาคใต้

การขยายพนั ธุ์ ใช้เมล็ด

14 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยืนต้นสูง 5–25 เมตร เปลือกขรุขระสีเทา ตามกิ่งมีช่องอากาศเป็นจุด ๆ ใบเป็นใบประกอบแบบ

ขนนก รปู ไข่แกมรูปหอกปลายใบแหลม ขอบใบหยกั เวา้ หรอื หยักกลม ๆ เรยี บ โคนใบกลม มตี ่อมขนอยตู่ รงมุมระหวา่ ง
เส้นกลางใบและเส้นใบ ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ต้ังตรง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นท่อเล็ก ๆ ปลายแยกออกเป็น
5 กลีบ ขนาดไมเ่ ท่ากัน ผลเป็นฝกั เมลด็ มีปีก

(หมายเหต ุ ในประเทศไทย ต้นกระบากและตน้ รกฟา้ เปน็ ไม้คนละชนดิ ดูรายละเอยี ดในรกฟ้า)

การใช้ประโยชน์
เป็นไม้เน้อื แขง็ ใชก้ อ่ สร้าง ท�าเคร่ืองเรอื น

กระเบา

ส่วนทป่ี รากฏในพระไตรปฎิ ก
...ประวตั ใิ นอดีตชาตขิ องพระเอกฉัตติยเถระ (พระเอกฉตั ติยเถระ เมอ่ื จะประกาศประวัติในอดีตชาตขิ องตน

จงึ กล่าววา่ ) ข้าพเจา้ ไดส้ รา้ งอาศรม เกลื่อนกล่นดว้ ยทรายขาวสะอาดใกลแ้ มน่ ้า� จันทภาคา และได้สรา้ งบรรณศาลาไว้

ต้นสมอ ..... ต้นมะขามป้อม ต้นมะม่วงตน้ หว้า ตน้ สมอพเิ ภก ตน้ กระเบา ตน้ รกฟา้ ต้นมะตูม กผ็ ลิผลอยูใ่ กล้ ๆ อาศรม
ของข้าพเจ้า.... (เลม่ ท่ี 33 หนา้ 6-7)

ชื่อสามญั ภาษาไทย กระเบา

ชอ่ื สามัญภาษาองั กฤษ Chaulmoogra

ชอ่ื พื้นเมอื ง กระเบา กระเบาน�้า กระเบาขา้ วแขง็ กระเบาข้าวเหนียว กระตงดง (เชียงใหม่) ดงกะเปา

(ล�าปาง) กระเบาใหญ่ (นครราชสีมา) หัวค่าง (ประจวบคีรีขันธ์) เบา (สุราษฎร์ธานี)

กุลา กาหลง (ปัตตานี) มะกูลอ (ภาคเหนือ) กระเบาเบ้าแข็ง กระเบาใหญ่ กาหลง

แก้วกาหลง (ภาคกลาง) เบา (ภาคใต้) กระเบาตึก (เขมร) ตัวโฮ่งจี๊ (จีน) ต้าเฟิงจ่ือ

(จนี กลาง)

ช่ือบาลี-สนั สกฤต โกล. โกละโกล,ี พทร.ี โกสมพฺ

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Hydnocarpus anthelminthicus Pierre ex Laness.

ช่ือวงศ์ Achariaceae

ถิ่นก�าเนิด มถี ่ินก�าเนิดในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต ้ พบกระจายพันธใุ์ นภูมิภาคอินโดจีน

นเิ วศวทิ ยา ในประเทศไทยสามารถพบไดท้ กุ ภาคตามปา่ ดิบ และตามปา่ บงุ่ ปา่ ทามท่ีระดับความสงู จาก

ระดับนา�้ ทะเล 30-1,300 เมตร

การขยายพันธ์ุ ใช้เมล็ด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไมย้ นื ตน้ ไม่ผลัดใบขนาดกลางจนถงึ ขนาดใหญ ่ มคี วามสงู 10-15 เมตร รปู ทรงสงู โปรง่ ลา� ต้นเปลาตรง

เปลอื กลา� ต้นเรยี บและเปน็ สีเทาใบเปน็ ใบเดยี่ วออกเรยี งสลบั ลักษณะใบเปน็ รูปรียาวแกมรปู ขอบขนาน ปลายใบแหลม
โคนใบมน สว่ นขอบใบเรยี บ หลังใบเรยี บเปน็ มัน สเี ขยี วเข้ม สว่ นทอ้ งใบเรียบไมล่ ่ืนและมีสีอ่อนกวา่ เนอื้ ใบทึบแข็งมี

สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก 15

ลักษณะกรอบ ใบอ่อนเป็นสีชมพูแดง ส่วนใบแก่เป็นสีเขียวเข้ม ดอกเป็นแบบแยกเพศอยู่กันคนละต้น ต้นตัวผู้
จะเรียกว่า “แก้วกาหลง” ส่วนต้นตวั เมยี จะเรยี กว่า “กระเบา” ออกดอกเด่ยี วตามซอกใบ บ้างวา่ ออกดอกเป็นช่อ
มีสีขาวนวล ในช่อหน่ึงมปี ระมาณ 5-10 ดอก ดอกมีกล่ินหอมฉุน ผลใหญม่ ีลักษณะเปน็ รปู ทรงกลมเปลือกผลหนาแขง็
เปน็ สีน�้าตาล ผวิ ผลมีขนคล้ายกา� มะหยส่ี นี ้า� ตาล เนือ้ ในผลเป็นสขี าวอมเหลือง ข้างในผลมเี มลด็ สดี า� อัดแน่นรวมกนั อยู่
เปน็ จ�านวนมาก

การใชป้ ระโยชน์
ผลแกส่ กุ กินเฉพาะเนือ้ ในเปน็ อาหารได ้ เน้อื น่มุ มรี สหวานมนั คล้ายกับเผอื กต้ม ผลเปน็ อาหารของลิงและ

ปลา มรี สชาติมนั และมีสารอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรต แปง้ และนา�้ ตาล น�า้ มันจากเมลด็ ใช้ปรงุ เป็นนา้� มนั สา� หรับ
ใสผ่ มเพือ่ รกั ษาโรคบนหนังศรี ษะ และน�า้ มันจากเมลด็ กระเบา (Chaulmoogra oil หรอื Hydnocarpus oil) สามารถ
น�าไปดัดแปลงทางเคมีเพอ่ื ใชเ้ ป็นยาทาภายนอก ยาฉดี หรือยารบั ประทาน เพื่อใช้บา� บัดโรคผิวหนงั และชว่ ยฆ่าเชื้อโรค
ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เชน่ การนา� ไปใชบ้ า� บดั โรคเรือ้ น โรคเร้อื นกวาง หิด คดุ ทะราด โรคผิวหนังผนื่ คนั ที่มีตวั ทกุ ชนิด รวมไป
ถึงการน�าไปใช้รักษามะเร็งด้วย ชาวพิจิตรจะใช้เมล็ดกระเบาน�ามาต�าให้ละเอียดให้สุนัขกลืนแบบดิบ ๆ จะช่วยรักษา
สุนัขทเ่ี ปน็ โรคเรือ้ นได ้ (เมลด็ กระเบามฤี ทธ์ิท�าใหเ้ มาได ้ ต้องใชแ้ ต่น้อย)

เน้ือไม้กระเบาเม่ือตัดใหม่มีสีแดงแกมสีน�้าตาล นานไปจะเป็นสีน�้าตาลอมสีเทา เนื้อไม้เป็นเส้ียนตรง
เนอ้ื ละเอยี ดและสมา่� เสมอ มคี วามแขง็ สามารถผา่ เลอื่ ยไดง้ า่ ย นา� มาใชใ้ นงานกอ่ สรา้ ง ใชท้ า� กระดานพน้ื บา้ นไดเ้ นอ่ื งจาก
กระเบาเปน็ ต้นไม้ทม่ี ขี นาดไม่ใหญ่นัก ใชป้ ลกู เปน็ ไม้ประดับ ตน้ มีเรือนยอดเปน็ พุ่มกลมทึบและไมผ่ ลดั ใบ จึงให้ร่มเงา
ได้ตลอดทั้งป ี และยงิ่ ในช่วงการแตกใบออ่ นสชี มพูแดงจะให้สสี นั สวยงามมาก สว่ นดอกถึงแม้จะมีขนาดเลก็ แต่ก็มกี ลน่ิ
หอมแรง และใหผ้ ลขนาดใหญ่สที องจึงคล้ายผลทองคา� แลดสู วยงาม บางคนถอื เปน็ ไมม้ งคลดว้ ย

กฤษณา

ส่วนที่ปรากฏในพระไตรปิฎก
….สมัยน้ัน ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธเป็นโรคตา พวกภิกษุต้องพยุงภิกษุนั้นไปให้ถ่ายอุจจาระบ้าง ถ่ายปัสสาวะ

บ้างพระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปตามเสนาสนะ ทอดพระเนตรเห็นพวกภิกษุก�าลังพยุงภิกษุน้ันไปให้ถ่ายอุจจาระบ้าง

ถา่ ยปสั สาวะบา้ ง จงึ เสดจ็ เขา้ ไปหาแลว้ ตรัสถามวา่ “ภิกษทุ ั้งหลาย ภิกษนุ ้ีเปน็ โรคอะไร”….

….เร่ืองเคร่ืองบดยาผสมยาตาภิกษุทั้งหลายต้องการเครื่องบดยาผสมยาตา ภิกษุท้ังหลายจึงน�าเรื่องนี้ไป
กราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ พระผู้มีพระภาครับส่ังว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตไม้จันทน์ กฤษณา
กะลัมพกั ใบเฉยี ง แหว้ หม”ู …. (เลม่ 5 หน้า 50)

ชอ่ื สามัญภาษาไทย กฤษณา

ช่อื สามัญภาษาองั กฤษ Eagle wood, Agarwood, Aglia, Aloewood, Akyaw, Calambac, Calambour,

Lignum Aloes

ชื่อพื้นเมอื ง สเี สยี ดน้า� (บุรรี มั ย์) ตะเกราน�้า (จนั ทบุรี) ไมห้ อม (ภาคตะวันออก ภาคใต้) ไมพ้ วงมะพรา้ ว

(ภาคใต้) กายูการู กายูกาฮู กายูดึงปู (ปัตตานี มาเลเซีย) เซงเคง (ภาษากะเหร่ียง)

อครุ ตคร (บาลี) ติ่มเฮียง (ไม้หอมท่ีจมน้�า) (จีน) จะแน พวมพร้าว ปอห้า (คนเมือง)

ชควอเซ ชควอสะ (กะเหรีย่ งแมฮ่ อ่ งสอน)

16 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ชอื่ บาล-ี สนั สกฤต กณฺหตคร., ตคคฺ ร., โลห., อครุ., อคล.ุ , อคฬ.ุ ,
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte (กฤษณาไทย)
Aquilaria malaccensis Lam. (กฤษณาอนิ เดีย)
ช่อื วงศ์ Thymelaeaceae
ถิ่นกา� เนิด มีการกระจายพันธุ์ท่ัวไปในแถบเอเชียเขตร้อน ทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงฟิลิปปินส ์
และเอเชยี ใต้ประเทศอนิ เดีย ปากีสถาน ศรลี งั กา ภฏู าน รฐั อสั สัม เบงกอล รวมทงั้ กระจาย
นิเวศวิทยา พันธ์ุไปทางเอเชียเหนือไปจนถงึ ประเทศจีน
การขยายพนั ธุ์ พบไดท้ ว่ั ไปตามปา่ ดงดิบทงั้ ชนื้ และแลง้ หรอื ทีร่ าบใกลก้ ับแม่น�า้ ลา� ธาร
ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ในปัจจุบันนิยมขยายพันธุ์ด้วยการขุดกล้าไม้จากบริเวณต้นแม่มาปลูก
ในเรอื นเพาะชา� จนกลา้ ไมม้ อี ายไุ ด ้ 1 ปจี งึ คอ่ ยยา้ ยไปปลกู ในแปลง สว่ นวธิ อี นื่ ๆ นอกจากนี้
ยงั ใช้วิธตี อนก่ิงและปักชา�

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมย้ ืนต้นขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ่ มคี วามสูง 18-30 เมตร ลักษณะของตน้ เปน็ ทรงพุ่มเจดยี ์ตา่� ๆ หรือ

เป็นรูปกรวย ล�าต้นเปลาตรง เปลือกต้นเรียบมีสีเทาอมขาวเมื่ออายุมาก ๆ เปลือกนอกจะแตกเป็นร่องยาวตื้น ๆ
สว่ นเปลือกดา้ นในจะมสี ขี าวอมเหลือง ต้นมีรรู ะบายอากาศสนี �้าตาลออ่ นอย่ทู วั่ ไป ตามกงิ่ อ่อนจะมขี นสีขาวปกคลมุ อย ู่
มักมีพูพอนท่โี คนต้นเมื่อมอี ายุมาก ต้นกฤษณาชอบขน้ึ ในทชี่ ่มุ ชืน้ ใบเปน็ ใบเดี่ยว ออกเรยี งสลับกนั ลกั ษณะของใบเปน็
รูปรีปลายใบเป็นตงิ่ แหลม สว่ นโคนใบมน ใบเป็นสเี ขียว ขอบใบเรียบ แผ่นใบค่อนขา้ งหนา เรียบและเกลี้ยง มีขนขน้ึ
ประปรายอยตู่ ามเสน้ ใบดา้ นลา่ งดอกเปน็ ชอ่ บรเิ วณซอกใบ ดอกมสี เี ขยี วอมสเี หลอื ง กลบี เลยี้ งโคนตดิ กนั เปน็ หลอดสนั้ ๆ
มปี ลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก ตดิ ทน ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบผลเป็นรูปกลมรีมีเสน้ แคบตามยาวของผล ผิวของผลมี
ลักษณะขรุขระเป็นลายสีเขียว และมีขนละเอียดส้ัน ๆ คล้ายก�ามะหย่ีขึ้น ผลเมื่อแก่จะแตกและอ้าออก ภายในผลมี
เมล็ดประมาณ 1-2 เมล็ด มีสีนา�้ ตาลเขม้ ลกั ษณะกลมรีมีหางเมล็ดสสี ้มหรอื สีแดง ปกคลมุ ไปดว้ ยขนส้นั น่ิมสแี ดงอม
นา�้ ตาล โดยผลจะเริ่มแกแ่ ละแตกอา้

การใชป้ ระโยชน์
ประโยชน์ดา้ นสมุนไพร ตามต�ารายาไทยใช้คุมธาต ุ บ�ารงุ โลหติ และหัวใจ ท�าใหห้ ัวใจช่มุ ช่นื ใช้ผสมยาหอม

แกล้ มวงิ เวยี นศรี ษะ บา� รงุ กา� ลงั บา� รงุ ธาต ุ เปน็ ยาอายวุ ฒั นะ และยงั แกไ้ ขต้ า่ ง ๆ ตม้ ดม่ื แกร้ อ้ นในกระหายนา�้ แกเ้ สมหะ
การใชป้ ระโยชน์ของเพือ่ นบา้ น เช่น ใชแ้ กป้ วดหน้าอก แก้อาเจยี น แกไ้ อ แกห้ อบหดื กฤษณาผสมกบั น�า้ มนั มะพรา้ ว
น�ามาทาบรรเทาอาการปวดเม่ือย ผงกฤษณาใช้โรยบนเส้ือผ้าหรือบนร่างกายเพื่อฆ่าหมัดเหา และแก้ผิวหนังต่าง ๆ
ใช้ผสมในเครอื่ งสา� อาง และมีความเชอื่ วา่ น�้ามันหอมระเหยของกฤษณาเป็นยากระตุน้ ทางเพศ

ไมก้ ฤษณาจึงปลกู เพ่ือขายนา� ไปผสมเขา้ เครอ่ื งหอมทุกชนิด หรือใชใ้ นอุตสาหกรรมเครอ่ื งหอม เช่น น�า้ อบ
ไทย น้�ามันหอมระเหย ธปู หอม ยาหอม ฯลฯ ในประเทศไตห้ วนั น�าไปใช้ท�าเปน็ ไวน ์ และมกี ารนา� มาปั้นเปน็ ก้อนโดย
ผสมกบั น�้ามนั กฤษณาและส่วนผสมอ่นื ๆ ที่ใหก้ ล่ินหอม หรอื ทเ่ี รียกวา่ “Marmool” ซึง่ ชาวอาหรับจะนยิ มนา� มาใช้จุด
เพื่อใหม้ ีกลิ่นหอม ชาวปาร์ซี (Parsee) และชาวอาหรับ นิยมเผาไม้กฤษณาเพือ่ ใชอ้ บหอ้ งใหม้ ีกล่ินหอม และชาวฮนิ ดู
นยิ มใช้จุดไฟให้กลนิ่ หอมในโบสถ์

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 17

กลว้ ยมเี มลด็

สว่ นทีป่ รากฏในพระไตรปฎิ ก

…นา้� ปานะพระผมู้ พี ระภาคตรัสไว้ 8 อย่าง คือ นา้� มะม่วง น�้าลูกหว้า น้�ากลว้ ยมเี มลด็ น้�ากล้วยไมม่ เี มล็ด
น�้ามะซาง น้า� ลูกจันทน์ น้า� เหงา้ บัว นา้� มะปราง (เลม่ ที่ 37 หน้า 830)

กลว้ ยในธรรมชาตทิ เ่ี รยี กวา่ กลว้ ยปา่ เปน็ กลว้ ยทม่ี เี มลด็ นา� มาใชป้ ระโยชนไ์ ดน้ อ้ ย ตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นาพนั ธ์ุ

จากกลว้ ยป่ามาเป็นกล้วยบ้าน ซ่ึงเป็นกลว้ ยท่ไี ม่มเี มล็ด แตม่ ีกลว้ ยทม่ี ีเมล็ดอยชู่ นดิ หนง่ึ คือ กล้วยนวลทม่ี เี มล็ด นิยม
ปลูกเพ่อื นา� ลา� ตน้ มาเปน็ อาหาร

ชอ่ื สามัญภาษาไทย กลว้ ยหวั โต

ชื่อสามัญภาษาองั กฤษ Elephant banana, Ensets

ชอ่ื พ้ืนเมอื ง กลว้ ยศาสนา (เชียงใหม่) กล้วยโทน (นา่ น) กลว้ ยหวั โต (กรงุ เทพฯ) กลว้ ยญวนกล้วยนวน

(ภาคอีสาน) แอพแพละนอมจื่อต๋าง (เม่ียน)

ชอ่ื บาลี-สนั สกฤต โจจ.

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Ensete glaucum (Roxb.) Cheesman

ชื่อวงศ์ Musaceae

ถิ่นก�าเนดิ มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบได้ต้ังแต่ประเทศอินเดีย เนปาล พม่า จีนตอนใต้ และ

ในภูมิภาคมาเลเซีย รวมไปถึงนิวกินีและฟิลิปปินส์ด้วย ส่วนในประเทศไทยจะพบได้ทาง

ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก และทางภาคใต้

นิเวศวทิ ยา เจรญิ เติบโตไดด้ ใี นดินรว่ นระบายนา้� ได้ดี

การขยายพนั ธ์ุ การใชเ้ มลด็

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ กล้วยล�าต้นเดย่ี ว ไม่มไี หล ท�าใหไ้ มม่ หี นอ่ ทโี่ คนต้นนา้� ยางเป็นสีเหลอื งอมสม้ จัดเปน็ ไมล้ ้มลุกทีม่ กี าบใบ

กลายเป็นล�าต้นเทียม ล�าต้นเทียมมีจุดสีด�าม่วงกระจาย ลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก มีความสูงของต้นประมาณ
5-6 เมตร ส่วนกาบล�าต้นเป็นสีเขียวและมีนวลหนาสีขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ลักษณะของใบเป็นรูปรียาวขอบขนาน
ปลายใบยาวคลา้ ยหาง ส่วนโคนใบมีลักษณะเป็นรูปลม่ิ แผน่ ใบเกลี้ยงเป็นสเี ขยี วเข้ม สว่ นท้องใบมนี วลหนา กา้ นใบยาว
เป็นสีเขียวนวล และมีร่องเปิดท่ีเส้นกลางใบ ส่วนก้านใบส้ันดอกเป็นช่อขนาดใหญ่คล้ายระฆังห้อยด่ิงลง โดยปลีมีใบ
ประดบั ขนาดใหญส่ เี ขยี วเรยี งสลบั และชดิ ตดิ กนั ตงั้ แตโ่ คนจนถงึ ปลายชอ่ ดอกหรอื ปลมี ลี กั ษณะเปน็ รปู กรวย มใี บประดบั
เรียงซ้อนเหลื่อมกัน มีนวลติดทนอยู่ด้านใน แต่ละใบมีประมาณ 10-20 ดอก ผลอยู่รวมกันเป็นหวีภายในปลี
ผลเปน็ ผลเดยี่ ว ลักษณะของผลเปน็ รปู รีสัน้ ๆ และมสี ันตามยาวภายในผลมีเนอื้ เยอื่ บาง ๆ และมเี มล็ดสีดา� ขนาดใหญ่
ผวิ เรียบและแขง็ มาก

การใชป้ ระโยชน์
ผลออ่ นนา� มาใชท้ า� สม้ ต�ากลว้ ย หรือใชก้ ินสด หรอื ใชผ้ ลดบิ เป็นเครอื่ งเคยี งกไ็ ด้ ยอดออ่ นนา� มาทา� แกงหยวก

กล้วยใส่ไก ่ มรี สหวานเล็กนอ้ ย หยวกกลว้ ยนวลไมม่ ีเส้นใยหรอื มนี ้อยมาก ทา� ใหแ้ กงแล้วอร่อยกวา่ กล้วยบา้ น ปลกี ล้วย

18 สมุนไพรในพระไตรปิฎก

กินได้มักน�าไปแกง (เม่ียน) ปลีน�ามาใช้เล้ียงสุกรก็ได้หรือใช้กาบกล้วยเป็นอาหารสุกร มีการน�ามาปลูกเป็นไม้ประดับ
ทั่วไป ในส่วนใบนา� ใช้รองผักหญ้ารองขา้ วเหนยี วเพอื่ อุน่ อาหาร หรอื ใช้กาบใบนา� มาท�าเชือกส�าหรับรดั สงิ่ ของ หรือน�า
กาบกล้วยมาสบั ท�าปยุ๋ ใส่โคนต้นไมอ้ ่ืน ๆ ได้

กล้วยไม่มีเมลด็

สว่ นท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก

....น�า้ ปานะพระผู้มพี ระภาคตรสั ไว้ 8 อย่าง คอื นา�้ มะมว่ ง น้�าลกู หวา้ นา้� กล้วยมเี มลด็ นา้� กล้วยไม่มเี มล็ด
น้า� มะซาง นา�้ ลกู จันทน์ น�้าเหง้าบวั น�้ามะปราง (เลม่ ที่ 37 หนา้ 830)

กล้วย เป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุล Musa มีหลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออก
หนอ่ ใบแบนยาวใหญ ่ ก้านใบตอนลา่ งเป็นกาบยาวหุ้มหอ่ ซ้อนกันเปน็ ล�าตน้ ออกดอกทีป่ ลายลา� ต้นเปน็ ปล ี และมัก
ยาวเปน็ งวง มลี ูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครอื

ช่ือสามญั ภาษาไทย กลว้ ย

ชอ่ื สามญั ภาษาองั กฤษ Banana

ช่อื พ้ืนเมือง กลว้ ยน้า� หวา้ กลว้ ยทะนีออง กลว้ ยตบี กลว้ ยไข่ กลว้ ยหอม

ชื่อบาล-ี สนั สกฤต โมจ.

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Musa sp.

ชอ่ื วงศ์ Musaceae

ถน่ิ ก�าเนิด มถี ิ่นกา� เนดิ ในเขตรอ้ นแถบอินโดมาลายนั และออสเตรเลยี

นิเวศวทิ ยา เจริญไดด้ ใี นทรี่ ้อน ชนื้ ดนิ รว่ น ระบายน้า� ไดด้ ี

การขยายพนั ธ ุ์ ขยายพันธ์ุโดยแยกหนอ่

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
กลว้ ยเปน็ ไมด้ อกลม้ ลกุ ขนาดใหญท่ กุ สว่ นเหนอื พน้ื ดนิ ของกลว้ ยเจรญิ จากสว่ นทเี่ รยี กวา่ “หวั ” หรอื “เหงา้ ”

ส่วนที่คล้ายกับล�าต้นคือ “ล�าต้นเทียม” (pseudostem) ใบของกล้วยประกอบด้วย “ก้านใบ” (petiole) และ
แผ่นใบ (lamina) ฐานก้านใบแผอ่ อกเปน็ กาบ กาบทีร่ วมตวั กนั อย่างหนาแนน่ ทา� ให้เกดิ ล�าตน้ เทียม มีหน้าท่ีชกู ้านใบ
เม่ือมีใบเจริญข้ึนใหม่ท่ีใจกลางล�าต้นเทียม ขอบกาบท่ีจรดกันน้ันก็จะแยกออกจากกัน พันธุ์กล้วยน้ันมีความผันแปร
มากข้ึนอยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม โดยมาก สูงประมาณ 5 เมตร ใบแรกเจริญจะขดเป็นเกลียวก่อนที่จะ
แผ่ออกแผน่ ใบมีขนาดใหญ ่ ปลายใบมน รปู ใบขอบขนาน โคนใบมน มีสเี ขียวใบฉกี ขาดไดง้ า่ ยจากลม รากเปน็ ระบบ
รากฝอย แผ่ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวด่ิงลึกเม่ือกล้วยเจริญเติบโตเต็มท่ี หัวจะสร้างใบสุดท้ายที่เรียกว่า
“ใบธง” จากนั้นจะหยดุ สร้างใบใหม ่ และเร่ิมสรา้ งช่อดอก (inflorescence) ดอกกลว้ ยเรียกวา่ “ปลีกลว้ ย” ผลกล้วย
พัฒนาจากดอกเพศเมยี กลว้ ยบา้ นพฒั นามาจากกล้วยป่า 2 ชนิด คือ Musa acuminata และ Musa balbisiana

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 19

การใช้ประโยชน์
สรรพคุณตามตา� รายาไทยระบวุ า่ รากกล้วยแกข้ ัดเบา แกไ้ ข ้ ขบั นา้� เหลือง แก้ท้องเสียลา� ตน้ ใบ และยาง

จากใบใชห้ า้ มเลอื ด สมานแผลใบออ่ นทยี่ งั ไมค่ ลี่ ใชป้ ระคบรกั ษาอาการอกั เสบและพพุ องของผวิ หนงั ลา� ตน้ แกท้ อ้ งเสยี
แก้ผื่นคัน น้�าจากล�าต้นใช้รักษาโรคหนองใน ผลดิบใช้บรรเทาอาการอาหารไม่ย่อย ท้องขึ้น รักษาโรคกระเพาะ
แก้ท้องเสีย ผลสุกใช้เป็นยาระบาย เปลือกกล้วยแก้ริดสีดวง นอกจากนี้กล้วยยังเป็นผลไม้ที่มีคุณค่าทางอาหารสูง
มีวิตามินและแร่ธาตุมากมาย โดยเฉพาะธาตุเหล็กและโพแทสเซียมซ่ึงธาตุเหล็กจะช่วยกระตุ้นการสร้างฮีโมโกลบิน

ในเลือดและธาตโุ พแทสเซยี ม สามารถชว่ ยลดความดันโลหิตได้

กล้วยเป็นพชื ท่ใี ชป้ ระโยชนไ์ ด้หลากหลาย ใบกลว้ ยในภาษาไทยอาจเรียกว่า “ตองกลว้ ย” (ตอง หมายถึง

ใบไม้ที่เอาไปใช้ประโยชน์ได้ ซ่ึงไม่จ�ากัดเฉพาะใบกล้วย) ใช้ห่ออาหารและท�างานฝีมือหลายชนิด ขณะที่ใบกล้วยที่

ไม่แกห่ รืออ่อนเกนิ ไป เรียกวา่ “ใบเพสลาด” ล�าต้นใชท้ า� เชอื กกล้วย กระทง ผลรบั ประทานได้ทง้ั สดและนา� มาทา� ขนม

ตา่ ง ๆ กาบน�ามาใชท้ า� เชอื กและกระดาษ ใช้ประกอบพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ เชน่ แหใ่ นขบวนขันหมาก ประดับโลงศพ ฯลฯ

กะลัมพกั กะลําพกั (ตาตุ่มทะเล และสลัดได)

สว่ นทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก
....แมพ้ วกเทวดาก็กล่าวสรรเสริญคณุ ของเขาว่า

“สตรหี รือบุรุษในบา้ นหรือในตา� บลโน้น ถงึ พระพทุ ธเจา้ เปน็ สรณะ ฯลฯ ควรแกก่ ารขอ ยินดีในการใหท้ าน

และการจา� แนกทาน อย่คู รองเรือน” อานนท์ กล่นิ หอมนีแ้ ล ลอยไปตามลมก็ได้ ลอยไปทวนลมก็ได้ ลอยไปทงั้ ตาม

ลมและทวนลมกไ็ ดก้ ลนิ่ ดอกไมล้ อยไปทวนลมไมไ่ ดก้ ลน่ิ จนั ทน์ กลนิ่ กฤษณาหรอื กลน่ิ กะลา� พกั ลอยไปทวนลมไมไ่ ดส้ ว่ น
กลน่ิ ของสัตบรุ ุษลอยไปทวนลมไดเ้ พราะสตั บุรุษขจรไปท่วั ทกุ ทศิ (ดว้ ยกล่นิ แห่งคุณมศี ลี เป็นต้น) (เล่มท่ี 20 หน้า 305)

....แมก่ นิ นรขี ข้ี ลาด ผปู้ รารถนาจะมชี วี ติ อยเู่ จา้ จงไปยงั ปา่ หมิ พานต์ หากฤษณาและกะลา� พกั บรโิ ภคเถดิ มฤค
ชาตเิ หลา่ อน่ื จะอภริ มย์กบั เจ้า (เลม่ ที่ 27 หนา้ 427)

กะลา� พกั เป็นช่อื เรยี กสารท่ีไดม้ าจากพชื 2 ชนดิ คือ สลัดได (Euphorbia antiquorum L.) ต้นทีแ่ ก่จดั
อายหุ ลายปจี ะมีแก่นแข็ง และถ้ามีราลงจะเรยี ก “กระลา� พกั สลดั ได” และตาตุม่ ทะเล (Excoecaria agallocha L.)
ซึ่งแก่นท่ีมีเชื้อราเจริญอยู่ในเนื้อไม้ของตาตุ่มทะเลก็เรียก “กระล�าพัก” เป็นเคร่ืองยาท่ีมีกล่ินหอมใช้แก้ลมฟอกโลหิต

ขับระด ู ขับเสมหะ ในทีน้ขี อกล่าวถึง สลัดได

ชือ่ สามญั ภาษาไทย สลัดได

ช่อื สามญั ภาษาองั กฤษ Malayan spurge tree, Milkbush

ชอื่ พ้ืนเมอื ง กะลา� พกั (นครราชสมี า) เคยี ะเหลย่ี ม หงอนง ู (แมฮ่ อ่ งสอน) เคยี ะยา (ภาคเหนอื ) สลดั ไดปา่

(ภาคกลาง) ทดู เุ กละ (กะเหรย่ี ง-แม่ฮ่องสอน) หว่ั ยานเลอ่ ปา้ หวางเปียน (จนี กลาง)

ชอื่ บาล-ี สนั สกฤต กาฬานุสาร.ี กาฬยิ

ช่ือวิทยาศาสตร์ Euphorbia antiquorum L.

ช่ือวงศ์ Euphorbiaceae

ถิ่นก�าเนิด มถี ิ่นก�าเนดิ ในเอเชยี เขตรอ้ นพบได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย
















































Click to View FlipBook Version