The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน
เอกสารเล่มนี้ เป็นการสังเคราะห์เนื้อหาเนื้อหาจากรายงานการศึกษาเรื่อง “ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย” โดย ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มีเป้าหมายเพื่อ ศึกษาถอดบทเรียนต่างประเทศในการอนุญาตให้เพาะปลูกและใช้ประโยชน์จากกัญชา ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตลอดจนแนวทางในการส่งเสริมการอนุญาตให้เพาะปลูกกัญชาเป็นพืชเศรษฐกิจของไทยโดยเนื้อหาในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วย 5 บท บทแรก เสนอประเด็นการศึกษาวิจัยและกรอบแนวคิดสู่เส้นทางการศึกษา บทที่ 2 ส่วนแรกอธิบายถึงนโยบายกัญชาในประเทศต้นแบบ
ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัย ในส่วนหลังเป็นการสรุปการดำเนินนโยบายกัญชาของประเทศไทยในปัจจุบัน และโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมกัญชา
ทางการแพทย์ของไทยในช่วงเริ่มต้นของการดำเนินนโยบาย บทที่ 3 เป็นการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งในร่มและแบบโรงเรือน
บทที่ 4 วิเคราะห์ความต้องการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในรูปแบบของยาตำรับแพทย์แผนปัจจุบันและยาตำรับแพทย์แผนไทย รวมทั้งประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ
(ในรูปของตัวเงิน) และ บทสุดท้าย เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะการส่งเสริมเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน
เอกสารเล่มนี้ เป็นการสังเคราะห์เนื้อหาเนื้อหาจากรายงานการศึกษาเรื่อง “ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย” โดย ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มีเป้าหมายเพื่อ ศึกษาถอดบทเรียนต่างประเทศในการอนุญาตให้เพาะปลูกและใช้ประโยชน์จากกัญชา ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตลอดจนแนวทางในการส่งเสริมการอนุญาตให้เพาะปลูกกัญชาเป็นพืชเศรษฐกิจของไทยโดยเนื้อหาในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วย 5 บท บทแรก เสนอประเด็นการศึกษาวิจัยและกรอบแนวคิดสู่เส้นทางการศึกษา บทที่ 2 ส่วนแรกอธิบายถึงนโยบายกัญชาในประเทศต้นแบบ
ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัย ในส่วนหลังเป็นการสรุปการดำเนินนโยบายกัญชาของประเทศไทยในปัจจุบัน และโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมกัญชา
ทางการแพทย์ของไทยในช่วงเริ่มต้นของการดำเนินนโยบาย บทที่ 3 เป็นการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งในร่มและแบบโรงเรือน
บทที่ 4 วิเคราะห์ความต้องการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในรูปแบบของยาตำรับแพทย์แผนปัจจุบันและยาตำรับแพทย์แผนไทย รวมทั้งประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ
(ในรูปของตัวเงิน) และ บทสุดท้าย เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะการส่งเสริมเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย

Keywords: กัญชา

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่

แลผะลคกวารมะทคบมุ้ ทคา่างใเนศกราษรฐลกงิจทุน

| ผู้ เ ขี ย น |

รวิสสาข์ สชุ าโต
ณฐั พล พจนาประเสริฐ

อัจฉรา ปทุมนากลุ

| บ ร ร ณ า ธิ ก า ร |

สมพร อิศวลิ านนท์
ปิยะทัศน์ พาฬอนรุ กั ษ์
วรภัทร จติ รไพศาลศรี

เ อ ก ส า ร เ ผ ย แ พ ร่
สำ� นกั ประสานงาน “งานวจิ ยั เชงิ นโยบายเกษตรและเสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยงานวจิ ยั เชงิ นโยบาย”

สถาบันคลงั สมองของชาติ ร่วมกับ ส�ำนกั งานการวิจยั แหง่ ชาติ (วช.)
และ สำ� นักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (สกสว.)

www.agripolicyresearch.com

ผ้เู ขยี น รวสิ สาข์ สุชาโต, ณัฐพล พจนาประเสรฐิ , อัจฉรา ปทมุ นากุล
บรรณาธิการ สมพร อิศวลิ านนท์, ปิยะทัศน์ พาฬอนุรักษ์, วรภัทร จติ รไพศาลศรี
ผู้ทรงคุณวุฒิ
พจิ ารณาเน้ือหา ประยงค์ เนตยารกั ษ์
จำ� นวน 1,000 เลม่
พิมพค์ ร้งั ท่ี 1 กรกฎาคม 2564
เอกสารวชิ าการหมายเลข 16
จัดพิมพ์โดย สถาบนั คลงั สมองของชาติ อาคารอดุ มศกึ ษา 2 ชน้ั 19
เลขที่ 328 ถนนศรีอยธุ ยา แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ
10400
ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เลขท่ี 196 ถนนพหลโยธิน
แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ. 10900
ออกแบบปก-รูปเลม่ ไพโรจน์ ชินศริ ประภา | line id: piroj2504
พิมพท์ ี่ บรษิ ทั พมิ พด์ ี จำ� กัด

เอกสารเลม่ น้ี เป็นการสงั เคราะหเ์ น้ือหาจากรายงานวจิ ยั เร่อื ง
“ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกจิ ของไทย”

ไดร้ บั ทุนอุดหนนุ วิจยั จากสำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมวทิ ยาศาสตร์
วจิ ัยและนวัตกรรม (สกสว.) ภายใต้สัญญาเลขที่ RDG6220030

ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมดุ แหง่ ชาติ
กญั ชาพชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ .-กรงุ เทพฯ :
สำ� นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2564.
148 หนา้ .
1. กญั ชา. I. ช่อื เร่ือง.
633.79
ISBN : 978-974-326-683-6
ขอขอบคุณ : ภาพจากอนิ เตอรเ์ น็ต และคณะผวู้ จิ ัยฯ

คํ า นิ ย ม

สถาบันคลังสมองของชาติ ภายใต้มูลนิธิส่งเสริมทบวงมหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์ คือ

เป็นหน่วยงานที่หนุนเสริมความเข้มแข็งของการอุดมศึกษา เพ่ือให้ตอบสนองต่อสังคมและ
การพัฒนาประเทศ โดยยุทธศาสตร์และทิศทางการด�ำเนนิ งานของสถาบันฯ คือ
1) หนนุ เสรมิ เพือ่ สร้างความเขม้ แขง็ ของมหาวทิ ยาลัย
2) ใชป้ ระโยชนจ์ ากพลงั ของบคุ ลากรอดุ มศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาประเทศและสงั คม และ
3) วจิ ัยเชิงนโยบายเพื่อพฒั นาระบบอดุ มศึกษาและการพฒั นาประเทศ
ในปี พ.ศ. 2563 ทางสถาบันฯ ได้มีความร่วมมือกับ ส�ำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ในการจดั ตง้ั สำ� นกั ประสานงาน “งานวจิ ยั เชงิ นโยบายเกษตรและเสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยงานวจิ ยั
เชงิ นโยบาย” โดยมี รศ.สมพร อศิ วลิ านนท์ เปน็ ผปู้ ระสานงานฯ มเี ปา้ หมายทจ่ี ะประสานงาน
และบริหารจดั การโครงการวิจัยด้านการเกษตรเพื่อ “สร้างสรรคน์ วัตกรรมเชงิ นโยบายเกษตร
เพอื่ เพมิ่ ขดี ความสามารถแขง่ ขนั ของภาคเกษตรไทย เกษตรกรมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี มคี วามมน่ั คง
ในการประกอบอาชีพ และการผลิตเป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม” วตั ถุประสงคส์ ่วนหนึง่ คือ เพอ่ื
พัฒนาความรู้งานวิจัยเชิงนโยบายเกษตรให้เอ้ือประโยชน์ต่อการน�ำไปใช้ตอบโจทย์ข้อปัญหา
ในมิติต่างๆ พร้อมท้ังยกระดับศักยภาพของนักวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญ
รวมถึงสังเคราะห์ข้อความรู้และเผยแพร่ผลการศึกษาจากงานวิจัยเพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์
พร้อมกบั ขบั เคลื่อนให้เกดิ การสร้างผลลพั ธ์และผลกระทบจากงานวิจัยตามมา
เอกสารวิชาการฉบับท่ี 16 เรือ่ ง “กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ
และความคุ้มค่าในการลงทุน” นี้ จัดท�ำจากการสังเคราะห์ผลการศึกษาของโครงการวิจัย
“ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ของการเพาะปลกู กญั ชาเพอ่ื เปน็ พชื เศรษฐกจิ ของไทย” ซงึ่ ไดร้ บั การ
สนับสนุนทุนวิจัยจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
(สกสว.) เม่อื ปี พ.ศ. 2562 ภายใตก้ ารก�ำกับดแู ลของสำ� นกั ประสานงานฯ การจัดทำ� เอกสาร
วิชาการ ฉบับนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณการจัดพิมพ์และแผยแพร่จาก ส�ำนักงาน
วิจัยแห่งชาติ (วช.) ซึ่งเป็นช่องทางหน่ึงในการขับเคลื่อนผลงานวิจัยไปสู่ผลลัพธ์และช่วย
ผลกั ดันขอ้ มูลของงานวิจยั ให้ได้เกิดการใชป้ ระโยชนใ์ นวงกว้าง
สถาบันคลังสมองของชาติ ขอขอบคุณ ส�ำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) ท่ีสนับสนุน
การจดั พมิ พแ์ ละเผยแพรข่ ้อความรูด้ ังกล่าว ทางสถาบนั ฯ มคี วามยินดีและหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่า
เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชนต์ ่อภาคภี าคส่วนตา่ งๆ ทั้งหน่วยงานดา้ นการศกึ ษา หนว่ ยงาน
ภาครัฐ ตลอดจนภาคเอกชนและเกษตรกร เพ่ือใช้เป็นฐานข้อมูลส�ำหรับการเรียนรู้ และการ
สรา้ งทางเลอื กเชิงนโยบายตอ่ ไป
รองศาสตราจารย์ ดร.พรี เดช ทองอำ� ไพ
ผ้อู �ำนวยการสถาบนั คลงั สมองของชาติ

คํ า นํ า

กญั ชา เปน็ พชื ทก่ี ำ� ลงั อยใู่ นกระเเสความสนใจ โดยเหน็ ไดจ้ ากการเตบิ โตของตลาดกญั ชา
ของโลกทัง้ ทางการแพทย์และสนั ทนาการ ในปี พ.ศ. 2562 รัฐบาลไทยไดด้ ำ� เนนิ การผอ่ นปรน

นจ ะโยมบาเาปยน็ กพญั ชื ชทาางโเดลยอื อกนใหุญมาข่ตอใหงไใ้ ทชยก้ ญั ทชสี่ าามในาทรถาสงกรา้างรผแลพตทอยบแ์ แลทะนวิจไดัยส้ไดงู ใ้ หสแ้ ่งกผเ่ลกใษหต้กรัญกชราแถตูกอ่ มยอา่ งงวไ่าร

ก็ตาม ข้อมูลเก่ียวกับความต้องการใช้และความคุ้มค่าในการเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย ์
ยงั มอี ยูอ่ ย่างจำ� กดั
เอกสารวชิ าการฉบบั นจ้ี งึ เปน็ การนำ� เสนอขอ้ มลู ดงั กลา่ ว โดยการสงั เคราะหจ์ ากงานวจิ ยั
เรื่อง “ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย”
โดยได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวตั กรรม (สกสว.) ร่วมกับ สถาบันคลังสมองของชาติ ภายใตส้ ัญญาเลขที่ RDG6220030
และขอขอบคุณ สำ� นักงานการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) ท่ใี หท้ ุนสนับสนนุ ในการจัดพิมพเ์ อกสาร
เล่มน้ี
เนื้อหาในเอกสารประกอบด้วย 5 บท บทแรก เสนอประเด็นการศกึ ษาวิจัยและกรอบ
แนวคิดสู่เส้นทางการศึกษา บทท่ี 2 ส่วนแรกอธิบายถึงนโยบายกัญชาในประเทศต้นแบบ
ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัย ในส่วนหลังเป็นการสรุป
การด�ำเนินนโยบายกัญชาของประเทศไทยในปัจจุบัน และโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมกัญชา
ทางการแพทยข์ องไทยในช่วงเริ่มตน้ ของการดำ� เนินนโยบาย บทท่ี 3 เปน็ การวิเคราะห์ความ
คุม้ คา่ ในการลงทนุ เพาะปลกู กัญชาทางการแพทย์ในรูปแบบต่าง ๆ ท้งั ในรม่ และแบบโรงเรอื น
บทท่ี 4 วิเคราะห์ความต้องการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ท้ังในรูปแบบของ
ยาตำ� รบั แพทยแ์ ผนปจั จบุ นั และยาตำ� รบั แพทยแ์ ผนไทย รวมทงั้ ประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ
(ในรูปของตวั เงนิ ) และ บทสุดทา้ ย เปน็ บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะการสง่ เสริมเพาะปลกู กญั ชา
เพ่อื เป็นพืชเศรษฐกิจของไทย
เนอ่ื งจากชว่ งทเี่ กบ็ รวบรวมและทำ� การวเิ คราะหข์ อ้ มลู นน้ั เปน็ ชว่ งเรม่ิ ตน้ ของการดำ� เนนิ
นโยบายกัญชาของไทย (ปี พ.ศ. 2561 ถึง 2563) ท�ำใหข้ อ้ มลู ยังมคี วามจ�ำกดั อยมู่ าก ผลการ
วิเคราะห์ท่ีได้จึงเป็นผลเบ้ืองต้น เพื่อให้ผู้อ่านสามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ตง้ั ตน้ ในการทำ� ความเขา้ ใจ
กับโครงสร้างต้นทุน และผลกระทบทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย ์
ซึ่งข้อมูลและผลวิเคราะห์เหลา่ นจ้ี ะเปล่ียนแปลงไปในอนาคต เมอื่ อตุ สาหกรรมกัญชาทางการ
แพทย์ของไทยขยายตวั และพัฒนามากขน้ึ
คณะผจู้ ดั ทำ�

บ ท บ ร ร ณ า ธิ ก า ร

กัญชา จดั เปน็ พชื ทางเลือกทถ่ี กู น�ำไปใชป้ ระโยชน์ทางการแพทยม์ ากมาย เพ่ือใช้
บรรเทาอาการเจบ็ ปวด ลดอาการอักเสบ ลดอาการเกรง็ ชกั กระตุกของกล้ามเนือ้ ยบั ยัง้
การกระจายตวั ของเซลล์มะเร็ง ลดอาการลมชัก ชว่ ยให้หลบั งา่ ย ฯลฯ เนอ่ื งจากมอี งค์
ประกอบท่ีออกฤทธ์ิตอ่ จติ ประสาท ซงึ่ ผลประโยชน์ทางการแพทย์ดงั กลา่ ว ไดผ้ ลักดนั ให้
กัญชาได้กลายเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหน่ึงท่ีหลายประเทศให้ความสนใจ โดยในแต่ละ
ประเทศ กฎหมายการปลกู การครอบครอง และการจ�ำหนา่ ยกญั ชา มคี วามแตกต่างกัน
ซึ่งปัจจุบัน ประเทศไทยได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากกัญชาในการวิจัยและทางการแพทย์ได้ อย่างไรก็ตาม
ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความคมุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ ของการเพาะปลกู และใชป้ ระโยชนท์ างการแพทย์
จากกญั ชาของประเทศไทยยงั มอี ยอู่ ยา่ งจ�ำกดั
เอกสารเลม่ นี้ เปน็ การสังเคราะหเ์ นือ้ หาจากรายงานการศึกษาเรอ่ื ง “ผลกระทบ
ทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพ่ือเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย” โดย
ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั จาก สำ� นกั งาน
คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มีเป้าหมายเพื่อ
ศึกษาถอดบทเรียนต่างประเทศในการอนุญาตให้เพาะปลูกและใช้ประโยชน์จากกัญชา
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความเส่ียงท่ีอาจเกิดข้ึนตลอดจนแนวทางในการส่งเสริม
การอนญุ าตให้เพาะปลกู กญั ชาเปน็ พืชเศรษฐกจิ ของไทย
ส�ำนักประสานงาน “งานวิจัยเชิงนโยบายเกษตรและเสริมสร้างเครือข่าย
งานวจิ ัยเชิงนโยบาย” เหน็ ว่างานวิจยั นี้ ไดน้ �ำเสนอขอ้ มูลที่เป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นา
อตุ สาหกรรมกญั ชาทางการแพทยข์ องไทย และรวมถงึ สามารถนำ� ขอ้ มลู ไปประกอบใชใ้ น
การจัดท�ำนโยบาย เพื่อก�ำหนดแนวทางการส่งเสริมการอนุญาตให้เพาะปลูกกัญชา
ทางการแพทยข์ องไทยในอนาคต
ซง่ึ สำ� นกั ประสานงานฯ ขอขอบคณุ ศ.ดร.ประยงค์ เนตยารกั ษ์ ผูท้ รงคณุ วุฒิทสี่ ละ
เวลาพิจารณาเน้ือหาของเอกสาร และขอขอบคุณ ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ
ทไ่ี ดจ้ ดั ทำ� สงั เคราะหข์ อ้ ความรจู้ ากรายงานวจิ ยั ขน้ึ เปน็ เอกสารวชิ าการเลม่ น้ี มา ณ โอกาส
น้ี

บรรณาธิการ

ส า ร บั ญ

บทท่ี 1 อารัมภบท 13

1.1 ความส�ำคญั และเหตผุ ล 15
1.2 กระบวนการหาค�ำตอบผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ของการเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย ์ 16
1.2.1 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา 16
1.2.2 กรอบประเดน็ คำ� ตอบท่ีตอ้ งการและวิธกี าร 18
1.2.3 กรอบคิดทางทฤษฎแี ละวิธกี ารหาตน้ ทนุ
และผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร ์ 19
1.3 รู้จกั ข้อมูลเบื้องต้นของกัญชา 23
1.3.1 สายพันธ์กุ ญั ชา 24
1.3.2 ระบบการปลูกกญั ชา 24
1.3.3 วิธกี ารสกัดกัญชา 26
1.3.4 รูปแบบของสารสกดั CBD ท่ีไดจ้ ากกญั ชา 27
1.3.5 ผลติ ภัณฑ์ยากญั ชาทางการแพทยใ์ นประเทศไทย 28

บทท่ี 2 อุตสาหกรรมกญั ชาในต่างประเทศและประเทศไทย 33

2.1 ภาพรวมอตุ สาหกรรมกัญชาของโลก 35
2.2 การดำ� เนินนโยบายกัญชาในตา่ งประเทศ 40
2.2.1 การดำ� เนินนโยบายกัญชาในประเทศสหรัฐอเมริกา 40
2.2.2 การดำ� เนินนโยบายกญั ชาในประเทศแคนาดา 43
2.2.3 การดำ� เนินนโยบายกญั ชาในประเทศเนเธอร์แลนด์ 47
2.2.4 การดำ� เนนิ นโยบายกัญชาในประเทศอรุ ุกวัย 49
2.2.5 เปรียบเทียบนโยบายกัญชาระหวา่ งประเทศตา่ ง ๆ 51
2.3 อตุ สาหกรรมกญั ชาในประเทศไทย 53
2.3.1 การดำ� เนินนโยบายกญั ชา
ทางการแพทยข์ องประเทศไทย 53
2.3.2 โซ่อุปทานของอุตสาหกรรมกัญชา
ทางการแพทย์ของไทย 55

8 | กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุม้ ค่าในการลงทุน

บทที่ 3 ต้นทุน ผลตอบแทน และความคุ้มค่าในการลงทุน 65
การปลูกกญั ชาทางการแพทย์

3.1 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการปลูกกญั ชาแบบต่าง ๆ
ในตา่ งประเทศ 67
3.2 ตน้ ทุนและผลผลติ การปลกู กญั ชาในประเทศไทย 69
3.2.1 การปลูกกัญชาแบบโรงเรือนหรอื กรนี เฮ้าส ์ 69
3.2.2 การปลกู แบบในรม่ (indoor) 75
3.2.3 เปรียบเทียบต้นทนุ การปลูกกญั ชารูปแบบต่าง ๆ 79
3.2.4 ตน้ ทุนการตากกัญชา 81
3.3 ต้นทุนการสกดั กญั ชาในประเทศไทย 82
3.3.1 ต้นทนุ การสกัดกัญชาแบบใช้สารละลาย Solvent 82
3.3.2 ต้นทนุ การสกัดกัญชาแบบใชส้ ารละลาย Solvent
โดยใช้เครอ่ื งสกัดเย็น 84
3.3.3 ตน้ ทนุ การสกดั กญั ชาแบบ Supercritical CO2 85
3.4 การวิเคราะห์ความคุม้ ค่าในการลงทนุ 86

บทท่ี 4 ขนาดตลาดและผลกระทบทางเศรษฐกจิ ของการใช้
กญั ชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 97
4.1 ขนาดตลาดกญั ชาในตำ� รบั ยาแพทย์แผนปจั จบุ นั 99
4.2 ขนาดตลาดกัญชาในตำ� รบั ยาแพทยแ์ ผนไทย 106
4.3 ผลกระทบทางเศรษฐกิจของอตุ สาหกรรมกญั ชา
ทางการแพทย์ 108
4.3.1 การประเมินผลกระทบด้านพืน้ ทีป่ ลูกกญั ชา 108
4.3.2 การประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ของกญั ชาเพ่อื เปน็ ยาแผนปัจจบุ นั 115
4.3.3 การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกจิ
ของกัญชาเพ่ือเป็นยาแผนไทย 120

บทที่ 5 สรปุ และขอ้ เสนอแนะ 123
5.1 สรุป 125
5.1.1 การด�ำเนินนโยบายกัญชาในต่างประเทศ
และประเทศไทย 125
5.1.2 ความคุ้มค่าการลงทุนเพาะปลกู กญั ชาในประเทศไทย 127

กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทุน | 9

5.1.3 ความต้องการกัญชาทางการแพทย์และผลกระทบ
ทางเศรษฐกิจในการเพาะปลูกกญั ชาทางการแพทย์ 127
5.2 ขอ้ พงึ ระวังในการอนญุ าตใหใ้ ชก้ ัญชาทางการแพทย ์ 129
5.3 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย 130
5.4 ข้อจำ� กัดส�ำหรบั ขอ้ มลู ทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ 132
5.5 ข้อเสนอแนะสำ� หรบั การศกึ ษาวจิ ยั ตอ่ ไป 133

เอกสารอา้ งอิง 136
ภาคผนวก 139
ดัชนี 145

ส า ร บั ญ ต า ร า ง

ตารางที่ 2.1 ขนาดตลาดกญั ชาแบง่ ตามประเภทการใช้งาน
ตั้งแตป่ ี 2559 - 2561 (ล้านเหรยี ญดอลลารส์ หรัฐ) 38
ตารางที่ 2.2 ขนาดตลาดกัญชาทางการแพทย์แยกตามทวปี
ตงั้ แตป่ ี 2559 - 2561 (ลา้ นเหรียญดอลลารส์ หรัฐ) 39
ตารางที่ 2.3 ขนาดตลาดกญั ชาเพื่อสนั ทนาการแยกตามทวีป
ตงั้ แต่ปี 2559 - 2561 (ล้านเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั ) 39
ตารางท่ี 2.4 ราคากัญชาแยกตามรัฐในประเทศแคนาดา
(ลา้ นเหรียญดอลลารส์ หรฐั ) 45
ตารางที่ 2.5 เปรียบเทยี บนโยบายกัญชาในประเทศตา่ ง ๆ 51
ตารางท่ี 3.1 เปรยี บเทียบต้นทุนและผลผลติ ตอ่ 100 ตารางเมตร 80
ตารางที่ 3.2 เปรยี บเทียบตน้ ทุนผันแปรของการผลิตแบบตา่ ง ๆ
ต่อ 100 ตารางเมตร (บาท/100 ตรม.) 80
ตารางที่ 3.3 มลู ค่าปจั จุบนั สุทธิ (NPV) และอตั ราสว่ นผลตอบแทน
ต่อตน้ ทุน (B/C ratio) ในกรณตี า่ ง ๆ 95
ตารางท่ี 4.1 จ�ำนวนและรอ้ ยละผ้ปู ่วยมะเร็งรายใหม่
ระดับโรงพยาบาลในปี 2562 100

10 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทนุ

ตารางที่ 4.2 การพยากรณข์ องจำ� นวนผูป้ ่วยและความชุก
ของการใช้ยากัญชาทางการแพทย ์ 101
ตารางท่ี 4.3 ปรมิ าณการใช้และมลู ค่าตลาดกญั ชา
กรณีการใชย้ า 104 กรมั ดอกแหง้ ต่อคนตอ่ ปี (ลา้ นบาท) 103
ตารางที่ 4.4 ปริมาณการใชแ้ ละมลู ค่าตลาดกัญชา
กรณกี ารใช้ยา 170 กรมั ดอกแหง้ ตอ่ คนต่อปี (ล้านบาท) 103
ตารางท่ี 4.5 ปรมิ าณการใช้และมลู คา่ ตลาดกัญชา
กรณกี ารใช้ยา 200 กรัมดอกแห้งตอ่ คนต่อปี (ล้านบาท) 104
ตารางที่ 4.6 ปริมาณการใช้ และมูลคา่ ตลาดกญั ชา
กรณกี ารใชย้ า 240 กรัมดอกแหง้ ต่อคนต่อปี (ล้านบาท) 105
ตารางท่ี 4.7 ปรมิ าณการใชก้ ญั ชาท้งั หมด
ในการผลิตยาตำ� รับไทย ปี 2563 107
ตารางท่ี 4.8 ประมาณการปริมาณความต้องการใชก้ ัญชาสายพันธุ์
THC และ CBD ในปี 2563 และ 2568 (กรัมดอกแหง้ ) 109
ตารางที่ 4.9 ประมาณการพนื้ ทปี่ ลูกกัญชาในวิธกี ารปลกู รูปแบบต่าง ๆ
ในปี 2563 และ 2568 (ตารางเมตร) 115
ตารางท่ี 4.10 การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจกรณกี ารใชย้ า
ปริมาณ 104 กรัมดอกแหง้ ต่อคนต่อปี 116
ตารางท่ี 4.11 การประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ กรณีการใช้ยา
ปริมาณ 170 กรัมดอกแห้งต่อคนต่อป ี 117
ตารางท่ี 4.12 การประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ กรณีการใชย้ า
ปรมิ าณ 200 กรมั ดอกแห้งต่อคนต่อปี 118
ตารางท่ี 4.13 การประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ กรณกี ารใช้ยา
ปริมาณ 240 กรมั ดอกแห้งตอ่ คนตอ่ ปี 119

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มคา่ ในการลงทนุ | 11

ส า ร บั ญ ภ า พ

ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา 17
ภาพที่ 2.1 หว่ งโซค่ ุณค่าของอตุ สาหกรรมกญั ชา 36
ภาพที่ 2.2 อตั ราการเติบโตเฉลี่ยของตลาดกัญชา
ในประเทศตา่ ง ๆ ปี 2561 37
ภาพที่ 2.3 ระดับการอนญุ าตให้ใช้และครอบครองกญั ชา
ในแตล่ ะรฐั ของประเทศสหรัฐอเมรกิ า 41
ภาพที่ 2.4 โซอ่ ุปทานกญั ชาอย่างถูกกฎหมายของประเทศไทย 55
ภาพที่ 3.1 เปรยี บเทยี บต้นทนุ รายรบั คา่ ใชจ้ า่ ยและก�ำไรสุทธิ
ของการปลกู แบบตา่ ง ๆ 67
ภาพที่ 3.2 ต้นทนุ การผลิตของการปลกู กัญชาสายพันธไ์ุ ทย
แบบโรงเรอื น EVAP 70
ภาพท่ี 3.3 ตน้ ทนุ การผลิตของการปลูกกัญชาสายพนั ธุไ์ ทย
แบบโรงเรือนตาขา่ ย 72
ภาพท่ี 3.4 ตน้ ทุนการผลติ ของการปลกู กัญชาสายพันธ์ตุ า่ งประเทศ
แบบโรงเรือน 74
ภาพท่ี 3.5 ตน้ ทุนการปลกู กญั ชาสายพนั ธต์ุ ่างประเทศในร่ม
แบบระบบรากลอย 76
ภาพท่ี 3.6 ต้นทนุ การปลกู กัญชาสายพันธุ์ตา่ งประเทศในร่ม
แบบวสั ดุดนิ 78
ภาพท่ี 3.7 ตน้ ทุนการตากกญั ชา 81
ภาพท่ี 3.8 ต้นทุนการสกดั แบบใช้สารละลาย Solvent 83
ภาพที่ 3.9 ตน้ ทุนการสกัดแบบ Solvent โดยใชเ้ ครอ่ื งสกัดเย็น 84
ภาพที่ 3.10 ตราน้ คทาุนดกอากรกผัญลชิตาขแอหงว้งใิธนีกสาหรสรกฐั ัดอแเมบรบกิ าSปuี p2e56rc2ri-tic2a5l63C O2 85
ภาพที่ 3.11 87
ภาพที่ 4.1 ปริมาณการใชแ้ ละมลู คา่ ตลาดกัญชาต�ำรบั ไทย
ตงั้ แตป่ ี 2563 - 2568 108

12 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทุน

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทุน | 13

บทท่ี 1

อารัมภบท

14 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทนุ

อตุ สาหกรรมกญั ชา
สามารถสร้างรายได้ให้กับรัฐบาล
โดยการเก็บภาษีได้ ทงั้ ยงั สามารถสร้างรายไดแ้ ละงาน
ท้งั ทางตรงและทางอ้อมให้กบั ระบบเศรษฐกิจ
นอกจากนี้ อุตสาหกรรมกญั ชายงั สร้างโอกาส
ในการลงทุนใหม่ ๆ ของนักลงทนุ

กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทุน | 15

1.1 ความสำ� คญั และเหตผุ ล

กัญชา เป็นพืชท่ีให้สารสกัดอันเป็นประโยชน์ทางการแพทย์มากมาย เช่น
ใชเ้ ป็นยาในการลดอาการปวด อาการเจ็บตา่ ง ๆ ลดอาการคลน่ื ไส้อาเจยี น ท�ำให้
อยากอาหาร ยับย้ังการกระจายตัวของเซลล์มะเร็ง ลดอาการอักเสบ ลดอาการ
เกร็ง ชักกระตุกของกล้ามเนื้อ ลดอาการลมชัก ช่วยให้หลับง่าย เน่ืองจากกัญชา
มีองคป์ ระกอบท่อี อกฤทธิ์ต่อจติ ประสาท สารทพี่ บในตน้ กญั ชา ไดแ้ ก่ เตตรา้ ไฮโดร
แคนนาบนิ อล (THC) ซึ่งเป็นสารประกอบหนง่ึ จาก 483 ชนิด และยังมีสารอนื่ ทีพ่ บ
ในกัญชา คอื แคนนาบินอยด์อีกอยา่ งน้อย 84 ชนิด เชน่ แคนนาบไิ ดออล (CBD)
แคนนาบินอล (CBN) เตตรา้ ไฮโดรแคนนาบิวารนิ (THCV) และแคนนาบิเจอรอล
โดยมรี ปู แบบการบรโิ ภคทง้ั แบบแหง้ และน้�ำมนั นอกจากน้ี มนุษย์ยังใช้กญั ชาเพ่อื
ความบนั เทงิ เนอ่ื งจากทำ� ใหผ้ เู้ สพมภี าวะเคลม้ิ สขุ ความผอ่ นคลาย และความอยาก
อาหารเพิ่มขึน้ กัญชายังสรา้ งผลกระทบในทางลบตอ่ ผูเ้ สพ เช่น ความจ�ำระยะสน้ั
ลดลง ปากแห้ง ทักษะการเคล่อื นไหวบกพรอ่ ง ตาแดง และรสู้ ึกหวาดระแวงหรือ
วิตกกังวล
กฎหมายการปลูก การครอบครอง และการจำ� หนา่ ย กญั ชามีความแตกตา่ ง
กันทว่ั โลก บางประเทศ เช่น แคนาดา บางรฐั ของสหรัฐอเมริกา และอรุ กุ วัย กัญชา
สามารถใช้ทางการแพทย์และเพ่ือความบันเทิงได้อย่างถูกกฎหมาย บางประเทศ
สามารถใชเ้ พ่ือการแพทย์เท่านนั้ เช่น เดนมาร์ก ออสเตรเลีย และเยอรมนั ในขณะ
ที่หลายประเทศอย่างเช่น ประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้ปลูกกัญชาได้อย่างเสรี
โดยนโยบายการครอบครอง จ�ำหน่ายและปลูกกัญชาของประเทศต่าง ๆ ต้องอยู่
ภายใตอ้ นสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยยาเสพติดใหโ้ ทษ (1961) (Single Conven-
tion on Narcotic Drugs) อนสุ ัญญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยวตั ถทุ ่ีออกฤทธต์ิ อ่ จิต
และประสาท (1971) (Convention on Psychotropic Substances) และ
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดและวัตถุ
ที่ออกฤทธ์ติ ่อจิตและประสาท (1988) (Convention against Illicit Traffic in
Narcotic Drugs and Psychotropic Substances)

16 | กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทนุ

เม่ือพิจารณาถึงผลประโยชน์ของการปลูกและจ�ำหน่ายกัญชาอย่างถูกต้อง
ตามกฎหมายในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า อุตสาหกรรมกัญชาสามารถ
สร้างรายได้ให้กับรัฐบาลโดยการเก็บภาษีได้ ท้ังยังสามารถสร้างรายได้และงาน
ท้ังทางตรงและทางอ้อมให้กับระบบเศรษฐกิจ นอกจากน้ี อุตสาหกรรมกัญชายัง
สรา้ งโอกาสในการลงทนุ ใหม่ ๆ ของนกั ลงทนุ เนอื่ งจากคาดว่าธรุ กจิ กญั ชาจะเป็น
ธรุ กจิ ทใี่ หผ้ ลตอบแทนสงู ในอนาคต อกี ทงั้ อตุ สาหกรรมกญั ชาทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมาย
ยงั สามารถลดงบประมาณในการบงั คับใช้กฎหมายได้
ส�ำหรับประเทศไทยในปัจจุบันได้มีการปรับปรุงพระราชบัญญัติยาเสพติด
ให้โทษ พ.ศ. 2522 เพ่ือให้สามารถใช้ประโยชน์จากกัญชาในการวิจัยและทาง
การแพทย์ได้ โดยการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทยนั้นมี 2 แนวทาง
อนั ได้แก่ การแพทย์ปัจจุบนั และการแพทยแ์ ผนไทย อย่างไรกต็ าม ประเทศไทย
ยังมีข้อมูลเก่ียวกับความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของการอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการ
แพทย์ที่จ�ำกัด ดังนั้นหนังสือเล่มนี้เป็นการน�ำเสนอการสังเคราะห์ผลงานวิจัย
ที่มุ่งเน้นในการ
1) ถอดบทเรยี นจากตา่ งประเทศ ในการอนญุ าตใหเ้ พาะปลกู กญั ชาและการ
ใชป้ ระโยชน์จากกัญชา
2) ศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและข้อพึงระวังที่อาจเกิดขึ้นจากการ
อนญุ าตให้เพาะปลูกกญั ชาเพอื่ เป็นพืชเศรษฐกจิ ของไทย และ
3) เสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมการอนุญาตให้เพาะปลูกกัญชาทาง
การแพทย์ เพ่อื เปน็ พชื เศรษฐกจิ ของไทย

1.2 กระบวนการหาค�ำตอบผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ของการเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย์
1.2.1 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา

เน่ืองด้วยประเทศไทยยังอยู่ในช่วงต้นของการปฏิรูปกฏหมายครอบครอง
กัญชาให้สามารถใช้ทางการแพทย์และวิจัยได้ ท�ำให้การด�ำเนินของโซ่อุปทาน
กัญชาทางการแพทย์อย่างถูกกฎหมายของไทยยังประสบกับอุปสรรค ทั้งในระดับ

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มคา่ ในการลงทนุ | 17
ตน้ นำ้� (การปลกู ) กลางนำ�้ (การสกดั /แปรรปู ) และปลายนำ้� (การกระจายยากญั ชา)
อยู่ รวมถึงยังขาดข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือใช้ในการตัดสินใจลงทุนเพาะปลูก
และด�ำเนนิ นโยบายกัญชาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นั้น การศึกษาในครง้ั นไ้ี ด้ท�ำการ
ศกึ ษาการดำ� เนนิ นโยบายกญั ชาในประเทศตน้ แบบ สภาพการดำ� เนนิ งานและปญั หา
ของโซ่อุปทานกัญชาทางการแพทย์ของไทย รวมถึงการวิเคราะห์ผลกระทบทาง
เศรษฐกจิ ในระดบั ตา่ งๆ ของโซอ่ ปุ ทาน เพอ่ื ใหไ้ ดแ้ นวทางในการสง่ เสรมิ และควบคมุ
การเพาะปลกู อย่างถกู กฎหมายของประเทศไทย (ภาพที่ 1.1)

ประเทศไทยอยใู่ นระยะแรก
ของการปฎิรปู กฎหมาย
ครอบครองกัญชา

สถานะปจั จุบัน ปญั หา/อุปสรรค ตน้ ทุน/ผลตอบแทน
ตน้ นำ้� กลางนำ้� ปลายน้�ำ
การปลูก
การสกดั /การแปรรูป การกระจายยากัญชา

ประเมนิ แนวโนม้ ถอดบทเรียนนโยบาย
อปุ สงค์กญั ชา เพาะปลูกและแปรรูป
ทางการแพทย์ กัญชาในตา่ งประเทศ

แนวทางในการส่งเสรมิ และ
ควบคมุ การเพาะปลูกกัญชา
อย่างถูกกฎหมายในประเทศไทย

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา

18 | กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความค้มุ คา่ ในการลงทุน

1.2.2 กรอบประเดน็ ค�ำตอบทีต่ อ้ งการและวิธีการ

ส�ำหรับข้อมูลท่ีใช้เพ่ือให้ได้มาซึ่งค�ำตอบน้ัน ได้จากการรวบรวมข้อมูลจาก
การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานภาครัฐ แพทย์ เภสัชกร อาจารย์
นกั วจิ ยั ผปู้ ลกู และผสู้ กดั กญั ชา รวมถงึ งานวจิ ยั ตา่ ง ๆ และรายงานผลประกอบการ
ของบริษัทที่เก่ียวข้องกับอุตสาหกรรมกัญชาในต่างประเทศ ส่วนวิธีการวิเคราะห์
ข้อมูลเพ่ือค้นหาค�ำตอบในการถอดบทเรียนของนโยบายกัญชาในต่างประเทศ
จะเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและสังเคราะห์รายงานจากประเทศผู้น�ำในการ
อนญุ าตให้มกี ารใช้กญั ชาอย่างถูกกฎหมาย ได้แก่ ประเทศแคนาดา สหรฐั อเมรกิ า
เนเธอรแ์ ลนด์ และอรุ ุกวัย รวมถึงการสังเคราะหข์ อ้ มลู จากการสัมภาษณ์ เพื่อระบุ
ถึงปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนในโซ่อุปทานกัญชาทางการแพทย์ของไทย ทั้งใน
ระดับต้นน�้ำ (เมล็ดพันธุ์และการปลูก) ระดับกลางน้�ำ (การสกัดและการแปรรูป)
และระดับปลายน�้ำ (การกระจายยากัญชา) ส�ำหรับการหาผลกระผลกระทบทาง
เศรษฐกจิ ไดท้ ำ� การศกึ ษาโดยใชว้ ธิ กี ารวเิ คราะหค์ วามคมุ้ คา่ ในการลงทนุ ในการเพาะ
ปลกู และประเมนิ มลู คา่ ทาเศรษฐกจิ ตลอดจนการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหว เมอื่ ราคา
และผลผลิตเปล่ยี นแปลงไป ทัง้ น้เี น่อื งด้วยในชว่ งท่ีทำ� การวเิ คราะหน์ ั้นเปน็ ชว่ งเริม่
ต้นของการอนญุ าตให้มกี ารปลูกและใช้กัญชาอยา่ งถูกกฎหมาย และยังจำ� กดั อยูท่ ่ี
การใช้ทางการแพทย์และการวิจัยเท่านั้น ท�ำให้ข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ค่อนข้าง
จ�ำกัด ดังนั้นการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจเป็นการพิจารณาเฉพาะผล
ประโยชนท์ างตรงทเี่ กดิ ขน้ึ ในโซ่อุปทานกัญชาทางการแพทยข์ องไทยอนั ได้แก่
1) ในระดบั ตน้ นำ�้ เปน็ การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ เพาะ
ปลกู กัญชา
2) ในระดบั กลางนำ�้ เปน็ การวเิ คราะห์ตน้ ทนุ ในการสกดั กญั ชา1 และ
3) ในระดับปลายน�้ำ เป็นการประเมินความต้องการกัญชาทางการแพทย์
ทั้งส�ำหรับยาต�ำรับแพทย์แผนปัจจุบันและยาต�ำรับแพทย์แผนไทยและมูลค่า
ตลาดกัญชาทางการแพทย์ รวมถึงการวเิ คราะห์ผลประโยชนส์ ุทธขิ องประเทศไทย
ในการผลิตกัญชามาเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ในรูปของดอกกัญชาแห้ง
ทงั้ นไี้ มร่ วมถงึ รายไดข้ องรฐั จากการอนญุ าตใหใ้ ชก้ ญั ชาทางการแพทย์ ผลประโยชน์
ทางออ้ ม และผลประโยชนช์ กั นำ�

1 เน่ืองจากคณะผู้เขียนมีข้อมูลไม่เพียงพอในการวิเคราะห์ผลตอบแทนในส่วนของการสกัด
กญั ชาในประเทศไทย ท�ำให้สามารถวิเคราะห์ได้เพยี งในส่วนของต้นทนุ การสกดั เท่านน้ั

กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มคา่ ในการลงทุน | 19

1.2.3 กรอบคิดทางทฤษฎีและวิธีการหาต้นทุนและผลตอบแทน
ทางเศรษฐศาสตร์

แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ท่ีสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับการประเมินผล
กระทบ ได้แก่ ส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (economic surplus) ซง่ึ เป็นการพจิ ารณา
ผลประโยชน์ท่ีมีมูลค่าเหนือต้นทุนรวมของผลประโยชน์ที่ได้รับ ส�ำหรับงานวิจัย
ท่ีถูกสังเคราะห์ในหนังสือเล่มนี้ การวัดส่วนเกินทางเศรษฐกิจหรือการวิเคราะห์
การเปลี่ยนแปลงส่วนเกินทางเศรษฐกิจ เป็นการวัดจากการเปลี่ยนแปลงของ
สวัสดิการสังคม จากผลประโยชน์สุทธิท่ีสังคมได้รับจากการอนุญาตให้มีการปลูก
กัญชาอย่างถูกกฎหมาย ได้แก่ การผลิตต�ำรับยาแพทย์แผนปัจจุบัน และต�ำรับ
ยาแพทย์แผนไทย การเปล่ียนแปลงผลผลิตหรือต้นทุน โดยการค�ำนวณมูลค่า
ผลประโยชน์สุทธิทางการเงินทั้งโดยตรงและทางอ้อม (กัมปนาท, 2558) ดังน้ัน
แนวคิดท่ีใช้ในการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจในการเพาะปลูกกัญชา
ทางการแพทย์ของไทยจะประกอบด้วย
1) แนวคิดโครงสร้างต้นทุนและผลตอบแทน
ในด้านต้นทุน ในทางเศรษฐศาสตร์จะประกอบด้วยต้นทุนทางบัญชีและ
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) โดยแบ่งต้นทุนการผลิตออกเป็น
ตน้ ทนุ คงท่ี (Fixed cost) และต้นทนุ ผนั แปร (Variable cost) และยงั สามารถแบง่
ต้นทนุ ทงั้ สองสว่ นตามลกั ษณะการใช้จ่ายไดอ้ ีก เป็นตน้ ทนุ ท่เี ปน็ เงนิ สดและตน้ ทนุ
ท่ีไม่เป็นเงินสดหรอื ตน้ ทุนประเมิน มีรายละเอียดดังนี้
ก. ตน้ ทนุ คงท่ีทง้ั หมด (Total fixed cost: TFC) คอื ตน้ ทุนทั้งหมดท่ไี ม่
ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนผลผลิต โดยต้นทุนประเภทนี้จะเกิดขึ้น ถึงแม้ว่าจะไม่ได้ท�ำการ
ผลิตก็ตาม ส�ำหรับต้นทุนคงท่ีในการเพาะปลูกกัญชา อาทิ ค่าท่ีดิน/ค่าเช่าที่ดิน
ค่าโรงเรือน ค่าระบบน้�ำ/ไฟ ค่าระบบควบคุมอุณหภูมิ ค่าเช่า/ค่าก่อสร้างอาคาร
สถานที่ (กรณีปลกู ในตกึ หรอื ระบบปิด) คา่ ปรบั ปรงุ โรงเรอื น/อาคารสถานที่ ระบบ
กลอ้ งจงวรปิด เป็นตน้ โดยต้นทุนคงทสี่ ามารถจำ� แนกไดเ้ ปน็
1. ต้นทุนคงท่ีท่ีเป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่ายคงท่ีที่ผู้ผลิตจ่ายออกไปจริง
เปน็ เงินสด เชน่ คา่ ภาษที ่ีดิน ค่าเชา่ ทดี่ นิ ค่าระบบน้�ำ/ไฟ/อณุ หภมู ิ เปน็ ตน้
2. ต้นทุนคงที่ท่ีไม่เป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่ายคงท่ีที่เกษตรกรผู้ผลิตไม่ได้

20 | กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ

จ่ายไปเป็นตัวเงินแต่เป็นค่าใช้จ่ายที่ได้จากการประเมิน เช่น ค่าเสื่อมโรงเรือน
คา่ เสอื่ มของเครอ่ื งมอื อปุ กรณค์ งทน คา่ เสยี โอกาสของเงนิ ลงทนุ ในเครอื่ งมอื อปุ กรณ์
คงทน เปน็ ตน้
ข. ต้นทนุ ผนั แปรทง้ั หมด (Total variable cost: TVC) คือ ตน้ ทนุ ท้งั หมด
ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปตามปรมิ าณผลผลติ สำ� หรบั ตน้ ทนุ ผนั แปรของการเพาะปลกู กญั ชา
อาทิ คา่ เมลด็ พนั ธก์ุ ญั ชา คา่ วสั ดปุ ลกู คา่ น�้ำ คา่ ไฟ เปน็ ตน้ โดยตน้ ทนุ ผนั แปรสามารถ
แยกไดเ้ ป็น
1. ต้นทนุ ผันแปรท่เี ปน็ เงินสด เป็นคา่ ใช้จ่ายผันแปรที่ผ้ผู ลติ จา่ ยออกไป
เป็นเงินสดในการซื้อหรือเช่าปัจจัยการผลิต เช่น ค่าแรงงาน ค่าเมล็ดพันธุ์กัญชา
คา่ วสั ดปุ ลูก เป็นตน้
2. ต้นทุนผันแปรท่ีไม่เป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่ายผันแปรที่ไม่ได้จ่ายเป็น
ตัวเงินจริง แต่ได้จากการประเมิน เช่น ค่าแรงงานในครอบครัว เป็นต้น ดังน้ัน
จากนยิ ามของต้นทุนดังกล่าวขา้ งตน้ จงึ เขียนความสมั พันธไ์ ด้ดังน้ี

ต้นทุนทง้ั หมด = ต้นทุนคงท่ีทงั้ หมด + ตน้ ทุนผนั แปรทัง้ หมด
ด้านรายไดท้ ง้ั หมด จะเป็นรายรบั ท่ีไดจ้ ากการขายผลผลติ ท้งั หมด ดงั น้ี

รายได้ทงั้ หมด = จ�ำนวนผลผลิตท้งั หมด x ราคาผลผลิตทเี่ กษตรกรขายได้

กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทุน | 21
2) แนวคิดการวิเคราะหค์ วามคุ้มค่าการลงทนุ
การประเมินมูลค่าของผลประโยชน์จากการอนุญาตให้ปลูกกัญชา
อย่างถูกกฎหมาย สามารถกระท�ำได้ด้วยการวิเคราะห์ความคุ้มค่าการลงทุน
ซึ่งประกอบด้วยมูลค่าของผลประโยชน์ท่ีเกิดจากกัญชาและต้นทุนในการปลูก
กญั ชา โดยสามารถพิจารณาไดจ้ าก (Rushton et al, 1999)2
2.1) มูลค่าปัจจบุ ันของผลประโยชน์สุทธิ (Net Present Value: NPV)
มูลคา่ ปจั จบุ นั ของผลประโยชนส์ ุทธิ (Net Present Value: NPV) ของ
การอนุญาตให้ปลูกกัญชาอย่างถูกกฎหมาย เป็นผลต่างของผลรวมมูลค่าของ
ผลตอบแทนกับมูลค่าต้นทุนของการอนุญาตให้ปลูกกัญชาแบบถูกกฎหมาย
ในอนาคตที่ถูกแปลงมาเป็นมูลค่า ณ ปัจจุบัน โดยการใช้อัตราคิดลด ในการรวม
มูลค่าของผลประโยชน์สุทธินั้นจ�ำเป็นต้องมีการปรับค่าของผลประโยชน์สุทธิ
ในอนาคตมาเป็นปัจจุบันก่อน ไม่สามารถน�ำมูลค่าผลประโยชน์สุทธิในอนาคต
มารวมกับมูลค่าในปัจจุบันโดยตรงได้ เน่ืองจากค่าของเงินในอนาคตไม่เท่ากับ
ปัจจุบันเนื่องจากอัตราเงินเฟ้อและค่าเสียโอกาสของดอกเบ้ีย การค�ำนวณมูลค่า
ปจั จุบนั ของผลประโยชน์สุทธิสามารถทำ� ไดโ้ ดย

ถ ูกกฎหโดมยายทท่ี Bี่เกtดิ คขือึน้ ใมนูลปคที ่า่ี ขt องผลตอบแทนจากการอนุญาตให้ปลูกกัญชาอย่าง

2 ท้ังน้ี ในการศึกษาน้ีไม่ได้ท�ำการวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of
Return: IRR) เน่อื งจากการการลงทนุ เพาะปลูกกัญชาของประเทศไทยในปัจจบุ นั เปน็ การ
ปรับปรุงสิ่งทม่ี อี ย่แู ลว้ มาใช้ เชน่ โรงเรอื นเกา่ จากการปลูกพชื อนื่ หรอื ปรับปรุงหอ้ งทีม่ ีอยู่
แล้วเพ่ือใช้ในการปลูก ท�ำให้ต้นทุนการลงทุนมีค่าน้อยกว่าความเป็นจริงมาก ท�ำให้การ
วิเคราะห์อตั ราผลตอบแทนภายในไมส่ ะท้อนความเปน็ จริง

22 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความค้มุ ค่าในการลงทนุ

ที่เกดิ ขCึ้นtในคปือที ่ี มูลค่าของต้นทุนจากการอนุญาตให้ปลูกกัญชาอย่างถูกกฎหมาย
t

r คือ อัตราคิดลด (หรืออาจใช้อัตราดอกเบ้ีย ซ่ึงคิดเป็นอัตราส่วน เช่น
ร้อยละ 10 = 0.1)

PVB และ PVC คอื มลู คา่ ปัจจบุ ันของผลตอบแทนและตน้ ทนุ ตามลำ� ดบั
ทงั้ นโ้ี ดยทว่ั ไปนนั้ เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการพจิ ารณาวา่ การใหป้ ลกู กญั ชาอยา่ งถกู ตอ้ ง
ตามกฎหมายนั้นคุ้มค่าหรือไม่ ให้พิจารณาที่มูลค่าปัจจุบันของผลประโยชน์สุทธิ
ตอ้ งมีคา่ มากกวา่ 0

2.2) อัตราส่วนผลประโยชน์ตอ่ ตน้ ทนุ (Benefit-Cost Ratio: BCR)

อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน (BCR) คืออัตราส่วนระหว่างมูลค่า
ของผลตอบแทนปจั จุบนั กับมลู คา่ ตน้ ทุนปจั จุบันของการอนุญาตให้มอี ุตสาหกรรม
กัญชาถูกกฎหมาย โดยอตั ราส่วนผลประโยชน์ตอ่ ต้นทุนสามารถคำ� นวณได้จาก

ทงั้ นโ้ี ดยทวั่ ไปนน้ั เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการพจิ ารณาวา่ การอนญุ าตใหป้ ลกู กญั ชา
อย่างถูกกฎหมายคุ้มค่าหรือไม่ ให้พิจารณาท่ีอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน
มคี า่ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 หมายถงึ มลู คา่ ผลตอบแทนปจั จบุ นั จากการอนญุ าตใหป้ ลกู กญั ชา
อย่างถูกกฎหมายมากกว่ามูลค่าต้นทนุ ปัจจบุ ัน

กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความค้มุ ค่าในการลงทุน | 23

1.3 ร้จู กั ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ของกญั ชา

กญั ชา เปน็ พืชล้มลกุ มีช่ือทางวิทยาศาสตรว์ า่ Cannabis sativa L.subsp.
indica ลกั ษณะทัว่ ไปคือ มีลำ� ต้นสูงประมาณ 1 - 5 เมตร ลักษณะใบจะแยกออก
เป็นแฉกประมาณ 5 - 7 แฉก ขอบใบเป็นรอยหยัก ออกดอกบริเวณง่ามหรือ
ตรงขอ้ กง่ิ และกา้ น สว่ นของดอก ใบ กง่ิ กา้ น สามารถน�ำมาใชป้ ระโยชนท์ ง้ั รปู แบบ
ดอกผลผลติ แบบสดและตากแหง้

สว่ นประกอบของตน้ กญั ชา

24 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทนุ

1.3.1 สายพนั ธ์ุกญั ชา

สายพนั ธุข์ องกญั ชาสามารถแบง่ ออกได้เป็น 3 สายพันธ์หุ ลัก ไดแ้ ก่
1) สายพนั ธซ์ุ าตวิ า (Cannabis Sativa L.) เปน็ สายพนั ธท์ุ พี่ บมากบรเิ วณ
เสน้ ศูนย์สูตร มสี าร THC เด่น ฤทธ์ทิ ำ� ใหร้ ู้สกึ ดี ชว่ ยบรรเทาอาการซึมเศรา้ อาการ
เมอื่ ยลา้ กระต้นุ ความอยากอาหาร อาการเจ็บปวด และอาการคลน่ื ไส้ แตข่ อ้ เสยี
คือ ทำ� ใหเ้ กดิ อาการหวาดระแวงและอาการหัวใจเตน้ ผดิ จังหวะ
2) สายพันธุ์อินดิก้า (Cannabis indica Lam.) พบมากในแถบ
ตะวนั ออกกลาง บรเิ วณทีม่ อี ากาศแห้ง มีคา่ THC ตำ่� แตค่ า่ CBD สูงกวา่ สายพนั ธ์ุ
ซาตวิ า นิยมน�ำดอกมาสกดั เปน็ นำ�้ มันใช้ในทางการแพทย์
3) สายพนั ธรุ์ ูเดอราลิส (Cannabis Ruderalis Janisch) มีตน้ ก�ำเนิด
ในตอนกลางของรสั เซีย มปี ริมาณสาร THC น้อย แต่มสี าร CBD ในปรมิ าณมาก

สายพนั ธุ์ซาติวา สายพันธุ์อนิ ดิก้า สายพนั ธร์ุ เู ดอราลสิ  

สายพันธ์ุกัญชา 3 สายพันธห์ุ ลกั

1.3.2 ระบบการปลูกกัญชา

การปลกู กญั ชาในปัจจุบันน้ันสามารถจำ� แนกไดเ้ ปน็ 3 ระบบ ไดแ้ ก่
1) การปลกู ระบบเปดิ แบบกลางแจง้ (outdoor) ซง่ึ เปน็ ระบบทล่ี งทนุ นอ้ ย
กว่าระบบอื่น แต่ผลผลิตกัญชาขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมภายนอก อาทิ แสงแดด
อุณหภูมิ ความช้ืน แมลง โรคและศัตรูพืช ซ่ึงการปลูกระบบนี้ สามารถควบคุม
สภาพแวดล้อมได้ยาก ทำ� ให้มีปัญหาโรคและแมลงมาก

กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มค่าในการลงทนุ | 25

กไดลร้ ุ่มบั เกคษวาตมรออนินุเทครรียา์ะเหพ์ภชารพลาจนานกาวจิสงัาหหวกัดิจลชำ�มุ ปชานง

การปลกู ระบบเปิดแบบกลางแจ้ง (outdoor)
2) การปลูกในโรงเรือน (greenhouse) เป็นระบบที่สามารถควบคุม
สภาพแวดล้อมได้บางส่วน อาทิ มีหลังคาป้องกันฝน มีการติดตั้งพัดลมเพื่อช่วย
ถา่ ยเทอากาศ หรอื ชว่ ยลดอณุ หภมู ลิ ง มเี ครอ่ื งควบคมุ ความชนื้ การเพมิ่ ชว่ งแสงสวา่ ง
โดยการใชแ้ สงไฟในตอนกลางคืน

การปลูกในโรงเรือน (greenhouse)

26 | กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มค่าในการลงทนุ
3) การปลูกในร่มหรือระบบปิด (indoor) การปลูกในห้อง อาคารหรือ
โรงเรือนปิด เป็นระบบที่เป็นที่นิยมในต่างประเทศ เน่ืองจากสามารถควบคุม
สง่ิ แวดลอ้ มได้ ท�ำใหไ้ ด้ผลผลติ ท่ีมีคุณภาพ อีกทงั้ ท�ำใหส้ ามารถปลูกและเกบ็ เก่ียว
ไดท้ ั้งปี อย่างไรกต็ าม การปลกู ระบบปิดนม้ี ตี น้ ทุนการดำ� เนินการสงู

ได้รับความอนเุ คราะหภ์ าพจาก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

การปลูกในร่มหรอื ระบบปดิ (indoor)

1.3.3 วธิ กี ารสกัดกัญชา

วิธีการสกัดสามารถจำ� แนกได้เปน็ 3 ประเภทหลกั ๆ ไดแ้ ก่
1) วิธีการสกดั ดว้ ยสารละลาย เช่น สารไฮโดรคารบ์ อน เอทานอล ซึง่ การ
สกดั ด้วยสารละลายนี้ มีขอ้ ได้เปรียบตรงทสี่ ามารถสกัดในปรมิ าณมากได้ ซง่ึ กอ่ ให้
เกดิ ความประหยดั ต่อขนาด (Economies of Scale) นอกจากนี้ ยังสามารถรกั ษา
กลน่ิ และรสชาตขิ องกญั ชาไวไ้ ด้ อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ จำ� กดั ของการสกดั ดว้ ยสารละลาย
นม้ี ีข้อจ�ำกดั ตรงท่ี สารสกัดกัญชาที่ไดจ้ ะมีสารที่ใช้ในการท�ำละลายตกค้างอยู่

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความค้มุ ค่าในการลงทุน | 27

2) วธิ ีสกัดด้วยคารบ์ อนไดออกไซด์ ซึ่งวิธีการสกดั น้ีจะสามารถสกดั กัญชา
ได้ในปริมาณมากกว่าการสกัดด้วยสารละลาย ข้อได้เปรียบอีกอย่างของการสกัด
ด้วยคาร์บอนไดออกไซด์คือ สามารถสกัดสารสกัดกัญชาที่ไม่เหลือตัวท�ำละลาย
ตกคา้ ง บรสิ ทุ ธิ์ ปลอดภยั อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ จำ� กดั ของการสกดั ดว้ ยคารบ์ อนไดออกไซด์
คอื ไมส่ ามารถรกั ษากลนิ่ และรสชาตขิ องกญั ชาไดเ้ ทา่ กบั การสกดั ดว้ ยไฮโดรคารบ์ อน
และราคาเคร่อื งสกดั คอ่ นขา้ งสงู
3) วิธีการสกัดด้วยเชิงกล วิธีนี้เป็นการสกัดที่ใช้การบีบอัด อาทิ การถู
ด้วยมือ (Hand rubbing) การร่อน (Sieving) การหีบด้วยความร้อน (Heated
pressure) หรอื ตัวทำ� ละลายท่ีไมใ่ ช่สารเคมี เชน่ น�้ำในการดงึ สารสำ� คญั ข้อจ�ำกดั
ของการสกัดเชิงกล คือ สามารถผลิตและดึงสารส�ำคัญได้ในปริมาณน้อยกว่า
การสกัดแบบใช้ตัวท�ำละลาย อย่างไรก็ตาม ข้อได้เปรียบของการสกัดเชิงกลคือ
ไดส้ ารสกดั กญั ชาทมี่ คี ณุ ภาพสูง (Acrview Market Research, 2018)

1.3.4 รูปแบบของสารสกดั CBD ทไ่ี ดจ้ ากกญั ชา

ผลติ ภณั ฑ์กัญชาทางการแพทยผ์ ลติ จากสารสกัด CBD ซง่ึ สามารถแบ่งออก
เปน็ 3 ประเภทหลัก ได้แก่
1) Full spectrum CBD หรอื Whole plant CBD เปน็ สารสกดั CBD
ทีค่ งสารท่มี ีในกญั ชาตามธรรมชาติไว้ทง้ั หมด ซ่ึงประกอบด้วย สารแคนนาบินอยด์
รอ้ ยกวา่ ชนดิ เชน่ CBD, CBDa, CBG, CBGa, CBN, CBV นอกจากสารแคนนาบนิ อยด์
แล้วยังมี เทอร์พีน (terpenes) ฟลาโวนอยด์ (flavonoids) ฟีนอล (phenols)
กรดไขมนั ไมอ่ ิม่ ตัว รวมทง้ั แรธ่ าตุ และวิตามินต่าง ๆ ซ่ึงสารเหล่านี้ล้วนมีสรรพคุณ
ทางยาทง้ั สน้ิ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมอื่ นำ� มาใชร้ ว่ มกนั สารเหลา่ นจ้ี ะชว่ ยเพม่ิ สรรพคณุ
ทางยาของกันและกนั
2) Broad spectrum CBD เปน็ สารสกดั CBD ท่ีผา่ นขบวนการแยกเอา
สาร THC ออก แต่ยงั คงสารอ่นื ๆ ทีม่ ตี ามธรรมชาติของกญั ชาไว้ท้ังหมด Broad
spectrum CBD ให้สรรพคณุ ทางยาคลา้ ย ๆ กบั Full spectrum CBD เนื่องจาก
สารตา่ ง ๆ ทเ่ี หลืออยู่ใน Broad spectrum CBD จะช่วยส่งเสริมสรรพคณุ ทางยา
ของกนั และกนั

28 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความค้มุ คา่ ในการลงทนุ

3) CBD isolate เป็นสารสกดั CBD ที่ผา่ นขบวนการแยกเอาสารอ่ืน ๆ ออก
และคงเหลือไว้แคส่ าร CBD เพียงตวั เดยี วเท่าน้ัน (Cadena, 2019)

1.3.5 ผลิตภัณฑ์ยากญั ชาทางการแพทย์ในประเทศไทย

ในปัจจุบันผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ท่ีได้รับการขึ้นทะเบียนใน
ประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์
ทีข่ ึน้ ทะเบียนแล้วในประเทศ และทข่ี ้นึ ทะเบยี นในต่างประเทศ
1) ผลิตภัณฑก์ ัญชาทางการแพทยท์ ขี่ น้ึ ทะเบยี นในประเทศไทย
ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาทพ่ี ฒั นาและผลติ ขน้ึ โดยหนว่ ยงานของรฐั โรงพยาบาล และ
แพทย์พ้นื บา้ นในประเทศไทย สามารถแบง่ ออกไดอ้ ีก 2 กลมุ่ ยอ่ ย (คณะกรรมการ
ขบั เคลื่อนประชาสมั พนั ธ์การใชก้ ัญชาเพอื่ การแพทย์, 2563) ได้แก่
1.1) ตำ� รับยาแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน (สารสกดั จากกัญชา)
ผลิตภัณฑ์กัญชาในต�ำรับยาแพทย์แผนปัจจุบันของไทยอยู่ในรูปของ
สารสกัดน�้ำมันกัญชาท่ีใช้หยดใต้ลิ้น โดยเน้นที่สัดส่วนของสาร CBD และ THC
ซึ่งมีท้ังแบบที่มีสาร THC เด่น แบบมีสาร CBD เด่น แบบที่มี THC และ CBD
เท่ากัน และแบบท่ีเน้นที่สาร THC เป็นหลัก ผลิตภัณฑ์เหล่าน้ีเป็นต�ำรับยาท่ีได้
รบั อนญุ าตภายใตโ้ ครงการศกึ ษาวิจยั ทไี่ ด้รบั อนญุ าตจากสำ� นักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา ปัจจุบันผลิตโดยองค์การเภสัชกรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัย-
ภูเบศร และกองพัฒนายาแผนไทยและสมุนไพร กรมการแพทย์แผนไทยและ
การแพทยท์ างเลือก
1.2) ต�ำรับยากัญชาแผนไทย ซึ่งสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 กลุ่มยอ่ ย
ไดแ้ ก่
1.2.1) ตำ� รบั ยาแพทย์แผนไทยที่ใชใ้ นการแกอ้ าการเฉพาะดา้ น
เปน็ ตำ� รบั ยาทป่ี รงุ โดยผปู้ ระกอบวชิ าชพี แพทยแ์ ผนไทยและหมอพนื้ บา้ น
ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย การปรุง หรือสั่งจ่ายยาต�ำรับ
ในปจั จบุ นั ตำ� รบั ยาแพทยแ์ ผนไทยทมี่ กี ญั ชาปรงุ ผสมอยมู่ อี ยมู่ กี ารผลติ อยู่ 16 ตำ� รบั
ไดแ้ ก่ ยาศุขไสยาศน,์ ยาทำ� ลายพระสุเมรุ, ยาแก้ลมแกเ้ สน้ , ยาอคั คินีวคณะ, ยาแก้
ลมเนาวนารวี าโย, ยานำ�้ มนั สนน่ั ไตรภพ, ยาแกล้ มขน้ึ เบอ้ื งสงู , ยาไฟอาวธุ , ยาแกน้ อน

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ | 29

ไมห่ ลบั , ยาแกไ้ ขผ้ อมเหลอื ง,
ยาแก้สัณฑฆาตกร่อนแห้ง,
ยาอัมฤตย์โอสถ, ยาอไภย-
สาล,ี ยาแกโ้ รคจติ , ยาไพสาลี
ยาทาริดสีดวงทวารหนัก
และโรคผิวหนงั และยาทัพ-
ยาธิคุณ ปัจจุบัน มีสถานที่
ผลติ ยาแผนไทยทม่ี สี ว่ นผสมของกญั ชาอยู่ 7 แหง่ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลพระอาจารยฝ์ น่ั
อาจาโร, โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยพุ ราชเดน่ ชยั กองพฒั นายาแผนไทยและสมนุ ไพร,
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร, โรงพยาบาลคเู มอื ง และโรงพยาบาลดอนตมู
1.2.2) น้ำ� มันกัญชาหมอพนื้ บ้าน (ตำ� รบั นำ้� มันเดชา)
นำ�้ มนั กญั ชานม้ี ชี อ่ื เรยี กวา่ DTAM
GANJA OIL (DEJA FORMULA) หรอื นำ้� มนั
กัญชา (ต�ำรับน้�ำมันเดชา) มีสรรพคุณ
ให้นอนหลบั ดี เจรญิ อาหาร และลดอาการ
ปวดจากโรค น�้ำมันกัญชาน้ีถูกวิจัยและ
พฒั นาโดย อ.เดชา ศริ ภิ ัทร ประธานมลู นิธิ
ข้าวขวัญ จ.สุพรรณบุรี มีการรับรองและ
ผลิตโดยกรรมการแพทย์แผนไทยและการ
แพทย์ทางเลือก
2) ผลิตภัณฑก์ ญั ชาทางการแพทย์ทขี่ น้ึ ทะเบยี นในตา่ งประเทศ
ตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาทางการแพทยท์ มี่ กี ารขนึ้ ทะเบยี นในตา่ งประเทศ อาทิ
2.1) สาร Nabilone และ Dronabinol
สาร Nabilone และ Dronabi-
nol เป็นสารสังเคราะห์ท่ีเป็นอนุพันธ์
ของสาร THC ท่ีมีประสิทธิภาพในการลด
อาการคล่ืนไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยา
เคมีบ�ำบัดได้ดี โดย Nabilone ได้รับการ
อนุมัติให้ใช้ในประเทศแคนาดา ตั้งแต่

30 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความค้มุ ค่าในการลงทุน

ปี พ.ศ. 2525 เป็นต้นมา มีชื่อทางการค้าวา่ Cesamet ซงึ่ ผลติ ภณั ฑ์อยใู่ นรปู แบบ
ของแคปซูล ส�ำหรับสาร Dronabinol ได้รับการอนุมัติให้จ�ำหน่ายท้ังในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2528 และในแคนาดาในปี พ.ศ. 2538 ภายใต้ชอ่ื ทางการ
ค้าว่า Syndros และ Marinol (ผกาทิพย์, 2562)
2.2) สาร Nabiximols
เป็นสารสกัดจากกัญชาที่มีส่วน
ผสมของ THC 27 mg/ml และ CBD
25 mg/ml เป็นผลติ ภัณฑ์ของบริษทั GW
Phamacauticals ของประเทศสหราช-
อาณาจกั ร ภายใตช้ ื่อทางการคา้ Sativex
เปน็ รปู แบบยาพน่ ในชอ่ งปาก ใชเ้ พอ่ื รกั ษา
อาการปวดในผปู้ ว่ ยมะเรง็ ระยะรกุ ราน และ
ผปู้ ว่ ยโรคปลอกประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง (Multiple sclerosis) และ
มีการรับรองให้ใช้ในประเทศแคนาดา ในปี พ.ศ. 2548 ซ่ึงขณะน้ีหลายประเทศ
ในยุโรปและนิวซีแลนด์ได้ยินยอมให้ใช้ผลิตภัณฑ์นี้ในผู้ป่วยที่มีภาวะกล้ามเน้ือหด
เกร็ง (spasticity) จากโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง กล้ามเนื้อแข็งตัว (muscle
stiffness) และอาการปวดทใ่ี ชว้ ธิ เี ดมิ รกั ษาไมไ่ ด้ (กญั ชาทางการแพทย,์ 2562)
2.3) Epidiolex
เป็นยาน�้ำ (Oral Solution) ท่ี
สกัดจากกญั ชาซ่งึ มีสาร CBD ร้อยละ 99
และ THC ร้อยละ 0.1 พัฒนาโดยบริษทั
GW Pharmaceuticals (UK) เป็นยา
ที่ใช้ในการรักษา ควบคุมอาการของโรค
ลมชัก (Epilepsy) ในผู้ใหญ่และเด็กที่
มอี ายตุ งั้ แต่ 2 ปขี นึ้ ไป โดยไดร้ บั การอนมุ ตั ิ
จากองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐ-
อเมรกิ า (FDA) หรอื องคก์ ารอาหารและยา
ของสหรัฐอเมริกา เม่ือปี พ.ศ. 2561
(วันด,ี 2562)

กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทุน | 31

กญั ชาเปน็ พชื ทม่ี สี ารส�ำคญั ทส่ี ามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนท์ างการแพทยไ์ ด้
ท�ำให้ประเทศไทยมีการปรับปรุงนโยบายกัญชาเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์
ทางการแพทย์และวิจัยได้ โดยการใช้กัญชาทางการแพทย์ของไทยสามารถ
แบง่ ได้เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ ยาต�ำรับแผนปจั จุบนั และยาต�ำรับแผนไทย
อย่างไรก็ตาม ข้อมูลทางเศรษฐกิจเพ่ือใช้ในการด�ำเนินนโยบายอย่างมี
ประสิทธิภาพยังมีอยู่ค่อนข้างจ�ำกัด การศึกษานี้จึงได้ท�ำการศึกษาการด�ำเนิน
นโยบายกัญชาในต่างประเทศ การด�ำเนินงานและปัญหาของโซ่อุปทานกัญชา
ทางการแพทย์ของไทย รวมถึงวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐกิจในระดับต้นน้�ำ
กลางน้�ำ และปลายน้�ำ โดยใช้แนวคิดของต้นทุนผลตอบแทนและการวิเคราะห์
ความค้มุ คา่ การลงทุน

32 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทุน

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความค้มุ ค่าในการลงทุน | 33

บทท่ี 2

อุตสแาลใหนะกตปรรา่ รงะมเปทกรศญัะไเททชศยา

34 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน

ในบทนีเ้ ปน็ การนำ� เสนอภาพรวม
อตุ สาหกรรมกญั ชาของโลก

และภาพรวมการด�ำเนินนโยายกญั ชาในประเทศสหรฐั อเมรกิ า
แคนาดา เนเธอรแ์ ลนด์ และอรุ กุ วยั
ซ่งึ เป็นประเทศลำ� ดบั ต้น ๆ

ท่มี กี ารอนญุ าตให้ใช้กัญชาอยา่ งถกู กฎหมาย
และเป็นประเทศต้นแบบในการด�ำเนนิ นโยบายกญั ชา

เพ่ือให้ผู้อา่ นเหน็ ภาพการด�ำเนินนโยบายกัญชา
ของต่างประเทศท่ชี ดั ข้ึน

สว่ นหลังของบทน้ีเปน็ การนำ� เสนอ
การด�ำเนนิ นโยบายกญั ชาและโซ่อปุ ทานกัญชา

ทางการแพทยข์ องประเทศไทย

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทุน | 35

2.1 ภาพรวมอุตสาหกรรมกัญชาของโลก

ในห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมกัญชาน้ันมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจ�ำนวนมาก
ต้ังแต่ผู้วิจัยและพัฒนา ตลอดจนร้านค้าปลีกและผู้บริโภค อย่างไรก็ตาม ห่วงโซ่
คุณคา่ ของอุตสาหกรรมกัญชาน้ี มกี ารรวมตัวของผูท้ ม่ี สี ว่ นเก่ียวขอ้ งสูง โดยผู้ผลิต
มักท�ำในทุกข้ันตอนของห่วงโซ่คุณค่า ต้ังแต่การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา การ
ปลูกกัญชา การสกัดสารกัญชา เนื่องจากผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นสินค้าท่ีถูกควบคุม
โดยกฎระเบียบในทุก ๆ ขั้นตอนของหว่ งโซ่คุณค่า ดังน้นั ผู้ผลติ จงึ ลงทนุ ในแตล่ ะ
ขน้ั ตอนเอง เพอื่ ใหม้ นั่ ใจวา่ การผลติ ของตนจะไมห่ ยดุ ชะงกั ทข่ี น้ั ตอนใดขน้ั ตอนหนง่ึ
กระบวนการผลิตผลติ ภัณฑ์กัญชาในแตล่ ะข้ันตอน สามารถสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ
ให้แกผ่ ลิตภัณฑไ์ ด้ โดยเริ่มต้ังแต่อตุ สาหกรรมตน้ น้ำ� ถงึ ปลายน�้ำ ไดแ้ ก่
1) วจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ประกอบดว้ ย กจิ กรรมการวเิ คราะหผ์ ลติ ภณั ฑ์
การประเมนิ สายพันธ์ุ เทคนิคการสกัดสาร คดิ เปน็ มลู ค่าเพมิ่ รอ้ ยละ 0-10
2) การจดั หาวตั ถดุ บิ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมการเกบ็ เกยี่ ว คดิ เปน็ มลู คา่ เพมิ่
รอ้ ยละ 11-25
3) การผลิต ซ่ึงเป็นส่วนที่มีมูลค่าเพ่ิมสูงสุด ประกอบด้วยกิจกรรมการ
สกดั สารเขม้ ขน้ การผลติ กญั ชาเพอื่ การบรโิ ภค เครอื่ งดม่ื แคปซลู คดิ เปน็ มลู คา่ เพมิ่
ร้อยละ 26-75
4) การบรรจุภณั ฑ์และเกบ็ รกั ษา คดิ เปน็ มูลค่าเพิ่มร้อยละ 79-80
5) การจัดจ�ำหน่าย คดิ เปน็ มลู ค่าเพิ่มร้อยละ 81-95 และ
6) การขายปลีก ได้แก่ ร้านค้าออนไลน์ และออฟไลน์ คิดเป็นมูลค่าเพิ่ม
รอ้ ยละ 96-100 (ภาพที่ 2.1)

36 | กญั ชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทุน

มูลคา่ เพม่ิ 0-10% 11-25% 26-75% 76-80% 81-95% 96-100%

ขัน้ ตอน วจิ ัยและ จัดหา การผลติ บรรจภุ ณั ฑแ์ ละ การกระจาย การค้าปลกี
พฒั นา วัตถุดบิ การเกบ็ รกั ษา สินคา้
• การปลกู • การสกดั สาร • การขาย
• การวเิ คระห์ กญั ชา กญั ชา • การกระจาย ออนไลน์
ผลิตภณั ฑ์ • การแปรรูป สินค้า • รา้ นค้าปลีก
• การประเมนิ ในรูปแบบอน่ื ในทอ้ งถน่ิ
และพฒั นา เชน่ เครือ่ งดืม่ • การกระจาย
พันธก์ุ ัญชา แคปซูล สนิ ค้าระดบั
• การพัฒนา ภูมิภาค
เทคนคิ
การสกัด

ภาพท่ี 2.1 ห่วงโซ่คุณคา่ ของอุตสาหกรรมกัญชา

ทมี่ า: ดัดแปลงจาก Markets and Markets (2018)

ในปี 2561 อุตสาหกรรมกัญชาเติบโตข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยมีมูลค่าตลาด
ประมาณ 10,305 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ และคาดว่าจะสูงขึ้นเป็น 39,353
ล้านเหรยี ญดอลลาร์สหรฐั ในปี 2566 เนอ่ื งจากความการยอมรบั ในการใชก้ ัญชา
ทางการแพทย์มากขนึ้ ทัว่ โลก (Markets and Markets, 2018) ในปัจจุบนั มีการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ยาและองค์ประกอบของสารท่ีสกัดได้จากกัญชาน�ำมาใช้ผสม
ในเวชภณั ฑต์ า่ ง ๆ อยา่ งแพรห่ ลายมากขน้ึ เนอื่ งจากสาร CBD ทไ่ี ดจ้ ากกญั ชาถอื วา่
เป็นสารท่ีปลอดภัยและมีศักยภาพในการรักษาต่าง ๆ ในขณะท่ีสาร THC มีผล
ต่อการกดประสาท ซึ่งเป็นตัวชว่ ยเสริมในการรักษาโรคต่าง ๆ ใหด้ ขี นึ้ นอกจากน้ี
นโยบายการเปิดเสรีกัญชาทั่วโลกยังเป็นปัจจัยหนึ่งที่ท�ำให้อุตสาหกรรมกัญชา
เติบโตอย่างรวดเร็ว ถึงแม้ยังมีข้อถกเถียงมากมายเก่ียวกับการเปิดเสรีกัญชา
ทั้งในด้านประโยชน์ในการเข้าถึงกัญชาเพื่อรักษาโรคอย่างปลอดภัย และโทษจาก
การใชก้ ัญชาผิดวัตถุประสงค์ แตถ่ งึ อย่างไรก็ตาม ประเทศต่าง ๆ ยงั เหน็ ประโยชน์
มากกวา่ โทษ จงึ เริ่มมกี ารทยอยเปดิ เสรีมากขึ้น
ในเดือนพฤศจิกายน 2561 การใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ได้รับการอนุญาต
ใน 33 รัฐในสหรฐั อเมริกาอยา่ งเสรี และ 9 รฐั ยงั ต้องการใบรบั รองแพทยใ์ นการ
เขา้ ถงึ กญั ชา อรุ กุ วยั เปน็ ประเทศแรกนอกสหรฐั อเมรกิ าทเี่ ปดิ เสรกี ญั ชา ในปี 2556
ตามมาด้วยแคนาดา ในปี 2561 และในอีกหลาย ๆ ประเทศ ถึงแม้ว่ายังไม่เปิด
เสรีเต็มที่ แต่กระบวนการอนุญาตให้ใช้กัญชาผ่อนปรนลงไปมาก เช่น ประเทศ
เนเธอร์แลนด์อนุญาตให้พลเมืองปลูกกัญชาได้ในระดับหน่ึง และสามารถขายได ้

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ | 37

ในรา้ นกาแฟ ประเทศสเปนอนญุ าตใหใ้ ช้กัญชาไดใ้ นสถานบนั เทงิ แตย่ งั ไมอ่ นุญาต
ใหม้ กี ารซื้อขาย อยา่ งไรกต็ าม กฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ยังมีความแตกต่างกันในแต่ละ
ประเทศ ซ่ึงเป็นข้อก�ำจัด สร้างต้นทุนและความยุ่งยากในการขยายตลาดกัญชา
ไปยังตลาดต่าง ๆ เช่น บางประเทศอนุญาตให้ใช้สารสกัดจากกัญชาบางชนิด
เท่าน้ันในการรักษา อังกฤษยังไม่อนุญาตให้ใช้กัญชา ยกเว้นยา Nabilone และ
Sativex นอกจากกฎระเบียบที่แตกต่างแล้ว ในบางประเทศยังมีความก�ำกวมอยู่
เช่น ในรัฐวอชิงตันดีซี และเวอร์มอนต์ การครอบครองกัญชามีการจ�ำกัดปริมาณ
และห้ามค้าเพ่ือสันทนาการ ในประเทศชิลี สามารถปลูกกัญชาได้ 6 ต้น แต่ไม ่
อนญุ าตใหบ้ รโิ ภคและคา้ ในทสี่ าธารณะ (Markets and Markets, 2018) ตลาดกญั ชา
ในประเทศเยอรมนีเป็นประเทศที่มีอัตราการเติบโตสูงสุดในโลกถึงร้อยละ 60
รองลงมา ได้แก่ อิตาลี ฝร่ังเศส เนเธอร์แลนด์ เติบโตร้อยละ 58, 56 และ 55
ตามล�ำดบั (ภาพท่ี 2.2)

70%

60% 60% 58.40%
55% 56.20%

50% 41.30%

40% 33.30% 30.30% 30% 27%
30%

20% 20% 21%
15.70%

10%

0%

แคนาดา
สหรัฐอเม ิรกา

เม็ก ิซโก
โคลัมเ ีบย

ิชลี
อุ ุรกวัย
เนเธอ ์รแลนด์
ฝรั่งเศส
เยอรม ีน
อิตาลี
ิอสราเอล
ออสเตรเลีย

ภาพที่ 2.2 อตั ราการเตบิ โตเฉลี่ยของตลาดกญั ชาในประเทศตา่ ง ๆ ปี 2561

ท่มี า: Markets and Markets (2018)

38 | กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มค่าในการลงทุน

เมอื่ พจิ ารณาสว่ นแบง่ ตลาดตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารใชพ้ บวา่ กญั ชาเพอื่ การแพทย์
ครองสว่ นแบ่งการตลาดรอ้ ยละ 49 ในปี 2561 มมี ูลค่าตลาด 5,090 ลา้ นเหรียญ
ดอลลาร์สหรฐั และเพื่อการสนั ทนาการมีมูลคา่ ตลาด 5,215 ลา้ นเหรียญดอลลาร์
สหรัฐ คิดเปน็ รอ้ ยละ 51 ในขณะท่กี ัญชาเพ่อื สนั ทนาการมอี ัตราการเติบโตสงู กวา่
ซ่ึงคิดเป็นอัตราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 39 (ตารางที่ 2.1) สะท้อนให้เห็นว่าการ
เติบโตของอตุ สาหกรรมกัญชานน้ั ถูกผลักดันโดยตลาดกญั ชาเพื่อสนั ทนาการ

ตารางท่ี 2.1 ขนาดตลาดกญั ชาแบง่ ตามประเภทการใชง้ านตง้ั แตป่ ี 2559-2561
(ลา้ นเหรยี ญดอลลาร์สหรฐั )

การใช ง้ าน ปี 25 59 ปี 25 60 ปี 25 61 ปี 2566 อัตราการเติบโตคาดการณ์
3,778.80 (คาดการณ)์ จากปี 2561 -2566
(57.79)
เพ่ือการแพทย์ 2,861.00 5,090.00 12,589.30 ร้อยละ 19.90
(61.27) 2,760.00 (49.39) (31.99)
(42.21)
เพ่ือสันทนาการ 1,808.50 5,215.00 26,763.50 ร้อยละ 38.70
(38.73) 6,538.90 (50.61) (68.01)
(100.00)
รวม 4,669.50 10,305.00 39,352.70 รอ้ ยละ 30.70
(100.00) (100.00) (100.00)

ทม่ี า: Markets and Markets (2018)
หมายเหต:ุ ตวั เลขในวงเลบ็ คอื สว่ นแบง่ การตลาด (รอ้ ยละ) ของตลาดกญั ชาตามประเภทใชง้ าน

1) ตลาดกญั ชาทางการแพทย์
การใช้กัญชาทางการแพทย์ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างถูกกฎหมายในหลาย
ประเทศ เนือ่ งจากสาร CBD ในกญั ชาได้รับการยอมรบั วา่ สามารถใชใ้ นการรักษา
ไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เชน่ บรรเทาอาการเจบ็ ปวด ระบบประสาท จติ เวชศาสตร์ คลนื่ ไส้
อาเจียน น้�ำหนกั ลดลงอยา่ งรวดเร็ว ช่วยใหอ้ ยากอาหาร โดยประเทศท่เี พ่ิงเปดิ เสรี
กัญชาเพอ่ื การแพทย์ ไดแ้ ก่ ประเทศออสเตรเลยี อาเจนติน่า เม็กซิโก และเยอรมนี
กัญชาเพ่ือการแพทย์มีหลายรูปแบบ ทั้งน�ำมาบริโภคโดยตรง ทาแก้ปวด
เฉพาะท่ี ดม โดยตลาดกัญชาเพื่อการแพทย์ในปี 2561 มีมูลค่าประมาณ 5,090
ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั และมอี ตั ราการเตบิ โตเฉลย่ี รอ้ ยละ 20 ทวปี อเมรกิ าเหนอื
ครองสว่ นแบ่งตลาดสูงสุด 4,549 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ ในขณะท่ีตลาดยโุ รป
มอี ตั ราการเตบิ โตสงู สุดร้อยละ 58 (ตารางที่ 2.2)

กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทุน | 39

ตารางที่ 2.2 ขนาดตลาดกญั ชาทางการแพทยแ์ ยกตามทวปี ตง้ั แตป่ ี 2559-2561
(ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั )

การใช ้งาน ปี 2 559 ป ี 25 60 ปี 25 61 อัตราการเตบิ โต
คาดการณจ์ ากปี 2561-2566
อเมริกาเหนอื 2,581.30 3,372.70 4,549.20
อเมริกาใต ้ 140.50 217.80 274.00 รอ้ ยละ 18.3
ยุโรป 28.60 40.50 66.20 ร้อยละ 21.9
อืน่ ๆ 110.60 147.90 200.50 ร้อยละ 57.5
รวม 2,861.00 3,778.80 5,089.90 รอ้ ยละ 27.6
รอ้ ยละ 19.9

ที่มา: Markets and Markets (2018)

2) ตลาดกญั ชาเพอ่ื สนั ทนาการ
ตลาดกัญชาตลาดส่วนใหญ่อยู่ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา คิดเป็นมูลค่า
5,203 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ และอุรุกกวัยเป็นประเทศเดียวในอเมริกาใต้
ท่ีเปิดเสรีกัญชาเพื่อการสันทนาการ ถึงแม้ว่าตลาดกัญชามีส่วนแบ่งการตลาด
น้อยกว่ากัญชาเพ่ือการแพทย์ แต่เมื่อพิจารณาความต้องการบริโภคกัญชาเพ่ือ
สนั ทนาการจะพบวา่ ในสหรฐั อเมรกิ ามี 33 รฐั ทอี่ นญุ าตใหใ้ ชก้ ญั ชาทางการแพทย์
ได้ และมเี พยี ง 11 รัฐ ท่ีสามารถใช้กญั ชาเพือ่ สันทนาการได้ แต่ปรมิ าณการบรโิ ภค
กัญชาเพ่ือสันทนาการใกล้เคียงทางการแพทย์มาก ดังนั้น ในอนาคต ถ้ามีการ
เปิดเสรีกัญชาเพ่ือสันทนาการ จะท�ำให้ตลาดน้ีมีแนวโน้มสูงข้ึนมาก โดยคาดว่า
จะมอี ตั ราการเติบโตรอ้ ยละ 39 (ตารางที่ 2.3)

ตารางที่ 2.3 ขนาดตลาดกัญชาเพ่ือสันทนาการแยกตามทวีปตั้งแต่ปี 2559-
2561 (ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรัฐ)

การใช ง้ าน ปี 25 59 ปี 25 60 ปี 25 61 ปี 2566 อัตราการเติบโต
(คาดการณ)์ คาดการณจ์ ากปี 2561-2566

อเมริกาเหนือ 1,800.00 2,750.00 5,203.20 26,739.70 ร้อยละ 38.7
อเมรกิ าใต้ 8.50 10.00 11.80 23.70 ร้อยละ 15.0

ยโุ รป - - - - -

อื่น ๆ - - - - -
รวม ร้อยละ 38.7
1,808.50 2,760.00 5,215.00 26,763.50

ท่มี า: Markets and Markets (2018)

40 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทุน

2.2 การดำ� เนนิ นโยบายกญั ชาในตา่ งประเทศ

2.2.1 การดำ� เนินนโยบายกญั ชาในประเทศสหรฐั อเมริกา

ตลาดกญั ชาในสหรฐั อเมรกิ า ถอื วา่ เปน็ ตลาดทใี่ หญท่ สี่ ดุ ในทวปี อเมรกิ าเหนอื
โดยในปี 2561 สหรัฐอเมริกาคิดเป็นร้อยละ 91.5 และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นทุกปี
เน่ืองจากการเร่ิมมีการทยอยอนุญาตให้สามารถใช้กัญชาอย่างถูกกฎหมายในรัฐ
ต่าง ๆ สหรฐั อเมริกามกี ฎหมายห้ามใชก้ ัญชาตัง้ แต่ปี 2480 หลงั จากนั้นในปี 2526
เร่ิมมีการนิรโทษกรรมส�ำหรับการใช้กัญชาในรัฐโอเรกอน และต่อมาในปี 2539
รัฐแคลิฟอร์เนียเป็นรัฐแรกท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์อย่างถูกกฎหมาย
ในปัจจุบัน ในระดับประเทศ การใช้และการครอบครองกัญชาในประเทศสหรัฐ-
อเมริกา ทั้งเพื่อการแพทย์และสันทนาการถือว่าผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติ
ควบคุมสารเสพตดิ (Controlled Substances Act) ปี 1970 ของรัฐบาลกลาง
สหรัฐฯ (Federal Law) ซึ่งตามพระราชบัญญัติดังกล่าว กัญชาถือว่าเป็นสาร
เสพตดิ ใหโ้ ทษประเภทที่ 1 ทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ในการใชท้ ผ่ี ดิ วตั ถปุ ระสงค์ แตถ่ งึ อยา่ งไร
ก็ตาม ในระดับรัฐ กฎหมายในแต่ละรัฐท่ีเก่ียวข้องกับการอนุญาตให้ใช้กัญชา
ท้ังทางการแพทย์และสันทนาการมีความแตกต่างกัน โดยในบางรัฐกฎหมายยัง
ขัดแย้งกับกฎหมายของรัฐบาลกลาง ซึ่งการอนุญาตให้ใช้และครอบครองกัญชา
ในสหรฐั อเมริกามี 4 ระดบั (Markets and Markets, 2018) ดงั ภาพท่ี 2.3
โดยผู้ที่สามารถครอบครองกัญชาได้ต้องมีอายุต้ังแต่ 21 ปีข้ึนไป และไม่
สามารถครอบครองกัญชาแห้งได้เกิน 1 ออนซ์ ยกเว้นบางรัฐ ท่ีบุคคลสามารถ
ครอบครองได้มากกว่านี้ อาทิ รัฐเมนอนุญาตครอบครองได้ไม่เกิน 2.5 ออนซ ์
รัฐโอเรกอนอนุญาตให้ครอบครองได้ไม่เกิน 8 ออนซ์ และสามารถครอบครองได้
ถงึ 24 ออนซ์ หากขน้ึ ทะเบยี นโครงการใชก้ ญั ชาเพอ่ื การแพทย์ วอซติ นั ดซี ี อนญุ าต
ให้ครอบครองได้ไม่เกิน 2 ออนซ์ รัฐมิชิแกนอนุญาตให้ครอบครองกัญชาแห้งได้
ไม่เกนิ 2.5 ออนซ์ นอกเคหะสถาน และครอบครองในเคหะสถานไมเ่ กนิ 10 ออนซ์
สำ� หรบั ปรมิ าณของสารสกดั กญั ชาทอี่ นญุ าตใหบ้ คุ คลครอบครองในแตล่ ะรฐั
มีความแตกต่างกัน ทั้งนี้บางรัฐอนุญาตให้สามารถปลูกกัญชาในบ้านได้ เช่น
รฐั โอเรกอน วอชิตนั ดซี ี มชิ แิ กน นอกจากน้ี แต่ละรัฐจะมีการก�ำหนดขอ้ กำ� หนด
ระเบยี บ และมาตรฐานในการปลูกและจำ� หน่ายทแ่ี ตกตา่ งกัน ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ ง
สถานที่ปลูก ระบบการรักษาความปลอดภัยและตรวจสอบย้อนกลับ แต่อย่างไร

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทนุ | 41
กต็ าม ถึงแม้วา่ ในระดบั รัฐบางรฐั การใช้กญั ชาทั้งการแพทยแ์ ละสนั ทนาการถอื วา่
ถกู ตอ้ งตามกฎหมาย แต่กย็ ังคงผดิ กฎหมายในระดบั รัฐบาลกลาง ประเดน็ ดงั กล่าว
สร้างความสับสนแก่ผ้ทู มี่ ีสว่ นเกี่ยวข้อง

1 2 2 (D) 2 (D) 1 1 1 1
1 2 (D) 2 (D) 2 (D)
4 (D)
1 2 11 221(D22)2(D((DD)))
1 2
2 (D)
2 (D) 2 3 (D)

(D3)

DD

1 รฐั ท่ีอนญุ าตให้ใช้และครอบครองทั้งทางการแพทย์และสนั ทนาการ (11 รฐั )
2 รฐั ท่อี นญุ าตใหใ้ ชแ้ ละครอบครองเฉพาะทางการแพทย์ (22 รฐั )
3 รัฐท่ีอนุญาตใหใ้ ชแ้ ละครอบครองเฉพาะทางการแพทย์แต่จ�ำกัดสาร THC

ให้อยู่ในระดับตำ่� ไม่เกินร้อยละ 5 (14 รัฐ)
4 รัฐทห่ี ้ามใช้ในทุกกรณี (3 รฐั )
D นิรโทษกรรม

ภาพท่ี 2.3 ระดบั การอนญุ าตใหใ้ ชแ้ ละครอบครองกญั ชาในแตล่ ะรฐั ของประเทศ
สหรฐั อเมริกา

ท่มี า: ดัดแปลงจาก Markets and Markets (2018)

ในปี 2561 มลู คา่ ตลาดของสหรฐั คดิ เปน็ ประมาณ 8,400 ลา้ นเหรยี ญดอลลาร์
สหรัฐ และคาดว่าจะสูงขึ้นเป็น 31,608 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2566
ซง่ึ มีอตั ราเฉลีย่ เพิ่มขน้ึ รอ้ ยละ 30.3 โดยตลาดดอกกัญชาครองส่วนแบ่งการตลาด
สงู สดุ คดิ เปน็ มลู คา่ 4,243.7 ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั ในปี 2561 ในขณะทตี่ ลาด

42 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทุน

สารสกดั เขม้ ขน้ มแี นวโนม้ เตบิ โตขน้ึ มากทส่ี ดุ โดยมอี ตั ราการเตบิ โตเฉลยี่ รอ้ ยละ 35
เมอ่ื พิจารณาตลาดตามวตั ถุประสงค์การใช้งานพบวา่ กัญชาเพอื่ การแพทย์มีมลู ค่า
ตลาด 3,631 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ ในขณะท่ีกัญชาเพ่ือสันทนาการมีมูลค่า
ตลาด 4,769 ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรัฐ และมอี ัตราการเตบิ โตสูงกวา่ ในอตั ราการ
เติบโตร้อยละ 37 สะท้อนให้เห็นว่าการเติบโตอย่างมากของอุตสาหกรรมกัญชา
ของประเทศสหรัฐอเมริกา ถูกผลักดันมาจากฝั่งของตลาดการใช้กัญชาเพ่ือ
สันทนาการ (Market to Market, 2018)
เม่ือพิจารณาถึงผลกระทบจากการอนุญาตให้ใช้กัญชาอย่างถูกกฎหมาย
ในประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อให้เกิดผลกระทบใน 2 มิติ ได้แก่ ผลกระทบทาง
เศรษฐกจิ (Economic Impact) และผลกระทบทางสงั คม (Social Impact) (Drug
Policy Alliance, 2019)
1) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (Economic Impact)
การท�ำให้อุตสาหกรรมกัญชาถูกกฎหมาย สามารถสร้างรายได้ให้กับ
รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น โดยอัตราภาษีส�ำหรับการบริโภคเพ่ือสันทนาการ
และทางการแพทยแ์ ตกตา่ งกันในแตล่ ะรฐั ซง่ึ มีท้ังอย่ใู นรูปภาษกี ญั ชาโดยตรงและ
ภาษีสรรพสามิต อาทิ รัฐวอชิงตันเก็บภาษีขายปลีกกัญชาเพ่ือสันทนาการร้อยละ
37 และมีภาษีขายของรัฐอีกร้อยละ 8 นอกจากนี้ ส�ำหรับกัญชาทางการแพทย์
มกี ารเกบ็ ภาษสี รรพสามติ รรอ้ ยละ 37 แตไ่ มม่ ภี าษกี ารขาย สำ� หรบั รฐั แคลฟิ อรเ์ นยี
มีการเก็บภาษีขายส่งกัญชาทั้งส�ำหรับกัญชาทางการแพทย์และเพ่ือสันทนาการ
ตามนำ�้ หนกั โดยเรียกเก็บ 9.25 และ 2.75 เหรียญดอลลารส์ หรฐั ตอ่ ออนซ์ สำ� หรับ
ดอกและใบกญั ชาตามลำ� ดับ นอกจากนี้ ยังเรียกเก็บภาษสี รรพสามิตอีกร้อยละ 15
ภาษขี ายของรฐั รอ้ ยละ 7.25 และภาษที อ้ งถน่ิ เพม่ิ เตมิ สำ� หรบั กญั ชาเพอ่ื สนั ทนาการ
บางรัฐมีการเรียกเก็บภาษีเฉพาะกัญชาเพื่อสันทนาการ แต่ไม่มีการเก็บภาษ ี
ส�ำหรับกัญชาทางการแพทย์ อาทิ รัฐโอเรกอน รัฐอลาสก้า รัฐแมสซาชูเซตส ์
ซึ่งการจัดเก็บภาษีจากกัญชาน้ีสามารถท�ำรายได้ให้กับรัฐเป็นอย่างมาก อาทิ
หลังจากท่ีรัฐโคโลราโดเปิดเสรีกัญชาในวันท่ี 1 มกราคม 2557 พบว่าในปีแรก
รัฐบาลมีรายได้จากการเก็บภาษีถึง 67.6 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ และสูงข้ึน
ทุก ๆ ปี เป็น 205.1 ล้านเหรยี ญดอลลาร์สหรฐั (10 เดือน) และในรฐั อนื่ ๆ เชน่ กนั
รายได้จากการจดั เกบ็ ภาษเี พิ่มขึน้ ทุกปเี ชน่ กัน

กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทุน | 43

นอกจากรายได้จากการจัดเก็บภาษีแล้ว อุตสาหกรรมกัญชายังสามารถ
สร้างงานได้มากขึ้น ทั้งงานท่ีเกิดจากอุตสาหกรรมกัญชาโดยตรง อาทิ งานใน
รา้ นคา้ ทว่ั ไป รา้ นขายยา แรงงานเกบ็ เกี่ยว และแรงงานแปรรูป และยังมงี านรอง
อ่นื ทเ่ี กยี่ วเน่อื งเชน่ ระบบรักษาความปลอดภยั ท่ปี รึกษา และส�ำนักงานกฎหมาย
โดยท�ำให้เกิดการจ้างงานท้ังต�ำแหน่งงานเต็มเวลา (Full Time) และไม่เต็มเวลา
(Part Time) ประมาณ 165,000 ถงึ 230,000 ตำ� แหนง่ ทัว่ สหรัฐอเมรกิ า และยงั มี
แนวโนม้ เพ่ิมขนึ้ ทุกปี
2) ผลกระทบทางสงั คม (Social Impact)
การอนุญาตให้สามารถใช้กัญชาได้อย่างถูกกฎหมาย ท�ำให้การจับกุม
ผู้กระท�ำผิดจากการครอบครอง เก็บเก่ียว และจ�ำหน่ายอย่างผิดกฎหมายลดลง
จากการจับกุมท่ีลดลงดังกล่าว ท�ำให้รัฐสามารถประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่าย
ในการจับกุม สบื สวน และลดอาชญากรรมได้ รายไดด้ งั กลา่ วไดจ้ ดั สรรใหก้ บั สงั คม
ในหลาย ๆ ดา้ น เชน่ จัดสรรใหร้ ฐั บาลทอ้ งถนิ่ ชมุ ชน เยาวชน และสงิ่ แวดล้อม

2.2.2 การด�ำเนนิ นโยบายกญั ชาในประเทศแคนาดา

การใช้กัญชาชนิดแห้งทางการแพทย์ในแคนาดา เร่ิมใช้เม่ือปี 2543
โดยก�ำหนดให้บุคคลท่ีมีความจ�ำเป็นต้องใช้ทางการแพทย์มีสิทธ์ิที่จะเข้าถึง
โดยปี 2544 ไดอ้ อกกฎ Marihuana Medical Access regulations (MMAR)
โดย MMAR ระบุให้ผู้ป่วยที่ต้องใช้กัญชาสามารถปลูกกัญชาเองได้ หรือให้บุคคล
อนื่ ปลกู ใหไ้ ด้ หรอื ซอ้ื จาก Health Care Canada ตอ่ มาในปี 2556 รฐั บาลแคนาดา
ไดอ้ อกกฎหมายฉบับใหมค่ ือ Marihuana for Medical Purposes Regulations
(MMPR) ท่ีได้มีการก�ำหนดกฎระเบียบส�ำหรับบริษัทท่ีท�ำการผลิตและกระจาย
กญั ชาทางการแพทย์
ในเดือนมิถุนายน 2558 ศาลสูงสุดของแคนาดาได้ตัดสินว่าการจ�ำกัด
การเข้าถึงกัญชาแห้งเป็นการผิดกฎหมาย ศาลเห็นว่าบุคคลที่มีความต้องการใช้
กัญชาทางการแพทย์มีสิทธิที่จะใช้กัญชาได้ ดังน้ัน เพื่อลดความสับสนในการใช้
กญั ชา ในเดือนกรกฎาคม 2558 กระทรวงสาธารณสุข (the ministry of health)
ไดร้ ะบขุ อ้ ยกเวน้ 56 ชนดิ ภายใต้ CDSA ทอ่ี นญุ าตใหผ้ ผู้ ลติ ทม่ี ใี บอนญุ าตใหส้ ามารถ
ผลิตหรือขายกัญชาชนิดสด หรือน้�ำมันกัญชา และอนุญาตให้ดัดแปลงในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ ได้

44 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุม้ คา่ ในการลงทนุ
ต่อมาในวันที่ 24 สิงหาคม 2559 ประเทศแคนาดาได้เปล่ียนกฎหมาย
เกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์มาเป็น The Access to Cannabis for
Medical Purposes Regulations (ACMPR) และในปี 2561 ไดม้ กี ารออกกฎหมาย
Cannabis Act ที่อนุญาตให้บุคคลท่ัวไปสามารถซื้อขายกัญชาเพ่ือสันทนาการ
(Recreation) โดยอนญุ าตใหบ้ คุ คลทอี่ ายมุ ากวา่ 18 ปี สามารถซอ้ื ขาย ครอบครอง
และแจกจ่ายกัญชาได้ไมเ่ กิน 30 กรัม (กัญชาแห้ง) ต่อคน และสามารถปลูกกัญชา
ได้ไม่เกิน 4 ต้นต่อครัวเรือน โดยห้ามบุคคลทั่วไปจ�ำหน่ายกัญชาที่ปลูกได้เอง
นอกจากนี้ ยงั ไดม้ กี ารกำ� หนดกฎและมาตรฐานสำ� หรบั การปลกู ผลติ กระจายสนิ คา้
ขาย การนำ� เขา้ สง่ ออก ของกญั ชาสำ� หรบั คนทไ่ี ดร้ บั ใบอนญุ าตเพอื่ ควบคมุ คณุ ภาพ
และป้องกันการรว่ั ไหล (Government of Canada, 2019A และ Government
of Canada, 2019B)
การจดั การในดา้ นการผลติ กญั ชาของแคนาดานน้ั ทผ่ี า่ นมามแี นวทางในการ
ผลิตกัญชา 3 แนวทาง คือ ปลูกเอง รัฐบาลจัดการให้ และผู้ท่ีได้รับใบอนุญาต
ในการปลูก ผลจากการดำ� เนนิ นโยบายพบว่า จำ� นวนคนท่ใี ชก้ ัญชาทางการแพทย์
นัน้ เพม่ิ สงู ขน้ึ มาก จาก 1.12 ลา้ นคน ในปี 2558 เป็น 3.69 ล้านคน ในปี 2560
(Deloitte, 2018) แสดงใหเ้ ห็นจำ� นวนทเ่ี พ่ิมขนึ้ อย่างมากของผ้ทู ่ตี อ้ งการใช้กญั ชา
ทางการแพทย์ ท�ำให้เกิดปัญหาตามมาอย่างมาก ทั้งในตัวผู้ครอบครองกัญชาเอง
ท่ีเกิดปัญหาจากแมลง เช้ือรา รวมไปถึงเจ้าของที่ดินและเพื่อนบ้าน นอกจากน ี้

กัญชาชนิดแหง้

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุม้ ค่าในการลงทุน | 45

การเพ่ิมจ�ำนวนผู้ปลูกจ�ำนวนมากสร้างปัญหาให้แก่กระทรวงสาธารณสุขของ
แคนาดา (Health Canada) ในการเข้าไปควบคุมดูแล และในส่วนของการผลิต
ของรัฐพบว่า มีปัญหาจากจ�ำนวนการผลิตท่ีจ�ำกัด ราคาท่ีจ�ำหน่ายแต่ละรัฐน้ัน
แตกต่างกัน และมรี าคาสูงกว่าราคากัญชาในตลาดมืด (ตารางที่ 2.4) ท�ำให้รัฐต้อง
เข้าไปให้เงินสนับสนุน (subsidy) เพ่ือให้ราคาไม่แตกต่างจากราคาในตลาดมืด
มากนัก ทัง้ นี้ The Marihuana for Medical Purposes Regulations (MMPR)
ได้ก�ำหนดรูปแบบให้มีผู้ผลิตหลายราย เพ่ือให้มีการแข่งขันในตลาด ท�ำให้มีการ
ผลติ สินคา้ และราคาทีห่ ลากหลาย

ตารางที่ 2.4 ราคากญั ชาแยกตามรฐั ในประเทศแคนาดา (เหรยี ญดอลลารส์ หรฐั )

แคนาดา West Ontario Quebec Atlantic
ราคาในตลาดมดื 8.24 8.36 8.33 7.53 8.17
ราคาในตลาดทีถ่ กู กฎหมาย 8.98 8.89 9.33 7.81 9.04
ส่วนตา่ งราคา 0.74 0.53 1.00 0.28 0.87

ท่มี า: Deloitte (2018)

ส�ำหรับรูปแบบของกญั ชาที่มกี ารใช้มากทสี่ ดุ คือ ดอกกญั ชา โดยในปี 2559
มกี ารใช้กัญชาในรปู ดอกคดิ เปน็ มูลค่า 66.4 ลา้ นเหรยี ญดอลลาร์สหรัฐ รองลงมา
เป็นการใช้ในรูปแบบกัญชาสกัด ซ่ึงมีมูลค่า 52.3 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ

ดอกกญั ชา

46 | กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความค้มุ คา่ ในการลงทนุ

โดยในปี 2560 มกี ารใชก้ ญั ชาในรปู ดอกกญั ชาเพม่ิ มากขนึ้ เปน็ มลู คา่ 209 ลา้ นเหรยี ญ
ดอลลาร์สหรัฐ เช่นเดียวกับมูลค่าการใช้กัญชาสกัดเพ่ิมเป็น 209 ล้านเหรียญ
ดอลลารส์ หรัฐ จะเห็นได้ว่าอัตราการเติบโตของการใชก้ ญั ชาในแบบตา่ ง ๆ เพมิ่ สงู
ขึ้นอย่างมาก โดยการใช้ดอกกัญชา คาดการณ์ว่ามีอัตราการเติบโตร้อยละ 30
ในขณะทก่ี ญั ชาสกดั คาดการณว์ ่าจะมอี ัตราการเพิ่มรอ้ ยละ 38 เม่อื พจิ ารณาตาม
วัตถุประสงค์การใช้พบว่า มีปริมาณการใช้กัญชาทางการแพทย์สูงกว่าการใช้
เพือ่ สันทนาการ
อยา่ งไรก็ตาม มีการคาดการณ์วา่ การใช้กัญชาเพอื่ สนั ทนาการจะมแี นวโนม้
ทม่ี กี ารเตบิ โตสงู กวา่ กลา่ วคอื มกี ารคาดการณว์ า่ มลู คา่ การใชก้ ญั ชาทางการแพทย์
จะเพมิ่ จาก 523 ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั ในปี 2560 เปน็ 868 ลา้ นเหรยี ญดอลลาร์
สหรัฐในปี 2561 หรือคิดเป็นอัตราการเติบโตร้อยละ 15 ในขณะท่ีมูลค่า
การใช้กัญชาเพ่ือสันทนาการในปี 2561 คาดการณ์ว่ามีมูลค่า 434 ล้านเหรียญ
ดอลลาร์สหรัฐ โดยคาดการณ์ว่า การใช้กัญชาเพ่ือสันทนาการมีอัตราการเติบโต
สูงมาก คือร้อยละ 54 สะท้อนให้เห็นว่าในอนาคตการเติบโตของอุตสาหกรรม
กัญชาของแคนาดาจะถูกผลักดันโดยตลาดกัญชาเพ่ือสันทนาการ (Market to
Market 2018)
ภายหลังจากที่รัฐบาลได้อนุญาตให้ใช้กัญชาอย่างถูกกฎหมายนั้น เพ่ือท่ีจะ
ป้องกันผลกระทบต่อสังคมโดยรวม รัฐบาลได้ด�ำเนินแนวทางในการป้องกันผ่าน
กระบวนการ 2 อยา่ ง คอื การบงั คบั ใชก้ ฎระเบยี บอยา่ งเครง่ ครดั (strict regulation)
และการให้ความรู้แก่สังคม (public education) โดยเป็นการให้ความรู้ในด้าน
สุขภาพ ความปลอดภัย และความเสี่ยงจากการใช้กัญชา โดยเฉพาะแก่เยาวชน
ปัจจุบัน บริษัทท่ีเป็นผู้ผลิตกัญชารายใหญ่ในแคนาดา ได้แก่ Canopy Growth
Corporation (Canada), Tilray Inc. (Canada) และ Aurora Cannabis Inc.
(Canada)
เม่ือพิจารณาถึงผลกระทบจากการอนุญาตให้ใช้กัญชาอย่างถูกกฎหมาย
ในประเทศแคนาดา กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบใน 2 มิติ ได้แก่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ
(Economic Impact) และผลกระทบทางสงั คม (Social Impact) (Hajizadeh,
2016)

กญั ชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทุน | 47

1) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (Economic Impact)
การอนุญาตให้กัญชาเป็นส่ิงที่ถูกกฎหมายในประเทศแคนาดา ท�ำให้
รัฐบาลมรี ายไดจ้ ากเกบ็ ภาษี ทัง้ ภาษีการขายและภาษสี รรพพสามติ ปัจจุบนั มกี าร
เก็บภาษีขายกญั ชาประมาณ 1 เหรยี ญต่อ 1 กรัมกัญชาแห้ง ซ่งึ ในชว่ งเดอื นตุลาคม
2561 - มิถุนายน 2562 รฐั สามารถเกบ็ ภาษีจากกัญชาไดถ้ งึ 186 ลา้ นเหรยี ญ และ
คาดว่ารายได้จากการจัดเก็บภาษีท่ีเก่ียวข้องกัญชาของรัฐบาลจะมีแนวโน้มเพิ่ม
สูงข้ึน นอกจากน้ี อุตสาหกรรมกัญชาท่ีถูกกฎหมายยังก่อให้เกิดการสร้างงาน
ในแคนาดาจ�ำนวนมาก และยังท�ำให้รัฐบาลประหยัดค่าใช้จ่ายในด้านการบังคับ
กฎหมายเก่ียวกับกัญชาลงอีกด้วย ซ่ึงจากสถิติพบว่า แคนนามีคดีที่เกี่ยวข้องกับ
กัญชามากถึง 73,000 คดี ท�ำใหร้ ัฐบาลมีคา่ ใชจ้ ่ายในดา้ นนี้มากถึง 500 - 1,000
ล้านเหรียญ นอกจากน้ี การอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์อย่างถูกกฎหมาย
จะท�ำให้มีการผลิตกัญชาจ�ำนวนมากขึ้น ส่งผลให้ราคากัญชาถูกลง ท�ำให้ผู้ป่วย
สามารถเขา้ ถงึ กญั ชาในราคาที่ถูกลงได้
2) ผลกระทบทางสงั คม (Social Impact)
การใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ ทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถเขา้ ถงึ ยารกั ษาไดม้ ากขนึ้
อย่างไรกต็ าม กญั ชามีผลกระทบทางลบตอ่ สขุ ภาพเชน่ กนั โดย CAMH (Centre
for Addiction and Mental Health) ได้รายงานว่า การใช้กัญชามีผลต่อการ
พัฒนาทางสมองของเด็ก ท�ำให้เกิดการวิตกกังวล ซึมเศร้า เกิดความเส่ียงจาก
อบุ ตั ิเหตทุ างรถยนต์ นอกจากนย้ี งั พบว่า การอนญุ าตให้ใชก้ ัญชาอย่างถกู กฎหมาย
ไมส่ ามารถลดขนาดของตลาดมดื ลงอย่างทีร่ ัฐบาลตง้ั ใจไว้ได้ เน่อื งจากราคากัญชา
ทถี่ ูกกฎหมายสงู กวา่ ราคากญั ชาในตลาดมดื

2.2.3 การดำ� เนินนโยบายกญั ชาในประเทศเนเธอร์แลนด์

เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรกท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาอย่างถูกกฎหมาย
นับต้ังแต่ปี 2513 โดยมีการด�ำเนินนโยบายกัญชาแบบผ่อนปรน ปัจจุบัน กัญชา
ถอื วา่ เปน็ soft drug ทผ่ี อ่ นปรนใหจ้ ำ� หนา่ ยในรา้ นกาแฟทม่ี ใี บอนญุ าตได้ ซง่ึ อนญุ าต
ใหบ้ คุ คลทอ่ี ายตุ ง้ั แต่ 18 ปี ขนึ้ ไป สามารถซอ้ื และครอบครองกญั ชาไดไ้ มเ่ กนิ 5 กรมั
หากครอบครองมากกว่า 5 กรัม จะถูกยึดเปน็ ของกลางและโดนโทษปรับ แต่หาก
มกี ารครอบครองเกนิ 30 กรมั หรอื มกี ารกระทำ� ผดิ ซำ�้ ถงึ จะมโี ทษจำ� คกุ และครวั เรอื น
สามารถปลูกเพือ่ เสพไดไ้ มเ่ กิน 5 ตน้

48 | กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทนุ

ในปี 2543 เนเธอร์แลนด์มีการออกกฎหมายการใช้กัญชาเพื่อการแพทย์
และได้จดั ตั้ง Bureau for Medical Cannabis (BMC) เพื่อท่จี ะสร้างอตุ สาหกรรม
ยาท่ีเข้มแข็ง โดยได้ให้อ�ำนาจในการควบคุมการผลิตและการจัดส่งกัญชา ผู้ป่วย
สามารถซือ้ กญั ชาไดเ้ มอื่ มีใบสงั่ ยาจากแพทย์ การปลูกและผลติ กัญชานั้นจะทำ� โดย
บรษิ ทั Bedrocan เพยี งบรษิ ทั เดยี ว โดยอยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ ของ BMC ผลติ ภณั ฑ์
ที่ใช้ในประเทศอยู่ในรูปของยาที่มีมาตรฐาน โดยมีปริมาณสาร THC อยู่ระหว่าง
ตำ่� กว่าร้อยละ 1 ถงึ รอ้ ยละ 22 และปรมิ าณ CBD ตำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 1 ถงึ ร้อยละ 9
ข้อจำ� กัดในการใช้ คอื ใหใ้ ช้ไดเ้ ฉพาะ Sativex และกญั ชา 5 ชนิดเทา่ นนั้ ในการ
จำ� หนา่ ย หนว่ ยงานทค่ี วบคมุ ดแู ล ไดแ้ ก่ Office of Medical Cannabis (OMC)
ภายใตก้ ระทรวงสาธารณสขุ สวสั ดกิ ารและกีฬา (Ministry of Health, Welfare
and Sport) จะเป็นผู้ดูแลท้ังด้านการปลูก ผลิต จ�ำหน่าย และกระจายสินค้า
(Markets and Markets, 2018)
ในด้านการปลูก OMC จะเปน็ ผู้กำ� กับดแู ลผูป้ ลกู ทไ่ี ด้รับอนญุ าต โดยผปู้ ลกู
ต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของสหภาพยุโรป (EU guidelines for producing
medical cannabis) โดย OMC จะควบคุมปริมาณการปลูกให้สอดคล้องกับ
ปริมาณการใช้จริงทางการแพทย์ รวมถึงการควบคุมคุณภาพของกัญชาให ้
ปราศจากยาฆ่าแมลงและสารตกค้าง มีการป้องกันการปนเปื้อน การปลูกกัญชา
ในเนเธอรแ์ ลนดจ์ ะเปน็ การปลูกในอาคารดว้ ยแสงประดิษฐ์และไฮโดรโพนิกส์
เมื่อพิจารณาการใช้กัญชาในประเทศเนเธอร์แลนด์แบ่งตามชนิดของกัญชา
พบวา่ มกี ารใชใ้ นรูปดอกกญั ชามากท่ีสดุ โดยในปี 2559 มีการใช้กญั ชาในรปู ดอก
คิดเป็นมูลค่า 2.3 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ ส่วนการใช้กัญชาสกัดมีมูลค่า 1.8
ล้านเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั โดยในปี 2560 มีการใช้กญั ชาในรูปดอกกญั ชาเพมิ่ มาก
ขึ้นเป็นมูลค่า 2.6 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ เช่นเดียวกับมูลค่าการใช้กัญชา
สกัดเพิ่มเปน็ 2 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรฐั จะเห็นได้วา่ อัตราการเตบิ โตของการใช้
กัญชาในแบบตา่ ง ๆ เพมิ่ สงู ขน้ึ อยา่ งมาก โดยการใชด้ อกกญั ชามอี ตั ราการเตบิ โต
ทค่ี าดการณร์ อ้ ยละ 52 ในขณะทก่ี ญั ชาสกดั มอี ตั ราการเพม่ิ รอ้ ยละ 58 ซงึ่ มกี ารคาด
การณ์ว่าจะมกี ารเตบิ โตของการใชด้ อกกัญชาในปี 2566 เพิ่มเปน็ 14 ลา้ นเหรยี ญ
ดอลลาร์สหรัฐ และการใช้กัญชาสกัดเพ่ิมเป็น 32 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ
ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าในอนาคตแนวโน้มการใช้กัญชาสกัดจะเพิ่มมากกว่าการใช้ดอก

กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 49

กัญชาส�ำหรับตลาดกัญชาทางการแพทย์การใช้กัญชาเพ่ือการแพทย์3 ในปี 2561
มีมลู ค่า 5.7 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรฐั เพิ่มสูงข้ึนจากปี 2560 ท่มี ปี ริมาณการใช้
มูลคา่ 5.1 ลา้ นเหรียญดอลลาร์สหรัฐ มีมูลคา่ เพ่ิมข้นึ เฉล่ยี รอ้ ยละ 55 (Market to
Market, 2018)

2.2.4 การดำ� เนินนโยบายกญั ชาในประเทศอุรกุ วัย

อุรุกวัยเป็นประเทศแรกที่การปลูก การขาย และเข้าถึงกัญชาเป็นส่ิงถูก
กฎหมายในปี 2556 โดยกฎหมายเกี่ยวกับกัญชาของอุรุกวัยน้ันมีการควบคุม
ตลอดทง้ั โซอ่ ปุ ทาน (supply chain) ตงั้ แตก่ ารปลกู เกบ็ เกย่ี ว แปรรปู จดั เกบ็ ขนสง่
และการขาย และในขณะเดียวกัน กฎหมายได้มีการก�ำหนดการให้ความรู้และ
ด้านสุขภาพ เพ่ือป้องกันการเกิดปัญหาจากการใช้กัญชา โดยผู้ท่ีเข้าถึงกัญชาได้
ต้องมีอายมุ ากกว่า 18 ปี ซง่ึ การเข้าถึงกัญชาสามารถทำ� ได้ 3 วิธไี ด้แก่
1) ผู้ซ้ือต้องลงทะเบียนกับหน่วยงานควบคุม ซึ่งจะท�ำให้สามารถซ้ือกัญชา
ได้ 40 กรัมต่อวันจากร้านที่มีใบอนุญาตโดยไม่ต้องมีใบส่ังยา และหากต้องการ
ปลกู เอง สามารถปลกู กัญชาได้ไมเ่ กิน 6 ต้นต่อครวั เรือน ซึ่งตอ้ งเป็นการปลกู เพื่อ
บริโภคเท่าน้ัน
2) รวมตัวกันเป็น Clubs และขึ้นทะเบียนเพ่ือปลูกกัญชา โดยก�ำหนดให้
Clubs สามารถปลกู ได้ 99 ต้น แตต่ ้องไมผ่ ลติ เกิน 40 กรัมส�ำหรับสมาชกิ แตล่ ะคน
และ
3) การซอื้ ผา่ นรา้ นทลี่ งทะเบยี นกบั หนว่ ยงานรฐั ซงึ่ ผซู้ อื้ จะสามารถซอ้ื กญั ชา
ได้ 40 กรมั ตอ่ เดือน (Congressional Research Service, 2016)
ท้ังน้ีประเทศอุรุกวัยไม่มีการแยกกฎหมายระหว่างการใช้กัญชาเพื่อการ
แพทยแ์ ละสนั ทนาการ ทำ� ใหก้ ารเขา้ ถงึ กญั ชาทำ� ไดง้ า่ ย ทำ� ใหต้ ลาดกญั ชาในอรุ กุ วยั
เตบิ โตอย่างรวดเร็ว ซ่งึ ท�ำใหต้ ลาดกญั ชาในภาพรวมเตบิ โตอยู่ทร่ี อ้ ยละ 15.7 ต่อปี
โดยมีการใช้กัญชาในรูปแบบดอกกัญชามากท่ีสุด ในปี 2559 มีการใช้กัญชา
ในรูปดอก คิดเป็นมูลค่า 4.5 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ การใช้กัญชาสกัดมูลค่า
3.4 ล้านเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั โดยในปี 2560 มกี ารใชก้ ญั ชาในรปู ดอกกัญชาเพม่ิ

3 ไม่พบขอ้ มูลมลู คา่ ตลาดกัญชาเพอ่ื สนั ทนาการในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์


Click to View FlipBook Version