แท้ท้ี่�จริิงการไม่่อยาก ไม่เ่ กิิดทุุกข์์ ไม่่ต้้องดัับทุกุ ข์์ นั้�นสุุขสบายกว่า่
สุุขสบายที่่�สุุด สภาพสุุขสงบสบายก่อ่ นเกิิดอยาก ก่่อนเกิดิ ทุุกข์์ หรือื เมื่�อ
หมดอยาก หมดทุกุ ข์์นั้�นแหละ สุุขสบายที่่�สุุด ดีที ี่่�สุดุ
เมื่�ออยากได้้มากๆ จะทำ�ำ ไม่ด่ ีีทำ�ำ ชั่่�วต่่อตนเอง หรืือต่อ่ คนอื่�น หรืือ
ต่อ่ สััตว์อ์ื่�น หรือื ต่่อทรัพั ยากรสิ่�งแวดล้้อมได้้ทุุกเรื่�อง เหนี่�ยวนำ�ำ ให้้คนอื่�น
เป็น็ ตาม (สนิทิ านสูตู ร) เกิิดเรื่�องร้า้ ยได้ท้ ุกุ เรื่�อง สะสมเป็็นวิบิ ากร้้าย ดึึง
เรื่�องร้า้ ยมาสู่�ตนเอง ผู้�อื่�น และสััตว์อ์ื่�นชั่�วกััปชั่�วกััลป์์ตลอดกาล
ถ้้าเรามีีอาริยิ ะปััญญาชััดเจนแจ่ม่ แจ้ง้ ว่่าอยากเป็็นทุกุ ข์์ ทุุกข์จ์ าก
การไม่ไ่ ด้ส้ มใจอยากก็เ็ ป็็นทุกุ ข์์ สุุขจากการที่�ได้้สมใจอยากก็็เป็็นทุุกข์์ ไม่่
อยากเท่า่ นั้�นที่�ไม่ท่ ุกุ ข์เ์ ลย ก็จ็ ะไม่อ่ ยาก เมื่�อไม่อ่ ยากก็ไ็ ม่ท่ ุกุ ข์์ ไม่อ่ ยาก คือื
ไม่ช่ อบไม่่ชังั ไม่ส่ ุขุ ไม่ท่ ุุกข์์ ไม่ด่ ููดไม่ผ่ ลััก ไม่่รักั ไม่่เกลีียด ไม่่อยาก ไม่ย่ ึดึ
มั่�นถือื มั่�น ไม่อ่ ยากก็็ไม่ท่ ุกุ ข์์ อะไรจะเกิดิ จะดับั ก็็ไม่ท่ ุกุ ข์์ อะไรจะเกิดิ ก็ไ็ ม่่
ทุกุ ข์์ เพราะไม่ไ่ ด้อ้ ยากให้้มันั ดับั อะไรจะดัับก็็ไม่่ทุุกข์์ เพราะไม่่ได้อ้ ยาก
ให้ม้ ัันเกิิด ไม่่ยึึดมั่�นถืือมั่�นว่า่ มัันต้้องเกิิดหรือื มัันต้อ้ งดัับดังั ใจหมายจึงึ จะ
สุขุ ใจชอบใจ แต่ถ่ ้า้ ไม่เ่ ป็น็ ดังั ใจหมายจะทุกุ ข์ใ์ จไม่ช่ อบใจ เมื่�อไม่ย่ ึดึ มั่�นถือื
มั่�นแล้ว้ อะไรจะเกิดิ ก็ใ็ ห้ม้ ันั เกิดิ อะไรจะดับั ก็ใ็ ห้ม้ ันั ดับั จะไม่ม่ ีที ุกุ ข์ใ์ จใดๆ
เป็น็ ความสุขุ สบายใจไร้ก้ ังั วลที่่�ดีเี ยี่�ยมที่่�สุดุ ในโลกอย่า่ งไม่ม่ ีสีิ่�งใดเทียี มเท่า่
ดัังที่�พระพุุทธเจ้้าตรััสในพระไตรปิิฎกเล่่ม 30 “โสฬสมาณวก
ปัญั หานิเิ ทส” ข้้อ 659 ว่า่ สภาพนิิพพาน คือื สภาพจิติ ที่�สามารถชำ�ำ ระ
หรืือกำำ�จััดกิิเลสความอยากได้้นั้�น เป็็นสภาพผาสุุกที่�ไม่่มีีอะไรเปรีียบได้้
(นัตั ถิิ อุปุ มา) ไม่ม่ ีอี ะไรหักั ล้า้ งได้้ (อสังั หิริ ังั ) ไม่ก่ ำ�ำ เริบิ (อสังั กุปุ ปังั ) เที่�ยง
(นิจิ จังั ) ยั่�งยืนื (ธุวุ ังั ) ตลอดกาล (สัสั สตังั ) ไม่่แปรปรวนเป็็นธรรมดา
(อวิปิ ริณิ ามธัมั มังั )
เมื่�อไม่่มีีทุุกข์์ใจ ชีีวิิตก็็จะไม่่เสีียพลัังไปสร้้างทุุกข์์ ไม่่เสีียพลัังไป
ผลักั ดันั ทุุกข์อ์ อก พลังั นั้�นก็็จะกลัับมาเป็น็ ของเราทั้�งหมด ทำำ�ให้ร้ ่า่ งกาย
49คมู่ ือสุขภาพพึง่ ตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควิด 19
แข็็งแรง สลายโรคและผลัักดัันโรคออกไปได้้ดีี ทำำ�ให้้มีีโรคน้้อย แข็็งแรง
อายุุยืืน ไม่่ได้้เสียี เรี่�ยวแรงเวลาไปทำำ�บาปสนองกิิเลสความอยาก จึึงเอา
เรี่�ยวแรงเวลามาทำำ�สิ่่�งที่�เป็็นกุุศลเป็็นประโยชน์์ต่่อตนเองต่่อผู้�อื่�น และ
เหนี่�ยวนำ�ำ ให้ผู้้�อื่�นเป็น็ ตาม (สนิทิ านสูตู ร) สั่�งสมเป็น็ วิบิ ากดีี ดูดู ดึงึ สิ่�งดีมี า
สู่�ตนเองและผู้�อื่�น ผลักั ดันั วิบิ ากร้า้ ยที่่�ก่อ่ โรคและเรื่�องร้า้ ยออกจากตนเอง
และผู้�อื่�น ให้เ้ บาลงสืบื เนื่�องตลอดกาล
เมื่�อปฏิบิ ััติศิ ีีลสมาธิิปััญญาที่�เป็็นอาริิยะ (อาริิยสัจั 4 ) คืือ ตั้�งศีีล
มาปฏิบิ ัตั ิดิ ้ว้ ยอาริยิ ะปัญั ญาอย่า่ งตั้�งมั่�น ด้ว้ ยการพิจิ ารณาไตรลักั ษณ์์ คือื
ความไม่่เที่�ยงของทุุกสิ่�งทุุกอย่่าง โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งความไม่่เที่�ยงของ
กิเิ ลส คืือ สุขุ ที่�ได้้สมใจอยาก (สุุขขััลลิิกะ ซึ่�งเป็น็ สุุขลวง หลอก ปลอม
เทีียม ที่�พระพุุทธเจ้้าตรััสในธัมั มจักั กัปั ปวััตตนสููตร ว่่าเป็็นเหตุุแห่ง่ ทุกุ ข์์
ทั้�งมวล) ความไม่เ่ ที่�ยงของกิเิ ลสทุกุ ข์ท์ี่�ไม่ไ่ ด้ส้ มใจอยาก ความไม่ใ่ ช่ต่ ัวั ตน
ของทุุกสิ่�งทุกุ อย่า่ ง โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งความไม่่ใช่ต่ ัวั ตนของกิิเลสสุุขที่�ได้้
สมใจอยาก ความไม่ใ่ ช่ต่ ัวั ตนของกิเิ ลสทุกุ ข์ท์ี่�ไม่ไ่ ด้ส้ มใจอยาก และความ
เป็็นทุุกข์์โทษภััยของกิิเลสตััณหาความอยากในแต่่สิ่ �งแต่่ละอย่่างแต่่ละ
เรื่�อง ไม่่ว่่าจะเป็็นอบายมุุข กาม โลกธรรม อััตตา ว่่าทำ�ำ ให้้เกิิดทุุกข์์ใจ
ทุกุ ข์ก์ าย และเรื่�องร้า้ ยทั้�งหมดทั้�งมวลต่อ่ ตนเอง คนอื่�น สัตั ว์อ์ื่�นตลอดกาล
เพื่�อกำำ�จัดั กิเิ ลสความอยากในแต่ล่ ะอย่า่ ง แต่ล่ ะเรื่�อง ทีลี ะอย่า่ ง ทีี
ละเรื่�องเป็น็ ลำำ�ดับั ๆ ตั้�งแต่เ่ รื่�องที่�เลวร้า้ ยมาก ไปสู่�เรื่�องที่�เลวร้า้ ยน้อ้ ย เป็น็
ลำ�ำ ดัับ เมื่�อหมดอยากในสิ่�งที่�ไม่่ดีแี ล้้ว ก็็ตัดั สิ่�งที่�ไม่ด่ ีีนั้�นออกไป
สำำ�หรัับเรื่�องดีีนั้�น ให้้กำ�ำ จััดความอยากแบบกิิเลส แบบเป็็นทุุกข์์
แบบยึึดมั่�นถืือมั่�นจากสิ่�งที่่�ดีนี ้้อย ไปสู่�สิ่�งที่่�ดีีมาก เป็็นลำำ�ดัับ โดยสิ่�งดีีใด
ที่�เป็็นไปไม่ไ่ ด้้ในเวลานั้�น ก็็ให้้หยุุดอยากในเวลานั้�น ส่ว่ นสิ่�งดีใี ดที่�เป็น็ ไป
ได้ใ้ นเวลานั้�น ก็ใ็ ห้อ้ ยากแบบไม่ท่ ุกุ ข์์ แบบไม่ย่ ึดึ มั่�นถือื มั่�น แบบพุทุ ธะ คือื
อยากหรือื ปรารถนาให้เ้ กิดิ สิ่�งที่่�ดีนีั้�นต่อ่ ตนเองหรือื ต่อ่ ผู้�อื่�นอย่า่ งไม่ท่ ุกุ ข์ใ์ จ
50 คู่มอื สุขภาพพ่ึงตน แพทย์วิถธี รรม ฝา่ วิกฤตโควดิ 19
คืือ จะได้้ทำ�ำ หรืือไม่่ได้ท้ ำำ� จะสำำ�เร็็จหรืือไม่ส่ ำ�ำ เร็็จก็ไ็ ม่ท่ ุุกข์์ใจ เพราะเข้า้ ใจ
เรื่�องกรรมและวิบิ ากกรรมอย่า่ งแจ่ม่ แจ้ง้ ว่า่ การยึดึ มั่�นถือื มั่�นเป็น็ ทุกุ ข์์ การ
ไม่ย่ ึดึ มั่�นถือื มั่�นไม่่ทุุกข์์ เป็็นสุุข
และเข้้าใจชััดเรื่�องกรรมว่่า ถ้้ากุุศลหรืือวิิบากดีีของเราและคนที่�
เกี่�ยวข้อ้ งทั้�งในอดีตี และปัจั จุบุ ันั อย่า่ งละหนึ่�งส่ว่ นออกฤทธิ์�เท่า่ ใด สิ่�งดีนีั้�น
ก็จ็ ะทำำ�ได้้และสำำ�เร็จ็ เท่า่ นั้�น ให้ไ้ ด้้อาศัยั ก่่อนที่�จะหมดฤทธิ์�แล้้วดัับไป แต่่
ถ้้าอกุุศลหรืือวิิบากร้้ายของเราและคนที่ �เกี่ �ยวข้้องทั้ �งในอดีีตและปััจจุุบััน
อย่า่ งละหนึ่�งส่ว่ นออกฤทธิ์�เท่า่ ใด สิ่�งดีนีั้�นก็จ็ ะทำ�ำ ไม่ไ่ ด้แ้ ละไม่ส่ ำำ�เร็จ็ เท่า่ นั้�น
สิ่�งร้้ายก็็จะเกิิดขึ้�นแทนเท่่านั้�น ให้้ได้้ชดใช้้ก่่อนที่�จะหมดฤทธิ์�แล้้วดัับไป
เมื่�อพลัังอกุุศลหรืือวิิบากร้้ายหมดไป ถ้้าเราหรืือคนที่�เกี่�ยวข้้องไม่่ได้้ทำ�ำ
อกุุศลวิิบากร้้ายเพิ่�ม จะทำำ�ให้้พลัังกุุศลหรืือวิิบากดีีออกฤทธิ์�ได้้มาก ให้้
ได้้อาศััยก่่อนที่่�ทุุกอย่่างจะดัับไป การพิิจารณาสััจจะด้้วยอาริิยะปััญญา
ดังั กล่า่ ว จะทำำ�ให้้สุขุ สบายใจไร้้กังั วลตลอดกาล
การใช้้ธรรมะ มีีอาริิยะศีีล (ใจไร้้ทุุกข์์ ใจดีีงาม เป็็นลำ�ำ ดัับ) คืือ
ละบาป บำ�ำ เพ็็ญกุุศล ทำำ�จิติ ใจให้้ผ่่องใส คบมิติ รดีี สหายดีี สร้้างสัังคม
สิ่�งแวดล้้อมที่่�ดีี จะทำำ�ให้้ร่่างกายแข็็งแรง โรคหาย หรืือทุุเลาได้้เร็็วที่่�สุุด
และนำำ�สิ่่�งดีที ุุกมิติ ิิมาให้้
51คมู่ ือสุขภาพพ่งึ ตน แพทยว์ ถิ ีธรรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19
วธิ เี สรมิ ประสิทธภิ าพในการปรบั สมดุลรอ้ นเย็น
ในการสู้ภัยโควดิ
นอกจาก 5 วิิธีีการแรกปรัับสมดุุลร้้อนเย็็นในการสู้้�ภััยโควิิด
ที่่�นำ�ำ เสนอข้า้ งต้น้ แล้ว้ ยังั มีเี ทคนิคิ เสริมิ ที่�ใช้แ้ ล้ว้ มีปี ระสิทิ ธิภิ าพในการปรับั
สมดุลุ ร้อ้ นเย็น็ สู้้�ภัยั โควิดิ ซึ่�งท่่านสามารถเลือื กใช้ใ้ นเทคนิิคที่่�ทำำ�ให้้ท่่าน
รู้้�สึึกสบาย เบากาย มีีกำ�ำ ลััง เทคนิิคเสริมิ เพิ่�มเติมิ มีดี ังั นี้�
กัวซาหรอื ขูดซาหรอื ขูดพิษหรอื ขูดลม
กรณีที ี่่�มีภี าวะร้อ้ นเกินิ ใช้น้ ้ำ�ำ �มันั กัวั ซาฤทธิ์�เย็น็ น้ำำ��สมุนุ ไพรฤทธิ์�เย็น็
หรืือน้ำ�ำ �เปล่า่ อย่่างใดอย่า่ งหนึ่�งทาบนผิวิ หนังั ก่อ่ นขูดู ซา ในบริิเวณที่�รู้�สึก
ไม่่สบายหรืือบริิเวณที่ �ใช้้งานมากหรืือบริิเวณที่ �ถอนพิิษจากร่่างกายได้้ดีี
เช่น่ บริเิ วณหลังั แขน ขา เป็น็ ต้น้ จุดุ ที่่�ห้า้ มขูดู คือื จุดุ ที่�เป็น็ แผล ฝีี หนอง
สิวิ จุดุ ที่่�ขูดู แล้ว้ รู้้�สึกไม่ส่ บาย อวัยั วะเนื้�อเยื่�ออ่อ่ นนิ่�ม เช่น่ นัยั ย์ต์ า อวััยวะ
เพศ เป็็นต้้น ถ้้ามีีภาวะเย็็นเกิินก็็ทาด้้วยสมุุนไพรฤทธิ์�ร้อน ถ้้าภาวะทั้�ง
ร้้อนเกิินและเย็็นเกิินเกิิดขึ้�นพร้้อมกััน ใช้้สมุุนไพรทั้�งร้้อนและเย็็นผสม
กัันทาก่่อนขููดซา (การขููดซา แม้้ไม่ม่ ีีสมุนุ ไพรใด ๆ ทา ก็็สามารถขููดซา
ได้เ้ ลย โดยที่�ไม่่ต้อ้ งทาอะไร ก็็ช่ว่ ยถอนพิิษได้้) ใช้อ้ ุุปกรณ์์เรีียบง่า่ ย เช่่น
ช้้อน ชาม เหรีียญ ไม้้หรืือวััสดุุขอบเรียี บต่า่ ง ๆ ขููดได้ท้ั้�งที่่�ผิิวหนัังตรง ๆ
หรืือจะขููดผ่่านเสื้�อผ้้าก็็ได้้ ลงน้ำำ��หนัักแรงเท่่าที่่�รู้้�สึกสุุขสบาย ขููดจุุดละ
ประมาณ 10-50 ครั้�ง อาจขูดู มากหรือื น้อ้ ยกว่า่ นี้้�ก็ไ็ ด้้ เท่า่ ที่�รู้�สึกสุขุ สบาย
เบากาย มีกี ำ�ำ ลััง
52 คมู่ อื สขุ ภาพพ่ึงตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝ่าวิกฤตโควดิ 19
การสวนล้างพิษออกจากลำ�ไส้ใหญ่ด้วยสมุนไพรท่ีถกู กัน
(ดีท็อกซ)์
โดยทั่�วไปผู้้�ป่ว่ ยที่�อาการหนััก อาจทำำ�ดีที ็อ็ กซ์ว์ ันั ละ 1-2 ครั้�ง อาจ
มากหรือื น้อ้ ยกว่า่ ตามสภาพของร่า่ งกาย คือื ทำำ�เท่า่ ที่�รู้�สึกสุขุ สบาย ส่ว่ น
คนทั่�วไป ทำำ�ดีีท็อ็ กซ์ต์ ามสภาพร่่างกาย คือื ทำำ�เมื่�อรู้้�สึึกไม่ส่ บาย ทำ�ำ เท่่า
ที่�รู้�สึกสุขุ สบาย
วิธิ ีที ำ�ำ เลือื กสมุนุ ไพรที่�เหมาะสม คืือ เมื่�อใช้้ทำ�ำ ดีีท็็อกซ์แ์ ล้้วรู้้�สึกึ
สดชื่�นโปร่ง่ โล่ง่ เบาสบาย ตามภาวะร้อ้ นเย็็นของร่่างกาย ใช้น้ ้ำำ��เปล่า่ หรืือ
น้ำ�ำ �อุ่่�นเล็ก็ น้อ้ ย (อาจผสมน้ำ�ำ �กลั่�นสมุนุ ไพรฤทธิ์�ร้อนเย็น็ ที่่�ถูกู กันั ประมาณ
1 ช้อ้ นชา) หรือื น้ำ�ำ �เปล่า่ ผสมน้ำ�ำ �สมุนุ ไพรฤทธิ์�เย็น็ หรือื ฤทธิ์�ร้อน หรือื ฤทธิ์�
ร้อ้ นเย็น็ ผสมกันั แบบสดหรือื แบบต้ม้ (ให้อ้ ุ่น�ุ เล็ก็ น้อ้ ย) โดยใช้อ้ ย่า่ งเจือื จาง
ที่�ใช้แ้ ล้ว้ รู้้�สึกสบาย
นำ�ำ น้ำ�ำ �ที่่�ได้้ ไปใส่่ขวดหรือื ถุุง ที่�เป็น็ ชุุด
สวนล้้างลำ�ำ ไส้้ โดยทั่�วไปใช้้น้ำำ��เปล่่าหรืือน้ำำ��
สมุนุ ไพรประมาณ 500-1,500 ซีีซีี
เ ปิิ ด น้ำำ�� ใ ห้้ วิ่ � ง ต า ม ส า ย เ พื่ � อ ไ ล่่
อากาศออกจากสาย แล้้วขันั ให้้แน่่นไว้้
จากนั้�นนำ�ำ เจลหรืือวาสลีีนหรืือน้ำำ��มััน
พืืชหรืือว่่านหางจระเข้้ทาที่ �ปลายสายสวน
ประมาณ 1 เซนติเิ มตร เพื่�อหล่อ่ ลื่�น หรือื อาจ
ใช้ป้ ลายสายสวนจุ่�มในน้ำ�ำ �ก็ไ็ ด้้
53ค่มู ือสุขภาพพึง่ ตน แพทย์วิถธี รรม ฝ่าวิกฤตโควดิ 19
ต่่อจากนั้�น ค่่อย ๆ สอดปลายสายสวนเข้้าไปที่่�รููทวารหนััก สอด
ให้ล้ ึกึ เข้า้ ไป ประมาณเท่า่ นิ้�วมือื เรา (ประมาณ 3-5 นิ้�วฟุตุ ) ยกหรือื แขวน
ขวดสมุุนไพรสูงู จากทวารประมาณ 2 ศอก
ค่่อย ๆ ปล่่อยน้ำ�ำ �สมุุนไพรให้้ไหล
เข้้าไปในลำำ�ไส้้ใหญ่่ของเรา ใส่่ปริิมาณน้ำำ��
เท่า่ ที่่�ร่า่ งกายเรารู้้�สึกึ ทนได้โ้ ดย
ไม่่ยากไม่่ลำำ�บากเกิินไป แล้้ว
ใช้ม้ ือื นวดคลึงึ ที่่�ท้อ้ ง กลั้�นไว้้
ประมาณ 10-20 นาทีี หรืือ
อาจไม่ถ่ ึงึ ก็ไ็ ด้้ คือื เมื่�อทนได้ย้ าก
ลำำ�บากก็็ไประบายถ่่ายออก
54 ค่มู อื สขุ ภาพพ่งึ ตน แพทย์วิถีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด 19
การแชม่ ือแชเ่ ท้าหรอื ส่วนที่ไม่สบายในน้ำ�สมุนไพร
กรณีีที่่�มีีภาวะร้้อนเกิิน ให้้ใช้้สมุุนไพร
ฤทธิ์์�เย็็น ประมาณ ครึ่�ง-1 กำ�ำ มืือ จะใช้้
สมุุนไพรอย่่างใดอย่่างหนึ่ �งหรืือหลายอย่่าง
รวมกันั ก็ไ็ ด้้ ต้ม้ กัับน้ำ�ำ � 1-3 ขันั (ประมาณ 1-3
ลิิตร) เดืือด ประมาณ 5-10 นาทีี
แล้้วผสมน้ำำ��ธรรมดาให้้อุ่ �นแค่่
พอรู้้�สึึกสบาย
จากนั้�นแช่่มืือแช่่เท้้า แค่่พอท่่วมข้้อมืือข้้อ
เท้้าประมาณ 3 นาทีี แล้้วยกขึ้�น
จากน้ำ�ำ �อุ่่�น 1 นาทีี ทำ�ำ ซ้ำ�ำ �จนครบ
3 รอบ ถ้้าใช้้น้ำ�ำ �อุ่่�นแล้้วรู้้�สึึกไม่่
สบาย ให้้ใช้้น้ำ�ำ �ธรรมดาหรืือ
น้ำำ��เย็็น อาจใช้้น้ำำ��เปล่่าหรืือผสม
สมุนุ ไพรสด เท่า่ ที่�รู้�สึกสบาย
กรณีีที่่�มีีภาวะเย็็นเกิิน ให้้ใช้้สมุุนไพรฤทธิ์์�ร้้อน แช่่มืือแช่่เท้้าได้้
นานเท่่าที่่�รู้้�สึกสบาย กรณีีที่่�มีีทั้�งร้้อนเกิินและเย็็นเกิินเกิิดขึ้�นพร้้อมกััน
ใช้้สมุนุ ไพรฤทธิ์�เย็น็ ต้้ม หรือื อาจใช้ส้ มุุนไพรทั้�งร้อ้ นและเย็น็ ผสมกันั ก็็ได้้
55คู่มือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วิถธี รรม ฝ่าวิกฤตโควิด 19
การพอก ทา หยอด ประคบ อบ อาบ เชด็ สูดดม
ด้วยสมุนไพร ตามภาวะรอ้ นเย็นของรา่ งกาย
ตััวอย่่างการพอกด้้วยกากสมุุนไพรฤทธิ์�เย็็น หรืือพอกทาด้้วยผง
ถ่่านที่�ใช้้ก่่อไฟทั่�วไป ผสมกัับน้ำ�ำ �สมุุนไพรฤทธิ์�เย็น็ (อาจผสมดิินสอพอง
เพื่�อเพิ่�มประสิิทธิิภาพในการถอนพิิษได้้ดีียิ่�งขึ้�น) โดยพอกทาค้้างไว้้เท่่า
ที่่�รู้้�สึึกสบาย เมื่�อรู้้�สึึกเท่่าเดิิมหรืือแย่่ลง ให้้หยุุด ถ้้าใช้้สมุุนไพรฤทธิ์�
เ ย็็ น แ ล้ ้ ว รู้้�สึ ึ ก ไ ม่ ่ ส บ า ย ก็็ ป รัั บ ใ ช้ ้ ส มุ ุ น ไ พ ร ฤ ท ธิ์ � เ ย็็ น ผ ส ม ฤ ท ธิ์์�ร้ ้ อ น
หรืือ ใช้้สมุุนไพรฤทธิ์์�ร้้อน ถ้้ารู้้�สึึกสบายกว่่า
การหยอด ประคบ อบ อาบ เช็ด็ สูดู ดมด้ว้ ยสมุนุ ไพร ตามภาวะ
ร้้อนเย็็นของร่่างกาย เพื่�อให้้ร่่างกายได้้สััมผััสกัับสมุุนไพรที่่�ถููกกััน ใข้้ทำ�ำ
เท่า่ ที่�รู้�สึกสบาย เมื่�อรู้�สึกเท่า่ เดิมิ หรือื แย่ล่ ง ให้ห้ ยุดุ
56 คูม่ ือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วถิ ธี รรม ฝา่ วิกฤตโควิด 19
เทคนิคิ การพึ่�งตนด้ว้ ยหลักั การแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรมตามแนวเศรษฐกิจิ พอ
เพียี ง (การแพทย์ว์ ิิถีีพุทุ ธหรืือการแพทย์์พุุทธศาสตร์์) ในการป้้องกัันการ
ติิดเชื้�อโควิดิ การรักั ษาหรืือบรรเทาอาการติิดเชื้�อโควิิด หรือื อาการคล้้าย
ติิดเชื้�อโควิิด และอาการข้้างเคีียงแทรกซ้้อนจากการรัับวััคซีีนป้้องกััน
โควิิด รวมถึึงการฟื้้�นฟููสุุขภาพจากปััญหาโควิิด ถ้้าผู้�ใดสามารถพึ่่�งตััว
เองได้้จนโรคหายหรืือทุุเลาได้้มาก ก็็ช่่วยแบ่่งเบาภาระของสัังคม
ภาครััฐ หรืือเจ้้าหน้้าที่่�สุุขภาพ แต่่ถ้้ามีีอาการหนัักที่�ไม่่สามารถ
แก้้ไขด้้วยตนเองได้้ จึึงจะอาศััยเจ้้าหน้้าที่่�สุุขภาพ
การที่่�ผู้้�ป่่วยหรืือประชาชนสามารถพึ่�งตนเองได้้มาก จะทำ�ำ ให้้เจ้้า
หน้้าที่่�สุุขภาพไม่่ต้้องแบกรัับภาระที่�มากเกิินไป และสามารถดููแลผู้้�ป่่วย
ที่�อาการหนัักได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ซึ่�งเป็็นผลดีีต่่อผู้้�ป่่วย เจ้้าหน้้าที่�
สุุขภาพ และระบบสุุขภาพโดยรวม ซึ่�งการแพทย์์วิิถีีธรรมนั้�นสามารถ
พึ่ �งตนหรืือบููรณาการร่่วมกัับการดููแลสุุขภาพแต่่ละแผนได้้ตามความ
เหมาะสม
ท้า้ ยนี้� ผู้�เขียี นและคณะขอส่ง่ กำ�ำ ลังั ใจให้ท้ ุกุ ท่า่ นประสบความสำำ�เร็จ็
ในการพึ่�งตนและช่ว่ ยคนให้พ้ ้้นทุกุ ข์์ อันั เป็็นความผาสุุกที่�แท้จ้ ริิงของชีวี ิติ
ทุุกท่า่ น
เจริิญธรรม สำำ�นึึกดีี มีีใจไร้ท้ ุกุ ข์์
57คูม่ ือสขุ ภาพพ่ึงตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝ่าวิกฤตโควิด 19
บรรณานุกรม
กนกวรรณ ติิลกสกุุลชััย และชััยเลิิศ พิิชิิตพรชััย. (2552).
สรีีรวิิทยา 3. พิมิ พ์ค์ รั้�งที่� 7. กรุงุ เทพมหานคร : โรงพิมิ พ์์ เรือื นแก้ว้
การพิิมพ์์.
กรมการศาสนา. (2541). พระไตรปิิฎกฉบัับสยามรััฐ.
กรุงุ เทพมหานคร : สำำ�นักั พิมิ พ์ม์ หาวิทิ ยาลัยั มหาจุฬุ าลงกรณ์ร์ าชวิทิ ยาลัยั .
จิริ นันั ท์์ ทัับเนีียม. (2561). ผลของการใช้บ้ ทเรีียนออนไลน์์ต่่อ
การปรัับพฤติิกรรมสุุขภาพของผู้ �เข้้าร่่วมกิิจกรรมค่่ายแพทย์์วิิถีีธรรม.
วิิทยานิิพนธ์์วิิทยาศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาสาธารณสุุขศาสตร์์.
มหาวิิทยาลััยราชภัฏั สุุรินิ ทร์์
ใจเพชร กล้้าจน. (2553). ความเจ็็บป่ว่ ยกัับการดูแู ลสุุขภาพแนว
เศรษฐกิิจพอเพีียง ตามหลัักแพทย์์ทางเลืือกวิิถีีพุุทธ ของศููนย์์เรีียนรู้�
สุุขภาพพึ่�งตนตามแนวเศรษฐกิิจพอเพีียงสวนป่่านาบุุญ อำ�ำ เภอดอนตาล
จัังหวััดมุุกดาหาร.วิิทยานิิพนธ์์ศิิลปศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาวิิชาพััฒน
บููรณาการศาสตร์์ มหาวิิทยาลัยั อุุบลราชธานี.ี
---------. (2558). ยุุทธศาสตร์์การสร้้างจิิตอาสาแพทย์์วิถิ ีีพุุทธเพื่�อ
มวลมนุษุ ยชาติิ. วิิทยานิพิ นธ์ป์ รัชั ญาดุุษฎีบี ัณั ฑิติ สาขาวิชิ ายุุทธศาสตร์์
การพัฒั นาภูมู ิภิ าค (สาธารณสุุขชุุมชน). มหาวิทิ ยาลัยั ราชภััฏสุรุ ิินทร์.์
---------. (2560). ถอดรหัสั สุุขภาพ เล่่ม 3 มาเป็น็ หมอดููแลตัวั เอง
กัันเถอะ. พิมิ พ์ค์ รั้�งที่� 20. กรุุงเทพฯ: : อุษุ าการพิิมพ์.์
---------. (2564). บททบทวนธรรม. พิมิ พ์ค์ รั้�งที่� 3. เชียี งใหม่:่ มูลู นิธิ ิิ
แพทย์์วิถิ ีีธรรมแห่ง่ ประเทศไทย.
58 คู่มือสขุ ภาพพึ่งตน แพทย์วิถีธรรม ฝา่ วิกฤตโควดิ 19
ใจเพชร กล้า้ จน และคณะจิติ อาสาแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรม (2564). สุขุ ภาพ
พึ่ �งตนด้้วยหลัักการแพทย์์วิิถีีธรรมตามแนวเศรษฐกิิจพอเพีียงกัับการ
ป้้องกันั และลดปััญหาต่า่ งๆ อันั เกิดิ จากโควิดิ 19. วารสารวิชิ าการวิิชชา
ราม ฉบัับที่� 11.
นิติ ยาภรณ์์ สุรุ ะสาย (2563). รูปู แบบการบูรู ณาการวัฒั นธรรมการ
ดูแู ลสุขุ ภาพด้ว้ ยการแพทย์ว์ ิถิ ีธี รรม.วิทิ ยานิพิ นธ์ป์ รัชั ญาดุษุ ฎีบี ัณั ฑิติ สาขา
วิิชายุุทธศาสตร์์การพััฒนาภูมู ิภิ าค. มหาวิทิ ยาลััยราชภััฏอุุบลราชธานี.ี
พิิชิิต โตสุุโขวงศ์์. (2535). “กระบวนการของชีีวิิตในระดัับ
โมเลกุุล”, ใน วิิทยาศาสตร์ช์ ีวี ภาพ. เครืือวัลั ย์์โสภาสรรค์์ บรรณาธิกิ าร.
หน้า้ 1-50. พิมิ พ์ค์ รั้�งที่� 11. นนทบุรุ ีี : สำำ�นักั พิมิ พ์์มหาวิทิ ยาลัยั สุุโขทััย
ธรรมมาธิิราช.
พรชััย มาตังั คสมบััติิ และจินิ ดา นััยเนตร. (2527). “ความ
ต้้านทานและภููมิคิุ้�มกันั โรค”,ในวิิทยาศาสตร์ช์ ีวี ภาพ. เครืือวััลย์์ โสภา-
สรรค์์ บรรณาธิิการ. หน้า้ 255-300. พิิมพ์ค์ รั้�งที่� 2. กรุุงเทพมหานคร
: สำ�ำ นักั พิิมพ์ก์ ราฟฟิติ อาร์ต์ .
พรชััย มาตังั คสมบััติิ และมาลีี จึงึ เจริิญ. (2527). “โรคภูมู ิแิ พ้้
และความผิิดปกติิอื่�นของระบบภููมิิคุ้�มกััน”, ใน วิิทยาศาสตร์์ชีีวภาพ.
เครืือวััลย์์ โสภาสรรค์์ บรรณาธิิการ. หน้้า 303-349.พิิมพ์์ครั้�งที่� 2.
กรุงุ เทพมหานคร : สำำ�นักั พิมิ พ์ก์ ราฟฟิติ อาร์ต์ .
พระบาทสมเด็็จพระปรมิินทรมหาภููมิิพลดุุลยเดช. พระบรม-
ราโชวาท ในพิิธีีพระราชทานปริิญญาบััตรของมหาวิิทยาลััยมหิิดล ณ
อาคารใหม่่ สวนอััมพร วัันพฤหััสบดีทีี่� 8 สิิงหาคม 2534. [ออนไลน์์].
เข้้าถึึงได้้จากhttp://www.ohm.go.th/th/monarch/speech. สืืบค้้น
16 กันั ยายน 2557.
59คู่มอื สุขภาพพึ่งตน แพทยว์ ถิ ธี รรม ฝ่าวิกฤตโควิด 19
พระบาทสมเด็็จพระปรมิินทรมหาภููมิิพลดุุลยเดช. พระราชดำำ�รััส
พระราชทานแก่่คณะบุุคคลต่่างๆ ที่�เข้้าเฝ้้าฯ ถวายชััยมงคล เนื่�องใน
โอกาสวัันเฉลิมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุุสิดิ าลััย สวนจิิตรลดารโหฐาน
พระราชวัังดุสุ ิิต วันั พุธุ ที่� 4 ธัันวาคม 2534. [ออนไลน์์]. เข้้าถึงึ ได้จ้ าก
http://www.ohm.go.th/th/monarch/ speech. สืืบค้น้ 16 กันั ยายน
2557.
พระบาทสมเด็็จพระปรมิินทรมหาภููมิิพลดุุลยเดช. พระราชดำ�ำ รััส
พระราชทานแก่่คณะบุุคคลต่่างๆ ที่�เข้้าเฝ้้าฯ ถวายชััยมงคล เนื่�องใน
โอกาสวัันเฉลิิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุุสิิดาลัยั สวนจิติ รลดารโหฐาน
พระราชวัังดุสุ ิิต วัันศุกุ ร์ท์ี่� 4 ธัันวาคม 2541. [ออนไลน์์]. เข้า้ ถึงึ ได้้จาก
http://www.ohm.go.th/th/monarch/speech. สืืบค้้น 16 กัันยายน
2557.
พระบาทสมเด็็จพระปรมิินทรมหาภููมิิพลดุุลยเดช. พระราชดำำ�รััส
พระราชทานแก่ค่ ณะบุคุ คลต่า่ งๆ ที่�เข้า้ เฝ้า้ ฯ ถวายชัยั มงคล เนื่�องในโอกาส
วันั เฉลิมิ พระชนมพรรษาณ ศาลาดุสุ ิดิ าลัยั สวนจิติ รลดา พระราชวังั ดุสุ ิติ
วัันพฤหััสบดีทีี่� 23 ธันั วาคม 2542. [ออนไลน์]์ . เข้้าถึงึ ได้้จาก http://
student.nu.ac.th/nu_aom-am/6-1.htm. สืบื ค้้น 16 กันั ยายน 2557.
ผุสุ ดีี เจริญิ ไวยเจตน์.์ (2561). เภสัชั วัตั ถุพุ รรณนาในสวน ป่า่ นา ที่�
สัมั พันั ธ์ก์ ับั บุญุ ของผู้้�สูงู อายุใุ นประเทศไทยและสาธารณรัฐั ประชาธิปิ ไตย
ประชาชนลาว. วิิทยานิิพนธ์์ หลัักสููตรปรััชญาดุุษฎีีบััณฑิิต สาขาวิิชา
ยุทุ ธศาสตร์ก์ ารพัฒั นาภูมู ิภิ าค (สาธารณสุขุ ชุมุ ชน). มหาวิทิ ยาลัยั ราชภัฏั
สุุรินิ ทร์.์
60 ค่มู ือสุขภาพพึ่งตน แพทย์วถิ ธี รรม ฝา่ วกิ ฤตโควิด 19
ภูเู พียี รธรรม กล้า้ จน. (2561). ภูมู ิปิ ัญั ญาการเคี้�ยวกวฬิงิ การาหาร
เพื่�อสุขุ ภาวะในประเทศไทยและสาธารณรัฐั ประชาธิปิ ไตยประชาชนลาว.
วิทิ ยานิพิ นธ์ป์ รัชั ญาดุษุ ฎีบี ัณั ฑิติ สาขาวิชิ ายุทุ ธศาสตร์ก์ ารพัฒั นาภูมู ิภิ าค
(สาธารณสุขุ ชุมุ ชน). มหาวิิทยาลััยราชภัฏั สุุริินทร์์.
สุุชาทิิพย์์ โคตรท่่าค้้อ. (2561). ผลของโปรแกรมสร้้างเสริิมสุุข
ภาพด้้วยการดื่�มน้ำ�ำ �สมุุนไพรปรัับสมดุุลตามหลัักการแพทย์์วิิถีีธรรมต่่อ
พฤติิกรรมสุุขภาพและสุุขภาวะของผู้้�ป่่วยเบาหวานชนิิดที่� 2 ตำำ�บลค้้อ
เหนืือ อำ�ำ เภอเมืืองยโสธร จัังหวัดั ยโสธร. วิิทยานิิพนธ์ว์ ิทิ ยาศาสตรมหา
บััณฑิิต สาขาวิชิ าสาธารณสุขุ ศาสตร์์. มหาวิิทยาลััยราชภััฏสุุริินทร์์.
สำ�ำ นักั การแพทย์ท์ างเลือื ก กรมพัฒั นาการแพทย์แ์ ผนไทยและการ
แพทย์ท์ างเลือื ก กระทรวงสาธารณสุขุ . (2551). การดูแู ลผู้้�ป่ว่ ยโรคมะเร็ง็
ด้ว้ ยการแพทย์์ผสมผสาน. พิิมพ์ค์ รั้�งที่� 2. กรุงุ เทพมหานคร : บริษิ ััท สุุขุมุ
วิิทย์์มีเี ดีีย มาร์เ์ ก็ต็ ติ้�ง จำำ�กัดั .
ราตรีี สุุดทรวง และวีีระชััย สิิงหนิิยม. (2550). ประสาท
สรีีรวิทิ ยา. พิิมพ์ค์ รั้�งที่� 5.
หมอเด่่น. “เอ็็นโดรฟิินส์์”, ความรัักกัับสารเอ็็นโดรฟิินส์์
(ENDORPHINS). [ออนไลน์์]. เข้้าถึึงได้้จาก : www.oknation.net/
blog/ moh-den/2009/07/28/entry-2. สืืบค้้น 27 ธัันวาคม 2552.
เอมอร แซล่ ม้ิ . (2561). ผลของการเสรมิ พลงั ตอ่ พฤตกิ รรมการลด
ละ เลกิ บรโิ ภคเนอ้ื สัตวแ์ ละภาวะสขุ ภาพของผเู้ ข้าอบรมแพทย์วถิ ธี รรม.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์.
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ นิ ทร์.
Wybran, J. (1985, January). Enkephalins and endorphins as
modifiers of the immune system: present and future. In Federation
proceedings (Vol. 44, No. 1 Pt 1, pp. 92-94).
61คมู่ อื สุขภาพพ่งึ ตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝา่ วกิ ฤตโควดิ 19
62 คมู่ อื สขุ ภาพพงึ่ ตน แพทย์วถิ ีธรรม ฝ่าวกิ ฤตโควดิ 19
63ค่มู อื สขุ ภาพพ่งึ ตน แพทยว์ ิถธี รรม ฝา่ วกิ ฤตโควิด 19
ดร.ใจเพชร กลา้ จน (หมอเขยี ว)
ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นการแพทย์ทางเลือกวถิ ีธรรม
กองการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
ประธานมูลนิธิแพทย์วิถธี รรมแห่งประเทศไทย
การศกึ ษาและอบรม
1. ปริญญาตรวี ทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
2. ปรญิ ญาตรีวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ บริหารสาธารณสขุ มหาวทิ ยาลัย
สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
3. สำ�เรจ็ การศึกษาวชิ าวิทยาศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทย, แนวคิดและทฤษฎี
การแพทย์แผนไทย,เวชกรรมแผนไทย, เภสชั พฤกษศาสตร์, ธรรมานามัย
และสงั คมวิทยาการแพทย์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
4. ศกึ ษาและอบรมดา้ นการแพทย์ทางเลือกจากประเทศมาเลเซยี และจีน
ไตห้ วัน
5. ปริญญาโท สาขาพฒั นบรู ณาการศาสตร์ (เศรษฐกิจพอเพยี ง)
มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี ทำ�การศึกษาวิจยั เร่ือง “ความเจบ็ ปว่ ยกบั การ
ดแู ลสุขภาพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตามหลักแพทย์ทางเลอื กวิถีพทุ ธ
ของศนู ย์เรยี นรู้สุขภาพพึ่งตนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง สวนปา่ นาบญุ
อำ�เภอดอนตาล จงั หวดั มกุ ดาหาร”
6. ปรญิ ญาเอก วทิ ยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ กิตตมิ ศกั ด์ิ สาขาสาธารณสุขชุมชน
จากมหาวิทยาลยั ราชภฏั ศรีสะเกษ
7. ปริญญาเอก ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขายทุ ธศาสตร์การพัฒนาภมู ิภาค
(สาธารณสุขชมุ ชน) มหาวิทยาลัยราชภฏั สุรนิ ทร์ ท�ำ การศกึ ษาดุษฎนี พิ นธ์
เรื่อง “จติ อาสาแพทยว์ ถิ ีพทุ ธ เพ่ือมวลมนุษยชาติ”
ราคา 10 บาท