The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน
เอกสารเล่มนี้ เป็นการสังเคราะห์เนื้อหาเนื้อหาจากรายงานการศึกษาเรื่อง “ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย” โดย ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มีเป้าหมายเพื่อ ศึกษาถอดบทเรียนต่างประเทศในการอนุญาตให้เพาะปลูกและใช้ประโยชน์จากกัญชา ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตลอดจนแนวทางในการส่งเสริมการอนุญาตให้เพาะปลูกกัญชาเป็นพืชเศรษฐกิจของไทยโดยเนื้อหาในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วย 5 บท บทแรก เสนอประเด็นการศึกษาวิจัยและกรอบแนวคิดสู่เส้นทางการศึกษา บทที่ 2 ส่วนแรกอธิบายถึงนโยบายกัญชาในประเทศต้นแบบ
ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัย ในส่วนหลังเป็นการสรุปการดำเนินนโยบายกัญชาของประเทศไทยในปัจจุบัน และโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมกัญชา
ทางการแพทย์ของไทยในช่วงเริ่มต้นของการดำเนินนโยบาย บทที่ 3 เป็นการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งในร่มและแบบโรงเรือน
บทที่ 4 วิเคราะห์ความต้องการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในรูปแบบของยาตำรับแพทย์แผนปัจจุบันและยาตำรับแพทย์แผนไทย รวมทั้งประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ
(ในรูปของตัวเงิน) และ บทสุดท้าย เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะการส่งเสริมเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน
เอกสารเล่มนี้ เป็นการสังเคราะห์เนื้อหาเนื้อหาจากรายงานการศึกษาเรื่อง “ผลกระทบทางเศรษฐกิจของการเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย” โดย ผศ.ดร.รวิสสาข์ สุชาโต และคณะ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) มีเป้าหมายเพื่อ ศึกษาถอดบทเรียนต่างประเทศในการอนุญาตให้เพาะปลูกและใช้ประโยชน์จากกัญชา ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตลอดจนแนวทางในการส่งเสริมการอนุญาตให้เพาะปลูกกัญชาเป็นพืชเศรษฐกิจของไทยโดยเนื้อหาในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วย 5 บท บทแรก เสนอประเด็นการศึกษาวิจัยและกรอบแนวคิดสู่เส้นทางการศึกษา บทที่ 2 ส่วนแรกอธิบายถึงนโยบายกัญชาในประเทศต้นแบบ
ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัย ในส่วนหลังเป็นการสรุปการดำเนินนโยบายกัญชาของประเทศไทยในปัจจุบัน และโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมกัญชา
ทางการแพทย์ของไทยในช่วงเริ่มต้นของการดำเนินนโยบาย บทที่ 3 เป็นการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนเพาะปลูกกัญชาทางการแพทย์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งในร่มและแบบโรงเรือน
บทที่ 4 วิเคราะห์ความต้องการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ทั้งในรูปแบบของยาตำรับแพทย์แผนปัจจุบันและยาตำรับแพทย์แผนไทย รวมทั้งประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ
(ในรูปของตัวเงิน) และ บทสุดท้าย เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะการส่งเสริมเพาะปลูกกัญชาเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย

Keywords: กัญชา

50 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทนุ

มากข้นึ เป็นมลู ค่า 5.4 ล้านเหรยี ญดอลลาร์สหรฐั เชน่ เดียวกบั มูลค่าการใชก้ ัญชา
สกดั เพมิ่ เปน็ 4.1 ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั จะเหน็ ไดว้ า่ อตั ราการเตบิ โตทคี่ าดของ
การใช้กัญชาในแบบต่าง ๆ เพิ่มสูงข้นึ อย่างมาก โดยการใช้ดอกกัญชามอี ัตราการ
เตบิ โตท่ีคาดการณ์ร้อยละ 14 ในขณะท่กี ัญชาสกัดมอี ตั ราการเพิม่ รอ้ ยละ 18 ซงึ่ มี
การคาดการณ์ว่าจะมีการเติบโตของการใช้ดอกกัญชาในปี 2566 เพิ่มเป็น 12.3
ลา้ นเหรยี ญดอลลารส์ หรฐั และการใชก้ ญั ชาสกดั เพม่ิ เปน็ 11.4 ลา้ นเหรยี ญดอลลาร์
สหรัฐ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าในอนาคต แนวโน้มการใช้กัญชาสกัดจะเพ่ิมมากกว่า
การใช้ดอกกัญชา
เม่ือพิจารณาตลาดกัญชาตามวัตถุประสงค์การใช้ พบว่าตลาดกัญชา
เพ่ือสันทนาการมีขนาดใหญ่กว่าตลาดกัญชาทางการแพทย์มาก โดยในปี 2561
ตลาดกัญชาเพื่อสันทนาการมีส่วนแบ่งตลาดสูงถึงร้อยละ 95.93 คิดเป็นมูลค่า
11.8 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ (Market to Market, 2018) และในปี 2562
มีผู้ใช้กัญชาเพื่อสันทนาการจ�ำนวน 36,487 คน มีผู้ปลูกท่ีบ้านจ�ำนวน 7,163
ครวั เรอื น มี 3,400 คนท่เี ป็นสมาชิกใน 123 cannabis clubs และมี 2 บรษิ ทั
ท่ีได้รับใบอนุญาตให้ปลูกกัญชาท่ีมี THC–medical โดยคาดการณ์ว่าในกลางปี
2562 กญั ชาเพอ่ื สนั ทนาการถกู จำ� หนา่ ยไปจำ� นวน 3,000 กโิ ลกรมั ในขณะทก่ี ญั ชา
เพอ่ื การแพทยม์ ีตลาดค่อนข้างจำ� กัด นอกจากน้ีพบว่า มีเพยี งหนงึ่ บรษิ ทั ทีส่ ามารถ
จดทะเบยี นในการผลติ กัญชาเพ่อื การแพทย์ ซงึ่ เป็น Epifractan คอื น้�ำมนั กญั ชา
ทมี่ ี CBD รอ้ ยละ 2 หรอื ร้อยละ 5 และมี THC ต่�ำกวา่ ร้อยละ 0.5 โดยวตั ถุดิบ
ทใ่ี ช้ในการผลติ นำ� เข้าจากสวติ เซอรแ์ ลนด์ และผ้ปู ว่ ยไดร้ บั อนุญาตให้นำ� เขา้ สนิ คา้
จากตา่ งประเทศไดเ้ ป็นกรณี ๆ ไป ไม่สามารถนำ� เข้าครัง้ ละจ�ำนวนมาก ๆ ได้
กัญชายังจัดว่าเป็นสินค้าเกษตรท่ีได้รับยกเว้นจากการเก็บภาษี มีเพียงการ
เกบ็ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ เทา่ นน้ั เพอ่ื ใหร้ าคากญั ชาทถี่ กู กฎหมายสามารถแขง่ ขนั กบั ราคา
ในตลาดมดื ได้ อย่างไรกต็ ามการอนญุ าตให้กญั ชาถูกกฎหมายในประเทศอุรกุ วัยน้ี
ไม่ท�ำให้ปริมาณกัญชาในตลาดมืดลดลง เน่ืองจากปริมาณการผลิตของกัญชาท ่ี
ถูกกฎหมายมีไม่เพียงพอ ประกอบกับผู้ใช้บางส่วนไม่ต้องการท่ีจะข้ึนทะเบียนกับ
ทางรัฐบาล

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทนุ | 51

2.2.5 เปรียบเทียบนโยบายกญั ชาระหวา่ งประเทศตา่ ง ๆ

เมอ่ื พจิ ารณาการดำ� เนนิ นโยบายกญั ชาของประเทศตน้ แบบ อนั ไดแ้ ก่ ประเทศ
แคนาดา สหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัยน้ัน พบว่ามีความใกล้เคียงกัน
โดยทั้งสี่ประเทศน้ีอนุญาตให้สามารถใช้กัญชาได้ท้ังทางการแพทย์และเพื่อ
สนั ทนาการ และมีมาตรการในการควบคมุ ดา้ นตา่ ง ๆ ทีใ่ กลเ้ คยี งกัน ไมว่ า่ จะเป็น
การควบคุมพื้นที่ การควบคุมมาตรฐานการปลูกกัญชา ระบบติดตามควบคุมและ
ตรวจสอบ และมาตรการการเข้าถึงกัญชาทางการแพทย์ท่ีต้องมีใบส่ังยาจาก
ผู้เชย่ี วชาญ อย่างไรกต็ าม ประเทศอรุ ุกวัยไม่มมี าตราการในการปอ้ งกันการเขา้ ถึง
กัญชาที่อยู่ระหว่างกระบวนการผลิต นอกจากนี้ ยังพบว่านโยบายการอนุญาตให้
ประชาชนปลูกกญั ชาเองที่บา้ นกแ็ ตกต่างกันไปตามแตล่ ะประเทศ (ตารางที่ 2.5)

ตารางที่ 2.5 เปรียบเทยี บนโยบายกญั ชาในประเทศต่าง ๆ

แคนาดา สหรัฐอเมรกิ า เนเธอรแ์ ลนด์ อรุ ุกวยั

วัตถปุ ระสงค์ 1. ทางการแพทย ์ 1. ทางการแพทย ์ 1. ทางการแพทย ์ 1. ทางการแพทย์
การใช้กัญชา 2. สนั ทนาการ 2. สนั ทนาการ 2. สันทนาการ 2. สันทนาการ
ในบางพ้ืนท่ี

มาตรการ 1. ดา้ นพนื้ ท ี่ 1. ด้านพ้ืนท่ี 1. ด้านพืน้ ท่ี 1. ด้านพื้นที่
ควบคมุ - แบ่งประเภทของ - ข้นึ กบั กฎหมาย - ให้ปลกู กญั ชา - ให้ปลกู กญั ชา
พืน้ ท่ปี ลกู พ้นื ที่ปลกู ตาม ของแต่ละรฐั ตามวตั ถุประสงค ์ ตามวตั ถุ
วตั ถุประสงค ์ คือ เพ่ือศกึ ษา-
- สถานท่ีปลกู ต้อง วิจยั เพือ่ ผลติ
มพี กิ ดั สถานที่ ผลติ ภัณฑก์ ญั ชา
ถูกต้อง มสี ถานที ่ ไมก่ ำ� หนด
ตัง้ ชดั เจน ก�ำหนด ขนาดพ้ืนที่
ขนาดพ้ืนที่

2. มาตรการ 2. มาตรการ 2. มาตรการ 2. มาตรการ
ปอ้ งกนั การเขา้ ถงึ ปอ้ งกันการเข้าถึง ปอ้ งกนั การเข้าถงึ ป้องกนั การ
- ระบบรกั ษา - มีระบบรักษา - มรี ะบบรกั ษา เข้าถึง
ความปลอดภัย ความปลอดภัย ความปลอดภัย
มกี ลอ้ ง CCTV - มีกล้องวงจรปิด - มรี ะบบควบคุม
- โครงสร้าง - มกี ารควบคุม การเข้าถึงพน้ื ท่ี
เพาะปลูกแขง็ แรง ผ้เู ขา้ ออก ปลกู และประตู
- มรี ะบบควบคุม - มีข้ันตอนควบคุม
การเขา้ ออก การปฏิบตั ิ
เก่ียวกับกัญชา
เพือ่ ปอ้ งกัน
การรัว่ ไหล

52 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความค้มุ ค่าในการลงทุน

ตารางท่ี 2.5 (ต่อ)

แคนาดา สหรัฐอเมรกิ า เนเธอรแ์ ลนด์ อรุ กุ วัย

มาตรการควบคมุ - มีหอ้ งนริ ภยั
พืน้ ทีป่ ลูก สำ� หรับเกบ็ กญั ชา

3. ระบบการ 3. ระบบการ 3. ระบบการ 3. ระบบการ
ควบคมุ การปลกู ควบคุมการ ควบคุมการปลกู ควบคุมการ
กัญชา ปลูกกัญชา ปลกู กญั ชา ปลูกกญั ชา
- ตอ้ งเป็นเกรด - ขน้ึ กับกฎหมาย - ต้องเป็นเกรด - ต้องเปน็ เกรด
ทางการแพทย ์ ในแตล่ ะรฐั ทางการแพทย์ ทางการแพทย์
ท่ีไดม้ าตรฐาน ทไ่ี ดม้ าตรฐาน ที่ไดม้ าตรฐาน
- ตอ้ งปลูกตาม ภายใตม้ าตรฐาน - มกี ารตรวจ
แนวทาง GPP การผลติ ที่ดี วิเคราะห์สาร
(Good (GMP) ปนเปอื้ น
Production - ปลูกตามแนวทาง ยาฆ่าแมลง
Practice) มาตรฐานการ ปนเป้อื น
- มีการตรวจ ปฏิบัตทิ างการ ยาฆา่ แมลง
วเิ คราะห์สาร- เกษตรท่ดี ี เช้อื รา อ่นื ๆ
ปนเป้อื น ยาฆ่า- (GAP)
แมลง เชือ้ รา อ่ืนๆ

4. ระบบตดิ ตาม 4. ระบบติดตาม 4. ระบบติดตาม 4. ระบบตดิ ตาม
ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ
- มีการตรวจสอบ - มีการตรวจสอบ - มกี ารตรวจสอบ - มีการ
ดว้ ยระบบ ทกุ ขั้นตอน ทกุ ขน้ั ตอน ตรวจสอบ
Cannabis โดย web base ทกุ ข้ันตอน
tracking system ทีส่ ามารถควบคุม
ทุกข้ันตอน

การอนญุ าตให ้ ปลูกกัญชาได้ไม่เกิน ขึ้นกบั แตล่ ะรัฐ ไมอ่ นุญาตให ้ ปลูกกัญชาได้
ปลกู กญั ชาทบ่ี า้ น 4 ต้นต่อครัวเรอื น ประชาชนท่ัวไป ไม่เกิน 6 ต้น
ปลูกกัญชาได ้ ต่อครวั เรอื น
(แต่ผอ่ นปรนให ้ หรือจ�ำนวนที ่
ปลูกเพือ่ เสพได้ ผลิตไดต้ อ้ ง
ไมเ่ กนิ ครัวเรอื นละ ไมเ่ กิน 480 กรมั
5 ต้น

การเขา้ ถึง ตอ้ งมใี บสั่งยา ตอ้ งมีใบสง่ั ยา ตอ้ งมีใบส่ังยา ต้องมีใบส่ังยา
ผลติ ภัณฑก์ ญั ชา จากผู้เช่ียวชาญ จากผูเ้ ชย่ี วชาญ จากผ้เู ชยี่ วชาญ จากผูเ้ ชีย่ วชาญ
ทางการแพทย์

ทมี่ า: จากการสงั เคราะห์

กญั ชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุม้ คา่ ในการลงทุน | 53

2.3 อุตสาหกรรมกญั ชาในประเทศไทย

2.3.1 การดำ� เนินนโยบายกญั ชาทางการแพทย์ของประเทศไทย

กญั ชาถอื วา่ เปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภทที่ 5 ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ
ให้โทษ พ.ศ. 2522 โดยถกู กำ� หนดไว้ว่าหา้ มปลกู ห้ามเสพ หา้ มจ�ำหนา่ ย และมไี ว้
ครอบครอง แต่ในปจั จบุ นั ภาครฐั ได้เล็งเห็นถึงคณุ ประโยชนข์ องการนำ� กัญชามาใช้
เพื่อเป็นยารักษาโรค และได้พบว่าในหลายประเทศได้มีการแก้ไขกฎหมายเพื่อ
ท่ีจะสามารถน�ำกัญชามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ จึงได้มีการแก้ไขกฎหมาย
ของประเทศไทยให้สอดคล้องกับความต้องการน�ำประโยชน์จากกัญชามาใช้ใน
การรักษาโรคต่าง ๆ ทดแทนการพึ่งพาการน�ำเข้ายาจากต่างประเทศท่ีมีราคาสูง
จึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติยาเสพติด (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2522 ขึ้น
เพ่ือแก้ไขพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้สามารถใช้ประโยชน์
จากการวิจัยสารสกัดกญั ชาและพืชกระท่อมที่มปี ระโยชน์และใชท้ างการแพทย์ได้
อย่างไรก็ตาม การเพาะปลูกและการใช้ยังไม่สามารถท�ำได้อย่างเสรี โดย
การเข้าถึงยาของผู้ป่วยทุกรายจะอยู่ภายใต้รูปแบบพิเศษของการเข้าถึงยา
(Special Access Scheme: SAS) ซ่ึงเป็นการอ�ำนวยให้เพ่ือให้ผู้ป่วยสามารถ
เขา้ ถงึ ผลิตภัณฑ์กัญชาที่ยังไม่ได้รับการรับรองด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย
จากสำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ภายใตก้ ารดแู ลของแพทยอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ
แต่การแก้ไขพระราชบัญญัติดังกล่าวนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของประเทศไทยในการ
สร้างองค์ความรดู้ า้ นกัญชาทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ
นอกจากน้ี คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษได้มีมติและได้มีการ
ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาให้มีการปลดให้ส่วนต่าง ๆ ของพืชกัญชาและ
กัญชง เฉพาะท่ไี ด้รบั อนญุ าตใหป้ ลกู ผลติ หรอื สกัดในประเทศไทย ออกจากการ
เปน็ ยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 5 ได้แก่
1) เปลอื ก ลำ� ตน้ ราก เส้นใย กิง่ กา้ น และราก
2) ใบ ซึง่ ไม่มียอดหรอื ชอ่ ดอกติดมาด้วย
3) สารสกัดท่ีมีสารแคนนาบิไดออล (CBD) เป็นส่วนประกอบและมีสาร
เตตรา้ ไฮโดรแคนนาบินอล (THC) ไม่เกินรอ้ ยละ 0.2 โดยนำ้� หนกั
4) เมลด็ กญั ชง นำ้� มนั จากเมลด็ กญั ชง หรอื สารสกดั จากเมลด็ กญั ชง

54 | กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทุน
ซง่ึ สง่ ผลใหส้ ามารถนำ� สว่ นของพชื กญั ชาทพ่ี น้ จากยาเสพตดิ ไปใชไ้ ปประโยชน์
ทางการแพทย์เพื่อดูแลสุขภาพตนเอง เช่น ใช้ในต�ำรับยาแผนไทย ผลิตภัณฑ์
สมุนไพรและเครื่องส�ำอาง สิ่งทอ ยา และอาหาร อย่างไรก็ตาม ประชาชนท่ีจะ
ครอบครองและใช้ได้อย่างถูกต้อง จะต้องเป็นผลผลิตท่ีได้รับอนุญาตถูกต้องตาม
กฎหมาย และไมอ่ นญุ าตใหใ้ ชเ้ พอื่ สนั ทนาการ ทงั้ นที้ างสำ� นกั คณะกรรมการอาหาร
และยาจึงได้มีการจัดท�ำพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562 ซ่ึงส่งผล
ให้มีความยืดหยุ่นและรวดเร็วมากขึ้นในการน�ำกัญชาในส่วนที่ปลดออกจากการ
เปน็ ยาเสพติด มาท�ำเปน็ ผลิตภณั ฑส์ มุนไพรหรือยาแผนโบราณ

กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ | 55

2.3.2 โซอ่ ุปทานของอตุ สาหกรรมกัญชาทางการแพทย์ของไทย

โซ่อุปทานกัญชาทางการแพทย์อย่างถูกกฎหมายในประเทศไทยยังไม ่
ซบั ซอ้ น เนอ่ื งจากเปน็ ระยะเรม่ิ ตน้ ของการอนญุ าตใหม้ กี ารใชก้ ญั ชาเพอ่ื การแพทย์
โดย ตน้ นำ้� ของโซอ่ ปุ ทานกญั ชาทางการแพทยข์ องไทย ประกอบดว้ ยสว่ นของเมลด็
พนั ธแ์ุ ละการเพาะปลกู ในสว่ นของ กลางนำ้� ประกอบดว้ ยการสกดั และการแปรรปู
และส่วนของ ปลายน�้ำ จะเป็นการกระจายยากัญชา ซ่ึงมีโรงพยาบาลและคลินิก
เป็นผู้จ�ำหน่าย ท้ังนี้ในทุกส่วนของโซ่อุปทานกัญชาทางการแพทย์ของไทยต้อง
ขออนญุ าตในการด�ำเนินการจากส�ำนักคณะกรรมการอาหารและยา ไม่ว่าจะเป็น
การนำ� เขา้ การครอบครอง การผลิต (การปลูก การสกัด การแปรรูป การปรุง) และ
การจำ� หนา่ ย และการทผ่ี ลผลติ บางสว่ นของพชื กญั ชาไมใ่ หเ้ ปน็ ยาเสพตดิ ประกอบ
กับพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร 2562 นั้น ท�ำให้ในอนาคตประเทศไทย
สามารถเพิม่ มูลคา่ จากผลิตภัณฑ์กญั ชาไดม้ ากข้นึ (ภาพท่ี 2.4)

ต้นนำ้� กลางนำ้� ปลายนำ้�

ยตาแน้ ผตนำ� รไทับย โรแงลกพะญั ยคชาลบานิ าิกล

เมลด็ พนั ธุ์ กกาัญรปชลากู การสกัด ตนแ้นำ้� ผมตนันำ� รไเทดับชยยาา
ยาแตผ้นนตปำ� จัรับจบุ นั

ผสลมติ นุ ภไัณพรฑ์

ภาพที่ 2.4 โซอ่ ปุ ทานกัญชาอย่างถูกกฎหมายของประเทศไทย

ทีม่ า: จากการสำ� รวจ

56 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มค่าในการลงทุน

1) อุตสาหกรรมต้นนำ้�
1.1) เมล็ด/ตน้ พนั ธกุ์ ัญชา
สำ� หรบั เมลด็ พนั ธท์ุ ม่ี กี ารใชป้ ระเทศในปจั จบุ นั มแี หลง่ ทมี่ าจาก 2 แหง่ ไดแ้ ก่
1) เมลด็ พันธไุ์ ทย ซ่งึ เป็นพนั ธ์ทุ ม่ี ีสาร THC เดน่ อาทิ พนั ธุ์หางกระรอก
พนั ธุห์ างเสือ พนั ธ์ุตะนาวศรี ปจั จบุ ัน เมล็ดพนั ธุก์ ญั ชาไทยที่มกี ารนำ� มาเพาะปลกู
อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ส่วนมากมาจากเมล็ดพันธุ์ท่ีได้จากการนิรโทษกรรม
จากส�ำนักงานป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด
2) เมลด็ พันธุก์ ญั ชาต่างประเทศ ซ่ึงเป็นสายพันธก์ุ ัญชาทีม่ ี CBD เด่น
เชน่ ชารล์ อ็ ตตแ์ องเจล้ิ และมกี ารพฒั นาพนั ธท์ุ หี่ ลากหลาย โดยเปน็ เมลด็ พนั ธท์ุ ต่ี อ้ ง
น�ำเขา้ จากตา่ งประเทศซง่ึ มรี าคาสงู กว่าเมล็ดพนั ธุก์ ัญชาไทย จากการส�ำรวจพบวา่
เมล็ดกัญชาน�ำเข้ามีช่วงราคาท่ีค่อนข้างกว้างตามคุณภาพ โดยมีราคาอยู่ที่ 200
ถงึ 500 บาท/เมลด็

พนั ธ์ุหางกระรอก พนั ธุ์หางเสอื

พนั ธ์ตุ ะนาวศรี พันธุ์ชารล์ อ็ ตต์

กญั ชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทนุ | 57
เน่ืองจากมีข้อจ�ำกัดการใช้เมล็ดพันธุ์กัญชาในการปลูกกัญชา คือต้นกัญชา
แต่ละตน้ มีสารสำ� คัญทไี่ ม่คงที่ ดงั นน้ั ผูป้ ลูกบางรายจงึ ใชก้ ารปกั ชำ� แทน ซง่ึ ทำ� ให้
ไดต้ น้ กญั ชาแต่ละตน้ ทมี่ ีสารสำ� คญั คงทีก่ ว่าและมตี ้นทนุ ท่ถี ูกลง
ปัญหาในส่วนของเมล็ดพันธุ์มีดังนี้ เมล็ดพันธุ์กัญชาไทยท่ีได้จากการ
นริ โทษกรรม ไม่ไดม้ กี ารคดั แยกพันธุแ์ ละเพศ การปลูกทั้งเพศผแู้ ละเพศเมียปะปน
กัน เมื่อมีเกสรผสมกันแล้ว จะท�ำให้ต้นกัญชาไม่ออกดอก ท�ำให้ผู้เพาะปลูกต้อง
คัดแยกต้นตัวผู้ออกมา ส่งผลให้มีต้นทุนท่ีสูงขึ้น ทั้งต้นทุนแรงงานในการคัดแยก
และต้นทุนต้นกัญชาเพศผู้ที่ปลูกแล้วต้องคัดออก โดยไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิต
ได้ จากการสำ� รวจพบว่า เมล็ดกัญชาที่ไดจ้ ากการนริ โทษกรรม เม่ือเพาะปลกู แลว้
พบว่าเปน็ เพศผถู้ ึงร้อยละ 30 - 50 และยังพบวา่ พนั ธ์กุ ญั ชาไทยมีการข้ึนทะเบียน
เปน็ พนั ธพ์ุ ชื ไทยเพยี งพนั ธเ์ุ ดยี วไดแ้ ก่ พนั ธก์ุ ญั ชาอสิ ระ014 ซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเสยี่ ง
ในกรณีท่ีต่างประเทศท�ำการข้ึนทะเบียนพันธุ์กัญชาท่ีมีพ้ืนเพในประเทศไทยไป
กอ่ น จะทำ� ใหใ้ นอนาคตน้นั ประเทศไทยจำ� เปน็ ตอ้ งซ้อื พันธุก์ ญั ชาจากต่างประเทศ
นอกจากนี้ สายพนั ธย์ุ งั มคี วามหลากหลายนอ้ ย ทำ� ใหท้ างเลอื กในการใชพ้ นั ธก์ุ ญั ชา
ของไทยที่เหมาะสมกับโรคมีจ�ำกัด ส่วนการน�ำเข้าเมล็ดพันธุ์ต่างประเทศพบว่า
ต้องใชเ้ วลาค่อนข้างนาน

พันธ์ุกัญชาอิสระ01

4 กรมวชิ าการไดอ้ อกหนงั สอื รับรองเปน็ พันธุ์พืชขน้ึ ทะเบยี น เม่อื วันที่ 29 มกราคม 2564

58 | กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทนุ

1.2) การเพาะปลกู กัญชา
การเพาะปลูกกัญชาในประเทศไทยท่ีถูกต้องตามกฎหมาย เป็นการปลูก
เพอื่ น�ำไปใช้ประโยชนท์ างการแพทย์ จึงเป็นการปลูกที่ตอ้ งระมดั ระวงั ในเรื่องของ
สารตกคา้ ง เชน่ ยาฆา่ แมลง โลหะหนกั เนอ่ื งจากกญั ชาเปน็ พชื ทมี่ คี วามสามารถใน
การดูดซึมโลหะหนัก ดังนั้น การปลกู กญั ชาเพ่อื ใช้ทางการแพทย์นน้ั ต้องหลีกเลี่ยง
การใช้ยาฆ่าแมลง ปลูกให้ได้มาตรฐานการปลูกกัญชาส�ำหรับทางการแพทย ์
จากการสำ� รวจพบวา่ รปู แบบในการเพาะปลกู กญั ชาเพอื่ ใชป้ ระโยชนท์ างการแพทย์
ในประเทศไทยนัน้ มกี ารปลกู ทัง้ 3 รูปแบบดังเชน่ ต่างประเทศ ท้งั การปลกู ในตึก
หรือในร่ม (indoor) การปลูกในโรงเรือน (greenhouse) และการปลูกในท่ีแจ้ง
(outdoor) การปลูกกญั ชาอยา่ งถกู ต้องตามกฎหมายในปจั จุบันของไทย เปน็ การ
ปลกู ทเ่ี ปน็ ความรว่ มมอื กนั ระหวา่ งผเู้ พาะปลกู และผใู้ ชก้ ญั ชาทไ่ี ดร้ บั ใบอนญุ าตผลติ
เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนครกับโรงพยาบาลพระอาจารย์
ฝั้น อาจาโร, วิสาหกิจชุมชนเพลาเพลินกับโรงพยาบาลคูเมือง, วิสาหกิจชุมชน
รักจังฟารม์ กบั โรงพยาบาลอภัยภเู บศร หรือผู้ใช้ท�ำการเพาะปลกู เอง เชน่ องคก์ าร
เภสัช ดงั นน้ั การวางแผนเพาะปลูกของผูเ้ พาะปลูก เช่น รูปแบบ เทคนิค และพันธุ์
กัญชาท่ีใช้น้ันขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ด้วย เช่น หากผู้ใช้ต้องการกัญชา
ไปผลิตยาแผนไทย ผู้ผลิตสามารถตัดสินใจเลือกปลูกกัญชาพันธุ์ไทยในโรงเรือน
เพาะปลูก ท่มี ตี น้ ทนุ ถกู กว่าการใชพ้ ันธุก์ ัญชาต่างประเทศและปลูกในร่ม เนื่องจาก
การสัมภาษณ์พบว่า การน�ำกัญชาไปผลิตเป็นยาต�ำรับยาแผนไทย ไม่ได้เน้นท่ี
สารสำ� คญั วา่ ตอ้ งมปี รมิ าณสาร CBD หรอื THC แตก่ ารใชก้ ญั ชาในตำ� รบั ยาแผนไทย
จะเปน็ การระบุวา่ ตอ้ งการกัญชาจากสว่ นไหนของตน้ กญั ชา
ปัญหาในส่วนของการปลูกกัญชาท่ีถูกต้องตามกฎหมายคือ องค์ความรู ้
ในการเพาะปลูกยังมีไม่มากนัก โดยมากจะยังอยู่ระหว่างการทดลองเทคนิค
ในการปลกู หลาย ๆ แบบ เชน่ การหาปริมาณแสง ความชนื้ อุณหภูมทิ ่ีเหมาะสม
นอกจากนี้ อีกข้อจ�ำกัดคือ ถึงแม้ค่าขออนุญาตจะไม่สูง แต่การขออนุญาตมี
กระบวนการหลายขั้นตอนและต้องเตรียมข้อมูลค่อนข้างมาก อาทิ ข้อมูลวิธีการ
ปลกู การปอ้ งกนั ความปลอดภยั การกำ� จดั ของเสยี ทเ่ี กดิ ขนึ้ และทกุ ขน้ั ตอนตอ้ งทำ�
ตามข้อมูลที่แจ้งตอนขออนุญาตไปเท่าน้ัน ท�ำให้ไม่มีความยืดหยุ่นในการผลิต
และยงั พบวา่ ยงั ไมม่ กี ารกำ� หนดมาตรฐาน การปลกู และการจดั ชนั้ มาตรฐานผลผลติ
กญั ชาทช่ี ดั เจน

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความค้มุ คา่ ในการลงทนุ | 59

2) อุตสาหกรรมกลางน�ำ้
2.1) การสกัดนำ�้ มันกัญชา
การสกัดกัญชาในประเทศไทยโดยมากเป็นการสกัดโดยใช้แอลกอฮอล์
เพ่ือให้ได้น้�ำมันกัญชาซึ่งเป็นสารต้ังต้นไปผลิตเป็นน้�ำมันกัญชาท้ังทางแพทย์ต�ำรับ
แผนปัจจุบันและต�ำรับแผนไทย มีการสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์บ้าง แต่
เปน็ การสกัดในระดบั ของห้องทดลอง (Lab scale) เทา่ น้นั จากการส�ำรวจพบว่า
ผสู้ กดั ในประเทศไทยมอี งคค์ วามรแู้ ละเครอ่ื งมอื ในการสกดั สมนุ ไพร ซงึ่ สามารถน�ำ
มาประยกุ ต์ใชใ้ นการสกัดกัญชาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ โรงพยาบาลพระยาอภัยภู ูเบศร
องค์การเภสัชกรรม ปญั หาในการสกดั กญั ชาจะเปน็ เรอ่ื งของวัตถดุ ิบกญั ชาแห้งทมี่ ี
ไม่เพยี งพอและคณุ ภาพของวตั ถดุ บิ กญั ชาแหง้ ไมค่ งที่ กล่าวคือ ปริมาณสารสำ� คญั
ท่ีได้จากการสกัดกัญชาแต่ละครั้งไม่เท่ากัน ท�ำให้ต้องมีการปรับเปล่ียนข้ันตอน
ในการสกดั ทกุ ครงั้ และบางครงั้ ไดก้ ญั ชาทม่ี สี ารสำ� คญั ตำ่� ทำ� ใหต้ อ้ งสกดั หลายรอบ
ส่งผลให้ต้นทุนการสกัดสูงขึ้น นอกจากนี้ บางคร้ังยังพบวัตถุดิบกัญชาที่ได้มาจาก
การนิรโทษกรรมมียาฆา่ แมลงตกคา้ งอยู่
2.2) การแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑก์ ญั ชาทางการแพทย์
การแปรรูปกัญชาเป็นผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์อย่างถูกกฎหมายใน
ประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
ก. ยาต�ำรับแพทย์แผนปัจจุบัน การแปรรูปกัญชาโดยใช้กัญชาพันธุ ์
ตา่ งประเทศทม่ี ี CBD เดน่ เปน็ ยาตำ� รบั แผนปจั จบุ นั ในประเทศไทย เปน็ การแปรรปู
ในรปู แบบของน�้ำมนั กญั ชาทม่ี กี ารระบคุ วามเขม้ ขน้ ของสารส�ำคญั ทช่ี ดั เจน โดยจะ
ใชเ้ ป็นยาทรี่ ักษาตามอาการ เชน่ อาการเจ็บปวด นอนไมห่ ลับ หรือใชเ้ พอื่ ประคบั -
ประคองอาการ และ
ข. ยาตำ� รบั แพทยแ์ ผนไทย โดยใชก้ ญั ชาพนั ธไ์ุ ทย ปจั จบุ นั สามารถแบง่ ออก
ไดเ้ ปน็ 2 รูปแบบ
1) ยาตำ� รบั แผนไทย ทใ่ี ชใ้ นการแกอ้ าการเฉพาะดา้ น เชน่ ยาศขุ ไสยาศน์
ยาทำ� ลายพระสเุ มรุ และ
2) นำ�้ มนั กญั ชาตำ� รับนำ�้ มันเดชา

60 | กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน

ตำ� รบั ยาศขุ ไศยาศน์ ตำ� รับยาท�ำลายพระสเุ มรุ

จากการสัมภาษณ์พบว่า การใช้ผลผลิตกัญชาเพ่ือแปรรูปเป็นยาต�ำรับ
แผนไทย แตล่ ะตำ� รบั จะมกี ารใชก้ ญั ชาในสว่ นทตี่ า่ งกนั อาทิ การผลติ ยาศขุ ไสยาศน์
จะใช้ใบกญั ชาตากแหง้ ในขณะท่ียาท�ำลายพระสุเมรุจะใชช้ ่อดอกตวั เมยี

ปัญหาในส่วนของกลางน�้ำ ท้ังการสกัดและการแปรรูป ได้แก่ มีวัตถุดิบ
กัญชาที่ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะการแปรรูปเป็นน�้ำมันกัญชาต�ำรับแผนปัจจุบัน
ทเ่ี นน้ CBD นอกจากน้ี การตรวจสอบคณุ ภาพของวัตถดุ บิ กัญชามตี ้นทุนทส่ี งู และ
ต้องใชร้ ะยะเวลานาน

3) อตุ สาหกรรมปลายน�้ำ
การกระจายผลิตภัณฑ์ยากัญชาอย่างถูกต้องตามกฎหมายต้องกระจาย
ผ่านโรงพยาบาลและคลินิกที่ได้รับใบอนุญาตจ�ำหน่าย ซ่ึงปัจจุบันมีอยู่ 506 แห่ง
ครอบคลุม 77 จังหวัด โดยการสั่งจ่ายยากัญชาต้องกระท�ำผ่านแพทย์ท่ีผ่านการ
อบรมการส่ังใช้กัญชาเท่านั้น ผู้ป่วยไม่สามารถท�ำการซื้อผลิตภัณฑ์ยากัญชา
ได้เองโดยปราศจากใบส่ังจ่ายของแพทย์ที่ผ่านการอบรมการส่ังจ่ายกัญชา ท้ังน ้ี
การสง่ั จา่ ยยากญั ชาตำ� รบั แผนปจั จบุ นั ในประเทศไทย ณ ปจั จบุ นั อยภู่ ายใตร้ ปู แบบ
พิเศษของการเขา้ ถงึ ยา (Special Access Scheme: SAS)
ปัญหาในส่วนของการกระจายผลิตภัณฑ์กัญชาในช่วงแรกพบว่า มีการ
ส่ังจ่ายยากัญชาได้จ�ำกัด เนื่องจากแพทย์ที่สามารถส่ังจ่ายได้ต้องผ่านการอบรม
นอกจากนน้ั ยงั พบวา่ แพทยบ์ างสว่ นยงั ไมม่ น่ั ใจในประสทิ ธผิ ล เนอ่ื งจากยงั มเี อกสาร
ทางวชิ าการรบั รองเกย่ี วกบั ยากญั ชานอ้ ย และยงั ไมค่ นุ้ เคยกบั นำ�้ มนั กญั ชา ประกอบ
กับการสั่งยาภายใต้รูปแบบพิเศษในการเข้าถึงยาน้ัน ท�ำให้แพทย์มีข้ันตอนในการ

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มค่าในการลงทุน | 61

ทำ� งานทม่ี ากขนึ้ เนอื่ งจากตอ้ งทำ� การบนั ทกึ รายงานการสง่ั จา่ ยยา และผลการรกั ษา
ของคนไข้ท่ีได้รับยากัญชาทุกราย นอกจากน้ี ยังพบว่าผลิตภัณฑ์บางชนิด เช่น
นำ้� มนั กญั ชาท่ี CBD เดน่ เพอื่ การรกั ษาโรคลมชกั มไี มเ่ พยี งพอแกค่ วามตอ้ งการของ
ผู้ป่วยที่อยู่ในโครงการใช้ยากัญชาเพ่ือการรักษาโรคลมชักชนิดดื้อยา นอกจากน้ี
จากการส�ำรวจพบว่า ยังมีผู้ป่วยจ�ำนวนมากท่ียังไม่สามารถเข้าถึงกัญชาเพื่อการ
แพทยอ์ ยา่ งถกู กฎหมาย และมกี ารแอบใชก้ ญั ชาเพอ่ื รกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ยของตนเอง
โดยที่ไม่ได้รับค�ำปรึกษาจากแพทย์ท่ีผ่านการอบรมการสั่งจ่ายกัญชา ซ่ึงท�ำให้เกิด
ความเสี่ยงทจี่ ะใช้กญั ชาเกินขนาดหรือผิดวธิ ี
ส�ำหรับข้อจ�ำกัดในภาพรวมของโซ่อุปทานกัญชาทางการแพทย์ของไทย
คือ ขาดการวางแผนร่วมกันตลอดโซอ่ ุปทาน ท�ำให้มีผลิตภัณฑ์บางอยา่ งที่มากเกิน
ความต้องการ ในขณะที่ผลิตภณั ฑบ์ างชนิดผลิตได้น้อยกว่าความต้องการ
พิจารณาโดยสรุป ห่วงโซ่ของอุตสาหกรรมกัญชาน้ันมีผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง
จ�ำนวนมาก ต้ังแต่การวิจัยพัฒนา การปลูก การสกัด/แปรรูป และการจ�ำหน่าย
โดยสว่ นทส่ี ามารถเพมิ่ มลู คา่ ไดส้ งู สดุ คอื สว่ นของการผลติ ไมว่ า่ จะเปน็ การสกดั สาร
หรือการแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑก์ ัญชา อุตสาหกรรมกัญชามกี ารเตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว
เน่ืองจากนโยบายการอนุญาตใช้กัญชาของแต่ละประเทศ โดยทวีปอเมริกาเหนือ
มีส่วนครองตลาดมากที่สุด ส�ำหรับการด�ำเนินนโยบายกัญชาของประเทศต้นแบบ
อันได้แก่ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ และอุรุกวัยนั้น พบว่า
มีความใกล้เคียงกัน โดยทั้งส่ีประเทศน้ีอนุญาตให้สามารถใช้กัญชาได้ทั้งทางการ
แพทย์และเพื่อสันทนาการ แต่ยังมีการควบคุมและตรวจสอบในทุกส่วนของ
โซ่อปุ ทานกญั ชาในประเทศ นอกจากนย้ี งั พบว่า นโยบายการอนุญาตให้ประชาชน
ปลูกกญั ชาเองทบี่ า้ นก็แตกต่างกนั ไปตามแตล่ ะประเทศ
ส�ำหรับประเทศไทยแนวนโยบายที่อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์
และการวจิ ยั โดยรปู แบบยากญั ชาในประเทศไทยมี 2 แบบ ไดแ้ ก่ ยาแผนปจั จบุ นั
และยาแผนไทย นอกจากน้ี ยังได้มีการปลดล็อกบางส่วนของพืชกัญชาไม่ให้
เป็นยาเสพติด ประกอบกับการออกพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร 2562
ส่งผลให้การพัฒนายากัญชาที่เป็นต�ำรับแผนไทยท�ำได้ง่ายข้ึน และยังสามารถ
เพ่ิมมูลค่าของกัญชาเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรต่าง ๆ ได้อีกด้วย โดยปัญหาใน
โซ่อุปทานกัญชาทางการแพทย์ของไทยท่ีพบในช่วงเริ่มต้นของการด�ำเนิน
นโยบาย ได้แก่ เมลด็ พนั ธไ์ุ ทยยงั ไมม่ คี วามหลากหลายและยงั ขน้ึ ทะเบยี นนอ้ ย

62 | กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทุน

รวมถึงมีองค์ความรู้ท่ีจ�ำกัดในด้านการเพาะปลูก วัตถุดิบกัญชาท่ีใช้ในสกัด
และแปรรูปไม่เพียงพอ และคุณภาพไม่สม่�ำเสมอ การตรวจสอบคุณภาพของ
วัตถดุ ิบมีค่าใช้จา่ ยท่ีสงู และใช้เวลานาน
ในส่วนของปัญหาในระดับปลายน�้ำ คือ แพทย์ยังไม่มีความม่ันใจใน
ประสิทธิผลและความปลอดภัยของยากัญชา และเผชิญกับขั้นตอนหลาย
ขัน้ ตอน ในการส่งั จ่ายยากญั ชาผา่ นรูปแบบพเิ ศษในการเขา้ ถึงยา (SAS) และ
ผปู้ ว่ ยบางสว่ นไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ยากญั ชาทถี่ กู กฎหมายได้ ทำ� ใหต้ อ้ งใชย้ ากญั ชา
ใต้ดินและมีการใช้ท่ีผิดวิธี และไม่มีการจัดชั้นมาตรฐานของผลผลิตกัญชา
ท่ีชดั เจน

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ | 63

ปญั หาในสว่ นของการปลูกกญั ชา
ท่ถี ูกต้องตามกฎหมาย คอื

องคค์ วามรู้ในการเพาะปลูกยงั มีไม่มากนกั
และยังไมม่ กี ารกำ� หนดมาตรฐานการปลกู
และการจดั ช้นั มาตรฐานผลผลติ กญั ชาทชี่ ัดเจน

64 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทุน

กญั ชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความค้มุ คา่ ในการลงทุน | 65

บทที่ 3

ต้นทุน ผลตอบแทน
และความค้มุ คา่

ในการลงทุนการปลูก
กญั ชาทางการแพทย์

66 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุม้ คา่ ในการลงทุน

บทนเี้ ป็นการศกึ ษาต้นทุน
ของการปลูกกญั ชาในแบบต่าง ๆ
ตน้ ทุนในการสกัดกญั ชาในรปู แบบตา่ ง ๆ
ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ และความคุ้มคา่
ในการลงทนุ ปลูกกัญชาในรม่ และโรงเรือน
จากข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสมั ภาษณ์
กลุม่ ตวั อยา่ งที่ท�ำการเพาะปลูก
และสกัดกัญชาในประเทศไทย5

5 ในช่วงที่นักวิจัยท�ำการเก็บข้อมูล การปลูกแบบกลางแจ้งอย่างถูกกฎหมายยังไม่มีข้อมูล
ท่เี พยี งพอที่สามารถนำ� มาใชใ้ นการวิเคราะห์ได้

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทุน | 67

3ใน.1ตตา่ งน้ ปทรนุ ะแเทลศะผลตอบแทนการปลกู กญั ชาแบบตา่ ง ๆ

การปลกู กญั ชามี 3 ประเภท ได้แก่ ปลกู แบบกลางแจง้ แบบในร่ม และแบบ
โรงเรอื น โดยปจั จยั ตา่ ง ๆ มผี ลตอ่ การเลอื กวธิ กี ารปลกู คอื อากาศ สภาพภมู ปิ ระเทศ
กฎหมาย สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและต้นทุน ซ่ึงการปลูกแบบกลางแจ้ง
(outdoor) จะให้ผลผลิตมากกวา่ อีกท้งั การปลกู แบบกลางแจ้งมตี น้ ทนุ ไมส่ ูง ค่าใช้
จา่ ยในการปลกู คือ เมลด็ ปุ๋ย และสารตา่ ง ๆ ซึ่งจะมากหรือน้อยขึ้นกบั ขนาดและ
ความซับซ้อนของการปลูก แต่จากรายงาน cannabis intelligence briefing
(2019) พบวา่ การปลกู แบบในรม่ (indoor) นน้ั แมว้ า่ จะมตี น้ ทนุ ตอ่ ตารางฟตุ สงู กวา่
แต่การปลูกแบบในร่ม (indoor) จะให้ผลตอบแทนสุทธิสูงกว่าเช่นกัน ดังนั้น
ปจั จยั ทใ่ี ชใ้ นการตดั สนิ ใจเลอื กวธิ กี ารปลกู นนั้ ไดแ้ ก่ กฎระเบยี บ อปุ สงคข์ องกญั ชา
วา่ ต้องการกญั ชาในรปู แบบใด พืน้ ทปี่ ลูก และตน้ ทุน

ภาพที่ 3.1 เปรยี บเทยี บตน้ ทนุ รายรบั คา่ ใชจ้ า่ ยและกำ� ไรสทุ ธขิ องการปลกู แบบตา่ ง ๆ
ที่มา: Acrview Market Research (2019)
จากภาพที่ 3.1 แสดงการเปรยี บเทยี บตน้ ทนุ รายรบั คา่ ใชจ้ า่ ย และกำ� ไรสทุ ธิ
จากการปลกู กญั ชารปู แบบตา่ ง ๆ ซง่ึ จะเหน็ วา่ ตน้ ทนุ การปลกู แบบในรม่ จะมตี น้ ทนุ
ในการลงทุนสูงกว่าต้นทุนการปลูกแบบในโรงเรือนหรือกลางแจ้ง รวมถึงต้นทุนท่ี

68 | กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุม้ คา่ ในการลงทุน

เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ งานในแตล่ ะปี แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม รายรบั จากการปลกู ในรม่
กส็ งู กวา่ รายรบั จากการปลกู แบบโรงเรอื นและกลางแจง้ ซง่ึ สาเหตทุ มี่ รี ายรบั สงู กวา่
มาจาก 2 ปัจจัย คือ การที่ผลผลิตที่มาจากการปลูกในร่มจะมีราคาจ�ำหน่าย
ที่สูงกว่ากัญชาท่ีปลูกในโรงเรือนหรือกลางแจ้ง อีกทั้งการปลูกในร่มสามารถปลูก
ได้ปีละ 3 - 4 รอบ ในขณะทก่ี ารปลูกกลางแจ้งจะทำ� ไดเ้ พียง 1 - 2 รอบเท่านัน้
ดังนน้ั เมอื่ เปรยี บเทียบก�ำไรสุทธิจากการปลกู รูปแบบต่าง ๆ พบว่าการปลูกในร่ม
มกี ำ� ไรสทุ ธติ ่อ 1 ตารางเมตร มากกวา่ การปลูกแบบอน่ื ๆ ในขณะท่กี ารปลกู แบบ
กลางแจง้ มผี ลกำ� ไรสุทธติ ำ�่ มาก คือประมาณ 337 บาทตอ่ ตารางเมตรเท่านน้ั
ดงั นนั้ แม้วา่ การปลูกกัญชาแบบในรม่ จะมีการลงทนุ สงู กว่า แตก่ ารควบคุม
สภาพแวดล้อมในโรงเรือนกลับให้ผลตอบแทนสูง ซึ่งการตัดสินใจลงทุนปลูกแบบ
ในร่มนน้ั ปจั จยั ส�ำคญั อกี ประการ คือ ลักษณะตลาด และราคาพลงั งาน คา่ ไฟฟา้
ที่ต่างกันท�ำให้ต้นทุนการด�ำเนินงาน (operation cost) แตกต่างกันมาก ดังนั้น
ค่าพลังงานจึงเป็นหัวใจส�ำคัญของการปลูกในร่ม การปลูกกัญชาในร่มยังเอื้อ
ประโยชน์ต่อการผลิตกัญชาทางการแพทย์มากกวา่ รูปแบบอน่ื เนื่องจากยาจ�ำเป็น
ต้องระบุส่วนประกอบให้ชัดเจน และกัญชาทางการแพทย์จะต้องมีส่วนประกอบ
ของสารออกฤทธ์ิในปริมาณคงท่ีทุกรอบการผลิต และต้องปราศจากสารปนเปื้อน
ดงั น้นั การทำ� ให้ผลผลิตกัญชามคี ุณภาพคงที่จงึ เป็นเร่อื งทจ่ี �ำเป็น
การปลูกกัญชาเพ่ือการแพทย์พบว่า การเติบโตของกัญชาและสารส�ำคัญ
ในกัญชาขึ้นอยู่กับพันธุ์กัญชาและสภาวะการเติบโตของกัญชา ดังนั้น การปลูก
กัญชาในร่มหรือกลางแจ้ง จึงอาจส่งผลต่อสารส�ำคัญในกัญชาแตกต่างกัน
เนื่องจากการปลูกในร่มท่ีมีการควบคุมท่ีสมบูรณ์ จะท�ำให้ช่อดอกกัญชาและสาร
ส�ำคัญในกัญชาเป็นไปตามมาตรฐานและไม่มีสารปนเปื้อน ปริมาณสารออกฤทธ์ิ
มีปริมาณแน่นอน ในขณะท่ีการปลูกกลางแจ้งทั้งในแปลงปลูกหรือโรงเรือน
กรนี เฮา้ ส์ อาจจะทำ� ใหก้ ญั ชาไมส่ ามารถระบพุ นั ธกุ รรมไดแ้ นน่ อน การปลกู กลางแจง้
ไม่สามารถควบคุมปริมาณสารส�ำคัญในกัญชาได้เหมือนในกรณีปลูกในร่ม และมี
ความเสยี่ งจากการปนเปอ้ื น ดงั นน้ั จงึ เหมาะสำ� หรบั การสกดั เปน็ สารแคนาบนิ อยด์
แบบเดี่ยว

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุม้ ค่าในการลงทนุ | 69

3.2 ต้นทนุ และผลผลติ การปลกู กัญชาในประเทศไทย

3.2.1 การปลูกกัญชาแบบโรงเรอื นหรอื กรนี เฮ้าส์

การปลูกกัญชาแบบโรงเรือนหรือกรีนเฮ้าส์เป็นการปลูกแบบผสมผสาน
ทั้งในร่มและกลางแจ้ง ซึ่งการปลูกแบบกรีนเฮ้าส์มีหลายแบบมากมีความซับซ้อน
มากนอ้ ย ท�ำให้ตน้ ทุนขนึ้ กับความซับซอ้ นนัน้

1) การปลกู แบบในโรงเรอื นแบบอแี วป (Evaporation) สำ� หรบั พนั ธไ์ุ ทย

การปลกู กัญชาในโรงเรอื นแบบ EVAP ขนาด 10 x 24 เมตร มกี ารปลูกแบบ
มาตรฐานการปลูกและการเก็บรวบรวมท่ีดีของพืชสมุนไพร Good Agricultural
and Collection Practices (GACP) โดยมีจ�ำนวนปลูก 200 ต้นต่อโรงเรือน
พันธุ์ที่ปลูกเป็นเมล็ดพันธุ์ไทย คือ พันธุ์หางเสือและหางกระรอก ผลผลิตที่ได้
มีน�้ำหนักช่อดอกเฉล่ีย 1.28 กิโลกรัมสดต่อต้น โดยได้ผลผลิตดอกสดประมาณ
117.5 กิโลกรัมดอกสด และไดใ้ บสดประมาณ 34 กโิ ลกรัมใบสด

การปลกู เปน็ การปลกู ดว้ ยวสั ดดุ นิ ผสมปยุ๋ หมกั ในกระถางขนาด 30 นว้ิ มรี ะยะ
หา่ งระหว่างกระถาง 1 x 1 เมตร ใหน้ ำ้� ด้วยระบบน้�ำหยดอตั โนมตั ิ โดยการใหน้ ำ้�
ในช่วงทำ� ใบ จะใหน้ ำ�้ ประมาณ 1 - 2 ลิตรตอ่ ต้นต่อวัน และช่วงท�ำดอก จะให้นำ้�
มากขนึ้ ประมาณ 2.75 ลติ รตอ่ ตน้ ตอ่ วนั และการใหป้ ยุ๋ จะใหพ้ รอ้ มการใหน้ ำ้� ในการ
ให้ปยุ๋ สูตร 15.8 - 11.8 - 19.0 มีการ
เสริมดว้ ยธาตุอาหารรองและจลุ ธาตุ

ในการปลูกโรงเรือนแบบอีแว การปลกู แบบในโรงเรอื นแบบอแี วป
ปนี้จะมีแผ่นคูลล่ิงแพด (cooling
pad) ซึ่งมีน�้ำท่ีถูกฉีดโดยปั๊มน้�ำไหล
ผ่านทั่วแผนอยู่ภายใน มีพัดลมดูด
อากาศ เพอื่ ทำ� การลดอณุ หภมู หิ อ้ งลง
มีการติดหลอดไฟ LED เพื่อท�ำแสง
เสริมให้เป็นวันยาว และมีระบบม่าน
ลดแสงอตั โนมตั ิ เนอื่ งจากในการปลูก
กัญชาในช่วงท่ีเป็นระยะเจริญทางก่ิง
ใ บ จ ะ ต ้ อ ง มี ค ว า ม ย า ว ข อ ง แ ส ง

70 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุม้ คา่ ในการลงทุน

ประมาณ 16 ชว่ั โมง ดงั นนั้ ในชว่ งนจ้ี ะมกี ารใหแ้ สงจากหลอด LED เพมิ่ ในชว่ งเวลา
17.00 - 22.00 น. แต่ในช่วงท�ำดอกจะต้องมคี วามยาวแสงเพียง 11 ชว่ั โมง
ตน้ ทนุ ตอ่ รอบการผลติ ของการปลกู โรงเรอื นแบบ EVAP นเ้ี ทา่ กบั 275,750 บาท
เปน็ ตน้ ทนุ ทเ่ี ปน็ ตวั เงนิ 255,750 บาท และตน้ ทนุ ทไ่ี มเ่ ปน็ ตวั เงนิ หรอื ตน้ ทนุ ประเมนิ
20,000 บาท โดยต้นทุนที่เปน็ เงินสดแบ่งเป็น ตน้ ทนุ คงที่ ซึง่ เป็นการลงทนุ ในตอน
แรกและตน้ ทนุ ผนั แปร โดยเปน็ ตน้ ทนุ คงที่ 135,950 บาท และตน้ ทนุ ผนั แปรจ�ำนวน
139,800 บาท ส่วนต้นทุนที่ไม่เป็นตัวเงิน คือต้นทุนค่าเมล็ดพันธุ์ 20,000 บาท
(ภาพที่ 3.2)
เมอื่ คำ� นวณตน้ ทนุ เฉลยี่ ของดอกกญั ชาแหง้ จะไดเ้ ทา่ กบั ประมาณ 23.47 บาท
ตอ่ กรมั ดอกแหง้ ซงึ่ เมอื่ พจิ ารณาโครงสรา้ งตน้ ทนุ พบวา่ สดั สว่ นของตน้ ทนุ คา่ สรา้ ง
โรงเรือนมสี ดั สว่ นมากท่ีสดุ คอื ร้อยละ 15.5 สัดส่วนของต้นทุนรองลงมา คือตน้ ทุน
ค่าไฟฟ้ารอ้ ยละ 12.69 และต้นทุนคา่ แรงงานและพนกั งาน มสี ดั ส่วนค่าแรงร้อยละ
9.7 และค่าเงนิ เดือนพนักงานร้อยละ 10.8

ต้นทุนคงที่ ตน้ ทนุ ผนั แปร
บาท 100% บาท
100% A 18,000 90% A 30,000
90%

80% B 33,500 C 4,200 80%
70%
70% B 27,000
60% D 10,000 71D0,051F0,06E00
50% 60%

40% E 42,750 50% C 35,000
30% 40%

20% 30%

20% G 20,000

10% F 27,500 10% H 24,000
0%
0%

A ระบบรกั ษาความปลอดภัย A เงนิ เดือนพนักงานประจำ� โรงปลูก
B วสั ดอุ ุปกรณ์ B ค่าแรง C ไฟฟา้
C หลอดไฟ LED D นำ้� E สารป้องกันศตั รูพืช
D ระบบมา่ นลดแสงอตั โนมตั ิ F ปุ๋ยใหท้ างน�้ำ G เมลด็ พันธุ์
E ค่าสรา้ งโรงเรอื น H ดิน
F คา่ ปรับปรงุ สถานท่ีและรว้ั

ภาพที่ 3.2 ต้นทนุ การผลติ ของการปลูกกญั ชาสายพนั ธุไ์ ทยแบบโรงเรอื น EVAP

ท่มี า: จากการสมั ภาษณ์

กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทนุ | 71
2) โรงเรอื นหรอื กรีนเฮ้าส์แบบตาข่ายสำ� หรบั พันธุไ์ ทย
การปลูกในโรงเรือนแบบตาข่ายมีขนาด 10 x 24 เมตร มีการปลูกแบบ
มาตรฐานการปลูกและการเก็บรวบรวมท่ีดีของพืชสมุนไพร Good Agricultural
and Collection Practices (GACP) จ�ำนวนปลกู 200 ตน้ ตอ่ โรงเรอื น โดยเปน็ การ
ปลกู เมล็ดพนั ธุ์ไทย ผลผลิตท่ไี ดไ้ มแ่ ตกต่างจากแบบ EVAP คอื มนี �้ำหนกั ช่อดอก
เฉลยี่ 1.28 กโิ ลกรมั สดต่อตน้ ไดผ้ ลผลติ ดอกสดประมาณ 117.5 กิโลกรมั ดอกสด
และไดใ้ บสดประมาณ 34 กิโลกรัมใบสด
โรงเรือนแบบตาข่ายมีพ้ืนท่ีปลูกขนาด 240 ตารางเมตร มีการปลูกกัญชา
ในกระถางขนาด 30 นิ้วโดยปลูกระยะห่างระหว่างกระถาง 1 x 1 เมตร เป็นการ
ปลูกในวัสดุดินผสมปุ๋ยหมัก ให้น�้ำด้วยระบบน้�ำหยดอัตโนมัติ ในการให้น้�ำในการ
ปลูกแบบตาขา่ ยจะใชน้ ำ้� ในชว่ งทำ� ใบจะใหน้ ้�ำประมาณ 1.15 - 2.3 ลติ รต่อตน้ ต่อ
วัน และเม่ือเร่ิมทำ� ดอกจะใหน้ ำ�้ ประมาณ 2.75 - 3.8 ลติ รต่อตน้ ตอ่ วนั การปลกู
ในโรงเรือนแบบตาข่ายจะมีการใช้พัดลมเพื่อสร้างการไหลเวียนของอากาศ มีการ
ใช้หลอดไฟ LED เพือ่ ทำ� แสงเสรมิ ให้เปน็ วันยาว มรี ะบบม่านลดแสงอัตโนมตั ิ

โรงเรือนหรือกรนี เฮ้าส์แบบตาข่ายสำ� หรับพนั ธไ์ุ ทย

72 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุม้ ค่าในการลงทนุ

ต้นทุนในการปลูกโรงเรือนแบบตาข่ายใน 1 รอบการผลิต มีต้นทุนทั้งสิ้น
230,550 บาท โดยเปน็ ตน้ ทนุ ทเ่ี ปน็ เงนิ สด 210,550 บาท และตน้ ทนุ ทไ่ี มเ่ ปน็ เงนิ สด
20,000 บาท ตน้ ทนุ การผลิต ประกอบด้วยตน้ ทนุ คงที่ 113,750 บาท และ ตน้ ทุน
ผันแปรจ�ำนวน 116,800 บาท (ภาพท่ี 3.3)
เมื่อค�ำนวณต้นทุนเฉล่ียของดอกกัญชาแห้งมีต้นทุนเฉลี่ยประมาณ 19.62
บาทตอ่ กรมั แหง้ ซ่งึ เมื่อพจิ ารณาโครงสรา้ งตน้ ทนุ พบว่าสดั สว่ นของตน้ ทนุ คา่ วัสดุ
มสี ัดสว่ นมากท่สี ดุ คอื รอ้ ยละ 15 รองลงมาคอื เงนิ เดอื นพนกั งานรอ้ ยละ 14 และ
คา่ ปรบั ปรุงสถานที่รอ้ ยละ 13 เมื่อเปรยี บเทยี บกับต้นทุนการปลกู แบบ EVAP แลว้
พบว่ามีต้นทุนที่ต่�ำกว่า โดยเฉพาะต้นทุนค่าปรับปรุงโรงเรือนและต้นทุนค่าไฟฟ้า
ทีต่ ำ่� กวา่ การปลูกแบบ EVAP ค่อนขา้ งมาก

ตน้ ทุนคงที่ ตน้ ทนุ ผันแปร
100% บาท 100% บาท
90% A 18,000 B 4,500 90% A 30,000
D 4,200
80% C 33,500 80%
70%
70% B 27,000
60% 10,000 71D0,051F0,06E00
50% 60%

40% E 10,000 50% C 35,000
40%
30% F 16,050
30% G 20,000
20% 20%

10% G 27,500 10% H 24,000
0% 0%

A พดั ลมดูดอากาศ A เงนิ เดือนพนกั งานประจำ� โรงปลูก
B ระบบรักษาความปลอดภัย B คา่ แรง C ไฟฟา้
C วสั ดุอุปกรณ์ D น�้ำ E สารปอ้ งกนั ศตั รูพชื
D หลอดไฟ LED F ปยุ๋ ให้ทางนำ้� G เมลด็ พนั ธุ์
E ระบบมา่ นลดแสงอัตโนมตั ิ H ดิน
F คา่ สรา้ งโรงเรือน
G คา่ ปรบั ปรงุ สถานทีแ่ ละรว้ั

ภาพที่ 3.3 ตน้ ทนุ การผลติ ของการปลกู กญั ชาสายพนั ธไ์ุ ทยแบบโรงเรอื นตาขา่ ย

ที่มา: จากการสัมภาษณ์

กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทุน | 73
3) การปลูกแบบโรงเรือนแบบตาข่าย ส�ำหรับการปลูกกัญชาสายพันธุ์
อนิ ดิกา้
การปลูกกัญชาสายพันธุ์ต่างประเทศแบบโรงเรือนตาข่ายน้ี เป็นการปลูก
โดยใชพ้ นั ธช์ุ ารล์ อ็ ตแองเจล้ิ (Charlotte’s Angel) เปน็ พนั ธท์ุ มี่ สี าร CBD สงู เปน็ การ
ปลูกแบบออร์แกนิก โดยผลผลิตที่เก็บเก่ียวได้ 260 กิโลกรัมแห้ง คิดเฉลี่ยเป็น
ตน้ ละ 144 กรัมดอกแหง้
ขนาดของโรงเรือนมีขนาด 6 x 20 เมตร ปลูกกัญชาประมาณ 200 ต้น
ต่อโรงเรือน โดยโรงเรือนแบบตาข่ายนี้มีพลาสติกคลุม มีการติดพัดลมเพื่อดูด
ความร้อนและให้อากาศภายในโรงเรือนมีการหมุนเวียน มีการติดหลอดไฟเพ่ือ
เพมิ่ ระยะความยาวของแสง แต่ไมม่ กี ารตดิ ระบบมา่ นกนั แสง ในการใหน้ �้ำ ไมม่ กี าร
ติดตั้งท่อให้น�้ำ เนื่องจากพบว่าท�ำให้การให้น�้ำแต่ละต้นไม่สม�่ำเสมอ ดังน้ัน
จงึ เป็นการรดนำ�้ ด้วยแรงงาน
การปลูกกัญชาเป็นการปลูกโดยใช้วัสดุปลูก คือ ดิน ซ่ึงเกษตรกรผสมดิน
ด้วยวัสดหุ ลายอย่าง เชน่ โมลาส น�้ำหมักปลา ข้วี วั สาหร่ายทะเล ฟังก์จาย เป็นต้น
และมีการสง่ ดนิ ไปตรวจคุณภาพของสารอาหารในดินกอ่ นปลกู

การปลูกแบบโรงเรอื นแบบตาข่าย สำ� หรบั หารปลูกกัญชาสายพุนธุอ์ นิ ดกิ า้

74 | กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทุน

ต้นทนุ คงที่ ตน้ ทุนผนั แปร
บาท 100% บาท A 9,000
100% AB 11,,000000 90% B 333.3
90%

80% C 3,000 80%

70% 70% C 266,666.70
60%
60% D 140,8,000
50% 50% D 1,100
40%
40%

30% E 6,000 30% E 456
20% F 4,800
20% G 112,600 H 6,000
10% F 1,500 10%
0%
0%

A ระบบรักษาความปลอดภัย A กระถาง B ค่าตรวจคณุ ภาพดิน
B พัดลมดูดอากาศขนาด 30 นิ้ว C คา่ แรง D ไฟฟ้า
C พดั ลมดูดอากาศขนาด 36 นว้ิ E ค่าน้ำ� F สารป้องกนั ศัตรูพืช
D หลอดไฟ LED G เมล็ดพันธ ์ุ H ดนิ
E พลาสตกิ แบบทนความรอ้ น
F คา่ สร้างโรงเรือน

ภาพท่ี 3.4 ตน้ ทนุ การผลติ ของการปลกู กญั ชาสายพนั ธต์ุ า่ งประเทศแบบโรงเรอื น

ทม่ี า: จากการสัมภาษณ์

จากภาพ 3.4 ต้นทุนในการปลูกโรงเรือนแบบตาข่ายใน 1 รอบการผลิต
มีต้นทุนท้ังส้ิน 418,256 บาท แบ่งเป็นต้นทุนท่ีเป็นเงินสด 300,400 บาท และ
ต้นทุนท่ีไม่เป็นเงินสด 113,056 บาท มีข้อน่าสังเกต คือ การปลูกของฟาร์มนี้
เป็นการปลูกท่ีใชร้ ะบบโซลาร์เซลล์ทำ� ให้ตน้ ทุนค่าไฟไม่สูงมาก
เมื่อค�ำนวณต้นทุนเฉลี่ยของดอกกัญชาแห้งเท่ากับประมาณ 14.52 บาท
ต่อกรัมดอกแห้ง และเม่ือพิจารณาโครงสร้างต้นทุน พบว่าค่าใช้จ่ายของแรงงาน
มีต้นทุนสูงประมาณร้อยละ 63 รองลงมา คือค่าเมล็ดพันธุ์คิดเป็นร้อยละ 26
ถงึ แม้วา่ ในการปลูกครงั้ แรกทางวสิ าหกิจได้รับเมล็ดพันธ์ุมา แต่เน่อื งจากเป็นเมล็ด
พนั ธ์ุตา่ งประเทศจงึ มีราคาสงู หากตอ้ งลงทุนซ้อื เองจะท�ำใหต้ น้ ทุนสูงขึ้น

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทนุ | 75

3.2.2 การปลูกแบบในร่ม (indoor)

1) การปลกู ในรม่ แบบระบบรากลอย (Aeroponics)
การปลกู ในรม่ แบบรากลอย เปน็ การปลกู แบบเมดคิ ลั เกรดในพน้ื ที่ 100 ตาราง
เมตร โดยใช้เมล็ดกัญชาสายพันธุ์ต่างประเทศ 3 ชนิด คือชนิดท่ีมีสาร THC สูง
ชนิดท่ีมีสาร CBD สูง และชนิดท่ีมีอัตราส่วน CBD:THC เท่ากัน จ�ำนวนทั้งหมด
140 ต้น
การปลูกแบบระบบปิด มีการติดหลอดไฟเพ่ือเพ่ิมระยะความยาวของแสง
และเคร่ืองปรับอากาศเพื่อปรับอุณหภูมิในห้องปลูก จึงท�ำให้ต้นทุนการปลูกแบบ
ในห้องมีการลงทุนในตอนเริ่มต้นจ�ำนวนสูงมาก คือ ประมาณ 9,386,059 บาท
อย่างไรก็ตาม ค่าใช้จ่ายในการลงทุนเริ่มต้นน้ันไม่ได้รวมค่าที่ดินและค่าก่อสร้าง
อาคาร เน่ืองจากเป็นอาคารเก่าที่น�ำมาปรับปรุงใหม่ ท�ำให้ค่าใช้จ่ายในการลงทุน
แท้จรงิ จะสูงกวา่ น้ี

การปลกู ในรม่ แบบระบบรากลอย

76 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทนุ

ตน้ ทนุ คงที่ ต้นทนุ ผนั แปร
บาท บาท
100% BA 2319,,925952 100% A 440,666
90%
80% C 63,967 90%

80%

70% D 70,577 E 9,721 70% B 4,068,600
60%
60%

50% 50% D 121,000
E 10,080
40% F 213,333 40% F 96,000
G 888
30% 30% C 2,299,000 H 180
20% I 72,000
20%

10% G 101,333 10%

0% 0% J 573,750

A อนื่ ๆ A ค่าซอ่ มแซม B ค่าแรง
B อปุ กรณ์ในการปลูก C ค่าไฟ D คา่ น�้ำ
C ระบบรกั ษาความปลอดภยั E PH DOWN F สารละลายธาตอุ าหาร
D ระบบอากาศและอณุ หภูมิ G ถว้ ยปลกู H ถังเกบ็ สารละลาย
E ระบบนำ้� I ไสก้ รอง J เมล็ดพันธ์ุ
F ระบบไฟฟา้ และหลอดไฟ
G อาคารและสถานท่ี

ภาพที่ 3.5 ต้นทนุ การปลูกกญั ชาสายพนั ธุ์ต่างประเทศในรม่ แบบระบบรากลอย

ที่มา: จากการสมั ภาษณ์

จากภาพ 3.5 เม่ือค�ำนวณต้นทุนเฉล่ียต่อรอบการผลิตพบว่า มีต้นทุนคงที่
จำ� นวน 520,178 บาท และตน้ ทนุ ผนั แปรเทา่ กบั 7,682,164 บาท และเมอ่ื พจิ ารณา
สัดส่วนของต้นทุน ต้นทุนค่าแรงมีสัดส่วนท่ีสูงที่สุด คือร้อยละ 49 รองลงมา คือ
ค่าไฟร้อยละ 28.02 เน่ืองจากการปลูกแบบในร่ม เป็นการปลูกท่ีต้องใช้แรงงาน
ทีม่ ที ักษะสงู และตน้ ทุนคา่ ไฟฟา้ ท่ใี ชเ้ พือ่ ปรบั สภาพแสงของหอ้ งปลูก แตก่ ารปลูก
แบบรากลอยมตี น้ ทนุ ค่าน�้ำต่�ำกว่าการปลูกแบบอนื่ ๆ
ในด้านผลผลิต พบว่ามีผลผลิตเฉล่ียต่อต้นประมาณ 150 กรัมแห้ง ดังนั้น
เมอ่ื ประมาณการต้นทนุ ตอ่ กรัมดอกกัญชาแหง้ จะเท่ากับประมาณ 369.47 บาท
ตอ่ กรมั แห้ง

กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทุน | 77
2) การปลกู ในรม่ แบบวสั ดดุ นิ
การปลูกกัญชาแบบในร่มโดยเป็นการปลูกระบบปิด โดยห้องส�ำหรับปลูก
สายพนั ธุต์ า่ งประเทศมี 3 หอ้ ง หอ้ งที่ 1 ห้อง ขนาด 5 x 5 เมตร ห้องท่ี 2 ขนาด
5 x 8 เมตร และห้องท่ี 3 ขนาด 5 x 4 เมตร ในการปลกู ใชร้ ะบบการปลูกแบบการ
ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี Good Agricultural Practices (GAP) และการปลูก
แบบออร์แกนิก โดยห้องที่ 1 ปลกู พันธ์ุ Sensi Auto CBD จำ� นวน 75 ตน้ ห้องที่ 2
ปลูกสายพันธุ์ CBD Charlotte’s Angle จ�ำนวน 48 ต้น และหอ้ งที่ 3 ปลูกพันธ์ุ
CBD Charlotte’s Angle จำ� นวน 22 ต้น
ผลผลติ ทไ่ี ดใ้ นหอ้ งท่ี 1 พนั ธ์ุ Sensi Auto CBD ได้ผลผลิตดอกแห้งประมาณ
4 กิโลกรัม และห้องที่ 2 และ 3 พันธุ์ CBD Charlotte’s Angle ได้ผลผลิต
ดอกแห้งประมาณ 6 กิโลกรัม
หอ้ งสำ� หรบั ปลกู ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ หอ้ งใหเ้ หมาะสมสำ� หรบั การปลกู โดยมกี าร
ติดตัง้ ไฟ LED ระบบน้�ำหยด มีการติดต้ังเครอ่ื งปรบั อากาศและพัดลมภายในห้อง
เพื่อปรับอุณหภูมิและให้มีอากาศมีการหมุนเวียนภายในห้อง เพ่ือให้เหมาะสม
สำ� หรบั แตล่ ะชว่ งการเจรญิ เตบิ โตของกญั ชา ทต่ี อ้ งการแสงและอณุ หภมู แิ ตกตา่ งกนั

การปลูกในรม่ แบบวสั ดดุ นิ

78 | กญั ชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ คา่ ในการลงทุน

ในการปลกู ใชก้ ระถางปลกู ขนาด 7 แกลลอน บรเิ วณกระถางจะตง้ั บนตะแกรง
พลาสติกเพื่อไม่ให้เกิดบริเวณน�้ำขัง ป้องกันความช้ืนและอันตรายจากโรคเชื้อรา
ในการปลูกจะใช้วัสดุปลกู เปน็ ดิน โดยใชเ้ ปน็ ดินที่มคี า่ ความเป็นกรด pH 6.0 - 6.8
ผสมกบั พีทมอส
เมอ่ื คำ� นวณตน้ ทนุ เฉลยี่ ตอ่ รอบการผลติ พบวา่ มตี น้ ทนุ คงทจ่ี ำ� นวน 69,435 บาท
ต้นทุนผันแปรจ�ำนวน 591,973 บาท และต้นทุนค่าแรงมีสัดส่วนที่สูงท่ีสุด คือ
รอ้ ยละ 53.23 และรองลงมาคือ ค่าไฟร้อยละ 26 (ภาพท่ี 3.6)
ในดา้ นผลผลติ มผี ลผลติ เฉลยี่ ตอ่ ตารางเมตร ประมาณ 119.5 กรมั แหง้ ดงั นนั้
เม่ือประมาณการต้นทุนต่อกรัมดอกกัญชาแห้งมีต้นทุนประมาณ 65.09 บาท
ตอ่ กรัม

ตน้ ทนุ คงท่ี B 3,320.08 ต้นทนุ ผนั แปร
บาท C 126.67 100% บาท
100% A 431,,31854,052..078007
90% D 90%
80%
70% C 33,500 80% A 252,000
60% 70%
50% E 26,000
40% 10,000 60%

F 2,906.67 50% 35,000 C 1,316.97
40% B 232,030
30% 30% D 1,600
20% G 24,373.33 20,000 F 19,440
20% E 33,024
10% 10%
0% H 5,210.65 0% G 52,562.50

A อื่นๆ A ค่าแรงงาน
B เครอื่ งชงั่ นำ�้ หนัก B ค่าไฟ
C PH Sensor C ค่านำ้�
D กล้องวงจรปิด D PH DOWN
E ระบบไฟฟ้า E สารละลายธาตอุ าหาร + ดนิ
F เครอื่ งลดความช้ืน F ถ้วยปลูก
G เครอ่ื งปรับอากาศ G เมลด็ พันธ์ุ
H ปรบั ปรุงอาคาร

ภาพท่ี 3.6 ต้นทุนการปลูกกญั ชาสายพนั ธต์ุ ่างประเทศในรม่ แบบวัสดดุ ิน

ทม่ี า: จากการสมั ภาษณ์

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุม้ คา่ ในการลงทุน | 79

3.2.3 เปรียบเทยี บตน้ ทุนการปลกู กัญชารูปแบบตา่ ง ๆ

เม่ือวิเคราะห์เปรียบเทียบต้นทุนการปลูกในรูปแบบต่าง ๆ พบว่าต้นทุน
การปลูกแบบในร่มจะมีต้นทุนสูงกว่าต้นทุนการปลูกแบบในโรงเรือน โดยเฉพาะ
การปลูกแบบรากลอยท่ีมีต้นทุนการผลิตสูงมากกว่าแบบอ่ืน ๆ ในขณะที่ต้นทุน
การปลูกในร่มแบบใช้วัสดุดินในกรณีน้ี ต้นทุนคงที่ต�่ำกว่าแบบโรงเรือน เนื่องจาก
เป็นการปรับปรุงจากห้องที่มีอยู่แล้ว จึงท�ำให้ต้นทุนคงที่ไม่สูงมากนัก แต่เม่ือ
เปรียบเทียบต้นทุนผันแปร พบว่าการปลูกในร่มมีต้นทุนผันแปรสูงกว่าการปลูก
แบบโรงเรอื น นอกจากนั้น เม่อื เปรียบเทียบการปลกู แบบโรงเรอื น ในกรณที ่ีปลกู
กัญชาสายพันธุ์ไทยและสายพันธุ์ต่างประเทศ พบว่าต้นทุนผันแปรของการปลูก
แบบโรงเรือนทป่ี ลกู สายพนั ธต์ุ า่ งประเทศมีต้นทุนสูงกว่าคอ่ นข้างมาก
สำ� หรบั ตน้ ทนุ เฉลย่ี ตอ่ กรมั แหง้ พบวา่ ตน้ ทนุ เฉลยี่ ของการปลกู แบบรากลอย
มีต้นทุนสูงถึง 369.47 บาทต่อกรัมดอกแห้ง ในขณะท่ีต้นทุนของการปลูกแบบ
ในร่มแบบใช้วัสดุดินมีต้นทุนเพียง 65.09 บาทต่อกรัมดอกแห้ง เมื่อเปรียบเทียบ
กับต้นทุนการปลูกแบบโรงเรือนในกรณีของการปลูกสายพันธุ์อินดิก้า พบว่า
มีต้นทุน 14.52 บาทต่อกรัม ในขณะที่ต้นทุนการปลูกกัญชาสายพันธุ์ไทยแบบ
โรงเรอื น EVAP มตี น้ ทนุ เฉลยี่ 23.47 บาทตอ่ กรมั ดอกแหง้ และแบบโรงเรอื นตาขา่ ย
ตน้ ทนุ เฉล่ีย 19.62 บาทต่อกรมั ดอกแห้ง และเมื่อพิจารณาผลผลิตต่อตารางเมตร
พบว่าการปลูกกญั ชาสายพันธุ์ไทยในโรงเรอื นท้ัง 2 แบบ ตา่ งใหผ้ ลผลิตต่อตาราง
เมตรเท่ากับ 195 กรัมดอกแห้ง ในขณะท่ีสายพันธุ์ต่างประเทศท่ีปลูกในร่มและ
ในโรงเรือนมีผลผลิตดังนี้ การปลูกแบบรากลอยมีผลผลิตสูงท่ีสุดคือ 222 กรัม
ดอกแห้งต่อตารางเมตร และการปลูกในร่มแบบใช้วัสดุดินให้ผลผลิตประมาณ
119.5 กรัมดอกแห้งต่อตารางเมตร ส่วนการปลูกในโรงเรือนนั้นให้ผลผลิตสูงถึง
240 กรัมดอกแห้งต่อตารางเมตร ซึ่งการท่ีให้ผลผลิตที่สูงน้ีมาจากความสามารถ
ของผู้ปลูกทีม่ อี งค์ความร้ใู นการปลกู กญั ชาคอ่ นข้างดี (ตารางท่ี 3.1)
การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตในแต่ละแบบพบว่า ต้นทุนระบบไฟและ
หลอดไฟ และระบบปรับอากาศในการผลิตแบบในร่มสูงกว่าการผลิตแบบใน
โรงเรือนค่อนข้างมาก โดยเฉพาะการปลูกแบบรากลอย ซ่ึงส่งผลให้ค่าไฟฟ้าใน
การปลูกแบบในร่มมีต้นทุนสูงมาก เมื่อพิจารณาค่าน�้ำพบว่าการปลูกในโรงเรือน
แบบ EVAP มตี น้ ทนุ คา่ นำ้� คอ่ นขา้ งสงู เนอ่ื งจากตอ้ งมกี ารใชน้ ำ้� มากกวา่ แบบตาขา่ ย
ส่วนค่าเมล็ดพันธุ์เนื่องจากการปลูกแบบในร่มและโรงเรือนส�ำหรับพันธุ์อินดิก้า

80 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความค้มุ ค่าในการลงทนุ

เปน็ เมลด็ พนั ธต์ุ ่างประเทศ จึงทำ� ให้มตี ้นทุนสงู นอกจากน้ียงั พบว่า ตน้ ทุนทีส่ ำ� คัญ
อีกอย่างคือ ต้นทุนค่าแรง ในกรณีท่ีใช้ผู้เช่ียวชาญหรือบุคลากรท่ีมีความรู้สูง
จะท�ำให้ต้นทุนค่าแรงเพ่ิมสูงตามไปด้วย อย่างเช่นในกรณีของการปลูกในร่มแบบ
รากลอยและโรงเรือนตาข่ายส�ำหรับสายพันธุ์อินดิก้าท่ีมีต้นทุนค่าบุคลากรสูงมาก
(ตารางท่ี 3.1)

ตารางท่ี 3.1 เปรียบเทียบตน้ ทุนและผลผลิตต่อ 100 ตารางเมตร

ต้นทนุ คงท่ี ตน้ ทุนผนั แปร ตน้ ทุนเฉลีย่ ผลผลิต
(บาท/ (บาท/ (บาท/กรมั ) (กรมั ดอกแหง้
100 ตร.ม.) 100 ตร.ม.) /ตร.ม.)

ในรม่ แบบรากลอย 520,178.00 7,682,164.00 369.47 222.00
65.09 119.52
ในร่มแบบวสั ดุดิน 77,547.31 943,498.20 14.52 240.00
23.47 195.00
โรงเรือนตาขา่ ยส�ำหรบั พนั ธอ์ุ ินทรกิ า 14,416.67 334,130.00 19.62 195.00

โรงเรือนแบบEVAPสำ� หรับพันธ์ไุ ทย 56,645.83 139,800.00

โรงเรอื นแบบตาขา่ ยส�ำหรับพันธ์ไุ ทย 47,395.83 48,666.67

ท่มี า: จากการคำ� นวณ

ตารางท่ี 3.2 เปรียบเทยี บตน้ ทนุ ผันแปรของการผลติ แบบต่าง ๆ
ต่อ 100 ตารางเมตร (บาท/100 ตรม.)

โรงเรือนตาข่าย โรงเรอื น โรงเรอื น
ในร่มแบบ ในรม่ แบบ สำ� หรบั แบบ EVAP แบบตาขา่ ย
รากลอย วสั ดุดิน พนั ธุ์อนิ ทรกิ า สำ� หรับพันธ์ไุ ทย สำ� หรับพันธ์ไุ ทย

ระบบไฟและหลอดไฟ 213,333.00 26,000.00 4,000.00 5,916.66 5,916.66
3,333.33 - 7,500.00
ระบบอากาศ 70,577.00 32,094.11
833.33 7500.00 1,875.00
ระบบรักษาความ 63,967.00 743.58 916.66 1,1250.00 5,000.00
ปลอดภยั 380.00 14,583.33 291.66
93,833.33 8333.33 8,333.33
คา่ ไฟ 2,299,000.00 272,976.47 222,222.25 23,750.00 23,750.00

ค่าน�้ำ 121,000.00 1,549.37

คา่ เมลด็ พันธ ์ุ 573,750.00 61,838.23

คา่ แรง 4,068,600.00 26,000.00

ทมี่ า: จากการคำ� นวณ

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ | 81

3.2.4 ต้นทนุ การตากกัญชา

การตากกัญชาให้แห้งใช้เวลาประมาณ 4-10 วัน ขึ้นกับสภาวะแวดล้อม
ในการตากแหง้ โดยการตดั กงิ่ ชอ่ ดอกแลว้ แขวนกงิ่ ควำ่� หวั ลงในพน้ื ทท่ี ม่ี กี ารระบาย
อากาศ เพ่ือให้การตากดอกกัญชาเป็นไปอย่างช้า ๆ ไม่แห้งเร็วเกินไป จึงจะตาก
ไว้ในท่ีร่ม ไม่โดนแสงแดดโดยตรง มีอากาศไหลเวียนสะดวก และไม่ควรเป็นห้อง
ทร่ี อ้ น หอ้ งควรมอี ณุ หภมู ปิ ระมาณ 18 - 22 องศาเซลเซยี ส และมคี วามชน้ื ประมาณ
รอ้ ยละ 45 - 55
ต้นทุนในการตากกัญชาในห้องขนาด 4 x 4 เมตรน้ัน เม่ือค�ำนวณต้นทุน
ในการตากแห้งต่อ 1 รอบการผลิต คือประมาณ 5 วัน มีต้นทุนในการตากเป็น
ต้นทุนคงท่ีประมาณ 258.33 บาท และต้นทุนผันแปรจ�ำนวน 4,224.25 บาท
คิดเปน็ ตน้ ทนุ ค่าตากแหง้ เท่ากับ 0.07 บาทตอ่ กรัมแห้ง (ภาพที่ 3.7)

ตน้ ทุนคงท่ี ต้นทุนผนั แปร

100% บาท 100% บาท
90%
80% A 16.66 90%
B 41.66 80%

70% 70% A 2,500

60% 60%
50%
50% 40%
30%
40% C 200
20% B 1,724.25
30%
10%
20% 0%

10% A คา่ แรง B ค่าไฟฟ้า

0%

A เครอ่ื งลดความช้นื B เครื่องปรบั อากาศ
C ปรับปรงุ อาคาร

ภาพท่ี 3.7 ต้นทนุ การตากกญั ชา

ทม่ี า: จากการสมั ภาษณ์

82 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความค้มุ คา่ ในการลงทนุ

3.3 ตน้ ทนุ การสกดั กัญชาในประเทศไทย

ในการสกัดกัญชามีหลายวิธี แต่วิธีท่ีนิยมใช้คือ วิธีสกัดด้วยสาร Solvent
และเครอื่ งสกดั แบบ supercritical แตล่ ะวธิ กี ารสกดั มีขอ้ ดีและขอ้ เสยี แตกต่างกนั
ดังน้ี
การสกดั แบบใชส้ ารละลาย Solvent สามารถใชส้ ารละลาย เชน่ แอลกอฮอล์
เอทานอล หรือบูเทน (butane) มาท�ำละลายเพื่อแยกสาร CBD ออกมาจาก
ดอกกัญชา ข้อดีของการสกัดแบบสารละลายคอื วธิ กี ารนีใ้ ห้ผลผลติ ของ CBD Oil
มากกวา่ วิธีการอื่น เปน็ กระบวนการทไ่ี มซ่ ับซอ้ นมากนกั และมตี ้นทนุ การผลิตไม่สูง
แต่ขอ้ เสียคอื เปน็ สารลายที่ติดไฟได้ง่าย และสารสกดั ที่ไดม้ คี ลอโรฟลิ ดห์ ลงเหลือ
อยู่ ท�ำใหต้ ้องผ่านกระบวนการทำ� ให้บริสทุ ธิ์
ส ารคาสน่วานบกินาอรยสสก์ัดขโด้อยดใีขชอ้เคงวริธื่อีกงาSรuนpี้คeือrcสriาtมicาaรlถใสชก้แัดกส๊สารCOC2BDเป็นไดต้ปัวเรขิม้าาไณปสมกาัดก
เหมาะสำ� หรบั การใชใ้ นอตุ สาหกรรม แตข่ อ้ เสยี คอื มตี น้ ทนุ สงู มกี ารใชง้ านทซี่ บั ซอ้ น
กว่า และการใช้อุณหภูมิสูงในกระบวนการสกัดอาจท�ำให้ท�ำลาย cannabinoid
compound

3.3.1 ต้นทุนการสกดั กัญชาแบบใช้สารละลาย Solvent

การสกดั แบบสาร Solvent โดยใชแ้ อลกอฮอล์ มีขน้ั ตอนคือ น�ำดอกกัญชา
ไปอบแห้งก่อนน�ำไปสกัด หลังจากน้ัน น�ำดอกกัญชาแห้งไปแช่ในสารละลาย
แอลกอฮอลใ์ นถงั กวน ใช้เวลาแชป่ ระมาณ 3 ชั่วโมงเปน็ เวลา 2 รอบ หลังจากนัน้
จงึ นำ� เอาไปกรองเอากญั ชาออกเหลอื แตน่ ำ�้ เพอื่ นำ� ไประเหยแหง้ ดว้ ยเครอื่ ง rotary
evaporator ได้เปน็ สารสกัดเขม้ ขน้ (crude oil)
ต้นทุนการสกดั กญั ชาต่อรอบการผลติ 1 รอบ ใชร้ ะยะเวลาประมาณ 10 วนั
ใน 1 รอบการผลิตสามารถสกัดดอกกัญชาแห้งได้ประมาณ 5 กิโลกรัมต่อรอบ
และได้สารสกัดกญั ชาแบบเข้มข้น (crude oil) ประมาณ 750 กรมั ต้นทุนการสกัด
กัญชา ประกอบดว้ ยตน้ ทุนคงทจ่ี ำ� นวน 1,701.13 บาท และต้นทนุ ผันแปรจ�ำนวน
129,000 บาท เมื่อค�ำนวณต้นทุนต่อน�้ำมันสกัดกัญชา 1 กรัม พบว่ามีต้นทุน
การผลิตเท่ากบั 174.26 บาทต่อกรัม อยา่ งไรกต็ าม ในการสกดั จ�ำเปน็ ต้องมีการ

กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 83
ตรวจสารส�ำคัญทุกคร้ัง ดังน้ัน ในต้นทุนการสกัดนี้ยังไม่ได้รวมค่าตรวจสารส�ำคัญ
และค่ากอ่ สรา้ งห้องสกดั (ภาทท่ี 3.8)

ต้นทุนคงท่ี ตน้ ทุนผันแปร

100% บาท 100% บาท A 2,500
B 15,000
90% 90% D 7,000 C 4,500
80% 80%

70% 70%

60% 60%
50%
50% A 1,630.14

40% 40% E 1,724.25
30% 30%

20% B 61.644 20%
10% C 9.344 10%
0% 0%

A เครือ่ งทำ� ระเหย (Rotary evaporator 20L) A ค่าไฟฟา้ B เภสชั กร
B ถงั ใบกวน + ชุดกรอง + ถังพกั C แรงงานท่วั ไป D เอทานอล
C ตู้อบ E ดอกกญั ชาแหง้

ภาพที่ 3.8 ตน้ ทนุ การสกัดแบบใช้สารละลาย Solvent

ท่มี า: จากการสมั ภาษณ์

84 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มค่าในการลงทุน

3.3.2 ต้นทุนการสกัดกัญชาแบบใช้สารละลาย Solvent โดยใช้
เคร่อื งสกัดเยน็

ในการสกัดแบบใช้สารละลายอีกแบบหนึ่ง คือ การสกัดแบบ Solvent
โดยใช้เคร่ืองสกัดเย็น การสกัดแบบใช้สาร Solvent แบบเย็น เป็นการน�ำเอา
ดอกกญั ชาแหง้ ไปแช่ในตวั ทำ� ละลาย คอื เอทานอลทอี่ ุณหภูมิ -10 ถงึ -40 องศา
เซลเซียส แลว้ จงึ มาผา่ นกระบวนการให้ได้มาซงึ่ crude oil
ต้นทนุ การสกัดกญั ชาต่อรอบการผลติ 1 รอบ ใช้ระยะเวลาประมาณ 2.30
ชวั่ โมง ใน 1 รอบการผลิตสามารถสกัดดอกกญั ชาแห้งได้ประมาณ 3 กโิ ลกรัม และ
จะไดส้ ารสกดั กญั ชาแบบเข้มขน้ (crude oil) ประมาณ 450 กรมั ตน้ ทนุ การสกดั
กัญชาประกอบดว้ ยตน้ ทนุ คงทีจ่ ำ� นวน 1,215.75 บาท และต้นทนุ ผนั แปรจำ� นวน
80,667 บาท เมอื่ คำ� นวณตน้ ทนุ ตอ่ นำ้� มนั สกดั กญั ชาตอ่ 1 กรมั เทา่ กบั 181.96 บาท
อย่างไรก็ตาม ในการสกดั จำ� เป็นตอ้ งมกี ารตรวจสารสำ� คัญทกุ ครงั้ ดังนนั้ ในตน้ ทนุ
การสกัดน้ี ยังไม่ไดร้ วมค่าตรวจสารสำ� คญั และค่าก่อสรา้ งหอ้ งสกัด (ภาทที่ 3.9)

ต้นทนุ คงท่ี ตน้ ทนุ ผันแปร

100% บาท 100% บาท A 500
90%
90% 80% B 1,666.67
70% C 500
80% D 3,000

70% A 684.93 60%

60% 50%

50% A 1,630.14

40% 40% E 75,000
30%
30% B 410.91
20% 20%

10% 10%

0% C 119.86 0%

A short path molecular distrillation A คา่ ไฟฟา้ B เภสัชกร
B Rotary evaporator C แรงงานทัว่ ไป D เอทานอล
C เคร่อื ง centrifuge ขนาด 15 กก. E ดอกกัญชาแห้ง

ภาพท่ี 3.9 ต้นทุนการสกดั แบบ Solvent โดยใชเ้ ครื่องสกดั เยน็

ที่มา: จากการสัมภาษณ์

กัญชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทนุ | 85

3.3.3 ต้นทนุ การสกดั กญั ชาแบบ Supercritical CO2

การสกัดแบบ supercritical เป็นการสกัดสารส�ำคัญของกัญชาด้วยการใช้
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ต้นทุนการสกัดกัญชาต่อรอบการผลิต 1 รอบ ใช้ระยะ
เวลาประมาณ 5.30 ชั่วโมง ใน 1 รอบการผลิตสามารถสกัดดอกกัญชาแห้งได้
ประมาณ 1 กิโลกรมั และจะได้สารสกดั กัญชาแบบเข้มข้น (crude oil) ประมาณ
150 กรัม ต้นทุนการสกัดกัญชาประกอบด้วยต้นทุนคงท่ีจ�ำนวน 2,791.10 บาท
และต้นทุนผันแปรจำ� นวน 29,266.67 บาท อย่างไรกต็ ามในการสกดั จำ� เปน็ ต้องมี
การตรวจสารสำ� คญั ทกุ ครง้ั ซง่ึ ตน้ ทนุ การสกดั นยี้ งั ไมไ่ ดร้ วมคา่ ตรวจสารสำ� คญั และ
คา่ ก่อสร้างห้องสกัด (ภาทที่ 3.10)

ต้นทนุ คงที่ ต้นทนุ ผนั แปร

100% บาท 100% บาท A 500
90%
90% A 684.93 80% B 1,666.67 C 1,000
80% 70% D 1,000
E 100
70% AB 648140.936 C 57.37
60% 60%
50% AD12,6730.9.174
50% F 25,000
40% 40% E 75,000
30%
30% E 1,369.86
20% 20%

10% 10%
0%
0%

A short path molecular distrillation A แรงงานทั่วไป B เภสชั กร
B Rotary evaporator C เอทานอล D ค่าไฟฟา้
C vacuum filter E CO2 gas F กญั ชา
D เครอื่ ง Glass reactor
E เครอื่ ง CO2 ขนาด 5 ลติ ร

ภาพที่ 3.10 ตน้ ทนุ การผลิตของวิธกี ารสกัดแบบ Supercritical CO2

ทีม่ า: จากการสมั ภาษณ์

86 | กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทุน

3.4 การวิเคราะหค์ วามคุม้ คา่ ในการลงทุน

เน่ืองจากการปลูกกัญชาในประเทศไทยยังมีการปลูกแบบถูกกฎหมาย
ไม่นานนัก ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดในการน�ำข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ได้อย่างครบถ้วน
ข้อมูลบางส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ผลผลิตกัญชา ราคาเมล็ดพันธุ์ ราคา
ดอกกญั ชาแหง้ เปน็ ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมและดดั แปลงจากการปลกู กญั ชาในตา่ งประเทศ
จากการรวมรวมขอ้ มลู ผลผลติ กญั ชาสายพนั ธต์ุ า่ ง ๆ ในตา่ งประเทศ โดยแบง่
เปน็ 2 สายพันธุ์ คอื อินดิก้า (indica) และซาติวา (sativa) ภายใตก้ ารปลูกแบบ
กลางแจง้ และในร่ม ดังนัน้ ในการค�ำนวณผลตอบแทนของการปลกู กญั ชา ในกรณี
ท่ีไม่ทราบสายพันธุ์ปลูกชัดเจน จะใช้ค่าเฉล่ียผลผลิตสูงสุดและต�่ำสุดของการ
ปลูกกัญชาแต่ละสายพันธุ์ แต่ในกรณีที่ทราบสายพันธุ์ชัดเจน จะใช้ข้อมูลผลผลิต
เฉล่ียของสายพนั ธ์ุน้นั
ด้านราคาเมล็ดพันธุ์ ปัจจุบันราคาเมล็ดพันธุ์กัญชาในตลาดโลกมีราคา
แตกต่างตามสายพันธุ์ จากการรวบรวมข้อมูลราคาเมล็ดพันธุ์ท่ีจ�ำหน่ายใน
ต่างประเทศพบว่า สายพันธุ์ซาติวาจ�ำหน่ายในราคาประมาณ 39.99 เหรียญ
ต่อ 4 เมลด็ ถึง 59.99 เหรยี ญตอ่ 4 เมล็ด ในขณะทีพ่ ันธอุ์ ินดกิ ้าจำ� หนา่ ยในราคา
ประมาณ 44.99 เหรยี ญตอ่ 4 เมลด็ ถงึ 59.99 เหรยี ญตอ่ 4 เมลด็ และสายพันธ์ุ
ผสมจ�ำหน่ายในราคาประมาณ 27.99 เหรียญต่อ 4 เมล็ด ถึง 44.99 เหรียญ
ตอ่ 4 เมลด็ สว่ นเมลด็ พนั ธใ์ุ นไทยยงั ไมม่ กี ารจ�ำหนา่ ยอยา่ งถกู กฎหมาย แตจ่ ากการ
สมั ภาษณพ์ บวา่ มกี ารจำ� หนา่ ยแบบไมถ่ กู กฎหมาย โดยราคาเมลด็ พนั ธห์ุ างกระรอก
ราคาประมาณ 100 บาทต่อเมล็ด
ส�ำหรับราคาดอกกัญชาที่จ�ำหน่าย มีราคาแตกต่างกันตามชนิดของกัญชา
และวธิ กี ารปลกู โดยกัญชาทปี่ ลูกในร่มจะมีราคาสูงกว่ากัญชาทปี่ ลกู แบบโรงเรอื น
หรือกลางแจ้ง จากภาพ 3.11 แสดงให้เห็นว่าราคากัญชาท่ีปลูกในร่มจะมีราคา
สูงกว่ากัญชาที่ปลูกแบบกลางแจ้งประมาณ 2 เท่า ซ่ึงราคากัญชาในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ในช่วงปี 2562 - 2563 มีราคาเฉลี่ยดอกกัญชาแห้งปลูกในร่ม
(indoor) ประมาณ 114.44 บาทต่อกรัมดอกแห้ง ราคาสูงสุดที่ 133.49 บาท
ต่อกรมั ดอกแหง้ และราคาตำ�่ สุดที่ 97 บาทต่อกรมั ดอกแห้ง ในขณะที่ราคาเฉลย่ี
ดอกกัญชาแห้งปลูกในโรงเรือน (greenhouse) ประมาณ 78.26 บาทต่อกรัม
ดอกแห้ง ราคาสงู สดุ ท่ี 93.87 บาทตอ่ กรมั ดอกแหง้ และราคาตำ�่ สดุ ที่ 62.14 บาท

กญั ชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มคา่ ในการลงทนุ | 87
ต่อกรัมดอกแห้ง ส่วนราคาดอกกัญชาแห้งปลูกกลางแจ้งราคาเฉล่ียประมาณ
56.78 บาทต่อกรมั ดอกแหง้ มีราคาสงู สดุ ที่ 74.59 บาทตอ่ กรัมดอกแหง้ และราคา
ต�ำ่ สุดที่ 41.40 บาท/กรัมดอกแหง้
ดังนั้น ในการค�ำนวณผลตอบแทนของการปลูกกัญชา ได้ใช้ราคาที่มาจาก
การสัมภาษณ์ หากไม่มีราคาจากการสัมภาษณ์ จะใช้ราคาเฉล่ียในตลาด
สหรฐั อเมรกิ า และในกรณที รี่ าคาลดลง จะใชร้ าคาตำ่� สดุ ของสหรฐั อเมรกิ า เนอ่ื งจาก
ราคาของกัญชาในประเทศยงั ไมม่ ีราคาที่ชดั เจน

A
B
C

A กลางแจ้ง (บาท/กก.) B โรงเรอื น (บาท/กก.) C ในรม่ (บาท/กก.)

ภาพที่ 3.11 ราคาดอกกัญชาแห้งในสหรฐั อเมรกิ า ปี 2562 - 2563

ท่ีมา: https://www.cannabisbenchmarks.com

ในการวเิ คราะหน์ มี้ สี มมตฐิ านในการวเิ คราะหด์ งั นี้ กำ� หนดใหโ้ ครงการมอี ายุ
10 ปี เน่ืองจากอายุของสินทรัพย์ถาวรของโครงการมีอายุสูงสุดประมาณ 10 ปี
โดยการปลูกแบบในร่ม ใน 1 ปี สามารถปลูกได้ 3 รอบการผลิต ส่วนการปลูก
แบบโรงเรอื น ใน 1 ปี สามารถปลกู ได้ 2 รอบการผลติ และในการประเมนิ ตน้ ทนุ นี้
ไม่รวมค่ากอ่ สรา้ งอาคารและคา่ ทีด่ นิ

88 | กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน

1) การปลูกแบบรากลอย
การปลูกในร่มแบบรากลอยในพ้ืนท่ีปลูก 100 ตารางเมตร ในห้องปลูก
แบบระบบปิดน้ีมีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในห้องเพื่อให้เหมาะต่อการปลูก
กัญชาพันธุ์อินดิก้า มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนในปีที่ 0 จ�ำนวน 9,386,059 บาท
โดยประกอบด้วย ค่าปรบั ปรงุ อาคารและสถานท่ี ระบบไฟฟ้าและหลอดไฟ ระบบ
ปรบั อากาศและอุณหภูมิ คา่ ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบนำ�้ อุปกรณ์ในการ
ปลูก เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ค่าใช้จ่ายในการลงทุนเร่ิมต้น ไม่ได้รวมค่าที่ดินและ
ค่าก่อสร้างอาคาร เนื่องจากเป็นอาคารเก่าที่น�ำมาปรับปรุงใหม่ ท�ำให้ค่าใช้จ่าย
ในการลงทุนแทจ้ ริงจะสงู กวา่ น้ี
นอกจากการลงทุนในปีท่ีเร่ิมต้นแล้ว พบว่ามีอุปกรณ์บางชนิดที่มีอายุการ
ใชง้ านน้อยกว่า 10 ปี ดังนัน้ จำ� เปน็ ตอ้ งมีการลงทนุ เพ่มิ ในปตี า่ ง ๆ คือ ในปีท่ี 2, 4,
6 และ 8 ต้องมีการลงทุนซ้ือปั๊มน้�ำ ถังเก็บแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ถังปลูก
และฮารด์ ดสิ กไ์ วส้ �ำหรบั เกบ็ ขอ้ มลู ในขณะทป่ี ที ่ี 5 ตอ้ งมกี ารลงทนุ ดา้ นระบบไฟฟา้
และหลอดไฟ ระบบปรับอากาศและอุณหภูมิ และถังเก็บน้�ำ ปั๊มจ่ายน้�ำ กล้อง
วงจรปดิ และเครอ่ื งสแกนลายนว้ิ มอื สำ� หรบั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ การสำ� หรบั การ
ผลิต 3 รอบประกอบด้วย คา่ เมล็ดพนั ธ์ุ สารละลายธาตุอาหาร คา่ ไฟ คา่ นำ้� และ
คา่ แรงงาน
การปลกู กัญชาแบบในรม่ ในแต่ละรอบการผลติ จะมผี ลผลิตดอกกัญชาแหง้
ประมาณ 22,200 กรมั ต่อรอบการผลิต ดงั นัน้ ใน 1 ปี จะสามารถผลิตได้เทา่ กบั
66,600 กรมั ดอกแหง้ ตอ่ ปี หากดอกกญั ชาแหง้ จากการปลกู ในรม่ มรี าคา 129 บาท
ต่อกรมั ดอกแหง้ 6 จะมรี ายไดจ้ ากการจ�ำหน่ายกญั ชาเทา่ กับ 8,591,400 บาทตอ่ ปี
โดยราคาท่ีจ�ำหน่ายนี้เป็นราคาที่ผลผลิตดอกกัญชาแห้งมีเปอร์เซ็นต์สารส�ำคัญ
CBD มากกวา่ ร้อยละ 10 ขึ้นไป (ดรู ายละเอียดในตารางภาคผนวกที่ 1)
การวเิ คราะหม์ ลู คา่ ปจั จบุ ันสทุ ธิ (NPV) โดยใช้อตั ราคดิ ลดรอ้ ยละ 6 ซงึ่ เปน็
อตั ราดอกเบย้ี เงนิ ใหส้ นิ เชอื่ ของธนาคารพาณชิ ยโ์ ดยเฉลยี่ ในปี 25637 พบวา่ มลู คา่
ปัจจุบันสุทธิมีมูลค่า -101,898,514 บาท มีค่าน้อยกว่า 0 น่ันหมายถึงไม่คุ้มค่า
ในการลงทุน และเมื่อค�ำนวณอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนของโครงการน้ี

6 ราคาเฉลยี่ ของดอกกญั ชาแห้งของสหรฐั อเมริกา คอื 129 บาทต่อกรมั
7 เนื่องจากถือเป็นต้นทุนของเงินในการนำ� มาลทุนทางธรุ กิจ

กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มคา่ ในการลงทนุ | 89

พบว่ามอี ตั ราสว่ นผลตอบแทนต่อตน้ ทุน (B/C ratio) เท่ากบั 0.36 ซึ่งมคี ่าน้อยกวา่
1 บ่งช้ีวา่ ไม่คมุ้ คา่ ในการลงทุน
การวเิ คราะห์ความอ่อนไหว (Sensitivity analysis) จะพิจารณา 2 ประเด็น
คือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของจ�ำนวนผลผลิต และเม่ือราคาดอกกัญชาแห้ง
เปล่ยี นแปลง
กรณีที่ผู้ปลูกจะสามารถเพ่ิมจ�ำนวนผลผลิตของกัญชาได้เป็น 419 กรัม
ดอกแห้งต่อตารางเมตร ดังน้ัน จะมีผลผลิตเท่ากับ 125,700 กรัมดอกแห้งต่อปี
จ�ำหน่ายได้ในราคา 129 บาทต่อกรัมดอกแห้ง เม่ือค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ
(NPV) มมี ลู คา่ -50,042,271 บาท และอตั ราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทนุ (B/C ratio)
มคี ่าเท่ากบั 0.68 หมายความวา่ ไมค่ ุ้มค่าในการลงทุน
ในกรณีทร่ี าคาดอกกญั ชาแห้งเพ่ิมสูงขึ้นเท่ากับ 133 บาทต่อกรมั ดอกแห้ง8
และมผี ลผลติ 150 กรัมแหง้ ต่อต้น เมื่อคำ� นวณหามูลค่าปจั จุบันสุทธิ (NPV) พบวา่
มคี า่ เทา่ กบั -100,086,514 บาท และอตั ราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทนุ ของโครงการ
นเี้ ทา่ กบั 0.37 แสดงใหเ้ หน็ วา่ แมว้ า่ ราคาเพม่ิ ขนึ้ โครงการนย้ี งั ไมค่ มุ้ คา่ ในการลงทนุ
จากการวิเคราะห์ความคุ้มค่าการลงทุนของการปลูกกัญชาทางการแพทย์
แบบในร่มในรปู แบบรากลอย เปน็ การลงทนุ ทม่ี ีตน้ ทุนการลงทุนสงู ทำ� ใหไ้ ม่คมุ้ ค่า
ในการลงทุน แม้ว่าจะสามารถผลิตกัญชาได้เพิ่มมากข้ึน หรือราคากัญชาจะเพ่ิม
สูงขนึ้ ก็ตาม ดังนน้ั การลงทุนเพ่อื ปลูกกัญชาเชิงพาณิชย์ในรูปแบบรากลอยอาจจะ
ไม่เหมาะสมต่อการลงทุน
2) การปลกู แบบในร่มแบบใช้วัสดปุ ลกู เป็นดิน
การปลกู ในรม่ ในพน้ื ทป่ี ลกู 85 ตารางเมตร ในหอ้ งปลกู มกี ารปรบั ปรงุ สภาพ-
แวดล้อมในห้องเพ่ือให้เหมาะต่อการปลูกกัญชาพันธุ์อินทริกา มีค่าใช้จ่ายในการ
ลงทุนในปีที่ 0 จ�ำนวน 1,014,363 บาท ประกอบด้วย ค่าปรับปรุงอาคารและ
สถานที่ คา่ หลอดไฟ ระบบปรบั อากาศและอณุ หภูมิ คา่ ระบบรักษาความปลอดภยั
PH Sensor นอกจากการลงทุนในปีที่เร่ิมต้นแล้ว ยังมีการลงทุนเพิ่มในปีต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้ ทุก ๆ 2 ปีจะต้องลงทุนปั๊มน�้ำ และในปีที่ 5 จะต้องลงทุนหลอดไฟ
ระบบปรับอากาศและอุณหภูมิ และระบบรักษาความปลอดภัย ส�ำหรับค่าใช้จ่าย

8 ราคาสูงสดุ ของราคาดอกกัญชาแห้งจากการปลูกในร่มของสหรฐั อเมริกา

90 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทุน

ในการดำ� เนนิ การผลติ ประกอบดว้ ย คา่ เมลด็ พันธุ์ สารละลายธาตอุ าหาร ค่าไฟฟา้
ค่านำ้� และค่าแรงงาน
รายไดจ้ ากการปลกู กญั ชาแบบในโรงเรอื นนพ้ี บวา่ มผี ลผลติ ดอกกญั ชาเฉลย่ี
97.69 กรัมดอกแห้งต่อต้น ในแต่ละรอบการผลิตจะมีผลผลิตดอกกัญชาแห้ง
ประมาณ 10,160 กรัมดอกแห้งต่อรอบการผลิต และใน 1 ปีจะสามารถผลิตได้
เท่ากับ 30,480 กรัมแห้งต่อปี ในขณะท่ีราคาจ�ำหน่ายเท่ากับ 50 บาทต่อกรัม9
ท�ำให้มีรายได้จากการจ�ำหน่ายกัญชาเท่ากับ 1,524,000 บาทต่อปี โดยราคาท่ี
จ�ำหน่ายน้เี ป็นราคาท่ผี ลผลิตดอกกญั ชาแหง้ มีเปอรเ์ ซ็นตส์ ารสำ� คัญ CBD มากกว่า
ร้อยละ 10 ขึ้นไป (ดรู ายละเอียดในตารางภาคผนวกท่ี 2)
ในการค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) ของการปลูกกัญชาแบบในร่ม
พบว่ามีมูลค่า -3,857,295.05 บาท ไม่มีความคุ้มค่าในการลงทุน เมื่อค�ำนวณ
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนของโครงการน้ีพบว่า มีค่าเท่ากับ 0.7 ซ่ึงบ่งช้ี
ถงึ ความไม่คุม้ ค่าในการลงทนุ
ในการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหวจะพจิ ารณา 2 ประเดน็ คอื เมอื่ มกี ารเปลย่ี นแปลง
ของจ�ำนวนผลผลิต และเม่ือราคาดอกกัญชาแห้งเปล่ียนแปลง ในกรณีที่ผลผลิต
เพ่ิมข้ึน หากสามารถเพ่ิมผลผลิตได้เป็น 419 กรัมดอกแห้งต่อตารางเมตร จะมี
ผลผลติ เทา่ กบั 106,845 กรมั ดอกแหง้ ตอ่ ปี หากจำ� หนา่ ยไดใ้ นราคา 50 บาทตอ่ กรมั
ดอกแห้ง เม่ือค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เมื่อจ�ำนวนผลผลิตเพิ่มขึ้น
พบวา่ มีมูลค่า 22,053,358 บาท คุ้มค่าในการลงทุน และเม่ือค�ำนวณอัตราส่วน
ผลตอบแทนต่อต้นทุนของโครงการน้ีพบว่า มีค่าเท่า 2.51 ข้อมูลดังกล่าวบ่งชี้ถึง
ความคุม้ คา่ ในการลงทุน
ในกรณีที่ราคาเพ่ิมข้ึน10 เท่ากับ 129 บาทต่อกรัมดอกแห้ง โดยผลผลิต
ใน 1 ปจี ะสามารถผลติ ไดเ้ ทา่ กับ 30,480 กรัมแห้งตอ่ ปี ในการคำ� นวณหามลู คา่
ปัจจุบันสุทธิ (NPV) ของการปลูกกัญชาแบบในร่มมีมูลค่า 12,460,576 บาท
หมายถงึ มคี วามคมุ้ คา่ ในการลงทนุ และเมอ่ื คำ� นวณอตั ราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทนุ
ของโครงการนีม้ คี า่ เทา่ กบั 1.87 ซงึ่ แสดงถึงความวา่ คุ้มคา่ ในการลงทุน

9 ราคาท่มี าจากการสัมภาษณ์
10 ราคาเพิ่มเท่ากบั ราคาเฉลยี่ ของดอกกัญชาแหง้ แบบในร่มสหรัฐอเมรกิ า

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคุ้มค่าในการลงทุน | 91

จากการวิเคราะหค์ วามคมุ้ ค่าการลงทุนพบวา่ ในกรณนี ้ีพบวา่ แม้ว่าจะมกี าร
ลงทุนไม่สูงเท่ากับในกรณีแบบรากลอย แต่ถ้าหากมีปริมาณผลผลิตเฉล่ียต่อต้น
ไม่สูงมากนัก จะไม่มีความคุ้มค่าการลงทุน แต่หากสามารถเพิ่มปริมาณผลผลิต
ต่อต้นให้สูงขึ้น หรือหากมีราคาจ�ำหน่ายเพิ่มสูงข้ึน จะมีความคุ้มค่าในการลงทุน
ดังนั้น ในการลงทุนแบบในรม่ ในเชงิ พาณิชย์ ผลู้ งทุนจะต้องเพม่ิ ประสิทธผิ ลในการ
ผลติ ให้มีผลผลิตต่อตารางเมตรใหม้ าก เพ่ือใหค้ มุ้ คา่ ในการลงทุน
3) การปลูกแบบในโรงเรือนแบบ EVAP สำ� หรับการปลกู สายพันธไ์ุ ทย
การปลกู ในโรงเรอื นแบบ EVAP พ้นื ทป่ี ลกู 240 ตารางเมตร โรงเรอื นมีการ
ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในห้อง โดยการท�ำระบบ EVAP ติดหลอดไฟและติดม่าน
กนั แสง จงึ ทำ� ใหม้ คี า่ ใชจ้ า่ ยในการลงทนุ ในปที ี่ 0 จำ� นวน 1,913,800 บาท ประกอบ
ด้วย คา่ ปรบั ปรุงอาคารและสถานท่ี หลอดไฟ LED ระบบปรับอากาศและอุณหภมู ิ
ค่าระบบรกั ษาความปลอดภยั และอปุ กรณอ์ นื่ ๆ ซงึ่ ค่าใช้จา่ ยในการลงทนุ เร่ิมต้น
นน้ั ไมไ่ ดร้ วมคา่ ทด่ี นิ และคา่ กอ่ สรา้ งอาคาร เนอ่ื งจากเปน็ อาคารเกา่ ทนี่ ำ� มาปรบั ปรงุ
ใหม่ ทำ� ใหค้ ่าใชจ้ า่ ยในการลงทุนแทจ้ ริงจะสงู กว่านี้
ส่วนการลงทุนในปีต่อ ๆ ไปมีดังนี้ ในปีท่ี 5 มีการลงทุนในเรื่องหลอดไฟ
ระบบมา่ นปรบั แสง ระบบรกั ษาความปลอดภยั ประกอบดว้ ยคา่ กลอ้ งวงจรปดิ และ
เครอื่ งสแกนลายนวิ้ มอื สำ� หรบั คา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ การสำ� หรบั การผลติ ประกอบ
ดว้ ย คา่ เมลด็ พนั ธห์ุ างกระรอก สารละลายธาตอุ าหาร สารปอ้ งกนั ศตั รพู ชื คา่ ไฟฟา้
ค่าน�ำ้ คา่ เงินเดือนพนกั งานและค่าแรงงาน (ดูรายละเอียดในตารางภาคผนวกที่ 3)
ผลผลิตจากการปลูกกัญชาแบบในร่มในแต่ละรอบการผลิตจะมีผลผลิต
ดอกกัญชาแห้งประมาณ 47,000 กรัมดอกแห้ง และใน 1 ปี จะสามารถผลิตได้
เท่ากับ 94,000 กรมั แห้ง หากจำ� หนา่ ยดอกกัญชาแหง้ ราคา 78.26 บาทต่อกรมั 11
เม่อื ค�ำนวณหามลู ค่าปจั จบุ ันสทุ ธิ (NPV) มมี ูลค่าเทา่ กับ 45,478,663 บาท มคี วาม
ค้มุ คา่ ในการลงทนุ และเมอ่ื ค�ำนวณอัตราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทุนเท่ากับ 11.35
แสดงถึงความค้มุ ค่าในการลงทุน
ในการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหวจะพจิ ารณา 2 ประเดน็ คอื เมอื่ มกี ารเปลย่ี นแปลง
ของจ�ำนวนผลผลิต และเม่ือราคาดอกกัญชาแห้งเปล่ียนแปลง เม่อื จำ� นวนผลผลติ

11 ราคาเฉล่ยี สายพันธ์ซุ าติวาในต่างประเทศ

92 | กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ คา่ ในการลงทนุ

ของกญั ชาเปลย่ี นแปลง โดยสามารถเพมิ่ จ�ำนวนผลผลติ ของกญั ชาไดเ้ ฉลยี่ ประมาณ
530 กรัมต่อตน้ 12 จะมผี ลผลิตเท่ากับ 212,000 กรมั ต่อปี หากจ�ำหน่ายไดใ้ นราคา
78.26 บาทต่อกรัม เม่ือค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) มีมูลค่าเท่ากับ
108,082,430 บาท และมีอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนเท่ากับ 25.608 และ
ในกรณีท่ีจ�ำนวนผลผลิตของกัญชาลดลงเหลือประมาณ 175 กรัมต่อต้น13 จะมี
ผลผลติ เทา่ กบั 70,000 กรมั ตอ่ ปี หากจำ� หนา่ ยในราคา 78.26 บาทตอ่ กรมั จะมมี ลู คา่
ปัจจุบันสุทธิ (NPV) เท่ากับ 32,745,694 บาท และมีอัตราส่วนผลตอบแทนต่อ
ตน้ ทนุ เทา่ กบั 8.45 ทงั้ กรณเี พมิ่ และลดผลผลติ โครงการนม้ี คี วามคมุ้ คา่ ในการลงทนุ
ในกรณีท่ีถ้าราคาดอกกัญชาแห้งเปล่ียนแปลงลดลงเท่ากับราคาต�่ำสุดของ
ราคาดอกกัญชาแห้งสายพันธุ์ซาติวาของสหรัฐอเมริกานั่นเป็น 62.1 บาทต่อกรัม
ดอกแหง้ ในขณะทมี่ ีผลผลติ เทา่ กบั 235 กรมั แห้งต่อต้น มูลค่าปจั จบุ นั สทุ ธิ (NPV)
เท่ากับ 35,312,693 บาท และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนเท่ากับ 9.039
ยงั มคี วามคุ้มค่าในการลงทนุ
จากการวิเคราะห์การลงทุนการปลูกกัญชาสายพันธุ์ไทยในโรงเรือน EVAP
พบว่ามีความคุ้มค่าในการลงทุนในทุกกรณี ทั้งกรณีที่ผลผลิตเฉล่ียของโครงการ
ลดลง ผลผลิตเพิ่มขนึ้ หรอื ราคาจำ� หนา่ ยลดลง ดังน้นั การปลูกกัญชาสายพันธไ์ุ ทย
ในโรงเรอื นจงึ มีความเหมาะสมทจ่ี ะลงทนุ ในเชิงพาณชิ ย์
4) การปลกู แบบโรงเรือนตาข่าย
การปลกู ในโรงเรือนแบบตาขา่ ยในพน้ื ทีป่ ลกู 240 ตารางเมตร มีการลงทนุ
ในปแี รกเพอื่ ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ มในหอ้ ง ไดแ้ ก่ การตดิ หลอดไฟ LED มา่ นกนั แสง
พัดลม และระบบรักษาความปลอดภัย ส่วนการลงทุนในปีต่อมาคือ ในปีที่ 5
คือหลอดไฟ ระบบม่านปรับแสง ระบบรักษาความปลอดภัย ส�ำหรับค่าใช้จ่าย
ในการด�ำเนนิ การส�ำหรบั การผลติ 2 รอบ ประกอบด้วยค่าเมล็ดพันธ์ุหางกระรอก
สารละลายธาตุอาหาร สารป้องกันศัตรูพืช ค่าไฟฟ้า ค่าน�้ำ ค่าเงินเดือนพนักงาน
และค่าแรงงานจำ� นวน 54,000 บาท (ดูรายละเอียดในตารางภาคผนวกท่ี 4)
การปลกู แบบนใี้ หผ้ ลผลติ เฉลย่ี 235 กรมั แหง้ ตอ่ ตน้ ดงั นน้ั ใน 1 ปี จะสามารถ
ผลิตได้เท่ากับ 94,000 กรัมแห้ง จ�ำหน่ายดอกกัญชาแห้งในราคา 78.26 บาท

12 ผลผลติ เฉลย่ี ของกญั ชาสายพนั ธุซ์ าติวา
13 ผลผลิตต่�ำสุดของกญั ชาสายพนั ธซ์ุ าติวา

กญั ชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและความคมุ้ ค่าในการลงทุน | 93

ตอ่ กรัมดอกแห้ง14 เมอื่ คำ� นวณมูลคา่ ปจั จบุ ันสุทธิ (NPV) จะไดเ้ ทา่ กบั 46,310,125
บาท และอตั ราส่วนผลตอบแทนต่อตน้ ทุน (B/C ratio) เท่ากบั 14
ในการวิเคราะห์ความอ่อนไหวโดยก�ำหนดให้จ�ำนวนผลผลิตเพ่ิมข้ึนเป็น
530 กรัมดอกแหง้ ต่อตน้ 15 จะสามารถผลิตกัญชาเทา่ กบั 212,000 กรัมดอกแหง้
ตอ่ ปี พบวา่ มลู ค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) จะเพม่ิ เปน็ เท่ากับ 108,082,430 บาท และ
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนเท่ากับ 31.59 และในกรณีที่หากจ�ำนวนผลผลิต
ลดลงเทา่ กบั 175 กรัมดอกแหง้ ตอ่ ตน้ 16 จะมผี ลผลติ เท่ากับ 70,000 กรัมดอกแห้ง
ต่อปี ท�ำให้มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) ลดลงเป็นมูลค่า 33,577,156 บาท และ
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C ratio) เท่ากับ 10.43 ในขณะท่ีถ้าราคา
ดอกกัญชาแห้งลดลงเท่ากับ 62.10 บาทต่อกรัม17 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV)
เทา่ กบั 36,144,155 บาท และอตั ราสว่ นผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทนุ (B/C ratio) เทา่ กบั
17.60
จากการวิเคราะห์การลงทุนการปลูกกัญชาสายพันธุ์ไทยในโรงเรือนตาข่าย
พบว่ามีความคุ้มค่าในการลงทุนในทุกกรณี ดังนั้น การปลูกกัญชาสายพันธุ์ไทย
ในโรงเรือนจึงมคี วามเหมาะสมท่จี ะลงทนุ ในเชิงพาณิชย์
5) การปลูกกัญชาสายพันธุอ์ นิ ดิกา้ ในโรงเรอื นตาข่าย
การปลูกในโรงเรือนแบบตาข่ายพื้นที่ปลูก 240 ตารางเมตร ในปีที่เริ่มต้น
มีการลงทุนด้านค่าสร้างโรงเรือนพลาสติกแบบทนความร้อนเพ่ือคลุมโรงเรือน
หลอดไฟ พัดลมดูดอากาศ ระบบรกั ษาความปลอดภัย สว่ นปตี ่อมาในปีที่ 5 จะต้อง
ลงทุนในเร่อื งหลอดไฟ ระบบรักษาความปลอดภยั สำ� หรบั ค่าใช้จา่ ยในการดำ� เนิน
การส�ำหรับการผลิต ประกอบด้วย ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าวัสดุดิน สารป้องกันศัตรูพืช
คา่ ไฟฟา้ ค่าน�้ำ และค่าแรง (ดรู ายละเอียดในตารางภาคผนวกท่ี 5)
การปลูกกัญชาแบบโรงเรือนตาข่ายน้ีใช้กัญชาพันธุ์ Charlotte’s Angel
มผี ลผลิตเฉลี่ย 144 กรมั แหง้ ต่อตน้ ใน 1 ปี จะสามารถผลติ ได้เทา่ กบั 57,600 กรัม
แห้ง หากจ�ำหน่ายได้ในราคา 78.26 บาทต่อกรัม เมื่อค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบัน

14 ราคาเฉล่ยี ของดอกกญั ชาแหง้ สายพันธ์ุซาติวาแบบโรงเรือนของสหรฐั อเมริกา
15 ผลผลิตเฉล่ยี ของกญั ชาสายพันธุซ์ าติวา
16 ผลผลติ ตำ่� สุดของกัญชาสายพันธุ์ซาติวา
17 ราคาตำ่� สุดของราคาดอกกัญชาแห้งสายพนั ธุ์ซาตวิ าของสหรฐั อเมรกิ า

94 | กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุม้ ค่าในการลงทุน

สทุ ธิ (NPV) จะได้เท่ากับ 24,704,141 บาท และอตั ราสว่ นผลตอบแทนต่อตน้ ทุน
(B/C ratio) เท่ากับ 5.21
ในการวิเคราะห์ความอ่อนไหว หากผู้ปลูกสามารถเพ่ิมจ�ำนวนผลผลิต
ของกัญชาไดเ้ ป็น 419 กรมั ดอกแห้งตอ่ ตารางเมตร ใน 1 ปี จะได้ผลผลิตเทา่ กับ
201, 120 กรัมดอกแหง้ ต่อปี หากจ�ำหน่ายในราคา 78.26 บาทตอ่ กรัมดอกแหง้ 18
เม่ือค�ำนวณหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) จะได้เท่ากับ 100,847,300 บาท และ
อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C ratio) เท่ากับ 18.22 ในขณะที่เม่ือราคา
ดอกกัญชาแห้งเพ่ิมข้ึนเป็น 93.80 บาทต่อกรัมดอกแห้ง19 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ
จะเท่ากับ 30,894,324 บาท และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C ratio)
เท่ากับ 6.27
จากการวิเคราะห์การลงทุนการปลกู กัญชาสายพันธต์ุ า่ งประเทศในโรงเรือน
ตาข่ายพบว่า มีความคุ้มค่าการลงทุนในทุกกรณี ดังนั้น การปลูกกัญชาสายพันธุ์
ตา่ งประเทศในโรงเรอื นจงึ มคี วามเหมาะสมทจ่ี ะลงทนุ ในเชงิ พาณชิ ย์ อยา่ งไรกต็ าม
ในการวิเคราะห์น้ีมีข้อจ�ำกัดในการรวบรวมข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลคงที่ด้านการ
ปรับปรุงสถานที่ และค่าก่อสร้างโรงเรือน จึงท�ำให้ต้นทุนที่ประมาณการต�่ำกว่า
ความเปน็ จริง
6) สรุปผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคุ้มค่าในการลงทุนปลูกแบบ
ต่างๆ
จากมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C
ratio) ของการปลูกกญั ชาในรูปแบบตา่ ง ๆ จะเหน็ ได้วา่ การปลูกกญั ชาแบบในร่ม
ทงั้ ระบบรากลอยและแบบใชว้ สั ดดุ นิ ตา่ งไมม่ คี วามคมุ้ คา่ ในการลงทนุ เมอื่ เปรยี บเทยี บ
กบั การปลกู แบบในโรงเรอื นทงั้ 3 กรณที มี่ คี วามคมุ้ คา่ ในการลงทนุ และเมอ่ื วเิ คราะห์
ความอ่อนไหวของการลงทุนแบบระบบรากลอย ท้ังในกรณีที่ผลผลิตเพ่ิมข้ึนและ
ราคาเพ่ิมข้ึนพบว่ายังไม่คุ้มค่าในการลงทุน แต่ในกรณีการปลูกในร่มแบบวัสดุดิน
และการปลูกในโรงเรือนสายพันธุ์ต่างประเทศ หากผลผลิตและราคาเพ่ิมข้ึนจะมี
ความคุ้มค่าในการลงทุน ส่วนการปลูกแบบในโรงเรือนกรณีที่ปลูกสายพันธุ์ไทย
แม้ว่าผลผลติ และราคาลดลง ยงั มีความคุม้ คา่ ในการลงทุน (ตารางท่ี 3.3)

18 ราคาเฉลยี่ ของดอกกัญชาแห้งแบบโรงเรอื นของสหรัฐอเมรกิ า
19 ราคาสูงสดุ ของราคาดอกกัญชาแหง้ สายพันธุ์อินดิก้าแบบโรงเรอื นของสหรัฐอเมรกิ า

กัญชา : พชื ทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทุน | 95

ตารางที่ 3.3 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน
(B/C ratio) ในกรณตี ่าง ๆ

NPV, B/C NPV, B/C NPV, B/C NPV, B/C NPV, B/C
กรณีผลผลิต กรณีผลผลติ กรณรี าคา กรณผี ลผลติ
เพิม่ ลดลง เพ่มิ ข้นึ ลดลง
การปลกู ระบบ -101,898,514 -50,042,271 -100,086,514
รากลอย 0.36 0.68 0.37

การปลูกในร่ม -3,857,295 22,053,358 12,460,576
แบบวสั ดดุ นิ 0.70 2.51 1.87

การปลกู โรงเรือน 45,478,663 108,082,430 32,745,694 35,312,693
แบบ EVAP พันธุ์ไทย 11.35 25.60 8.45 9.03

การปลูกโรงเรอื น 46,310,125 108,082,430 33,577,156 36,144,155
แบบตาขา่ ย พันธุไ์ ทย 14.00 31.58 10.43 17.60

การปลูกโรงเรอื น 24,704,141 100,847,300 30,894,324
พันธตุ์ ่างประเทศ 5.21 18.22 6.27

ท่มี า: จากการคำ� นวณ
หมายเหต:ุ ตวั เลขบน คอื มูลคา่ ปัจจบุ นั สุทธิ (NPV) (หนว่ ย: บาท)
ตัวเลขล่าง คือ อัตราส่วนผลตอบแทนตอ่ ตน้ ทนุ (B/C ratio)

จากขอ้ มลู ดา้ นการปลกู กญั ชาในรปู แบบตา่ ง ๆ จะเหน็ ไดว้ า่ การปลกู แบบ
ในร่มจะมีต้นทุนที่สูงกว่าการปลูกแบบโรงเรือน นอกจากน้ัน เมื่อพิจารณาถึง
ตน้ ทนุ การผลติ ทสี่ ำ� คญั พบวา่ ตน้ ทนุ ในดา้ นคา่ จา้ งแรงงานเปน็ ตน้ ทนุ ทมี่ สี ดั สว่ น
มากกว่าปัจจัยอ่ืน ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าการปลูกกัญชาจ�ำเป็นต้องอาศัย
องค์ความรู้ในการปลูกค่อนข้างมาก ท�ำให้ต้นทุนค่าจ้างบุคลากรมีสัดส่วน
สงู มาก ในขณะเดยี วกนั เมอ่ื พจิ ารณาความคมุ้ คา่ การลงทนุ พบวา่ การปลกู แบบ
ในรม่ ท้ัง 2 แบบ ไม่มีความคุ้มค่าในการลงทนุ ในขณะทีก่ ารปลูกแบบโรงเรือน
ท้ัง 3 กรณี มีความคุ้มค่าในการลงทุน ซ่ึงจะเห็นได้ว่าความคุ้มค่าการลงทุน
มคี วามแตกต่างกัน ขน้ึ อยกู่ บั รูปแบบท่ีเพาะปลกู อาทิ การปลกู ในโรงเรอื นแบบ
ตาข่ายพันธุ์ไทย มีความคุ้มค่าในการลงทุนมากที่สุด ท้ังนี้ การปลูกแบบในร่ม
แบบใช้วัสดุดินจะมีความคุ้มค่าการลงทุน เม่ือสามารถเพิ่มผลผลิตต่อต้นให้สูง
ขนึ้ ได้ ดังนัน้ หากสามารถปรบั ปรุงประสิทธภิ าพการผลติ ได้ การปลกู แบบในร่ม
จะเป็นทางเลอื กในการปลกู กัญชาได้เช่นกนั

96 | กัญชา : พืชทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคมุ้ ค่าในการลงทุน

กญั ชา : พืชทางเลอื กใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุม้ คา่ ในการลงทนุ | 97

บทท่ี 4

ขนาดตลาดและผลกระทบ
ทางเศรษฐกิจของการ
ใช้กญั ชาทางการแพทย์
ในประเทศไทย

98 | กัญชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุม้ ค่าในการลงทนุ

ในบทนี้ ทำ� การการประเมนิ ขนาดตลาดกญั ชาทางการแพทย์
แผนปัจจุบันและแผนไทย โดยต�ำรับแผนปัจจุบันจะประเมินจาก
อุปสงค์ยาท่ีมสี ่วนผสมของกัญชาของผู้ป่วย ทมี่ ีแนวโน้มจะใช้ยา
ในการรักษาโรคท่ีเกี่ยวข้อง และต�ำรับแผนไทยค�ำนวณจาก
สัดส่วนของกัญชาที่ใช้ในการการผลิตยาแผนไทย หลังจากน้ัน
จะประมาณการพนื้ ทปี่ ลกู กญั ชาในวธิ กี ารปลกู รปู แบบตา่ ง ๆ และ
การประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ ซงึ่ คำ� นวณจากผลตอบแทน
หักด้วยต้นทุน โดยการประเมินผลตอบแทนจะค�ำนวณจาก
ปริมาณการใชก้ ัญชาทางการแพทยต์ ้งั แต่ปี 2563 - 2568 ซง่ึ จะ
แบง่ ตามปรมิ าณการคาดการณ์ในกรณตี า่ ง ๆ และใชร้ าคากญั ชา
2 กรณี คอื ราคา 153 บาทตอ่ ดอกแหง้ และ 744 บาทตอ่ ดอกแหง้
และในสว่ นของตน้ ทนุ ของกญั ชาทใ่ี ช้ในการผลติ ยากญั ชา จะแบง่
เปน็ ตน้ ทนุ ตามวธิ กี ารปลกู 3 กรณี คอื การปลกู ในรม่ ในโรงเรอื น
สำ� หรบั สายพนั ธ์ุ CBD และในโรงเรอื นแบบตาขา่ ย สำ� หรบั สายพนั ธ์ุ
ไทย โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี

กญั ชา : พชื ทางเลือกใหม่ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และความคุ้มคา่ ในการลงทุน | 99

4.1 ขนาดตลาดกญั ชาในต�ำรับยาแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั

การประเมินขนาดตลาดกัญชาทางการแพทย์ในต�ำรับปัจจุบัน จะค�ำนวณ
จากอุปสงค์ยากัญชาทางการแพทย์ของผู้ป่วย ที่มีความน่าจะเป็นต้องใช้ยาในการ
รักษา ใชส้ ูตรค�ำนวณดังน้ี

มลู ค่าตลาดกัญชาทางการแพทย์ = จ�ำนวนผู้ปว่ ย X ปรมิ าณการใช้เฉลีย่
ตอ่ คน (กรมั ดอกแหง้ /คน) X ความชกุ
ของการใช้กัญชาของไทย (ร้อยละ)
X ราคากัญชา (บาท/กรัม)

โดยที่
1) จำ� นวนผูป้ ่วย
คำ� นวณจากจำ� นวนผปู้ ว่ ย 3 โรค ไดแ้ ก่ จำ� นวนผปู้ ว่ ยมะเรง็ ระยะ 3 - 4 ซงึ่ เปน็
ระยะลุกลาม มีความจ�ำเป็นต้องใช้กัญชาลดอาการเจ็บปวด จ�ำนวนผู้ป่วยลมชัก
และจ�ำนวนผู้ป่วยโรคปลอกประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง (Multiple
Sclerosis) โดยท่ี
- จำ� นวนผปู้ ว่ ยโรคมะเรง็
จากการเก็บข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งในประเทศไทยของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ
ปี 2011 - 2015 ทเ่ี กบ็ ใน 11 จงั หวัด ได้แก่ เชยี งใหม่ ล�ำปาง ล�ำพนู ขอนแกน่
อบุ ลราชธานี อทุ ยั ธานี ลพบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ชลบรุ ี สรุ าษฎรธ์ านี สงขลา พบวา่ มี
ผปู้ ว่ ยมะเรง็ ทงั้ หมด 126,555 ราย แบง่ เปน็ ชาย 61,416 ราย และหญงิ 65,139 ราย
และจากขอ้ มลู ทะเบยี นมะเรง็ ระดบั โรงพยาบาลปี 2562 ของสถาบนั มะเรง็ แหง่ ชาติ
พบว่าร้อยละ 50.90 ของผู้ป่วยโรคมะเร็งอยู่ในระยะท่ี 3 - 4 หรือระยะลุกลาม
(ตารางที่ 4.1) ดังน้ัน เมื่อค�ำนวณจ�ำนวนผู้ป่วยที่คาดว่ามีความต้องการใช้กัญชา
เพ่ือบรรเทาความเจ็บปวดคิดเป็น 64,417 ราย


Click to View FlipBook Version