The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือชุดความรู้สุขภาพ “การดูแลสุขภาพในช่วงฤดูร้อน ด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือชุดความรู้สุขภาพ “การดูแลสุขภาพในช่วงฤดูร้อน ด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร”

คู่มือชุดความรู้สุขภาพ “การดูแลสุขภาพในช่วงฤดูร้อน ด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร”

Keywords: คู่มือชุดความรู้สุขภาพ “การดูแลสุขภาพในช่วงฤดูร้อน ด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร”

กองวิชาการและแผนงาน
กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก

ค่มู ือชดุ ความรสู้ ขุ ภาพ
“การดูแลสุขภาพในชว่ งฤดรู อ้ น ดว้ ยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร”

ทปี่ รกึ ษา อธบิ ดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
รองอธบิ ดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
พญ.อัมพร เบญจพลพิทกั ษ์ รองอธิบดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
นพ.ขวัญชัย วิศษิ ฐานนท์
นพ.ธิติ แสวงธรรม ผู้อำนวยการกองวิชาการและแผนงาน
กองวิชาการและแผนงาน
กองบรรณาธกิ าร กองวชิ าการและแผนงาน
กองวิชาการและแผนงาน
ดร.รชั นี จนั ทรเ์ กษ กองวิชาการและแผนงาน

ดร.ภญ.ดวงแก้ว ปัญญาภู

พท.วชั ราภรณ์ นิลเพช็ ร์
พท.ป.ประดษิ ฐา ดวงเดช

สณุ ิตา ทับแฟง

ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของสำนกั หอสมดุ แหง่ ชาติ

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
ค่มู อื ชุดความรูส้ ุขภาพ “การดูแลสขุ ภาพในชว่ งฤดรู ้อน ดว้ ยการแพทยแ์ ผนไทยและสมนุ ไพร”
พิมพค์ ร้ังที่ 1. กรุงเทพ: บรษิ ทั บยี อนด์ พับลิสซ่งิ จำกัด; 2564. 61 หน้า
ISBN: 978-616-11-4675-7

ออกแบบ ธญั ลกั ษณ์ พลอยงาม
พมิ พค์ รงั้ ที่ 1 สงิ หาคม 2564
พมิ พท์ ่ี บริษัท บียอน พับลิสซ่ิง จำกดั
จัดพมิ พโ์ ดย กองวชิ าการและแผนงาน กลุ่มงานวชิ าการและคลังความรู้
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก
โทรศพั ท์ กระทรวงสาธารณสุข
โทรสาร 02 149 5696
Website 02 149 5697
https://tpd.dtam.moph.go.th/index.php/home-ak

สารจากอธิบดี

ประเทศไทยมีลักษณะ
สภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าว เนื่องจากอุณหภูมิ
ท่ีเพิ่มสูงข้ึน ซึ่งอาจทำให้เกิดโรคที่เกิดจาก
หน้าร้อนต่าง ๆ ตามมา เป็นเหตุให้ต้องดูแล
สุขภาพผู้ที่อยู่ในกลุ่มเส่ียงอย่างระมัดระวัง
ได้แก่ ผู้ที่มีโรคประจำตัว เด็ก หญิงตั้งครรภ์ และโดยเฉพาะผู้สูงอายุ
ซ่งึ เปน็ กลุ่มทต่ี ้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษเนือ่ งจากสขุ ภาพร่างกายที่ไมค่ อ่ ย
แข็งแรง ประกอบกับผู้ที่อยู่ในวัย 60 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่มักมีโรคประจำตัว
และโรคเร้ือรัง หากต้องเผชิญกับอากาศร้อนนาน ๆ อาจจะทำให้เจ็บป่วยได้
ง่ายกวา่ คนวยั หนุม่ สาว

คู่มือชุดความรู้สุขภาพ “การดูแลสุขภาพในช่วงฤดูร้อนด้วย
การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร” ฉบับนี้ มุ่งหวังให้ประชาชน และผู้ที่สนใจ
ได้รอบรู้ขอ้ มลู สุขภาพเก่ยี วกับโรคและภยั สขุ ภาพ การปฏบิ ัติตวั ข้อควรระวัง
ในฤดูร้อน รวมถึงวิธีรับมือกับหน้าร้อน ด้วยการแพทย์แผนไทยและ
สมุนไพร

หวังว่าคู่มือชุดความรู้สุขภาพฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชน
และผู้ท่ีสนใจ ให้สามารถนำไปใช้ตัดสินใจสำหรับการดูแลจัดการสุขภาพของ
ตนเองได้อย่างเหมาะสมกับบริบท ตลอดจนยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพน้ี
สูค่ รอบครัว (Health Literacy) ตอ่ ไป

แพทยห์ ญงิ อัมพร เบญจพลพทิ กั ษ์
อธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างลอื ก

สารบญั

05
ฤดูรอ้ น

ในประเทศไทย

อนั ตราย 08
จากหน้าร้อน

21 การปฏิบัติตัว

ข้อควรระวัง

ในฤดูรอ้ น

วิธีรับมือ 26
กับหน้ารอ้ น

ด้วยการแพทย์

แผนไทยและ

สมนุ ไพร

ฤดูร้อน
ในประเทศไทย

1

“ฤดูร้อน” เป็นฤดูกาลหน่ึงของประเทศไทย เร่ิมต้นประมาณ
กลางเดือนกมุ ภาพนั ธ์ ไปจนถึงกลางเดอื นพฤษภาคมของทุกปี โดยเฉพาะเดือน
เมษายนของประเทศไทย ดวงอาทิตย์ต้ังฉากตรงศีรษะในเวลาเท่ียงวัน ทำให้
ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์เต็มที่ สภาวะอากาศจึงร้อนอบอ้าว เหมาะแก่
การเจรญิ เติบโตของเชื้อโรคหลายชนดิ ซึง่ สง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ

การเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากสภาพอากาศร้อน เป็นภาวะวิกฤตที่
รา่ งกายไม่สามารถปรับตัวหรือควบคุมระดับความร้อนในร่างกายได้ กลุ่มเสี่ยง
สำคัญที่ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศท่ีร้อนจัดโดยตรง ได้แก่ ผู้ที่ทำงาน
กลางแจ้งเป็นเวลานาน กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ผู้สูงอายุ ผู้ท่ีมีโรคประจำตัว
คนอว้ น ผูท้ ี่พกั ผอ่ นไม่เพียงพอ และผทู้ ่ีดมื่ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์

ในทางการแพทย์แผนไทย ได้กล่าวถึงฤดูกาลที่ส่งผลต่อธาตุใน
ร่างกาย แบ่งเป็น 3 ฤดูกาล ตามคัมภีร์สมุฐานวินิจฉัย ได้แก่ คิมหันตฤดู (ฤดู
ร้อน) วสันตะฤดู (ฤดูฝน) เหมันตฤดู (ฤดูหนาว) ซ่ึงอาการของโรคหรือการ
เจ็บป่วยจะแตกต่างกันออกไปตามฤดูกาล อาการเจ็บป่วยใน “ฤดูร้อน”
หรอื “คมิ หนั ตฤดู” ในทางการแพทย์แผนไทย มักเกิดจากธาตไุ ฟ คอื ความรอ้ น
อบอา้ วจากอากาศส่งผลกระทบต่อธาตุไฟ และธาตุนำ้ ในร่างกาย ทำใหธ้ าตไุ ฟ

6

กำเริบมักทำให้มีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน จึงต้องดูแลธาตุไฟในร่างกาย โดย
ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายไม่ให้สูงมากเกินไป ตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยธาตุทั้งหมด 4 ธาตุ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม
ธาตุไฟ ซึ่งแต่ละคนจะมีสัดส่วนธาตุในร่างกายท่ีแตกตา่ งกันไป แตจ่ ะมีธาตุหลัก
เปน็ ธาตปุ ระจำตัว เรียกว่า ธาตุเจ้าเรอื น

ความเจ็บป่วยจะเกิดขึ้นได้ เมื่อธาตุใดธาตุหน่ึงทำหน้าที่ผิดปกติหรือ
มีส่ิงใดมากระทบจนทำให้ธาตุเสี ยความสมดุล เช่น อาหาร อิริยาบถ
การเปล่ียนวัย สภาพแวดล้อม ท่ีอยู่อาศัย รวมถึงการเปลี่ยนของฤดูกาล
ความไม่สบายเน้ือไม่สบายตวั ความเจ็บป่วยจากโรคหน้าร้อน จริง ๆ แล้วไม่ว่า
จะเป็นคนที่มีธาตุเจ้าเรือนหลักเป็นอะไร ก็มีโอกาสเกิดความไม่สบายเน้ือ
ไม่สบายตัว เกิดความเจ็บป่วยจากโรคหน้าร้อนได้เช่นกัน แต่เมื่อฤดูร้อน
มาเยือน คนที่มีธาตุเจ้าเรือนหลักเป็น “ธาตุไฟ” ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เพราะ
คนธาตุไฟจะมีความร้อนในร่างกายมากกว่าคนธาตุอ่ืน ๆ เมื่อคนธาตุไฟถูก
กระตุ้นด้วยแสงแดด อยู่ในอากาศร้อนนาน ๆ หรือแม้แต่รับประทานอาหาร
รสจัด (เผ็ดจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด) โมโห ด่ืมแอลกอฮอล์ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ทำให้
ธาตุไฟผิดปกติได้ง่าย มีโอกาสเจ็บป่วยเร่ืองร้อนใน แผลในช่องปาก เป็นไข้
เป็นโรคเกยี่ วกับกระเพาะอาหารได้ง่าย

7

อันตราย
จากหน้ารอ้ น

2

การหมดสตชิ ว่ั คราวจากแดด/ความรอ้ น
(Heat Syncope)

คนที่ยืนทำงานเป็นเวลานานหรือลุกข้ึนยืน
อยา่ งกะทันหนั จากทา่ นั่งในสภาพแวดล้อม
ท่รี ้อน ทำใหม้ ีอาการวิงเวียนหน้ามดื
หมดสติไปชวั่ ขณะ จากการที่เลอื ดไปเล้ียง
สมองนอ้ ยลงทันที ซ่ึงสว่ นใหญ่เกดิ จากหัวใจ
สูบฉีดเลือดไปเล้ียงร่างกายลดลงทันที
ทำให้สมองขาดแคลนเลือดไปเลี้ยงฉับพลัน
จงึ ทำให้หมดสตไิ ปชว่ั ครู่ (ในเวลาพรบิ ตาเดียว
ไมก่ ่วี นิ าที หรอื อาจเปน็ เวลาหลายนาที แตไ่ มถ่ ึง
ชว่ั โมง) มักเกดิ อาการงา่ ยข้ึนในคนที่ร่างกายออ่ นแอ
ไม่สบาย พ่ึงฟ้ืนไข้ อดนอน หิวข้าว หิวน้ำ เครียด กังวล
หงดุ หงดิ โกรธหรือกลวั และคนทอี่ อกกำลงั ในทรี่ อ้ น

9

ข้อควรปฏิบัติ
000

1. หลกี เลย่ี งการอยู่ในที่มอี ากาศ
รอ้ น อบอา้ ว หรอื แออัด

2. เมอ่ื พบคนหมดสตชิ ว่ั คราว
- ควรรีบให้นอนราบ หวั ต่ำ (ไมห่ นนุ หมอน) และใชห้ มอน

หรือส่ิงอืน่ ยกขาใหส้ ูงขน้ึ
- คลายเสือ้ ผา้ (เคร่อื งนุ่มหม่ ) ทีค่ บั ใหห้ ลวมออก กันไม่ให้

คนมามงุ ล้อมผู้ปว่ ย
- ใช้พัดหรอื สงิ่ อื่นโบกลมใหผ้ ปู้ ่วย
- ใหส้ ดู ดมยา เชน่ ยาหมอ่ ง พมิ เสน แอมโมเนียหอม หวั หอม

หรอื อน่ื ๆ
- ใชผ้ ้าชบุ นำ้ เยน็ เช็ดหนา้ คอ แขนขา และลำตัวของคนไข้

(โดยทว่ั ไปคนไข้เปน็ ลมทไ่ี ดร้ บั การรกั ษาขา้ งตน้ จะกลบั ฟนื้
คนื สตใิ นเวลาไม่ก่นี าท)ี

10

ภาวะเพลียแดด
(Heat exhaustion)

มั ก เป็ น อ าก ารเร่ิม ต้ น ขอ งโรค
ลมแดด (Heatstroke) เกิดจากการที่อยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง อยู่กลางแดด
เปน็ เวลานาน สง่ ผลให้อณุ หภมู ิในร่างกายเพิ่ม
สูงข้ึน ประมาณ 38 – 39 องศาเซลเซียส
ส่ ว น ให ญ่ ร่ า งก า ย จ ะสู ญ เสี ย น้ ำ ไป กั บ เห งื่อ
ปริมาณน้ำในร่างกายลดลง ทำให้เลือดข้นข้ึน
การไหลเวียนเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ไม่
สม่ำเสมอ ออกซิเจนถูกนำไปยังเนื้อเย่ือต่าง ๆ
ไดน้ อ้ ยลง

อาการอาจประกอบดว้ ยปวดศรี ษะ มนึ ศรี ษะ คลืน่ ไส้
เวยี นหวั สบั สน ออ่ นเพลยี กระหายนำ้ เหง่ือออกมาก หงุดหงดิ

ปสั สาวะลดลง ผิวเปียกชืน้ ด้วยเหงอ่ื ผิวเย็นและซีด

11

ขอ้ ควรปฏิบตั ิ
000

1. หากต้องไปทำงานท่ามกลางสภาพอากาศท่ีรอ้ น ควรเตรยี มตัวโดยการออกกำลังกาย
กลางแจ้งอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 คร้งั ๆ ละอย่างน้อย 30 นาที เพื่อให้
ร่างกายชินกับสภาพอากาศรอ้ น

2. ด่ืมน้ำ 1 - 2 แก้ว ก่อนออกจากบ้านในวันที่มีอากาศร้อนจัด และหากต้องอยู่
ท่ามกลางสภาพอากาศร้อนหรือออกกำลังกลางสภาพอากาศร้อน ควรดื่มน้ำให้ได้
ชั่วโมงละ 1 ลิตร แม้จะไม่รู้สึกกระหายน้ำก็ตาม และแม้วา่ จะทำงานในท่ีรม่ ก็ควรด่ืมน้ำ
อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 6 - 8 แกว้

3. สวมใส่เส้อื ผ้าทมี่ สี อี อ่ น ไม่หนา นำ้ หนักเบา และสามารถ ระบายความร้อนได้ดี
4. หลกี เลยี่ งการอยู่กลางแดดในวนั ทอี่ ากาศร้อนจัด
5. หลีกเล่ียงการกินยาแก้แพ้ แก้น้ำมูก โดยเฉพาะก่อนการออกกำลังกายหรือการอยู่

ท่ามกลางอากาศร้อนเป็นเวลานาน
6. หลกี เล่ยี งเคร่อื งดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอลแ์ ละยาเสพติดทุกชนิด
7. ในเดก็ เล็กและคนชราควรไดร้ บั การดูแลเป็นพิเศษ ตอ้ งจดั ให้อยู่ในห้องทอี่ ากาศระบาย

ไดด้ ี และอย่าปลอ่ ยใหเ้ ด็กหรือคนชราอย่ใู นรถที่ปดิ สนิทตามลำพัง

12

โรคลมแดด
(Heatstroke)

เป็นความเจ็บป่วยท่ีรุนแรงที่สุดอาจถึงแก่
ชีวิตได้ มักเกิดกับผู้ปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมท่ีมี
ความร้อนและความชื้นสูง เกิดจากการที่ร่างกายไม่
สามารถควบคุมความรอ้ นได้และเกดิ การสญู เสียเหง่อื
และสารน้ำไปอย่างมาก เน่ืองมาจากระบบประสาท
ส่วนกลาง ไม่สามารถควบคุมการหล่ังเหง่ือได้ ส่งผล
ให้อุณหภูมิในร่างกายเพิ่มสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส
ภายในเวลา 10 - 15 นาที

ซ่ึ งเป็ น ภ า ว ะฉุ ก เฉิ น ที่ เกิ ด จ า ก ศู น ย์ ก ล า งค ว บ คุ ม อุ ณ ห ภู มิ
ร่างกายของสมองเสียไป และจะแสดงออกทางความล้มเหลวของหน้าท่ี
ของสมอง ทำให้ไม่มีเหงื่อออก มีไข้สูง ชีพจรผิดปกติ ผิวหนังร้อนและแห้ง
กระบวนการทางจิตใจเกิดความบกพร่อง ร่วมกับมีอาการทางสมอง
(การคดิ การรบั รู้ การวางแผนสบั สน ชกั เกร็งหรือหมดสติ)

13

ขอ้ ควรปฏิบัติ
000

1. หากต้องไปทำงานท่ามกลางสภาพอากาศท่ีรอ้ น ควรเตรยี มตัวโดยการออกกำลังกาย
กลางแจ้งอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ๆ ละอย่างน้อย 30 นาที เพ่ือให้
รา่ งกายชนิ กับสภาพอากาศร้อน

2. ดื่มน้ำ 1 - 2 แก้ว ก่อนออกจากบ้านในวันที่มีอากาศร้อนจัด และหากต้องอยู่
ท่ามกลางสภาพอากาศร้อนหรือออกกำลังกลางสภาพอากาศร้อน ควรดื่มน้ำให้ได้
ชวั่ โมงละ 1 ลิตร แม้จะไม่ร้สู ึกกระหายน้ำก็ตาม และแม้ว่าจะทำงานในท่ีร่ม ก็ควรดื่มน้ำ
อย่างน้อยวนั ละ 6 - 8 แก้ว

3. สวมใส่เสอื้ ผ้าทีม่ ีสอี อ่ น ไมห่ นา นำ้ หนกั เบา และสามารถ ระบายความรอ้ นได้ดี
4. หลีกเล่ยี งการอยกู่ ลางแดดในวันท่อี ากาศรอ้ นจัด
5. หลีกเลี่ยงการกินยาแก้แพ้ แก้น้ำมูก โดยเฉพาะก่อนการออกกำลังกายหรือการอยู่

ท่ามกลางอากาศรอ้ นเปน็ เวลานาน
6. หลกี เลี่ยงเคร่ืองดมื่ ท่มี แี อลกอฮอล์และยาเสพติดทุกชนิด
7. ในเดก็ เลก็ และคนชราควรได้รบั การดแู ลเป็นพิเศษ ต้องจัดให้อยู่ในหอ้ งทอี่ ากาศระบาย

ไดด้ ี และอย่าปลอ่ ยใหเ้ ดก็ หรือคนชราอยู่ในรถทปี่ ิดสนทิ ตามลำพงั

14

โรคอจุ จาระรว่ งแบบเฉยี บพลัน
(Diarrhoeal Diseases)

เป็ น โร ค ที่ พ บ ได้ บ่ อ ย ม า ก ใน ช่ ว ง ห น้ า ร้ อ น
เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ปรสิต โปรโตซัว หรือพยาธิใน
ลำไส้ท่ีปนเป้ือนอยู่ในอาหาร และน้ำด่ืมท่ีไม่สะอาด
รวมถึงการไม่ล้างมือก่อนการรับประทานอาหาร และ
การใสอ่ าหารในภาชนะท่ีไมส่ ะอาด

อาหารในภาชนะไมส่ ะอาด ไมล่ า้ งมือ

ทำให้เกิดอาการถ่ายอุจจาระเหลว
เป็นน้ำอย่างผิดปกติตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปภายใน
1 วัน หรือมีอาการถ่ายอุจจาระเป็นมูก หรือ
เลอื ดแมเ้ พยี งคร้ังเดียว

15

ข้อควรปฏิบัติ

000
1. ส่วนใหญ่ อาการท้องเสีย หากไม่ติดเชื้อรุนแรง สามารถหาย

ได้เอง แต่ข้อสำคัญเมื่อร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
มักจะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย โดยเฉพาะในเด็กและคนสูงอายุ
จะอ่อนเพลีย มีไข้จากการสูญ เสียน้ำ จึงจำเป็นต้องทดแทนน้ำ
และเกลือแร่ ป้องกันภาวะขาดน้ำ ด้วยการด่ืมน้ำเกลือแร่ หรือดื่ม
น้ำมะพร้าว ให้เพียงพอ (น้ำมะพร้าวอุดมไปด้วยแร่ธาตุหลายชนิด
สามารถชดเชยเกลือแร่ของร่างกายท่ีสูญเสียไป)
2. ระหว่างท่ีมีอาการท้องเสียควรรับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย
เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก แกงจืด
3. ไม่ควรรับประทานอาหารรสเผ็ดหรือรสจัด
4. เลื อ ก รั บ ป ร ะท า น อ าห า ร ท่ี ป รุ งสุ ก ใช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ส ด ส ะอ า ด
ปราศจากแมลงวันตอม หรือสัมผัสกับฝุ่นละออง หากต้องการ
เก็บอาหารท่ีเหลือจากรับประทาน ควรเก็บไว้ในตู้เย็นและนำมา
อุ่นทุกครั้งก่อนรับประทาน ควรหลีกเล่ียงอาหารท่ีไม่คุ้นเคย ผัก
และผลไม้ควรล้างให้สะอาด
5. หากมีอาการท้องเสียชนิดติดเชื้อ เช่น อุจจาระมีมูกเลือดปนหรือ
มีไข้ร่วมด้วย กล่ิ นอุจจาระมีกล่ินเหม็นคล้ายของเน่า ให้รีบไป
โรงพยาบาล เพื่อรับการตรวจหาเชื้อและทำการรักษาโดยแพทย์
แผนปัจจุบันต่อไป

16

ผดจากความรอ้ น
(Heat Rash)

เกิดจากสภาวะของร่างกายท่ีเข้ากับสิ่งแวดล้อมไม่ได้ เป็นอาการ
ระคายเคืองผิวหนัง ที่เกิดจากการมีเหง่ือท่ีมากเกินไปจนเกิดการคั่งของเหงื่อ
และมีการอุดตนั และอักเสบของต่อมเหง่อื ความรู้สึกคล้าย ๆ ถูกทิ่มแทง อาการ
มักจะรุนแรงหากมีสภาพอากาศท่ีร้อนชื้น ผดมักจะพบได้ทั่วไปบริเวณข้อพับ
ทีอ่ ับชื้นต่าง ๆ ตามร่างกาย เช่น คอ หนา้ อก ขาหนบี รกั แร้ และดา้ นหลงั หัวเขา่

ในเด็กทารกซ่ึงมีต่อมเหง่ือที่ยังไม่สมบูรณ์จะไม่สามารถกำจัดเหงื่อ
ออกได้หมด ทำให้อาจเกิดอาการ Heat Rash ได้เมื่ออยู่ในที่อบอ้าว ใส่เส้ือผ้า
หลายชนั้ หม่ ผ้ามากเกนิ ไป หรือเมอ่ื เวลามไี ข้

อาการโดยท่ัวไปมีการบวมแดงของผิว
มีอาการคันหรืออาการแสบใกล้เคียงกับการถูก
แสงแดดแผดเผาขั้นต้น ซ่ึงเกิดจากการอักเสบ
ของช้ันผวิ หนงั

17

ขอ้ ควรปฏิบตั ิ
000

1. หลีกเลี่ยงแสงแดดจัดและสถานที่ท่ีมีอากาศร้อนอบอ้าว หากจำเป็น
ควรป้องกนั ด้วยการกางร่ม สวมหมวกปีกกวา้ ง ใส่เส้ือแขนยาวหรือ
อยู่ในที่มีอากาศเย็น ถ่ายเทได้สะดวก เช่น ห้องแอร์ สวนสาธารณะ
ที่ร่มรื่น

2. อาบน้ำชำระร่างกายบ่อย ๆ หรือใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำถูตัวทุกครั้ง
ท่ีรู้สกึ ร้อน

3. ด่มื นำ้ สะอาดใหพ้ อเพยี งอย่างน้อยวันละ 6 - 8 แกว้
4. ทาครีมกันแดดให้เหมาะกับสภาพผิวอย่างสม่ำเสมอ และใช้

ครีมบำรงุ ผิว
5. หลีกเล่ียงสถานที่มีมลพิษ หากต้องสัมผัสสารเคมีท่ีระคาย

เคอื งควรป้องกัน เช่น ใส่ถุงมอื รองเทา้ บู๊ท
6. หม่ันสังเกตความผิดปกติของผิวหนัง เช่น สีผิวคล้ำ หนา

ขรุขระมากขึ้น กดผิวแล้วเจ็บผิดปกติ หรือมีอาการชาที่ผิว
ใหร้ ีบปรกึ ษาแพทย์

18

บวมจากความรอ้ น
(Heat edema)

มักพบโดยเฉพาะที่ขา เปน็ ผลมาจาก
ความร้อนทำใหเ้ สน้ เลอื ดขยายตวั สารน้ำ
ในรา่ งกายไหลไปรวมอยบู่ รเิ วณข้อเท้าและขา
ตามแรงโน้มถว่ ง มกั เกดิ ข้ึนในช่วง 2 - 3 วนั แรก
ท่สี มั ผสั อากาศรอ้ น ปจั จัยเสีย่ งที่สำคัญคือ ความไม่
สมดุลของเกลือแรใ่ นร่างกาย

ตะครวิ เนื่องจากความร้อน
(Heat Cramp)

พบได้บ่อย ๆ เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหดตัวและ
เกร็งอย่างเฉียบพลัน เกิดจากการสูญเสียเหง่ือ
เป็นจำนวนมาก จนร่างกายสูญเสียเกลือแร่จากเลือดและกล้ามเนื้อ
กรณีนี้หากดื่มน้ำปริมาณมากโดยไม่มีเกลือแร่ทดแทน จะทำให้ความ
เข้มข้นของเกลือแร่เจือจางลงไปอกี
ตะคริวเนื่องจากความร้อน (Heat Cramp)
ทำให้มอี าการเจ็บปวดท่ีกล้ามเน้ือ โดยเฉพาะที่หนา้ ทอ้ ง
และขา อุณ หภูมิร่างกายเปล่ียนไป เหงื่อออกมาก
กระหายน้ำหรือหัวใจเต้นเร็ว โดยมักจะมีอาการ
หลังจากออกกำลังกายหรือทำงานหนัก

19

ข้อควรปฏิบัติ
000

1. ดม่ื น้ำใหเ้ พยี งพอ
วนั ละ 6 - 8 แก้ว

3. สวมเสือ้ ผา้ ทเ่ี บาสบาย 2. รับประทานผักผลไม้ เช่น
เหมาะกับสภาพอากาศ ก ล้ วย น้ ำว้า ก ล้ วย ห อ ม
ก ล้ ว ย ไข่ ม ะเขื อ เท ศ ส้ ม
แคนตาลูป รวมถึงผักต่าง ๆ
ที่จำเป็นต่อร่างกาย มีส่วน
ชว่ ยเสรมิ เกลือแรใ่ ห้เพียงพอ

4. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
และไม่ออกกำลังกายหนัก
เกนิ ไป

20

การปฏบิ ตั ิตัว
ขอ้ ควรระวัง
ในฤดรู อ้ น

การปฏบิ ตั ติ ัว 3
ขอ้ ควรระวงั ในฤดรู อ้ น

“ฤดูร้อน” ท่ีมากับสภาพอากาศร้อนจัด อบอ้าว ทำให้ร่างกาย

สูญเสียน้ำและแร่ธาตุ ไปกับเหง่ือ ได้ง่าย หากดูแลรักษาสุขภาพไม่ถูกต้อง ก็จะ
เกดิ โรคและภัยสุขภาพได้

โร ค แ ล ะภั ย สุ ข ภ า พ ท่ี มี แน ว โน้ ม จ ะพ บ ผู้ ป่ ว ย เพ่ิ ม ข้ึ น ใน ฤ ดู ร้ อ น
แบง่ เป็น 2 กลมุ่ คือ

1. โรคติดต่อทางเดินอาหาร 2. ภัยสุขภาพ (การเจ็บปว่ ย
และน้ำ (โรคอุจจาระร่วง โรค และเสียชีวิตจากภาวะอากาศ
อาหารเป็นพิษ โรคบิด โรคไข้ ร้อน ผลกระทบต่อสุขภาพ
ไทฟอยด์หรือไข้รากสาดน้อย จ า ก ปั ญ ห า ห ม อ ก ค วั น
โรคไวรัสตับอักเสบเอ และ การบาดเจ็บและเสียชีวิตจาก
โรคอหวิ าตกโรค) การจมนำ้ )

โดยดูแลเฝ้าระวัง
เด็กเลก็ ผสู้ ูงอายุ ผทู้ ี่มี
โรคประจาตัว และผู้ป่วยเรื้อรัง

อย่างใกล้ชดิ

22

การปอ้ งกันการเจบ็ ป่วยและเสียชวี ิตจากภาวะอากาศรอ้ น

- งดออกกำลงั กายหรือทำงานกลางแดดเปน็ เวลานาน
- ดูแลรา่ งกายไม่ใหข้ าดนำ้ โดยการด่ืมน้ำใหเ้ พยี งพอ

ตอ่ รา่ งกาย อยา่ งน้อยวนั ละ 6 - 8 แก้ว
- สวมเสื้อผา้ ที่ระบายเหงอื่ ได้ดี
- ไม่ด่มื เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์

อาหารและเครอ่ื งดม่ื ทีต่ อ้ งระวังในหน้าร้อน

อุณหภูมิที่สูงข้ึนส่งผลให้เชื้อโรคหลายชนิดเจริญเติบโตได้ดี อาจทำให้
อาหารบูดเสียได้งา่ ย เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อทางอาหาร โดยเฉพาะ
โรคอาหารเป็นพิษ และโรคอุจจาระร่วง จึงต้องระมัดระวังเรื่องการรับประทาน
อาหารและนำ้ ดมื่ เปน็ พิเศษ

อาหารและเครื่องด่ืมที่ต้องระวังในหน้าร้อน มีดังน้ี

1. อาหารทีม่ ีกะทิ เช่น แกงเขยี วหวาน
เต้าส่วน แกงบวด เพราะอากาศที่ร้อน
ขนึ้ ทำให้อาหารกลุ่มน้ีบูดเสียได้ง่าย หาก
รับประทานไม่หมดควรเก็บใส่ตู้เย็น และ
นำมาอุ่นใหม่อีกคร้ัง

23

2. อาหารทะเล หากเก็บอาหารทะเล
อยู่ในอุณหภูมทิ ี่ไม่เหมาะสม (สงู กว่า 4 องศา
เซลเซียส) อาจเพิ่ มความเส่ียงในการ
เจริญเติบโตของเชื้อโรค ซึ่งเป็นสาเหตุของ
อาการท้องเสีย จึงควรปรุงอาหารทะเล
เหลา่ นี้ให้สกุ ทกุ คร้งั กอ่ นรับประทาน

3. อาหารที่มีแมลงวันตอม ฤดูรอ้ นเป็นฤดู
ท่ีมีแมลงวันเยอะมากกว่าฤดูไหน ๆ ดังนั้น
ควรเก็บอาหารท่ีปรุงสุกพร้อมทานในภาชนะ
ปิดสนิท เพ่ือป้องกันแมลงวัน ฝุ่นละออง
และเชือ้ โรคทม่ี องไมเ่ ห็น

4. อาหารประเภทยำ อาหารหมักดอง
อาหารปรุงไม่สุก เช่น จ่อม ก้อย ลาบดิบ
ขนมจนี ส้มตำ สลดั ผัก

24

5. เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ทุกชนิด เนื่องจาก
แอลกอฮอล์จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิตเร็ว
และเพ่ิมแรงดันโลหิตใหส้ ูงข้นึ โดยจะทำให้หลอด
เลือดฝอยใต้ผิวหนังขยายตัวส่งผลให้ร่างกาย
สูญเสียน้ำ เกลือแร่ ทางเหงื่อและทางปัสสาวะ
ได้ง่ายข้ึน ส่งผลให้ร่างกายขาดน้ำรุนแรงอาจ
ทำใหช้ อ็ กหมดสติ และอาจมีโอกาสเสียชีวิตได้

6. น้ำด่ืมและน้ำแข็ง หากน้ำด่ืมและน้ำแข็งไม่
สะอาด ไม่ได้มาตรฐาน อาจให้มีเชื้อโรคหลาย
ปนเปื้อนอยู่ เป็นสาเหตขุ องอาการท้องเสยี

หลักการรับประทาน ควรยึดหลัก “สุก ร้อน สะอาด” คือ

สุก ร้อน สะอาด

รบั ประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ หากอาหารมีรูป รส กลิ่น สี เลือกซอ้ื วัตถดุ บิ ท่ีสด สะอาด
รับประทานภายใน 2 ช่ัวโมง ผดิ ปกติ ไมค่ วรรับประทาน ก่อนหยิบจับหรือรับประทาน
หลังจากปรุงเสร็จ อาหารควรล้างมือด้วยน้ำ
และสบูใ่ ห้สะอาดทกุ ครงั้

25

วธิ รี ับมือกับหน้าร้อน
ดว้ ยการแพทย์แผนไทยและสมนุ ไพร

4

ชาวเมืองร้อนอย่างคนไทย นอกจากจะต้องรับมือกับอากาศร้อน
ท่ีนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นเร่ือย ๆ อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้แล้ว ยังต้องระวังโรค
ที่มากับหน้าร้อนอีกด้วย เพราะอากาศท่ีอบอ้าวเช่นน้ี เป็นบ่อเกิดของโรคหลาย
อย่าง ท้ังโรคท่ีมากับความร้อนโดยตรง หรือโรคท่ีเกิดจากการรับประทาน
อาหารทมี่ เี ช้อื โรคปนเป้อื น

“การป่วย” ในทางการแพทยแ์ ผนไทย คือ “ภาวะไม่สมดลุ ”

ของร่างกาย หลักการของการแพทย์แผนไทย คือ
ต้องทำให้รา่ งกายสมดลุ โดยการใชว้ ถิ ีชวี ติ ทถ่ี ูกตอ้ ง
และใช้หลักอาหารเป็นยา การรบั ประทาน
อาหารควรทานให้ครบทุกรส แต่ในช่วงฤดูร้อน
ก็ปรับรสชาติอาหารให้เหมาะสม หันมาเน้น
รบั ประทานอาหารอาหารรสขม เย็น จืด และ
ลดรสชาติหวาน มัน เคม็ ลง และเน้นการกนิ ผักผลไมใ้ หไ้ ด้วนั ละ 400 กรัม
จะทำให้มีสขุ ภาพทีด่ ี

27

โดยขอแนะนำวิธีการรับมือการเจ็บป่วยจากภาวะอากาศร้อน ด้วย
“ยาสมุนไพร” “เครื่องดื่มสมุนไพร” และ “เมนูอาหารสมุนไพรคลายร้อน”
ดงั ตอ่ ไปนี้

รับมอื การเจบ็ ปว่ ยจากภาวะอากาศรอ้ น
ด้วย “ยาสมุนไพร”

1. ยาหอมเทพจติ ร

แก้ลมกองละเอียด ได้แก่ อาการหน้ามืด
ตาลาย สวิงสวาย (อาการที่รู้สึกใจหวิว วิงเวียน
คล่ืนไส้ ตาพร่าจะเป็นลม) ใจสั่น และบำรุงดวงจิต
ใหช้ มุ่ ชน่ื

ขนาดและวธิ ใี ช้

ชนิดผง รับประทาน ชนิดเม็ด รับประทาน
ค รั้ งล ะ 1 - 1.4 ก รั ม คร้ังละ 1 - 1.4 กรัม เมื่อ
ล ะล าย น้ ำสุ ก เมื่ อ มี มีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
อาการ ทุก 3 - 4 ช่ัวโมง ไม่ควรเกนิ วนั ละ 3 ครง้ั
ไม่ควรเกนิ วนั ละ 3 ครงั้

28

ข้อควรระวงั

ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือด

1. เป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด

(antiplatelet)
ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างย่ิงใน

2. ผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกิดการ

สะสมของการบรู และเกิดพิษได้

3. ควรระวงั การใชย้ าในผู้ป่วยทีแ่ พ้ละอองเกสรดอกไม้

เหมาะสำหรบั ผู้ท่ีมอี าการเพลยี แดด
(Heat exhaustion)

หนา้ มดื เป็นลมชว่ั คราวจากแดด/
ความรอ้ น (Heat Syncope)

หรอื ผู้ท่มี ีภาวะลมแดด (Heatstroke)

29

2. ยาหอมทิพโอสถ แกล้ มวิงเวียน ชนดิ ผง

รบั ประทานคร้ังละ 1 –

1.4กรมั ละลายนำ้ กระสายยา

(น้ำดอกไมห้ รอื น้ำสกุ ) เม่ือ

มอี าการ ทกุ 3 – 4 ชัว่ โมง

ขอ้ ควรระวงั ไมค่ วรเกนิ วนั ละ 3 คร้งั

- ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาใน ขนาดและวธิ ใี ช้
กลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิม (anticoagulant) และ
ยาตา้ นการจบั ตวั ของเกล็ดเลือด (antiplatelet) ชนิดเม็ด รับประทาน
ครั้งละ 1 – 1.4 กรัม เมื่อมี
- ค ว ร ร ะวั งก า ร ใช้ ย า อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาการ ทุก 3 - 4 ช่ัวโมง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติ
ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของ ไม่ควรเกินวนั ละ 3 ครั้ง

การบูรและเกิดพิษได้
- ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยท่ีแพ้ละออง

เกสรดอกไม้

เหมาะสำหรบั ผทู้ ม่ี ีอาการเพลยี แดด (Heat exhaustion) หนา้ มดื เปน็ ลมชว่ั คราว
จากแดด/ความร้อน (Heat Syncope) หรอื ผทู้ ม่ี ภี าวะลมแดด (Heatstroke)

นำ้ กระสายยา คือ เครื่องแทรกยาเพอ่ื ช่วยให้กินยางา่ ยขึน้
และ/หรือ เสรมิ ฤทธ์ิของยาใหม้ ีสรรพคุณดีขน้ึ

นำ้ ดอกไม้ คอื นำ้ กระสายยา เป็นนำ้ ทลี่ อยด้วยดอกไม้ทีม่ ี
กลิ่นหอมโดยท่วั ไปมักใชด้ อกมะลิ หรอื ดอกกระดังงาไทย (ลนไฟ)

30

3. ยาหอมแก้ลมวิงเวยี น

แกล้ มวิงเวยี น อ่อนเพลีย นอนไมห่ ลับ

ขนาดและวธิ ีใช้

รับประทานครงั้ ละ 600 มิลลกิ รัม - 1 กรัม
ละลายนำ้ สกุ เม่ือมีอาการ ทุก 3 - 4 ชัว่ โมง
ไมค่ วรเกนิ วันละ 3 คร้ัง

ขอ้ ควรระวงั

1. ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิม
(anticoagulant) และยาตา้ นการจบั ตวั ของเกล็ดเลอื ด (antiplatelet)

2. ควรระวังการใชย้ าในผ้ปู ว่ ยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้

เหมาะสำหรับผู้ที่มีอาการเพลียแดด
(Heat exhaustion)

หน้ามืด เป็นลมช่ัวคราวจากแดด/
ความร้อน (Heat Syncope)

หรือผู้ท่ีมีภาวะลมแดด (Heatstroke)

31

4. ยาเหลืองปดิ สมุทร

บรรเทาอาการท้องเสียชนิดท่ีไม่ได้เกิด
จากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูกหรือ
มเี ลอื ดปน ทอ้ งเสียชนิดที่ไมม่ ีไข้

ชนิดผงและชนดิ เม็ด (แบบอดั เปียก)

ผใู้ หญ่ เดก็ อายุ 3 - 5 เดอื น

รับประทานคร้งั ละ 1 กรมั รบั ประทานครงั้ ละ

ละลายน้ำกระสายยา 200 มลิ ลกิ รัม ละลายนำ้

ทกุ 3 - 5 ช่วั โมง กระสายยา ทุก 3 – 5 ชั่วโมง

เมื่อมีอาการ เมอื่ มีอาการ

เดก็ อายุ 6 - 12 เดอื น เดก็ อายุ 1 - 5 ขวบ
รับประทานครั้งละ รับประทานครัง้ ละ
300 – 400 มลิ ลกิ รมั 500 – 700 มลิ ลกิ รัม
ละลายนำ้ กระสายยา ละลายนำ้ กระสายยา
ทกุ 3 – 5 ชว่ั โมง ทุก 3 – 5 ช่วั โมง

เมอ่ื มีอาการ เม่อื มอี าการ

เดก็ อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานคร้ังละ 800 มลิ ลิกรมั - 1 กรมั

ละลายน้ำกระสายยา ทุก 3 - 5 ชั่วโมง
เม่ือมอี าการ

32

น้ากระสายยาทีใ่ ช้

1 . ใช้ น้ ำเป ลื อ ก ลู ก 2. สำหรับเด็กเล็กให้บด
ทับทิมหรือเปลือกแค ผสมกับน้ำกระสายยา
ต้ม แทรกกับน้ำปูนใส ใช้รับประทานหรือกวาด
เป็นนำ้ กระสายยา ก็ได้

3. ถ้าหาน้ำกระสายยา
ไม่ได้ ให้ใช้น้ำสุกแทน

ขอ้ ควรระวัง

ใชไ้ มเ่ กนิ 1 วัน หากอาการไม่ดขี น้ึ ควรปรกึ ษาแพทย์

เหมาะสำหรบั ผู้ที่มีอาการอจุ จาระรว่ งแบบ
เฉยี บพลัน (Diarrhoeal Diseases)
(ถา่ ยอจุ จาระเหลวเปน็ นำ้ อยา่ งผิดปกติ
ตง้ั แต่ 3 ครง้ั ขนึ้ ไปภายใน 1 วนั )

33

5. ยาธาตุบรรจบ

บรรเทาอาการอุจจาระธาตพุ ิการ
ท้องเสียชนิดทไี่ มเ่ กดิ จากการตดิ เชือ้ เชน่
อุจจาระไม่เปน็ มูกหรอื มีเลือดปน ท้องเสยี
ชนิดทไี่ มม่ ีไข้

ขนาดและวธิ ีใช้ (ชนดิ ผง) ผใู้ หญ่
รบั ประทานคร้งั ละ 1 กรัม
เดก็ อายุ 6 - 12 ปี ละลายน้ำกระสายยา
รบั ประทานคร้งั ละ 500 วนั ละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
มลิ ลกิ รัม ละลายนำ้ กระสายยา หรือเม่ือมอี าการ
วันละ 3 ครัง้ กอ่ นอาหาร

หรือเม่ือมอี าการ

น้ากระสายยาที่ใช้

1. ใชเ้ ปลอื กแค หรือเปลอื กสะเดา หรือเปลือก
ลกู ทับทมิ ต้ม แทรกกับน้ำปูนใสเป็นนำ้ กระสายยา

2. ถา้ หานำ้ กระสายยาไมไ่ ด้
ให้ใชน้ ้ำสุกแทน

34

ขนาดและวธิ ใี ช้ (ชนดิ ลกู กลอน และชนิดแคปซลู )

ผใู้ หญ่ เดก็ อายุ 6 - 12 ปี
รับประทานครั้งละ 1 กรมั รับประทานคร้ังละ 500
วนั ละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร มิลลกิ รมั วนั ละ 3 ครง้ั
ก่อนอาหาร หรอื เม่อื มอี าการ
หรอื เม่อื มอี าการ

ข้อหา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญงิ ตงั ครรภแ์ ละผูม้ ีไข้

ข้อควรระวัง

- ควรระวังการรบั ประทานร่วมกบั ยาในกลุม่ สารกนั เลอื ดเป็นล่ิม
(Anticoagulant) และยาต้านการจับตวั ของเกล็ดเลอื ด (Antiplatelets)

- ควรระวงั การใช้ยาอยา่ งต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยทม่ี ี
ความผดิ ปกติของตบั ไต เน่อื งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

- ใช้ไม่เกิน 1 วนั หากอาการไม่ดขี ้ึน ควรปรกึ ษาแพทย์

เหมาะสาหรบั ผทู้ มี่ อี าการอุจจาระร่วงแบบเฉยี บพลนั (Diarrhoeal Diseases)
(ถา่ ยอุจจาระเหลวเป็นน้าอยา่ งผิดปกตติ ัง้ แต่ 3 ครัง้ ขนึ้ ไปภายใน 1 วัน)

อุจจาระธาตุพิ การ คือ อาการที่ธาตุทั้ง 4 ของ
ร่างกาย กาเริบ หย่อน หรือพิ การ ทาให้เกิดความ
ผิดปกติทางอุจจาระ คือ มีสีเขียว สีขาว สีดา หรือสี
แดง มีกล่ินหญ้าเน่า กลิ่นข้าวบูด กล่ินปลาเน่า หรือ
ก ล่ิ น ซ า ก ศ พ แ ล ะมี ลั ก ษ ณ ะเป็ น เมื อ ก เป็ น มั น
เป็นเปลว หรอื เป็นไต

35

6. ยาโลช่นั พญายอ

บรรเทาอาการ ผดผนื่ คัน ลมพษิ ผนื่ คนั
ขนาดและวธิ ใี ช้

ทาบรเิ วณท่ีมอี าการ วันละ 3 - 5 คร้งั
เหมาะสำหรบั ผทู้ ม่ี อี าการผดจากความ

ร้อน (Heat Rash)

7. ยาครีมไพล

บรรเทาอาการบวม ฟกชำ้ เคลด็
ขนาดและวธิ ใี ช้
ทาและถูเบา ๆ บรเิ วณท่มี อี าการวันละ 2 - 3 ครง้ั

ขอ้ หา้ มใช้
- หา้ มทาบริเวณขอบตาและเนือ้
- หา้ มทาบรเิ วณผิวหนงั ท่มี บี าดแผลหรือมแี ผลเปดิ

เหมาะสำหรับผทู้ ม่ี อี าการบวมจากความรอ้ น (Heat edema)
ตะครวิ เนอ่ื งจากความรอ้ น (Heat Cramp)

ควรยืดเหยยี ดบริเวณท่ีปวด กลา้ มเนือ้ หดเกรง็ กอ่ น
แลว้ จงึ ใช้ “ยาครมี ไพล” บีบนวด

(ปจั จบุ นั มีผลิตภัณฑ์รปู แบบสเปรย์ฉดี พน่ ท่ใี ชง้ ่าย สะดวก
ขน้ึ )

36

8. ยาน้ามันไพล
บรรเทาอาการบวม ฟกชำ้ เคลด็

ขนาดและวธิ ใี ช้ ทาและถเู บา ๆ บริเวณทีม่ ีอาการ
วนั ละ 2 - 3 ครง้ั
ข้อหา้ มใช้ - หา้ มทาบรเิ วณขอบตาและเนอ้ื เยือ่ ออ่ น

- หา้ มทาบริเวณผิวหนงั ทีม่ ีบาดแผลหรือมแี ผลเปดิ

เหมาะสำหรบั ผทู้ มี่ อี าการบวมจากความรอ้ น
(Heat edema)

ตะครวิ เนอื่ งจากความรอ้ น
(Heat Cramp)

ควรยดื เหยยี ดบริเวณทป่ี วด
กลา้ มเนือ้ หดเกรง็ ก่อน

แล้วจึงใช้ “ยานำ้ มนั ไพล”
บบี นวด (ปัจจุบนั มผี ลติ ภณั ฑ์รปู แบบสเปรย์ฉีดพ่น

ท่ีใชง้ า่ ย สะดวกขน้ึ )

37

รับมือการเจ็บปว่ ยจากภาวะอากาศรอ้ น
ดว้ ย “เครื่องดื่มสมนุ ไพร”

สภาพอากาศร้อนจัด อบอ้าวใน “ฤดูร้อน” ทำให้
ร่างกายสูญเสยี น้ำและแรธ่ าตุ ไปกับเหงื่อไดง้ ่าย การปอ้ งกัน
การเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากภาวะอากาศร้อน ควรดูแล
ร่างกายไมใ่ หข้ าดนำ้ โดยการด่ืมน้ำให้เพยี งพอต่อร่างกาย

เครื่องดื่มสมุนไพร นอกจากช่วยให้ร่างกายไม่
ขาดน้ำ ยังช่วยให้สดชื่น พร้อมได้รับประโยชน์จากสมุนไพร
ที่อยใู่ นแตล่ ะเมนูเครอื่ งด่มื สมนุ ไพรอกี ด้วย

น้ามหาพิกดั ตรีผลา

เปน็ น้ำสมนุ ไพรท่มี ีสรรพคุณแก้ในกองปิตตะ (ฤดรู ้อน) สามารถ
ใช้กับทุกวยั และใชไ้ ดก้ บั ทกุ ธาตปุ ระกอบดว้ ยสมนุ ไพร 3 ชนดิ ไดแ้ ก่

มะขามป้อม ลูกสมอพิเภก ลูกสมอไทย
(Phyllanthus (Terminalia belerica (Terminalia
emblica Linn.) chebula Retz.)
(Gaertn.) Roxb.)

38

ข้ันตอนการทา
นำมะขามปอ้ ม 12 ส่วน (ประมาณ 45 กรัม)
ลูกสมอพิเภก 8 ส่วน (ประมาณ 30 กรมั )

ลูกสมอไทย 4 ส่วน (ประมาณ 15 กรมั
ผสมน้ำ 3 ลติ ร ต้มให้เดือดเค่ียวใหเ้ หลอื 1 สว่ น เทกรอง
กากออก ดมื่ 1 แก้ว กอ่ นอาหาร เชา้ - เยน็ สามารถเติมเกลอื

นำ้ ตาล ตามความชอบ ชว่ ยใหส้ ดชน่ื คลายร้อน

ข้อควรระวัง

- สาหรบั สตรีในชว่ งมปี ระจาเดอื นควร
งดการรบั ประทานตรผี ลา เพราะอาจจะ
ทาให้เลือดออกมามากกวา่ ปกติ
- สาหรับผู้ทีเ่ ปน็ โรคหวั ใจไม่แนะนาให้
รับประทาน

39

น้าย่านาง
ช่วยปรบั สมดลุ และช่วยเพิม่ ความสดชืน่ ใหก้ บั ร่างกาย

ขัน้ ตอนการทา

1. ใชใ้ บย่านาง 10 - 20 ใบ นำไปโขลกหรอื ป่ันด้วยเครอื่ งปน่ั
ให้ละเอยี ดจนเป็นนำ้ (ปน่ั ประมาณ 30 วินาที
เพอ่ื คงคณุ คา่ ของสมนุ ไพรให้มากท่สี ุด)

2. นำมากรองผ่านผา้ ขาวบางด่มื
ก่อนอาหาร ประมาณคร่งึ แกว้ วนั ละ 3 คร้ัง

3. หากร้สู ึกวา่ กนิ ยาก เหม็นเขยี ว ผสมกบั น้ำสมุนไพรชนิดอ่นื ๆ
ก็ได้ เช่น ขงิ ตะไคร้ หรอื น้ำเฮลส์บลูบอยก็ได้เชน่ กนั

คาแนะนา

- ควรดม่ื แต่พอดี หากด่มื แลว้ ร้สู กึ แพ้ พะอดื พะอม
กค็ วรลดความเขม้ ข้นของใบย่านางใหน้ ้อยลง

- เมอื่ ทำเสร็จแลว้ ควรด่มื ทันที เพราะถ้าทิง้ ไวน้ าน
เกินไปจะเกิดกลิน่ เหมน็ เปร้ยี วได้

- แตส่ ามารถนำมาแช่ตู้เยน็ ได้ และควรดม่ื ภายใน 3 วัน

ขอ้ ควรระวงั
- ระวังการใช้ในผปู้ ว่ ยที่มีการทางานของไต

ผิดปกติ เน่ืองจากใบยา่ นางมฟี อสฟอรัส
- วติ ามินเอ และโพแทสเซยี มสูง อาจทาให้

เกิดการสะสมและเกดิ เปน็ พิษต่อรา่ งกาย

40

น้าบวั บก
แกร้ อ้ นใน แกก้ ระหายน้ำ แกอ้ อ่ นเพลยี ช่วยใหส้ ดชน่ื

ขนั้ ตอนการทา

นำใบบวั บกทงั้ ตน้ 1 กำมือ ลา้ งนำ้ ให้สะอาด
จากน้นั หน่ั เปน็ ทอ่ น ๆ ประมาณ 2 - 3 ท่อน ใส่นำ้ ให้ทว่ มใบบวั บก
ปน่ั แลว้ กรองเอาแตน่ ำ้

สามารถปรงุ รสดว้ ยนำ้ ผ้ึงตามใจชอบ
ด่ืม ครั้งละ 120 - 200 มิลลลิ ิตร วนั ละ 3 คร้งั

ข้อควรระวัง
- บวั บกไมเ่ หมาะกับคนทม่ี ภี าวะเย็นพร่อง หรือขหี้ นาว
ทอ้ งอดื บ่อย ๆ
- การรบั ประทานบวั บกในปรมิ าณทมี่ ากเกินไป
จะทาใหธ้ าตใุ นรา่ งกายเสียสมดุลได้ เพราะเปน็
ยาเย็นจดั แต่ถา้ รบั ประทานในขนาดทพ่ี อดแี ล้ว
จะไม่มโี ทษตอ่ ร่างกาย
- ไม่ควรรบั ประทานติดตอ่ กันเปน็ เวลานาน

41

ชาชงน้าดอกมะลิ
บำรุงหวั ใจ ชว่ ยให้สดชนื่

ขั้นตอนการทา

นำดอกมะลลิ าหรือมะลซิ อ้ นตากแดดให้แหง้ เตรยี มไว้
เวลาด่ืมใหใ้ ส่ลงในแกว้ ประมาณ 1 ชอ้ นชา
เทนำ้ รอ้ นใสล่ งไป ชงดมื่ เป็นชา

(หรอื นำไปใสใ่ นกาสำหรับชงชา) แช่ทิ้งไวส้ ักครู่ ดืม่

คาแนะนา

จาเป็นอย่างยิ่งทจี่ ะตอ้ งรจู้ กั เลือก
ดอกมะลิก่อนนามาใช้ประโยชน์ โดยจะตอ้ ง

แน่ใจว่าดอกมะลิปราศจากสารเคมีพิษ
และไม่ควรใช้ดอกมะลิท่ซี ือ้ มาจากตลาด

42

น้าเตยหอม

รสหวานเยน็ ชว่ ยใหส้ ดชื่น แก้รอ้ นใน ดบั กระหาย และบํารงุ หัวใจมกี ล่นิ หอม

ข้ันตอนการทา

นำใบเตยหนั่ เป็นท่อน ตม้ ไปเร่อื ย ๆ จนเดอื ด
และน้ำเปลี่ยนสี ตกั เอาใบเตยออก ปิดเตา

ใส่นำ้ ตาลทรายและเกลือลงไปนิดหน่อย
คนจนนำ้ ตาลละลาย ใส่นำ้ แข็งดื่ม

น้าตะไคร้ใบเตย
ช่วยให้ความสดชื่น ดบั กระหายให้ร่างกาย ช่วยขับเหงือ่
ขับปัสสาวะ ขับของเสียในรา่ งกายได้

ขนั้ ตอนการทา

1. ใส่นำ้ 1 ลติ ร ลงในหมอ้ ตามด้วยใบเตย ห่นั เป็นชนิ้ เล็ก 5 ใบ
และตะไคร้ทบุ 3 ตน้ ต้มจนเดือด และน้ำเปล่ียนสี ยกลงกรองเอา
กากออก
2. เทน้ำตะไคร้ใบเตยกลบั ใส่หมอ้ ตม้ อกี ครั้ง ใส่นำ้ ตาลทราย
100 กรัม คนผสมจนน้ำตาลทรายละลาย ยกลงจากเตา

พักท้ิงไว้จนเยน็
3. ตักน้ำตะไคร้ใบเตยลงในแกว้ ตามด้วยน้ำมะนาว
ตามชอบ ใสน่ ้ำแขง็ ดม่ื

43

ชาชงน้ากระเจ๊ียบ
กระเจี๊ยบแดง (Hibiscus) เป็นสมุนไพรอีกชนิด

ท่ีนิยมนำมาทำเป็นเคร่ืองด่ืม เพราะหาซื้อง่าย ทำง่าย และมี
รสชาติเปรย้ี วเล็ก ๆ

กระเจ๊ียบช่วยขับปัสสาวะ แก้ร้อนใน ดับกระหาย
และปอ้ งกันการจบั ตัวของเลอื ด ซ่งึ เปน็ การลดไขมนั ในเลือด

ข้นั ตอนการทา

1. สับดอกกระเจยี๊ บแดงเป็นชน้ิ เล็ก ๆ คั่วในกระทะ
จนแห้งกรอบ เตรยี มไว้ เวลาดมื่ ใหใ้ สล่ งในแก้ว
เทน้ำร้อน ใสล่ งไป ชงด่ืมเป็นชา (หรอื นำไปใส่ในกาสำหรบั ชงชา)
แชท่ ิง้ ไว้สักครู่ บีบนำ้ มะนาว หรอื ฝานช้นิ เลมอน
ฝานเปน็ ชน้ิ ๆ ลงไปเพื่อเพม่ิ รสชาติ หากตอ้ งการ
ความหวาน ก็เตมิ นำ้ ตาลทรายลงไปตามความชอบ

44

น้ามะพรา้ ว

สำหรับคนไทยแลว้ คุ้นเคยกับ "นำ้ มะพรา้ ว"
เป็นอย่างดี เปน็ เครื่องด่มื ที่หลายคนโปรดปราน เพราะ
ช่ืนชอบในความหอมหวานของรสชาติและความสดช่ืน

"น้ำมะพร้าว" ร่างกายสามารถดูดซึมกลูโคสจากน้ำมะพร้าว
ไปใชไ้ ด้อยา่ งรวดเรว็ ทาํ ให้ร่างกาย สดชื่น

"นำ้ มะพรา้ ว" "นำ้ มะพรา้ ว"
มีฤทธิ์ขบั ปัสสาวะ มีปริมาณเกลือแร่ที่
ขับของเสยี และสารพิษ จำเปน็ สูง ชว่ ยบรรเทา
ออกจากร่างกาย ทำให้ ความอ่อนเพลียจาก
ผิวพรรณเปลง่ ปลัง่ อาการท้องเสียหรือ
สดใส ทอ้ งรว่ งได้

คาแนะนา

- ควรซอื้ น้ามะพรา้ วอ่อนแบบเปน็ ลูก เพื่อความปลอดภยั และ
ความสะอาด และมสี ารอาหารครบถ้วนตามทีค่ วรจะเป็น

- เปิดลูกแล้วควรดื่มน้ามะพร้าวเลย ไม่ควรทิ้งไว้นาน เพราะ
จะลดทอนคุณคา่ ทางโภชนาการ

- ระวงั สารฟอกขาวและน้าตาลในน้ามะพร้าวบรรจขุ วด

45

ทา้ ยสดุ ...สุดท้าย ท่ีขาดไม่ได้ คือ

“นำ้ เปล่า”

เมื่ออากาศร้อน รา่ งกายเราจะสญู เสียนำ้ ตลอดเวลา
จึงต้องด่มื นำ้ ใหม้ าก ๆ เพอ่ื ชว่ ยให้ร่างกาย
รักษาอุณหภูมไิ ด้ดี และไม่ขาดน้ำ

“นำ้ เปลา่ ” ช่วยดบั กระหายคลายรอ้ นได้ดที ส่ี ุดแล้ว
โดยสามารถหยดนำ้ ยาอุทัยผสมลงไปหน่อย สแี ดง ๆ

ในนำ้ ยาอุทยั นัน้ ก็คอื สมนุ ไพร “ฝาง”
มฤี ทธบ์ิ ำรุงโลหติ ทำใหเ้ ลอื ดเยน็ แกก้ ระหายนำ้

46

รับมือการเจ็บป่วยจากภาวะอากาศร้อน
ดว้ ย “เมนูอาหารสมุนไพรคลายร้อน”

ข้าวแช่ น้าลอยดอกมะลอิ บควันเทยี น

ข้ันตอนและวิธกี ารทา

1. นำน้ำเปล่ามาอบควันเทียน ประมาณ 30 นาที
ทำอยา่ งน้ปี ระมาณ 8 ครั้ง

2. ทำนำ้ ลอยดอกไม้ด้วยการนำดอกมะลิ ดอกกระดังงา
รนไฟ ดอกชมระนาด มาใสใ่ นน้ำสะอาด

ส่วนผสมและเครื่องปรงุ 3. ทำการหงุ ขา้ วสารกับน้ำเปล่าในหมอ้ ต้งั ไฟแรง
คนเรอื่ ย ๆ จนข้าวเร่ิมสุกเดือด
1. ข้าวสารเตม็ เม็ด
2. เทียนอบ 4. กรองเอาน้ำออก แลว้ นำเม็ดขา้ วมาขัดกับนำ้ เปลา่
3. ดอกมะลิ
4. ดอกกระดังงารนไฟ 5. ห่อขา้ วด้วยผา้ ขาวบางแลว้ นำไปน่ึงประมาณ 20 นาที
5. ดอกชมระนาด
6. ตอนเสิรฟ์ ตักข้าวใสถ่ ้วย เตมิ ทั้งนำ้ อบควนั เทยี น
และนำ้ ลอยดอกไม้ นำ้ ทง้ั 2 นสี้ ามารถนำไป
แชต่ ู้เยน็ ใหเ้ ย็นกอ่ นเสริ ฟ์ ได้

รสเด็ดของน้ำปรุงข้าวแช่ที่อบควันเทียนกับกระดังงา ทานคู่กับเคร่ืองเคียง
หลายอย่างไม่ว่าจะเป็น ลูกกะปิทอด หอมแดงสอดใส้ พริกหยวกสอดใส้ ไชโป๊วผัด
หวาน และหมูฝอย ท่ีทานเข้ากันได้อย่างลงตัว เมนูน้ีช่วยให้ความสดชื่นหอมอร่อยใน
วันท่ีอบอา้ วดจี ริง ๆ

47

แกงเลียงกุ้ง

เป็นเมนูอาหารไทยที่ประกอบด้วยผักต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
แกงเลยี งกงุ้ รอ้ น ๆ สามารถขับเหงอ่ื ช่วยให้รา่ งกายเบาสบาย

ส่วนผสมและเคร่ืองปรงุ

1. กุ้งสดปอกเปลอื กผ่าหลงั 250 กรัม 6. ใบแมงลัก 1 ถว้ ย

2. ขา้ วโพดออ่ นห่ัน 80 กรัม 7. นำ้ ซปุ 4 ถว้ ย

3. ฟักทองห่นั ชิน้ พอดีคำ 240 กรัม 8. นำ้ ปลา 2 ชอ้ นโตะ๊

4. บวบหั่นเป็นชิน้ ๆ 230 กรัม 9. ซีอวิ๊ ขาว 1 ชอ้ นโต๊ะ

5. เห็ดรวม (ตามชอบ) 250 กรัม 10. นำ้ ตาล 1 ชอ้ นชา

1. หอมแดง 6 หัว พรกิ แกงเลยี ง
2. กุ้งแหง้ ป่น 3 ช้อนโต๊ะ
3. กระชาย 3 แงง่ 5. พริกไทยเม็ด 1 ชอ้ นโตะ๊
4. พรกิ ข้ีหนสู วน 8 เม็ด 6. กงุ้ สดลวก 3 ตวั
7. กะปิ 1/2 ชอ้ นโต๊ะ
8. รากผกั ชี 1 ราก

48

ข้นั ตอนและวิธกี ารทา

1. เร่ิมจากการทำพริกแกงเลียงกันก่อน โดยนำส่วนผสม
ข้างต้น กุ้งแห้ง กระชาย พริกไทย พริกขี้หนู รากผักชี
หอมแดง กุ้งลวกและกะปิ โขลกเข้ากันตามลำดับ โขลกพอ
หยาบ ๆ ไม่ตอ้ งละเอียดมาก

2. ตงั้ หม้อใสน่ ำ้ ซุบรอใหเ้ ดือด แล้วใสพ่ รกิ แกงลงไปรอใหเ้ ดอื ด
อีกครงั้

3. ใส่ผักลงไปเริ่มจากฟักทอง ข้าวโพดอ่อน บวบ และเห็ด
ปรุงรสด้วยน้ำปลา ซีอิ๊วขาว น้ำตาล แล้วตม้ ตอ่ ให้เดือดและ
ผักได้ที่แลว้ ใส่กงุ้ ลงไป

4. ขนั้ ตอนสดุ ท้ายใสใ่ บแมงลักปิด เตาตักเสิรฟ์ รอ้ น ๆ

49

แกงจดื มะระ กระดกู หมู

ตามหลักการแพทย์แผนไทย ถ้าจะดับร้อนด้วยอาหารต้องทาน

อาหารที่มีรสขมหรือเย็น ซ่ึงผักรสขมชนิดนี้ นอกจากจะเป็นยาดับร้อนแล้ว

ยังช่วยถอนพิษไข้ ช่วยแก้กระหาย แก้อักเสบ เจ็บคอ บรรเทาอาการร้อนในได้

อกี ด้วย

ส่วนผสมและเคร่ืองปรุง 5. พริกไทยเมด็ 1/2 ช้อนโต๊ะ
6. นำ้ สะอาด 1,500 มลิ ลลิ ิตร
1. มะระ 1 ลกู
2. กระดูกหมูออ่ น 350 กรัม 7. เกลือ

3. ผักชี 5 ต้น 8. ซีอว๊ิ ขาว

4. กระเทียม 1 ชอ้ นโต๊ะ 9. นำ้ ปลา

ขั้นตอนและวิธกี ารทา

1. แกะเปลือกกระเทียม โขลกกระเทยี ม, พริกไทย, รากผักชรี วมกันแล้วพกั ไว้ (สามเกลอ)
2. ลา้ งมะระให้สะอาด หัน่ เป็นทอ่ น แล้วคลุกเกลอื ลา้ งนำ้ อีกครงั้ เพ่ือลดความขมของมะระ

** หากใครไมช่ อบความขมของมะระ อาจจะนำมะระไปลวกแลว้ เทน้ำทงิ้ ก่อนได้
3. ล้างกระดูกออ่ นใหส้ ะอาด หนั่ เปน็ ชิน้ ๆ
4. นำกระดูกหมูและสามเกลอใสห่ มอ้ ใสน่ ้ำจนทว่ ม เปดิ ไฟแรง พอเดอื ดจะมฟี องลอยข้นึ มา

ให้คอยช้อนฟองออกใหห้ มด ฟองจะทำให้น้ำแกงขุ่น หลังช้อนฟองหมดแล้ว ลดไฟออ่ น
เคยี่ วตอ่ ประมาณ 1 ชม.
5. ใส่มะระลงไป ต้มต่อประมาณ 20 นาที หรือจนมะระนม่ิ
6. ปรงุ รสดว้ ยเกลือ ซีอิ๊วขาว นำ้ ปลา ชมิ รสตามชอบ แล้วยกลง ตกั เสิร์ฟ

50


Click to View FlipBook Version