แกงจดื ฟกั
ส่วนผสมและเครื่องปรงุ ขั้นตอนและวธิ กี ารทา
1. ฟักเขยี วอ่อน 1 ลูกเล็ก ปอกเปลือก 1. นำหม้อใสน่ ้ำสะอาดตง้ั ไฟ ใสร่ ากผักชีลงไป
ล้าง ห่นั เปน็ ช้ินใหเ้ รียบรอ้ ย 2. พอน้ำเดือด ใส่กระดกู หมลู งไป ข้นั ตอนนี้สำคญั หลงั
2. เหด็ หอมแหง้ 4 - 5 ดอก จากใสก่ ระดูกหมลู งไปแลว้ เปิดไฟแรง ให้นำ้ เดอื ดจัด
(แช่นำ้ ให้นมิ่ ห่ันเป็นชิ้น) (น้ำจะมีฟองพุด ๆ) แล้วหรี่ไฟลงทันทีใช้ไฟอ่อน ๆ
3. กระดูกหมู 500 กรมั (ครง่ึ กิโลกรมั ) เคีย่ วกระดูกหมู ประมาณ 30 นาที วธิ นี ้ี จะทำใหน้ ำ้
4. รากผกั ชีทุบ 5 ราก ต้มใส ไม่ขุ่น
5. เกลอื ปน่ 1/2 ช้อนชา 3. นำฟักอ่อนและเหด็ หอมใสล่ งไปปรงุ รสด้วย
6. ซอี ๊วิ ขาว 2 ช้อนโต๊ะ เกลือปน่ ผงปรุงรส ซีอิ๊วขาว ชิมรสชาติตามชอบ
7. ผงปรุงรส 1 ก้อน 4. ต้มต่อไปดว้ ยไฟอ่อน ๆ จนฟักสกุ และกระดกู หมู
8. กระเทยี มปอกเปลอื กทุบพอแตก จะนมุ่ การสังเกตดุ ฟู ักสุกน้ัน เน้อื ฟกั จะใส น่ิม ก็เปน็
7 กลบี อนั ใช้ได้ (ข้อแนะนำระวังอย่าใชไ้ ฟแรงหรอื น้ำเดอื ดพล่าน
9. แครอทและต้นหอมหน่ั จะทำใหน้ ำ้ ซปุ ขนุ่ หม่ันช้อนฟองและไขมนั ออกเรื่อย ๆ
(ใสห่ รอื ไม่ใส่ก็ได้แล้วแตช่ อบ) จะทำให้นำ้ ซุปใสน่ารับประทาน)
5. ชมิ รสชาติปรุงรสตามชอบอีกครัง้ ใสต่ ้นหอม
ปิดไฟได้เลย ตกั ใส่ถ้วย โรยผกั ชี เหยาะพริกไทย
เล็กหน่อย เสิร์ฟกับข้าวสวยร้อน ๆ
51
แกงจืดหวั ไชเ้ ทา้ กระดูกหมู
ส่วนผสมและเครือ่ งปรงุ
1. กระดกู หมู 500 กรัม
2. หวั ไชเทา้ ขนาดกลางหนั่ เป็นชิน้ ๆ 2 หัว
3. แครอทหัน่ เปน็ ชิ้นเล็กเพอ่ื ความ ข้นั ตอนและวิธกี ารทา
สวยงามและเพิ่มวติ ามนิ เอ
ตามชอบ 1. นำกระดูกหมมู าล้างนำ้ ใหส้ ะอาด แล้วพกั
สะเด็ดนำ้ ไว้
4. ขนึ้ ฉา่ ยหั่นท่อน 1 – 2 ต้น
5. กระเทียมแกะเปลอื ก 5 กลีบ 2. โขลกกระเทยี ม พริกไทยและรากผกั ชเี ข้า
6. รากผกั ชี 3-4 ราก ด้วยกัน นำไปหมักกับกระดูกหมู
7. พรกิ ไทยแบบเมด็ ½ ถว้ ย
8. ซอี ๊วิ ขาว 2 ช้อนโต๊ะ 3. ตม้ นำ้ เปล่าจนเดือด ใส่กระดกู หมูที่หมกั ไว้
9. เกลอื 1/2 ชอ้ นชา ลงไป และคอยชอ้ นฟองออกจากนำ้ ซุป
10. นำ้ เปลา่ 2 ถว้ ยตวง เพื่อทน่ี ำ้ ซปุ จะไดใ้ สน่ากนิ
4. พอกระดกู หมูเร่มิ สุก ให้ใส่หัวไชเท้ากบั
แครอท เบาไฟลง รอจนผักสกุ ใสซ่ อส
ปรงุ รสและเกลือ เคยี่ วจนกระดกู หมเู ปอ่ื ย
จากนัน้ จึงใส่ขน้ึ ฉา่ ยตามลงไป แลว้ ตกั ใส่
ชามได้เลย
52
แกงจดื ตาลึง
ส่วนผสมและเครื่องปรงุ
1. ยอดตำลึง 100 กรมั 2. หมสู บั 100 กรัม
3. ซปุ หมกู อ้ น 1 ก้อน 4. กระเทียม 1 หวั
5. ซีอิ้วขาว 1 ชอ้ นโต๊ะ 6. เกลอื เล็กนอ้ ย
7. พรกิ ไทยปน่ 8. รากผกั ชี
ขั้นตอนและวิธกี ารทา
1. เดด็ ยอดตำลงึ เอาใบและยอด เอากา้ นทิ้ง
2. หมูสบั ให้ละเอยี ด หมักกบั กระเทียม ซีอิ้วขาว
พริกไทย รากผกั ชี หมกั ทง้ิ ไว้ 10 นาที
3. ตั้งหมอ้ ใส่น้ำพอประมาณ พอเดอื ด
ใสซ่ ุปหมกู ้อน กระเทียม และหมูสบั ลงไป
4. ใส่ตำลึงลงไป ตง้ั ไวส้ ักพักพอสุกกป็ รุงรส
อีกคร้ังและยกลง
53
ผดั ผกั กาดขาว
ส่วนผสมและเครือ่ งปรงุ
1. ผักกาดขาว 150 กรัม 2. กระเทียมสบั 1 ชอ้ นโต๊ะ
3. น้ำตาลทราย ½ ช้อนชา 4. ซีอวิ้ ขาว 1 ช้อนโต๊ะ
5. นำ้ เปล่า 2 ช้อนโต๊ะ 6. น้ำมันหอย 2 ชอ้ นโต๊ะ
7. นำ้ มันสำหรบั ผัด 2 ช้อนโต๊ะ
ขนั้ ตอนและวธิ กี ารทา
1. เตรียมผักกาดขาว เลอื กที่สด ๆ ขนาดพอดี จากนน้ั ตัดแยกออกเปน็
ใบ ๆ แล้วลา้ งน้ำใหส้ ะอาด สะเดด็ นำ้ ออกให้หมด แลว้ ห่ันเป็นทอ่ น ๆ
ขนาดประมาณ 2 นวิ้ เตรยี มไว้
2. ตง้ั กระทะใหร้ อ้ น ใชไ้ ฟกลาง จากนนั้ ใสน่ ้ำมนั
สำหรับผดั ลงไป รอให้นำ้ มันรอ้ น จงึ ใส่
กระเทียมสบั ลงไป ผัดคลุกเคลา้ ใหห้ อม
3. นำผักกาดขาวหนั่ ใส่ลงไป ผดั คลกุ เคลา้ ใหพ้ อสุก
จึงใสเ่ ครือ่ งปรุงรสลงไป ใส่นำ้ มันหอย น้ำตาลทราย
ซอี ้ิวขาว น้ำเปลา่ ลงไป จากนั้นผดั คน คลุกเคลา้
ให้ทุกอย่างเข้ากันดี แล้วปดิ ไฟ พรอ้ มจดั เสริ ์ฟ
54
ผดั บวบใส่ไข่
ส่วนผสมและเครอ่ื งปรงุ
1. บวบออ่ น 1 ลกู 2. กระเทียม 5 - 6 กลบี
3. เนือ้ หมู เน้อื ไก่ หรอื เนอื้ สัตวต์ ามชอบ (ห่ันเปน็ ชิน้ ) 50 - 100 กรมั
4. ไขไ่ ก่ 2 ฟอง 5. น้ำเปล่าเล็กนอ้ ย
6. นำ้ ตาลทราย 7. ซอี ิ๊วขาว
8. น้ำมนั พชื (สำหรบั ผดั )
ขน้ั ตอนและวิธีการทา
1. ปอกเปลอื กบวบออกแล้วหัน่ เปน็ ท่อนเฉียงส้นั ๆ
ลา้ งให้สะอาด พกั ใหส้ ะเดด็ น้ำ
2. ตง้ั กระทะใส่นำ้ มันพชื พอร้อน ใส่กระเทียมลงเจียวให้หอม
ใส่เน้ือสัตวล์ งไปผัดพอสกุ ตามดว้ ยบวบ เตมิ นำ้ เปล่า
ลงไปเล็กนอ้ ย พอบวบใกลส้ กุ ปรุงรสดว้ ยซอี ิ๊วขาวและ
นำ้ ตาลทราย
3. ใชท้ พั พีเกลยี่ บวบไปข้างกระทะ ตอกไข่ใสล่ งไป ยไี ข่
ใหแ้ ตกตวั จากนั้นตกั บวบลงมาไว้บนไข่ ผดั จนไขส่ ุก
ตักใส่จาน
55
การดูแลสุขภาพในช่วงฤดรู อ้ น
ใช้วิถีชวี ติ ทถ่ี กู ต้องและใช้หลกั อาหารเปน็ ยา
รับประทานอาหารใหค้ รบทกุ รส
แตป่ รบั รสชาตอิ าหารให้เหมาะสม
โดยหนั มาเนน้ รบั ประทานอาหารอาหาร
“รสขม เยน็ จืด”
ลดอาหารรสชาติ “หวาน มนั เคม็ ”
56
เอกสารอา้ งองิ
1. กรมอุตุนิยมวิทยา. หนังสืออุตุนิยมวิทยา [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 24 มี.ค.
2564]. เข้าถงึ ได้จาก: https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=53
2. กรมควบคุมโรค. 10 เมนูอาหารต้องระวังช่วงหน้าร้อน. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 20
พ.ค.2564]. เขา้ ถึงได้จากhttps://www.bangkokbiznews.com/news/detail/925603
3. กรมควบคุมโรค. ประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง การป้องกันโรค และภัยสุขภาพท่ีเกิด
ในช่วงฤดูร้อนของประเทศไทย พ.ศ. 2564 [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 มี.ค. 2564].
เข้าถงึ ได้จาก: https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=17604&deptcode=
4. กรมสุขภาพจิต. ภัยเงียบที่มาพร้อมกับความเจิดจ้าของแสงอาทิตย์. [อินทราเน็ต].
[เข้ า ถึ งเม่ื อ 20 พ .ค .2564]. เข้ า ถึ ง ได้ จ า ก https://dmh.go.th/news-
dmh/view.asp?id=29672
5. กองโรคจากการประกอบอาชพี และส่งิ แวดลอ้ ม กรมควบคุมโรค [อินทราเนต็ ].
[เขา้ ถงึ เมือ่ 8เม.ย.2564].เขา้ ถึงได้จาก:http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/189
6. จิตติมา อุปลา. กันแดด (Heat stroke) ภัยร้ายท่ีมากับฤดูร้อน. จุลสารกรมการ
แพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก. 2561; 1(1): หนา้ 5.
7. จุลสารกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. สมุนไพร/ตำรับยา
สมนุ ไพรช่วยปรับสมดลุ ในฤดูรอ้ น.2562;2(7): หนา้ 3.
8. ชลทิตย์ จงบุญประเสริฐ. รู้ทัน ป้องกันโรคลมแดด [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ
22 มี.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bumrungrad.com/th/health-
blog/march-2016/heatstroke-symptoms-prevention
57
9. เนตรดาว ยวงศรี. ตรีผลา ดีอยา่ งไร ?. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 มี.ค. 2564]. เข้าถึงได้
จาก: https://www.nittm.com/singlepost/2016/03/18
10. พิรมน การยก์ ลุ วทิ ิต และคณะ. สมนุ ไพรในงานสาธารณสขุ มลู ฐาน. พมิ พค์ รง้ั
ที่ 1. ชลบรุ ี โปร แอมไพน์; 2562. หน้า 85.
11. พิสิฏฐ์ เลิศวานิช ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะ
แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฮีทสโตรค ร้อนตาย. [อินทราเน็ต]. 2564 [เข้าถึงเม่ือ
22 มี .ค . 2564]. เข้ าถึ งได้ จ าก : https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-
pl/articledetail.asp?id=1113
12. โรงพยาบาลราชวถิ .ี แนะเมนู “สมุนไพร” ชว่ ยดับร้อน [อินทราเน็ต]. [เขา้ ถึง
เมือ่ 24 ม.ี ค. 2564]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://www.rajavithi.go.th/rj/?p=4112
13. โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์. บทความสุขภาพ: 4 อาหารต้อง
ระวังในหน้ าร้อน.[อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 20 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.siphhospital.com/th/ news/ article/ share/ food-should-not-
eat-in-summer
14. ฤทธิศักดิ์ วงศ์วุฒิพงษ์. Hellokhunmor. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 24 มี.ค.
2564]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://hellokhunmor.com
15. วโิ รจน์ โตควณชิ ย์ โรงพยาบาลพระราม 9. อาการวูบหนา้ มืดเป็นลม เกดิ จาก
สาเหตุใดได้บ้าง จะมีวิธีการดูแลตัวเองอย่างไร [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 24
ม.ี ค. 2564]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: shorturl.asia/rhZ9O
16. วีรศักด์ิ เมืองไพศาล ภาควิชาเวชศาสตร์ป้อ งกันและสังคม คณ ะ
แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. รับมือลมแดด เพลียแดด [อินทราเน็ต]. 2560
[เขา้ ถึงเมือ่ 22 มี.ค. 2564].
58
17. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. ย่อเวชกรรมแผนไทย. พิมพ์ครั้งท่ี 1. กรุงเทพมหานคร.
บรษิ ัท ศลิ ป์สยามบรรจุภัณฑแ์ ละการพมิ พ์ จำกดั ; 2547. 264.
18. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลอื ก. บัญชยี าจากสมนุ ไพร พ.ศ. 2555. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ. สำนักงาน
กจิ การโรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถัมภ์; 2556.
19. สํานักโรคจากประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม กรมควบคุมโรค. โรคและภัย
สุขภาพจากอากาศร้อน [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมอ่ื 24 มี.ค. 2564]. เขา้ ถึงได้จาก
http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/situation/4_11_situation.pdf
20. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. "บัวบก" บำรุงสมอง
ป้องกันอัลไซเมอร์. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 24 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.thaihealth.or.th
21. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. เย็นช่ืนใจกับ “อาหาร
คลายร้อน”.[อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 27 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.thaihealth.or.th
22. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. โรคและภัยสุขภาพ
ในช่วงฤดูร้อน. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 20 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.thaihealth.or.th
23. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. สาเหตุที่พบบ่อยของ
อาการ “หน้ามืดเป็นลม” [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 24 มี.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.thaihealth.or.th
24. สำนักศึกษาความเส่ียงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุมโรค.
การปฐมพยาบาล คนเป็นลม [อนิ ทราเน็ต]. [เข้าถึงเมือ่ 24 มี.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.thaihealth.or.th
59
25. สำนักศึกษาความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุมโรค. คู่มือ
รูท้ ันโรคและภัยสุขภาพสำหรับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจำกัด; 2560. 97-99.
26. อาหารประจำฤดูร้อน. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 27 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก.
https://23501pawanrud.wordpress.com
27. hfocus. กรมแพทย์แผนไทยชวนกินผัก-ผลไม้กลุ่มป้องกันตะคริว [อินทราเน็ต].
[เข้าถึงเมื่อ 22 มี.ค.2564]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:https://www.hfocus.org/content/2018/15697
28. COOKING. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.wongnai.com/recipes/ugc/5abe7e91416d43df995728fc
d4856a51?ref=ct
29. COOKING. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://cooking.kapook.com/view176646.html
30. COOKPAD. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://cookpad.com/th/recipes/278510
31. OPEN RICE. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://th.openrice.com/th/recipe/3395
32. OPEN RICE. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://th.openrice.com/th/recipe/54
33. OPEN RICE. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://th.openrice.com/th/recipe/1292
34. OPEN RICE. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://th.openrice.com/th/recipe/1931
60
35. Tadpong Tantipanjaporn. Heat: Health Effects, Measurement, Standard
and Heat Acclimatization. Journal of Safety and Health. Vol 12, No. 3
December 25, 2019. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเม่ือ 20 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSH/issue/view/16163/01-79
36. THAI-THAIFOOD. [อินทราเน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 28 พ.ค.2564]. เข้าถึงได้จาก
https://www.thaithaifood.com/th
61
กลมุ่ งานวชิ าการและคลงั ความรู้
กองวิชาการและแผนงาน
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
โทรศัพท:์ 02 149 5696 โทรสาร: 02 149 5697
Website: https://tpd.dtam.moph.go.th/index.php/home-ak