The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด-19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด-19

คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด-19

Keywords: คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด-19

หมวดสุขภาพ

คู่มือสขุ ภาพพงึ่ ตน แพทย์วถิ ธี รรม ฝา่ วกิ ฤตโควิด 19
(ฉบบั ย่อ)

ลิขสิทธิ์ มูลนธิ ิแพทยว์ ถิ ีธรรมแหง่ ประเทศไทย
โดย ดร.ใจเพชร กลา้ จน (หมอเขียว) และคณะจิตอาสาแพทย์วถิ ีธรรม
ผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นการแพทย์วิถธี รรม เพื่อการพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง

กองการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
ประธานมลู นิธแิ พทย์วิถีธรรมแห่งประเทศไทย

ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
ใจเพชร กล้าจน (หมอเขียว)

คู่มือสุขภาพพึ่งตน ฉบบั ย่อ. แพทย์วถิ ธี รรมฝ่าวิกฤตโควิด 19.--ปทมุ ธานี:
มูลนิธแิ พทยว์ ิถธี รรมแห่งประเทศไทย, 2564
64 หน้า.
1. การดแู ลตวั สุขภาพด้วยตนเอง.I. ชอื่ เร่อื ง
613
ISBN 978-616-93843-0-4

จัดพิมพ์ มลู นิธิแพทย์วิถธี รรมแห่งประเทศไทย
เวบ็ ไซต ์ www.morkeaw.net
เฟซบกุ๊ หมอเขยี ว แฟนคลบั
กจิ กรรมหมอเขยี ว แพทยว์ ถิ ธี รรม
เผยแพร ่ ศูนยเ์ รยี นร้สู ุขภาพพ่ึงตนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง
สวนป่านาบุญและเครอื ขา่ ยกจิ กรรมแพทยว์ ถิ ีธรรม
โรงพิมพ์ บรษิ ัท พิมพด์ ี จ�ำ กดั โทร 02-401-9401

พมิ พ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2564 จ�ำ นวนพิมพ์ 75,000 เลม่
ราคา 10 บาท

ติดต่อเรา สัง่ หนงั สอื ที่

2 คมู่ ือสุขภาพพง่ึ ตน แพทยว์ ถิ ธี รรม ฝา่ วิกฤตโควดิ 19

คำ�นำ�

คู่่�มืือสุขุ ภาพพึ่�งตน แพทย์ว์ ิิถีธี รรม ฝ่่าวิิกฤตโควิดิ 19 เล่่มนี้�เป็น็
ส่่วนหนึ่�งของงานวิิจััยเชิิงคุุณภาพ โดย ดร.ใจเพชร กล้้าจน และคณะ
เรื่ �องสุุขภาพพึ่ �งตนด้้วยหลัักการแพทย์์วิิถีีธรรมตามแนวเศรษฐกิิจพอ
เพีียงกัับการป้้องกันั และลดปัญั หาต่า่ ง ๆ อัันเกิิดจากโควิดิ 19 ผลการ
วิจิ ัยั พบว่า่ วิธิ ีกี ารดังั กล่า่ วมีปี ระสิทิ ธิภิ าพในการป้อ้ งกันั และแก้ไ้ ขปัญั หา
ต่่าง ๆ อัันเกิิดจากโควิิดได้ด้ ีี

เพื่ �อเป็็นส่่วนหนึ่ �งในการช่่วยป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาอัันเกิิดจาก
เชื้�อไวรัสั โควิดิ ที่�ระบาดทั่�วโลก รวมถึึงประเทศไทย ซึ่�งทำำ�ให้เ้ กิิดอาการ
เจ็บ็ ป่ว่ ยกับั คนจำำ�นวนมากและบางส่ว่ นเสียี ชีวี ิติ เกิดิ สภาพผู้้�ป่ว่ ยล้น้ เตียี ง
ล้้นโรงพยาบาล ผู้้�ป่ว่ ยจำำ�นวนมากที่�ไม่ส่ ามารถเข้้าถึึงบริกิ ารสุขุ ภาพได้้
ส่่งผลกระทบให้้เกิิดความเสีียหาย เดืือดร้้อนด้้านต่่างๆ สืืบเนื่�องตาม
มา ได้้แก่่ ด้้านเศรษฐกิิจ ด้้านสัังคม ฯลฯ

การป้้องกัันและแก้้ปััญหาที่่�สำำ�คััญที่่�สุุด มีีประสิิทธิิภาพที่่�สุุด ที่�
พระพุทุ ธเจ้า้ ตรัสั ไว้้ คือื “ตนเป็น็ ที่�พึ่�งของตน” การพึ่�งตนในการดำำ�รงชีวี ิติ
ที่�ประหยััด เรีียบง่่าย รวมถึึงการพึ่�งตนในการทำ�ำ สิ่่�งที่่�จำ�ำ เป็็นสำำ�คััญต่่อ
ชีวี ิติ ในทุุกๆด้้าน ที่�ตนสามารถทำ�ำ ได้้ ทั้�งด้า้ นการดูแู ลสุขุ ภาพ เศรษฐกิจิ
สังั คม สิ่�งแวดล้อ้ ม ฯลฯ จึงึ เป็น็ สิ่�งที่่�จำำ�เป็น็ สำ�ำ คัญั อย่า่ งยิ่�งที่่�ต้อ้ งทำ�ำ ควบคู่�
กับั การแก้ป้ ััญหาที่�ภาครัฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน กำ�ำ ลัังดำ�ำ เนิิน
การอยู่� จึึงจะทำำ�ให้ช้ ีวี ิติ อยู่�รอดปลอดภัยั อยู่�เย็น็ เป็็นสุขุ และช่ว่ ยเหลือื
เกื้�อกููลผู้�อื่�นสืืบเนื่�องต่อ่ ไปได้้

3คมู่ ือสขุ ภาพพงึ่ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด 19

คู่่�มือื สุขุ ภาพพึ่�งตน แพทย์ว์ ิถิ ีธี รรม ฝ่า่ วิกิ ฤตโควิดิ เล่ม่ นี้� จึงึ นำ�ำ เสนอ
เทคนิคิ การพึ่�งตนด้ว้ ยหลักั การแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรมตามแนวเศรษฐกิจิ พอเพียี ง
(การแพทย์ว์ ิถิ ีพี ุทุ ธหรือื การแพทย์พ์ ุทุ ธศาสตร์)์ ในการป้อ้ งกันั การติดิ เชื้�อ
โควิดิ การรักั ษาหรืือบรรเทาอาการติิดเชื้�อโควิดิ หรือื อาการคล้้ายติดิ เชื้�อ
โควิิด อาการข้า้ งเคียี งแทรกซ้้อนจากการรับั วััคซีนี ป้้องกัันโควิดิ และการ
ลดปััญหาต่่างๆ อัันเกิิดสืืบเนื่�องจากโควิิด

ถ้า้ ผู้�ใดสามารถพึ่�งตัวั เองได้จ้ นหายจากโรคหรือื ทุเุ ลาได้ม้ าก ก็ช็ ่ว่ ย
แบ่ง่ เบาภาระของสังั คม ภาครัฐั หรือื เจ้า้ หน้า้ ที่่�สุขุ ภาพ แต่ถ่ ้า้ มีอี าการหนักั
ที่�ไม่ส่ ามารถแก้้ไขด้้วยตนเองได้้ จึึงจะอาศััยเจ้า้ หน้้าที่่�สุุขภาพ

การที่่�ผู้้�ป่่วยหรืือประชาชนสามารถพึ่�งตนเองได้้มาก จะทำ�ำ ให้้เจ้้า
หน้้าที่่�สุุขภาพไม่่ต้้องแบกรัับภาระที่�มากเกิินไป และสามารถดููแลผู้้�ป่่วย
ที่�อาการหนัักได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ซึ่�งเป็็นผลดีีต่่อผู้้�ป่่วย เจ้้าหน้้าที่�
สุุขภาพ และระบบสุุขภาพโดยรวม ซึ่�งการแพทย์์วิิถีีธรรมนั้�นสามารถ
พึ่ �งตนหรืือบููรณาการร่่วมกัับการดููแลสุุขภาพแต่่ละแผนได้้ตามความ
เหมาะสม

เจริญิ ธรรม สำ�ำ นึกึ ดีี มีใี จไร้ท้ ุกุ ข์์
ดร.ใจเพชร กล้า้ จน (หมอเขีียว)
และคณะจิติ อาสาแพทย์์วิิถีีธรรม

4 คู่มอื สุขภาพพึง่ ตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

สารบัญ

การป้ องกันโควดิ ด้วยเทคนิคการแพทยว์ ถิ ีธรรม...........7

หลักการสรา้ งภูมิต้านทานเพื่อกำ�จัดโควดิ
ตามหลักการแพทย์วถิ ีธรรม....................................... 8

ภาวะรอ้ นเยน็ ไม่สมดลุ จากการติดเชอ้ื โควดิ ................. 21

5 วธิ แี รกที่มีประสิทธภิ าพสูง
ในการปรบั สมดลุ รอ้ นเยน็ สู้ภัยโควดิ ...........................22

1. การรับประทานสมนุ ไพรปรับสมดลุ ............................................23
• หลักการเลือกใชส้ มนุ ไพรดว้ ยทฤษฎนี ้�ำ 12 แกว้ ...............25
• นำ�้ สกดั สมนุ ไพรพลังศีล..................................................................28
• ตวั อยา่ งน้ำ� 3 พลังพุทธ..................................................................29
2. การสูดดมสมนุ ไพร อบ อาบ เช็ดสมนุ ไพร หยอดจมกู
หรอื ลา้ งจมูก..................................................................................................31
3. การออกก�ำ ลังกาย กดจุดลมปราณ ฝกึ ลมหายใจ.................33
• การกดจุดลมปราณ............................................................................34
• การฝึกลมหายใจ.................................................................................39
4. การรบั ประทานอาหารท่ีดตี อ่ สขุ ภาพคือ พืช จดื สบาย....40
• ตวั อยา่ งอาหารแยกตามฤทธ์เิ ยน็

ฤทธร์ิ อ้ นเย็นผสมกนั ฤทธิร์ อ้ น....................................................43
5. ธรรมะ มศี ลี (ใจไรท้ ุกข์ ใจดีงาม เปน็ ล�ำ ดับ) ........................45

5คมู่ อื สุขภาพพงึ่ ตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝา่ วิกฤตโควดิ 19

วธิ เี สรมิ ประสิทธภิ าพในการปรบั สมดลุ รอ้ นเย็น
ในการสู้ภัยโควดิ ..................................................... 52

• กัวซาหรือขูดซาหรอื ขูดพิษหรือขูดลม.......................................52
• การสวนลา้ งพิษออกจากล�ำ ไสใ้ หญด่ ้วยสมุนไพรทถ่ี กู กนั

(ดีทอ็ กซ์)...................................................................................................53
• การแชม่ อื แชเ่ ทา้ หรอื สว่ นท่ีไมส่ บายในน�ำ้ สมนุ ไพร...........55
• การพอก ทา หยอด ประคบ อบ อาบ เช็ด สดู ดม

ดว้ ยสมนุ ไพรตามภาวะรอ้ นเย็นของร่างกาย.........................56

บรรณานุกรม......................................................... 58

6 คมู่ อื สุขภาพพ่งึ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

การป้ องกันโควดิ
ด้วยเทคนิคการแพทย์วถิ ีธรรม

ล็อกดาวน์ สวมแมส เวน้ ระยะห่าง ล้างมือ ถือศีล
ทำ�สมดลุ รอ้ นเย็น ทำ�กสิกรรมไรส้ ารพิษ

ทำ�เศรษฐกิจพอเพียง และเก้ือกลู ชว่ ยเหลือกัน

7คู่มอื สขุ ภาพพ่งึ ตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

หลักการสรา้ งภมู ิต้านทานเพ่ือกำ�จัดโควดิ
ตามหลักการแพทย์วถิ ีธรรม

คำำ�ตรััสของพระพุุทธเจ้้าในพระไตรปิิฎกเล่่ม 11 “สัังคีีติิสููตร”
ข้้อ 293 องค์์เป็็นที่�ตั้�งแห่่งความเพีียร 5 อย่่าง หนึ่�งในนั้�นคืือเป็็นผู้้�มีี
อาพาธน้้อย มีีทุุกข์์น้้อย ประกอบด้้วยเตโชธาตุุ (ความร้้อนในร่่างกาย)
อัันมีีวิิบาก (พลัังสร้้างผล) เสมอกััน ไม่่เย็็นนััก ไม่่ร้้อนนััก เป็็นอย่่าง
กลางๆ ควรแก่่ความเพียี รฯ

จะเห็น็ ได้ว้ ่า่ พระพุทุ ธเจ้า้ พบว่า่ การปรับั เตโชธาตุุ คือื ความร้อ้ นใน
ร่า่ งกายให้ส้ มดุลุ ไม่เ่ ย็น็ เกินิ ไม่ร่ ้อ้ นเกินิ จะเป็น็ พลังั สร้า้ งผลให้ม้ ีโี รคน้อ้ ย
มีีทุกุ ข์น์ ้้อย ส่ง่ ผลให้ม้ ีสี ภาพร่่างกายพร้อ้ มที่�จะประกอบความเพีียร ซึ่�งก็็
คือื ร่่างกายที่�แข็ง็ แรงนั่�นเอง ซึ่�งการทำำ�สมดุุลร้อ้ นเย็น็ ให้้กับั ชีวี ิติ นั้�น มีีทั้�ง
ด้า้ นรูปู ธรรม (การใช้ส้ ารหรือื พลังั งานที่�เป็น็ รูปู ธรรมปรับั สมดุลุ ร้อ้ นเย็น็ )
และด้า้ นนามธรรม (การปฏิบิ ััติอิ าริิยสัจั 4 สู่�สภาพใจไร้ท้ ุุกข์์ ใจดีีงาม)

พระพุุทธเจ้า้ ตรััสในพระไตรปิฎิ ก เล่่ม 20 “คิิลานสููตร” ข้อ้ 461
...ดููกรภิกิ ษุทุั้�งหลาย บรรดาคนไข้้ 3 จำำ�พวกนั้�น เพราะอาศัยั คนไข้้ผู้�ที่�ได้้
โภชนะ (อาหาร) ที่�สบายจึงึ หายจากอาพาธนั้�น เมื่�อไม่่ได้้ย่่อมไม่ห่ าย ได้้
เภสัชั (ยาหรือื วิิธีีการ) ที่่�สบายจึึงหายจากอาพาธนั้้�น เมื่�อไม่่ได้้ย่่อม
ไม่่หาย...

พระไตรปิฎิ ก เล่ม่ 22 “อุปุ ัฎั ฐากสูตู ร” ข้อ้ 123-124 พระพุทุ ธเจ้า้
กล่่าวถึึง การรัักษาพยาบาลที่่�มีีประสิิทธิิภาพดีีนั้�น ต้้องเป็็นผู้้�ทำำ�ความ
สบายให้้แก่่ตน ประมาณในสิ่�งที่�สบาย และสมาทาน อาจหาญ ร่่าเริิง

8 คมู่ อื สขุ ภาพพ่ึงตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควดิ 19

ด้ว้ ยธรรมิกิ ถา (คำ�ำ พูดู หรืือเนื้้�อหาสาระที่่�เป็็นธรรมะที่่�ทำำ�ให้้ร่่าเริิง
เบิิกบาน แจ่่มใส ไร้้กัังวล แกล้้วกล้้า อาจหาญในการเผชิิญกัับโรคภััย
ไข้เ้ จ็บ็ หรืือปัญั หาต่่าง ๆ) โดยกาลอันั สมควร

และพระไตรปิิฎก เล่่มที่� 22 “อนายุุสสสููตร” ข้้อ 125-126
พระพุุทธเจ้้ากล่่าวถึงึ ข้อ้ ปฏิิบัตั ิิที่่�ทำำ�ให้้อายุยุ ืืน 1. เป็น็ ผู้้�ทำ�ำ ความสบาย
ให้้แก่่ตน 2. ประมาณในสิ่�งที่�สบาย 3. บริิโภคสิ่�งที่่�ย่่อยง่า่ ย 4. เที่�ยวไป
ในกาลอัันสมควร 5. ประพฤติิเพียี งดั่�งพรหม (เมตตา กรุุณา มุทุ ิติ า
อุุเบกขา) 6. เป็็นผู้้�มีีศีีล และ 7. คบมิติ รที่่�ดีีงาม

จะเห็น็ ได้ว้ ่า่ การใช้ว้ ิธิ ีกี ารใด ๆ ที่่�ทำำ�ให้เ้ กิดิ ความรู้้�สึกึ สบายใจ สบาย
กาย มีศี ีลี (ใจไร้ท้ ุุกข์์ ใจดีงี าม เป็็นลำ�ำ ดับั ) คือื ละบาป บำำ�เพ็็ญกุุศล ทำำ�
จิิตใจให้้ผ่่องใส เป็็นลำำ�ดัับ จะทำำ�ให้้หายหรืือทุุเลาจากโรค ทำำ�ให้้มีี
โรคน้อ้ ย และอายุยุ ืืน

หลักั พุทุ ธศาสตร์น์ั้�นสอดคล้อ้ งกับั หลักั วิทิ ยาศาสตร์์ คือื การกำ�ำ จัดั
เชื้�อไวรัสั โควิดิ โดยภูมู ิคิุ้�มกันั ของร่า่ งกายที่่�สำำ�คัญั โดดเด่น่ ที่่�มีปี ระสิทิ ธิภิ าพ
ที่่�สุดุ คือื เม็ด็ เลือื ดขาวและสารอินิ เตอร์เ์ ฟอรอน ซึ่�งจะทำ�ำ หน้า้ ที่่�กำ�ำ จัดั เชื้�อ
ไวรัสั โควิดิ เชื้�อโรคอื่�นๆ รวมถึงึ โรคไม่ต่ ิดิ เชื้�ออื่�นๆ เช่น่ มะเร็ง็ เนื้�องอก ฯลฯ
(พรชััย มาตัังคสมบััติิ และจิินดา นัยั เนตร. 2527 : 261-270)

โดยร่า่ งกายจะสามารถผลิติ เม็ด็ เลือื ดขาวและสารอินิ เตอร์เ์ ฟอรอน
(Interferon) ได้้ดีีที่่�สุุด มีีประสิทิ ธิภิ าพที่่�สุุด เมื่�อเซลล์ร์ ่่างกายแข็็งแรง มีี
โครงสร้้าง (Structure) และโครงรููป (Conformation) ปกติิ (พิิชิิต
โตสุโุ ขวงศ์์. 2535 : 38-41)

9คู่มือสขุ ภาพพ่ึงตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝา่ วิกฤตโควดิ 19

ปััจจััย 3 ชนิิดที่่�มีีอิิทธิิพลสำ�ำ คััญต่่อสภาพโครงสร้้างและโครงรููป
ของชีีวโมเลกุุล ได้้แก่่ เกลืือแร่่ (ชนิิดของสารแร่่ธาตุุที่่�มีีความเข้้มข้้น
ที่่�พอเหมาะ) อุุณหภูมู ิิ (ความร้อ้ นเย็น็ ช่่วงประมาณ 36.5-37.5 องศา
เซลเซีียส) และความเป็็นกรดด่่าง (pH อยู่�ประมาณ 7.0-7.2) เป็็น
สภาพที่�พอเหมาะกัับร่่างกาย จะทำ�ำ ให้้โครงสร้้างและโครงรููปของเซลล์์
อยู่�ในสภาพปกติิ มีผี ลทำ�ำ ให้ช้ ีวี โมเลกุลุ เหล่า่ นั้�นทำำ�งานทำ�ำ หน้า้ ที่�เป็น็ ปกติิ
เราเรีียกว่่าสภาพธรรมชาติิ (Native state) ถ้้าปััจจััย 3 ชนิิดเหล่่านี้�
เปลี่�ยนแปลงไป ไม่พ่ อเหมาะกัับร่่างกาย จะทำ�ำ ให้้โครงสร้า้ งและโครงรููป
ของชีวี โมเลกุลุ เปลี่�ยนแปลงไป ชีวี โมเลกุลุ ก็จ็ ะทำ�ำ งานในหน้า้ ที่�ของตนเอง
ไม่ไ่ ด้้ เราเรียี กสภาพนี้้�ว่า่ สภาพเสีียธรรมชาติิ (Denatured state) (พิชิ ิติ
โตสุโุ ขวงศ์.์ 2535 : 38-41)

ดังั นั้�น การจะได้เ้ ซลล์ร์ ่า่ งกายที่�แข็็งแรง มีโี ครงสร้า้ ง โครงรููปปกติิ
ตามหลัักวิิทยาศาสตร์์เกิิดจากการได้้ชนิดิ ของสารแร่่ธาตุหุ รืือพลัังงานใน
ความเข้้มข้้นที่�เหมาะสม คืือ เมื่�อเข้้าไปในร่่างกายแล้้ว ทำำ�ให้้ร่่างกายมีี
อุุณหภููมิิ (ความร้อ้ นเย็็น) และความเป็็นกรดด่า่ งที่�เหมาะสม

สอดคล้้องกัับหลัักวิิทยาศาสตร์์พบว่่า ระบบประสาทอััตโนมััติิ
ไขสันั หลังั ออกจากก้า้ นสมอง จะสร้า้ งปฏิกิ ิริ ิยิ า แฟล็ก็ ซ์เ์ ซอร์์ วิดิ ดอร์ว์ อล
รีเี ฟล็ก็ ซ์์ Flexor (withdrawal) reflex เป็น็ รีเี ฟล็ก็ ซ์ท์ี่�เกิดิ เมื่�อมีตี ัวั กระตุ้�น
อัันตรายมากระตุ้�น ซึ่�งอาจเป็็นการกระตุ้�นจากเชิิงกล ความร้้อน หรืือ
สารเคมีีก็็ได้้ เมื่�อกล้้ามเนื้�อหดตััวมากเกิินไป กล้้ามเนื้�อขาดเลืือดมา
เลี้ �ยงจะเกิิดอาการปวดกล้้ามเนื้ �อ

10 ค่มู ือสขุ ภาพพึ่งตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝา่ วกิ ฤตโควดิ 19

เมื่�อกล้้ามเนื้�อหดตััวมากเกิินไปจากการออกกำ�ำ ลัังกายหรืือกล้้าม
เนื้�อใช้้กำ�ำ ลัังเกิินขนาด หรืือกล้้ามเนื้�อขาดเลืือดมาเลี้�ยงจะเกิิดอาการ
ปวดกล้้ามเนื้�อ (Muscle pain) เชื่�อว่่าเกิิดจากมีีการคั่�งของสารเคมีีที่�
เรียี กว่า่ “พีี แฟกเตอร์”์ (P factor) ซึ่�งอาจเป็็น โพแทสเซีียม ประจุบุ วก
เป็น็ สาเหตุใุ ห้เ้ กิดิ อาการเจ็บ็ ปวดได้้ อาการเจ็บ็ ปวดจะทำำ�ให้เ้ กิดิ การเกร็ง็
(Spasm) ของกล้้ามเนื้�อ มีีผลให้้กล้้ามเนื้�อขาดเลืือดมาเลี้�ยงมากยิ่�งขึ้�น
ทำำ�ให้้รู้้�สึึกปวดมากขึ้�นไปอีีก (กนกวรรณ ติิลกสกุลุ ชัยั และชััยเลิิศ พิชิ ิิต
พรชัยั . 2552 : 882-884)

จะเห็็นได้้ว่่า พลัังงานที่่�ร้้อนเกิินทำ�ำ ให้้เกิิดปฏิิกิิริิยารีีเฟล็็กซ์์กล้้าม
เนื้�อหดตัวั มากเกิินไป ทำำ�ให้โ้ ครงสร้้างและโครงรููปผิิดปกติิ เลือื ดลมไหล
เวียี นไม่ส่ ะดวก เซลล์เ์ สื่�อมสภาพ ไม่ส่ ามารถทำ�ำ งานในหน้า้ ที่�ตามปกติไิ ด้้

และหลัักวิิทยาศาสตร์พ์ บว่า่ ความผิดิ ปกติิของรีีเฟล็็กซ์ข์ องระบบ
ประสาทร่่างกาย

(1) รีีเฟล็็กซ์์ของไขสัันหลัังที่่�ทำ�ำ ให้้เกิิดการหดเกร็็งของกล้้ามเนื้�อ
(Muscle spasm)

(2) ตะคริวิ (Cramp) เป็น็ การหดเกร็ง็ ของกล้า้ มเนื้�อเฉพาะที่� การ
ศึกึ ษาโดย EMG พบว่่าเกิดิ เนื่�องจากมีีการระคายเคือื งต่่อกล้้ามเนื้�อ เช่น่
ความเย็น็ จัดั ขาดเลือื ดไปเลี้�ยง หรือื กล้า้ มเนื้�อทำ�ำ งานมากเกินิ ไปทำ�ำ ให้เ้ กิดิ
ความเจ็บ็ ปวด หรือื มีกี ระแสประสาทรับั ความรู้้�สึกึ อย่า่ งอื่�น ส่ง่ จากกล้า้ ม
เนื้�อไปยังั ไขสันั หลังั ทำำ�ให้เ้ กิดิ รีเี ฟล็ก็ ซ์ก์ ารหดตัวั ของกล้า้ มเนื้�อ ซึ่�งการหด
ตัวั นี้�จะกระตุ้�นตัวั รับั ความรู้้�สึกึ อันั เดิมิ นั้�นมากขึ้�นไปอีกี มีกี ารควบคุมุ การ
หลั่�งฮอร์์โมนแบบกระตุ้�นย้้อนกลัับ (Positive feedback) เกิิดขึ้�นทำ�ำ ให้้
เพิ่�มการหดตััวรุุนแรงขึ้�น จนกระทั่�งเกิิดตะคริิวของกล้้ามเนื้�อขึ้�น (ราตรีี
สุดุ ทรวง และวีีระชััย สิิงหนิยิ ม. 2550 : 118-119)

11คู่มอื สขุ ภาพพงึ่ ตน แพทยว์ ถิ ธี รรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

จะเห็็นได้้ว่่า พลัังงานที่�เย็็นเกิินทำำ�ให้้เกิิดปฏิิกิิริิยารีีเฟล็็กซ์์กล้้าม
เนื้�อหดตััวมากเกินิ ไป ทำำ�ให้โ้ ครงสร้้างและโครงรููปผิิดปกติิ เลืือดลมไหล
เวียี นไม่ส่ ะดวก เซลล์เ์ สื่�อมสภาพ ไม่ส่ ามารถทำ�ำ งานในหน้า้ ที่�ตามปกติไิ ด้้

หลัักวิิทยาศาสตร์์ยัังพบว่่า ในกรณีีที่�เนื้�อเยื่�อขาดเลืือดไปเลี้�ยงจะ
รู้้�สึกึ ปวดที่�เนื้�อเยื่�ออย่า่ งรวดเร็ว็ ยิ่�งกรณีที ี่่�มีอี ัตั ราของการเผาผลาญอาหาร
ของเซลล์์มาก ก็็จะปวดได้้เร็ว็ มาก

ในกรณีที ี่่�มีกี ารหดเกร็ง็ ของกล้า้ มเนื้�อ (Muscle spasm) อาจทำ�ำ ให้้
มีีการเจ็บ็ ปวดได้้รุุนแรง เนื่�องจากมีีการหดตัวั ของกล้้ามเนื้�อไปกดหลอด
เลือื ดในกล้า้ มเนื้�อ ทำ�ำ ให้ป้ ริมิ าณเลือื ดไปเลี้�ยงกล้า้ มเนื้�อลดลงมากและการ
หดตััวเพิ่�มอััตราของการเผาผลาญของกล้า้ มเนื้�อ ทำำ�ให้เ้ กิดิ การขาดเลืือด
มาเลี้�ยง (Ischemia) ขาดออกซิเิ จน มีกี ารสะสม กรดที่�เกิดิ จากกระบวน
เผาผลาญอาหารต่่าง ๆ (Acid metabolites) เช่่น กรดแลกติิก
อยู่�เป็็นจำำ�นวนมาก นอกจากนี้้�ยังั มีี แบรดีีไคนินิ (Bradykinin) และ พอ
ลิเิ พปไทด์์ (Polypeptides) อื่�น ๆ เกิดิ ขึ้�นจากมีกี ารทำ�ำ ลายเซลล์ก์ ล้า้ มเนื้�อ
ทำำ�ให้้ปวดได้ม้ าก (ราตรีี สุดุ ทรวง และวีรี ะชัยั สิงิ หนิิยม. 2550 : 209)

จะเห็็นได้้ว่่า พลังั งานที่่�ร้้อนมากเกิิน หรืือเย็น็ มากเกิิน เป็็นปััจจัยั
สำ�ำ คัญั ที่่�ทำำ�ให้เ้ กิดิ รีเี ฟล็ก็ ซ์์ คือื การหดเกร็ง็ ตัวั ของกล้า้ มเนื้�อ มีผี ลให้เ้ ซลล์์
มีโี ครงสร้า้ ง โครงรูปู ที่่�ผิดิ ปกติิ เสียี หน้า้ ที่� เลือื ดลมไหลเวียี นไม่ส่ ะดวก สาร
หรือื พลังั งานที่�เป็น็ ประโยชน์เ์ ข้า้ ไปเลี้�ยงเซลล์ไ์ ม่ไ่ ด้้ สารหรือื พลังั งานที่�เป็น็
โทษออกจากเซลล์์ไม่ไ่ ด้้ เซลล์์ก็็จะเสื่�อมสภาพ เกิดิ กรด ความร้อ้ น และ
ของเสีียที่�เป็น็ พิิษต่า่ งๆ ตกค้า้ งในร่า่ งกาย เพราะตามหลัักวิิทยาศาสตร์์
เซลล์์ทำ�ำ งานตลอดเวลา จะเกิิดคาร์บ์ อนไดออกไซด์์ กรดแลคติิก บีียูเู อ็น็

12 ค่มู ือสขุ ภาพพง่ึ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด 19

ครีเี อตินิ ินิ และของเสียี ที่�เป็น็ พิษิ ต่า่ งๆ เกิดิ ขึ้�นในร่า่ งกายตลอดเวลา ทำำ�ให้้
เกิดิ รีเี ฟล็ก็ ซ์์ คือื การหดเกร็ง็ ตัวั ของกล้า้ มเนื้�อซ้ำำ��เข้า้ ไปอีกี เพื่�อบีบี เอาของ
เสียี ที่�เป็น็ พิษิ ดังั กล่า่ วออกจากร่า่ งกาย การหดเกร็ง็ ตัวั ของกล้า้ มเนื้�อมีผี ล
ให้้เซลล์์มีีโครงสร้า้ งและโครงรูปู ที่่�ผิดิ ปกติิ ทำำ�ให้้เสีียหน้้าที่�

ซึ่�งจุุดหรืือบริิเวณที่่�ร่่างกายผลิิตพลัังงาน จะเกิิดกรดและความ
ร้อ้ นที่�เป็น็ ของเสียี จะเกิดิ ภาวะไม่ส่ มดุลุ แบบร้อ้ นเกินิ ส่ว่ นบริเิ วณที่�เลือื ด
ลม (สารหรืือพลัังงาน) ไปหล่่อเลี้�ยงไม่่ได้้ ไม่่สามารถผลิิตพลัังงานได้้
จะเกิดิ ภาวะไม่ส่ มดุลุ แบบเย็น็ เกินิ ทำำ�ให้เ้ กิิดรีเี ฟล็ก็ ซ์์ คืือการหดเกร็ง็ ตััว
ของกล้า้ มเนื้�อเพื่�อบีบี สารหรือื พลังั งานที่่�ร้อ้ นเย็น็ ไม่ส่ มดุลุ ออกซ้ำ�ำ �เข้า้ ไปอีกี

ซึ่�งถ้้าสามารถใช้้วิิธีีการต่่างๆ ระบายสารหรืือพลัังงานที่่�ร้้อนเย็็น
ไม่ส่ มดุลุ ออกไป ระบบประสาทอัตั โนมัตั ิจิ ะสั่�งให้ก้ ล้า้ มเนื้�อคลายตัวั เลือื ด
ลมจะไหลเวียี นสะดวก และเมื่�อใส่ส่ ารหรือื พลังั งานที่�สมดุลุ ร้อ้ นเย็น็ เข้า้ ไป
พลังั ชีีวิิตจะดููดไปเลี้�ยงเซลล์์ให้แ้ ข็ง็ แรง ทำ�ำ โครงสร้า้ ง โครงรููปเข้า้ สู่�สภาพ
ปกติิ และทำำ�หน้า้ ที่�ได้้เป็น็ ปกติิอย่า่ งมีีประสิิทธิภิ าพ

สำำ�หรับั ด้า้ นจิติ ใจที่่�มีผี ลต่อ่ โครงสร้า้ ง โครงรูปู และการทำ�ำ งานของ
เซลล์์ ที่่�นักั วิทิ ยาศาสตร์ค์ ้น้ พบ คือื ไฮโปธาลามัสั (Hypothalamus) เป็น็
ส่ว่ นของสมองที่�เกี่�ยวข้อ้ งกับั อารมณ์ม์ ากที่่�สุดุ เมื่�อคนเราได้ร้ ับั แรงกดดันั
ทำำ�ให้้เกิิดความเครีียด ความคัับข้้องใจ จะมีีผลต่่อการส่่งฮอร์์โมนจาก
ไฮโปธาลามัสั ไปยังั ต่อ่ มไร้ท้ ่อ่ (Endocrine system) และระบบภูมู ิคิุ้�มกันั
(Immune system) ทำำ�ให้เ้ ซลล์อ์ ่อ่ นแอลง การทำ�ำ ให้เ้ กิิดความเข้้มแข็็งทั้�ง
ด้้านร่่างกายและจิิตใจ จะช่่วยส่่งผลดีีทางจิิตใจ และร่่างกายของผู้้�ป่่วย
จะดีีตามไปด้้วย (สำำ�นัักการแพทย์์ทางเลืือก กรมพััฒนาการแพทย์์แผน
ไทยและการแพทย์์ทางเลืือก กระทรวงสาธารณสุุข. 2551)

13คู่มอื สุขภาพพง่ึ ตน แพทยว์ ถิ ธี รรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

การทำ�ำ งานของระบบประสาทซิิมพาเธติิกเพื่�อต่่อสู้�ภาวะตึึงเครีียด
ดัังนี้� เพิ่�มความดัันเลืือด จากการทำ�ำ ให้้หลอดเลืือดหดตััว (Alpha
receptor) และทำำ�ให้้หััวใจเต้้นเร็็วและแรง เพิ่�มปริิมาณเลืือดไปที่�กล้้าม
เนื้�อที่่�กำ�ำ ลัังทำ�ำ งาน คืือ กล้า้ มเนื้�อลายที่่�ทำำ�ให้้หลอดเลืือดขยายตััว (Beta
two receptor และ Cholinergic sympathetic) เพิ่�มอัตั ราการเผาผลาญ
อาหารของเซลล์ท์ ั่ �วร่่างกาย

จากผลรวมนี้้�ทำ�ำ ให้้เราสามารถใช้้กำ�ำ ลัังกายได้้มากกว่่าที่�ควร
จะเป็็น เนื่�องจากความเครีียดทางร่่างกาย (Physical stress) จะกระตุ้�น
ระบบประสาทซิิมพาเธติิกให้้ร่่างกายทำำ�งานมากขึ้�น (Sympathetic
stress reaction) และยังั ช่ว่ ยเพิ่�มการทำำ�งานในสภาวะตึึงเครีียดเกี่�ยวกับั
อารมณ์์ (Emotional stress) เช่น่ ในขณะที่่�มีีความโกรธ ไฮโปธาลามััส
ถูกู กระตุ้�น ส่ง่ สัญั ญาณสู่� เรติิคิวิ ลาร์์ ฟอร์เ์ มชั่�น (Reticular formation)
และไขสัันหลััง ทำ�ำ ให้้มีีการกระตุ้�นต่่อระบบประสาทซิิมพาเธติิกอย่่าง
รุนุ แรง (Sympathetic alarm reaction หรืือบางทีเี รียี ก fight or flight
reaction) คืือตััดสิินใจว่่าจะสู้�หรืือหนีี (ราตรีี สุุดทรวง และวีีระชััย
สิิงหนิิยม. 2550 : 153)

จะเห็็นได้้ว่่า ความเครีียดทำ�ำ ให้้เซลล์์ทำ�ำ งานมากเกิินเพื่�อผลัักดััน
เอาความเครีียดออก เกิิดของเสีียที่�เป็็นพิิษตกค้้างในร่่างกายมากเกิิน
และเกิิดการเกร็็งค้้างของกล้้ามเนื้�อที่่�บีีบตััวเอาความเครีียดออก ทำำ�ให้้
เลืือดลมไหลเวีียนไม่่สะดวก โครงสร้้างและโครงรููปผิิดปกติิ เซลล์์เสีีย
หน้า้ ที่�การทำ�ำ งาน

14 คูม่ ือสุขภาพพง่ึ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

หลัักวิิทยาศาสตร์์ที่่�สำ�ำ คััญอีีกอย่่างหนึ่�งคืือ สารเอ็็นโดรฟิิน
(Endorphin) เป็น็ สารเคมีจี ำ�ำ พวกเดียี วกับั ฝิ่่น� (Opioid) ซึ่�งผลิติ ขึ้�นภายใน
ร่า่ งกายโดยสมองส่ว่ นไฮโปธาลามัสั (Hypothalamus) และต่อ่ มใต้ส้ มอง
พิิทูอู ิทิ ารี่� (Pituitary gland) เนื่�องมาจากเป็น็ สารเคมีีจำ�ำ พวกเดียี วกัับฝิ่่�น
จึึงมีีฤทธิ์�บรรเทาอาการปวด (Analgesia) และทำำ�ให้้รู้้�สึกึ สุุขสบาย หรืือ
อีีกนััยหนึ่�ง สารเอ็็นโดรฟิินก็็คืือ ยาแก้้ปวดแบบธรรมชาติิ เอ็็นโดรฟิิน
มาจากคำำ�ว่า่ เอ็น็ โดจีเี นียี ส มอร์พ์ ีนี (Endogenous Morphine) ซึ่�งหมาย
ถึึงสารมอร์ฟ์ ีนี ที่่�ถููกผลิติ ขึ้�นภายในร่่างกายโดยธรรมชาติิ ซึ่�งไม่ก่ ่่อผลเสียี
ต่่อร่่างกาย เมื่�ออยู่�ในสภาวะที่่�สุุขสบายมีีการกระตุ้�นให้้สมองเกิิดการ
หลั่�งสารเอ็็นโดรฟิินขึ้�น เมื่�อสารเอ็็นโดรฟิินที่�หลั่�งออกมานี้�จะไปจัับกัับ
ตัวั รัับ (Receptor) ชนิิดฝิ่่�น (Opioid) ในสมอง ก็็จะมีผี ลโดยรวมทำ�ำ ให้้
เกิิดการหลั่�งของสารโดปามีีน (Dopamine) มากขึ้�น ซึ่�งก่อ่ ให้้เกิิดผลดีตี ่่อ
ร่่างกายต่า่ ง ๆ เช่่น บรรเทาความเจ็บ็ ปวด เกี่�ยวข้้องกับั สมดุลุ ความหิวิ
การนอนหลับั ระบบไหลเวียี นโลหิติ ระบบหายใจ ระบบควบคุมุ อุณุ หภูมู ิิ
ของร่่างกาย

นอกจากนี้้�ยัังมีีผลต่่อการควบคุุมการสร้้างฮอร์์โมนเพศ และที่�
สำำ�คััญสารเอ็็นโดรฟิิน สามารถส่่งเสริิมการทำำ�งานของระบบภููมิิคุ้�มกััน
ของร่่างกาย (Wybran J. 1985) โดยผลของการหััวเราะว่่าทำำ�ให้้เกิิด
การหลั่�งสารเอ็็นโดรฟิินในสมองมากขึ้�น จะเกิิดการกดการทำำ�งานของ
ฮอร์์โมนที่�หลั่�งเมื่�อร่่างกายเผชิิญกัับสภาวะที่�เครีียด (Stress hormone)
เช่่น อะดรีนี าลีนี (Adrenaline) เป็็นต้้น มีีผลทำ�ำ ให้เ้ นื้�อเยื่�อต่า่ ง ๆ ผ่่อน
คลายมากขึ้�น ทำ�ำ ให้้อาการปวดบรรเทาลง และมีีผลทำ�ำ ให้้หลอดเลืือด
ขยายตัวั ได้ด้ ีขีึ้�น ทำ�ำ ให้เ้ ม็ด็ เลือื ดขาวเดินิ ทางเข้า้ ไปฆ่า่ เชื้�อโรคหรือื สิ่�งแปลก
ปลอมได้ด้ ีขีึ้�น โอกาสเจ็บ็ ป่ว่ ยก็จ็ ะลดลง คือื ทำ�ำ ให้ส้ ุขุ ภาพแข็ง็ แรงขึ้�นนั่�นเอง

15คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝา่ วกิ ฤตโควดิ 19

ดัังนั้�น การที่่�มีีกิิจกรรมใดก็็ตามที่่�ทำ�ำ ให้้เรารู้้�สึึกเป็็นสุุข มีีการหลั่�ง
สารเอ็็นโดรฟิิน ย่่อมมีีส่่วนเสริิมความแข็็งแรงให้้กัับร่่างกายได้้เสมอ
ร่า่ งกายกับั จิติ ใจมีคี วามเชื่�อมประสานกันั อย่า่ งแยกไม่ไ่ ด้้ ในบางครั้�งเวลา
ไม่่สบายกาย จิิตใจก็็มักั หงุุดหงิิดหรืือหดหู่�ไปด้้วย หรือื เวลาที่�ไม่่สบายใจ
ร่่างกายก็็พลอยเบื่�ออาหาร นอนไม่่หลัับไปด้้วย ดัังนั้�นเวลาที่�คนเราไม่่
สบาย นอกจากการรับั ประทานยาตามแพทย์ส์ั่�งแล้้ว การอยู่�ในสภาวะที่�
มีีความสบายกาย และสบายใจ หรืือมีีความสุุขใจ ก็ม็ ีีผลดีตี ่อ่ อาการเจ็็บ
ป่่วยทางร่า่ งกาย (หมอเด่่น. 2552)

เนื้ �อหาดัังกล่่าวสอดคล้้องกัับที่ �พระพุุทธเจ้้าตรััสในพระไตรปิิฎก
เล่ม่ 25 “ยมกวรรค ที่� 1” ข้อ้ 11 ว่่า “ธรรมทั้�งหลายมีีใจเป็น็ หัวั หน้า้
มีีใจประเสริิฐที่่�สุุด สำ�ำ เร็็จแล้้วแต่่ใจ” หมายความว่่า “ใจเป็น็ ประธานของ
สิ่�งทั้�งปวง ใจเป็น็ ใหญ่่ ใจประเสริฐิ ที่่�สุดุ ทุุกสิ่�งสำำ�เร็จ็ ได้ด้ ้้วยใจ”

ในพระไตรปิิฎก เล่ม่ 19 “นขสิขิ าสูตู ร” ข้อ้ 1747 “ว่า่ ด้้วยทุกุ ข์์
ของพระอริิยะเท่่ากัับฝุ่�นที่�ปลายเล็็บ” หมายความว่่า ผู้้�ที่่�ดัับทุุกข์์ใจได้้
ซึ่�งพระพุุทธเจ้้าเปรีียบเทีียบทุุกข์์ใจว่่า มีีความแรงเท่่ากัับดิินทั้�งแผ่่นดิิน
จะเหลือื เพีียงทุุกข์์กายกัับเรื่�องร้้าย ซึ่�งพระพุทุ ธเจ้า้ เปรีียบเทีียบทุุกข์ก์ าย
กัับเรื่�องร้้ายว่่า มีคี วามแรงเท่า่ กัับฝุ่�นปลายเล็็บ

ในพระไตรปิฎิ ก เล่่ม 19 “เจลสูตู ร” ข้อ้ 1717 เมื่�อเกิดิ ทุกุ ข์ด์ ้้าน
ร่่างกายหรืือเรื่�องร้้าย พระพุุทธเจ้้าให้้รีีบพากเพีียรอย่่างทุ่�มโถมเอาจริิง
เอาจังั กัับการปฏิบิ ััติอิ าริยิ สัจั 4 เพื่�อดัับทุกุ ข์์ที่�ใจก่อ่ น ซึ่�งเป็็นสิ่�งที่่�จำ�ำ เป็็น
สำ�ำ คััญที่่�สุุดเป็็นอัันดัับแรก และจะทำ�ำ ให้้มีีประสิิทธิิภาพสููงสุุดในการ
ดัับทุกุ ข์ท์ ุุกอย่า่ ง

16 คู่มือสุขภาพพงึ่ ตน แพทย์วิถีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19

ในพระไตรปิิฎก เล่่ม 4 “มหาขันั ธกะ” ข้อ้ 1 พระพุทุ ธเจ้า้ ตรััสถึึง
ทุุกข์์ใจ ทำ�ำ ให้้เกิิดทุุกข์์ทั้�งหมดทั้�งมวลสืืบเนื่�องตามมา ส่่วนการใช้้หลััก
อาริยิ สัจั 4 ดับั ทุกุ ข์ใ์ จได้้ จะทำ�ำ ให้ด้ ับั ทุกุ ข์ท์ั้�งหมดทั้�งมวลสืบื เนื่�องต่อ่ มาได้้

และในพระไตรปิิฎก เล่่ม 20 ข้อ้ 167-178, เล่่ม 14 ข้อ้ 257
และ เล่ม่ 37 ข้อ้ 1698 พระพุทุ ธเจ้า้ ตรัสั ถึงึ ผู้�ที่�ปฏิบิ ัตั ิกิ ายหรือื วาจาหรือื
ใจที่่�ทุุจริิต ผิดิ ศีลี ไม่ด่ ีี จะได้ร้ ัับพลังั สร้้างผลที่�เลวร้้ายที่�ไม่่น่า่ ปรารถนา
ไม่่น่่าใคร่่ ไม่่น่่าพอใจต่่อผู้�นั้�น ทั้�งในภพชาติิที่่�ทำำ�นั้้�นส่่วนหนึ่�ง และภพ
ชาติิอื่�นๆ สืบื ไปอีีกส่่วนหนึ่�ง ตรงกันั ข้้ามผู้�ที่�ปฏิิบััติิกายหรืือวาจาหรือื ใจ
ที่่�สุุจริิต ถููกศีีล ดีงี าม จะได้ร้ ัับพลังั สร้้างผลที่่�ดีีที่่�น่่าปรารถนา น่า่ ใคร่่
น่า่ พอใจต่อ่ ผู้�นั้�น ทั้�งในภพชาติทิ ี่่�ทำ�ำ นั้้�นส่ว่ นหนึ่�ง และภพชาติอิื่�นๆ สืบื ไป
อีีกส่ว่ นหนึ่�ง

เนื้ �อหาดัังกล่่าวสอดคล้้องกัับการสร้้างเซลล์์ร่่างกายให้้แข็็งแรง
มีโี ครงสร้า้ งและโครงรูปู ปกติิ ตามหลักั การแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรม ด้า้ นนามธรรม
จะต้อ้ งปฏิบิ ัตั ิอิ าริยิ ศีลี (อาริยิ สัจั 4) ที่่�ถูกู ตรง จนเกิดิ สภาพใจไร้ท้ ุกุ ข์์ ใจดีี
งาม เป็น็ ลำ�ำ ดัับ จากพฤติกิ รรมดัังกล่่าว จะไม่่มีีวิบิ ากร้า้ ย จะมีแี ต่ว่ ิบิ าก
ดีี ไม่เ่ สียี พลัังไปสร้า้ งทุุกข์์ ไม่่เสีียพลังั ไปผลัักดันั ทุุกข์์ออก พลังั จะกลัับ
มาเป็็นของผู้�นั้�นทั้�งหมด ทำำ�ให้้กล้า้ มเนื้�อคลายตััว เพราะไม่่ต้้องเกร็ง็ ตัวั
บีีบเอาทุุกข์์ออก เลืือดลมจึึงไหลเวีียนสะดวก สารและพลัังงานที่�เป็็น
ประโยชน์์ถููกดููดเข้้าไปเลี้�ยงร่่างกายได้้ดีี สารและพลัังงานที่�เป็็นโทษถููก
ขับั ออกจากร่า่ งกายได้ด้ ีี สารเอ็น็ โดรฟินิ หลั่�งออกมาจากต่อ่ มใต้ส้ มองพิทิ ูู
อิิทารี่� (Pituitary gland) มีีผลทำำ�ให้เ้ ซลล์์ทั่�วร่า่ งกายแข็ง็ แรง มีโี ครงสร้้าง
และโครงรููปปกติิ ทำำ�หน้้าที่�ได้้ตามปกติิ ซึ่�งด้้านนามธรรมนั้�นจะมีีผลถึึง
ประมาณ 70 เปอร์์เซ็็นต์์ บวกเกิินร้้อยเปอร์์เซ็็นต์์ (ใจเพชร กล้้าจน.
2553, 2558 ; นิิตยาภรณ์์ สุรุ สาย. 2563)

17คู่มือสขุ ภาพพงึ่ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

โดยทำำ�ควบคู่�ไปกัับด้้านรููปธรรม คืือการรัับสารหรืือพลัังงานด้้าน
รููปธรรมที่�สมดุุลร้อ้ นเย็น็ กัับชีวี ิิต ณ เวลานั้�น เช่่น อาหารหรือื สมุุนไพร
ฯลฯ ที่�ใช้้หรืือสัมั ผัสั แล้้วรู้้�สึึกสบาย เบากาย มีกี ำำ�ลังั เป็็นอยู่�ผาสุกุ และ
ระบายสารหรืือพลัังงานที่�ไม่่สมดุุลร้้อนเย็็นออกจากชีีวิิต ด้้วยวิิธีีการ
ต่่างๆ ซึ่�งวิิธีีการรัับหรืือระบายสารหรืือพลัังงานที่�เป็็นรููปธรรมดัังกล่่าว
จะมีีผลประมาณ 30 เปอร์เ์ ซ็น็ ต์์ บวกลบ ในการทำำ�ให้้เซลล์ร์ ่า่ งกายแข็ง็
แรง โครงสร้้างและโครงรููปปกติิ ทำำ�หน้้าที่�ได้ต้ ามปกติิ (ใจเพชร กล้า้ จน.
2553, 2558; นิติ ยาภรณ์์ สุุรสาย. 2563)

ดัังนั้�น เซลล์์ร่่างกายที่�แข็็งแรง มีีโครงสร้้างและโครงรููปที่�ปกติิ ก็็
จะสามารถผลิิตเม็็ดเลืือดขาวและสารอิินเตอร์์เฟอรอนได้้ดีีที่่�สุุด มีี
ประสิทิ ธิภิ าพที่่�สุดุ ทำำ�ให้ส้ ามารถกำำ�จัดั เชื้�อไวรัสั โควิดิ เชื้�อโรคอื่�นๆ รวมถึงึ
โรคไม่ต่ ิดิ เชื้�ออื่�นๆ เช่น่ มะเร็ง็ เนื้�องอก ฯลฯ ได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพที่่�สุดุ

พระพุุทธเจ้า้ ตรััสในพระไตรปิฎิ ก เล่่ม 25 “อััตตวรรคที่� 12” ข้้อ
22 “ตนแลเป็น็ ที่�พึ่�งของตน” ในพระไตรปิฎิ ก เล่่ม 28 ข้อ้ 1, 073 “ที่�พึ่�ง
ของสัตั ว์ท์ั้�งปวงยิ่�งไปกว่า่ ทานไม่่มีี” และในพระไตรปิิฎก เล่ม่ 25 “จััตตา
ริิสูตู ร” ข้อ้ 281 “ดููกรภิกิ ษุุทั้�งหลายปััจจััยน้อ้ ย หาได้ง้ ่่ายและไม่่มีโี ทษ 4
อย่่างนี้� 4 อย่า่ งเป็น็ ไฉน ดูกู รภิิกษุทุั้�งหลายบรรดาจีวี ร ผ้า้ บัังสุกุ ุลุ น้้อย
หาได้้ง่า่ ยและไม่่มีีโทษ บรรดาโภชนะ คำ�ำ ข้้าวที่�ได้ด้ ้้วยปลีีแข้้ง น้้อย หาได้้
ง่า่ ยและไม่่มีโี ทษ บรรดาเสนาสนะ โคนไม้้ น้อ้ ย หาได้ง้ ่่ายและไม่ม่ ีโี ทษ
บรรดาเภสััช มูตู รเน่่า น้อ้ ย หาได้ง้ ่่ายและไม่่มีีโทษ ... ดูกู รภิกิ ษุทุั้�งหลาย
เรากล่่าวธรรมอย่่างใดอย่่างหนึ่�ง ของภิิกษุุซึ่�งเป็็นผู้้�สัันโดษด้้วยปััจจััยที่�
น้้อย หาได้้ง่่ายและไม่่มีีโทษ ว่่าเป็็นองค์์แห่่งความเป็็นสมณะฯ (ผู้�สงบ
จากบาปจากทุกุ ข์น์ ้้อยใหญ่่ได้้) ความคับั แค้น้ แห่่งจิิต ย่่อมไม่ม่ ีีแก่ภ่ ิกิ ษุุผู้�

18 คมู่ ือสขุ ภาพพ่ึงตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

สัันโดษ ด้ว้ ยปััจจัยั น้อ้ ย หาได้้ง่า่ ยและไม่่มีีโทษ เพราะปรารภเสนาสนะ
จีวี รปานะและโภชนะ ทิศิ ของเธอชื่�อว่า่ ไม่ก่ ระทบกระเทือื น ภิกิ ษุผุ ู้้�สันั โดษ
ไม่่ประมาทยึึดเหนี่ �ยวเอาไว้้ได้้ซึ่ �งธรรมอัันสมควรแก่่ธรรมที่ �พระตถาคต
ตรัสั บอกแล้้วแก่เ่ ธอ”

จะเห็็นได้้ว่่าพระพุุทธเจ้้า พบว่่า การพึ่�งตนและเกื้�อกููลช่่วยเหลืือ
กันั ในการดำ�ำ รงชีวี ิิตโดยใช้้ปััจจััย 4 คืือ อาหาร ยารัักษาโรค เครื่�องนุ่�ง
ห่ม่ ที่�อยู่�อาศััย ที่�ใช้น้ ้อ้ ย (ประหยัดั ) หาได้้ง่า่ ย (เรียี บง่า่ ย ทำำ�ได้้ง่า่ ย อยู่�
ใกล้ต้ ัวั หรือื อยู่�ในตัวั ) และไม่ม่ ีโี ทษ (เป็น็ ประโยชน์)์ เป็น็ หลักั ของชีวี ิติ ใช้้
อย่่างอื่�นเป็น็ รอง (เมื่�อจำำ�เป็็น) เป็็นข้อ้ ปฏิิบัตั ิสิ ำำ�คัญั ที่่�ทำำ�ให้ช้ ีวี ิติ พ้น้ ทุุกข์์

สอดคล้อ้ งกับั ที่�ในหลวงรัชั กาลที่� 9 ตรัสั ปรัชั ญาเศรษฐกิจิ พอเพียี ง
ว่่า “สรรพสิ่�งทั้�งหลายดำ�ำ รงอยู่�พร้้อมกัับเจริิญยั่�งยืืนไปได้้ เพราะมีีความ
สมดุลุ ในตััวเอง...” (พระราชดำ�ำ รัสั วัันที่� 8 สิิงหาคม 2534), “ต้้องทำำ�
แบบ “คนจน” เราไม่่เป็น็ ประเทศร่ำ���รวย เรามีีพอสมควร พออยู่�ได้้ แต่ไ่ ม่่
เป็น็ ประเทศที่่�ก้า้ วหน้า้ อย่า่ งมาก เพราะถ้า้ เราเป็น็ ประเทศก้า้ วหน้า้ อย่า่ ง
มาก ก็จ็ ะมีแี ต่่ถอยหลััง ประเทศเหล่า่ นั้�นที่�เป็น็ ประเทศที่่�มีีอุุตสาหกรรม
ก้้าวหน้้า จะมีีแต่่ถอยหลััง และถอยหลัังอย่่างน่่ากลััว แต่่ถ้้าเรามีีการ
บริหิ ารแบบเรียี กว่า่ แบบ “คนจน” แบบไม่ต่ ิดิ กับั ตำำ�รามากเกินิ ไป ทำำ�อย่า่ ง
มีสี ามัคั คีนีี่�แหละ คืือ เมตตากัันก็็จะอยู่�ได้ต้ ลอดไป... ถ้า้ เราใช้้ ตำ�ำ ราแบบ
“คนจน” ใช้ค้ วามอะลุ่�มอล่่วยกััน ตำำ�รานั้�นไม่จ่ บ เราจะก้า้ วหน้า้ เรื่�อย ๆ”
(พระราชดำ�ำ รััส วัันที่� 4 ธัันวาคม 2534) “ความหมายอีีกอย่่างของ
เศรษฐกิจิ หรือื ระบบพอเพียี ง... อยู่�ได้ด้ ้ว้ ยตนเอง (พึ่�งตนเอง)” (พระราช
ดำำ�รัสั วัันที่� 4 ธันั วาคม 2541),“เศรษฐกิิจพอเพีียงนี้� มีเี ป็็นขั้�น ๆ แต่จ่ ะ
บอกว่า่ เศรษฐกิจิ พอเพียี งนี้� ให้พ้ อเพียี งเฉพาะตัวั เองร้อ้ ยเปอร์เ์ ซ็น็ ต์น์ี่�เป็น็

19คมู่ อื สุขภาพพง่ึ ตน แพทย์วิถธี รรม ฝา่ วกิ ฤตโควดิ 19

สิ่�งที่่�ทำ�ำ ไม่่ได้้ จะต้้องมีีการแลกเปลี่�ยน ต้้องมีกี ารช่ว่ ยกััน... ให้ส้ ามารถที่�
จะดำำ�เนิินงานได้้” (พระราชดำำ�รัสั วัันที่� 23 ธันั วาคม 2542)

จะเห็็นได้้ว่่า ในหลวงรััชกาลที่� 9 ตรัสั สอดคล้้องกับั พระพุุทธเจ้้า
ถึงึ การปฏิบิ ัตั ิทิ ี่่�ทำำ�ให้ช้ ีวี ิติ อยู่�รอดปลอดภัยั อยู่�เย็น็ เป็น็ สุขุ นั้�น เน้น้ การดำำ�รง
ชีวี ิติ ให้ส้ มดุลุ ด้ว้ ยสิ่�งที่่�สำ�ำ คัญั จำำ�เป็น็ ประหยัดั เรียี บง่า่ ย พึ่�งตนเองได้เ้ ป็น็
หลััก พึ่�งคนอื่�นหรือื สิ่�งที่�ยุ่�งยากซัับซ้้อนเป็น็ รอง (เมื่�อจำำ�เป็น็ ) สิ่�งใดที่�เกินิ
กำำ�ลัังความสามารถ ก็็เกื้�อกููลช่่วยเหลือื กััน

จากหลัักการดัังกล่่าวข้้างต้้น สามารถบููรณาการผสมผสานการ
ดูแู ลสุุขภาพแผนต่า่ งๆ ด้้วยพุทุ ธศาสตร์์ และปรัชั ญาเศรษฐกิิจพอเพีียง
ไปสู่�การพึ่�งตน ด้ว้ ยสิ่�งที่�ประหยัดั เรีียบง่า่ ย เป็็นหลััก พึ่�งคนอื่�นหรือื สิ่�งที่�
ยุ่�งยากซับั ซ้อ้ นเป็น็ รอง (เมื่�อจำ�ำ เป็น็ ) เพื่�อเข้า้ สู่�สภาพที่�สมดุลุ อันั จะทำำ�ให้้
โรคหายหรืือทุุเลา เกิดิ ความแข็็งแรง อายุุยืนื ดังั นี้�

20 คมู่ ือสุขภาพพงึ่ ตน แพทย์วถิ ธี รรม ฝา่ วกิ ฤตโควดิ 19

ภาวะรอ้ นเย็นไม่สมดลุ จากการติดเชอ้ื โควดิ

เมื่�อติิดเชื้�อโควิิด ทำำ�ให้้โครงสร้้าง โครงรููปของเซลล์์ผิิดปกติิ เสีีย
หน้้าที่� เกิิดภาวะร้้อนเย็็นไม่่สมดุลุ ดัังนี้�

1. ภาวะไม่่สมดุุลแบบร้อ้ นเกิิน (กระทบอากาศ อาหาร สมุุนไพร
หรืือสิ่�งที่่�มีีฤทธิ์์�ร้อนแล้้วรู้้�สึึกไม่่สบาย กระทบสิ่�งที่่�มีีฤทธิ์�เย็็นรู้้�สึึกสบาย)
จากร่า่ งกายผลิติ พลังั งานมาต่อ่ สู้้�กับั เชื้�อโควิดิ ตามหลักั วิทิ ยาศาสตร์์ การ
ทำ�ำ งานของร่่างกายจะเกิิดกรดและความร้้อนที่�เป็็นของเสีีย เป็็นพิิษต่่อ
ร่า่ งกายขึ้�น แก้ไ้ ขด้ว้ ยการใช้ส้ิ่�งที่่�มีฤทธิ์�เย็น็ ลดหรือื งดสิ่�งที่่�มีฤทธิ์�ร้อน เท่่าที่�
รู้้�สึกึ สุุขสบาย เบากาย มีกี ำ�ำ ลััง หรืือไม่่สบายแต่่เบากาย มีกี ำำ�ลังั

2. ภาวะไม่ส่ มดุลุ แบบร้อ้ นเย็น็ เกิดิ ขึ้น�้ พร้อ้ มกันั (ร้อ้ นเย็น็ พันั กััน)
(กระทบอากาศ อาหาร สมุนุ ไพร หรือื สิ่�งที่่�มีฤี ทธิ์�ร้อนอย่า่ งเดียี วแล้ว้ รู้้�สึกึ
ไม่่สบาย กระทบสิ่�งที่่�มีีฤทธิ์�เย็็นอย่า่ งเดีียวก็็รู้้�สึึกไม่่สบาย แต่เ่ มื่�อกระทบ
ทั้�งสิ่�งที่่�มีีฤทธิ์์�ร้อนและเย็็นผสมกัันแล้้วรู้้�สึึกสบาย) จากกลไกที่่�ร่่างกาย
เกร็็งตััว (รีีเฟล็็กซ์)์ บีบี เอาพิิษโควิดิ พิิษกรดและความร้้อนออก จุุดที่�
ผลิิตพลัังงานขึ้�นมาเกร็็งตััวบีีบพิิษจะเกิิดภาวะร้้อนเกิิน ส่่วนจุุดที่�เลืือด
ลมไหลเวีียนไปเลี้�ยงไม่่ได้้และจุดุ ที่�หมดพลังั งานจะเกิิดภาวะเย็น็ เกินิ จึึง
เกิิดภาวะไม่่สมดุลุ แบบร้้อนเย็็นเกิิดขึ้�นพร้้อมกันั แก้ไ้ ขด้ว้ ยการใช้้สิ่�งที่่�มีี
ฤทธิ์�ร้อนและเย็็นผสมกััน เท่่าที่�รู้�สึกสุุขสบาย เบากาย มีีกำ�ำ ลััง หรืือไม่่
สบายแต่่เบากาย มีกี ำ�ำ ลังั

3. ภาวะไม่ส่ มดุลุ แบบเย็น็ เกินิ (กระทบอากาศ อาหาร สมุนุ ไพร หรือื
สิ่�งที่่�มีฤทธิ์�เย็น็ แล้ว้ รู้�สึกไม่ส่ บาย กระทบสิ่�งที่่�มีฤทธิ์�ร้อนรู้�สึกสบาย) จากกลไก
ที่่�ร่างกายผลิติ พลังั งานมาต่อ่ สู้้�กับเชื้�อโควิดิ รวมทั้�งเกร็ง็ ตัวั (รีเี ฟล็ก็ ซ์)์ บีบี
เอาพิษิ โควิดิ พิษิ กรดและความร้อ้ นออก ต่อ่ เนื่�องเป็น็ เวลานาน เลือื ดลมไหล
เวียี นไปเลี้�ยงร่า่ งกายไม่ไ่ ด้แ้ ละหมดพลังั งานจนเกิดิ ภาวะเย็น็ เกินิ แก้ไ้ ขด้ว้ ย

21คู่มอื สขุ ภาพพ่งึ ตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19

การใช้้สิ่�งที่่�มีีฤทธิ์�ร้อน ลดหรืืองดสิ่�งที่่�มีฤี ทธิ์�เย็็น เท่่าที่�รู้�สึกสุขุ สบาย เบา
กาย มีีกำ�ำ ลััง หรืือไม่่สบายแต่่เบากาย มีกี ำ�ำ ลััง

ต้อ้ งวินิ ิจิ ฉัยั ตรวจสอบว่า่ ณ เวลานั้�นมีภี าวะร้อ้ นเย็น็ ไม่ส่ มดุลุ แบบ
ใด เพื่�อนำ�ำ ไปสู่�การปรับั สมดุุลร้อ้ นเย็็นได้ถ้ ููกต้อ้ ง ซึ่�งจะทำ�ำ ให้้ โครงสร้้าง
โครงรูปู ของเซลล์ป์ กติิ ทำำ�หน้้าที่�ได้ต้ ามปกติิ สามารถสร้้างเม็ด็ เลืือดขาว
และสารอินิ เทอร์์โฟรอนมากำ�ำ จัดั เชื้�อไวรััสโควิิดได้้

5 วธิ แี รกที่มีประสิทธภิ าพสูง
ในการปรบั สมดลุ รอ้ นเย็นสู้ภัยโควดิ

5 วิิธีีแรกที่่�มีีประสิิทธิิภาพสููงในการปรัับสมดุุลร้้อนเย็็นด้้วยหลััก
การแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรมเพื่�อการพึ่�งตนตามแนวเศรษฐกิจิ พอเพียี ง ในการแก้ไ้ ข
หรืือบรรเทาอาการไม่่สบายจากการติิดเชื้�อโควิิด หรือื อาการคล้้ายโควิดิ
หรือื อาการข้้างเคีียงจากการรับั วัคั ซีีนป้้องกัันโควิดิ

5 วิธิ ีดี ังั กล่า่ วนั้�นจะช่ว่ ยลดไข้้ แก้ไ้ อ ขับั เสมหะ แก้ค้ ัดั จมูกู น้ำ�ำ �มูกู ไหล
หายใจลำ�ำ บาก คัันตามส่่วนต่า่ งๆ ของร่า่ งกาย ขัับปััสสาวะ แก้้ท้อ้ งเสียี
ขับั พิษิ ในร่่างกาย ปรับั สมดุุลร้อ้ นเย็็น ลดอาการไม่่สบายอื่�น ๆ และเพิ่�ม
ภูมู ิติ ้้านทาน

ข้อ้ ควรตระหนักั ที่่�สำ�ำ คัญั ยิ่่�งในการรักั ษาโรค หรือื ดูแู ลแก้ไ้ ขปัญั หา

สุขุ ภาพ คืือ การเพิ่่�มศีลี จะทำำ�ให้้ทุกุ วิธิ ีใี นการรักั ษามีปี ระสิทิ ธิิภาพเพิ่ �ม
ขึ้�น ส่ว่ นการผิดิ ศีลี จะทำ�ำ ให้ท้ ุกุ วิธิ ีใี นการรักั ษามีปี ระสิทิ ธิภิ าพลดลง และ
ประเด็น็ ที่่�สำ�ำ คัญั อีกี อย่า่ งหนึ่�ง คือื พระพุทุ ธเจ้า้ และการแพทย์ท์ ุกุ แผนพบ
ว่า่ แต่ล่ ะคนมีอี งค์ป์ ระกอบของชีวี ิติ แตกต่า่ งกันั จึงึ ถูกู กับั วิธิ ีกี าร หรือื สิ่�งที่�
ใช้ใ้ นการรักั ษาแตกต่า่ งกันั ไป ซึ่�งเป็น็ ที่�มาของคำ�ำ กล่า่ วที่่�ว่า่ “ลางเนื้�อชอบ
ลางยา” คืือแต่ล่ ะคน ถูกู กัับแต่ล่ ะสิ่�งแต่ล่ ะอย่่างไม่เ่ หมืือนกััน

22 คู่มือสขุ ภาพพง่ึ ตน แพทยว์ ิถธี รรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

ดัังนั้�น พระพุุทธเจ้้าและหลัักการพยาบาลจึึงยืืนยัันว่่า สิ่�งที่่�ทำำ�ให้้
หายหรืือทุเุ ลาจากโรค ทำ�ำ ให้้มีโี รคน้้อย แข็็งแรง อายุยุ ืนื คือื ให้เ้ ลือื กใช้้
วิธิ ีทีี่�ผู้�นั้�นรู้้�สึกึ สุุขสบาย เบากาย มีกี ำ�ำ ลังั เป็็นอยู่�ผาสุกุ

5 วธิ ดี ังกล่าว มีรายละเอยี ดดังน้ี

1. การรบั ประทานสมุนไพรปรบั สมดุล

กรณีีมีีภาวะร้้อนเกินิ ดื่�มน้ำ�ำ �สมุุนไพรฤทธิ์�เย็น็ สดจากธรรมชาติิ
วิธิ ีีทำำ� ใช้้สมุุนไพรฤทธิ์�เย็น็ เช่่น ใบข้า้ ว ครึ่�ง-1 กำ�ำ มือื ใบย่า่ นาง

เขียี ว 5-20 ใบ ใบเตย 1-3 ใบ บััวบก ครึ่�ง-1 กำ�ำ มืือ หญ้า้ ปัักกิ่�ง 1-5 ต้้น
ใบอ่่อมแซบ (เบญจรงค์์) ครึ่�ง-1 กำ�ำ มืือ ผัักบุ้�ง ครึ่�ง-1 กำำ�มืือ ใบเสลด
พัังพอน ครึ่�ง-1 กำำ�มือื หยวกกล้้วย ครึ่�ง-1 คืบื และว่า่ นกาบหอย 3-5
ใบ เป็็นต้้น จะใช้อ้ ย่า่ งใดอย่่างหนึ่�งหรือื หลายอย่่างรวมกัันก็็ได้้ โขลกให้้
ละเอีียดหรือื ขยี้�หรืือปั่่น� ผสมกัับน้ำำ��เปล่า่ 1-3 แก้้ว (200-600 ซีซี ีี) กรอง
ผ่า่ นกระชอน เอาน้ำ�ำ �ที่่�ได้ม้ าดื่�ม ครั้�งละประมาณ ครึ่�ง-1 แก้้ว วัันละ 1-3

ครั้�ง ก่่อนอาหารหรืือตอนท้้องว่่าง
หรืือดื่�มเมื่�อรู้้�สึกึ ไม่่สบาย ปริิมาณการ
ดื่ �มและความเข้้มข้้นของสมุุนไพรอาจ
มากหรืือน้้อยกว่่านี้้�ก็็ได้้ ตามความ
รู้้�สึึกสุุขสบาย เบากาย มีกี ำ�ำ ลังั

23คู่มอื สขุ ภาพพึง่ ตน แพทย์วิถีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

กรณีมี ีภี าวะร้อ้ นเกินิ และเย็น็ เกินิ เกิดิ ขึ้�นพร้อ้ มกันั ให้ก้ ดน้ำำ��ร้อ้ นใส่่
น้ำ�ำ �สมุุนไพรฤทธิ์�เย็น็ หรืือนำ�ำ ไปต้้มให้้เดืือดก่่อนดื่�ม หรือื อาจนำ�ำ สมุนุ ไพร
ฤทธิ์�ร้อนมาผสมในสัดั ส่่วนใกล้้เคียี งกัันก่่อนดื่�มก็ไ็ ด้้ เช่่น ผสมน้ำำ��ต้้มขมิ้�น
ขิิง ข่า่ ตะไคร้้ กะเพรา โหระพา กระเทีียม กระชาย มะตููม เป็น็ ต้้น

กรณีีมีีภาวะเย็็นเกิิน ต้้มน้ำำ��สมุุนไพรฤทธิ์�เย็็นจนน้ำำ��สมุุนไพรลด
ลงครึ่�งหนึ่�งหรืือน้้อยกว่่าครึ่�ง หรืือผสมสมุุนไพรฤทธิ์์�ร้อนในสััดส่่วนที่�
สมุุนไพรฤทธิ์�ร้อนมากกว่่า (ปริิมาณสมุุนไพรฤทธิ์�ร้อนที่�เหมาะสมเฉลี่�ย
ประมาณ 1-3 ข้อ้ นิ้�วมือื ต่่อครั้�ง อาจปรัับปริมิ าณมากหรืือน้้อยกว่า่ นี้�ได้้
ตามความรู้้�สึกึ สุุขสบาย เบากาย มีกี ำำ�ลัังของแต่ล่ ะคน)

ตัวั อย่า่ งสมุนุ ไพรฤทธิ์์เ� ย็น็ ต้น้ ข้า้ ว ย่า่ นาง ใบเตย ผักั บุ้�ง เบญจรงค์์
(อ่อ่ มแซบ) บัวั บก ต้น้ กล้ว้ ย (ทุกุ ส่ว่ น) หญ้า้ ปักั กิ่�ง หญ้า้ ม้า้ หญ้า้ ปราบใบมน
หญ้า้ ปราบใบแหลม ว่า่ นกาบหอย ว่า่ นหางจระเข้้ ว่า่ นฮง็อ็ ก ว่า่ นมหากาฬ
สะระแหน่่ สายบััว เสลดพัังพอนตัวั เมียี ผัักสลััด น้ำำ��นมราชสีีห์์ ผัักเป็ด็
น้ำ�ำ �มะกรูดู น้ำ�ำ �มะนาว รางจืดื ต้้นขี้�กา (ทั้�ง 5) รากและต้น้ หญ้า้ คา รากหญ้า้
ขัดั มอญ หญ้า้ เอ็น็ ยืดื หญ้า้ ถอดปล้อ้ ง ฟ้า้ ทะลายโจร บอระเพ็ด็ หูเู สือื ลูกู ใต้ใ้ บ
ขี้�ไก่่ย่่าน (ตู้�ตี้�) เป็น็ ต้น้

สมุุนไพรฤทธิ์์�ร้อ้ นเย็็นผสมกันั เช่่น ผักั กาดนา (ช่ว่ ยชาติ)ิ ปืืนนก
ไส้้ (ช่ว่ ยชีีพ) เพื่�อนพริกิ (ชู้�พริกิ ) เปลือื ก/ใบมะกรูดู เปลือื ก/ใบมะนาว
โคคลาน (โคคลานมีรี สขม (ฤทธิ์�เย็น็ ) และเบื่�อเมา (ฤทธิ์�ร้อน)) สาบเสือื
ไมยราบยักั ษ์์ ไมยราบเล็ก็ ใบเปล้า้ ใบหนาดนา ใบเปล้า้ โกฐจุฬุ าลัมั พา
(โกฐจุฬุ าลัมั พา ใช้เ้ ล็ก็ น้อ้ ยเป็น็ ยา ใช้ม้ ากเป็น็ พิษิ ) เป็น็ ต้น้

24 คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทยว์ ถิ ธี รรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

ตััวอย่่างสมุุนไพรฤทธิ์์�ร้้อน พริิก ตะไคร้้ ขมิ้�น ขิิง ข่่า กะเพรา
โหระพา กระเทียี ม กระชาย พริกิ ไทย หอมแดง ผักั กาดไร่่ ลูกู ยอ ราก
ถั่�วพูู ยูคู าลิิปตัสั การบูรู (โสมจีนี โสมเกาหลีี ชา เหมาะสำำ�หรัับเมืืองที่�
สมุนุ ไพรเหล่า่ นี้�เกิิดได้ง้ ่่าย) (ยูคู าลิปิ ตัสั การบูรู ใช้เ้ ล็ก็ น้อ้ ยเป็น็ ยา ใช้ม้ าก
เป็็นพิษิ ) เป็น็ ต้น้

ตััวอย่า่ งสมุุนไพรหอมระเหย ใบเตย สะระแหน่่ เปลือื ก/ใบมะกรูดู
เปลือื ก/ใบมะนาว สาบเสือื โกฐจุฬุ าลัมั พา ใบหนาด ตะไคร้้ ขมิ้�น ขิงิ ข่า่
กะเพรา โหระพา กระเทีียม กระชาย พริิกไทย หอมแดง ผัักกาดไร่่
(โกฐจุฬุ าลัมั พา ยููคาลิิปตััส การบููร ใช้เ้ ล็ก็ น้อ้ ยเป็น็ ยา ใช้ม้ ากเป็็นพิิษ)

ใช้เมอ่ื ไมส่ บาย หยดุ ใชเ้ ม่อื ใชแ้ ล้วเท่าเดมิ หรอื แย่ลง

หลักการเลือกใชส้ มุนไพรด้วยทฤษฎีน�้ำ 12 แก้ว

เตรียี มสมุนุ ไพร 12 แก้ว้ (แบบ) ประกอบด้ว้ ย

1. น้ำ�ำ �เปล่่า
2. น้ำำ��อุ่่�น
3. น้ำำ��ร้อ้ น
4. สมุุนไพรฤทธิ์�เย็น็ ในน้ำ�ำ �เปล่า่
5. สมุุนไพรฤทธิ์�เย็็นในน้ำ�ำ �อุ่่�น
6. สมุุนไพรฤทธิ์�เย็็นในน้ำ�ำ �ร้อ้ น
7. สมุุนไพรฤทธิ์�ร้อนเย็น็ ผสมกัันในน้ำำ��เปล่า่
8. สมุนุ ไพรฤทธิ์�ร้อนเย็็นผสมกัันในน้ำำ��อุ่่�น
9. สมุนุ ไพรฤทธิ์�ร้อนเย็น็ ผสมกัันในน้ำำ��ร้อ้ น
10. สมุนุ ไพรฤทธิ์�ร้อนในน้ำ�ำ �เปล่า่
11. สมุนุ ไพรฤทธิ์�ร้อนในน้ำ�ำ �อุ่่�น
12. สมุุนไพรฤทธิ์�ร้อนในน้ำ�ำ �ร้อ้ น

25คูม่ อื สุขภาพพ่งึ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19

ผสมสมุนไพร ผสมสมุนไพร ผสมสมุนไพร
ฤทธเิ์ ย็น ฤทธิร์ อ้ นเย็น ฤทธิร์ ้อน

จากนั้�นทดลองน้ำ�ำ �สมุนุ ไพรทีลี ะอย่า่ ง เอามาดม ทา หรือื ดื่�ม แล้ว้
ดูผู ลภายใน 10-20 นาทีีว่่าสัมั ผัสั อะไรแล้้วรู้้�สึกึ สบายหรืือไม่่สบาย แล้ว้
เลืือกใช้้ตััวที่่�รู้้�สึกสบายแสดงว่่าตััวนั้�นถููกกัันกัับเรา ใช้้ในปริิมาณที่่�รู้้�สึก
สบาย ให้ใ้ ช้้ไปเรื่�อย ๆ เท่่าที่�รู้�สึกสบาย จนกว่า่ จะรู้้�สึึกว่่าอาการเท่า่ เดิมิ
หรืือแย่่ลง แสดงว่่าสมุุนไพรที่�ใช้้มากเกิินพอดีี เกิินสมดุลุ แล้ว้ ให้ห้ ยุุดใช้้

เมื่่�อเพิ่่�มศีีล จะทำ�ำ ให้้ระบบประสาทดีี การวิินิิจฉััยโรคแม่่นยำ�ำ
และการรัักษามีีประสิิทธิิภาพเพิ่�่มขึ้�้น ส่่วนการผิิดศีีล จะทำำ�ให้้ระบบ
ประสาทไม่่ดีี การวิินิิจฉััยผิิดพลาด และการรัักษามีีประสิิทธิิภาพลดลง

26 คูม่ อื สขุ ภาพพงึ่ ตน แพทย์วิถีธรรม ฝา่ วิกฤตโควดิ 19

ตัวั อย่า่ งนำ�้ สกัดั (กลั่่น� ) สมุนุ ไพรฤทธิ์์ร� ้อ้ นเย็น็ ปรับั สมดุลุ
น้ำ�ำ �สกัดั สมุุนไพร สามารถเก็็บไว้ไ้ ด้้นาน 1-3 ปีี หรือื จนกว่า่ กลิ่�น
หรือื รสเปลี่�ยนจากเดิิม เป็็นวิธิ ีีที่่�ทำำ�ให้้สมุนุ ไพรมีฤี ทธิ์�เร็็วและแรง ทำำ�ให้้
เหมาะสมกัับการใช้้ในช่่วงที่�หาสมุุนไพรสดไม่่ได้้ หรืือมีีอาการป่่วยที่�
ต้้องการความรวดเร็ว็ และแรงในการรักั ษา
1. กรณีีเป็็นภาวะร้้อนเกิิน ใช้้น้ำ�ำ �สกััดสมุุนไพรฤทธิ์�เย็็นประมาณ
1-3 ช้อ้ นแกง ผสมกับั น้ำำ��เปล่่าหรือื น้ำ�ำ �สมุุนไพรฤทธิ์�เย็็นสด ประมาณ 1
แก้ว้ (ประมาณ 200 ซีซี ี)ี แล้ว้ ดื่�มก่อ่ นอาหาร หรือื ตอนท้อ้ งว่า่ ง หรือื ตอน
รู้้�สึึกไม่่สบาย ดื่�มประมาณ ครั้�งละครึ่�ง - 1 แก้้ว สามารถปรับั ปริิมาณ
การดื่�มและความเข้้มข้น้ ของสมุุนไพรตามความต้้องการของร่่างกาย คืือ
ดื่�มเท่่าที่�รู้�สึก สบาย เบากาย มีกี ำ�ำ ลังั
2. กรณีีเป็็นภาวะร้้อนเย็็น เกิิดขึ้�นพร้้อมกััน ใช้้น้ำำ��สกััดสมุุนไพร
ฤทธิ์�เย็น็ ประมาณ 1-3 ช้อ้ นแกง ผสมน้ำ�ำ �อุ่่�นหรือื น้ำ�ำ �ร้อ้ น หรือื น้ำ�ำ �สมุนุ ไพร
ฤทธิ์�ร้อน ประมาณ 1 แก้ว้ (ประมาณ 200 ซีีซี)ี แล้ว้ ดื่�มก่อ่ นอาหาร หรือื
ตอนท้อ้ งว่่าง หรืือตอนรู้้�สึกึ ไม่ส่ บาย ดื่�มประมาณ ครั้�งละครึ่�ง - 1 แก้ว้
หรืือใช้้น้ำ�ำ �สกััดสมุุนไพรฤทธิ์�เย็็นผสมน้ำำ��สกััดสมุุนไพรฤทธิ์�ร้อน อย่่างละ
ประมาณ 1-3 ช้้อนแกง แล้้วดื่�มก่อ่ นอาหาร หรืือตอนท้อ้ งว่่าง หรือื ตอน
รู้้�สึึกไม่ส่ บาย สามารถปรัับปริมิ าณการดื่�มและความเข้ม้ ข้้นของสมุุนไพร
ตามความต้อ้ งการของร่่างกาย คือื ดื่�มเท่่าที่�รู้�สึก สบาย เบากาย มีกี ำำ�ลังั
3. กรณีีเป็็นภาวะเย็็นเกิิน ใช้้น้ำ�ำ �สกััดสมุุนไพรฤทธิ์ �ร้อนประมาณ
1-3 ช้อ้ นแกง ผสมน้ำำ��ร้อ้ น หรือื น้ำำ��สมุุนไพรฤทธิ์�ร้อน ประมาณ 1 แก้ว้
(ประมาณ 200 ซีซี ี)ี แล้ว้ ดื่�มก่อ่ นอาหาร หรือื ตอนท้อ้ งว่า่ ง หรือื ตอนรู้้�สึกึ
ไม่ส่ บาย ดื่�มประมาณ ครั้�งละครึ่�ง - 1 แก้ว้ สามารถปรับั ปริมิ าณการดื่�ม
และความเข้ม้ ข้น้ ของสมุนุ ไพรตามความต้อ้ งการของร่า่ งกาย คือื ดื่�มเท่า่ ที่�
รู้้�สึึก สบาย เบากาย มีกี ำำ�ลััง

ใช้้เมื่่�อไม่่สบาย หยุดุ ใช้้เมื่่�อใช้แ้ ล้ว้ เท่า่ เดิมิ หรืือแย่ล่ ง

27ค่มู ือสขุ ภาพพ่ึงตน แพทย์วิถธี รรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

นำ�้ สกัดสมุนไพรพลังศีล

ส่ว่ นผสม

1) สมุุนไพรฤทธิ์�เย็น็ หรืือสมุุนไพรฤทธิ์�ร้อนเย็็นผสมกััน 7 ส่ว่ น
2) สมุุนไพรฤทธิ์�ร้อน 3 ส่ว่ น
3) สมุนุ ไพรหอมระเหย 1 ใน 3 ส่ว่ น

28 คู่มอื สุขภาพพ่ึงตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

ตัวอยา่ งนำ�้ 3 พลังพุทธ
ลดไข้้ แก้ไ้ อ ขับั เสมหะ แก้ค้ ัดั จมูกู น้ำ�ำ �มูกู ไหล หายใจลำ�ำ บาก คันั ตาม
ส่ว่ นต่า่ ง ๆ ของร่า่ งกาย ขับั ปัสั สาวะ แก้ท้ ้อ้ งเสียี ขับั พิษิ ในร่า่ งกาย ปรับั
สมดุลุ ร้อ้ น-เย็น็ ลดอาการไม่ส่ บายอื่�น ๆ และเพิ่�มภูมู ิติ ้า้ นทาน
ส่ว่ นผสม น้ำ�ำ �สกัดั สมุนุ ไพรฤทธิ์�เย็น็ 1-3 ช้อ้ นแกง ผงถ่า่ น 1 ช้อ้ นชา
น้ำ�ำ �มัันเขีียว 1-3 หยด

สูตู รที่่� 1

1) น้ำ�ำ �สกััดสมุุนไพรฤทธิ์�เย็็น 1-3 ช้้อนแกง 2) ผงถ่่าน 1 ช้อ้ นชา
3) น้ำ�ำ �สกััดสมุนุ ไพรที่่�มีีน้ำ�ำ �มัันหอมระเหย 1-5 หยด หรืือน้ำำ��มันั เขีียว 1-3
หยด (เลืือกใช้ท้ี่�รู้�สึกสบาย)

สููตรที่่� 2

1) น้ำ�ำ �สกัดั สมุนุ ไพร 1-3 ช้อ้ นแกง (ใช้น้ ้ำ�ำ �สกัดั สมุนุ ไพรฤทธิ์�เย็น็ หรือื
ฤทธิ์�ร้อนเย็น็ ) ผสมกันั 7 ส่ว่ น ผสมกับั สมุนุ ไพรฤทธิ์�ร้อน 3 ส่ว่ น สามารถ
ปรับั สัดั ส่ว่ นได้เ้ ท่า่ ที่�รู้�สึกสบาย) 2) ผงถ่า่ น 1 ช้อ้ นชา 3) น้ำ�ำ �สกัดั สมุนุ ไพรที่่�มีี
น้ำ�ำ �มันั หอมระเหย 1-5 หยด หรือื น้ำ�ำ �มันั เขียี ว 1-3 หยด (เลือื กใช้ท้ี่�รู้�สึกสบาย)

โดยเลือื กใช้ส้ ูตู รที่� 1 หรือื สูตู รที่� 2 ตามที่�เมื่�อใช้แ้ ล้ว้ รู้้�สึกสบาย และ
สามารถปรับั ปริมิ าณของส่ว่ นผสมในแต่ล่ ะข้อ้ แต่ล่ ะชนิดิ ของสูตู รที่� 1 หรือื
สูตู รที่� 2 ได้ต้ ามที่�เมื่�อใช้แ้ ล้ว้ รู้้�สึกสบาย คือื อาจผสมเป็น็ น้ำ�ำ � 1 พลังั พุทุ ธ
หรือื 2 พลังั พุทุ ธ (น้ำ�ำ �สกัดั สมุนุ ไพร หรือื ผงถ่า่ น หรือื น้ำ�ำ �มันั เขียี ว อย่า่ งใด
อย่า่ งหนึ่�ง หรือื 2 อย่า่ ง ตามที่่�มีแี ละใช้แ้ ล้ว้ รู้้�สึกสบาย)

วิิธีีใช้้ 1. กรณีเี ป็น็ ภาวะร้อ้ นเกินิ ใช้น้ ้ำ�ำ � 3 พลังั พุทุ ธประมาณ 1-3
ช้อ้ นแกง ผสมกับั น้ำ�ำ �เปล่า่ หรือื น้ำ�ำ �สมุนุ ไพรฤทธิ์�เย็น็ สด ประมาณ 1 แก้ว้
(ประมาณ 200 ซีซี ี)ี แล้ว้ ดื่�มก่อ่ นอาหาร หรือื ตอนท้อ้ งว่า่ ง หรือื ตอนรู้้�สึก
ไม่ส่ บาย ดื่�มประมาณ ครั้�งละครึ่�ง-1 แก้ว้ สามารถปรับั ปริมิ าณการดื่�ม
และความเข้ม้ ข้น้ ของสมุนุ ไพรตามความต้อ้ งการของร่า่ งกาย คือื ดื่�มเท่า่ ที่�
รู้้�สึก สบาย เบากาย มีกี ำ�ำ ลังั

29คูม่ ือสุขภาพพ่ึงตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

2. กรณีีเป็็นภาวะร้้อนเย็็นเกิิดขึ้้�นพร้้อมกััน ใช้้น้ำ�ำ � 3 พลัังพุุทธ
ประมาณ 1-3 ช้้อนแกง ผสมน้ำำ��อุ่่�น หรืือน้ำ�ำ �สมุุนไพรฤทธิ์์�ร้้อนเจืือจาง
ประมาณ 1 แก้ว้ (ประมาณ 200 ซีซี ี)ี แล้ว้ ดื่�มก่อ่ นอาหาร หรือื ตอนท้้อง
ว่่าง หรืือตอนรู้้�สึกึ ไม่่สบาย ดื่�มประมาณ ครั้�งละครึ่�ง - 1 แก้้ว สามารถ
ปรับั ปริมิ าณการดื่�มและความเข้ม้ ข้น้ ของสมุนุ ไพรตามความต้อ้ งการของ
ร่่างกาย คือื ดื่�มเท่า่ ที่�รู้�สึก สบาย เบากาย มีกี ำำ�ลังั

3. กรณีเี ป็็นภาวะเย็น็ เกินิ ใช้น้ ้ำ�ำ � 3 พลัังพุทุ ธประมาณ 1-3 ช้อ้ น
แกง ผสมน้ำ�ำ �ร้้อน หรืือน้ำำ��สมุุนไพรฤทธิ์์�ร้้อนเข้้มข้้นประมาณ 1 แก้้ว
(ประมาณ 200 ซีซี ี)ี แล้ว้ ดื่�มก่อ่ นอาหาร หรือื ตอนท้อ้ งว่า่ ง หรือื ตอนรู้้�สึกึ
ไม่ส่ บาย ดื่�มประมาณ ครั้�งละครึ่�ง - 1 แก้ว้ สามารถปรับั ปริมิ าณการดื่�ม
และความเข้ม้ ข้น้ ของสมุนุ ไพรตามความต้อ้ งการของร่า่ งกาย คือื ดื่�มเท่า่ ที่�
รู้้�สึึก สบาย เบากาย มีกี ำำ�ลััง

ใช้้เมื่่�อไม่่สบาย หยุุดใช้เ้ มื่่�อใช้้แล้ว้ เท่า่ เดิมิ หรืือแย่ล่ ง
เมื่�่อเพิ่ม�่ ศีลี การรัักษามีปี ระสิิทธิิภาพเพิ่�่มขึ้�น้ ส่่วนการผิิดศีีล การ
รักั ษามีีประสิิทธิภิ าพลดลง

30 คู่มอื สขุ ภาพพ่ึงตน แพทย์วถิ ธี รรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19

2. การสูดดมสมุนไพร อบ อาบ เชด็ สมุนไพร หยอดจมูก
หรอื ล้างจมูก

เพื่อลดอาการไข้ ไอ คดั จมูก น้ำ�มูกไหล หายใจล�ำ บาก ช่วยขับเสมหะ
วิิธีใี ช้้

วิิธีีที่่� 1 นำำ�น้ำำ��มัันเขียี ว 1-3 หยดมาสูดู ดม หรืือนำำ�น้ำำ��มันั เขีียว 1-3
หยด หรืือน้ำำ��สมุนุ ไพรสกัดั (กลั่�น)1-3 ช้้อนแกง ผสมในน้ำำ��อุ่่�น เพื่�อสููดดม
หรือื เลือื กน้ำำ��สมุนุ ไพรฤทธิ์�ร้อนเย็น็ ที่่�ถูกู กันั (เมื่�อสูดู ดมหรือื สัมั ผัสั แล้ว้ รู้้�สึกึ
สบาย) สมุนุ ไพรสดหรืือแห้้ง ประมาณ ครึ่�ง-1 กำ�ำ มืือ หรือื สมุนุ ไพรสกัดั
(กลั่�น) ประมาณ 1-3 ช้้อนแกง หรือื น้ำ�ำ �มันั เขีียว 1-3 หยด นำำ�ไปต้้มกับั
น้ำำ��เปล่า่ ประมาณ 1-3 แก้้ว เดือื ดประมาณ 3-5 นาทีี ยกลงจากเตา ใช้้
ผ้า้ คลุุมศีีรษะสูดู ไอระเหย เท่่าที่�รู้�สึกสบาย

วิธิ ีทีี่่� 2 เลือื กสมุนุ ไพรฤทธิ์์ร� ้อ้ นเย็น็ ที่่�ถูกู กันั (เมื่�อสูดู ดมหรือื สัมั ผัสั
แล้ว้ รู้้�สึึกสบาย) สมุุนไพรสดหรือื แห้้ง ประมาณ 1-3 กำำ�มืือ หรืือสมุุนไพร
สกััด (กลั่�น) ประมาณ 1-3 ช้้อนแกง หรืือน้ำำ��มันั เขีียว 1-3 หยด นำำ�ไป
ต้ม้ กัับน้ำำ��เปล่า่ ประมาณ 1-3 ขันั (ลิิตร) โดยใส่่หม้อ้ หุุงข้้าวไฟฟ้้า หรือื
กระทะไฟฟ้้า หรืือต้้มโดยเชื้�อเพลิิงหรืือความร้้อนอื่�นๆให้้เดืือด แล้้วยก
ลงจากเตา ใช้้เก้้าอี้�คร่่อมหม้้อสมุุนไพร ใช้้ผ้้าห่่มคลุุมตััวหรืือคลุุมศีีรษะ
หรือื ทำำ�กระโจมแบบง่า่ ยๆ

31คู่มอื สขุ ภาพพึง่ ตน แพทยว์ ถิ ธี รรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

32 คมู่ อื สขุ ภาพพงึ่ ตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

วิิธีีที่่� 3 นำ�ำ สมุุนไพรที่่�ใช้้อบในวิิธีีที่่� 2 ที่่�ถููกกััน คืือสััมผััสแล้้วรู้้�สึึก
สบาย ผสมน้ำำ��เปล่่าให้้อุ่�นสบายนำ�ำ มาอาบเท่า่ ที่�รู้�สึกสบาย

วิธิ ีทีี่่� 4 เลือื กสมุนุ ไพรฤทธิ์์ร� ้อ้ นเย็น็ ที่่�ถูกู กันั (เมื่�อสูดู ดมหรือื สัมั ผัสั
แล้้วรู้้�สึกึ สบาย) สมุุนไพรสดหรืือแห้้ง ประมาณ 1-3 กำำ�มือื หรืือสมุุนไพร
สกััด (กลั่�น) ประมาณ 1-3 ช้้อนแกง หรือื น้ำำ��มันั เขีียว 1-3 หยดผสมน้ำ�ำ �
เปล่า่ 1-3 ขััน (ลิิตร) หรืือใส่น่ ้ำำ��ร้อ้ น 1-3 ขััน (ลิิตร) แล้ว้ นำำ�น้ำำ��ดังั กล่่าว
มาผสมน้ำำ��ให้้อุ่�น นำำ�มาเช็็ดตััวเท่่าที่�รู้�สึกสบาย โดยเน้้นบริิเวณ หน้้าอก
บ่่า หลังั แขน

วิธิ ีที ี่่� 5 ใช้น้ ้ำ��ำ สกััดสมุนุ ไพรที่่�ถููกกันั 1-5 หยดหยอดจมููก
วิิธีทีี่่� 6 ใช้น้ ้ำ��ำ สกััดสมุุนไพรที่่�ถูกู กััน 1-3 ซีีซีี ใส่เ่ ครื่�องพ่่นจมููก
วิิธีทีี่่� 7 ใช้น้ ้ำำ�� สกััดสมุนุ ไพรที่่�ถูกู กััน 1-5 หยด หรืือเกลืือ ประมาณ
1-3 เมล็ด็ ถั่�วเขียี ว ผสมน้ำ�ำ �เปล่่าหรือื น้ำำ��อุ่่�นเล็็กน้อ้ ย ประมาณ ครึ่�ง - 1
แก้้ว สููดเข้า้ จมูกู แล้้วสั่�งออก เท่่าที่�รู้�สึกสบาย
เมื่�อเกิดิ อาการไข้้ ไอ คัดั จมูกู น้ำำ��มูกู ไหล หายใจไม่ส่ ะดวก มีเี สมหะ
เลืือกใช้้ตามความเหมาะสมว่่ารู้้�สึึกสบายกัับวิิธีีใด หยุุดใช้้เมื่�อใช้้แล้้ว
เท่่าเดิิม หรืือแย่่ลง

3. การออกกำ�ลังกาย กดจุดลมปราณ ฝึ กลมหายใจ

การออกกำ�ำ ลัังกายที่�พอเหมาะ คืือการเคลื่�อนไหวร่่างกายเร็็วใน
ขณะที่�รู้�สึกกระปรี้�กระเปร่่าที่่�สุุดต่่อเนื่�องกััน เท่่าที่�เริ่�มรู้้�สึึกทนได้้ยากได้้
ลำ�ำ บากเกิินแล้้วผ่่อนลง ทำ�ำ ควบคู่่�กัับการกดจุุดลมปราณ การดััดกล้้าม
เนื้�อเส้้นเอ็็นให้้ยืืดหยุ่�น และดััดให้้กล้้ามเนื้�อกระดููกเส้้นเอ็็นเข้้าที่�ตาม
สภาพปกติิ โดยทำำ�เท่า่ ที่�รู้�สึกสุขุ สบาย เบากาย มีกี ำ�ำ ลังั

33คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19

การกดจุดลมปราณ
การเลือื กวิธิ ีอี อกกำำ�ลังั กายให้พ้ อเหมาะที่�จะสู้้�กับั โควิดิ เน้น้ การเพิ่�ม
ความแข็็งแรงของกล้้ามเนื้�อปอด หัวั ใจ เช่่น มาร์์ชชิ่�ง (ยืนื แกว่่งแขน ยก
ขาสููง) เดิินเร็็ว ปั่่น� จักั รยาน ว่่ายน้ำ�ำ � เป็น็ ต้น้ สำ�ำ หรัับการกดจุุดลมปราณ
โยคะนั้�นจะทำ�ำ ให้้เส้น้ ลมปราณทะลุุทะลวงดีี ซึ่�งจุดุ ลมปราณ เป็็นบริิเวณ
ที่�พลังั ของชีวี ิติ ดูดู ดึงึ เอาพลังั งานที่�สมดุลุ ร้อ้ นเย็น็ เป็น็ ประโยชน์ท์ั้�งในและ
นอกตัวั มาเลี้�ยงชีวี ิติ มากที่่�สุดุ และผลักั ดันั เอาพลังั งานพิษิ ที่�ไม่ส่ มดุลุ ร้อ้ น
เย็็นออกจากชีีวิิตมากที่่�สุุด ซึ่�งเส้้นลมปราณหลัักนั้�นจะอยู่่�ที่่�ข้างกระดููก
ข้า้ งเส้้นเอ็น็ ข้า้ งเส้น้ ประสาท และร่่องกล้้ามเนื้�อ

เส้นลมปราณแขน

34 คู่มอื สขุ ภาพพงึ่ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝา่ วิกฤตโควดิ 19

วิธิ ีกี ดจุดุ ลมปราณ กดที่่�จุุดตามรูปู ประมาณ 1-3 วินิ าทีี แล้ว้ ผ่อ่ น
ประมาณ 1 วิินาทีี แล้้วก็็กดลงไปอีีก ทำำ�อย่่างนี้�ไปเรื่�อย ๆ เท่่าที่�รู้�สึก
สบาย การกดเส้น้ ลมปราณ และหรือื กดจุุดลมปราณ ให้ม้ ีปี ระสิทิ ธิิภาพ
สูงู สุดุ คือื กดจุดุ บริเิ วณตามรูปู ข้า้ งต้น้ ถ้า้ ไม่แ่ น่ใ่ จว่า่ กดถูกู จุดุ หรือื ถูกู เส้น้
หรืือไม่่ ให้้ใช้้หลัักของพระพุุทธเจ้้าที่�ตรััสไว้้ในพระไตรปิิฎก “อนายุุสส
สูตู ร” ว่า่ ด้ว้ ยหลักั การทำำ�ให้แ้ ข็ง็ แรงอายุยุ ืนื ข้อ้ ที่� 1 คือื เป็น็ ผู้�รู้�จักทำำ�ความ
สบายแก่่ตนเอง ดังั นั้�นให้เ้ รากดลงไปในจุุดหรือื เส้น้ ที่�เรารู้้�สึกึ สบายและมีี
กำ�ำ ลังั ที่่�สุุด ลงน้ำำ��หนักั ของความแรง ความนานในแต่ล่ ะครั้�ง ทิิศทางการ
กด และจำำ�นวนครั้�งที่�เรารู้้�สึึกสบายและมีีกำำ�ลัังที่่�สุุด ณ เวลานั้�น การ
ทำ�ำ ให้้เกิิดสภาพดัังกล่่าวจะทำำ�ให้้เกิิดความสมดุุล บำ�ำ บััดรัักษาโรคและ
สร้้างพลังั ชีวี ิิตทัันทีี

ปอด เป็็นอวััยวะแรกๆ ที่�
ได้้รัับผลกระทบจากโควิิด และ
ทางการแพทย์แ์ ผนจีนี พบว่า่ ปอด
กัับลำ�ำ ไส้้ใหญ่่สััมพัันธ์์กััน และ
กลไกในการขัับพิิษโควิิด หััวใจ
จะทำำ�งานหนััก ดังั นั้�นหากฉุกุ เฉิิน
เส้น้ ลมปราณลำ�ำ ไส้ใ้ หญ่่ ปอด หัวั ใจ
เยื่�อหุ้�มหััวใจคืือเส้้นที่�ควรเน้้น และหากไม่่มีีเวลาให้้เน้้นที่่�จุุดลมปราณ
ลำำ�ไส้ใ้ หญ่่ (จุุดเจีียนอวี่� จุุดเหอกู่�) จุดุ ลมปราณปอด (จุดุ ฉื่�อเจ๋อ๋ จุุดจงฝู่�)
จุุดลมปราณเยื่�อหุ้�มหายใจ (จุดุ เน่่ยกวาน) จุุดลมปราณหัวั ใจ (หลิงิ ต้้าว)

35ค่มู อื สขุ ภาพพงึ่ ตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19

เ ส้้ น ล มป ร า ณลำ�ำ ไ ส้้ ใ ห ญ่่

จุดเจยี นอว่ี เชื่�อมโยงลำำ�ไส้ใ้ หญ่่และปอด
เริ่�มกดจากจุุดเจีียนอวี่� บริิเวณร่่อง

บุ๋ �มใต้้กระดููกหััวไหล่่ตรงกลางแขนด้้าน

นอก กดตรงลงมาเรื่�อย ๆ พอถึึงข้้อศอก

สามารถงอแขนเพื่�อให้้กดง่่าย แล้้วใช้้

นิ้�วโป้้งกดกลางแขนด้้านนอกมาเรื่�อย ๆ

จนถึึงข้้อมืือ กดเขี่�ยระบายพิิษที่่�ข้้อมืือสััก

พััก แล้้วเลื่�อนมาที่่�จุดุ เหอกู่� ซึ่�งอยู่�ระหว่า่ ง

นิ้�วโป้้งกัับนิ้�วชี้� วััดเข้้ามาด้้านหลัังมืือ 1

จุดเหอกู่ ข้้อนิ้�วโป้้งชิิดกัับกระดููกนิ้�วชี้� จากนั้�นรีีด
ออกไปทางนิ้�วชี้� แล้้วหายใจเข้า้ จมูกู ผ่อ่ น

ออก 3 ครั้�ง

(กรณีที ี่ไ่� ม่ม่ ีเี วลา สามารถกดจุดุ เจียี นอวี่ห� รือื จุดุ เหอกู่่� หรือื กดทั้ง้�
สองจุดุ แทนเส้้นลมปราณลำำ�ไส้ใ้ หญ่ท่ ั้�ง้ เส้น้ ได้)้

เส้้นลมปราณปอด เชื่�อม จุดจงฝู่
โยงลำ�ำ ไส้้ใหญ่่และปอดเริ่�มจาก เสน้ ลมปราณปอด
ข้้อมืือด้้านใน บริิเวณกึ่�งกลาง
ระหว่่างนิ้ �วโป้้งกัับนิ้ �วชี้ �ตรงร่่องที่ �
ชิิดกัับเส้้นเอ็็นกลางแขนด้้านใน จดุ ฉอื่ เจอ๋
มาทางนิ้�วโป้้ง กดมาเรื่�อย ๆ
ตามจุุดที่่�รู้้�สึึกว่่าเป็็นร่่องกล้้าม
เนื้ �อจนถึึงจุุดข้้อพัับบริิเวณศอก
เรียี กว่่า จุดุ ฉื่�อเจ๋๋อ

36 คูม่ อื สขุ ภาพพ่ึงตน แพทย์วถิ ธี รรม ฝ่าวิกฤตโควิด 19

จากนั้�น กดเข้า้ ร่อ่ งกล้า้ มเนื้�อ มัดั หน้า้ ด้า้ นนอกจนสุดุ กระดูกู หัวั ไหล่่
แล้้วกดเลาะอ้้อมข้้างกระดููกระหว่่างหััวไหล่่กัับหน้้าอกบริิเวณกึ่ �งกลาง
ระหว่า่ งกระดูกู ไหปลาร้า้ กับั รักั แร้้ เรียี กว่า่ จุดุ จงฝู่� จากนั้�นหายใจเข้า้ จมูกู
ผ่่อนออกปาก 3 ครั้�ง

(กรณีที ี่ไ่� ม่ม่ ีเี วลา สามารถกดจุดุ ฉื่อ่� เจ๋อ๋ หรือื จุดุ จงฝู่ห่� รือื กดทั้ง้� สอง
จุุดแทนเส้น้ ลมปราณปอดทั้้�งเส้้นได้)้  

เ ส้้ น ล มป ร า ณ เ ยื่่� อ หุ้้�มหัั ว ใ จ

เชื่�อมโยงเยื่�อหุ้�มหััวใจและซานเจียี ว

เริ่�มจากจุุดเน่่ยกวาน วััดห่่าง

เส้นลมปราณเยือ่ หมุ้ หัวใจ จากข้้อมืือ โดยใช้้สองนิ้�วมืือวางเรีียง

ชิดิ กันั กลางข้อ้ มือื ด้้านใน ตรงร่อ่ งที่่�ชิดิ

กับั เส้น้ เอ็น็ กลางแขนด้า้ นในมาทางนิ้�ว

ก้อ้ ย ใช้น้ิ้�วหัวั แม่ม่ ือื กดขึ้�นมาทางรักั แร้้

เรื่�อย ๆ ตามร่่องของกล้้ามเนื้�อ จนถึงึ

ข้้อพัับ แล้้วกดตามร่่องกล้้ามเนื้�อมััด

จุดเน่ยกวาน หน้้าด้้านใน ตรงขึ้�นมาจนถึึงรัักแร้้
จากนั้�นหายใจเข้้าจมููก ผ่่อนออกปาก

3 ครั้�ง

(กรณีีที่�่ไม่่มีีเวลา สามารถกดจุุดเน่่ยกวานแทนการกดเส้้น
ลมปราณเยื่่�อหุ้้�มหััวใจทั้้�งเส้้นได้้)

37คูม่ อื สขุ ภาพพึ่งตน แพทยว์ ิถธี รรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

เส้้นลมปราณหัวั ใจ เส้นลมปราณหวั ใจ
จุดหลิงตา้ ว
เชื่�อมโยงหััวใจและลำ�ำ ไส้้เล็ก็
จุุดหลิงิ ต้า้ ว วัดั ห่า่ งจากข้อ้ มือื
โดยใช้ส้ องนิ้�วมือื วางเรียี งชิดิ กันั ตรงข้อ้
มืือด้้านใน บริิเวณร่่องที่�ตรงกัับด้้าน
หน้้าของนิ้�วก้้อย ใช้้นิ้�วหััวแม่่มืือกด
ขึ้�นมาทางรัักแร้้เรื่�อย ๆ ตามร่่องของ
กล้้ามเนื้�อ จนถึึงข้้อพัับ แล้้วกดตาม
ร่่องกล้้ามเนื้�อมััดล่่างด้้านใน ตรงขึ้�น
มาจนถึงึ รักั แร้้ จากนั้�นหายใจเข้้าจมูกู
ผ่่อนออกปาก 3 ครั้�ง

(กรณีีที่�่ไม่่มีีเวลา สามารถกดจุุดหลิิงต้้าวแทนการกดเส้้น
ลมปราณหััวใจทั้�้งเส้น้ ได้้)

ข้อ้ สังั เกต เส้น้ และจุุดลมปราณที่่�ทำ�ำ งานหนัักเพื่ �อสู้้�ภัยั โควิิด ล้ว้ น
เป็็นเส้้นลมปราณที่�แขน หากเร่่งด่่วนและจำ�ำ เส้้นหรืือจุุดลมปราณไม่่ได้้
การบีบี นวดแขน หรือื การกัวั ซาแขนด้ว้ ยผ้า้ ขนหนูู หรือื เช็ด็ แขนด้ว้ ยผ้า้ ชุบุ
น้ำำ��สมุุนไพรที่่�ถูกู กัันเท่่าที่�รู้�สึกสบาย ก็จ็ ะช่ว่ ยให้ล้ มปราณทะลุทุ ะลวงได้้

38 ค่มู อื สขุ ภาพพงึ่ ตน แพทย์วิถธี รรม ฝา่ วกิ ฤตโควิด 19

การฝึ กลมหายใจ
เมื่�อเชื้�อโควิิด ลงปอด อากาศดีี (ออกซิเิ จน) จะเข้า้ สู่่�ร่า่ งกายได้้

น้้อย อากาศเสีีย (คาร์์บอนไดออกไซด์์)
จะออกจากร่่างกายได้้ยาก เพราะว่่า
กล้้ามเนื้�อเกร็ง็ ค้้าง การหายใจง่า่ ย ๆ ที่�
เป็็นประโยชน์์ คืือพยายามหายใจเข้้าไป
ให้้ลึึกและผ่่อนออกทางปาก ชีีวิติ คน
เราต้้องการออกซิเิ จน การที่�เราหายใจ
เข้้ายาว ๆ จะได้อ้ อกซิเิ จนเข้า้ ไปได้้มาก
การหายใจออกทางปากจะช่่วยระบาย
คาร์์บอนไดออกไซด์อ์ อกมาได้ม้ าก

การฝึึกลมหายใจเมื่่�อเกิิดอาการไม่่สบาย
มีี 4 แบบ เรียี งลำำ�ดัับตามกำำ�ลังั แรงของผู้�นั้�น ทำำ�แบบไหนสบายก็็
ทำำ�แบบนั้ �น
1. กรณีีที่่�เรามีีแรงมากอยู่่� ให้้หายใจเข้้าทางจมููกเต็็มที่� ยาวๆ
แล้ว้ ปล่่อยออกทางปากเต็็มที่� (เสียี ง “ฮ้า้ ”) การปล่่อยออกแบบนี้� ทำำ�ให้้
คาร์บ์ อนไดออกไซด์์ซึ่�งเป็็นสิ่�งที่่�ชีีวิิตไม่ต่ ้อ้ งการ จะระบายออกมาได้ม้ าก
ทำำ�ไปเรื่�อยๆ เท่า่ ที่�เรารู้้�สึกึ สบายอยู่� จนกว่า่ เราจะรู้้�สึึกว่่าอาการเท่า่ เดิิม
หรือื แย่่ลง ก็็ให้ห้ ยุุด แล้ว้ หายใจตามปกติิธรรมดา
2. กรณีีที่่�เรามีีแรงน้้อยลงกว่่ากรณีีที่่� 1 ให้้หายใจเข้้าทางจมููก
เต็็มที่� ยาวๆ แล้ว้ ค่่อยๆ ผ่อ่ นออกทางปากช้า้ ๆ ทำ�ำ ไปเรื่�อยๆ เท่า่ ที่�เรา
รู้้�สึกึ สบายอยู่� จนกว่า่ เราจะรู้้�สึกึ ว่า่ อาการเท่า่ เดิมิ หรือื แย่ล่ ง ก็ใ็ ห้ห้ ยุดุ แล้ว้
หายใจตามปกติิธรรมดา

39คูม่ ือสขุ ภาพพง่ึ ตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19

3. กรณีีที่่�เรามีีแรงน้้อยลงกว่่ากรณีีที่่� 2 ให้้หายใจเข้้าทางจมููก
เต็ม็ ที่� ผ่อ่ นออกทางจมูกู แบบสบาย ๆ ทำ�ำ ไปเรื่�อย ๆ จนเรารู้้�สึึกสบาย
แล้ว้ ก็็พอ หรือื ทำ�ำ ไปจนถึงึ ขีีดที่�เรารู้้�สึกึ เท่่าเดิมิ หรืือแย่ล่ ง ก็็ให้้หยุุด แล้ว้
หายใจตามปกติิธรรมดา

4. กรณีทีี่่�เรามีแี รงน้อ้ ยลงกว่่ากรณีทีี่่� 3 ให้้หายใจเข้้าออกปกติิ
ธรรมดาแบบสบาย ๆ ทำำ�ใจให้ส้ บาย

4. การรบั ประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพคือ พืช จืด สบาย

อาหารที่่�ดีีต่่อสุุขภาพ จะทำำ�ให้้ร่่างกายแข็็งแรง สามารถสร้้างภููมิิ
ต้า้ นทานมากำ�ำ จััดโรคโควิิด หรืือโรคอื่�น ๆ ได้้ดีี มีลี ักั ษณะ 3 ประการ
คืือ พืชื จืดื สบาย

อาหาร พืืช จืืด สบาย
พืช

พืชื คือื รับั ประทานพืชื เป็น็
หลััก ลด ละ เลิิกเนื้�อสััตว์์และ
ผลิิตภััณฑ์์จากสััตว์์เท่่าที่ �จะทำำ�ได้้
เพราะว่่าเนื้ �อสััตว์์และผลิิตภััณฑ์์
จากสัตั ว์น์ั้�น ทางด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์์
พบว่่าจะมีีกรด และความร้้อน
ม า ก เ มื่ � อ รัั บ ป ร ะ ท า น เ ข้้ า ไ ป จ ะ
ทำำ�ให้เ้ ซลล์ข์ องร่า่ งกายจะเกร็ง็ ตัวั
(รีเี ฟล็ก็ ซ์)์ เพื่�อบีบี และผลักั ดันั เอา

40 คูม่ ือสุขภาพพง่ึ ตน แพทย์วิถธี รรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19

พิษิ ออกทำำ�ให้้เซลล์์ผิิดโครงสร้า้ ง โครงรููปและเสียี หน้้าที่� เสียี ภูมู ิติ ้้านทาน
ทำ�ำ ให้เ้ สี่�ยงต่อ่ การติดิ เชื้�อโควิิด ได้ง้ ่า่ ย และเสี่�ยงต่อ่ การมีีอาการที่่�รุุนแรง
เพราะก่่อนที่่�สััตว์์จะตาย สััตว์์จะกลััวตาย เขาไม่่อยากตายเขาจะผลิิต
พลังั งานขึ้�นมาผลักั ดันั ความกลัวั ตายออก ฉะนั้�น อะดรีนี าลีนี (Adrenaline)
จะกระตุ้�นให้้เกิิดการผลิิตพลัังงาน เกิิดของเสีียที่�เป็็นพิิษต่่อร่่างกายเช่่น
กรดแลคติิก (Lactic acid) กรดยููริิค (Uric acid) คาร์บ์ อนไดออกไซด์์
ฯลฯ เซลล์์เราทำำ�งานตลอดเวลาจะมีีกรดและความร้้อนที่�เป็็นของเสีียที่�
เป็น็ พิษิ ต่อ่ ร่า่ งกายอยู่�แล้้ว การเติมิ กรดเติมิ ความร้อ้ นจากเนื้�อสัตั ว์เ์ ข้้าไป
อีีกยิ่�งทำำ�ให้้พิิษและของเสีียเพิ่�มขึ้�นไปอีีก ดัังตััวอย่่างในขั้�วโลกเหนืือชาว
เอสกิิโมกินิ เนื้�อสัตั ว์์มาก เพราะพื้�นที่�เต็็มไปด้ว้ ยน้ำำ��แข็ง็ พืชื เกิดิ ได้ย้ ากจึึง
ขาดแคลนพืชื ทำำ�ให้้ต้้องกิินเนื้�อสัตั ว์แ์ ละผลิติ ภััณฑ์จ์ ากสััตว์์เป็น็ หลััก ผล
คือื ทำำ�ให้ม้ ีโี รคมากและอายุสุั้�น อายุเุ ฉลี่�ย 27 ปีคี รึ่�ง ตรงกับั ที่�พระพุทุ ธเจ้า้
ตรััสไว้้ใน จููฬกััมมวิิภังั คสูตู ร ว่่าการเบีียดเบีียนทำ�ำ ให้้โรคมากและอายุสุั้�น

ส่่วนชนเผ่่าฮัันซา ประเทศปากีีสถาน กิินพืืชพัันธุ์์�ธััญญาหารเป็็น
หลักั ไม่่กิินเนื้�อสัตั ว์์ อายุเุ ฉลี่�ย 110 ปีี มีีโรคน้้อยที่่�สุดุ จะเห็น็ ได้้ว่า่ ตรง
กับั ที่�พระพุทุ ธเจ้า้ ตรัสั ไว้ใ้ น ในจูฬู กัมั มวิภิ ังั คสูตู ร การไม่เ่ บียี ดเบียี นทำ�ำ ให้้
มีโี รคน้อ้ ยและอายุยุ ืนื ส่ว่ นเมือื งไทยนั้�น ส่ว่ นใหญ่ก่ ินิ เนื้�อสัตั ว์บ์ ้า้ ง กินิ พืชื
บ้้าง เบีียดเบียี นครึ่�ง ไม่เ่ บีียดเบียี นครึ่�ง อายุเุ ฉลี่�ยประมาณ 70 ปีี บวกลบ
ตอนนี้�ไม่ค่ ่อ่ ยจะถึงึ ยิ่�งโควิดิ มายิ่�งเสียี ชีวี ิติ เร็ว็ เป็น็ ต้น้

คนที่�มาเข้า้ ค่า่ ยหรือื เรียี นรู้้�สุขุ ภาพแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรม กว่า่ สามแสนคน
มีทีั้�งเป็น็ โรคติดิ เชื้�อและไม่ต่ ิดิ เชื้�อ พบว่า่ 90 เปอร์เ์ ซ็น็ ต์ม์ ีสี ุขุ ภาพที่่�ดีขีึ้�น ซึ่�ง
ในค่า่ ยสุขุ ภาพแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรมนั้�นรับั ประทานพืชื เป็น็ หลักั ไม่่รัับประทาน
เนื้�อสััตว์์ ส่่วนเมื่�อกลัับบ้้านไป แต่่ละคนก็็ลดละเลิิกเท่่าที่่�ทำำ�ได้้ นี่่�คืือ
ข้้อมููลที่่�ชััดเจน ว่่าการลดละเลิิกเนื้�อสััตว์์และผลิิตภััณฑ์์จากสััตว์์นั้�น
ทำำ�ให้้มีีสุุขภาพที่่�ดีีขึ้ �นจริิง

41ค่มู อื สุขภาพพงึ่ ตน แพทยว์ ิถธี รรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

การรัับประทานพืืชอย่่างครบสารอาหาร 5 หมู่�ได้้แก่่ 1) ผััก
2) ผลไม้้ 3) ข้า้ ว แป้้ง เผืือก มันั 4) เมล็็ดถั่�วหลากหลายชนิดิ 5) ไขมััน
จากพืืชต่า่ งๆ

จืด
จืืด คืือ รัับประทานรสจืืด ไม่่รัับประทานรสจััด ถ้้ารัับประทาน
อาหารรสจััด ไม่่ว่่ารสเปรี้�ยว หวาน มััน เค็็ม ขม เผ็็ดเกิินไป จากงาน
วิิจััยของการแพทย์์ทุุกแผนยืืนยัันว่่าเป็็นต้้นเหตุุหลัักในการก่่อโรคทุุกโรค
เพราะฉะนั้�น การลดความจััดลงมารับั ประทานรสจืดื เท่่าที่่�ทำำ�ได้้ ปรุงุ รส
ด้ว้ ยเกลือื เป็น็ หลักั หรือื อาจใส่เ่ ครื่�องปรุงุ อย่า่ งอื่�นเสริมิ เล็ก็ น้อ้ ย เช่น่ ซีีอิ๊๊ว�
เต้า้ เจี้�ยว เป็น็ ต้้น เท่่าที่�เมื่�อรับั ประทานแล้้วรู้้�สึึก เบาท้้อง สบาย เบากาย
มีกี ำ�ำ ลังั อิ่�มนาน

สบาย
สบาย คืือ เลืือกใช้้ชนิิดของพืืชที่�สมดุุลร้้อนเย็็นกัับชีีวิิต คืือ เมื่�อ
รัับประทานแล้้วรู้้�สึึกเบาท้้อง สบาย เบากาย มีีกำำ�ลััง อิ่�มนาน ดัังที่�
พระพุุทธเจ้้าตรััสว่่า เป็็นผู้้�ทำ�ำ ความสบายให้้แก่่ตน บริิโภคสิ่�งที่่�ย่่อยง่่าย
จะทำำ�ให้ม้ ีีโรคน้้อย แข็็งแรง อายุุยืนื

น้ีคือหลักการ
รับประทานอาหาร
พืช จืด สบาย เพ่ือ
ให้ร่างกายแข็งแรง
สามารถก�ำจัดโรคโค
วิด โรคติดเชื้อและ
โรคไมต่ ดิ เชอื้ อน่ื ๆ ได้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

42 คมู่ ือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

ตัวอย่างอาหารแยกตามฤทธเิ์ ย็น
ฤทธร์ิ อ้ นเยน็ ผสมกัน ฤทธร์ิ อ้ น

ตัวอย่างอาหารฤทธเ์ิ ยน็
กลุ่่�มผลไม้้ กล้้วยน้ำ�ำ �ว้า้ กล้้วยหักั มุุก ลูกู หยีี เชอรี่� สมอไทย ส้้มเช้ง้
มะม่่วงดิิบ มะขามดิบิ มะละกอดิบิ มะละกอห่่าม มะยม มะดันั มะขวิิด
แอปเปิ้้�ล สาลี่� ทัับทิิมขาว สตรอว์์เบอร์์รี่� ลููกพลัับ แตงไทย แก้้วมัังกร
กระท้้อน ชมพู่� สัับปะรด ส้ม้ โอ พุทุ รา แคนตาลูปู แตงโม มังั คุดุ ลางสาด
ฯลฯ
กลุ่่�มผััก ผัักบุ้�ง ผัักกาดหอม อ่อ่ มแซบ(เบญจรงค์)์ สะระแหน่่ ผักั
กาดขาว บวบ แตงกวา ผักั กาดหอม(สลัดั ) หัวั ไชเท้า้ กวางตุ้�ง บััวบก
สายบััว วอเตอร์์เครส (ผัักเป็็ด) ถั่�วงอก ผัักหวาน ตำำ�ลึึง แค มะเขืือเปราะ
มะเขืือยาว ยอดมะระหวาน มัังกรหยก ผัักกาดนก มะเขือื เทศ ก้้านตรง
ผัักติ้�ว ใบมะขาม ใบมะกอก ใบชะมวง ดอกชมจัันทร์์ ดอกขจร ยอด
มะม่่วง หยวกกล้ว้ ย ถั่�วงอก ฟัักทองอ่่อน ยอด/ ดอกฟักั ทอง ฟััก แฟง
แตงต่่างๆ กะหล่ำำ��ดอก บรอกโคลีี ใบมะยม ใบส้ม้ กบ ใบส้ม้ บุุญ หญ้า้
ปักั กิ่�ง หญ้า้ ปราบใบมน หญ้า้ ปราบใบแหลม ว่า่ นกาบหอย ว่า่ นหางจระเข้้
ว่่านฮง็อ็ ก ว่า่ นมหากาฬ เสลดพัังพอนตััวเมียี น้ำำ��นมราชสีีห์์ น้ำำ��มะกรููด
น้ำ�ำ �มะนาว หญ้้าเอ็็นยืืด
กลุ่่�มคาร์์โบไฮเดรต วุ้�นเส้้น เส้้นขาว (ใส่่เคมีีเป็็นพิิษ ไม่่ใส่่เคมีี
เป็็นฤทธิ์�เย็็น) ข้า้ วจ้า้ วขาว ข้า้ วจ้า้ วซ้อ้ มมือื ข้า้ วจ้า้ วกล้อ้ ง (ข้า้ วสีเี หลือื ง)
กลุ่่�มโปรตีีน ถั่�วขาว ถั่�วเขีียว ถั่�วเหลืือง ถั่�วลัันเตา ถั่�วโชเล่่ย์์
ลููกเดืือย เห็็ดฟาง เห็ด็ นางฟ้า้ เห็ด็ หูหู นูู เห็็ดขอนขาว เห็ด็ ลม

43คู่มือสขุ ภาพพ่งึ ตน แพทย์วิถีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19

ตัวอยา่ งอาหารฤทธร์ิ อ้ นเยน็ ผสมกัน
กลุ่่�มผััก ผัักกาดนา (ช่่วยชาติิ) ปืืนนกไส้้ (ช่่วยชีีพ) เพื่ �อนพริิก
(ชู้�พริิก) แปะตำำ�ปึึง เปลืือก/ใบมะกรููด เปลืือก/ใบมะนาว สาบเสืือ
ไมยราบยัักษ์์ ไมยราบเล็็ก เป็็นต้้น

ตัวอย่างอาหารฤทธร์ิ อ้ น
กลุ่่�มผลไม้้ ทุุเรียี น ขนุนุ เงาะ ลำ�ำ ไย ส้้มเขียี วหวาน ฝรั่�ง ลำ�ำ ไย
มะไฟ มะแงว มะเฟือื ง มะปราง มะตูมู ส้ม้ เขียี วหวาน สมอพิิเภก สละ
องุ่�น น้อ้ ยหน่่า ละมุุด ลููกลำ�ำ ดวน ลููกยาง ทัับทิิมแดง ระกำำ� มะละกอสุกุ
มะขามหวานสุกุ กล้ว้ ยหอม กล้้วยไข่่ ลองกอง เสาวรส เป็น็ ต้น้
กลุ่่�มผััก ผักั รสเผ็็ดทุกุ ชนิิด เช่น่ พริิก ตะไคร้้ ขมิ้�น ขิงิ ข่า่ ไพล
กระเทียี ม กระชาย กะเพรา ผัักโขม ยี่�หร่า่ แมงลักั พริิกไทย (ร้้อนมาก)
ข่า่ แก่่ (ร้อ้ นมาก) กุยุ ช่า่ ย (ผักั แป้น้ ร้อ้ นมาก) ผักั กาดไร่่ คราดหัวั แหวน
ต้น้ หอม ผักั ชีีหอม หอมหยััก หอมแดง หอมหััวใหญ่่ เครื่�องเทศ เป็็นต้้น
และพืชื ที่�ไม่่มีีรสเผ็ด็ แต่่มีีฤทธิ์�ร้อน เช่น่ ชะอม คะน้้า กะหล่ำำ��ปลีี
แคร์์รอต บีีทรููท ถั่�วฝัักยาว ถั่�วพูู สะตอ ลููกเหนีียง ลููกตำ�ำ ลึึง กระเฉด
กระถิิน หน่่อไม้้ ผัักกาดเขีียวปลีี ใบยอ ใบปอ ผัักแขยง ยอดเสาวรส
เม็ด็ บัวั ฟักั ทองแก่่ หน่่อไม้้ สาหร่า่ ย ไข่่น้ำำ�� รากบััว ไหลบััว แพงพวยแดง
และพืชื กลิ่�นฉุนุ ทุกุ ชนิิด เป็็นต้น้
กลุ่่�มคาร์์โบไฮเดรต ข้้าวเหนีียว ข้้าวสีีแดง ข้้าวสีีดำำ� เผืือก มััน
กลอย ข้้าวอาร์์ซีี ข้้าวสาลีี ข้้าวบาร์์เลย์์ สิ่�งที่�ควรหลีีกเลี่�ยง (พิิษร้้อน)
ได้แ้ ก่่ ขนมปังั ขนมกรุุบกรอบ บะหมี่�กึ่�งสำำ�เร็็จรููป ผงชููรส ชา กาแฟ
โอวััลติิน ไมโล โกโก้้ น้ำ�ำ �อััดลม เครื่�องดื่�มชููกำ�ำ ลััง อาหารและเครื่�องดื่�ม
จากโรงงานอุตุ สาหกรรม

44 คู่มือสขุ ภาพพึ่งตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควดิ 19

กลุ่่�มโปรตีนี ถั่�วดำ�ำ ถั่�วแดง ถั่�วลิิสง เนื้�อ นม ไข่่ (เนื้�อ นม ไข่เ่ ป็็น
พิษิ ร้้อน) เห็ด็ หอม เห็็ดหลินิ จืือ เห็ด็ โคน เห็็ดก่อ่ เห็็ดไค เห็ด็ ผึ้�ง

กลุ่่�มไขมันั เมล็ด็ ธััญพืืช สกัดั เย็็น สกััดร้้อน ทอดซ้ำำ�� (พิษิ ร้้อน)

5. ธรรมะ มีศีล (ใจไรท้ ุกข์ ใจดีงาม เป็ นลำ�ดับ)

ผู้้�วิจิ ัยั พบว่า่ เมื่�อเพิ่�มศีลี จะทำ�ำ ให้ท้ ุกุ วิธิ ีใี นการรักั ษามีปี ระสิทิ ธิภิ าพ
เพิ่�มขึ้�น ส่่วนการผิดิ ศีีล จะทำำ�ให้้ทุกุ วิธิ ีีในการรัักษามีีประสิทิ ธิิภาพลดลง
การปฏิิบััติิอาริิยศีลี จนได้ส้ ภาพใจไร้้ทุกุ ข์์ ใจดีีงาม เป็็นลำำ�ดัับ จะทำ�ำ ให้้
สารเอ็น็ โดรฟินิ หลั่�งออกมาจากต่อ่ มพิทิ ูอู ิทิ ารี่� มีผี ลทำ�ำ ให้เ้ ซลล์ท์ั่�วร่า่ งกาย
แข็ง็ แรง มีีโครงสร้า้ ง โครงรูปู ปกติิ ซึ่�งการปฏิิบััติิด้้านนามธรรมนี้�จะมีีผล
ถึงึ ประมาณ 70 เปอร์เ์ ซ็็นต์์ บวกเกินิ ร้อ้ ยเปอร์เ์ ซ็็นต์์

กลไกในการทำ�ำ ให้้สุุขภาพดีีคือื พลัังของชีวี ิติ จะทำ�ำ หน้า้ ที่�เป็็นปกติิ
คืือ ผลัักดัันเอาพลัังงานหรืือสารที่�ไม่่สมดุุลร้้อนเย็็นออกจากชีีวิิต และ
ดููดดึึงเอาพลัังงานหรืือสารที่�สมดุุลร้้อนเย็็นเข้้ามาหล่่อเลี้�ยงชีีวิิต พลััง
วิิบากกรรมดีีของบุุญกุุศลเป็็นพลัังงานที่่�ช่่วยผลัักดัันเอาพลัังงานหรืือ
สารที่�ไม่่สมดุุลร้้อนเย็็นออกจากชีีวิิต และดููดดึึงเอาพลัังงานหรืือสารที่�
สมดุุลร้้อนเย็็นเข้า้ มาหล่่อเลี้�ยงชีวี ิิตอีกี แรงหนึ่�ง ส่ว่ นพลัังวิิบากกรรมร้า้ ย
ของบาปอกุุศลเป็็นพลัังงานที่่�ดููดดึึงเอาพลัังงานหรืือสารที่ �ไม่่สมดุุลร้้อน
เย็็นเข้้ามาทำำ�ร้้ายชีีวิิต และผลัักดัันเอาพลัังงานหรืือสารที่�สมดุุลร้้อนเย็็น
ออกจากชีวี ิิต

ผู้้�วิจิ ัยั พบว่า่ ธรรมะที่่�ทำ�ำ ให้โ้ รคหายหรืือทุุเลาได้้เร็็ว มีีรายละเอียี ด
ดังั นี้�

45ค่มู อื สขุ ภาพพง่ึ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝา่ วกิ ฤตโควิด 19

เทคนิคทำ�ใจให้หายโรคเรว็ คือ

อย่าโกรธ อยา่ กลวั เปน็ อย่ากลัวตาย อย่ากลวั โรค
อย่าเร่งผล อย่ากังวล

อย่า่ โกรธ คือื พิจิ ารณาว่า่ เราหรือื ใครได้ร้ ับั อะไรที่�ไม่ด่ ีี ผู้�นั้�น ทำ�ำ มา
ส่่งเสริมิ มา เพ่ง่ โทษ ถือื สา ดูถู ููก ชิงิ ชังั หรืือ ไม่ใ่ ห้อ้ ภััย สิ่�งนั้�นมา เราหรืือ
ใครทำ�ำ อะไร ผู้�นั้�นต้อ้ งไปรัับผล จากการกระทำำ�นั้้�น ทุกุ คนล้้วนอยากสุุข
อยากสมบููรณ์์ ไม่่มีีใครอยากทุุกข์์ อยากพร่่อง ที่่�ยังั ทุกุ ข์์ ยัังพร่อ่ ง เพราะ
ไม่รู่้� หรืือรู้�แต่่ยังั ทำำ�ไม่่ได้้ไม่รู่้� เพราะมีวี ิิบากร้า้ ยกั้�นอยู่� หรือื รู้� แต่ย่ ังั ทำ�ำ ไม่่
ได้้ หรืือ เพีียรเต็็มที่�แล้ว้ แต่่ยังั มีีวิบิ ากร้้ายกั้�นอยู่� เราทำำ�ดีสี ุดุ แล้ว้ พอใจ
ทุกุ เรื่�องให้ไ้ ด้้ แล้ว้ เพียี รทำ�ำ ดีตี ่อ่ ไป ด้้วยใจไร้ท้ ุกุ ข์์

อย่า่ กลัวั เป็น็ อย่า่ กลัวั ตาย คือื พิจิ ารณาว่า่ ตาย...ก็ไ็ ปเกิดิ ใหม่่ จะ
ทำ�ำ ดีีต่อ่ อยู่�...ก็ท็ ำำ�หน้า้ ที่่�ต่่อไป จะทำ�ำ ดีีต่อ่

อย่่ากลัวั โรค คือื พิจิ ารณาว่า่ โรคไม่ห่ ายตอนเป็น็ ก็ห็ ายตอนตาย
เราสู้้�กับั โรค เรามีีแต่่ชนะกัับเสมอเท่า่ นั้�น โรคหาย เราก็ช็ นะ ถ้า้ โรคไม่่
หาย เราตาย โรคก็ต็ าย ก็็เสมอกััน! ! !

สููตรแก้้โรค คืือใจไร้้ทุุกข์์ ใจดีีงาม รู้�เพีียรรู้้�พััก สมดุุลร้้อนเย็็น
หรืือใช้ส้ ิ่่ง� ที่�ร่ ู้้�สึึกสบาย

อย่่าเร่่งผล คือื พิจิ ารณาว่่า หายเร็ว็ ก็ไ็ ด้้ หายช้้าก็ไ็ ด้้ หายตอน
เป็็นก็ไ็ ด้้ หายตอนตายก็ไ็ ด้้ หายตอนไหน ช่า่ งหััวมันั

อย่่ากัังวล คืือ พิิจารณาว่่า ทำ�ำ ดีีที่่�ทำำ�ได้้ ไม่่วิิวาท อย่่างรู้�เพีียรรู้�
พััก ให้้ดีีที่่�สุดุ ล้้างความยึดึ มั่�นถืือมั่�น ให้้ถึึงที่่�สุุด สุุขสบายใจไร้ก้ ังั วลที่่�สุดุ

ดีีที่่�ทำำ�ได้้ ไม่ว่ ิิวาท คืือเส้้นทางทำ�ำ ดีีนั้�น ไม่ป่ ิดิ กั้�นเกิิน ไม่ฝ่ ืดื ฝืืนเกินิ
ไม่ล่ ำ�ำ บากเกินิ ไม่ท่ รมานเกินิ ไม่เ่ สียี หายเกินิ ไม่แ่ ตกร้า้ วเกินิ ไม่เ่ สี่�ยงเกินิ

46 คมู่ อื สขุ ภาพพึ่งตน แพทยว์ ถิ ธี รรม ฝา่ วกิ ฤตโควดิ 19

ความกลััว กังั วล ระแวง หวั่�นไหว ทำ�ำ ให้เ้ ป็น็ โรคได้ท้ ุุกโรคอย่า่ งเร็็ว
และแรงที่่�สุดุ ส่ว่ นใจไร้ท้ ุกุ ข์์ ใจดีงี าม เป็น็ สิ่�งที่่�มีฤี ทธิ์�มากที่่�สุดุ ที่่�ทำำ�ให้ห้ าย
หรือื ทุเุ ลาจากโรค เป็็นยารัักษาโรคที่่�มีฤี ทธิ์�เร็ว็ และแรงที่่�สุดุ ในโลก

การพิจิ ารณาเพื่�อปราบมาร คือื ความกลัวั เวลาเจ็บ็ ป่ว่ ย หรือื พบ
เรื่�องร้า้ ย จะทำ�ำ ให้้ดับั ทุุกข์์ใจ ทุุกข์์กาย และเรื่�องร้า้ ย ได้ด้ ีที ี่่�สุดุ คือื ทำ�ำ ใจ
ว่่าโชคดีีอีกี แล้้ว ร้้ายหมดอีกี แล้้ว

รัับเต็็ม ๆ หมดเต็็ม ๆ เจ็็บ...ก็็ให้้มัันเจ็็บ ปวด…ก็็ให้้มัันปวด
ทรมาน...ก็็ให้้มัันทรมาน ตาย...ก็็ให้้มัันตาย เป็็นไงเป็็นกััน รัับเท่่าไหร่่
หมดเท่่านั้ �น

เรา...แสบ...สุดุ ๆ มันั ...ก็ต็ ้อ้ งรับั ...สุดุ ๆ มันั ...จะได้ห้ มดไป...สุดุ ๆ เรา...
จะได้้เป็็นสุุข...สุุดๆ เพราะสุุดท้้ายทุกุ อย่่างก็ด็ ัับไป ไม่ม่ ีอี ะไรเป็็นของใคร
จะทุุกข์์ใจไปทำ�ำ ไม ไม่ม่ ีีอะไรต้้องทุกุ ข์์ใจ “เบิิกบาน แจ่ม่ ใส ดีกี ว่า่ ”

วธิ กี าร 5 ข้อ ในการแก้ปั ญหาทุกปั ญหาในโลก คือ
1) คบและเคารพมิติ รดีี
2) มีีอริิยศีลี
3) ทำำ�สมดุลุ ร้้อนเย็็น
4) พึ่่ง� ตน
5) แบ่ง่ ปัันด้้วยใจที่�บริิสุทุ ธิ์�

สิ่่�งที่่�ดีีที่่�สุุดในโลก คือื คบและเคารพมิิตรดีี ไม่่โทษใคร
ใจไร้ท้ ุกุ ข์์ ทำ�ำ ดีเี รื่�อยไป ใจเย็็นข้า้ มชาติิ

ในพระไตรปิฎิ ก เล่่ม 4 ข้้อ 14 และ เล่่ม 4 ข้้อ 1 พระพุทุ ธเจ้า้
ตรัสั ว่า่ ตัณั หา (ความอยาก) เป็น็ เหตุแุ ห่ง่ ทุกุ ข์์ ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ ทุกุ ข์ใ์ จ และกอง
ทุุกข์ท์ ั้ �งหมดทั้ �งมวลสืืบเนื่ �องต่่อมา

47ค่มู ือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝา่ วกิ ฤตโควิด 19

ผู้้�วิิจััยพบว่่า เมื่�อใจเกิิดความอยากในเรื่�องใดเรื่�องหนึ่�งหรืือหลาย
เรื่�องก็็ตาม ก็จ็ ะเกิดิ ทุกุ ข์์ใจ กลััวว่่าจะไม่่ได้้ตามที่�อยาก แม้ไ้ ด้้แล้ว้ ก็ก็ ลัวั
จะหมดไป โดยหลัักพุุทธศาสตร์์และหลัักวิิทยาศาสตร์์ ชีีวิิตจะเสีียพลััง
ไปสร้า้ งทุกุ ข์์ใจ เสีียพลัังดันั ทุุกข์์ใจออก โดยชีีวิติ จะสั่�งให้ก้ ล้้ามเนื้�อ ผลิติ
พลัังงานมากเกินิ ปกติิ มาเกร็ง็ ตััวบีีบและผลัักดัันเอาทุุกข์์ใจออก

การผลิิตพลัังที่�มากเกิินปกติิ ร่่างกายจะเกิิดของเสีียที่�เป็็นพิิษ
ตกค้้าง ส่่งผลสืืบเนื่�องให้้ชีีวิิตสั่�งให้้กล้้ามเนื้�อผลิิตพลัังงานมากเกิินปกติิ
มาเกร็็งตััวบีีบและผลัักดัันเอาของเสีียที่�เป็็นพิิษออก กลไกการเสีียพลััง
รวมถึงึ กล้า้ มเนื้�อบีบี ตัวั ผลักั ดันั เอาทุกุ ข์ใ์ จและของเสียี ในร่า่ งกายออกจาก
ชีวี ิิตดังั กล่่าว จะทำำ�ให้้เซลล์์ผิิดโครงสร้้างและโครงรููป เซลล์์จะเสื่�อมและ
เสียี หน้้าที่� ภููมิติ ้้านทานลด และทำำ�ให้เ้ ป็็นโรคได้ท้ ุกุ โรค

เมื่�อเกิดิ กิเิ ลสความอยากในเรื่�องใดๆ ก็จ็ ะเกิดิ ทุกุ ข์ใ์ จทุกุ ข์ก์ ายทันั ทีี
(สนิทิ านสูตู ร) เมื่�อลงมือื แก้ท้ ุกุ ข์ด์ ้ว้ ยการทำำ�ให้ไ้ ด้ส้ มใจอยาก กิเิ ลสก็จ็ ะลด
ความทุกุ ข์ใ์ จลงอย่า่ งรวดเร็ว็ ชั่�วคราว กล้า้ มเนื้�อก็จ็ ะคลายการบีบี ตัวั และ
คลายการผลัักดัันความทุุกข์์ใจลงชั่�วคราว ทำำ�ให้้รู้้�สึึกสุุขสบายใจกายขึ้�น
ชั่�วคราวและดีใี จ พอใจชั่�วคราวแป๊บ๊ หนึ่�ง แล้ว้ ละลายดับั สูญู ไปในที่่�สุดุ (ไม่่
เที่�ยง ไม่ใ่ ช่ต่ ัวั ตน) จะรู้้�สึกึ อิ่�มเต็ม็ พอสงบสบายชั่�วคราวครู่�หนึ่�ง เป็น็ สภาพ
พัักยกครู่�หนึ่�ง ซึ่�งกิเิ ลสจะหลอกให้้หลงว่่าเป็็นความสุขุ สบายที่�ยอดเยี่�ยม
ยิ่�งใหญ่่ยั่�งยืนื ที่่�ดีงี าม น่่าได้น้ ่่าเป็็นน่่ามีที ี่่�สุดุ ในโลก อย่า่ งไม่ม่ ีสีิ่�งใดเทียี ม
เท่า่ แล้ว้ ก็อ็ ยากใหม่่ เกิดิ ทุกุ ข์ใ์ จทุกุ ข์ก์ ายใหม่อ่ ีกี ซึ่�งจะแรงกว่า่ เดิมิ ทวีคี ูณู
ไปเรื่�อยๆ แม้ไ้ ม่ไ่ ด้ส้ มใจอยาก ความทุกุ ข์ก์ ็จ็ ะลดลงเหมือื นกันั แต่ช่ ้า้ กว่า่
การได้ส้ มใจอยาก แล้ว้ ก็อ็ ยากใหม่่ เกิดิ ทุกุ ข์ใ์ จทุกุ ข์ก์ ายใหม่อ่ ีกี ซึ่�งจะแรง
กว่า่ เดิมิ ทวีคี ูณู ไปเรื่�อยๆ และกิเิ ลสก็จ็ ะปรุงุ แต่ง่ ชนิดิ ของความอยากเพิ่�ม
ขึ้�นไปเรื่�อยๆ วนเวีียนอยู่�อย่า่ งนี้�ตลอดกาล เพราะไม่่ได้้ล้า้ งความอยาก
อย่า่ งถููกตรงหลักั พุทุ ธะ

48 คู่มือสขุ ภาพพึง่ ตน แพทยว์ ิถีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19


Click to View FlipBook Version