The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

สมุนไพรในพระไตรปิฎก

94 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ชือ่ สามญั ภาษาไทย มะตมู

ช่อื สามญั ภาษาอังกฤษ Bael fruit tree, Bengal quince, Bilak, Bili, Golden apple, Stone apple, Wood

apple

ชื่อพนื้ เมือง กะทนั ตาเถร ตมุ่ ตงั (ปตั ตาน)ี พะโนงค ์ (เขมร) มะตมู (ภาคกลาง ภาคใต)้ มะปนิ (ภาคเหนอื )

ชอ่ื บาล-ี สนั สกฤต พิลวฺ -พลั วะมาลรู . เพลวุ . พิลฺล. กาสมิรี

ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Aegle marmelos (L.) Corrêa ex Roxb.

ชือ่ วงศ์ Rutaceae

ถิ่นกา� เนดิ มตี ้นกา� เนิดมาจากประเทศอนิ เดีย

นเิ วศวทิ ยา เป็นไม้ผลยนื ต้นพ้นื เมอื งในพนื้ ทป่ี ่าดิบบนเนินเขาและทรี่ าบ

การขยายพนั ธ ์ุ ใชเ้ มล็ด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไมต้ ้น สูง 10-15 เมตร เปลอื กตน้ สเี ทา แตกเปน็ รอ่ งตามยาว ใบ เปน็ ใบประกอบแบบนว้ิ มอื ออกเรียง

สลับ มใี บยอ่ ย 3 ใบ ใบย่อยใบปลาย รปู ไข ่ ปลายใบแหลม แผน่ ใบบางเรยี บเกลีย้ งเปน็ มัน ก้านใบยอ่ ยใบปลายจะ
ยาวกวา่ ใบทคี่ ู่กัน ดอก ออกเป็นชอ่ ตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอกม ี 4 กลีบ โคนตดิ กนั ปลายแยกเปน็ 4 แฉก
รปู ไข่กลับยาว ดา้ นนอกสเี ขยี วออ่ น ด้านในสีขาวนวล มนี า้� เมือก มกี ล่ินหอม ผล รูปรีกลมหรือยาว ผิวเรยี บเกล้ยี ง
เปลอื กหนา แข็ง ผลออ่ นสเี ขยี ว ผลสุกเป็นสีเขยี วอมเหลือง เน้ือในสสี ้มปนเหลือง นิ่ม เมลด็ มจี า� นวนมาก

การใช้ประโยชน์
เป็นพันธุ์ไม้มงคลของศาสนาฮินดูท่ีนิยมปลูกในเมืองไทยเราด้วย โดยถือเป็นต้นไม้ศักด์ิสิทธ์ิของพระศิวะ

สว่ นบา้ นเรามีความเชื่อวา่ ใบมะตมู สามารถนา� มาใช้ปอ้ งกันภตู ผีปศี าจ ปัดเป่าเสนียดจญั ไร และมะตูมยังจดั ว่าเปน็ ท้งั
ผลไม้ที่ดีต่อสุขภาพบ�ารุงร่างกาย บ�ารุงก�าลัง เป็นยาสมุนไพรที่เรารู้จักมาเนิ่นนาน ผลกินได้ท้ังแบบสดและแบบแห้ง

ท�าเป็นเคร่ืองดื่มร้อนหรือเย็นก็อร่อยกล่ินหอม หรือน�าผลมะตูมไปผสมกับมะขามเม่ือกรองได้น้�าและน�ามาเติมน�้าตาล

จะได้เครอื่ งดม่ื ท่ีมีรสชาติคล้ายกับ “มะนาว” ก็ยังได ้ ใบออ่ นของมะตมู น�ามากนิ เป็นผกั สลัดไดห้ รอื จะนา� ใบออ่ นมาใช้

กินกับน้�าพริกหรือลาบก็ได้เช่นกัน ผลแก่แต่เปลือกยังนิ่ม เมื่อน�ามาฝานแล้วท�าเป็นมะตูมเชื่อม หรือน�ามะตูมใช้เป็น
สว่ นผสมของขนมได้หลายชนดิ มะตูมเม่อื สกุ จะมีเนอื้ ซึง่ นา� มากินเป็นผลไมไ้ ด้

ประโยชนด์ า้ นสมุนไพร ลกู มะตูมออ่ นใชแ้ กไ้ ขต้ รโี ทษ แก้ลม บา� รงุ ธาตุ เจริญอาหาร ขบั ผายลม แก้เสมหะ
และลมท้ังปวง ลูกมะตูมแก่ แก้เสมหะ บ�ารุงธาตุไฟ ย่อยอาหารให้ละเอียด ให้ปิดธาตุ แก้เสลดและลม
ลูกมะตมู สุก แก้ลมเสยี ดแทงในท้อง แกม้ กู เลอื ด บา� รุงธาตุไฟ ชว่ ยย่อยอาหาร แก้กระหายน�า้ ขับลมผาย แกเ้ สมหะ
บา� รงุ ก�าลงั แก้ลมท้ังปวง รากมะตูม แกพ้ ิษฝี แกพ้ ษิ ไข้ รกั ษาน�า้ ด ี แก้หดื หอบไอ แก้ไข ้ แกล้ มอัดแนน่ อยู่ในทรวงอก
แกม้ ตุ กดิ มะตูมท้งั 5 (ทกุ สว่ น) แก้ปวดศีรษะ ตาลาย ปจั จุบันมีการศึกษาวจิ ัยในระดบั สัตวท์ ดลองพบวา่ มะตมู มี
ส่วนช่วยลดน้�าตาลในเลือด และพบว่าเน้ือมะตูมเป็นอาหารที่มีสารแอนตี้ออกซิแดนต์หรือสารช่วยต้านอนุมูลอิสระ

ชว่ ยลดความเสย่ี งของโรคเร้ือรังต่าง ๆ ได้

สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก 95

มะปราง

สว่ นทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก
....“ภิกษทุ ้งั หลาย เราอนุญาตน้า� อฏั ฐบาน คอื 1. น�้ามะม่วง 2. น้า� หว้า 3. นา�้ กล้วยมเี มล็ด 4. น้า� กลว้ ย

ไมม่ ีเมลด็ 5. น้า� มะซาง 6. น้�าลกู จันทน์หรือองุ่น 7. น้า� เหงา้ บัว 8. นา้� มะปรางหรอื ลิ้นจี่ (เลม่ ท่ี 5 หน้า 13)
....พระผู้มีพระภาคพระนามว่าสิทธัตถะทรงสันโดษเสมอด้วยภูเขาสิเนรุ ทรงไว้เช่นกับธรณีเสด็จออกจาก

สมาธแิ ลว้ เข้ามาหาขา้ พเจา้ เพ่อื ภกิ ษาผลสมอ ผลมะขามปอ้ มผลมะมว่ ง ผลหวา้ ผลสมอพิเภก ผลกระเบา ผลกระบาก

(รกฟา้ ) ผลมะตูม และผลมะปราง ข้าพเจ้ามีใจผ่องใสได้ถวายผลไมน้ ้นั ทุกชนิดแด่พระผมู้ พี ระภาคพระนามว่าสทิ ธตั ถะ
(เลม่ ที่ 32 หนา้ 443)

ชอ่ื สามญั ภาษาไทย มะปราง

ชื่อสามัญภาษาองั กฤษ Marian Plum, Plum Mango

ชือ่ พน้ื เมือง บกั ปราง หมากผาง (ภาคอีสาน) มะผาง (ภาคเหนอื ) ปราง (ภาคใต้)

ชื่อบาล-ี สันสกฤต ปารสุ ก. ผารุสก. พหุวารก

ชื่อวิทยาศาสตร์ Bouea macrophylla Griff.

ชอ่ื วงศ์ Anacardiaceae

ถนิ่ ก�าเนดิ มถี ิ่นก�าเนิดในแถบเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ไดแ้ ก่ ไทย ลาว พม่า และมาเลเซยี

นิเวศวทิ ยา เปน็ ไม้กลางแจ้ง ชอบอาการร้อนชื้น เจรบิ เตบิ โตไดด้ ีในดินทัว่ ไปทุกสภาพ

การขยายพันธุ ์ ขยายพันธุโ์ ดยใชเ้ มล็ด ตอ่ กง่ิ ปักชา�

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ตน้ มที รงต้นค่อนข้างแหลม มีก่ิงกา้ นสาขาค่อนขา้ งทึบตน้ โต มขี นาดสูง 15-30 เซนติเมตร มรี ากแกว้

แขง็ แรง ใบ มะปรางเป็นไมผ้ ลที่มใี บมาก ใบเรยี ว ปหี น่งึ มะปรางจะแตกใบอ่อน 1-3 ครง้ั ดอก มะปรางจะมดี อกเป็น
ช่อ เกิดบริเวณปลายกิ่งแขนง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ (เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน) ดอกบานจะมีสี
เหลอื ง ในไทยออกดอกชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน-ธนั วาคม ผล มลี กั ษณะทรงกลมรปู ไขแ่ ละกลม ปลายเรยี วแหลม มะปราง
ช่อหน่ึงมผี ล 1-15 ผล ผลดิบมสี ีเขยี วอ่อน-เขียวเขม้ ตามอายุของผล ผลสกุ มสี เี หลอื งหรอื เหลอื งอมส้ม เปลอื กผลนม่ิ
เน้อื สเี หลอื งแดงสม้ ออกแดงแล้วแตช่ นดิ พนั ธุ ์ รสชาติหวาน-อมหวานอมเปรย้ี ว หรอื เปรยี้ ว-เปรยี้ วจัด เมลด็ มะปราง
ผลหนึง่ จะมี 1 เมลด็ ส่วนผิวของกะลาเมลด็ มลี กั ษณะเป็นเส้นใย เน้ือของเมล็ดทั้งสขี าวและสีชมพอู มมว่ ง รสขมฝาด
และขม ลกั ษณะเมล็ดคล้ายเมลด็ มะมว่ ง หนึ่งเมล็ดเพาะกล้าได ้ 1 ตน้

การใชป้ ระโยชน์
รากมะปรางมสี รรพคณุ เปน็ ยาแกอ้ าการไขก้ ลบั ถอนพษิ สา� แดง ใบมะปรางใชท้ า� ยาพอกแกอ้ าการปวดศรี ษะ

น้�าจากต้นใช้เป็นยาอมกลั้วคอได้ แต่ประโยชน์ส่วนใหญ่อยู่ท่ีมะปรางเป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีและเบตาแคโรทีนสูง ช่วย

ตา้ นอนุมูลอสิ ระและเสริมสร้างภมู ติ า้ นทานให้กับรา่ งกาย ช่วยป้องกนั และลดความเสีย่ งของการเกิดโรคตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะ

เปน็ มะเร็ง เบาหวาน ความดัน เปน็ ต้น เม่ือมะปรางมวี ติ ามนิ สูงจงึ ช่วยบ�ารงุ และรกั ษาสายตาไดเ้ ป็นอย่างดี มะปราง

ยังเป็นผลไม้มีแคลเซียมและฟอสฟอรัสจึงช่วยบา� รุงกระดกู และฟัน ช่วยปอ้ งกนั โรคเลือดออกตามไรฟัน ชว่ ยฟอกโลหติ

96 สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก

ช่วยแก้เสลดแก้น�า้ ลายเหนยี วผลมะปรางสกุ กนิ เปน็ ผลไม้สดทา� นา�้ ผลไม ้ ทา� แยม นา� ไปกวนเป็นขนมหวานได้ ส่วนผล
ดบิ ใช้จ้มิ น้�าปลาหวาน กะปิหวาน หรอื น�าไปใชด้ องและแช่อิม่ ก็อร่อยดี

มะเฟือง

สว่ นทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก

ต้นคา� ตน้ ชา้ งน้าว ต้นกระท่มุ ตน้ มะเฟอื ง มดี อกบาน ส่งกลิน่ หอมอบอวลคลา้ ยกลน่ิ ทิพย์ ประดับอาศรม
ของขา้ พเจ้าใหง้ ดงาม (เลม่ ที่ 32 หน้า 698)

ชอ่ื สามญั ภาษาไทย มะเฟอื ง

ช่ือสามัญภาษาอังกฤษ Carambola, Star fruit

ชอ่ื พน้ื เมือง มะเฟือง (ท่ัวไป)

ชื่อบาล-ี สันสกฤต ภเวยยฺ . ปลาสผล

ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Averrhoa carambola L.

ชอื่ วงศ์ Oxalidaceae

ถิ่นกา� เนิด เป็นไม้ตน้ พน้ื เมอื งของอนิ โดนเี ซีย อนิ เดีย และศรีลงั กา และเปน็ ทีน่ ิยมในเอเชยี ตะวันออก

เฉยี งใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวนั ออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐ

โดมนิ กิ นั บราซลิ เปร ู กานา Guyana ซามวั ตองกา ไตห้ วนั French Polynesia คอสตารกิ า

และออสเตรเลยี ในสหรฐั อเมรกิ ามแี หลง่ เพาะปลกู เชงิ พาณชิ ยอ์ ยทู่ ฟ่ี ลอรดิ าตอนใต ้ และฮาวาย

นเิ วศวทิ ยา เปน็ พชื ท่ขี น้ึ ไดใ้ นสภาพที่ความชน้ื สงู ทัง้ ทีม่ แี สงแดดจดั หรือแสงแดดปานกลาง ในกรณีที่

จะปลูกเป็นไม้ประดับ ควรปลูกในท่ีมีแสงแดดปานกลาง มีความชื้นสูง ต้นจะเขียวสวย

ตดั กบั ชอ่ ดอกซึ่งมสี ีมว่ งแกมแดง

การขยายพนั ธ์ ุ เพาะเมล็ด และตอนกิ่ง

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไมย้ ืนต้นขนาดกลางสงู 8-12 เมตร แตกกงิ่ ก้านสาขามาก ล�าตน้ สน้ั เรือนยอดแนน่ ทึบ ล�าต้นสนี �้าตาลอม

แดง ผิวขรุขระ ใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ แตล่ ะใบมีใบย่อย 3-11 ใบ ใบยอ่ ยออกตรงข้ามกัน หรอื เรยี ง
สลับกนั ใบยอ่ ยรูปขอบขนาน แถบใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ ผิวใบมัน ใบออ่ นสีเขยี วอมแดง
ใบย่อยตรงปลายใบมีขนาดใหญ ่ ดอกช่อขนาดเลก็ โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ กลบี ดอกสชี มพ ู ถงึ มว่ งแดง
แตต่ อนโคนกลีบสซี ดี จางเกือบขาว ปลายกลีบโค้งงอน ออกตามซอกใบท่มี ใี บตดิ อยู่ หรือใบรว่ งหลดุ ไปแลว้ หรอื อาจ
จะออกตามล�าต้น กลบี เลีย้ งสีมว่ งม ี 5 กลีบ ปลายแหลม ก้านชชู อ่ ดอกมีสีมว่ ง ผลสด รูปกลมร ี อวบนา�้ มสี นั เด่นชดั
ลักษณะเป็นกลีบข้ึนเป็นเฟือง 5 เฟือง มองเห็นเป็นสันโดยรอบผล 5 สัน เมื่อผ่าตามขวางจะเป็นรูปดาว 5 แฉก
ผลดิบสีเขยี ว ผลสุกสีเหลืองออ่ นอมส้ม เป็นมันล่นื เน้ือผลลกั ษณะชุ่มน้า� รสหวานอมเปร้ยี วรบั ประทานได้ เมลด็ แบน
สดี า� ยาวเรยี ว มหี ลายเมลด็ ผลและยอดอ่อนใช้รับประทานได ้ ให้ผลตลอดป ี บางชนดิ รสหวาน บางชนดิ รสเปรีย้ ว
ผลกนิ ได้ทัง้ ขณะผลออ่ น และผลสุกแลว้ พบปลูกตามบา้ นเรือน เรือกสวนทัว่ ไปเพอื่ รบั ประทานผล

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 97

การใชป้ ระโยชน์
ประโยชนด์ า้ นสมุนไพร กินแกไ้ ข ้ ขบั ระดู ขบั ปสั สาวะ เปน็ ยาแก้รอ้ นใน ชว่ ยดับกระหาย ช่วยลดอณุ หภมู ิ

ในร่างกาย ถอนพิษไข้ เป็นยาขับเสมหะ ช่วยป้องกันการเกิดโรคโลหิตจาง ช่วยบรรเทาอาการนิ่วในระบบทางเดิน
ปสั สาวะ หากใชร้ ากมะเฟอื งมาตม้ เปน็ นา้� ดม่ื ชว่ ยบรรเทาอาการปวดศรี ษะ และบรรเทาอาการปวดขอ้ ตา่ ง ๆ และบรรเทา
อาการปวดแสบในกระเพาะอาหาร ใชเ้ ปน็ ยาภายนอก เชน่ นา� ใบมะเฟอื งมาตม้ ผสมกบั นา�้ ทาแกอ้ าการตมุ่ คนั ตามลา� ตวั
หรอื นา� ใบมาตม้ กบั นา้� อาบชว่ ยแกผ้ ดผนื่ คนั และนา� ใบสดของมะเฟอื งมาตา� แลว้ นา� มาพอกแกก้ ลาก เกลอ้ื น ตมุ่ อสี กุ อใี ส
วิธตี า� พอกน้ียังชว่ ยลดอาการอกั เสบ ช�้าบวม และช่วยดบั พษิ ร้อนในร่างกาย นา�้ คน้ั จากมะเฟืองชว่ ยขจดั รงั แคบนหนงั
ศรี ษะ ผลมะเฟอื งใช้เปน็ สว่ นผสมในเครือ่ งสา� อางทีช่ ่วยในการรกั ษาสิว ฝา้ บ�ารงุ ผวิ พรรณ

น้�าค้ันมะเฟื่องช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรงช่วยขับพิษและพยาธิในร่างกาย น้�าต้มดอกมะเฟือง
กนิ แลว้ ชว่ ยผอ่ นคลายชว่ ยใหน้ อนหลบั ไดส้ บายขน้ึ นา้� ดม่ื มะเฟอื งมสี ว่ นชว่ ยควบคมุ ระดบั นา�้ ตาลในเลอื ด อยา่ งไรกต็ าม
มขี อ้ ควรระวงั คอื ผกู้ า� ลงั กนิ ยาลดไขมนั ยาคลายเครยี ด ไมค่ วรกนิ มะเฟอื ง เพราะมะเฟอื งมฤี ทธไิ์ ปตอ่ ตา้ นการทา� งาน
ของตวั ยาเหลา่ น้นั ผู้ป่วยท่เี ปน็ โรคไตหรือก�าลังจะฟอกไต ไม่ควรกนิ มะเฟอื งเพราะมะเฟอื งมีกรดออกซาลกิ สงู จะไป
จับตัวกับแคลเซียมและตกเป็นผลึกนิ่วในไตมีโอกาสท�าให้เกิดการอุดตันในเนื้อไต และท่อไตคนปกติก็ควรกินมะเฟื่อง
พอประมาณ หากมากไปอาจเป็นนว่ิ ในทางเดนิ ปสั สาวะ และปญั หาเก่ียวกับไตได้

มะไฟ

ส่วนท่ปี รากฏในพระไตรปิฎก

....ต้นมะไฟ ต้นง้ิว ช้างน้าว พุดขาว กฤษณาโกฐเขมา และโกฐสอ ผลิดอกบานสะพรั่ง (เล่มท่ี 28
หนา้ 502)

ชอ่ื สามญั ภาษาไทย มะไฟ

ชอ่ื สามญั ภาษาองั กฤษ Burmese grape

ชอ่ื พืน้ เมอื ง ขี้หมี (ภาคเหนือ) มะไฟ (ทั่วไป) มะไฟกา ส้มไฟ (ภาคใต้) มะไฟป่า (ภาคตะวันออก

ภาคตะวันออกเฉียงใต้) หมั กัง (เพชรบรู ณ์)

ชอ่ื บาลี-สันสกฤต อคฺคิมนถฺ

ชื่อวิทยาศาสตร์ Baccaurea ramiflora Lour.

ชอ่ื วงศ์ Phyllanthaceae

ถ่นิ ก�าเนดิ มีการกระจายพันธุ์ใน เอเชียตะวันออก จีนตอนใต้ อินเดีย เมียนมา มาเลเซีย กัมพูชา

ลาว เวียดนาม

นิเวศวิทยา ข้ึนในปา่ ดงดิบใกลล้ �าธาร หรอื ท่ชี น้ื ในปา่ ผลัดใบ ออกดอกประมาณเดอื นมีนาคม

การขยายพนั ธ ์ุ ใชเ้ มล็ด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
มะไฟเปน็ ไมย้ นื ตน้ มผี ลออกเปน็ ชอ่ ผลออ่ นของมะไฟมีขนคล้ายก�ามะหยี่ ถ้าผลแก่ผิวจะเกล้ียง มีเปลือก

สีเหลือง เนื้อมีสขี าวหรือขาวใสอมชมพ ู แลว้ แตส่ ายพนั ธทุ์ ่ปี ลูก สว่ นเมล็ดจะแบนและมีสีนา้� ตาล พันธุท์ ่นี ิยมปลูกทวั่ ไป

98 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ได้แก่ พันธุ์เหรียญทอง (ผลใหญ่ ก้นเรียบ มีเน้ือสีขาว) พันธุ์ไข่เต่า (ผลกลมรี ก้นแหลม เน้ือขาวอมชมพู หวาน
อมเปรี้ยวมากกว่าพันธุ์เหรียญทอง) และอีกสายพันธุ์คือมะไฟสีม่วง โดยเปลือกจะมีสีม่วง (ประเทศจีน) ไม่ผลัดใบ
สูง 10-15 เมตร เปลือกลา� ตน้ บาง มสี นี ้�าตาลอมเขียวมีรอ่ งเล็ก ๆ เป็นรอยแตกใบเด่ียวเรียงสลบั กนั ใบรูปรีแกมหอก
โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ปลายเรียวแหลม ใบเป็นครีบเล็กน้อย มีสีเขียวถึงเขียวเข้ม ออกดอกเป็นช่อแบบราซีม
มีลักษณะเป็นเส้น ออกดอกตามลา� ต้น และกง่ิ ใหญ่มักเกิดรวมกันเปน็ กระจุก ตดิ ผลเปน็ พวงบน ก้านชอ่ ผลมีรูปร่าง
กลมหรือยาวรี สีผิวเหลืองถึงแดง ผิวเกลี้ยง เปลือกผลมียาง เนื้ออาจมีสีใส หรือขาวขุ่น รสเปรี้ยวอมหวานเมล็ดมี
ลกั ษณะแบนอยูภ่ ายในผล ซ่งึ 1 ผล มปี ระมาณ 1-3 เมลด็

การใชป้ ระโยชน์
ประโยชน์ดา้ นสมนุ ไพร ผลเป็นยาชว่ ยละลายเสมหะ ชว่ ยยอ่ ยอาหารแก้อาการทอ้ งอืด ท้องเฟ้อ ใบใชแ้ ก้ไอ

แกพ้ ษิ ฝ ี เปน็ ยาถา่ ยพยาธิ ขบั ปัสสาวะ รากท้งั สดและแห้งเป็นยาแก้พษิ ตานซาง ผวิ หนังอกั เสบบรรเทาไข้ท่มี ีอาการ
ปวดข้อเขา่ และผนื่ คนั คลา้ ยลมพษิ

มะไฟสกุ ใชร้ ับประทานเป็นผลไมส้ ดและนา� มาท�านา�้ ผลไม ้ ผลอ่อนมะไฟนา� ไปใช้ท�าแกงได ้ ผลใชใ้ นการปรุง
อาหารอย่าง สตูว์ ดอง หรือน�าไปหมักท�าไวน์ วิตามินซีจากผลมะไฟช่วยในสร้างคอลลาเจน ช่วยท�าให้ผิวพรรณ
เรยี บเนียน เปล่งปลงั่ สดใส

มะม่วง

สว่ นทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก

....สมัยน้ัน มะม่วงท่ีพระราชอุทยานของพระเจ้าพิมพิสารจอมทัพมคธรัฐก�าลังออกผล พระเจ้าพิมพิสาร

จอมทัพมคธรัฐทรงอนุญาตว่า “ขอนิมนต์พระคุณเจ้าท้ังหลายฉันผลมะม่วงตามสบายเถิด” พวกภิกษุฉัพพัคคีย์สอย
มะม่วงเลอื กเอาเฉพาะผลอ่อน ๆ เทา่ นัน้ มาฉัน (เลม่ ท่ี 7 หนา้ 12)

....ว่าดว้ ยบุคคลเปรยี บเหมอื นมะม่วงภิกษุทัง้ หลาย มะม่วง ๔ ชนิดนี้
มะม่วง 4 ชนดิ อะไรบ้าง คอื 1. มะม่วงดบิ แต่ผวิ สกุ 2. มะมว่ งสกุ แต่ผวิ ดิบ 3. มะม่วงดิบและผวิ ดิบ

4. มะม่วงสุกและผวิ สกุ ภกิ ษทุ ั้งหลาย มะมว่ ง 4 ชนิดนีแ้ ล (เลม่ ที่ 21 หนา้ 160)

มะม่วงทรี่ ู้จกั กันท่ัวไปสายพนั ธต์ุ ่าง ๆ เชน่ เขียวเสวย แรด มหาชนก นา้� ดอกไม ้ ฯลฯ ตา่ งก็เป็นมะมว่ งชนดิ
เดยี วกนั แตม่ กี ารคดั สายพนั ธ ์ุ เพอื่ ใหไ้ ดล้ กั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ออกไป สงั เกตไุ ดจ้ ากมะมว่ งเหลา่ นสี้ ามารถผสมพนั ธก์ุ นั ได้

ชื่อสามญั ภาษาไทย มะมว่ ง

ชื่อสามญั ภาษาองั กฤษ Mango tree

ช่ือพน้ื เมอื ง มะมว่ งหอม มะม่วง (ท่ัวไป) มะมว่ งกะเล็ง มะม่วงขีก้ วาง

ชอ่ื บาลี-สนั สกฤต อมฺโพ (อมั -โพ)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Mangifera indica L.

ชอ่ื วงศ์ Anacardiaceae

ถิน่ กา� เนดิ มีถน่ิ ก�าเนิดในอนิ เดยี กระจายอย่ตู ามประเทศในเขตร้อนตัง้ แต่อินเดยี ไปจนถึงฟลิ ปิ ปนิ ส์

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 99

นิเวศวทิ ยา เจริญไดด้ ีในทกุ พืน้ ท่ที รี่ ้อนช้นื
การขยายพันธุ์ ใชเ้ มลด็ ปกั ช�า กง่ิ ตอน

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ แตกก่ิงก้านสาขาออกไปรอบต้นมากมายจนดูหนาทึบ เปลือกของต้นจะมีสี

น�า้ ตาลมดา� พื้นผวิ เปลือกขรขุ ระ เป็นร่องไปตามแนวยาวขงลา� ต้น ใบเป็นรูปหอก มีสีเขยี วเข้ม เป็นไมใ้ บเด่ียวจะออก
เรยี งกนั เปน็ คู่ ๆ ไปตามกา้ นใบ ขอบใบเรียบไมม่ หี ยกั ปลายใบแหลม สว่ นโคนใบมน เนอ้ื ใบค่อนข้างจะหนา ดอกออก
เป็นช่อ ช่อหนึ่งมีประมาณ 15-20 ดอก ลกั ษณะของดอกเป็นสเี หลอื งออ่ น หรอื สีนวล ๆ เป็นดอกที่มขี นาดเล็ก ผล
เมอ่ื ดอกโรยก็จะตดิ ผล มลี กั ษณะตา่ งกนั แล้วแต่ละพันธเุ์ ชน่ บางทมี ีเปน็ รปู มนร ี ยาวร ี หรอื เปน็ รปู กลมป้อม ผลออ่ นมี
เป็นสีเขยี ว เมอ่ื แก่หรือสกุ เตม็ ท่ีก็จะเปลีย่ นเป็นสีเหลอื งสด ภายในผลมีเมลด็ ผลหนง่ึ มีเมลด็ เดียว

การใชป้ ระโยชน์
ประโยชนด์ า้ นสมนุ ไพร เปลอื กล�าต้นต้มนา�้ ดมื่ เป็นยาแกไ้ ข ้ แก้โรคคอตีบ แก้เยอ่ื ปากอักเสบ แกเ้ ย่ือเมือก

ในจมูกอักเสบใบ แก้ล�าไส้อักเสบเร้ือรัง แก้ซางตานขโมยในเด็ก แก้ท้องอืดแน่น ผลสดผลดิบ รสเปร้ียว ผลสุก
รสหวาน กินบ�ารุงร่างกายให้สดช่ืน เป็นยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน แก้โรคเลือดออกตามไรฟัน ขับปัสสาวะ

เป็นยาระบายเปลือกผลดิบคั่วรับประทานร่วมกับน้�าตาลแก้อาการปวดเม่ือยเมื่อมีประจ�าเดือน แก้ปวดประจ�าเดือน
เมล็ดเปน็ ยาถ่ายพยาธิตวั กลม แกท้ อ้ งร่วง แก้บดิ เรอื้ รงั รดิ สดี วงทวาร ตกขาว ท้องอืด แก้ไสเ้ ล่อื น และแกไ้ อ

การใช้ท่ัวไปกินเป็นผลไม้หรอื อาหาร เช่น ท�าน�้าพริก ย�ามะม่วง ต้มย�า เมี่ยงส้ม หรอื การท�าเป็นมะม่วง

นา้� ปลาหวาน ค้ันเปน็ น้�าผลไมก้ ็ได้ น�ามาแปรรปู เป็นมะมว่ งกวน มะม่วงแกว้ มะมว่ งดอง มะม่วงแชอ่ ม่ิ มะมว่ งเค็ม

น้�าแยมมะม่วง พายมะม่วง เป็นต้น ใบแก่ของมะม่วงใช้เป็นสีย้อมผ้าให้เป็นสีเหลือง เปลือกต้นมะม่วงไปย้อมผ้าให้
สเี ขยี ว ใช้บ�ารงุ ผิวหรือทรีตเมนตผ์ ิวหนา้ ดว้ ยการใช้มะมว่ งสกุ มาฝานเปน็ ชน้ิ บาง ๆ จากน้ันใชช้ อ้ นบดขยเ้ี นอ้ื มะมว่ งให้

ละเอยี ด น�ามาพอกหน้าท้งิ ไวป้ ระมาณ 15 นาทแี ล้วลา้ งออก จะท�าให้ผวิ หนา้ ดูสะอาดเกลยี้ งเกลา รขู มุ ขนดกู ระชับ

ผิวเรียบเนยี นไรร้ อยเหย่ี วย่น เน้ือไมต้ น้ มะมว่ งนา� มาทา� เฟอร์นเิ จอรไ์ ด้

มะร่นื

ส่วนทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก
....นไี่ มม้ ะรน่ื การทที่ า่ นปลอ่ ยผลมะรนื่ ใหห้ ลน่ กลงิ้ มานนั้ กวางรแู้ ลว้ เราจะไปยงั ไมม้ ะรนื่ ตน้ อนื่ เราไมช่ อบใจ

ผลของทา่ น (เล่มที่ 27 หนา้ 9)

....ข้าพเจ้าเป็นผู้มีจิตเลื่อมใส มีใจยินดีจึงประนมมือไหว้เหนือเศียรเกล้าแล้วได้ถือผลมะร่ืนไปถวาย
พระพทุ ธเจา้ ผปู้ ระเสรฐิ ที่สดุ (เล่มท่ี 32 หน้า 561)

ชื่อสามัญภาษาไทย กระบก

ช่ือสามญั ภาษาองั กฤษ Barking deer’s mango, Wild almond

ชอ่ื พน้ื เมอื ง มะล่นื (กระบก) กระบก กะบก จะบก (ภาคกลาง) บก หมากบก (ภาคอีสาน) มะมนื่

มื่น (ภาคเหนอื ) มะลืน่ (นครราชสมี า) หลกั กาย (กูย-สรุ นิ ทร์)

100 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ชอ่ื บาลี-สันสกฤต กาสมฺ ริ .ี เสปณฺณิ. เสปณณฺ .ี เสตปณฺณ
ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Irvingia malayana Oliv. ex A.W.Benn.
ชื่อวงศ์ Irvingiaceae
ถน่ิ ก�าเนิด มเี ขตการกระจายพนั ธอ์ุ ยทู่ วั่ ทกุ ภาคของประเทศ ตามปา่ ดบิ แลง้ ปา่ ชายหาด ปา่ เบญจพรรณ
ป่าหญ้า และปา่ แดง
นิเวศวทิ ยา เจรญิ เติบโตไดด้ ีในสภาพดินทกุ ชนดิ ในทกี่ ลางแจ้ง ตอ้ งการน้�าและความชืน้ ปานกลาง
การขยายพันธ ์ุ การเพาะเมลด็

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมย้ นื ตน้ ขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ ่ เปน็ ไมผ้ ลดั ใบ ทรงเรอื นยอดเปน็ พมุ่ แนน่ ทบึ มคี วามสงู ของตน้ ประมาณ

10-30 เมตร ลา� ต้นเปลา เปลือกตน้ มสี เี ทาออ่ นปนสีนา้� ตาลค่อนขา้ งเรยี บ โคนต้นมกั ข้ึนเปน็ พูพอนใบเป็นใบเดยี่ วตดิ
เรียงสลบั กนั ลักษณะของใบเป็นรูปไขห่ รือรูปรแี กมรูปขอบขนานจนถงึ รูปใบหอกเน้ือใบหนาเกลยี้ งทัง้ สองดา้ น ขอบใบ
เรยี บ โคนใบมนแหลมหรอื เวา้ เลก็ นอ้ ย สอบเรยี วไปทางปลายใบ ปลายใบแหลมท ู่ ขอบใบเรยี บ มเี สน้ แขนงใบประมาณ
8-14 คู่ และมกั มีเส้นแขนงปลอมแซมระหวา่ งกลาง เส้นใบยอ่ ยเปน็ แบบขน้ั บนั ได เหน็ ไดช้ ัดจากด้านทอ้ งใบ เมือ่ ใบ
แห้งจะเห็นเส้นร่างแหชัดทั้งสองด้าน ปลายใบเป็นติ่งมน มีหูใบ หูใบมีลักษณะพิเศษคือ ม้วนหุ้มยอด เรียวแหลม
โค้งเล็กนอ้ ยลกั ษณะเป็นรปู ดาบ ดอกเปน็ ชอ่ ตามซอกใบและปลายกงิ่ ดอกมสี เี ขยี วอมเขยี วอ่อน มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ
กลีบดอก 5 กลีบ มีเกสรตัวผู้อยู่ 10 อัน และจะออกดอกในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมผลเป็นรูปกลมรี
หรือค่อนข้างเป็นรูปไข่ ลักษณะแบนเล็กนอ้ ย คล้ายกบั ผลมะมว่ งขนาดเล็ก โดยผลออ่ นจะมสี ีเขยี ว แต่เมอื่ แกแ่ ล้วจะ
เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ในผลมีเมล็ดและมีเนื้อหุ้มเมล็ดเละ ๆ เหมือนมะม่วง ในผลกระบกมีเมล็ดเมล็ดโตเป็นรูปไข ่
เป็นเมลด็ เดี่ยว มเี ปลือกแขง็ เนือ้ ในเมล็ดมสี ขี าวอดั แน่นอย่ ู (ลักษณะเป็นเนอ้ื แป้ง) และมีนา�้ มัน มกั ติดผลในชว่ งเดอื น
กุมภาพนั ธ์ถงึ เดอื นเมษายน

การใช้ประโยชน์
เน้ือในเมลด็ มะรื่นหรอื กระบกมีรสหวานมนั นิยมน�ามาคัว่ กินเปน็ ของว่างมรี สคล้ายกับถวั่ ลิสง หรอื ท่ีเรียกว่า

“กระบกคั่ว” นา้� มันจากเมลด็ กระบกก็กินได้ เน้ือในเมลด็ เปน็ แหลง่ อุดมของแคลเซียมและเหลก็ กนิ ช่วยบา� รุงกระดกู
และฟันได้เป็นอย่างดี กินใบออ่ นเปน็ ผักหรือกนิ กับลาบกไ็ ดผ้ ลสุกของกระบกที่รว่ งหล่นลงมา ยังใช้เปน็ อาหารส�าหรับ
เลี้ยงสัตว์ เช่น วัว ควาย รวมไปถึงสัตว์เค้ียวเอ้ืองอื่น ๆ ในป่าธรรมชาติผลสุกของกระบกยังเป็นทีชื่นชอบของ
เกง้ กวาง และนก

ตน้ กระบกมปี ระโยชนใ์ นดา้ นภมู สิ ถาปัตย์ ใช้ปลกู เปน็ กลุ่มในพื้นที่โล่ง ๆ ตามสวนสาธารณะ สวนรุกขชาต ิ
หรอื ในสวนสตั ว์เปิด ใหเ้ ปน็ ที่อยอู่ าศัยและเป็นแหล่งอาหารของสตั ว์ได้ด ี ไม้กระบกเปน็ ไม้เน้ือแขง็ และหนกั มเี สยี้ นตรง
แข็งมากไม่แตกแยกเมอื่ แหง้ เล่อื ยผา่ ตบแต่งไดง้ ่าย จึงน�ามาใชท้ �าเปน็ เครือ่ งมือเคร่อื งใช ้ เชน่ ครก สาก เคร่ืองสขี ้าว
นา� มาทา� สงิ่ ปลกู สร้างที่อยใู่ นร่มได้ด้วย นา้� มนั จากเน้อื ในเมล็ดน�ามาใช้เปน็ สบแู่ ละเทียนไข เน้ือในผลกระบกน�ามาเคย้ี ว
กินเล่นแล้ว ยังน�ามาใช้พัฒนาเป็นเคร่ืองส�าอางและยาเหน็บทวารได้อีกด้วยผลกระบกเป็นแหล่งเลี้ยงจุลินทรีย์ช้ันดี
พชื ชนิดไหนทีอ่ ยู่ใกล้ต้นกระบกก็เหมอื นกบั ไดป้ ยุ๋ ช้นั ดีไปด้วย แม้วา่ กระบกจะมีคุณประโยชนม์ ากมาย แต่คนท่ัวไปไม่
นยิ มนา� มาปลใู นบา้ น เพราะมีชอื่ ไมเ่ ปน็ มงคล ค�าว่า กระบกในภาษาอีสานหมายถึง หมดไป ไมเ่ หลืออะไรเลย

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 101

มะรมุ

สว่ นที่ปรากฏในพระไตรปฎิ ก

....ณ ทใี่ กล้อาศรมน้ีมีหมู่ไมน้ านาชนดิ ผลิดอกออกผลจ�านวนมาก คือมะม่วง มะหาด ขนนุ ทองกวาว มะรมุ
อกี ทง้ั โลดทะนง บวั บก การะเกด จันทน์กระพอ้ และหมากหอมก็ผลิดอกบานสะพรั่ง.... (เล่มท่ี 28 หนา้ 128)

ชอ่ื สามัญภาษาไทย มะรุม

ชอ่ื สามญั ภาษาอังกฤษ Drumstick tree, Horseradish tree

ชือ่ พ้นื เมอื ง ผักอฮี ึม ผักอฮี มุ มะค้อนก้อม (ภาคเหนือ) มะรุม (ภาคกลาง ภาคใต)้ อีฮมุ (ภาคอสี าน)

ช่อื บาล-ี สนั สกฤต โสภญชฺ น. สิคคฺ ุ. สงิ ฺคุ. ฌชฺฌรี

ช่ือวิทยาศาสตร์ Moringa oleifera Lam.

ชอ่ื วงศ์ Moringaceae

ถ่ินกา� เนดิ มีถิน่ ก�าเนดิ อย่ใู นประเทศแถบเอเชีย เชน่ อนิ เดีย ศรลี ังกา เปน็ ต้น และยังมใี นเขตเอเชยี

ไมเนอร์และแอฟริกา

นเิ วศวิทยา เจรญิ ไดด้ ีในดนิ ทุกชนิด ตอ้ งการน�า้ และความชน้ื ในปริมาณปานกลาง

การขยายพันธ์ ุ การเพาะเมลด็ และการปกั ชา� กิง่

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยืนต้นสูง 3-6 เมตร หรือใหญ่กว่าเปลือกสีขาว รากหนานุ่ม ใบสลับแบบขนนก 2 หรือ 3 ชั้น

ใบชน้ั หน่งึ มใี บยอ่ ย 8-10 คู่ ใบแบบรูปไขร่ ูปไข่หัวกลบั รปู คขู่ นาน ใต้ใบสเี ขยี วอ่อน ใบอ่อนมขี นสเี ทาชอ่ ดอกแบบช่อ
แยกแขนง ออกตามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ สขี าวหรอื ขาวอมเหลืองแต้มสแี ดงเข้าที่ใกลฐ้ านดา้ นนอกปลายกลบี ดอก
กวา้ งกว่าโคน 4 กลีบ ต้ังตรง เกสรตวั ผู้แยกจากกนั สมบรู ณ์ 5 อันไม่สมบรู ณ์ 5 อนั เรียงสลับกันมขี นสีขาว ท่โี คนอับ
เกสรสีเหลอื งเกสรตัวเมีย 1 อนั ผลยาวเป็นฝกั 3 เหล่ียม เมล็ดม3ี ปกี

การใชป้ ระโยชน์
ประโยชน์ด้านสมุนไพร ใบสดมีวิตามินซีและเอมาก กินแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน ใบสดต�าพอกแก้แผล

เปลอื กตน้ ใชข้ บั ลมในลา� ไส ้ ทา� ใหผ้ ายลมเรอ คมุ ธาตอุ อ่ น ๆ แกฝ้ ี แกพ้ ยาธ ิ เปน็ ยาอายวุ ฒั นะ เปลอื กสดตา� อม ถอนพษิ
เมาสุรา กระพ้แี ก้ไข้สันนิบาตเพือ่ ลมฝัก ดับพษิ ถอนไข ้ แกป้ สั สาวะไมป่ กติ รากแกบ้ วม ชว่ ยกระตุ้นหวั ใจ บ�ารงุ หัวใจ
บ�ารุงไฟธาตุ น�ารากทุบพอแตกอมไว้ข้างแก้ม ด่ืมสุราจะไม่เมา ดอกเป็นยาบ�ารุง ขับปัสสาวะ เมล็ดแก้ไข้ แก้หอบ
ต�าพอกแก้ปวดตามขอ้ แก้บวม บ�ารงุ ไฟธาต ุ น้�ามันจากเมล็ด (ben oil) ไมม่ สี ี กล่ิน และรส ใช้ท�ายาขผ้ี ึ้งทาถนู วด

แก้ปวดเมอื่ ยปวดตามข้อ แก้ปวดลดไข ้ บ�ารุงหวั ใจ ใชท้ า� เครื่องสา� อาง น้�าหอม ปรุงอาหารได้

ยอดอ่อนและฝักใช้เป็นอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุรวมหลายชนิดเช่น วิตามินเอ ซี แคลเซียม

โพแทสเซยี มและธาตุเหล็กในปรมิ าณทส่ี ูงมากฝักมะรุมน�ามาใช้เป็นไมต้ กี ลอง โดยเฉพาะในแถบอนิ เดยี น�้ามันมะรุมนา�

มาใชใ้ นการปรุงอาหารชนิดเดียวกับนา�้ มนั มะกอก แต่ดกี ว่าตรงทไี่ มม่ กี ล่ินเหม็นหืนในภายหลงั

102 สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก

มะหาด

ส่วนท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก
....ณ ท่ใี กล้อาศรมนี้มหี มู่ไมน้ านาชนดิ ผลิดอกออกผลจา� นวนมาก คือมะม่วง มะหาด ขนนุ ทองกวาว มะรมุ

อีกทัง้ โลดทะนง บวั บก การะเกด จนั ทนก์ ระพ้อและหมากหอมก็ผลิดอกบานสะพร่ัง.... (เล่มที่ 28 หนา้ 128)

....เหลา่ กนิ นร (สตั วค์ ร่งึ คนคร่งึ นก) ฝงู วานรคนทา� งานในป่า สุนัขไลเ่ นือ้ นายพราน อาศัยสระนัน้ หากินต้น

มะพลบั ตน้ มะหาด ตน้ มะซาง ต้นหมากเม่า เผล็ดผลทกุ ฤดูกาลอยไู่ ม่ไกลอาศรมของขา้ พเจา้ (เลม่ ท่ี 32 หน้า 29)

ชือ่ สามญั ภาษาไทย มะหาด

ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ Monkey Jack

ชื่อพืน้ เมอื ง ทงั คัน ม่วงกวาง (ยะลา) มะหาด (ภาคใต้) มะหาดใบใหญ่ หาดรมุ หาดลกู ใหญ่ มะหาด

ใบใหญ ่ (ตรงั ) หาด (ทว่ั ไป) หาดขน (นราธวิ าส) ปวกหาด (เชยี งใหม)่ หาดขนนุ (ภาคเหนอื )

ฮดั (ภาคอสี าน) หาด (ทัว่ ไป-ภาคกลาง) เซยาสู้ (กะเหรย่ี ง-ก�าแพง) กาแย ตาแป ตาแปง

(มลายู-นราธิวาส) ขนนุ ปา่

ช่อื บาลี-สันสกฤต ปยิ าล. สนฺนกททฺ .ุ มญชฺ ฏิ ฐฺ . วิกสา

ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lacuchaRoxb. ex Buch.-Ham.

ช่ือวงศ์ Moraceae

ถิ่นก�าเนิด มถี นิ่ กา� เนดิ จากภมู ิภาคเอเชยี ใต้และคาบสมทุ รอินเดีย

นเิ วศวิทยา เจรญิ เตบิ โตได้ดีในดินเกือบทกุ ประเภท (แม้ในช่วงทมี่ ีฝนตกนอ้ ย) ต้องการน�้าและความชื้น

ปานกลาง พรรณไม้ชนิดนี้มักพบขึ้นท่ัวไปในท่ีกึ่งโล่งแจ้งตามป่าดงดิบ ปาเต็งรัง ป่า

เบญจพรรณ ป่าคืนสภาพ ป่าหินปูน ท่ีความสูงจากระดับน�้าทะเลประมาณ 100-1,800

เมตร ทางภาคตะวนั ออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉยี งใต ้ และทางภาคใตข้ องประเทศไทย

การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ดหรือวธิ กี ารตอนก่ิง

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยนื ตน้ ขนาดใหญ่ไมผ่ ลัดใบ ทม่ี คี วามสูงของตน้ ประมาณ 15-20 เมตร และอาจสงู ได้ถึง 30 เมตร

ล�าต้นมีลักษณะเปลาตรง ทรงพุ่มกลมหรือแผ่กว้าง เปลือกล�าต้นเป็นสีด�า สีเทาแกมน�้าตาล หรือสีน�้าตาลอมแดงถึง
น้�าตาลเข้ม ตน้ แก่ผวิ เปลอื กจะค่อนข้างหยาบ ขรขุ ระและแตกเปน็ สะเก็ดเล็ก ๆ บรเิ วณเปลือกของล�าตน้ มกั มรี อยแตก
และมยี างไหลซมึ ออกมา แหง้ ตดิ ตามกง่ิ ออ่ นและยอดออ่ นมขี นปกคลมุ ใบเปน็ ใบเดย่ี ว ออกเรยี งสลบั ในระนาบเดยี วกนั
ลักษณะของใบเป็นรูปรี รูปไข่ หรอื รูปขอบขนาน ปลายใบมนหรือแหลมเปน็ ต่ิงแหลม โคนใบมนหรือเวา้ มนหรอื แหลม
กว้าง และอาจเบ้ยี วไมส่ มมาตรกนั สว่ นขอบใบเรียบเปน็ คล่ืนเลก็ น้อยหรือมซี ี่ฟนั เลก็ น้อย ผิวใบด้านบนมีขนหยาบเลก็
นอ้ ย สว่ นดา้ นลา่ งเปน็ สเี ขยี วอมเทา มีขนหยาบสเี หลอื งเลก็ นอ้ ย ใบอ่อนมีขนแตพ่ อแก่ขน้ึ ขนเหล่านนั้ จะหลดุ ไปท�าให้
ใบเรียบเกลย้ี ง ใบแกเ่ ปน็ สเี ขียวเข้ม เหนียวคลา้ ยหนงั มเี ส้นใบข้างประมาณ 8-20 ค่ ู จรดกันท่ีขอบใบ เส้นใบยอ่ ยเหน็
ชัดเจนที่ด้านท้องของใบมีขนแข็งสีเหลืองอยู่หนาแน่น และมีหูใบขนาดเล็กบาง รูปหอกหลุดร่วงง่ายและมีขนปกคลุม
หนาแนน่ สว่ นก่งิ กา้ นคอ่ นข้างออ่ น ออกดอกเป็นช่อกระจุกแน่นกลมสเี หลืองหม่นถงึ สชี มพอู อ่ น โดยจะออกตามซอกใบ
ดอกเปน็ แบบแยกเพศอยูใ่ นต้นเดยี วกนั แต่อยู่คนละชอ่ ช่อดอกเพศผกู้ ลมออกดอกเปน็ ชอ่ เดี่ยวตามซอกหรือชว่ งลา่ ง

สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก 103

ของก่งิ กา้ น โคนเชอื่ มตดิ กันเปน็ หลอด กลีบเล้ยี งม ี 2 พู ลึก มีเกสรเพศผ้จู �านวนมาก ส่วนชอ่ ดอกเพศเมียเป็นรูปไข่
หรือเป็นรูปขอบขนานสีเหลืองอ่อน ออกตามกลีบช่วงบนปลายกลีบดอกหยักออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือน
เมษายน ผลเป็นสดและมเี นอ้ื เปน็ ผลรวมสีเหลอื ง ลักษณะของผลเปน็ รูปทรงกลมค่อนข้างบดิ เบยี้ วเป็นตะปุ่มตะป�่าผวิ
ผลขรุขระและมขี นนุม่ คล้ายกา� มะหย ่ี ผลออ่ นเป็นสีเขยี ว พอสกุ จะเปลีย่ นเปน็ สีเหลืองอ่อนถงึ ส้ม เมื่อแกเ่ ปน็ สีเหลอื ง
ปนน้า� ตาล เน้อื ผลนุ่มเปน็ สเี หลอื งถึงสีชมพู ภายในผลมเี มลด็ จ�านวนมาก ลักษณะของเมล็ดมะหาดเปน็ รปู ขอบขนาน
หรอื เกอื บกลม เมลด็ เปน็ สีน�า้ ตาลทาตดิ ผลในชว่ งเดือนมนี าคมถึงเดอื นพฤษภาคม

การใชป้ ระโยชน์
ประโยชน์ด้านสมุนไพรน�าแก่นแก่มาสับแล้วน�าไปต้มเคี่ยวกับน�้า จนเกิดฟองช้อนฟองท่ีได้น�าไปท�าให้แห้ง

จะไดผ้ งสขี าวนวลจับกันเปน็ กอ้ นนา� ไปยา่ งไฟให้เหลือง แล้วนา� มาบดเป็นผง เรยี กวา่ “ผงปวกหาด” มรี สรอ้ นเมานา�
มาชงกบั น�้าเยน็ รับประทาน เปน็ ยาขบั พยาธิตัวตืดและพยาธิไสเ้ ดือนหรือใช้ละลายน�า้ ทาแก้ผื่นคันแก่นขับพยาธติ ัวตดื
แกล้ ม แกท้ อ้ งอดื เฟอ้ แกก้ ษยั แกเ้ สน้ เอน็ พกิ าร แกเ้ บอ่ื อาหาร แกล้ มขบั โลหติ ละลายเลอื ด ขบั ปสั สาวะ แกไ้ ขต้ า่ ง ๆ
แก้น้�าเหลืองเสียแก้ประดงทุกชนิด แก้หอบหืด แก้เสมหะรากแก้ไข้ ขับพิษร้อนใน ขับพยาธิ แก้กษัยในเส้นเอ็น
เปลือกตน้ ใช้เคย้ี วกับหมากแทนสีเสยี ด และเปลอื กตน้ สดสมาน ทาขับพยาธิ ตม้ กนิ แก้ไข ้ ขับพยาธใิ นอินเดีย เนปาล
ใช้เปลือกต้นตม้ นา้� ทารักษาสิว ใชใ้ บเปน็ อาหารสตั ว ์ ชว่ ยเพ่มิ การขบั น้า� นม

ผลสุกรับประทานได้ รสหวานอมเปรีย้ ว ใบออ่ นนา� มาน่ึงเปน็ ผกั จิม้ กนิ กบั นา�้ พริกรบั ประทาน ชาวกะเหรี่ยง
จะใช้ใบมะหาดแทนการใช้กระดาษทราย ใยจากเปลือกตน้ มะหาด สามารถนา� มาใชท้ า� เชือกได้ รากมะหาด สามารถ
น�ามาสกดั เป็นสสี า� หรบั ย้อมผ้าได ้ โดยจะให้สเี หลอื งเนอ้ื ไมม้ ะหาดเปน็ สนี �้าตาลแกมเหลืองออ่ น เสย้ี นสน เนอื้ ไม้หยาบ
แข็ง มีความเหนียวและทนทานมาก สามารถเลื่อยกบไสตบแต่งได้ง่าย ปลวกและมอดไม่ชอบท�าลาย นิยมใช้ท�าเสา
สรา้ งบา้ น ท�าสะพาน ท�าหมอนรองรางรถไฟ ดา้ มเครื่องมือทางการเกษตร ในด้านประโยชน์ทางนเิ วศน์ ต้นมะหาด
ปลูกเป็นไม้เพ่ือให้ร่มเงา และช่วยป้องกันการพังทลายของหน้าดินได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบันมีการน�าสารสกัดมะหาด
มาทา� เปน็ ผลติ ภณั ฑค์ รมี ทาผวิ เนอื่ งจากสารสกดั จากแกน่ มะหาดนนั้ มฤี ทธยิ์ บั ยง้ั เอนไซม ์ tyrosinase และมปี ระสทิ ธภิ าพ
ในการยับยัง้ การสร้างเมลานนิ จงึ ท�าให้ผิวขาวขึน้ ได ้ แตก่ ารเลือกใชผ้ ลติ ภัณฑส์ ารสกดั มะหาดเพ่ือให้ผิวขาว นอกจาก
จะตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความเขม้ ขน้ ของสาสกดั เปน็ หลกั แลว้ รปู แบบของผลติ ภณั ฑก์ ม็ ผี ลตอ่ ประสทิ ธภิ าพในการทา� งานของ
สารสกัดมะหาดเช่นกนั

โมกมัน

ส่วนที่ปรากฏในพระไตรปฎิ ก
....มหานามเถรคาถาภาษิตของพระมหานามเถระทราบว่า ท่านพระมหานามเถระได้กล่าวคาถาไว้ดังน้ีว่า

[115] (มหานาม) ท่านนี้ก�าลังจะเสื่อมประโยชน์เพราะภูเขาเนสาทกะอันมากไปด้วยหมู่ต้นโมกมันและต้นอ้อยช้าง
เป็นขนุ เขาทส่ี มบูรณ์ดว้ ยร่มเงาและน้า� ปกคลมุ ไปด้วยพมุ่ ไม้และเถาวลั ย์นานาพันธ์ุ (เล่มท่ี 26 หน้า 345)

ตน้ โมกมันท่ปี รากฏในประเทศไทย มี 2 ชนิดท่ีมคี วามใกลเ้ คียงกนั มา คอื โมกมันชนดิ Wrightia arborea
(Dennst.) Mabb. และชนดิ Wrightia pubescens R.Br.

104 สมุนไพรในพระไตรปฎิ ก

ชอ่ื สามญั ภาษาไทย โมกมนั

ชอ่ื สามัญภาษาอังกฤษ Ivory, Darabela, Karingi, Lanete

ชื่อพ้ืนเมือง มกู น้อย มกู มนั (น่าน) โมกมันเหลอื ง (สระบรุ )ี มกั มนั (สุราษฎรธ์ านี) โมกน้อย (ท่วั ไป)

เสท่ อื แนแก แหน่แก (กะเหรีย่ ง-แม่ฮอ่ งสอน) มกู เก๊ีย (ภาคอสี าน)

ช่ือบาล-ี สันสกฤต กฏุ ช.

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Wrightia arborea (Dennst.) Mabb.

ชื่อวงศ ์ Apocynaceae

ถิน่ ก�าเนิด พบท่ีอนิ เดยี ศรีลงั กา พม่า จนี ลาว และเวียดนาม ในไทยพบมากทางภาคเหนอื กระจาย

ห่าง ๆ ทางภาคตะวนั ตกเฉียงใต้ และภาคใต้ตอนบน

นิเวศวทิ ยา เจริญเติบโตได้ดีในดินทุกประเภท ชอบความช้ืนปานกลาง เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ทนต่อ

ความร้อนและแสงแดดได้ดี มักพบข้ึนตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าผลัดใบ และป่า

โปร่งทว่ั ไปท่รี ะดับความสงู จากนา�้ ทะเลถึง 1,600 เมตร

การขยายพันธ์ ุ การเพาะเมลด็ และวธิ ีการตอนกิง่

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมย้ นื ต้นขนาดเลก็ ผลัดใบ มีความสงู ของต้นประมาณ 5-15 เมตร เปลือกลา� ตน้ เปน็ สขี าวหรือสเี ทาออ่ น

เปลือกต้นแตกเป็นร่องต้ืน ๆ ตามยาว มีขนสีขาวตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อน มีรูอากาศมาก ท่ีเปลือกด้านในมีน�้ายาง
สขี าว ใบเปน็ ใบเดย่ี วออกเรยี งตรงขา้ มกนั สลบั ตงั้ ฉาก ลกั ษณะของใบเปน็ รปู รหี รอื รปู ไข ่ ปลายใบแหลมหรอื เรยี วแหลม
โคนใบสอบ สว่ นขอบใบเรยี บไมม่ หี ยกั พน้ื ผวิ ใบบางคลา้ ยแผน่ กระดาษ แผน่ ใบมขี นนมุ่ ทง้ั สองดา้ น ดา้ นบนมขี นเฉพาะ
ทเ่ี สน้ กลางใบหรอื มขี นทวั่ ไป สว่ นดา้ นลา่ งมขี นทเี่ สน้ กลางใบและเสน้ แขนงใบอยา่ งทวั่ ถงึ มเี สน้ แขนงใบขา้ งละประมาณ
8-12 เสน้ ก้านใบมีขนสัน้ นุ่ม ดอกเปน็ ช่อกระจกุ ตามปลายก่งิ ดอกเป็นสขี าวอมเหลือ ดอกมกี ลนิ่ หอม กา้ นช่อดอกและ
กา้ นดอกยอ่ ยมขี นสัน้ น่มุ ข้นึ อยปู่ ระปรายถงึ หนาแนน่ กลบี ดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกบิด โคนกลีบเชอื่ มติดกนั เปน็ หลอด
กลีบดอกเปน็ รปู ร ี รูปรีแกมรูปไข่กลับ หรือเป็นรปู ไขก่ ลบั ปลายมนปลายหลอดกลีบดอกก้านดอกมขี นสน้ั นุม่ สว่ นด้าน
ในเกล้ียงถึงมีขนละเอียด ดอกแรกบานจะเป็นสีขาวอมเหลือง ข้างนอกเป็นสีเขียวอ่อนและจะเปล่ียนเป็นสีม่วงหรือ
สแี ดงมว่ ง โดยจะออกดอกในชว่ งเดอื นเมษายนถงึ เดอื นสงิ หาคม ผลเปน็ ฝกั ยาวคดิ คกู่ นั และหอ้ ยลง ลกั ษณะของฝกั เปน็
รูปทรงกระบอก เป็นร่อง 2 รอ่ งพืน้ ผิวฝักเกล้ยี งหรือขรุขระ ไมม่ ีรูอากาศ ฝักเมื่อแก่เตม็ แห้งแล้วจะแตกออกได ้ ภายใน
มเี มลด็ เปน็ จา� นวนมาก ลกั ษณะของเมลด็ เปน็ รปู รหี รอื รปู แถบทป่ี ลายดา้ นหนง่ึ มขี นปยุ สขี าวเปน็ กระจกุ ตดิ อยทู่ า� ใหป้ ลวิ
ไปตามลมได้ไกล โดยจะติดผลในช่วงประมาณเดอื นสงิ หาคมถงึ เดอื นธนั วาคม

การใชป้ ระโยชน์
ยอดออ่ นใชล้ วกจมิ้ กนิ กบั นา้� พรกิ หรอื นา� มาทา� แกงกนิ ได ้ เปลอื กใหเ้ สน้ ทนี่ า� ไปใชท้ า� กระดาษและใชแ้ ทนเสน้ ใย

จากฝ้ายได้ เปลือกต้นโมกมนั นา� มาสกดั ทา� เป็นสยี ้อมเส้นไหม โดยจะใช้สเี ขยี วออ่ น (Milky green) เน้อื ไม้โมกมนั มี
สขี าวนวลถงึ ขาวอ่อน เสย้ี นตรง เนือ้ เหนียวและละเอยี ดมาก นา� มาใชป้ ระโยชน์ไดห้ ลายอยา่ ง เช่น ใช้ในงานแกะสลกั
ท�าเคร่ืองกลึง เคร่ืองเล่นส�าหรับเด็ก ท�าซออู้ ซอด้วง จะเข้ ท�าพานท้ายรางปืน หมากรุก เครื่องเขียน ไม้บรรทัด
ไม้ฉาก ดนิ สอ ด้ามปากกา หวี ตะเกยี บ ทา� กระสวย ซ่ีฟมี ทอผา้ ด้ามเฟอื งซ่รี ่ม ไมเ้ ทา้ ไม้ควิ บิลเลียด ตู้ โตะ๊ ไม้คาน

สมุนไพรในพระไตรปิฎก 105

ไมบ้ ุผนงั หอ้ ง ใช้สรา้ งบา้ น ไมพ้ าย แจว กรรเชียง เรอื เรว็ เรอื พาย ท�าโครงแร็กเกต็ ท�าเหย่อื ปลอมของเบด็ ตกปลา
ฝรั่ง ฯลฯ ในเรื่องการใช้งานด้านภูมิทัศน์ ต้นโมกมันเป็นไม้ที่มีทรงพุ่มสวยงาม และดอกยังมีกล่ินหอม ใช้ปลูกเพ่ือ
ให้ร่มเงาไดด้ ี

ไม้รกั ดํา

สว่ นทีป่ รากฏในพระไตรปฎิ ก
....เราอยูบ่ นเครื่องลาดใบไม้ ในท่ีไม่ไกลภเู ขาหมิ วนั ต์ ในกาลนั้น (ถ้า) เราอยากอาหารก็มักนอนเสีย เราขุด

จาวมะพร้าว มนั อ้อน มันมือเสอื และมันนกมาไว้ เรานา� เอาผลพุทรา ไมร้ กั ดา� ผลมะตูม มาจัดแจงไวพ้ ระผ้มู พี ระภาค
พระนามว่าปทุมุตระ.... (ปรากฏในเอกสารพระไตรปิฎก ฉบับ 84000 พระธรรมขันธ์ เล่มท่ี 32 หน้า 160-161

แตไ่ ม่พบในฉบบั มหาจุฬาฯ)

ชอ่ื สามัญภาษาไทย รักด�า

ช่อื สามญั ภาษาอังกฤษ -

ชื่อพ้นื เมอื ง กล้าย (ปัตตาน)ี นง่ั จ้อย (นครราชสมี า) ไม้ด�า (สตูล) รักดา� (อบุ ลราชธาน)ี

ชอ่ื บาล-ี สนั สกฤต ผลฺล,ี ผลฺลาตก.., ภลฺล,ี ภลลฺ าตก.

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Diospyros curranii Merr.

ชือ่ วงศ์ Ebenaceae

ถ่นิ กา� เนดิ มกี ารกระจายในเขตเอเชียตะวันออกฉยี งใต ้ ได้แก่ ไทย กัมพชู า ลาว มาเลเซยี อินโดนีเซีย

ฟลิ ปิ ปนิ ส์

นิเวศวิทยา เจรญิ ไดด้ ีในปา่ เตง็ รังในระดับสูงจากนา�้ ทะเล 900 เมตร

การขยายพันธ ุ์ ใช้เมลด็

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมย้ นื ต้น สงู ได้ถึง 30 เมตร

การใชป้ ระโยชน์
มแี ก่นสดี า� เน้ือละเอียด ใชท้ า� อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เชน่ เครือ่ งมอื ทางการเกษตร ด้ามปืน อปุ กรณ์เครอื่ งเขยี น

ย่านทราย (ไม้เถา)

สว่ นทป่ี รากฏในพระไตรปิฎก
....หญงิ ทงั้ หลายรวู้ า่ ชายใดเปน็ ผมู้ ั่งคง่ั มีทรพั ยม์ าก ยอ่ มแลน่ เข้าไปหายอ่ มผกู มัดชายน้ันผมู้ ีจิตก�าหนัดยินดี

ไว้ดว้ ยเรอื นร่างของตนเหมือนเถาย่านทรายรัดรงึ ต้นสาละในป่า.... (เล่มท่ี 28 หน้า 155)

พืชทีช่ ่ือย่านทรายทป่ี รากฏในพระไตรปฎิ ก อาจเป็นพชื ชนดิ ใดชนดิ หน่งึ ใน 2 ชนดิ น ี้ คอื ยา่ นทรายท่เี ปน็
ไมล้ ้มลุก ในกลุ่มมันพ้นื บ้าน โดยเป็นชอ่ื ทเ่ี รยี กกันในภาคใต้ คา� ว่าย่านหมายถึงพชื ทีม่ ลี กั ษณะเปน็ เถาเลือ้ ย ในเอกสาร
พระไตรปฎิ กกลา่ วถงึ ย่านทรายวา่ เป็นทั้งเถาและต้น

106 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ชื่อสามัญภาษาไทย ยา่ นทราย

ชอ่ื สามัญภาษาองั กฤษ Yum

ชื่อพื้นเมอื ง ย่านทราย (พทั ลงุ )

ชอ่ื บาล-ี สนั สกฤต มาลวุ า

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Dioscorea sp.

ชื่อวงศ์ Dioscoreaceae

ถิ่นกา� เนิด -

นเิ วศวทิ ยา เจริญได้ดีในทีด่ ินทราย

การขยายพนั ธ ุ์ ใช้เมลด็ และหวั ขนาดเล็ก

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นเถาเลื้อยพาดตามไม้พุ่มใกล้เคียง เถามีลักษณะทรงกลมสีเขียวขนาดเล็ก และเป็นปล้อง ๆ โคนเถามี

สนี า้� ตาลอมด�า แตกกงิ่ เลือ้ ยยาวได ้ ทโ่ี คนเถาใต้ดินเป็นหัวท่ีเรียกวา่ หวั มันมีลกั ษณะรปู ไข่ หวั เลก็ มีลักษณะทรงกลม
ขนาดหวั ทโี่ ตเตม็ ท่กี ว้าง โคนหัวสอบเลก็ ปลายหัวอวบใหญ ่ เปลอื กหวั มสี นี า้� ตาลอมเหลอื ง เปลือกหัวบาง และมรี าก
แขนงขนาดเล็กแตกออกโดยรอบ เน้อื หวั ด้านในมสี ขี าว หัวดิบเมือ่ ผ่าจะมีน�า้ เมือกเหนยี ว

การใช้ประโยชน์
ใชเ้ ปน็ อาหารและยาสมนุ ไพร (ยงั ไมม่ ีข้อมูลมากกว่านี้)

ย่านทราย (ไม้ยืนต้น)

ส่วนทีป่ รากฏในพระไตรปิฎก
....ภูมิประเทศท่ีสมควรร่ืนรมย์ใจ ชื่นใจ ด้วยกลิ่นหอมแห่งดอกอุบล ดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกบัวขาว

ดอกสตั บศุ ย์ ดอกจงกลนี และดอกบัวเผอื่ น ซงึ่ งอกงามขนึ้ ในบดั น้นั เป็นดงั ปา่ หม่ไู มน้ านาพันธ์ุ คอื ต้นโกฐคา� ตน้ จกิ
ตน้ ล�าเจียก ตน้ ยา่ นทราย ตน้ ออ้ ยชา้ ง ต้นบนุ นาค ตน้ พิกุล ตน้ หมากหอม ตน้ ประดู่ ต้นขมน้ิ ต้นรงั ต้นสน ต้นจา� ปา
ตน้ อโศก ตน้ กากะทงิ ตน้ หงอนไก่ ตน้ เสมด็ ต้นโลดทะนง และตน้ จันทนแ์ ดง เป็นป่าชฏั ทด่ี าษดนื่ .... (เลม่ ที่ 28 หนา้

136)

ช่อื สามัญภาษาไทย จันด�า

ชื่อสามญั ภาษาอังกฤษ -

ชอ่ื พืน้ เมอื ง โกพนม (ปราจนี บรุ )ี จันด�า ตาด�า (ตราด) ดีง ู (พทั ลงึ ) นางด�า (สระบุร)ี ไม้ดา� (นราธวิ าส)

ยางทราย (จนั ทบรุ )ี ฮาแรปารง (มาเลย-์ นราธวิ าส)

ชื่อบาล-ี สันสกฤต นคิ ฺคณุ ฺฑี, สินฺทุวาร.

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Diospyros venosa Wall. ex A.DC

ช่ือวงศ์ Ebenaceae

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 107

ถ่ินกา� เนิด มกี ารกระจายทอี่ นิ เดยี พมา่ กมั พชู า เวยี ดนาม คาบสมทุ รมลาย ู ชวา สมุ าตรา และบอรเ์ นยี ว
ในไทยส่วนมากพบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉยี งใต้ พบประปรายทางภาคกลาง และ
นิเวศวิทยา ภาคตะวนั ตกเฉียงใต้ ขนึ้ ตามปา่ ดบิ แล้ง และปา่ ดบิ ชน้ื ความสูงถงึ ประมาณ 500 เมตร
การขยายพนั ธุ์ พบในปา่ เตง็ รงั
ใชเ้ มล็ด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมย้ ืนตน้ ขนาดกลางสงู ไดถ้ ึง 20 เมตร ใบรูปรี หรือรปู ไข ่ ปลายแหลม มน หรอื มีต่ิงแหลม โคนมน

กลม เส้นแขนงใบข้างละ 16-10 เส้น แผ่นใบด้านล่างมีขนประปราย ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกหรือแยกแขนง
สั้น ๆ มขี นสัน้ นมุ่ กลีบเล้ยี งรูประฆัง ม ี 3-4 กลีบ แฉกต้นื ๆ ไม่เกนิ กึง่ หนึง่ ดอกรูปคนโท ม ี 4 กลีบ แฉกตนื้ ๆ เกสร
เพศผู้ 6-16 อัน รังไข่ทไ่ี ม่เจรญิ เกลี้ยง ดอกเพศเมียออกเป็นชอ่ กระจกุ สั้น ๆ รงั ไข่เกลีย้ ง เกสรเพศผูท้ เ่ี ปน็ หมนั 3-6
อัน เกลีย้ ง ผลรปู ร ี กลบี เล้ียงแฉกลึกประมาณกง่ึ หนง่ึ พบั งอกลับ เกล้ียง

การใชป้ ระโยชน์
ไม่พบรายงานการใชป้ ระโยชน์

ยห่ี ร่า

ส่วนที่ปรากฏในพระไตรปิฎก

....เน้อื สกุ รอย่างดี หมายถึงเนอ้ื สุกรที่มีอายุ 1 ปี ท่ปี รงุ ใหส้ กุ ด้วยเครอ่ื งปรงุ มีเมลด็ ยี่หร่า เป็นตน้ ผสมกบั
พุทรารสอร่อย (เลม่ ท่ี 22 หนา้ 70)

ชือ่ สามัญภาษาไทย ยห่ี รา่

ชื่อสามัญภาษาองั กฤษ Tree basil, Clove basil, Shrubby basil, African basil, Wild basil, Kawawya,

Caraway friut, Caraway seed, Kummel, Caraway

ช่ือพนื้ เมอื ง กะเพราญวน (กรุงเทพ) จนั ทรข์ ไี้ ก ่ เนียมต้น (แมฮ่ อ่ งสอน) จันทร์หอม (เชียงใหม่) เนียม

(ภาคกลาง เชียงใหม่ จันทบุร)ี ยหี่ รา่ โหระพาช้าง (ภาคกลาง)

ชื่อบาล-ี สันสกฤต มหาชีรก.

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Ocimum gratissimum L.

ช่อื วงศ์ Lamiaceae

ถนิ่ กา� เนดิ อาฟริกา มาดากัสการ์ เอเชยี ใต้

นิเวศวิทยา เจรญิ เตบิ โตได้ดใี นดนิ ร่วนซยุ และมคี วามชื้นปานกลางในสภาพกลางแจง้

การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ดและการปกั ชา� กิง่

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้พุ่มเตี้ย มีความสูงประมาณ 50-80 เซนติเมตร ล�าต้นมีสีน�้าตาลแก่ แตกกิ่งก้านสาขาขนาดเล็ก

ก่ิงกา้ นไม่ใหญ ่ ในช่วงปแี รกและปีทสี่ องจึงออกดอกออกผลใบเดีย่ วออกตรงขา้ มกนั เปน็ ค่ ู ๆ ลักษณะของเป็นรูปกลมรี

108 สมุนไพรในพระไตรปิฎก

โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเปน็ ฟันเล่อื ย ใบสเี ขียวสด ผิวใบสากมือ ใบยีห่ ร่ามีกลนิ่ หอมเฉพาะตวั มีรส
ร้อน จึงช่วยดับกลิ่นคาวจากอาหารจ�าพวกเนอ้ื สัตว์เนอ้ื ปลาไดเ้ ป็นอย่างดี ดอกเป็นช่อทบ่ี รเิ วณปลายยอด ช่อดอกน้นั
จัดเปน็ แบบ Spike-like raceme ดอกจะบานจากล่างไปหาปลายช่อ โดยแต่ละชอ่ จะประกอบไปดว้ ยดอกย่อยขนาด
เลก็ ประมาณ 50-100 ดอกผลย่ีหร่า หรือ เมลด็ ยี่หร่า มลี ักษณะเปน็ รปู กลมร ี แต่ละผลมีขนาดประมาณ 1 มิลลิเมตร
เมื่อยังอ่อนจะเป็นสีเขียว แต่พอสุกหรือแก่แล้วจะกลายเป็นสีด�าหรือสีน�้าตาลอ่อน ภายในผลมีเมล็ดขนาดเล็กจ�านวน
มาก ซึง่ ผลจะนิยมน�ามาตากแหง้ หรือน�าไปอบแหง้ เพื่อใชท้ า� เปน็ เคร่ืองเทศที่ใชป้ ระกอบอาหารเพือ่ ช่วยเพม่ิ กลิน่ หอม
ให้อาหารน่ารับประทานมากย่ิงขึน้ และยังช่วยดบั กลิน่ คาวไดด้ ีเหมือนกับใบ

การใช้ประโยชน์
ประโยชน์ด้านสมุนไพร ท้ังต้น รสเผ็ดปร่าหอม บ�ารุงธาตุ ขับโลหิตให้เดินทั่วกาย แก้ลมพิษ แก้อาเจียน

แกเ้ สมหะและลมเปน็ พษิ แกป้ วดทอ้ ง ขบั ลมในลา� ไส ้ ใบ แกอ้ าการทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ อาการปวดทอ้ ง แกโ้ รคเบอ่ื อาหาร
แก้อาการคล่ืนไส้ ช่วยขับเหงื่อ บ�ารุงธาตุในร่างกาย รากตากแห้งช่วยย่อย ยาขับลม แก้ปวดท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ
ผลสุกมีนา้� มันซึ่งกลนั่ ออกมาเปน็ นา้� มันย่ีหร่า ใชเ้ ป็นยาขับลม

ประโยชนด์ ้านอาหาร ใบใช้เปน็ เคร่อื งปรุงในอาหาร เชน่ แกง ซปุ ต้มย�า เปน็ ต้น และช่วยดบั กล่ินคาวของ
เนื้อสัตว์ได้อย่างดีอาหารไทยบางชนิดนิยมใช้เมล็ดยี่หร่าค่ัวแล้วมาโขลกผสมกับเครื่องแกง ท�าเป็นแกงเผ็ด แกงเขียว
หวาน แกงกะหรี่ เป็นต้นเมล็ดมีน้�ามันหอมระเหยมีฤทธ์ิในการฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ จึงช่วยในการถนอมอาหารประเภท
เนอื้ สตั ว ์ ดว้ ยการนา� มาปน่ หรอื ตา� ผสมในเนอ้ื สตั วเ์ วลาหมกั และยงั ชว่ ยปอ้ งกนั กลน่ิ เหมน็ อบั ของเนอ้ื สตั วเ์ วลาหมกั กอ่ น
นา� ไปตากแหง้ ด้วยน้า� มนั ยหี่ ร่า (Caraway oil) ใช้แตง่ กลิน่ อาหารแลว้ ยงั น�ามาใชแ้ ต่งกลิ่นสบู่ได้อกี ด้วย

รกฟ้า รกฟา้ ขาว

สว่ นทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก
....ผลสมอ ผลมะขามป้อม ผลมะมว่ ง ผลหว้า ผลสมอพเิ ภก ผลกระเบา ผลกระบาก (รกฟา้ ) ผลมะตูม

และผลมะปราง ข้าพเจ้ามีใจผ่องใสได้ถวายผลไม้น้ันทุกชนิดแด่พระผู้มีพระภาคพระนามว่าสิทธัตถะผู้แสวงหาคุณ

อันย่งิ ใหญ่ ทรงอนุเคราะหส์ ัตวโ์ ลกทง้ั ปวง.... (เล่มท่ี 32 หนา้ 443)

ชอ่ื สามัญภาษาไทย รกฟา้

ชอ่ื สามัญภาษาอังกฤษ Laurel, Indian laurel

ชือ่ พนื้ เมอื ง เซอื ก เซยี ก ฮกฟ้า (ภาคอีสาน) เชอื ก (สโุ ขทัย) กอง (สโุ ขทยั พษิ ณุโลก อุตรดติ ถ ์ สงขลา)

สพแิ คล ่ (กะเหรยี่ ง-เชยี งใหม)่ ชะลกี (เขมร-บรุ รี มั ยเ์ ขมร-พระตะบอง) จะลกี (เขมร-บรุ รี มั ย)์

คล ้ี (สว่ ย-สรุ นิ ทร)์ ไฮห่ ้นุ กระ่ เคาะหนังควาย (ปะหล่อง) หกฟ้า

ช่อื บาล-ี สนั สกฤต ตน้ อชั ชุนะกมุ ุทิกา, กุมภฺ ,ี ผลฺล,ี ผลลฺ าตก.

ชือ่ วิทยาศาสตร์ Terminalia alata B. Heyne ex Roth

ช่อื วงศ์ Combretaceae

ถ่ินกา� เนดิ มเี ขตการกระจายพนั ธใ์ุ นประเทศเมยี นมา ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม และทกุ ภาคของประเทศไทย

นิเวศวิทยา พบทวั่ ไปตามป่าผลัดใบและปา่ เตง็ รงั ทค่ี วามสงู จากระดับน�้าทะเลตั้งแต ่ 100-1,000 เมตร

สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก 109

การขยายพนั ธุ์ การเพาะเมลด็

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดใหญ่ ล�าต้นมีความสูงประมาณ 10-30 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาตรงเรือนยอด

ของตน้ แน่นทบึ เปลือกตน้ เปน็ สีเทาค่อนขา้ งดา� และแตกเปน็ ร่องลกึ และเป็นสะเกด็ ทว่ั ไป ใบเปน็ ใบเด่ยี ว ออกตรง
ข้ามหรือเย้ืองกนั เลก็ น้อย ใบเปน็ สีเขียว ใบออ่ นมขี นสีน�้าตาลท้งั สองดา้ น ปกคลุมอยปู่ ระปราย เมือ่ ใบแก่ขึ้นขนนี้จะ
หลุดร่วงไป ลักษณะของใบรกฟ้าเป็นรูปมนรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ปลายใบมนเป็นติ่งทู่ ๆ
ยาวออกมาเลก็ นอ้ ย โคนใบมนหรอื เบย้ี ว สว่ นขอบใบเรยี บหรอื เปน็ คลน่ื เลก็ นอ้ ย ดา้ นหลงั ใบจะมตี อ่ มคลา้ ยหดู ประมาณ
1-2 ตอ่ มดอกเปน็ ชอ่ ๆ และมขี นาดเล็กดอกย่อยเปน็ สขี าวหรอื สขี าวอมเหลือง ผลเปน็ แบบผลแห้งและแข็ง มลี กั ษณะ
เปน็ รูปรมี ปี กี หนาและเปน็ มนั ภายใน ผลมีเมลด็ อยู่ 1 เมลด็

การใช้ประโยชน์
ภมู ปิ ญั ญาอีสานนยิ มไม้รกฟ้าน�ามาใชเ้ ป็นฟืน ขีเ้ ถ้าจากรกฟ้าซง่ึ มีสขี าว เม่อื น�าขี้เถา้ รกฟา้ มาคลกุ กบั มะขาม

เปรย้ี วแลว้ นา� ไปนง่ึ จะทา� ใหม้ ะขามเปรยี้ วเปลย่ี นเปน็ มะขามหวาน (ความเปรยี้ วของเนอ้ื มะขามเปน็ กรด เมอื่ นา� มาผสม
กับขี้เถ้าที่เป็นด่างท�าให้กรดเสียสภาพไป ท�าให้เนื้อมะขามท่ีเป็นน�้าตาลแสดงความหวานออกมาได้) มะขามเปร้ียวท่ี
ทา� ใหเ้ ปน็ มะขามหวานนิยมน�ามาปัน้ ผสมกับข้าวเหนยี วรบั ประทาน

ไม้รกฟ้า เป็นไมเ้ นอ้ื แข็ง ขัดชักเงาได้ด ี สามารถน�ามาใชท้ �าเฟอรน์ ิเจอร ์ ด้ามเครอ่ื งมือต่าง ๆ เคร่ืองกลึงและ
แกะสลัก หรือใช้ท�าพนื้ บ้าน ฝาบา้ น รอด ตง คาน เสา ไมบ้ ุผนงั ฯลฯ แตค่ นอีสานไมน่ ิยมใชไ้ ม้นี้ในการกอ่ สร้าง
เนื่องจากมีเนอ้ื เหนียวไมส่ ะดวกในการเล่ือยและตอกตะปู เปลือกตน้ ให้น้า� ฝาด ภูมิปญั ญาด้งั เดมิ ของไทยนยิ มน�ามาใช้
สา� หรบั ฟอกหนงั สตั วแ์ ละใชย้ อ้ มสผี า้ ใหส้ นี า้� ตาลเขม้ หรอื สดี า� การยอ้ มสจี ากเปลอื กตน้ รกฟา้ ทา� ไดด้ ว้ ยการแชเ่ ปลอื กตน้
รกฟา้ ในปริมาณพอสมควร ทิง้ ไวป้ ระมาณ 3 วนั แล้วตง้ั ไฟตม้ ให้เดอื ดจนเห็นว่าสอี อกหมดดีแลว้ หลังจากน้ันให้เทน้�า
ยอ้ มใสล่ งในอ่างย้อมหมักแช่ไว ้ 1 คืน นา� มาต้มยอ้ มผ้าจะไดผ้ ้าสีน้า� ตาลเข้มหรือสดี า� เปลือกไม้ทีต่ ม้ แลว้ หากนา� ไปผง่ึ
แดดให้แห้งเกบ็ ไวใ้ ช้ตอ่ ไป

หมายเหตุ ในประเทศไทย ตน้ กระบากและต้นรกฟ้าเปน็ ไมค้ นละชนดิ (ดูรายละเอียดในกระบาก)

รงั

สว่ นทปี่ รากฏในพระไตรปฎิ ก

....ทราบว่า พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ควงไม้รัง ในราวป่ารักขิตวัน เขตป่าปาริไลยกะน้ัน.... (เล่มที่ 5
หน้า 359)

ช่ือสามัญภาษาไทย รงั

ช่ือสามญั ภาษาอังกฤษ Dark red meranti, Light red meranti, Red lauan

ชอื่ พ้นื เมอื ง ลกั ปา้ ว (เชียงใหม)่ เรยี ง เรียงพนม (สุรนิ ทร)์ เปา เปาดอกแดง (ภาคเหนอื ) ฮงั (ภาคอสี าน)

รัง (ภาคกลาง) ไม้เปา (คนเมอื ง, มง้ )

ช่ือบาลี-สนั สกฤต สาล. อสสฺ กณฺณ. สชฺช.

110 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Pentacme siamensis (Miq.) Kurz
ชอ่ื วงศ์ Dipterocarpaceae
ถ่นิ กา� เนดิ มีถิ่นกา� เนดิ ในประเทศไทย พมา่ ลาว เขมร และเวยี ดนาม ในประเทศไทยพบต้นรงั ไดม้ าก
ที่สุดในภาคอสี านและพบข้ึนอยู่ในภาคอน่ื ๆ ด้วย ยกเว้นในภาคใต้
นิเวศวทิ ยา โดยมักขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเต็งรังผสมก่อและสน ตามเขาหินปูน ต้ังแต่ใกล้ระดับน้�าทะเล
จนถึงทค่ี วามสูงประมาณ 1,300 เมตร
การขยายพนั ธ์ ุ การเพาะเมลด็

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นพรรณไม้ยืนตน้ ผลดั ใบขนาดเลก็ ถึงขนาดกลาง กงิ่ ก้านมักคดงอ เรือนยอดเปน็ พุ่มโปร่ง ต้นมคี วามสูงได้

ประมาณ 10-25 เมตร เปลอื กต้นเป็นสเี ทาหรอื สีนา�้ ตาลอมเทา มคี วามแขง็ และหนามาก แตกเป็นรอ่ งลึกตามยาวของ
ล�าตน้ คล้ายรอยไถ เปลือกตน้ ด้านในเป็นสแี ดงออกน้�าตาล มนี ้า� ยางสีเหลืองอ่อนถึงสีน�า้ ตาลใบเป็นใบเด่ยี ว ออกเรยี ง
สลบั ลกั ษณะของใบเป็นรปู ไขก่ ว้างถงึ รูปขอบขนาน ปลายใบเรยี วแหลมหรอื มน โคนใบเปน็ รปู หัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ
ขอบเปน็ คลนื่ ขนึ้ ลง แผน่ ใบเรยี บเกลยี้ ง เนอื้ ใบบางคลา้ ยกระดาษถงึ หนาคลา้ ยแผน่ หนงั แผน่ ใบดา้ นลา่ งมขี นขน้ึ ประปราย
เส้นแขนงใบมีข้างละ 10-16 เสน้ เหน็ ได้ชัดเจนทางดา้ นล่าง กา้ นใบเกล้ียง มีห ู ใบรูปไขแ่ กมรูปเคียว หลดุ ร่วงไดง้ า่ ย
ใบออ่ นแตกใหม่เปน็ สนี �้าตาลแดง ดอกเป็นชอ่ แบบชอ่ แยกแขนงออกตามซอกใบเหนือรอยแผล ใบหรือออกที่ปลายกิง่
ดอกมกั จะออกกอ่ นแตกใบออ่ น ดอกตมู มลี กั ษณะเปน็ รปู ไขห่ รอื รปู รขี นาดใหญด่ อกยอ่ ยเปน็ สเี หลอื ง มกี ลนิ่ หอมออ่ น ๆ
มกี ลมุ่ ละ 5-20 ดอก มี 5 กลีบ ลักษณะเปน็ รปู ไข่ ปลายบิดเป็นเกลยี วคล้ายกงั หนั ปลายกลบี โคง้ ไปดา้ นหลัง โคน
กลีบเชื่อมกัน มกี ลนิ่ หอม ดอกหลดุ รว่ งไดง้ ่าย สว่ นกลีบเลยี้ งมีลกั ษณะเปน็ รปู ไข่แกมรปู ใบหอกกว้าง มีอยู่ 5 กลบี
ปลายกลบี เลี้ยงเรยี วแหลม โคนเชือ่ มตดิ กัน ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอกเป็นไขห่ รือรูปรกี ว้าง ปลายกลบี แหลมผวิ ด้าน
นอกเกลี้ยงหรือมีขนข้ึนประปราย ด้านดอกย่อยมีผิวเกล้ียงเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศ ผลเป็นแบบผลผนังชั้นในแข็ง
ลักษณะเป็นรูปไข่มีปีกที่พัฒนามาจากกลีบเลี้ยง 5 ปีก ลักษณะเป็นรูปช้อน มีเส้นตามยาวชัดเจน แบ่งเป็นปีกยาว
3 ปีก ปลายปา้ นเป็นรูปใบพายและปกี สนั้ อีก 2 ปีกภายในผลมีเมลด็ 1 เมล็ด

การใช้ประโยชน์
ต�ารายาพ้ืนบ้านอีสาน ใช้เปลือกแก้โรคท้องร่วง ใบต�าพอกรักษาแผลพุพองชาวไทยใหญ่ ใช้ใบต้มน�้าอาบ

แก้อาการวิงเวียนศีรษะประโยชน์อื่น ๆ ชันยางจากต้นรังใช้ผสมกับน้�ามันทาไม้ยาแนวเรือ ภาชนะท่ีท�าจากไม้ไผ่
เครอื่ งจกั สานตา่ ง ๆ ไมร้ งั เปน็ ไมเ้ นอื้ แขง็ มคี วามแขง็ แรงทนทานคลา้ ยไมเ้ ตง็ มกั นา� มาใชใ้ นการกอ่ สรา้ งทา� คาน เสา รอด

ตง พน้ื พื้นชานเรือนทอี่ ย่กู ลางแจ้ง สะพาน ไมห้ มอนรถไฟ หรอื ทา� อปุ กรณเ์ คร่อื งมอื ต่าง ๆ

คนไทยถือว่าต้นรังเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามต�ารากล่าวไว้ว่า “คนเกิดปีมะเส็ง มิ่งขวัญอยู่ท่ีต้นไผ่และ

ต้นรงั ” ตน้ รังเปน็ ต้นไมท้ มี่ ีความงดงามชนดิ หน่งึ นอกจากช่อดอกขนาดใหญส่ เี หลืองอ่อนออกเตม็ ต้นและใหก้ ล่ินหอม

แล้ว ยามแตกใบอ่อนให้สแี ดงทงั้ ตน้ และเมื่อติดผลอ่อนกจ็ ะมองเหน็ ปกี ของผลอ่อนสีแดงเตม็ ต้นตอ่ ไปอกี เชน่ เดยี วกนั

จงึ ดูสวยงามมาก ตามภูมิปญั ญาอีสานแบง่ ต้นรงั ออกเปน็ 2 ชนิด คอื รงั ไหม (ก้านดอกสเี หลอื ง) และรงั ฝ้าย (ก้านดอก

สแี ดง)

สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก 111

ราชดัด

สว่ นท่ปี รากฏในพระไตรปิฎก
....ถว่ั แระ อ้อยแขม ถ่ัวปา่ มะพลับ ขา้ วฟา่ ง ลูกเดือยถว่ั เหลอื งเมลด็ เลก็ กลว้ ยมีเมล็ด กล้วยไมม่ ีเมลด็ ขา้ ว

สาลี ข้าวเปลอื ก ราชดัด และขา้ วสารกม็ ีจ�านวนมากในอาศรมนี้.... (เล่มท่ี 28 หนา้ 128)

ช่ือสามัญภาษาไทย ราชดัด

ชอ่ื สามญั ภาษาองั กฤษ Macassar kernels, Java brucea,Kosam, Fructus Bruceae (ช่ือผลท่ีเปน็ เคร่อื งยา)

ชื่อพ้นื เมือง กะดดั ฉะดดั (ภาคใต)้ กาจบั หลกั ยาแกฮ้ ากขม (เชยี งใหม)่ ดคี น (ภาคกลาง) เทา้ ยายมอ่ มนอ้ ย

(ภาคเหนอื ) พญาดาบหกั (ตราด) เพียะฟาน (นครราชสมี า) บคี น (ภาคอสี าน) ราชดัด

(ภาคกลาง) บีคน (ภาคอีสาน)

ชอ่ื บาลี-สันสกฤต ภชุ ปตฺต. อาภชุ ี.

ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Brucea javanica (L.) Merr.

ชือ่ วงศ์ Simaroubaceae

ถ่ินก�าเนิด มเี ขตการกระจายในศรลี งั กา อนิ เดยี ไปจนถงึ จนี คาบสมทุ รอนิ โดจนี นวิ กนี แี ละออสเตรเลยี

นิเวศวิทยา พบตามปา่ เบญจพรรณ และปา่ โปร่ง

การขยายพนั ธ ์ุ ใช้เมลด็

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 0.5-4 เมตร เปลือกล�าต้นเรียบ สีขาวปนเทา มีขนสีเหลืองปกคลุม

หนาแนน่ ใบประกอบแบบขนนกปลายค ่ี เรยี งสลับเวียนรอบกง่ิ มีใบย่อย 5-13 ใบ แผน่ ใบย่อยรปู ขอบขนานแกมรูป
ไข่ถึงรูปหอกแกมรูปไข่ ขอบใบหยักมนเป็นฟันเล่ือยตลอดทั้งขอบใบ ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวใบมีขนนุ่ม
ทัง้ สองดา้ น เนือ้ ใบบาง น่ิม ดอกออกรวมเปน็ ช่อกระจะตามซอกใบ เปน็ ดอกแยกเพศ มที ัง้ ตน้ ท่พี บเฉพาะชอ่ ดอกตัวผู้
และดอกตัวเมียในช่อเดยี วกัน ดอกย่อยมขี นาดเลก็ สีขาวอมเขยี วถงึ สแี ดงอมเขยี วหรือสีมว่ ง ออกเปน็ ชอ่ ตามซอกใบ
และท่ปี ลายยอด กลีบดอกรปู ชอ้ นใหญก่ วา่ กลีบเลี้ยงเล็กนอ้ ย สอี มมว่ งหรอื สีน�้าตาลแดง กลบี ดอกมี 4 กลีบ มีขน ผล
เป็นผลสด กลมเป็นพวง มเี นอื้ รูปกลม ผวิ เรียบเป็นมัน ขนาดเลก็ ยาวราว 4 มลิ ลเิ มตร ออกรวมกลุ่มกนั 1-4 ผล
เปลือกผลแข็ง เมอ่ื ผลอ่อนสเี ขียว เม่ือสกุ มสี ดี า� คล้ายเมลด็ มะละกอแหง้ มีเมลด็ เดียว ผวิ เรยี บ สีนา้� ตาล รสขมจดั

การใช้ประโยชน์
ในตา� รายาไทยมกี ารกล่าวถึงประโยชนไ์ วว้ ่า ผลแก่จัด แก้กระษัย บา� รงุ นา้� ด ี บ�ารงุ นา้� เหลอื ง แกท้ อ้ งอดื เฟ้อ

แกล้ มวงิ เวยี น แก้อาเจียน แกเ้ จบ็ อก แก้อาเจยี นเป็นเลือด เปน็ ยาบา� รุงธาต ุ ทา� ใหเ้ จรญิ อาหาร ขับพยาธ ิ แกโ้ รคบิด

ไมม่ ตี ัว ท้องร่วง และแก้ไข้มาลาเรยี เมลด็ แห้ง ใช้รกั ษาโรคผิวหนงั จา� พวกเกล้อื น รักษาโรคเกีย่ วกับลา� ไส้ ยาคมุ ธาต ุ
บา� รงุ ธาต ุ รกั ษาโรคบดิ ไม่มตี ัว โรคพยาธิ แกท้ ้องรว่ ง ราก แกไ้ ข ้ แกบ้ ิด แกเ้ สียดทอ้ ง แกป้ วดกลา้ มเนอ้ื ใช้เค้ยี วกบั
หมากแกไ้ อ ใบ ใช้ต�ากับปูนแดงพอกแกฝ้ ี แกก้ ลากเกล้ือน ถอนพษิ ตะขาบ แมงป่อง แก้ตบั ม้ามโต ตน้ แก้ไข ้ แกไ้ ข้
มาลาเรีย และความรู้จากของหมอพ้นื บ้านจงั หวัดอบุ ลราชธาน ี ใช ้ รากผสมกบั นางแซงแดง ฝนกบั นา�้ ดื่ม แก้พษิ ไข้ ผิด
สา� แดง ใชท้ ง้ั ต้นต้มนา�้ ด่มื แกต้ ัวเหลอื ง ตาเหลือง นอกจากน้ี ตา� รายาไทยในใน “พิกดั ตรที ุราวสา” มีสมุนไพร 3
ชนดิ ผลราชดัด, ผลกระวาน, ผลโหระพาเทศ มีสรรพคุณเปน็ ยาแก้ลม แกพ้ ษิ ตานซาง แกเ้ สมหะ ขบั พยาธใิ นท้อง

112 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

ราชดดั เปน็ พชื สมนุ ไพรใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในหลายประเทศเชน่ ในเกาะชวา ใช้เมล็ดราชดัดเป็นยารักษา
โรคล�าไส้ ในฟลิ ปิ ปินส์ใชผ้ ลสดแก้อาการปวดทอ้ ง ในจนี ใชเ้ ปน็ ยาขับพยาธิในท้อง และยาแก้บิด

ลาํ เจยี ก

สว่ นทปี่ รากฏในพระไตรปิฎก

....ต้นล�าเจียก ต้นกล้วย ต้นพิกุล และต้นมะลิซ้อนส่งกล่ินหอมอบอวลคล้ายกล่ินทิพย์ประดับอาศรมของ
ข้าพเจ้าให้งดงาม.... (เล่มที่ 32 หน้า 27)

ช่ือสามัญภาษาไทย เตยทะเล

ชอื่ สามญั ภาษาอังกฤษ Seashore screwpine

ชอื่ พ้ืนเมือง การะเกด ลา� เจียก (ภาคกลาง) ปะหนัน ปาแนะ (มลาย-ู นราธวิ าส) เกตกก์ ารเกดล�าจวน

รัญจวน

ชื่อบาลี-สันสกฤต เกตกี

ช่อื วิทยาศาสตร์ Pandanus odorifer (Forssk.) Kuntze

ช่ือวงศ์ Pandanaceae

ถิ่นกา� เนิด มถี ่ินก�าเนดิ ตามชายหาดทวั่ คาบสมทุ รในแถบเสน้ ศนู ยส์ ูตรรอบโลก

นเิ วศวิทยา พบขึ้นเป็นดงอยู่ตามชายหาด ตง้ั แตห่ มเู่ กาะของฟลิ ปิ ปนิ ส์ ไทย เวียดนาม คาบสมทุ รมลายู

หมู่เกาะฮาวาย อินเดียออสเตรเลยี พอลนิ ีเชีย และวานูอาต ู สว่ นในประเทศไทยพบได้มาก

ท่ีจังหวัดตรังและสตูลปลูกขึ้นได้ดีในดินอุดมร่วนซุยหรือดินเหนียวปนทรายท่ีอุ้มน้�าได้ด ี

ตอ้ งการความชนื้ และน�า้ ปรมิ าณมาก และชอบแสงแดด มกั ขน้ึ ตามชายนา้� ชายทะเล

การขยายพันธุ์ วธิ ีการแยกกอหรือหน่อ (ท�าไดใ้ นปที ี่ 2) และวธิ ีการเพาะเมล็ด (ทา� ได้ไม่ยาก แตต่ ้องใช้เวลา

นานหลายปกี ว่าจะมีเมล็ดใหเ้ พาะ)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
จัดเปน็ ไม้ยืนตน้ ขนาดเลก็ ลกั ษณะเปน็ ทรงพมุ่ มคี วามสูงของต้นประมาณ 5-6 เมตร โคนต้นมรี ากอากาศ

ชว่ ยคา้� จนุ ล�าต้น ล�าตน้ มลี ักษณะกลมเป็นสีขาวหรอื สีน้า� ตาลออ่ น ๆ มหี นามแหลมส้นั กระจายอยทู่ ว่ั ไป ใบเป็นใบเด่ียว
สเี ขียว ออกเรียงสลบั เวียนรอบกิ่งทป่ี ลายกิง่ ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลม ส่วนขอบทั้งสอง
ข้างจะหยักและมีหนามแหลมคม ปลายหนามมีลักษณะโค้งไปทางปลายใบ เน้ือใบเหนียว ใต้ท้องใบมีแกนกลาง
ดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ทป่ี ลายยอด ปลายกง่ิ หรอื ออกตามซอกใบ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะแยกกนั อยคู่ นละตน้
ดอกเพศผู้มีขนาดเล็กและมีจ�านวนมาก ไมม่ กี ลบี ดอก มีกาบรองดอกสีขาวนวล 2-3 กาบ ส่วนดอกเพศเมียเปน็ สีเขียว
อยตู่ ดิ กันเปน็ กลุม่ ขนาดใหญ่ และมกี าบรองดอกสีเขียว 2-3 กาบ โดยดอกจะเริ่มบานในช่วงเย็นและจะมกี ลิน่ หอมฉุน
สามารถออกดอกได้ตลอดท้ังปี ตามต�าราระบุว่าต้นท่ีมีดอกเพศผู้จะเรียกว่า “ล�าเจียก” ส่วนต้นที่มีดอกเพศเมียจะ
เรียกว่า “เตยทะเล” ผลเป็นผลรวมคล้ายผลสับปะรด ลกั ษณะเปน็ รปู กลมหรือขอบขนาน ผลมีลกั ษณะแข็ง ปลายมี
หนามสนั้ ๆ ตดิ กันเปน็ กลุ่มแน่น ผลออ่ นเป็นสีเขยี วอมขาวแล้วจะเปลย่ี นเปน็ สีเหลอื ง เม่ือสกุ แลว้ จะเปล่ียนเปน็ สีส้ม
หรือสสี ้มอมแดง และมกี ลิน่ หอมอ่อน ๆ ภายในผลมีเมล็ดลักษณะเปน็ รูปกระสวย สามารถออกผลไดต้ ลอดทง้ั ปี

สมนุ ไพรในพระไตรปิฎก 113

การใชป้ ระโยชน์
ประโยชน์ทางยาสมุนไพร ช่อดอกเพศผู้ของต้นล�าเจียกจัดอยู่ในต�ารับยาเกสรทั้งเก้า ใช้ปรุงเป็นยาหอม

และยาบา� รงุ หัวใจ รากมีรสเย็นและหวานเล็กน้อย มีสรรพคณุ เปน็ ยาแก้พิษโลหิต รากอากาศใช้ปรงุ เปน็ ยาแก้ปัสสาวะ
พิการและแก้น่ิว ประโยชน์ด้านอาหาร ผลใช้รับประทานได้ ใบน�ามาใช้สานเป็นเส่ือและเครื่องใช้ประเภทจักสานได ้
เปลือกสามารถน�ามาใช้ท�าเป็นเชือกได้ นิยมน�ามาปลูกเป็นไม้ประดับ ข้ึนได้ดีในพื้นท่ีชุ่มน้�า พื้นท่ีดินเค็ม ชายน้�า
ชายหาด ลา� คลอง หนอง บึง สามารถทนทานตอ่ สภาพแวดลอ้ ม น้า� ขังแฉะ นา�้ เคม็ โรคและเมลงศัตรพู ืชได้ดี และ

ชาวบ้านนิยมปลูกไวเ้ พือ่ บังลม ต้นเตยทะเลสามารถทนตอ่ ลมแรงและอากาศแล้งไดด้ ี อกี ท้ังต้นเป็นพุ่มใหญ ่ ใบและต้น

มีหนาม จงึ ใช้ปลูกเปน็ รั้วบ้านได้ นอกจากจะปลูกเปน็ ไมป้ ระดบั แลว้ ยงั สามารถใชป้ ลกู คลมุ วชั พืชเพราะมีใบหนาแน่น

ลําดวน

สว่ นท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก
....พระนางมหาปชาบดีโคตมีกลา่ ววา่

“ท่านอานนท์ ดิฉนั ยอมรับครุธรรม 8 ข้อนี้ปฏิบตั ไิ มล่ ะเมิดไปจนตลอดชีวติ ทีเดยี ว เปรยี บเหมือนหญิงสาว

หรอื ชายหน่มุ ผู้ชอบแต่งกาย เมื่อสรงน�้าด�าเกล้าแล้วไดพ้ วงอุบล พวงมะลิ หรือพวงล�าดวน กใ็ ช้มอื ทงั้ สองประคองรบั
ไวเ้ หนอื ศีรษะฉะน้ัน” (เล่มท่ี 7 หน้า 319)

....ต้นล�าดวน ต้นอโศก ต้นกุหลาบมีดอกบานสะพรั่ง ต้นปรู และต้นมะกล่�าหลวงก็มีดอกบานสะพร่ังอยู่
รอบ ๆ อาศรมของขา้ พเจา้ (เลม่ ท่ี 32 หน้า 27)

ชื่อสามัญภาษาไทย ล�าดวน

ชอ่ื สามัญภาษาอังกฤษ White cheesewood, Devil tree, Lamdman

ชื่อพืน้ เมอื ง ลา� ดวน (ภาคกลาง) หอมนวล (ภาคเหนือ)

ชื่อบาล-ี สันสกฤต วาสนตฺ ,ี อติมตุ ฺต.

ชื่อวิทยาศาสตร์ Melodorum fruticosum Lour.

ชอ่ื วงศ์ Annonaceae

ถิ่นกา� เนิด มีแหลง่ กา� เนดิ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นิเวศวทิ ยา เจริญเตบิ โตไดด้ ีในดินรว่ นซุย ชอบความชื้นสูง และแสงแดดแบบเตม็ วันถงึ ครง่ึ วัน ชอบข้ึน

ในที่โล่งและมีแสงแดด พบได้ตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้งทางภาคตะวันออก และ

ภาคกลาง

การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เปน็ ไมย้ ืนตน้ ขนาดเลก็ ไม่ผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร ล�าต้นตรง แตกกงิ่ ใบจา� นวนมาก

เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือเป็นพุ่มเป็นรูปกรวยคว�่า เปลือกต้นเรียบเป็นสีเทา เม่ือล�าต้นแก่เปลือกต้นจะเป็นสีน้�าตาล
อมด�า มรี อยแตกตามแนวยาวของลา� ต้น ส่วนก่ิงออ่ นเป็นสีเขียวสด ยอดออ่ นและใบออ่ นเปน็ สแี ดงใบเป็นใบเด่ยี ว ออก
เรยี งสลบั ลกั ษณะของใบเปน็ รปู ไข่หรือรปู ขอบขนาน ปลายใบและโคนใบแหลมหรอื สอบ ส่วนขอบใบเรยี บ แผน่ ใบ

114 สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก

เป็นสีเขยี วเขม้ เป็นมนั ผิวใบเกล้ยี งทง้ั สองด้าน ผวิ ใบดา้ นบนเป็นมัน สว่ นด้านลา่ งมสี ีออ่ นกว่า เส้นกลางใบเป็นสอี อก
เหลอื งนนู เดน่ ท้ังสองดา้ น ดอกเดยี่ วหรือออกเป็นช่อแบบกระจุกประมาณ 2-3 ดอก โดยจะออกตามซอกใบหรือปลาย
ก่ิง ดอกเป็นสเี หลืองนวล มกี ลนิ่ หอม ลกั ษณะเป็นรปู ไข่ป้อมถงึ รูปเกือบกลม ปลายกลบี แหลม โคนกลบี กว้าง ดอกมี
กลบี 6 กลบี กลบี ดอกหนาแข็ง สีเขยี วปนเปลอื ง และมีขน แยกเป็น 2 วง ชนั้ นอกม ี 3 กลีบ กลบี แผ่แบน ลกั ษณะ
ของกลบี เปน็ รปู สามเหลี่ยมขนาดใหญก่ ว่ากลบี ดอกวงใน ปลายกลีบแหลม โคนกลบี กว้างส่วนกลีบดอกชนั้ ในง้มุ เข้าหา
กันลักษณะเป็นรูปโดม มีขนาดเล็กกว่า แต่จะหนาและโค้งกว่ากลีบชั้นนอกออกดอกในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน
มกราคม และแต่ละต้นจะมีช่วงท่ีดอกบานอยู่ประมาณ 15 วันผลเป็นผลสดแบบมีเน้ือ ออกผลเป็นกลุ่ม มีผลย่อย
ประมาณ 15-27 ผล ลกั ษณะของผลเปน็ รปู ทรงกลมรี รปู ไข่ หรอื รูปกลม ผลอ่อนเป็นสีเขยี วเม่ือแก่แลว้ จะเปลี่ยนเปน็
สแี ดง และผลสกุ มีสนี า้� เงนิ ด�า มีคราบขาว ภายในผลมเี มลด็ ประมาณ 1-2 เมลด็ ใชร้ ับประทานได ้ โดยจะมีรสหวาน
อมเปรีย้ ว สว่ นกา้ นผลยาวประมาณ 1 เซนตเิ มตร โดยจะติดผลในชว่ งเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม

การใช้ประโยชน์
ประโยชนด์ ้านสมนุ ไพรเปน็ ทร่ี ู้จกั กนั ดีในต�ารับพิกดั เกสรท้ัง 9 (บวั หลวง มะล ิ พิกลุ บนุ นาค สารภ ี จ�าปา

กระดงั งา ล�าเจยี ก ลา� ดวน สรรพคุณ แก้ไข้ แกล้ ม บา� รงุ โลหิต บ�ารุงหัวใจ บา� รุงก�าลัง ทา� ใหส้ ดชื่น) และยงั เป็น
ตวั ยาอยู่ในต�ารบั ยาหอมต่าง ๆ

ประโยชนอ์ น่ื ๆ ผลสกุ ของลา� ดวนมสี ดี า� แตม่ รี สหวานอมเปรย้ี วกนิ ได ้ ดอกลา� ดวนใหก้ ลน่ิ หอมชว่ ยใหม้ อี ารมณ์
จิตใจสงบเย็น ในอดีตจึงนิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไปท้ังในท่ีสาธารณะและตามบ้าน นอกจากดอกให้กล่ินหอมแล้ว
ตน้ ลา� ดวนมีพุ่มใบสวยงามดี ดว้ ยความเชอ่ื ของคนไทยหากบา้ นใดปลูกล�าดวนจะชว่ ยใหใ้ คร ๆ ก็รกั เสรมิ ดวงทางเสน่ห์
เมตตา มีแตค่ นคดิ ถึงในแง่ด ี ในอดีตจงึ พบหญงิ ไทยช่อื ล�าดวนกันท่วั ไป คงนา่ จะหมายถงึ ใหเ้ ป็นท่ีรกั และคิดถงึ น่นั เอง
ความเช่ือท่ีสืบทอดมานั้นยังกล่าวว่า ล�าดวนเป็นไม้ของผู้หญิงจึงควรให้ผู้หญิงปลูกและปลูกในวันพุธทางทิศตะวันออก
ของตัวบ้าน ดอกล�าดวนมีขนาดใหญ่และงดงามจึงนิยมน�ามาใช้บูชาพระและใช้แซมผมด้วย เนื้อไม้ล�าดวนมีความ
แข็งแรงทนทาน นา� ทา� เครือ่ งมอื เครือ่ งใชไ้ ด้ และท�าไมฟ้ ืนไดด้ ว้ ย

เล็บเหยย่ี ว

สว่ นท่ปี รากฏในพระไตรปฎิ ก
....พระผมู้ ีพระภาคทรงอนญุ าตนา้� อฏั ฐบาน (น�้าด่ืม 8 ชนดิ ) สว่ นนา�้ ดื่มท่นี ับเนอื่ งในน้�าอัฏฐบาน 8 ชนิด

น้ันเช่น น�้าหวาย น�้าผลมะง่ัว น�้าต้นเล็บเหย่ียว และน�้าผลไม้เล็กเป็นต้น แม้จะไม่ได้ทรงอนุญาตไว้แต่อนุโลม....
(เลม่ ที่ 5 หนา้ 140)

....นา้� ปานะอกี 8 อยา่ ง คอื 1. น�้าสะครอ้ 2. นา�้ ผลเลบ็ เหยยี่ ว 3. น�า้ พุทรา 4. นา้� เปรยี ง 5. น�้าผสมน้า� มัน
6. น้�าข้าวยาคู 7. น�า้ นม 8. นา้� รส (เล่มที่ 29 หนา้ 444)

ช่ือสามญั ภาษาไทย เล็บเหยีย่ ว

ชือ่ สามญั ภาษาองั กฤษ Jackal Jujube, Small-fruited Jujube, Wild Jujube

ชื่อพ้นื เมือง พทุ ราขอ (ภาคกลาง) มะตนั ขอ (ภาคเหนอื ) ยบั ยว้ิ (ภาคใต)้ เลบ็ เหยย่ี ว (ภาคกลาง ปตั ตาน)ี

หนามเลบ็ แมว (ภาคอสี าน)

สมนุ ไพรในพระไตรปฎิ ก 115

ช่ือบาล-ี สนั สกฤต กรมนทฺ . กรมททฺ . สุเสน.
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Ziziphus oenopolia (L.) Mill. var. oenoplia
ชอื่ วงศ์ Rhamnaceae
ถิ่นก�าเนดิ มีเขตการกระจายพันธจ์ุ ากอนทุ วีปอินเดียไปทางใต้ของประเทศจีนและทางเอเชียตะวนั ออก
เฉยี งใต ้ ถงึ ทางตอนเหนอื ของประเทศออสเตรเลีย
นเิ วศวทิ ยา เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนระบายน�้าดี และชอบแสงแดดจัด พบได้ทั่วไปตามป่า ตาม
เบญจพรรณ ป่าเตง็ รัง และป่าคืนสภาพ
การขยายพันธุ์ เพาะเมลด็

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็นไม้พุม่ รอเลอ้ื ยเน้อื แขง็ มีความยาวประมาณ 3-10 เมตร เถาและกิ่งมหี นามสัน้ แหลมโค้ง เปลือกเถา

เรยี บหรอื ขรุขระเล็กนอ้ ย เป็นสดี า� เทา ส่วนกิ่งอ่อนมีขนสีน้า� ตาล สว่ นเปลือกด้านในเป็นสีแดงใบเป็นใบเด่ียว ออกเรยี ง
สลบั ลกั ษณะของใบเปน็ รปู ไขแ่ กมรปู ใบรี ปลายใบแหลม โคนใบเบ้ยี วเลก็ นอ้ ย ส่วนขอบใบเรยี บแผน่ ใบออ่ นทงั้ สอง
ดา้ นมขี นนมุ่ สนั้ ๆ ผิวใบดา้ นบนเรียบหรอื มีขนดว้ ยเลก็ นอ้ ย ส่วนผิวใบด้านล่างมขี นนมุ่ อยเู่ ปน็ จา� นวนมาก ใบมีเสน้ ใบ
3 ใบ ออกจากฐานใบไปปลายใบออกดอกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ดอกย่อยมีขนาดเล็กและมีจ�านวนมากมีขน
เล็กนอ้ ย ใบประดับชอ่ ดอกม ี 1 อันมขี นกระจายอยทู่ ว่ั ไปดอกยอ่ ยจะมีประมาณ 5-11 ดอก กลบี ดอกยอ่ ยม ี 5 กลีบ
สเี ขยี วหรอื สเี ขยี วอมเหลอื ง รปู ชอ้ น ปลายกลม ออกสลบั กบั กลบี เลย้ี ง ออกดอกในชว่ งเดอื นมนี าคมถงึ เดอื นพฤษภาคม
ผลเปน็ ผลสด ลกั ษณะของผลเปน็ รูปทรงกลมหรอื รปู ไขผ่ ลออ่ นเป็นสีเขยี ว เม่อื สุกแลว้ จะเปลยี่ นเป็นสีม่วงดา� ติดผลใน
ช่วงเดอื นมิถนุ ายนถึงเดอื นสิงหาคม

การใชป้ ระโยชน์
ผลเลบ็ เหยยี่ วแกม่ รี สเปรยี้ วกนิ ได ้ เทา่ ทสี่ บื คน้ พบประโยชน ์ เชน่ ใบและยอดออ่ นนา� มาจม้ิ นา�้ พรกิ กนิ แกโ้ รค

นวิ่ ได้ สว่ นรากนา� มาตม้ กนิ ยาขบั ปสั สาวะ แก้น่ิว ตา� รายาไทย ราก เปลือกตน้ ต้มดืม่ เป็นยาขับระดขู าว ขับปสั สาวะ
แก้มดลกู พกิ าร แก้ฝมี ตุ กดิ แกฝ้ ใี นมดลูก และแกโ้ รคเบาหวาน ผล รสเปรย้ี วหวาน ฝาดเย็น แก้เสมหะ แก้ไอ ทา� ให้
ช่มุ คอ ผลสุกรบั ประทานได ้ มีรสเปรย้ี วอมหวาน เป็นยาระบาย ประเทศอนิ เดยี ราก ใชข้ ับพยาธติ วั กลม ชว่ ยยอ่ ย
ฆ่าเช้ือ รกั ษาภาวะกรดเกิน ปวดท้องจากโรคกระเพาะอาหาร สมานแผล ประเทศพม่าจะใช้เปลือกล�าต้นต้มกินเป็น

ยาแก้ท้องรว่ งทอ้ งเสีย แกม้ ดลูกอกั เสบตดิ เช้อื ใชเ้ ปน็ ยาบว้ นปาก แก้เจบ็ คอ

ว่านนาํ้ (เลก็ )

สว่ นท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก
….“ภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตรากไม้ท่ีเป็นยา คือ ขม้ิน ขิงสด ว่านน้�า ว่านเปราะ อุตพิต ข่า แฝก

แห้วหมู หรอื รากไมท้ ่ีเปน็ ยาชนดิ อ่ืนท่ีมีอยู่ ซง่ึ ไม่ใชข่ องเคีย้ วของฉัน รับประเคนแลว้ เกบ็ ไว้ไดจ้ นตลอดชีพ เม่ือมเี หตุ
จา� เป็น ภิกษุจึงฉนั ได้ เมอื่ ไม่มีเหตุจา� เปน็ ภกิ ษฉุ ัน ตอ้ งอาบตั ทิ ุกกฎ” (เลม่ ท่ี 5 หนา้ 46)

ช่อื สามัญภาษาไทย ว่านน้�า
























































Click to View FlipBook Version