The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลคลังปัญญา ด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ด้านภาษาล้านนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ข้อมูลคลังปัญญา ด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ด้านภาษาล้านนา

ข้อมูลคลังปัญญา ด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ด้านภาษาล้านนา

Keywords: ภาษาล้านนา

คลงั ภมู ิปัญญา ดา้ นวฒั นธรรม
ภมู ิปัญญาภาษาลา้ นนา

กศน.ตาบลบา้ นมาง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเชียงม่วน

จงั หวดั พะเยา

ขอ้ มูลคลังภมู ิปัญญาผู้สงู อายตุ าบลบ้านมาง อาเภอเชยี งม่วน จังหวดั พะเยา

ช่ือภูมปิ ัญญา.......ภาษาล้านนา............................
รหสั ภมู ิปัญญา............-........................................
สาขาคลงั ภมู ิปัญญา.........ดา้ นวฒั นธรรม..............
สาขาของภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ .......ด้านวัฒนธรรม.........................
ข้อมูลพื้นฐาน รายบคุ คล เจา้ ของภมู ิปัญญาท้องถิน่ /บุคคลคลงั ปัญญา
ชอ่ื .....นายคารณ...........สกลุ .........มูลศรี............วัน/เดือน/ปเี กิด......2 ตลุ าคม พ.ศ.2488........
ท่อี ย่ปู ัจจบุ ัน (ทีส่ ามารถติดตอ่ ได้) บา้ นเลขที่....171....หมทู่ ี่ ........11..... ตาบล/แขวง.......บา้ นมาง...........
อาเภอ/เขต........เชียงม่วน.......จังหวดั .......พะเยา.....รหัสไปรษณยี ์......56160......
โทรศพั ท์........054-891288......โทรสาร..........-..........Line ID.……-………
E-mail address: ……………-…………..Facebook……………-………………
พกิ ัดทางภมู ิศาสตร์ คา่ X : ……634384…….คา่ Y: …..2091689……
ความเป็นมาของบคุ คลคลังปัญญา ด้านภาษาลา้ นนา

นายคารณ มูลศรี ไดร้ บั การถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาดา้ นภาษาล้านนามาตงั้ แต่ ปี พ.ศ.2500 โดยเร่มิ จาก
การสมัครเป็นเด็กวัดทีส่ านักสงฆบ์ ้านป่าแขม อาเภอเชยี งม่วน จงั หวดั พะเยา ซึง่ ขณะนน้ั กาลังศึกษาอยูช่ ้ัน
ประถมศกึ ษา ปที 3่ี โดยได้เรียนรู้ ภาษาลา้ นนา ตอนเย็นหลังเลิกเรียน ควบคไู่ ปด้วย ต่อมาเมอื่ เรียนจบชัน้
ประถมปีท4ี่ สามารถสวดมนตท์ ่เี ขียนเปน็ ภาษาลา้ นนา และอา่ นธรรมใบลานทเี่ ขยี นเป็น ภาษาลา้ นนา ได้
อย่างคล่องแคลว่ ตอ่ มาปี พ.ศ.2502 ได้บวชเป็นสามเณรได้ ศึกษาเลา่ เรียน ระดับมธั ยมศึกษา จนจบชน้ั
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ได้บรรจเุ ปน็ ครเู อกชน ที่โรงเรียนวิสทุ ธิว์ ิทยากร อาเภอเมอื งจังหวัดลาปาง ได้ถา่ ยทอดภูมริ ู้
ด้านภาษาลา้ นนาโดยตลอด มีความรูค้ วามสามารถในการเขยี น การอ่านธรรมใบลาน สมุดข่อยและ คาภีร์
ต่างๆ ท่เี ขียนดว้ ยภาษาลา้ นนา และสามารถแปลเป็นภาษาถนิ่ และภาษาไทยได้ ตอ่ มาเมื่อปี พ.ศ.2519 ได้รับ
การบรรจุเป็นครูประชาบาล

ในปี พ.ศ.2504-2506 ได้ไปจดั หาใบลานได้เดินทางไปท่ี อาเภอบ้านหลวง จงั หวดั นา่ น เดนิ ทางดว้ ย
เทา้ ไมม่ ถี นน และรถยนต์เพ่อื ไปจัดหาใบลาน นามาจัดทาตามขบวน การแบบโบราณ จนสามารถนาใบลาน
ท่ีผ่านขบวนการแลว้ มาเขยี นเปน็ ธรรมใบลาน ปจั ุบนั ผลงานท่ีทาไว้ยงั มี อยู่ที่วัดป่าแขม อาเภอเชยี งมว่ น
จังหวัดพะเยาตอ่ มาไดจ้ ัดทาสมดุ ขอ่ ยโดยใชเ้ ปลือกตน้ ฉาฉา(สาควาย)มาทาขบวนการและ วธิ แี บบโบราณใน
การทากระดาษทจี่ ะนามาเป็นสมุดขอ่ ย(ปจั จบุ นั เรยี กวา่ การ ทากระดาษสา)เมอ่ื ทาสมดุ ข่อยเสรจ็ ก็ทาเปน็
รูปเลม่ และเขยี นเปน็ ภาษา ล้านนา เปน็ ตารายา และการเขียนตาราไศยศาสตรต์ าม ลทั ธศิ าสนาพรามณ์
โบราณ การเขียนตอ้ งเขยี นด้วยปากกาคอแร้ง(ใชข้ นนกทาเป็นปากกาคอแร้ง ใชเ้ ขม่าถ่านไฟฉายผสมนา้ เป็นนา้
หมึก)ระยะต่อมามหี มกึ อนิ เดนี อ้งิ คแ์ บบเป็นแทง่ และ เปน็ นา้ มาใชแ้ ทนจนถงึ ปจั จบุ ัน

ปัจจบุ ัน นายคารณ มลู ศรี หลงั เกษยี ณอายุราชการแล้ว ทา่ นได้อาสาใหบ้ ้านของตนเองท่ีอาศัยอย่เู ปน็
สถานทตี่ ัง้ เป็น บ้านหนังสอื ชมุ ชน สาหรบั บรกิ ารประชาชนในพนื้ ที่ อีกทงั้ เจา้ ของบ้านเปน็ อดตี ขา้ ราชการครู
ท่รี กั การอา่ นทาใหท้ า่ น ไดส้ ะสม หนงั สอื มากมายทเี่ ป็นประโยชน์ และท่านยงั มคี วามรู้ ความสามารถอกี
หลายด้านเช่น ดา้ นการอา่ น การเขยี น ภาษาลา้ นนา การทาตุงล้านนา และภมู ิรูอ้ ื่นๆอกี มากมาย ทา่ นจงึ ใชภ้ ูมิ
รูท้ ่ที ่านมี ถา่ ยทอดใหก้ บั เด็กและเยาวชน ในพ่นื ทเ่ี พอ่ื การอนรุ กั ษ์สืบสานดา้ นภาษาลา้ นนาต่อไป
จุดเด่นของภมู ิปญั ญา

สือ่ ทีใ่ ช้ในการเผยแพร่องค์ความรซู้ ่งึ พ่อคารณ มูลศรีร่วมกับ กศน.อาเภอเชียงม่วน ไดค้ ดิ คน้ และพัฒนา
ปรบั ปรงุ พฒั นา อย่างตอ่ เน่ืองเพือ่ ใหง้ ่ายต่อการศกึ ษาเรยี นร้ดู ังนี้

1.บลอ๊ คตรายางตัวอักษรลา้ นนา เป็นลกั ษณะตรายางปัม้ ภาษาล้านา มกี ารออกแบบ ตรายางทเ่ี ปน็
อกั ษรไทยเทยี บกบั ภาษาลา้ นนา ในตราปมั้ เดียวกันเพือ่ งา่ ยตอ่ การใชเ้ รียนรแู้ ละ สามารถเทยี บคาที่ตอ้ งการ
ศึกษาด้วยตนเอง เหมาะสาหรับเป็นสือ่ ในการจดั กิจกรรมสง่ เสริม การอา่ น เด็ก เยาวชน และประชาชน
ทัว่ ไป ทส่ี นใจศกึ ษ
2.ชดุ ความรูบ้ ัตรคาภาษาล้านนาเปน็ ลักษณะกลอ่ งความรสู้ ามารถเรยี นรู้ดว้ ยตนเองซึง่ ภายในกลอ่ งชดุ ความรู้
ประกอบไปด้วย

- ใบความร้อู กั ษรลา้ นนา
- บัตรคาภาษาล้านนาทดี่ า้ นหนึง่ เป็นตวั อักษรไทย และอกี ด้านหนง่ึ เป็นภาษาลา้ นนา สาหรบั ใช้
เปรยี บเทียบกนั
- แบบฝึกเขียนอกั ษรล้านนา
3.คาภีรใ์ บลานและสมดุ ข่อยภาษล้านนาใช้สาหรบั เป็นสอ่ื ในการศึกษาคนควา้ สาหรบั ผทู้ ตี่ อ้ ง
การศึกษาอยา่ งจริงจัง เช่น การเรียนฝกึ เขยี นธรรม ใบลาน การฝกึ อ่านภาษาล้านนา ในสมุดข่อย และธรรม
ใบลาน ซ่ึงวทิ ยากรสามารถถ่ายทอด องค์ความรูใ้ นการอา่ น และการเขียนให้กบั ผ้ทู ตี่ ้องการศึกษาฟรี
วัตถดุ ิบท่ใี ชป้ ระโยชนใ์ นผลิตภัณฑ์ท่เี กดิ จากภูมปิ ญั ญา ซง่ึ พื้นท่ีอื่นไมม่ ี
การนาใบลาน มาจัดทาตามขบวน การแบบโบราณ จนสามารถนาใบลาน ทผ่ี ่านขบวนการแล้ว
มาเขียนเปน็ ธรรมใบลานด้วยอกั ษรลา้ นนา และการทาสมุดข่อยโดยใชเ้ ปลือกต้นฉาฉา(สาควาย)มาทา
ขบวนการและ วธิ แี บบโบราณในการทากระดาษทีจ่ ะนามาเป็นสมุดข่อย(ปจั จบุ นั เรยี กว่าการ ทากระดาษสา)
เมือ่ ทาสมดุ ขอ่ ยเสรจ็ ก็ทาเป็นรูปเลม่ และเขยี นเปน็ ภาษา ลา้ นนา เป็นตารายา และการเขียนตาราไศยศาสตร์
ตาม ลัทธศิ าสนาพรา หมณ์ โบราณ การเขยี นตอ้ งเขียนด้วยปากกาคอแรง้ (ใช้ขนนกทาเปน็ ปากกาคอแรง้ ใช้
เขมา่ ถ่านไฟฉายผสมน้าเป็นน้าหมึก)ระยะตอ่ มามีหมกึ อนิ เดียอ้ิง ค์แบบเปน็ แทง่ และ เปน็ น้ามาใชแ้ ทนจนถงึ
ปจั จุบัน
รายละเอยี ดของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่
นายคารณ มลู ศรี ไดศ้ กึ ษาภาษาล้านนา มาตงั้ แต่เด็กและมกี ารพฒั นาการเรียนรูม้ าอย่าง ตอ่ เน่ืองจนมีความ
ชานาญ ท้ังดา้ นการอ่าน และการเขียนภาษาล้านนา อกี ทั้งยงั มีความ รู้ในการเขียนธรรมใบลาน การทาสมดุ

ข่อย และการอา่ นคาภรี ์ โบราณทเ่ี ขียนด้วย ภาษาลา้ นนา ซ่งึ ในขณะทที่ า่ นได้ปฏิบตั ิหน้า ที่เปน็ ครู ก็ได้
ถ่ายทอดภมู ริ ู้เรือ่ งภาษา ลา้ นนาใหแ้ กล่ ูกศิษย์ ร่นุ ตอ่ รนุ่ มาโดยตลอด

จนถึงปจั จบุ นั ท่านไดเ้ กษียณอายุราชการแล้ว ในจติ วิญาณของความเป็นครูท่านยงั มีจติ อาสาทีจ่ ะ
ถ่ายทอดองค์ความรดู้ ้านภาษา ลา้ นนาให้กบั เดก็ เยาวชนและประชาชนทัว่ ไป ท่ีมคี วามสนใจ สอนให้ฟรีโดยไม่
หวงความรแู้ ละมีผทู้ สี่ นใจมาศึกษาดงู านอยา่ งต่อเนื่อง

นายคารณ มูลศรีเปน็ ผทู้ ีน่ าเทคโนโลยีชาวบา้ น มาพัฒนาองค์ความรภู้ าษาลา้ นนาโดยการไดร้ ับการ
ถ่ายทอดองค์ความรูใ้ นการเขยี นคาภรี ใ์ บล้านจากพระอาจารยต์ อนสมัยท่ียังบวชเณร ซงึ่ ในการเขยี นคาภีรใ์ บ
ลานมขี ้ันตอนหลายข้ันตอนเร่มิ จากการเอาใบตาลที่มีใบสมบรู ณ์เหมาะสาหรบั ใช่ เขยี น นามาตากใหแ้ หง้ แล้ว
นามาแยกกลบี ใบออกมาวัสดุ อปุ กรณ์ในการทามีดังนี้

-ปากกาสาหรับเขยี นใบลานหัวแหลม
-แผ่นไม้สาหรับรองเขยี น
-หมกึ สาหรับถมรอ่ ง(สมยั โบราณใช้ผงดาถ่านไฟฉาย)

ขัน้ ตอนในการทามีดังน้ี เรมิ่ จากนาใบลานตากแห้งนามาประกบกับไม้แผ่นรอง เขียนใช้หนงั ยางรัด
หัว-ทา้ ยใหแ้ น่น เอาดนิ สอเขียนเสน้ บนใบลานตามที่เรากาหนด ใชป้ ากกาเขยี นตัวอักษรลงในใบลาน จากนั้น
เป็นขน้ั ตอนในการถมหมึกลงร่องตวั อักษร แลว้ ขูดหมกึ สว่ นเกินออกให้เหน็ ตวั อักษรเด่น

พ่อคารณ มูลศรีร่วมกับ กศน.อาเภอเชยี งม่วน ไดน้ าเทคโนโลยที ี่ทันสมยั มาพฒั นาองค์ความรู้
โดยการศึกษาค้นคว้าข้อมลู ภาษาลา้ นนาจากส่ือ สารสนเทศ เช่นสื่อคอมพวิ เตอร์ สื่อสมารท์ โฟน ส่ือ
อนิ เตอรเ์ นต็ และยทู ปู ตา่ งๆ เพื่อนาความรู้ ท่ีได้รับ มาปรับปรุง พัฒนาเปน็ สอ่ื การเรียนรู้ที่ทันสมยั เช่น สอ่ื
บล๊อคตรายางอักษรล้านนา และส่อื กล่องชุดความรอู้ ักษรล้านนา เป็นตน้

การทาสือ่ บลอ๊ คอักษรล้านนา ไดม้ ีการออกแบบ ให้ง่ายต่อการใช้งาน คือใช้วัสดุไม้เปน็ ตัวตราปัม้
ทรงส่ีเหลยี่ ม สว่ นตวั อักษรลา้ นนาจะทาจากยาง ที่เป็นตราป้ัม ตรายางอีกดา้ นจะเป็นอักษรไทย สาหรบั ใช้
เปรยี บเทยี บอกั ษรไทยและล้านนา ในการใช้งานก็แค่หาอกั ษรไทยที่เราตอ้ งการ เอาตราปม้ั ท่ีเป็นอกั ษ รล้านนา
ปมั้ ตลับชาดสีน้าเงนิ แล้วป้ัมกล็ งกระดาษ
การพัฒนาตอ่ ยอดการเรียนรูแ้ ละการนาองค์ความรู้ไปใชใ้ นการ ปฎบิ ตั จิ รงิ และเกดิ เปน็ รปู ธรรม มีการพัฒนา
องค์ความรูภ้ าษา ล้านนาโดยการสรา้ งสื่อการสอนภาษาลา้ นนาให้ง่ายตอ่ การเรยี นรูโ้ ดยการสรา้ งนวัตกรรม
ใหมๆ่ ขึ้นคอื การสร้างบล๊อคตวั อกั ษรลา้ น นาเปน็ ลักษณะตรายางตราปัม้ ภาษาล้านนา มกี ารออกแบบตรายางท่ี
เปน็ อกั ษรภาษาไทยเทียบกบั ภาษา ล้านนาในตราปัม้ เดยี วกนั เพ่อื ง่ายต่อการใชเ้ รียนรูแ้ ละสามารถ เทียบคาท่ี
ตอ้ งการศึกษาไดด้ ้วยตนเอง มกี ารนาสอ่ื ตรายาง ไปทดลองจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านในบา้ นหนงั สือชมุ ชน
และรว่ มกจิ กรรมโครงการต่างๆ เช่น งานวันเดก็ แหง่ ชาติ , โครงการจงั หวัดเคล่อื นที่ ,งานวิชาการต่างๆ ได้แก่
ออกงานการพฒั นาส่งเสริมการอ่านของ TK park ,งานสมั มนาทางวิชาการระดับภาคเหนือ ณ จังหวัด
พษิ ณุโลก รว่ มถงึ การจดั นิทรรศการเนื่องในวนั รักการอา่ นและอกี หลายๆ โครงการฯ ซ่งึ ผลตอบรบั ในการใช้
บลอ๊ คตวั อักษรล้านนา จากผู้ใช้บริการ มคี วามพงึ พอใจเป็นอยา่ งมาก เพราะเป็นส่ือท่ีเรียนรูไ้ ดง้ า่ ย

มีการตอ่ ยอดสร้างกลอ่ งชดุ ความรู้บัตรคาอกั ษรล้านนา เพ่อื ใช้ในการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านในบ้าน
หนังสือชุมชนและใช้เปน็ สื่อในการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน ในโครงการอื่นๆท่ไี ดจ้ ดั ขน้ึ ชดุ ความรอู้ ักษร
ลา้ นนา ผรู้ ับบริการสามารถเรียนรูด้ ว้ ยตัวเองได้ ซ่งึ ภายใน กล่องความรู้ ผู้เรยี นสามารถเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
ประกอบดว้ ยบตั รคา แบบฝกึ เขียนตวั อกั ษรล้านนา ชุดความรู้และแบบประเมินความพงึ่ พอใจซ่งึ สามารถ
เรียนรู้ดว้ ยตนเอง
มีการนากลอ่ งชดุ ความรู้และบล๊อคอกั ษรลา้ นนานาไปร่วมจดั นทิ รรศการสง่ เสรมิ การอ่านใน กิจกรรมและร่วม
โครงการตา่ งๆเพอื่ เผยแพร่องค์ ความรู้ด้านภาษาล้านนาใหเ้ ดก็ และเยาวชน ประชาชนทัว่ ไปทสี่ นใจ ไดศ้ ึกษา
ด้วยตนเอง ในการนาสอ่ื ต่างๆเขา้ รว่ มกจิ กรรมอยา่ งน้อยเดอื นละหน่งึ ครง้ั โดยจะบูรณาการรว่ มกบั กจิ กรรมที่
กศน.ได้จดั เปน็ ประจาเช่น กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นบ้านหนงั สือชุมชน กิจกรรมสง่ เสรมิ การ อ่านเนื่องในวัน
สาคญั ตา่ งๆเชน่ งานวนั เดก็ แหง่ ชาติ 2 เมษาวันรกั การอ่าน , 8 กันยาวนั ทรี่ ะลกึ แหง่ การรหู้ นงั สอื รวมถึง
โครงการพเิ ศษเช่นโครงการจงั หวัดเคลอื่ นท่ี เป็นตน้ รวมถึงจัดให้บริการในหอ้ งสมุด ประชาชนอาเภอเชยี งม่วน
ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมในแตล่ ะคร้ังมีผ้รู บั บรกิ ารทม่ี ีความสนใจส่อื บล๊อคอักษรลา้ นนา โดยได้สอบถามด้วย
ความสนใจและไดท้ ดลอง ปม้ั ช่ือของตวั เองเพอ่ื เป็นของทรี่ ะลกึ อีกดว้ ย
ซ่งึ การเผยแพรอ่ งค์ความรู้ภาษาล้านนาท่เี ป็นส่อื การเรยี นรู้ในรปู แบบใหม่ๆและนา่ สนใจก็เป็นการ อนุรักษ์
ภาษาลา้ นนาอีกรปู แบบหนง่ึ ที่สามารถดงึ ดดู ผ้รู บั บริการได้เปน็ อยา่ งดี ท้ังนกี้ ็เกิดจากการพัฒนาองค์ความรู้
อย่างต่อเน่ือง

นายคารณ มลู ศรี ภมู ิปญั ญาภาษาล้านนา ได้รบั เชญิ เปน็ วทิ ยากรเพ่ือเผยแพร่องคค์ วามรภู้ าษาล้านนา
มาตง้ั แตท่ ่านรับราชการเปน็ ครู ซึ่งในขณะนนั้ ท่านได้ถ่ายทอด องค์ความรภู้ าษาล้านนาใหก้ บั ลูกศ์ิย์ท่ีเปน็ พระ
เณร และเด็กนักเรียนทัว่ ไป จนมลี กู ศษิ ตม์ ากมายทีไ่ ด้รับความรู้ อกี ทงั้ ทา่ นยังได้รับเชญิ เป็นวทิ ยากรพเิ ศษใน
การถา่ ยทอด ความรใู้ หก้ บั ประชาชนท่วั ไปอกี ด้วยซึง่ ในปจั จบุ นั น้ีทา่ นยังเป็นวิทยากรของ กศน.ทม่ี ีจติ อาสาของ
กศน.อาเภอเชียงม่วน ทไ่ี ดถ้ ่ายทอดองคค์ วามรูใ้ ห้กบั นกั ศกึ ษา กศน. รว่ มถึงเด็ก นักเรยี น เยาวชน ประชาชนท่ี
สนใจเรยี นภาษาล้านนาฟรีอกี ด้วย นายคารณ มูลศรี เปน็ ผู้ทมี่ ีจิตอาสา ทาคณุ ประโยชน์ ใหช้ ุมชนและ กศน.
อาเภอเชยี งม่วนอกี มากมาย อาทิ เปน็ จติ อาสานาความรคู้ วามสามารถและทกั ษะดา้ นการ เขียน-อ่าน ภาษา
ลา้ นนามาถ่ายทอดความร้ใู ห้กบั เด็ก เยาวชนและประชาชนทวั่ ไปทม่ี ีความสนใจ การใหบ้ รกิ ารด้านการอา่ นกับ
คนในชุมชน ทาให้คนในชนุ ได้มโี อกาสเขา้ ถงึ แหล่งเรียนรใู้ กล้บา้ น ซึ่งในแตล่ ะปีทา่ นได้รับเชิญเปน็ วทิ ยากรเพือ่
เผยแพรอ่ งคค์ วามร้ตู า่ งๆเช่น วิทยากรงานวชิ าการ กศน., วิทยากรกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน ,วทิ ยากรใหค้ วามรู้
แก่ คณะศึกษาดูงานในบ้านหนงั สอื ชุมชน เปน็ ตน้ อีกทัง้ ท่านยังได้มแี นวความคิดในการถ่ายทอดความรดู้ า้ น
พุทธศาสนาใหก้ บั ผูท้ ่ีสนใจโดยไม่คิดคา่ เล่าเรียน ทา่ นยงั มคี วามร้คู วามสามารถอกี หลายด้านเชน่ ดา้ นการอา่ น
การเขียนภาษาล้านนา การทาตงุ ล้านนา และภมู ริ ้อู ่นื ๆอีกมากมาย เปน็ ต้น ซงึ่ ตลอดหลายปที ีผ่ า่ นมา นายคา
รณ มลู ศรี ไดม้ ีจติ อาสาทาคณุ ประโยชน์ใหช้ มุ ชนและ กศน.อาเภอเชียงม่วนอกี มากมาย อาทิ เปน็ จิตอาสานา
ความรู้ ความสามารถ และทักษะด้าน การเขียน-อา่ น ภาษาล้านนามาถ่ายทอดความรู้ ใหก้ ับเดก็ เยาวชนและ
ประชาชนทวั่ ไป ท่ีมคี วามสนใจ การใหบ้ รกิ ารดา้ นการอ่านกบั คนในชมุ ชน ทาให้คนในชนุ ไดม้ โี อกาสเข้าถึง
แหล่งเรยี นรใู้ กลบ้ ้าน สามารถนาความรูไ้ ปพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้ อกี ท้ังยังไดม้ ีแนวความคดิ ในการถา่ ยทอด

ความร้ดู า้ นพทุ ธศาสนาใหก้ ับผู้ท่สี นใจโดยไมค่ ดิ คา่ เลา่ เรียน จติ อาสาไดร้ ว่ มกจิ กรรมและโครงการสง่ เสรมิ การ

อา่ นในบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน จนไดร้ ับรางวัล และเกียรตบิ ัตร ระดับอาเภอ ระดับจงั หวัด ระดับภาค ไปจนถงึ

ระดบั ประเทศ อย่างมากมาย

รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรภ่ มู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ (ที่สะทอ้ นความ

นา่ เชือ่ ถอื การยอมรับผ่านบคุ คล/ชุมชน/องค์กร/รางวัล/ใบประกาศ/การจดทะเบียนลิขสทิ ธิ์ ส่ือดิจทิ ัล/

เอกสารเผยแพรแ่ ผน่ พับ คลิป(VDO) ฯลฯ)

ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน

มกี ารเผยแพรผ่ ่านสอ่ื มวลชนและสื่ออน่ื อยา่ งแพรห่ ลาย

มีการดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน.....3......คร้งั จานวน....40.....คน

มีการนาไปใช้ ในพืน้ ท่ี.........คน นอกพืน้ ท่ี..........คน

อน่ื ๆ (ระบ)ุ ................................................................................................................................

ลักษณะของภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ การพัฒนาต่อยอดให้เปน็ นวตั กรรม คุณค่า (มลู ค่า) และความภาคภมู ิใจ

ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน/นวตั กรรมท่ีคิดคน้ ขน้ึ มาใหม่

ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ดงั้ เดมิ ไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจาก

-ได้รบั การถ่ายทอดจากบรรพบุรษุ มกี ารสืบทอดไปยังรุน่ ลกู รุน่ หลานต่อไป

ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินทไี่ ดพ้ ฒั นาและต่อยอด

แบบเดิม คอื เรม่ิ จากนาใบลานตากแห้งนามาประกบกับไมแ้ ผน่ รอง เขียนใชห้ นงั ยางรัดหัว-ท้ายใหแ้ นน่

เอาดนิ สอเขียนเสน้ บนใบลานตามท่เี รากาหนด ใชป้ ากกาเขยี นตัวอกั ษรลงในใบลาน จากนัน้ เปน็ ข้นั ตอนในการ

ถมหมึกลงร่องตัวอกั ษร แล้วขดู หมกึ ส่วนเกนิ ออกให้เห็นตัวอกั ษรเด่น

การพฒั นาตอ่ ยอด คือ การสร้างบลอ๊ คตัวอักษรลา้ น นาเป็นลกั ษณะตรายางตราป้ัมภาษาลา้ นนา มกี าร

ออกแบบตรายางทเ่ี ปน็ อกั ษรภาษาไทยเทยี บกับภาษ า ล้านนาในตราป้ัมเดยี วกัน เพอื่ งา่ ยต่อการใชเ้ รยี นรู้และ

สามารถ เทียบคาท่ีต้องการศกึ ษาไดด้ ว้ ยตนเอง มีการนาสอื่ ตรายาง ไปทดลองจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นใน

บา้ นหนังสือชมุ ชน และร่วมกิจกรรมโครงการตา่ งๆ เช่น งานวันเด็กแหง่ ชาติ

รายละเอยี ดเพิม่ เติม (สามารถใส่ขอ้ มูล ลงิ คว์ ิดีโอ หรอื เวปไซตท์ ่เี กี่ยวข้อง ภาพถ่ายบคุ คลและอุปกรณ์/
เครอื่ งมอื /สิง่ ทปี่ ระดิษฐ์ (ชน้ิ งานหรอื ผลงาน)







ช่ือ-สกลุ ผบู้ นั ทกึ ข้อมลู นายพภิ พ ทรายคา เบอร์ติดตอ่ /Line ID 093-2759452..……………..
หน่วยงาน/สถานศึกษา กศน.อาเภอเชียงมว่ น วนั ท่ีบนั ทึกข้อมูล ........ มกราคม 2563 …….
จดั ทารปู แบบขอ้ มูลภมู ปิ ัญญา E-book ...นางสาวภศั รชนก .... อินธยิ า .... บรรณารักษห์ อ้ งสมุดประชาชน...

กศน.ตาบลบา้ นมาง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเชียงมว่ น

จงั หวดั พะเยา


Click to View FlipBook Version