The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

Keywords: ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

36

2.1 ความพอเพยี ง
2.2 ความโปรงใส
2.3 ความตนื่ รู
2.4 มุง ไปขา งหนา
2.5 ความรู
2.6 ความเออ้ื อาทร

37

เรือ่ งที่ 1 องคป ระกอบของโมเดล STRONG

จติ พอเพยี งตานทจุ รติ ตามทป่ี ระเทศไทยไดม ยี ุทธศาสตรช าติวาดวยการปองกันและปราบปรามการ
ทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ไดมีการวิเคราะหภาพอนาคตของประชาชนและสังคมไทยในระยะ
5 ปขางหนา ไวว า หากยุทธศาสตรช าตฯิ ไดร บั ความรวมมือรวมใจจากทุกภาคสวนของสังคมไทยในการนําไป
ปฏิบตั ิจรงิ ประชาชนไทยจะมคี วามต่ืนตัวตอการทุจริตมากขนึ้ มีการใหความสนใจตอขา วสารและตระหนักถึง
ผลกระทบของการทุจริตท่ีมีตอประเทศ มีการแสดงออกซึ่งการตอตานการทุจริตท้ังในชีวิตประจําวันและ
การแสดงออกผานส่ือสาธารณะและสื่อสังคมออนไลนตาง ๆ ประชาชนในแตละชวงวัยไดรับกระบวนการ
กลอมเกลาทางสงั คมวา การทุจริต ถอื เปน พฤตกิ รรมทีน่ อกจากจะผดิ กฎหมายและทาํ ใหเกิดความเสียหายตอ
ประเทศแลว ยังเปนพฤติกรรมท่ีผิดจริยธรรม ไมไดรับการยอมรับจากสังคม ประชาชนตองเริ่มเรียนรูการ
ปรับเปลี่ยนฐานความคิดที่ทําใหสามารถแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนกับผลประโยชนสวนรวมได
วัฒนธรรมทางสังคมที่มีฐานอยูบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน่ืองจากมีพ้ืนฐานจิตท่ีพอเพียงมีความ
ละอายตอการทุจริตประพฤตมิ ิชอบ และไมย อมใหผอู น่ื กระทําการทุจริตอนั สงผลใหเ กิดความเสยี หายตอสังคม
สว นรวม

หนวยงานทุกภาคสวนตองใหความสําคัญอยางแทจริงกับการตระหนักถึงจิตพอเพียงตานทุจริต
โดยประชาชนทกุ คนนาํ การประยกุ ตหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชประกอบกับหลักการตอตานการทุจริต
อน่ื ๆ เพอ่ื สรางฐานคดิ จิตพอเพียงตอตานทุจริตใหเกิดข้ึนเปนพื้นฐานความคิดของปจเจกบุคคล โดยประยุกตหลัก
“STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต” ซึ่งคิดคนโดย รองศาสตราจารย ดร.มาณี ไชยธีรา-นุวัฒศิริ ในป พ.ศ. 2560
มาเปนแนวทางในการพัฒนาวฒั นธรรมหนว ยงาน

38

หลักความพอเพยี ง โดยบุคคลสามารถแยกแยะ

ผลประโยชนส ว นตัวและผลประโยชนส ว นรวม

อยา งเปน อตั โนมัติ บคุ คลและหนวยงาน

รว มพัฒนาใหเ กิด ปฏิบัตงิ านบนฐาน
ความเอ้อื เฟอ อาทร
ตอ กันบนพื้นฐาน ของความโปรงใส

ของจริยธรรมและ
จติ พอเพยี ง

รแู ละพรอ ม
ลงมอื ปอ งกนั ทุจรติ

แสวงหาความรูอ ยางตอเน่อื ง มุงพฒั นาใหเ กดิ ความเจริญ
เพือ่ ใหเทาทันตอ สถานการณการทุจรติ โดยการตอ สกู บั การทจุ ริตไดอ ยางไมย อทอ

พัฒนาโดย การประยกุ ตหลกั ความพอเพยี งดว ยโมเดล
รศ.ดร. มาณี ไชยธีรานุวัฒศริ .ิ 2560.2561
STRONG : จิตพอเพียงตา นทุจรติ

ท่มี า : http://www.stopcorruption.moph.go.th=สะกดจิตเขาสูภวงั ค

STRONG : จิตพอเพยี งตานทุจรติ ประกอบดวย
1) S (Sufficient) : ความพอเพียง หมายถึง ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ประยุกตเ ปน หลกั ความพอเพียงในการทํางาน การดํารงชีวิต
การพัฒนาตนเองและสวนรวม รวมถงึ การปองกันการทุจริตอยางยั่งยืน ซึ่งความพอเพียงตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งของ
มนุษยแ มว า จะแตกตางกันตามพ้นื ฐาน แตการตดั สินใจวาความพอเพียงของตนเองตองตั้งอยูบนความมีเหตุมีผล
รวมท้ังตองไมเบียดเบียนตนเอง ผูอื่น และสวนรวม ความพอเพียงดังกลาวจึงเปนภูมิคุมกันใหบุคคลน้ัน
ไมก ระทําการทุจรติ ซง่ึ ตอ งใหค วามรูค วามเขา ใจ และปลุกใหตนื่ รู
2) T (Transparent) : ความโปรง ใส หมายถึง ผนู าํ ผบู รหิ าร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
ตองปฏิบัติงานบนฐานของความโปรงใส ตรวจสอบได ดังน้ัน จึงตองมีและปฏิบัติตามหลักปฏิบัติ ระเบียบ
ขอ ปฏบิ ตั ิ กฎหมาย ดานความโปรง ใส ซึง่ ตอ งใหความรูความเขา ใจ และปลกุ ใหต ่ืนรู
3) R (Realize) : ความตืน่ รู หมายถึง ผูน ํา ผูบรหิ าร บุคคลทกุ ระดับ องคกรและชุมชน มีความรู
ความเขาใจ และตระหนักรถู งึ รากเหงาของปญ หาและภัยรายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบ ภายในชุมชน
และประเทศ ความตื่นรจู ะบังเกิดเมือ่ ไดพบเหน็ สถานการณท่ีเสีย่ งตอการทจุ รติ ยอ มจะมปี ฏิกริ ิยาเฝา ระวงั และ

39

ไมยินยอมตอการทุจริตในทส่ี ุดซงึ่ ตอ งใหความรูความเขา ใจเกยี่ วกบั สถานการณการทุจริตท่ีเกิดข้ึน ความรายแรง
และผลกระทบตอระดับบุคคลและสวนรวม

4) O (Onward) : มุงไปขางหนา หมายถึง ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน
มุงพัฒนาและปรับเปล่ียนตนเองและสวนรวมใหมีความเจริญกาวหนาอยางย่ังยืน บนฐานความโปรงใส
ความพอเพียงและรวมสรางวัฒนธรรมสุจริตใหเกิดขึ้นอยางไมยอทอ ซึ่งตองมีความรูความเขาใจในประเด็น
ดงั กลาว

5) N (Knowledge) : ความรู หมายถงึ ผูนํา ผูบริหาร บุคคลทุกระดับ องคกรและชุมชน ตองมี
ความรูความเขาใจสามารถนําความรูไปใช สามารถวิเคราะห สังเคราะห ประเมินไดอยางถองแท ในเร่ือง
สถานการณก ารทจุ ริต ผลกระทบทม่ี ีตอ ตนเองและสวนรวม ความพอเพียงตานทุจริต การแยกแยะผลประโยชน
สว นตนและผลประโยชนส ว นรวมทมี่ ีความสําคัญยงิ่ ตอการลดการทุจรติ ในระยะยาว รวมท้ัง ความอายไมกลา
กระทําการทุจรติ และเกิดความไมท นเม่อื พบเหน็ วา มีการทุจริตเกดิ ข้ึนเพือ่ สรา งสงั คมไมท นตอ การทุจริต

6) G (Generosity) : ความเอ้ืออาทร หมายถงึ คนไทยมีความเอื้ออาทร มีเมตตา มีนํ้าใจ ตอกัน
บนฐานของจติ พอเพียงตานทจุ ริต ไมเอือ้ ตอ การรบั หรือการใหผลประโยชนตอ พวกพอ ง

40

เรือ่ งที่ 2 การประยกุ ตหลกั ความพอเพียงดว ยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ รติ

การนาํ หลกั ความพอเพยี งมาประยกุ ตใชด วยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ ริต มาใชในเร่อื ง
ตา ง ๆ ตอ ไปน้ี

2.1 ความพอเพยี ง (Sufficient)
พระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลที่ 9) พระราชทานแกบุคคลตาง ๆ ท่ีเขาเฝาฯ
ถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต
วันที่ 4 ธันวาคม 2541
“...คําวาพอเพียง มีความหมายกวางออกไปอีก ไมไดหมายถึงการมีพอสําหรับใชของตัวเองมี
ความหมายวาพอมี พอกิน พอมีพอกินนี้ ถาใครไดมาอยูท่ีนี่ ในศาลาน้ีเม่ือ 24 ป 2517 ถึง 2541 ก็ 24 ป
ใชไหม วันนั้นไดพูดถึงวา เราควรจะปฏิบัติใหพอมีพอกิน พอมี พอกินน้ีก็แปลวาเศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง
ถาแตละคนพอมี พอกิน ก็ใชได ย่ิงถาท้ังประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดีและประเทศไทยก็เวลาน้ัน ก็เร่ิมจะเปน
ไมพ อมี บางคนกม็ ีมาก บางคนกไ็ มมเี ลย สมัยกอ นน้พี อมพี อกนิ มาสมัยนชี้ ักจะไมพอมีพอกิน จงึ ตอ งมนี โยบาย
ที่จะทําเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือท่จี ะใหทุกคนมพี อเพยี งได...”
“...คําวาพอก็เพียง พอเพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย
เม่อื มีความโลภนอย ก็เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาทุกประเทศใดมีความคิด อันน้ีไมใชเศรษฐกิจ มีความคิดวา
ทําอะไรตองพอเพยี ง หมายความวา พอประมาณ ไมส ุดโตง ไมโลภอยา งมาก คนเรากอ็ ยูเปน สุข พอเพียงน้ีอาจจะ
มมี าก อาจจะมีของหรหู ราก็ได แตวา ตองไมไปเบียดเบียนคนอนื่ ตองใหพอประมาณ พูดจาก็พอเพยี ง ทําอะไร
ก็พอเพยี ง ปฏบิ ัติตนก็พอเพียง...”
“...อยา งเคยพูดเหมอื นกนั วา ทานท้งั หลายทนี่ ัง่ อยตู รงนี้ ถาไมพ อเพียง คือ อยากจะไปนั่งบนเกาอ้ี
ของผูท ีอ่ ยูขาง ๆ อันนั้นไมพอเพียงและทาํ ไมได ถา อยากน่งั อยางนน้ั ก็เดอื นรอนกนั แนเ พราะวา อดึ อดั จะทําให
ทะเลาะกัน และเม่อื มีการทะเลาะกนั กไ็ มม ปี ระโยชนเ ลย ฉะนั้น ควรทีจ่ ะคิดวาทําอะไรพอเพียง...”
“...ถาใครมีความคิดอยางหน่ึงและตองการใหคนอื่นมีความคิดอยางเดียวกับตัวซ่ึงอาจจะไมถูก
อันน้กี ไ็ มพอเพียง การพอเพียงในความคิดก็คือ แสดงความคิด ความเห็นของตัว และปลอยใหอีกคนพูดบาง
และมาพิจารณาวาท่เี ขาพูดกบั ทเี่ ราพดู อนั ไหนพอเพยี ง อันไหนเขาเรือ่ ง ถาไมเขาเรื่องก็แกไขเพราะวาถาพูด
กันโดยท่ีไมร ูเรื่องกัน ก็จะกลายเปนการทะเลาะ จากการทะเลาะดวยวาจาก็กลายเปนการทะเลาะดวยกาย
ซ่งึ ในทส่ี ดุ กน็ ํามาสคู วามเสยี หาย เสียหายแกคนสองคนที่เปนตัวการ เปนตัวละครท้ังสองคน ถาเปนหมูก็เลย
เปนการตีกนั อยา งรนุ แรง ซึ่งจะทําใหคนอื่นอีกมากเดือดรอน ฉะนัน้ ความพอเพียงน้ีก็แปลวา ความพอประมาณ
และความมีเหตุผล...”

41

การนอ มนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปฏิบัติ
“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ
ต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถึงระดบั รัฐ ทง้ั ในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศใหด าํ เนนิ ไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบ
ภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
ทั้งนีจ้ ะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางย่ิงในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการ
วางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธรุ กิจในทกุ ระดับ ใหม ีสํานึกในคุณธรรมความซอื่ สตั ยส ุจริต และ
ใหมคี วามรอบรูท่ีเหมาะสม ดาํ เนินชีวติ ดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อให
สมดลุ และพรอมตอการรองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยา งดี”
การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ ทุกคนสามารถนําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลักปฏิบัติในการดําเนินชีวิตได ไมใชเฉพาะในหมูคนจนหรือเกษตรกร โดยตอง
“ระเบิดจากขางใน” คือ การเกดิ จิตสาํ นึก มคี วามศรัทธา เชื่อม่นั เหน็ คณุ คา และนําไปปฏิบัติดวยตนเอง แลวจึง
ขยายไปสูครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาตติ อไป
ความพอเพียงระดับบคุ คลและครอบครัว มงุ เนนใหบคุ คลและครอบครัวอยูรวมกันอยางมีความสุข
ทง้ั ทางกายและทางใจ พึ่งพาตนเองอยางเต็มความสามารถ ไมทําอะไรเกินตัว ดําเนินชีวิตโดยไมเบียดเบียน
ตนเองและผูอนื่ รวมทัง้ ใฝรูและมีการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง เพ่ือความมั่นคงในอนาคต และเปนท่ีพ่ึงให
ผูอ่ืนไดใ นทส่ี ดุ เชน หาปจ จยั ส่ีมาเล้ียงตนเองและครอบครวั จากการประกอบสมั มาชพี รขู อมลู รายรบั -รายจา ย
ประหยัดแตไมใชตระหนี่ ลด-ละ-เลิก อบายมุข สอนใหเด็กรูจักคุณคา รูจักใช และรูจักออมเงินและส่ิงของ
เครื่องใช ดูแลรักษาสุขภาพ มีการแบงปนภายในครอบครัว ชุมชน และสังคมรอบขาง รวมถึงการรักษา
วัฒนธรรม ประเพณี และการอยรู ว มกบั ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมไดอ ยา งเหมาะสม
ความพอเพยี งระดับชุมชน คนในชุมชนมกี ารรวมกลุมกันทาํ ประโยชนเพ่อื สว นรวม ชวยเหลือเก้ือกูลกนั
ภายในชุมชนบนหลักของความรูรักสามัคคี สรางเปนเครือขายเชื่อมโยงกันในชุมชนและนอกชุมชนทั้งดาน
เศรษฐกจิ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม เชน การวมกลมุ อาชีพ องคกรการเงิน สวัสดิการชุมชน
การชว ยดูแลรักษาความสงบ ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอย รวมท้ังการใชภูมิปญญาทองถ่ินและ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในชุมชนมาสรางประโยชนไดอยางเหมาะสม เพ่ือสรางเสริมชุมชนใหมี
ความเขมแข็งและมคี วามเปน อยทู พ่ี อเพยี ง
ความพอเพยี งในภาคธุรกิจเอกชน เร่ิมจากความมุงมั่นในการดําเนินธุรกิจท่ีหวังผลประโยชนหรือ
กําไรในระยะยาวมากกวาระยะสั้น แสวงหาผลตอบแทนบนพื้นฐานของการแบงปน มุงใหทุกฝายที่เกี่ยวของ
ไดรับประโยชนอยางเหมาะสมและเปน ธรรมทง้ั ลกู คา คูคา ผูถือหุน และพนักงานดานการขยายธุรกิจตองทํา
อยางคอยเปนคอยไป รวมทั้งตองมีความรูและเขาใจธุรกิจของตนเอง รูจักลูกคา ศึกษาคูแขง และเรียนรู

42

การตลาดอยางถองแท ผลิตในสิ่งที่ถนัดและทําตามกําลังสรางเอกลักษณท่ีแตกตางและพัฒนาคุณภาพ
ผลติ ภัณฑอยางตอเนอ่ื ง มีการเตรยี มความพรอมตอ การเปลีย่ นแปลงทอ่ี าจเกดิ ข้นึ มคี วามซอื่ สตั ยรบั ผิดชอบตอ
สังคมและปอ งกันผลกระทบตอ สงิ่ แวดลอ ม ท่ีสําคญั ตองสรา งเสรมิ ความรแู ละจดั สวัสดกิ ารใหแกพ นกั งานอยาง
เหมาะสม

ความพอเพียงระดับประเทศ เปนการบริหารจัดการประเทศ โดยเร่ิมจากการวางรากฐาน
ใหประชาชนสวนใหญอยูอยางพอมีพอกิน และพ่ึงตนเองได มีความรูและคุณธรรมในการดําเนินชีวิต มีการ
รวมกลมุ ของชมุ ชนหลาย ๆ แหง เพื่อแลกเปล่ียนความรู สืบทอดภูมิปญญา และรวมกันพัฒนาตามแนวทาง
เศรษฐกจิ พอเพียงอยางรู รักสามัคคี เสริมสรางเครือขายเช่ือมโยงระหวางชุมชนใหเกิดเปนสังคมแหงความ
พอเพยี งในทีส่ ดุ

การประยกุ ตใ ชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในดานตา ง ๆ
ดานเศรษฐกิจ ไมใชจายเกินตัว ไมลงทุนเกินขนาด คิดและวางแผนอยางรอบคอบ มีภูมิคุมกัน
ไมเ สี่ยงเกินไป
ดา นจิตใจ มีจิตใจเขมแข็ง มีจิตสํานึกที่ดี เอ้ืออาทร เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชน
สว นตวั
ดา นสังคมและวัฒนธรรม ชว ยเหลือเก้ือกูลกัน รูรัก สามัคคี สรางความเขมแข็งใหครอบครัวและ
ชมุ ชน รักษาเอกลกั ษณ ภาษา ภมู ปิ ญญา และวัฒนธรรมไทย
ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รูจักใชและจัดการอยางฉลาดและรอบคอบ ฟนฟู
ทรพั ยากรเพอ่ื ใหเ กิดความย่งั ยืนและคงอยชู วั่ ลูกหลาน
ดา นเทคโนโลยี รูจักใชเ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพแวดลอมและ
พฒั นาเทคโนโลยีจากภมู ิปญ ญาชาวบา น
ผลทีค่ าดวา จะไดร ับ
การนอมนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกตใชในทุกภาคสวนของสังคมอยางจริงจัง
จะสง ผลใหการพฒั นาประเทศกาวหนาไปอยางสมดลุ ม่ันคง และยั่งยืน พรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน
ทั้งดานชีวิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี อันจะนําไปสู “ความอยูเย็นเปนสุข
รว มกนั ในสงั คมไทย”

43

แบบอยางในเรอ่ื งของความพอเพียง

เร่ือง ฉลองพระองค บนความ “พอเพยี ง” : หนังสอื พิมพค มชดั ลกึ 24 ตุลาคม 2559

นายสุนทร ชนะศรีโยธิน เจาของรานสูท “วินสัน เทเลอร” ไดบอกเลาพระราชจริยวัตรในดาน
“ความพอเพียง” ท่ีพระองคทานทรงปฏิบัติมาอยางตอเนื่องวา “นายตํารวจนํามาใหผมซอมเปนผารัดอก
สาํ หรับเลน เรือใบสภาพเกา มากแลว นายตํารวจทา นน้นั บอกวา ไมม รี า นไหนยอมซอ มใหเลย ผมเห็นวายังแกไขได
ก็รับมาซอ มแซมใหไ มคดิ เงนิ เพราะแคนึกอยางบริการแกไขใหดีใหลูกคาประทับใจ แตไมรูมากอนวาเขาเปน
เจา หนาทใี่ นพระราชสํานัก ตอนนนั้ ผมบอกไมค ิดคาตดั บอกเขาวา ไมร ับเงิน แกไ ขแคน้ี ผมมีน้ําใจ ผมเปดรานเส้ือ
เพราะตองการใหม ชี ่อื เสยี งดานคุณภาพและบริการลูกคามากกวา แกไขนิดเดียวก็อยากทําใหเขาดี ๆ ไมตอง
เสียเงิน ตอนน้ันเขาถามผมอีกวา แลวจะเอามาใหทําอีกไดไหม เราก็บอกไดเลย ผมบริการให จากน้ันเราก็
รบั แกช ดุ ใหน ายตาํ รวจทานน้เี ร่อื ย ๆ เขาขอใหค ิดเงนิ ก็ไมค ิดให พอครงั้ ท่ี 5 นี่สิทานเอาผามา 4 - 5 ผืน จะใหตัด
ถามผมวา เทาไหร ๆ แลวก็รีบควักนามบัตรมาใหผม ทานช่ือ พล.ต.ต.จรัส สุดเสถียร ตําแหนงเขียนวา
เปนนายตาํ รวจประจาํ ราชสํานกั ทา นบอกวา “สิง่ ที่เถา แกทาํ ใหเปน ของพระเจา อยูหวั นะ” ผมองึ้ มากรีบยกมือ
ทวมหัว “ดีใจท่ีไดรับใชเบ้ืองพระยุคลบาทแลว” นายสุนทรเลาดวยนํ้าเสียงตื้นตันใจแตละฉลองพระองค
ท่ีไดรับมาใหซอมแซม ถาเปนคนอ่ืนผาเกาขนาดนั้นเขาไมซอมกันแลว เอาไปทิ้งหรือใหคนอ่ืน ๆ ไดแลว
แตพ ระเจา อยูหวั รัชกาลท่ี 9 ทรงมคี วามมัธยัสถแตล ะองคที่เอามาเกามาก เชน เสื้อสูทสฟี าชัยพฒั นา ผาเกาสีซีด
มากแลว ตรงตราชัยพัฒนามัวหมอง ตรงดิ้นทองก็หลุดเกือบหมด ผมเอามาแกะหมดเลยใหโรงงานปกใหม
ใหเ หมอื นแบบเดมิ เพราะเขา ใจวาทา นอยากไดฉลองพระองคองคเดิม แตเปลี่ยนตราใหดูใหม ถาสมมติวันนี้
มเี จาหนา ทม่ี าสงซอ ม พรุง นีเ้ ยน็ ๆ ผมก็ทาํ เสร็จสงคนื เขาไป เจา หนาทท่ี ีม่ ารบั ฉลองพระองคช อบถามวา ทําไม
ทําไว ผมตอบเลยวา เพราะตัง้ ใจถวายงานครับ ผมอยผู ืนแผน ดินไทย ใตรม พระบารมีของพระองค ผมก็อยาก
ไดร ับใชเ บ้อื งพระยุคลบาทสักเรื่อง ผมเปน แคชางตัดเส้ือ ไดร บั ใชข นาดนี้ผมกป็ ลมื้ ปต ทิ ีส่ ุดแลว

“ผมถอื โอกาสนําหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงของพระองคท านมาใชต ลอด เสื้อผาเกา ๆ ท่ีไดรับมาวันแรก
ทาํ ใหร วู า พระองคทรงอยูอ ยางประหยัด มธั ยสั ถ ทรงเปนแบบอยางความพอเพียงใหแกประชาชนและเม่ือได
ถวายงานบอ ยคร้ัง ทาํ ใหผมตระหนักวา คนเราวันหนง่ึ ตอ งคิดพจิ ารณาตวั อยางวาสิ่งไหนบกพรอ งก็ตอ งแกไ ขสิ่งนั้น
ทุกคนตอ งแกไ ขสิ่งทบ่ี กพรองกอน งานถึงจะบรรลเุ ปา หมาย และเม่ือประสบความสําเร็จแลวอยาลืมต้ังใจทํา
ส่ิงดี ๆ ใหประเทศชาติตลอดไป” ขอคิดและขอปฏิบัติดี ๆ ท่ีชางสุนทรไดรับจากพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
อดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี 9)

44

ฉลองพระบาท ก. เปรมศลิ ป ชางซอ มฉลองพระบาท รอยเทา ในหลวง ร. 9 รอยเทา ของความพอเพยี ง
นายศรไกร แนน ศรนี ลิ หรือชางไก ชางนอกราชสาํ นักผถู วายงานซอมฉลองพระบาทในหลวง รัชกาลท่ี 9

มานานกวา 10 ป ปจจุบันยังเปนเจา ของรา นซอมรองเทา ก. เปรมศิลป บริเวณส่แี ยกพิชยั เขตดุสิต กรุงเทพฯ
ประมาณป 2546 มลี กู คา สวมชดุ พระราชสาํ นักมา 2 คน เดินประคองถุงผาลายสกอต ดานในเปนรองเทาเขามา
ในราน พอวางรองเทาก็กมลงกราบ เลยถามวา เอาอะไรมาให ลูกคารายน้ันตอบวา ฉลองพระบาทของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัว รัชกาลที่ 9 ไดย ินเทา น้นั ทําตัวไมถกู ขนลุก พูดอะไรไมถูก ในใจคิดแตเพียงวา
โชคดแี ลว ไมน กึ ไมฝ น วา จะมโี อกาสไดซ อมรองเทา ของเจาฟา เจา แผนดิน ชางไกเลาวา “รองเทาคูแรกที่ในหลวง
รัชกาลที่ 9 ทรงนํามาซอม เปนรองเทาหนังสีดํา ทรงคัทชู แบรนดไทยเปนฉลองพระบาทคูโปรดของพระองค
เบอร 43 เทา ทสี่ ังเกตสภาพชํารดุ ทรุดโทรม ราวกบั ใสใชงานมาแลวหลายสบิ ป ภายในรองเทาผุกรอนหลุดลอก
หลายแหง ถาเปน คนทั่วไปจะแนะนาํ ใหท งิ้ แลวซื้อใหม”

“จริง ๆ ผมใชเวลาซอมรองเทา คนู นั้ ไมถงึ 1 ช่ัวโมงก็เสร็จ แตดวยความที่อยากใหรองเทาคูน้ันอยู
ในบา นใหน าน เลยบอกเจาหนา ทีว่ า ใชเวลาซอ ม 1 เดอื น ซ่งึ ฉลองพระบาทคูนี้ ทรงโปรดใชท รงดนตร”ี

นับจากน้นั เปน ตนมาชางไกย งั มโี อกาสไดถวายงานซอมฉลองพระบาทอีกหลายคู ซ่ึงคูที่ 2 และคูท่ี 3
เปน รองเทา หนงั สีดาํ ทรงคทั ชู คูท ี่ 4 ฉลองพระบาทหนังววั ทรงฮาฟ มกั ใสในงานราชพิธีซ่ึงฉลองพระบาทคูนี้
มรี อยพระบาทตดิ มากบั แผน รองเทา ชา งไกเก็บแผนรองเทา ไวทีร่ า นเพ่ือความเปน สริ ิมงคล สว นฉลองพระบาท
คทู ี่ 5 ทรงนํามาเปล่ียนพืน้ ฉลองพระบาทคทู ี่ 6 เปนรองเทา เปด สน ซงึ่ คุณทองแดงสนุ ัขทรงเล้ียงกัด รวมแลว
ท้ังหมด 6 คู

“ผมซอมฉลองพระบาททุกคอู ยางสดุ ความสามารถ ซ่ึงรองเทา ของพระองคจะนําไปวางปนกับของ
ลูกคาคนอื่นไมได เลยซือ้ พานมาใสพรอ มกบั ผาสีเหลืองมารอง แลวนําไปวางไวท่ีสูงที่สุดในรานเพราะทานคง
ทรงโปรดมาก สภาพรองเทาชํารุดมาก ซับในรองเทาหลุดออกมาหมด ถาเปนเศรษฐีทั่วไปคงจะไมนํามาใชแลว
แตนี่พระองคย งั ทรงใชค ูเ ดิมอยู”

ประการสําคัญท่ีทําใหชายผูน้ีไดเรียนรูจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล-
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9)
คอื “ความพอเพียง” ขนาดฉลองพระบาทขาดและเกา ยังสงมาซอ ม หากคนไทยเดนิ ตามรอยของพระองคทาน
ชวี ติ ไมฟ ุงเฟอจะเปนสขุ กันมากกวาน้ี

“ดร. สเุ มธ ตันติเวชกุล” เขียนไวใ นหนังสอื “ใตเบอ้ื งพระยุคลบาท”
“...พระองคทา น ทรงเปน ผนู าํ อยา งแทจริง ดูแคฉลองพระบาท เปนตน พวกตามเสด็จฯ ท้ังหลาย
ใสร องเทานอก และย่ิงมาจากตางประเทศใสแลวนุมเทาดี พระองคกลับทรงรองเทาที่ผลิตในเมืองไทยคูละ
รอ ยกวาบาทสดี าํ เหมอื นอยา งทีน่ ักเรยี นใสกัน แมกระท่งั พวกเรายังไมซื้อใสเลย...”

45

กจิ กรรมท่ี 1

1. ใหผูเรียนตอบคาํ ถาม ตอไปนี้
1.1 ความพอเพยี ง มคี วามหมายวา อยางไร

1.2 ยกตวั อยา งพฤตกิ รรมท่แี สดงใหเ หน็ วา ผูเรยี นใชชวี ิตพอเพียง

46

1.3 บอกประโยชนของการปฏิบัตติ นอยางพอเพียงท่ีสง ผลตอตนเอง ผูอ่นื และประเทศชาติ

47

กิจกรรมที่ 2

ใหผ ูเ รยี นแบง กลมุ ศกึ ษาขาวเกีย่ วกบั การทจุ รติ จากส่ือส่ิงพมิ พ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส พรอ มสรปุ โดยเตมิ คํา
ในชอ งวางในแผนภมู ิ

พฤติกรรมทีท่ จุ รติ
โดยไมมีความพอเพียง

กจิ กรรมท่ี 2

48

2.2 ความโปรง ใส (Transparency)

ความหมาย
ความโปรงใส (Transparency) หมายถึง การกระทําใด ๆ ของภาครัฐทั้งในระดับบุคคลและ
องคกรที่ผูอ่ืนสามารถมองเห็นได คาดเดาได และเขาใจได ครอบคลุมถึงทุกการกระทําท่ีเปนผลจากการ
ตัดสนิ ใจของผบู ริหาร การดําเนินงานทางธุรกิจ และงานสาธารณประโยชนตาง ๆ เชน การมีระบบงานและ
ขนั้ ตอนการทํางานท่ีชดั เจน ซ่ึงดูไดจาก กฎ ระเบียบ หรือประกาศ การมีหลักเกณฑประเมินหรือการใหคุณ
ใหโ ทษทีช่ ดั เจน การเปด เผยขอมลู ขา วสารทถ่ี ูกตอ งอยางตรงไปตรงมา ความโปรง ใส จึงเปนเคร่ืองมือที่สําคัญ
ในการตรวจสอบความถูกตอง และชวยปองกันไมใหเกิดการทุจริต รวมท้ังนําไปสูการสรางความไววางใจ
ซ่ึงกันและกันทง้ั ระหวา งผปู ฏิบัตริ วมกันในองคก รเดียวกนั ระหวา งประชาชนตอรัฐไปจนถงึ ระหวา งคนในชาติดวยกัน
ดังนัน้ ทุกองคก รไมว า จะเปน หนว ยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน ควรปรับปรุงกลไกการทาํ งานใหมคี วามโปรงใส
มีการเปด เผยขอ มูลขา วสารทเี่ ปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาทเ่ี ขา ใจงา ย เพ่ือประชาชนจะไดเขาถงึ
ขอมลู ขาวสารไดโ ดยสะดวก และชวยตรวจสอบความถูกตองในการทาํ งานได
ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
การทุจริต มีผลกระทบตอ การพัฒนาประเทศ ทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายอยางมากในดานตาง ๆ หาก
นําเงินท่ีทจุ รติ มาพัฒนาในสว นอน่ื ความเจรญิ หรอื การไดร บั โอกาสของผูดอ ยโอกาสกจ็ ะมีมากขึ้น ความเหล่ือม
ล้ําดานโอกาสทางดานสังคม ทางดานการศึกษา ฯลฯ ของประชาชนในประเทศก็จะลดนอยลง ดังที่เห็น
ในปจ จบุ ันวา ความเจรญิ ตา ง ๆ มักอยูก ับคนในเมืองมากกวา ชนบท ทงั้ ๆ ท่คี นชนบทกค็ อื ประชาชนสวนหน่ึง
ของประเทศ แตเพราะอะไร ทาํ ไมประชาชนเหลาน้นั จงึ ไมไดรับโอกาสท่ีทัดเทียมหรือใกลเคียงกับคนในเมือง
ปจจยั หนง่ึ คือ การทจุ รติ สาเหตุการเกดิ การทุจรติ มหี ลายประการตามที่กลา วมาขา งตน แตทําอยางไรจึงทําให
มีการทุจรติ ไดม าก อยา งหนงึ่ คอื การลงทุน เม่อื มกี ารลงทนุ ก็ยอมมีงบประมาณ เม่อื มีงบประมาณกเ็ ปน สาเหตุ
ใหบุคคลท่ีทุจริตสามารถหาชองทางดังกลาวในการทุจริตได แมประเทศไทยจะมีกฎหมายหลายฉบับ
เพือ่ ปองกนั การทุจรติ และปราบปรามการทุจรติ แตน่นั กค็ อื ตวั หนงั สือทีไ่ ดเ ขยี นไว แตการบงั คับใชยงั ไมจ รงิ จงั
เทาที่ควรและย่ิงไปกวานั้น หากประชาชนเห็นวาเรื่องดังกลาวไมเก่ียวของกับตนเองก็มักจะไมอยากเขาไป
เกย่ี วขอ ง เนอ่ื งจากตนเองก็ไมไ ดรบั ผลกระทบท่เี กิดขึ้น แตก ารคดิ ดังกลาวเปนส่ิงผิด เนื่องจากตนเอง อาจจะ
ไมไ ดร บั ผลกระทบโดยตรงตอ การทม่ี คี นทุจริต แตโดยออ มแลว ถือวา ใช เชน เม่อื มีการทุจริตมาก งบประมาณ
ของประเทศท่ีจะพฒั นาหรือลงทนุ กล็ ดนอยลง อาจสง ผลใหป ระเทศไมสามารถจา งแรงงานหรือลงทุนได
ความเสียหายทีเ่ กดิ จากการทุจรติ หากเปน การทุจริตในโครงการใหญ ๆ แลว ปริมาณเงินที่ทุจริต
ยอมมมี าก ความเสียหายก็ยอมมีมากไปดวย ซึ่งจะเห็นไดวาความเสียหายที่เกิดข้ึนน้ันมีมูลคามากมาย และ
น่เี ปน เพียงโครงการเดยี วเทานน้ั หากรวมเอาการทจุ ริตหลาย ๆ โครงการ หลาย ๆ กรณีเขาดวยกัน จะพบวา
ความเสียหายทเี่ กดิ ข้นึ มานน้ั มากมายมหาศาล ดงั น้นั เมื่อเปน เชนน้ีแลว ประชาชนจะตองมคี วามต่ืนตัวในการที่
จะรว มมือกันปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต รวมมอื กันในการเฝา ระวงั เหตกุ ารณ สถานการณท่ีอาจเกิดการ
ทุจรติ ได เม่ือประชาชนรวมทงั้ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจมีความต่ืนตัวท่ีจะรวมมือกันในการแกไขปญหาดังกลาว
ปญหาการทุจริตกจ็ ะถือเปน ปญหาเพียงเลก็ นอ ยของประเทศไทย เพราะไมว า จะทาํ อยา งไรกจ็ ะมีการสอดสอง

49

ติดตาม เฝา ระวงั เร่ืองการทุจริตอยางตอเน่ือง ดังนั้นแลวสิ่งสําคัญสิ่งแรกท่ีจะตองสรางใหเกิดข้ึน คือ ความ
ตระหนักรถู งึ ผลเสยี ทเ่ี กิดขน้ึ จากการทจุ รติ สรางใหเกิดการต่ืนตัวตอการปราบปรามการทุจริต การไมทนตอ
การทุจริต ใหเกดิ ขน้ึ ในสังคมไทย

เมื่อประชาชนในประเทศมีความตื่นตัวที่วา “ไมทนตอการทุจริต” แลว จะทําใหเกิดกระแสการ
ตอ ตานการกระทาํ ทจุ รติ และคนทที่ ําทจุ ริตก็จะเกดิ ความละอายไมกลา ที่จะทจุ รติ ตอ ไป เชน หากพบเห็นวามี
การทจุ ริตเกดิ ขึน้ อาจมีการบันทึกเหตุการณหรือลักษณะการกระทํา แลวแจงขอมูลเหลานั้นไปยังหนวยงาน
หรือสื่อมวลชนเพ่ือรวมกันตรวจสอบการกระทําท่ีเกิดขึ้น และยิ่งในปจจุบันเปนสังคมสมัยใหม และกําลัง
เดินหนาประเทศไทยใหกาวสูยุคไทยแลนด 4.0 แตการจะเปน 4.0 ใหสมบูรณแบบไดน้ัน ปญหาการทุจริต
จะตองลดนอยลงไปดวย เมื่อประชาชนมีความตื่นตัวตอการท่ีไมทนตอการทุจริตแลว ผลที่เกิดขึ้นจะเปน
อยางไร

ตัวอยางทจี่ ะนาํ มากลา วถงึ ตอไปนเ้ี ปนกรณที ีเ่ กดิ ขึ้นในตางประเทศ แสดงใหเห็นถึงการไมท นตอ การ
ทจุ รติ ทีป่ ระชาชนไดลกุ ขึ้นมาสตู อ ตานนกั การเมืองทที่ ําทุจรติ จนในทีส่ ดุ นักการเมอื งเหลาน้ันหมดอํานาจทาง
การเมืองและไดรบั บทลงโทษท้งั ทางสงั คมและทางกฎหมาย ดังนี้

ที่มา : http://www.bbc.com/thai/international-39227441

ประเทศเกาหลีใต เกาหลีใต ถือเปนประเทศหน่ึงที่ประสบความสําเร็จในดานการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ แตย ังคงมปี ญ หาการทจุ ริตเกิดข้ึนอยบู าง เชน เม่อื ป พ.ศ.2559 มีขาวของประธานาธิบดี
ถกู ปลดออกจากตําแหนง เพราะเขา ไปมสี ว นเกยี่ วของในการเอือ้ ประโยชนใ หพ วกพองโดยการถูกกลาวหาวาให
เพ่ือนสนทิ ของครอบครวั เขามาแทรกแซงการบริหารประเทศ รวมถึงใชค วามสมั พันธทใี่ กลช ดิ กบั ประธานาธิบดี
แสวงหาผลประโยชนส ว นตัว ผลทีเ่ กิดข้นึ คอื ถูกดาํ เนนิ คดีและต้งั ขอ หาวาพวั พนั การทุจริตและใชอํานาจหนาที่
ในทางมิชอบ เพือ่ เอ้อื ผลประโยชนใหแ กพวกพอง กรณีทีเ่ กดิ ขึน้ นี้ประชาชนเกาหลีใตไดมีการรวมกันประทวง
กวาพนั คนเรยี กรองให ประธานาธบิ ดคี นดงั กลาวออกจากตาํ แหนง หลังมีเหตอุ อื้ ฉาวทางการเมือง

อีกกรณีทก่ี ลาวถงึ เพื่อเปนตัวอยางการตอตานการกระทําท่ีไมถูกตอง คือ การท่ีนักศึกษาคนหน่ึง
ไดเขาเรียนท่ีมหาวิทยาลัยท้ังที่ผลคะแนนท่ีเรียนมาน้ันไมไดสูง และการที่คุณสมบัติของนักศึกษาดังกลาว
มีคุณสมบตั ิไมตรงกับการคัดเลือกโควตานกั กีฬาท่ีกําหนดไวว า จะตอ งผา นการแขงขันประเภทเดี่ยว แตนักศึกษา

50
คนดังกลา วผา นการแขง ขันประเภททีมเทากับวา คณุ สมบัตไิ มถกู ตอง แตไดรับเขา เรยี นในมหาวิทยาลยั ดงั กลาว
การกระทําเชนน้ี จึงเปนสาเหตุหนึ่งของการนําไปสูการประทวงตอตานจากนักศึกษาและอาจารยของ
มหาวิทยาลัยดังกลาว ซ่ึงทางมหาวิทยาลัยก็ไมสามารถใหคําตอบท่ีชัดเจนแกกลุมผูประทวงได จนในท่ีสุด
ประธานมหาวทิ ยาลยั จึงลาออกจากตาํ แหนง

ท่ีมา : http://www.bbc.com/thai/international-39227441

ประเทศบราซลิ ปลายป พ.ศ. 2559 ประชาชนในประเทศบราซลิ ไดม กี ารชุมนมุ ประทว งการทุจริต
ทีเ่ กดิ ข้ึนเพือ่ เปน การแสดงออกถึงความไมพอใจตอวัฒนธรรม การโกงของระบบราชการของประเทศ โดยมี
ประชาชนจาํ นวนหลายหม่ืนคนเขารวมชุมนุมกันในคร้ังน้ี และมีการแสดงภาพหนูเพื่อเปนสัญลักษณในการ
ประณามนักการเมืองท่ที ุจรติ การประทว งดังกลาวยังถือวามีขนาดเล็กกวาครั้งกอน เพราะท่ีผานมาไดมีการ
ทุจริตเกิดขึ้นและมีการประทวง จนในที่สุดประธานาธิบดีไดถูกปลดจากตําแหนง เนื่องจากเปนการกระทํา
ท่ีละเมดิ ตอกฎระเบยี บเร่อื งงบประมาณ

ท่มี า : https://www.voathai.com/a/brazil-protests-petrobas/2683119.html

51

จากตัวอยางขา งตน แสดงใหเห็นถึงความต่ืนตัวของประชาชนท่ีออกมาตอตานการทุจริต ไมวาจะ
เปนการทจุ รติ ในระดบั หนวยเลก็ ๆ หรอื ระดับประเทศ ก็เปน การแสดงออกซึ่งการไมทนตอการทุจริต การไม
ทนตอการทุจริตแสดงออกมาไดห ลายระดับ ตง้ั แตก ารเหน็ คนอืน่ ท่กี ระทาํ ทุจรติ แลวตนเองรสู กึ ไมพอใจ มีการ
สง เร่ืองตรวจสอบ รองเรียน และในท่ีสุดคือการชุมนุม ประทวง ตามตัวอยางท่ีไดนํามาแสดงใหเห็นขางตน
ตราบใดท่สี ามารถสรางใหสงั คมไมทนตอการทุจริตได เมือ่ น้ันปญ หาการทุจรติ กจ็ ะลดนอยลง แตห ากจะใหเกดิ
ผลดยี ิ่งขึน้ จะตองสรางใหเกดิ ความละอายตอการทุจรติ ไมก ลาทจ่ี ะกระทําทจุ ริต โดยนาํ หลักธรรมทางศาสนา
มาเปนเคร่ืองมอื ในการสัง่ สอน อบรม ในขณะเดียวกันหากมีการทุจริตเกิดข้ึน กระบวนการในการแสดงออก
ตอการทุจริตจะตองเกิดข้ึน และมีการเปดเผยชื่อบุคคลท่ีทุจริตใหกับสาธารณชนไดรับทราบอยางท่ัวถึง
เม่อื สังคมมที งั้ กระบวนการในการปองกันการทุจรติ การปราบปรามการทุจรติ ทดี่ ี รวมถงึ การสรางใหสงั คมเปน
สังคมท่ไี มทนตอ การทจุ ริต มีความละอายตอ การกระทําทุจริตแลว ปญหาการทุจริตจะลดนอยลง ประเทศชาติ
จะสามารถพฒั นาไดม ากยิ่งข้นึ

สําหรับระดับการทุจริตท่ีเกิดข้ึน ไมวาจะเปนในระดับใดลวนแลวแตสงผลกระทบตอสังคมและ
ประเทศชาติท้ังส้ิน บางคร้ังการทุจริตเพียงเล็กนอยอาจนําไปสูการทุจริตอยางอื่นที่มากกวาเดิมได การมี
วัฒนธรรม คานิยม หรือความเชื่อท่ีถูกตองก็สงผลใหเกิดการทุจริตไดเชนกัน เชน การมอบเงินอุดหนุนแก
สถานศึกษา เพื่อใหบุตรของตนเองไดเขาศึกษาในสถานที่แหงน้ัน หากพิจารณาแลวอาจพบวา เปนการ
ชว ยเหลอื สถานศึกษา เพ่ือท่ีสถานศึกษาแหงน้ันจะไดนําเงินท่ีไดไปพัฒนาสภาพแวดลอม การเรียนการสอน
ของสถานศึกษาตอไป แตก ารกระทาํ ดงั กลา วนีไ้ มถกู ตอ ง เปนการปลกู ฝง ส่งิ ทีไ่ มดีใหเกดิ ขึ้นในสังคม และตอ ไป
หากกระทําเชนนี้เร่ือย ๆ จะมองวาเปนเรื่องปกติท่ีทุกคนทํากัน ไมมีความผิดแตอยางใด จนทําใหแบบแผน
หรือพฤติกรรมทางสังคมที่ดีถูกกลืนหายไปกับการกระทําท่ีไมเหมาะสมเหลาน้ี ตัวอยางเชน การมอบเงิน
แกสถานศึกษายังคงเกิดข้ึนในประเทศไทยอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะในสถานศึกษาที่มีช่ือเสียง ซ่ึงหลายคน
ตองการใหบตุ รของตนเขา ศึกษาในสถานทแ่ี หง น้นั แตดวยขอจํากัดท่ีไมสามารถรับนักเรียน นักศึกษาไดท้ังหมด
จึงทาํ ใหผูปกครองบางคนตองใหเ งนิ กับสถานศึกษาเพอื่ ใหบุตรตนเองไดเขาเรยี น

52

กิจกรรมท่ี 3

1. ผูเ รียนอา นขาวการทุจริตคอรรปั ชันจากหนงั สอื พิมพแ ลว รว มกนั อภปิ รายถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขน้ึ

2. ผูเรียนสํารวจปญ หาความไมโปรงใสของชุมชนตนเอง แลวรวมกันวิเคราะหผลกระทบที่เกิดข้ึนกับตนเอง
ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ และเสนอแนวทางการปอ งกันการทุจรติ

53

กิจกรรมท่ี 4

1. ใหผูเรียนชมคลปิ วิดีโอ ภาพยนตรส ัน้ เรอ่ื ง “เพื่อน” FRIENDS รางวลั ชนะเลิศประกวดโครงการ
“มหาวทิ ยาลัยโปรง ใส บณั ฑติ ไทยไมโ กง”

คลปิ วีดโิ อเรอ่ื ง “เพอื่ น” FRIENDS
แหลง สอ่ื https://www.youtube.com/watch?v=yZcG8xXxH6o

2. แบง กลมุ อภิปราย จากการชมคลิปภาพยนตรสัน้ กลุมละ 5 นาที
3. ผูเรียนรว มสรุปส่ิงท่ีไดจากการชมคลปิ ภาพยนตรส ้นั รวมกนั

54

2.3 ความตื่นรู (Realize)

ตน่ื คอื ตน่ื จากความหลง ความไมรู หรือ อวิชชา มสี ติอยูกับส่ิงที่เกิดขึ้น สิ่งท่ีอยูตรงหนา คนที่อยู
ตรงหนา คอื อยูกับส่ิงท่ที าํ คาํ พูด อยูกบั อริ ิยาบททเ่ี คลอ่ื นไหว

รู คอื รคู วามจรงิ ของชีวติ วา สรรพส่งิ ไมแ นนอน สรรพส่ิงไมไดดังใจ สรรพสิ่งไมมีอะไรสมบูรณ คือ
ไมเท่ยี ง ไมทน ไมแ ท หรืออกี ความหมายหนง่ึ คอื รูวาอะไรคอื ความทุกข อะไรคือการดับทกุ ข และอะไรคือเหตุ
แหง ทกุ ข รูวธิ ดี ับทกุ ข และรูว ธิ ีการจัดการความทุกขน ั้น

ต่นื รู คือ การมีสติ รคู วามจรงิ วา อะไรเปนเหตุ อะไรคอื ผลที่เกิด และอยูกบั สิง่ ที่เกดิ ขึน้ ท่ีอยตู รงหนา
รแู ละมีสติในการจดั การเหตทุ ่ีเกดิ ขน้ึ นน้ั ๆ วาตอ งทําอยางไร

สติ
สติ แปลวา ความระลกึ ได ความนึกข้ึนได ความไมเ ผลอ ฉกุ คดิ ขนึ้ ได
การคุมจิตไวในกิจ หมายถึง อาการท่ีจิตนึกถึงสิ่งท่ีจะทําจะพูดได นึกถึงสิ่งที่จําคําท่ีพูดไวแลวได
เปนอาการทีจ่ ิตไมห ลงลมื ระงบั ยับยง้ั ใจได ไมใหเ ลนิ เลอ พล้งั เผลอ ปองกันความเสียหายเบ้อื งตน ยับย้ังช่ังใจ
ไมบ ุมบาม เรียกอีกอยา งหนึ่งวา ความไมประมาท

55

กิจกรรมท่ี 5

1. ใหผ เู รียนอา นใบความรู เรือ่ ง การมสี ตติ ืน่ รู
ใบความรู

นทิ านเรอื่ ง การมสี ตติ ื่นรู
ชายหนุมคนหน่ึงเกิดมาในครอบครัวท่ียากจนมาก แถมยังไมมีงานทําอีกดวย เพราะเศรษฐกิจ
ในประเทศไทยตกต่ํา กําลังเผชิญปญหาวางงาน แตเขาเปนคนมีปญญาใฝรู เขาจึงขวนขวายไปทํางานที่
ตางประเทศ งานดีเงินดี เขาเปนคนขยัน มัธยัสถ อดออม สามารถเก็บสะสมเงินกอนโตไดในเวลาไมนาน
จึงตัดสินใจเดนิ ทางกลับบา นเกดิ เมอื งนอน เพอื่ ตั้งตัว ระหวางเดินทางกลับบานในชนบท เขาโดนโจรใชปนจ้ี
เอาเงิน เขานึกสลดสังเวชใจวา อุตสาหทํางานเหน่ือยยาก เก็บหอมรอมริบในตางประเทศ แตกลับมาเปน
ปลาตายน้ําต้ืนถกู จบ้ี านเราเอง อยา งไรก็ตามเพื่อความปลอดภัย เขาจาํ ใจมอบเงินทั้งกอนของเขาใหโจรไป ...
แตเขา จะไมยอมเสยี เงนิ ไปงาย ๆ หรอก.... เขาต้ังสติคิดหาเงนิ คืนจากโจร......
ชายหนุม “พี่ครับ ผมอุตสาหลงทุนลงแรงเดินทางไปทํางานเมืองนอกนูนเปนป ๆ เหนื่อยยาก แสน
สาหสั เพ่อื หาเงินมาเลีย้ งครอบครัว ผมบอกทางบานวา ผมหาเงินมาไดเยอะแยะ ทีน้ีพี่มาเอาเงินผมไปหมด
อยา งน้ี ผมกลบั ถงึ บานผมคงแยแน ๆ ทุกคนตองคิดวาผมโกหก คงไมมีใครเช่ือหรอกวาผมไปทํางานประสบ
ความสําเรจ็ จนรวย ไหน ๆ...พี่เอาเงนิ ผมไปแลว...ผมก็ไมร จู ะวา ยังไง...แตพ ่ชี วยผมบา งแลว กัน....ชวยรักษาหนา
ผมหนอ ย ชวยยงิ ปน ใสก ระเปาใสเงินใบน้สี กั สองนัดเถิดครับ ทางบานผมเขาจะไดเชื่อวาผมถูกจี้จริง ๆ ไมได
โกหก”
โจรอารมณด ีมาก เพราะจี้คร้งั นไี้ ดเ งนิ กอนโตเกินคาด
โจร “เอาสิ!”วา แลว กย็ งิ ปง! ปง! ใสก ระเปา ของชายหนมุ จนเปน รู
ชายหนมุ “ขอบคณุ มากครับ แตเ ออ ! ถา ทห่ี มวกก็โดนลกู กระสุนซกั นดั สองนัด มันก็นาจะดูสมจริงมากข้ึน
นะพ่”ี
โจร “ก็ได. ..ไมม ปี ญหา” วาแลวก็ยิง ปง! ปง! ทาํ ใหหมวกเปนรู
ชายหนุม “อีกสักสองนัดทเี่ ส้อื แจก็ เกต็ ผมดว ยครับ”
โจรกําลงั ตื่นเตนดใี จจนประมาท ขาดสติสัมปชัญญะ ยกปนยิงเสื้อแจ็กเก็ตชายหนุมทะลุ ขาดเปนรู
สองร.ู ...กระสนุ หกนดั ในกระบอกปน หมดเกลย้ี งพอด.ี ...
ชายหนุมผมู ีสตติ ้งั ม่นั คดิ หาอบุ ายใหโ จรยงิ อะไรกไ็ ดทไี่ มใชต ัวเขาจนหมดกระสุน ทันทีท่ีกระสุนหมด
และกอนที่โจรจะสํานึกได เขาก็วง่ิ เขาใสโ จร จโู จมอยางรวดเร็วจนสามารถจบั โจรได และเขากไ็ ดเ งินของเขาคืน
มาทง้ั หมด
ทานอาจารยวา นิทานเร่ืองน้ีสอนวา คนที่สามารถตั้งสติสงบอารมณได ยอมมีปญญาแกไขปญหาได
ดีกวา คนเจา อารมณ สําหรบั บางคนถาโดนโจรจ้ีหมดเงินหมดทอง ก็มักจะโอดครวญโทษเวรโทษกรรม หมด
กาํ ลังใจเสียใจจนไมคิดหาทางแกไ ข
คติคาํ สอน สติ จาํ เปน ในทีท่ ัง้ ปวง สติ สพพฺ ตถฺ ปตถฺ ยิ า

56

2. ใหผ เู รียนรว มกนั อภิปรายถงึ การแกป ญ หาของชายหนมุ กบั โจรวาใครมสี ตติ ่นื รมู ากกวา กัน

3. ถา ผเู รียนประสบปญ หาลกั ษณะนี้จะมวี ธิ ีแกป ญ หาท่ีดีอยา งไร

57

กจิ กรรมท่ี 6

1. ใหผเู รียนชมคลปิ วีดิโอ เรื่อง “ตื่นจากตัวตน – Inspired from NHNW3 – หวั ใจต่นื ร”ู จาก YouTube
และแบงกลมุ อภปิ รายกลมุ ละ 5 นาที พรอ มสรปุ สง่ิ ท่ไี ดจ ากการชมคลปิ วดี โิ อ

คลิปวดี โิ อเรอื่ ง “ตน่ื จากตัวตน – Inspired from NHNW3 – หวั ใจตื่นร”ู
แหลงสอื่ https://www.youtube.com/watch?v=JcfwTXcnbOU

58

2.4 มงุ ไปขา งหนา (Onward)

มุงไปขางหนา หมายถึง กาวหนา ตอไปขางหนา มุงหนาไป สําหรับ มุงไปขางหนา ในโมเดล
STRONG : จติ พอเพียงตานทจุ ริต หมายถงึ ผูน าํ มงุ พัฒนาใหเ กิดความเจริญอยางย่ังยืน โดยรวมสรางวัฒนธรรม
ไมทนตอ การทุจริตอยา งไมย อทอ

ทัง้ น้ี การมุงไปขางหนา หรอื การพฒั นาใหเ กิดความเจริญ จะสําเรจ็ ไดด ว ยการปลูกฝง บุคคลใหม ี
คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงความตั้งใจและรบั ผดิ ชอบของการทํางานดว ยความเพียรพยายาม โดยการฝกความ
มุง มัน่ ดวยวิธีการดังนี้

วธิ กี ารฝกความมงุ มนั่
การฝก ความมุงม่นั เปนสว นสาํ คญั ท่จี ะทําใหประสบความสาํ เรจ็ ในเปาหมายมากมาย และเมื่อ

เวลาผานไปก็จะเกิดความแข็งแรง โดยการฝกจิตใจและรางกายก็จะสามารถควบคุมตนเองไดดีและคิดใน
แงบวก ดังนนั้ การใหค วามสําคัญกบั แรงบนั ดาลใจ และกระบวนการท่ที ํา จะทาํ ใหม พี ลงั เพมิ่ ข้นึ อยา งยั่งยืน

ฝก ความมงุ ม่ันทางใจและกาย
1. ทนตอ ความเยา ยวนระยะส้นั ความมงุ ม่นั น้ันตองถูกฝก เพื่อจะไมยอมใหกับความเยายวนใจเล็ก ๆ
ที่เราเผชิญทกุ วนั โดยถา ฝกความอดทนตอ สิง่ น้นั ได ก็จะเปน การปพู ื้นฐานไปสูความมุงมั่นท่ีดีข้ึนในพื้นท่ีอื่น ๆ
ของชีวติ เชน ไมซือ้ ของทไี่ มจําเปน จากความอยาก เชน กาแฟ โทรศพั ทม อื ถอื รองเทา กระเปา ฯลฯ ท่เี กนิ ฐานะ
2. สรางแผน “ถา -จะ” การรูเ วลาลว งหนา วา จะทาํ อะไรเพอ่ื ทจ่ี ะหลกี เล่ยี งความเยายวนใจ หรือฝก
ความมุงมั่นจะชวยใหประสบความสําเร็จ โดยเม่ือพบกับสถานการณเชนน้ีใหทําตามขอความ “ถา-จะ”
เชน ถากําลังพยายามทาํ การบานใหเ สร็จตามท่ีครูกําหนด ตอ งคิดวา “ถา ทาํ การบานไมเ สรจ็ กจ็ ะไมมงี านสง คร”ู
3. อดทนรอคอย การมีความปรารถนาอาจจะทําใหเ กิดความพอใจไดในระยะสนั้ แตบางครั้งการอยู
หางไกลจากบางสิง่ ก็สามารถเพิม่ ความรูสึกในความมุง ม่นั และความพอใจโดยรวมได เชน การรอรับประทาน
อาหารพรอมครอบครวั แมวา จะหิวกต็ าม
4. ใหความสนใจกับรางกาย การใหความสนใจตอทาทาง การหายใจ สามารถเสริมความมุงม่ัน
และอารมณได เชน เตอื นตวั เองใหน่ังหลังตรง เปล่ียนอริ ยิ าบถทุก 1 ชัว่ โมง
5. การสรางวนิ ยั หรอื แรงจูงใจใหต นเอง ในการทําส่งิ ที่มปี ระโยชนแกรางกาย เชน การทําแผนการ
ดแู ลสุขภาพรา งกาย เมอื่ ปฏบิ ัตไิ ดแลว จึงปรับแผนพัฒนาดูแลรางกายใหมีการปฏิบัติมากขึ้น เชน การสราง
ตารางการออกกาํ ลงั กายวนั ละ 20 นาที แลวเพิ่มเปน 30 นาทีหรือมากกวาน้นั
6. ฝกตนเองใหคดิ บวกอยเู สมอ โดยการเปลย่ี นสถานการณใ นแงล บใหเปน แงบวก เชน ถาถูกยว่ั ให
คดิ วา “ฉนั ไมเคยทํามนั มากอ นและไมรจู ะทํายงั ไง” ก็ใหคิดวา “นเ่ี ปนโอกาสทีจ่ ะเรยี นรสู ง่ิ ใหม”
7. ทําสมาธิ การฝกทําสมาธงิ า ย ๆ สามารถเพิม่ ความรูสึกในการระวงั ตวั เอง เสรมิ อารมณ
ลดความเครียด ทําใหส ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตดี เชน การสวดมนต การฝก จิต และการฝก หายใจแบบโยคะ
เปนตน
8. สนใจในคุณธรรม เปนสวนหนึง่ ของเปา หมายของการใชความมงุ มน่ั เชน การแสดงความเห็นใจ
ตอ ความเปนอยูของผูอน่ื การเปน เพื่อนที่ดี การฝก ความอดทนและความซื่อสัตย เปนตน

59

กิจกรรมที่ 7

1. ใหผ เู รยี นอา นใบความรู เรือ่ ง หนทางแหง ความสาํ เร็จเราเลือกได แลว รว มกนั วิเคราะหท ม่ี าของความสําเรจ็
ของบคุ คลในประเดน็ ตอไปนี้
1.1 ไดร ับแงคิดอะไรบา งในการทาํ งานของตอบ อทิ ธพิ ทั ธ

1.2 อะไรคอื คณุ สมบตั ขิ องตอบ ท่ีทาํ ใหพ บกับความสําเรจ็ ในการดาํ เนินชีวติ

1.3 มสี ่ิงใดท่ผี ูเ รยี นคดิ วา เปน คณุ สมบัตทิ ่ีดขี องตนเองทส่ี ามารถนาํ ไปปฏบิ ัตจิ นเปน ผูมีความสําเรจ็ ในการ
ดาํ เนนิ สัมมาชพี ของตน

1.4 หากการทาํ งานของผูเรียนตองพบกับปญหา อุปสรรคท่ีทําใหการทํางานนั้นไมราบรื่น ผูเรียนจะมี
วธิ กี ารจัดการกบั ปญหาอยา งไร และจะนําไปใชใ นชวี ิตประจําวันของตนไดอยางไร

60

ใบความรู

เรอ่ื ง “หนทางแหงความสําเร็จเราเลอื กได”

หลายคนอาจจะไดด ูตวั อยางภาพยนตรเรื่อง “TOP SECRET วัยรุนพันลาน” กันมาแลว ดวยตัวอยาง
ที่นาติดตามตางจากภาพยนตรวัยใสทั่วไป เพราะภาพยนตรดังกลาวน้ันมีแรงบันดาลใจมาจากเร่ืองจริง
ของเด็กหนุมที่ตดิ เกมออนไลน เรยี นหนังสอื ไมเกง แถมถกู ประณามวา เปนเด็กไมเอาไหน แตใครจะรูวาเขาคนน้ัน
จะกลายมาเปนเศรษฐรี อยลานเพียง อายแุ ค 23 ปเทานั้น (รอยลานตอนอายุ 23 แตตอนน้ี 26 แลว )

อยากรูกันแลวใชไหมวาเขาคนน้ันคือใคร แลวทําไมเขาถึงกลายเปนเศรษฐีไดในเวลาอันส้ัน ไปทํา
ความรูจักกับ “ตอบ อทิ ธิพทั ธ กลุ พงษวณิชย” เจาของธุรกิจสาหรายทอดกรอบแบรนด “เถา แกนอย” กันเลย

ตอบ อิทธิพัทธ กุลพงษวณิชย เศรษฐีรอยลานคนน้ี กอนหนานี้เขาถูกตราหนาวาเปนคนไมเอาถาน
ไมสนใจเรียน ชวี ิตของ ตอบ มีแตคําวา “เกม” เทานั้น โดยตอบเริ่มเลนเกมออนไลน Everquest มาตั้งแต ม. 4
ถงึ ขนาดสะสมแตมจนรวยที่สดุ ในเซิรฟ เวอร และกลายเปนผทู ี่มชี ่ือเสยี งอยา งมากในเกมดงั กลาว จนมีฝรั่งมาขอซื้อ
ไอเท็มเดด็ ๆ ไอเท็มเจง ๆ ทหี่ ายากในเกมจากเขา และน่ันกเ็ ปนการเร่ิมตนสรางรายไดข องตอ บ ซ่ึงการซ้อื ขาย
ไอเท็มเกมดังกลาว บวกกับการที่เปนผูทดสอบระบบเกมในฐานะคนเลน ก็สรางรายไดใหเขาเปนกอบเปนกํา
จนมีเงนิ เก็บเปนหลักแสนบาทเลยทเี ดียว

ดวยความท่ีเปนเด็กติดเกม ตอบ อิทธิพัทธ จึงเรียนจบช้ันระดับมัธยมศึกษามาไดอยางยากลําบาก
และไดศ กึ ษาตอ ระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ซ่ึงตอนน้ันนั่นเองเขาก็เร่ิมกาวเขาสูถนนแหง
เสนทางธรุ กจิ พรอมตงั้ ใจจะทาํ ความฝน ของตัวเองใหเปน จรงิ ดว ยการมธี รุ กจิ เปนของตัวเอง

และในชวงจงั หวะทเ่ี กมออนไลนเ ร่มิ ไมเปนทน่ี ิยม เขาก็หารายไดจากชอ งทางอืน่ ดว ยการขายเคร่ืองเลนวี
ซดี ี ดทู าํ เลเปดรานกาแฟหนา มหาวิทยาลัย แตก็ไมเ ปนทีป่ ระสบความสําเร็จ จนกระท่ังเขาไดไปเดินงานแฟร
ชอ งทางธุรกจิ ซงึ่ ในงานนั้นมเี ฟรนไชสจากประเทศญ่ีปนุ มาออกบทู ดวยความที่เขาเปนคนชอบกินเกาลัดอยูแลว
เลยสนใจธุรกจิ นี้เปน พิเศษ จึงเขาไปสอบถามคาเฟรนไชสเกาลัดดังกลาว แตท วา ราคาสูงเกินกําลังที่เขามี เลยขอ
แคเ ชา ตคู วั่ เกาลดั เทาน้นั แลวมาสรางเฟรนไชสเ ปน ของตัวเอง และเมอ่ื วนั ที่เขาตอ งไปเซน็ สญั ญาซื้อขายเกาลัด
ทีห่ างแหง หน่ึง กอนออกจากบานเขาไดยนิ คุณพอ พดู กบั เพ่ือนวา “ลกู อั้วกําลังจะเปนเถาแกน อ ยแลว” สันนิษฐานวา
คาํ วา เถา แกน อ ยทไี่ ดยินตอนนัน้ นนั่ เอง จงึ เปนทีม่ าของชอื่ “เถาแกน อ ย” สาหรา ยทอดกรอบในปจจบุ นั

61

กจิ กรรมที่ 8

1. ใหผูเ รยี นแบง กลมุ ศึกษาใบความรู เร่ือง มวี ธิ กี ารอยา งไรในการท่เี ราจะปฏิบตั ิงานใหประสบความสาํ เร็จ

ใบความรู
เรือ่ ง มีวธิ ีการอยางไรในการท่ีเราจะปฏิบตั ิงานใหประสบความสําเรจ็

ลุงโทนลาออกจากงานท่ีทําในกรุงเทพฯ แลวกลับไปบานเกิดเพื่อไปเปนเกษตรกร โดยมุงหวังจะ
พฒั นาท่ดี นิ ของตนเองใหเปนแหลงผลิตผลไมอ ินทรยี  จงึ ไดไปคน ควา หาความรจู ากอนิ เทอรเ น็ต และเขา อบรม
กับหนว ยงานดา นการเกษตรเกี่ยวกับการทาํ เกษตรอนิ ทรียแ ละไปทาํ สวนผลไมบ นทดี่ ินของตนเอง จนสามารถ
พัฒนาท่ดี นิ ของตนเองใหเปน แหลงผลิตผลไมอ ินทรียอ อกจาํ หนา ยไปยงั ตา งประเทศได และไดรับความเช่ือถือ
จากลูกคามาโดยตลอดวา ผลไมจากสวนของลงุ โทนเปน ผลไมอ นิ ทรยี กินแลว ปลอดภยั

2. จากการอานใบความรูขางตน ผูเรียนคิดวาลุงโทนเปนคนอยางไร ทําไมจึงประสบความสําเร็จและไดรับ
ความเช่ือถอื จากลูกคา

62

2.5 ความรู (Knowledge)
ความรู (Knowledge) หมายถึง สาระ ขอ มูล แนวคิด หลกั การทบี่ ุคคลรวบรวมไดจากประสบการณ
ในวถิ ีชีวิต ความรูเปนผลท่เี กดิ ขึ้นจากการปฏสิ มั พันธกับสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ทางสังคม และเทคโนโลยี
บุคคลสามารถเรียนรูไดหลากหลายวิธี เชน จากประสบการณ การศึกษา การอบรม การถายทอด
ทางวัฒนธรรม และการฝก ปฏิบัติ จนสามารถสรปุ สาระความรู และนําไปใชประโยชนหรือพัฒนาไปสูระดับท่ี
สูงขนึ้
ความรู ในตัวคนไดมาจากหลายทาง เชน จากประสบการณ พรสวรรค สัญชาตญาณของ
แตละบุคคล การเรียนรขู องแตล ะบคุ คล เปนตน ดังน้ัน คนทุกคนจึงตองมีความรู ความเขาใจ เพ่ือนําความรู
ความเขาใจที่มีอยูในตัวไปวิเคราะห สังเคราะห ประเมินเร่ืองราว สถานการณ เหตุการณ ประกอบ
การพจิ ารณาและการตดั สินใจไดอ ยางถกู ตอ ง เหมาะสมกับเหตุการณ สถานการณท ี่มผี ลกระทบตอตนเองและ
สวนรวม อีกท้ังสามารถแยกแยะไดวาสิ่งใด อันไหน เมื่อกระทําแลวเกิดผลประโยชนสวนตัว หรือเกิด
ผลประโยชนสว นรวมได รวมทั้งใชความรู ความคดิ ความเขาใจทมี่ ีคิดพจิ ารณาตดั สินใจใหไ มกลาทําการทุจริต
และไมทนตอ การทจุ รติ เม่ือพบเห็นวามกี ารทจุ รติ เกดิ ขึน้
ความรู แบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก
1. ความรูที่มีอยใู นตัวคนซึ่งเกิดจากประสบการณ จากพรสวรรค หรือเกดิ จากความสามารถในการ
รบั รขู องบุคคลทีเ่ กดิ จากการทาํ ความเขาใจในส่ิงตาง ๆ ไมสามารถถายทอดออกมาเปนคําพูดได เชน ทักษะ
ในการทาํ งาน และการคดิ วิเคราะห
2. ความรทู ี่อยูในรูปแบบส่ือหรือเอกสารเปนความรูท่ีชัดเจนสามารถรวบรวมหรือถายทอดความรู
นนั้ ๆ ดวยวิธีการตาง ๆ เชน เขยี นหนังสอื เปนลายลักษณอ ักษร บนั ทึกเสียง หรอื วธิ กี ารอ่ืน ๆ
เมื่อพิจารณาระดับความรูของคนจากข้ันตํ่าไปสูระดับที่สูงข้ึนไป สามารถแจกแจงรายละเอียด
ไดดงั น้ี (บลมู และคณะ)
1. จาํ (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได แสดงรายการได บอกได ระบุบอกชื่อได
ตัวอยา งเชน นกั เรียนสามารถบอกความหมายของทฤษฎไี ด
2. เขาใจ (Understanding) หมายถงึ ความสามารถในการแปลความหมาย ยกตัวอยาง สรุป อางองิ
ตัวอยางเชน นกั เรยี นสามารถอธิบายแนวคดิ ของทฤษฎีได
3. ประยกุ ตใช (Applying) หมายถงึ ความสามารถในการนาํ ไปใช ประยุกตใช แกไขปญหา ตัวอยางเชน
นกั เรยี นสามารถใชค วามรใู นการแกไขปญหาได
4. วเิ คราะห (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบายลักษณะการจัดการ
ตวั อยา งเชน นักเรียนสามารถบอกความแตกตางระหวาง 2 ทฤษฎีได
5. ประเมนิ คา (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ ตัดสนิ ตวั อยางเชน
นักเรยี นสามารถตดั สนิ คณุ คาของทฤษฎีได
6. คิดสรางสรรค (Creating) หมายถึง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต
ตวั อยา งเชน นกั เรยี นสามารถนาํ เสนอทฤษฎใี หมท ี่แตกตางไปจากทฤษฎีเดิมได

63

กิจกรรมท่ี 9

1. ใหผ เู รียนตอบคาํ ถาม ตอ ไปนี้
1.1 ความรู หมายถงึ อะไร

1.2 ความรู มี 2 ประเภท อะไรบา ง

1.3 ระดบั ความรูต ามแนวคิดของบลูม และคณะ มี 6 ระดบั อะไรบา ง

64

กจิ กรรมที่ 10

1. ใหผ เู รียนชมคลปิ วดี โิ อ เรอื่ ง “โฆษณา รณรงคตอ ตา นการทจุ ริตโดย คตช.” จาก QR Code

คลปิ วดี ิโอ เรอ่ื ง โฆษณา รณรงคต อตา นการทจุ รติ โดย คตช.
แหลงสอื่ https://www.youtube.com/watch?v=rvFS1YdqSfQ

2. ใหผูเรียนแบงกลุมอภิปรายเกี่ยวกับคลิปวีดิโอท่ีรับชมโดยช้ีใหเห็นแนวทางการตอตานทุจริต
การทุจริตทําใหเกิดผลเสียตอตนเอง ผูอ่ืน สังคม ประเทศอยางไร พฤติกรรมใดควรปฏิบัติและ
พฤตกิ รรมใดไมค วรปฏบิ ตั ิ

65

2.6 ความเอื้ออาทร (Generosity)

ความเอื้ออาทร เกิดจากจิตใจที่มีความรัก ความเมตตา และความโอบออมอารี แลวปฏิบัติ
ตอผูอ่ืนอยางเกื้อกูล ซ่ึงในการดําเนินชีวิตของเราน้ัน ควรมีความเอ้ืออาทรแกคนรอบขาง ซ่ึงสังคมไทย
เปน สังคมท่มี ีความเอือ้ อาทรตอกนั มนี ํา้ ใจตอ กนั มกี ารพ่งึ พาอาศยั ซงึ่ กนั และกัน ชวยเหลือเก้ือกูลกันมาต้ังแต
สมัยอดีต อนั เปนสิง่ ดีงามทีห่ าไดย าก เปนคา นยิ มทเ่ี ราคนไทยควรรวมรกั ษาไว

ลักษณะของผูที่มคี วามเอ้อื อาทร
1. เปนคนมีน้าํ ใจ มักใหความชวยเหลือผทู ไี่ ดรบั ความเดือดรอนอยูเสมอ โดยการชวยเหลือจะ

ทาํ อยา งเต็มกาํ ลงั ที่ตนเองสามารถชวยได และไมหวังผลตอบแทนใด ๆ เพ่ือใหคนหมูมากใชสอยรวมกัน เชน
การสรางโรงพยาบาล การชวยเหลือผูประสบภยั พบิ ตั ติ า ง ๆ

2. คาํ นงึ ถึงผลประโยชนส วนรวม เปนผูทีถ่ อื เอาประโยชนของสวนรวมเปน ที่ตั้ง ไมก ระทําสงิ่ ใด ๆ
ทีเ่ ปน การฉกฉวยผลประโยชนใ หกับตนเอง ไมเ อารดั เอาเปรียบผูอืน่

3. มีความปราณี ปฏิบัติตอผูอื่นดวยความจริงใจ มีไมตรีที่ดีตอคนรอบขางเสมอ ไมดูหม่ิน
เหยยี ดหยามผอู นื่ แตใ หค วามเคารพในศักดิศ์ รีของความเปนมนษุ ย และสิทธิเสรภี าพของทกุ คนอยางเทา เทยี มกัน

4. ไมค ิดรายตอ ผอู ืน่ คิดและปฏิบัติตอผูอื่นดว ยความเมตตา มองโลกในแงดี ไมกระทําในส่ิงท่ี
สรางความเดือดรอนหรือเส่ือมเสียตอผอู น่ื

การปฏบิ ตั ิตนเปน ผูมีความเออ้ื อาทร
การปฏบิ ตั ิตนเปนผมู คี วามเออื้ อาทร สามารถปฏบิ ตั ไิ ดทกุ ท่ที ุกเวลา ดงั นี้

ความเออ้ื อาทรในครอบครัว ไดแก
1. ไมสรา งความเดอื ดรอนหรือกอปญ หาตา ง ๆ ใหเกดิ ในครอบครวั
2. ชว ยเหลอื งานบา นตาง ๆ ตามกําลังท่ีทาํ ได
3. ใชเงนิ อยา งประหยัด เพ่อื ชว ยลดคา ใชจ า ย
4. มคี วามหว งใยตอ สมาชิกครอบครวั ทกุ คน
5. รูจกั แบงปน ใหค วามชวยเหลอื ยามครอบครวั ประสบปญหา
ฯลฯ

ความเอื้ออาทรในชุมชนและสงั คม ไดแ ก
1. มีไมตรจี ติ ตอ เพ่ือนบาน รวมถงึ คนในชุมชนเดยี วกนั
2. มคี วามเออ้ื อาทร และหวงั ดตี อคนในชุมชน
3. ดแู ลรักษาสาธารณสมบตั ิสว นรวมของคนในชุมชนและสังคม
4. มนี ํา้ ใจ คอยชว ยเหลอื ผอู ื่นทไ่ี ดร บั ความเดอื ดรอน
5. แบง ปน อาหาร วตั ถุสงิ่ ของ เคร่อื งใชต า ง ๆ ใหแกเ พือ่ นบานและคนในชุมชน
ฯลฯ

66

กจิ กรรมท่ี 11

1. ใหผเู รียนเลาประสบการณเ กย่ี วกบั การชว ยเหลือผูอ่ืน สรปุ ขอคิดที่ไดจากการชวยเหลือผูอื่น และสามารถ
นําไปใชใ นชีวติ ประจําวันไดอยางไร

2. ใหผูเรียนดคู ลิปวีดิโอ ขาว “ไบคเกอรฮ โี ร เผยนาทีชว ยชีวติ เด็กช็อก ขณะติดไฟแดง อาสาพาสงถึง ร.พ.
ทนั เวลา” จาก QR Code ใหวเิ คราะหแ ละอภปิ รายรว มกนั

คลปิ วดี โิ อ ขา ว “ไบคเกอรฮ ีโร เผยนาทีชว ยชีวิตเด็กชอ็ ก ขณะตดิ ไฟแดง อาสาพาสง ถึง ร.พ. ทันเวลา”
แหลง สอื่ https://www.youtube.com/watch?v=MA5UHavTfp8

67

บทที่ 4
พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม

สาระสําคญั

การเคารพสทิ ธิ หนา ท่ี ของตนเองและผูอ ื่นทม่ี ีตอประเทศชาติ เปนการยึดม่ันในการปฏิบัติตนตาม
สิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ีของตนเอง ภายใตกรอบของรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะทําใหพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย
อยูรวมกันอยางมีความสุข อันจะสงผลใหประเทศชาติมีความเจริญรุงเรือง ปราศจากการทุจริตคอรรัปชัน
พรอ มทงั้ สรางพลังการขบั เคลอ่ื นคา นิยมในการตอตานการทจุ ริตคอรร ปั ชันทกุ รปู แบบในสงั คมไทยได

ตวั ชว้ี ัด

1. เขา ใจและประพฤตติ นเกยี่ วกบั สทิ ธหิ นาท่ีและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญปจจุบนั ของพลเมอื งดี
2. อธิบายบทบาทหนา ทข่ี องเยาวชนในการเปน พลเมอื งดี
3. อธบิ ายความเปนพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
4. ปฏบิ ตั ิตนเปนพลเมอื งดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ
5. ปฏิบตั ิหนา ทีท่ ่ไี ดรบั มอบหมายดวยความซอื่ สัตยส จุ รติ
6. เขาใจเกย่ี วกบั ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย และปฏบิ ตั ติ นเปน พลเมืองดมี ีสว นรว มในการปองกัน
และปราบปรามการทจุ รติ
7. มีสวนรว มในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ คอรรปั ชัน
8. มคี วามรับผดิ ชอบในการปฏิบัติหนาท่ีที่ไดร ับมอบหมายดวยความซื่อสตั ยสุจรติ
9. รูแ ละเขา ใจเกีย่ วกับความรับผิดชอบเกี่ยวกับตนเองและผูอืน่
10. ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน แบบอยา งทด่ี ี ทั้งรบั ผิดชอบตอ ตนเองและผูอ ืน่
11. รู เขา ใจ บอกความหมายของความเปนพลเมอื ง
12. ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามหลักความเปนพลเมืองในการดาํ เนินชีวติ
13. รู เขา ใจ บอกความหมายของความเปน พลโลก
14. ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามหลกั ความเปน พลโลกในการดําเนินชวี ติ

ขอบขา ยเนื้อหา

1. การเคารพสิทธหิ นาทต่ี อ ตนเองและผอู น่ื ทม่ี ตี อประเทศชาติ
1.1 ความหมายของสิทธหิ นาท่ตี อ ตนเองและผอู นื่ ทม่ี ตี อประเทศชาติ
1.2 ความสาํ คัญของการเคารพสิทธหิ นาท่ีตอ ตนเองและผูอืน่

68

2. ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย กับการเปนพลเมืองที่ดีมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม
การทจุ ริต

2.1 ความหมาย ความสําคัญของระเบยี บ กฎ กติกา และกฎหมายกบั การเปน พลเมืองที่ดี
2.2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการเปนพลเมืองท่ีดีมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการ
ทุจริต
3. ความรับผดิ ชอบตอตนเองและผอู ่นื
3.1 ความหมายของคาํ วา รบั ผดิ ชอบ
3.2 แนวทางการประยุกตค วามรบั ผิดชอบมาใชในการดาํ เนินชวี ิต
4. ความเปนพลเมอื ง
4.1 ความหมายของคาํ วา ความเปน พลเมอื ง
4.2 แนวทางการประยกุ ตความเปน พลเมอื งมาใชใ นการดาํ เนินชวี ิต
5. ความเปนพลโลก
5.1 ความหมายของคําวา ความเปน พลโลก
5.2 แนวทางการประยุกตค วามเปน พลโลกมาใชใ นการดําเนนิ ชีวติ

69

เร่ืองท่ี 1 การเคารพสิทธิหนา ทตี่ อ ตนเองและผอู ่นื ทมี่ ีตอ ประเทศชาติ

ความหมายของสิทธิหนาทีต่ อตนเองและผอู ่ืนที่มีตอ ประเทศชาติ
สทิ ธิ หมายถึง ส่ิงที่ไมม ีรปู รางซงึ่ มีอยูในตวั มนุษยมาต้ังแตเกิดหรือเกิดขึ้นโดยกฎหมาย เพื่อใหมนุษย
ไดรบั ประโยชน และมนุษยจะเปนผูเลอื กใชส ิ่งนั้นเอง โดยไมม ีผูใดบงั คับได เชน สิทธิในการกิน การนอน แตสิทธิ
บางอยางมนุษยไดรับโดยกฎหมายกําหนด เชน สิทธิในการมีการใชทรัพยสิน สิทธิในการรองทุกข เมื่อตน
ถกู กระทาํ ซ่ึงละเมดิ กฎหมาย เปน ตน
สิทธขิ องปวงชนชาวไทย

ท่ีมา : https://sites.google.com/site/janejirajomjai/_/rsrc/1392642786151/neuxha-bth-reiyn/--hnathi-khxng-
phlmeuxng-di-khxng-sangkhm-tam-raththrrmnuy/topic-3261-1.jpg

1. สทิ ธใิ นครอบครวั และความเปนอยสู ว นตวั ชาวไทยทุกคนยอ มไดรบั ความคุมครอง เกียรตยิ ศ ช่อื เสยี ง
และความเปนอยูสวนตวั

2. สิทธอิ นรุ กั ษฟน ฟูจารีตประเพณี บคุ คลในทอ งถิ่นและชุมชนตอ งชว ยกันอนรุ ักษฟน ฟจู ารีตประเพณี
วฒั นธรรมอนั ดีงาม ภูมปิ ญ ญาทอ งถิน่ เพอื่ รกั ษาไวใหคงอยูตลอดไป

3. สิทธิในทรพั ยสนิ บคุ คลจะไดร บั การคุม ครองสทิ ธใิ นการครอบครองทรพั ยส ินของตนและการสืบทอด
มรดก

4. สิทธิในการรบั การศกึ ษาอบรม บุคคลยอมมีความเสมอภาคในการเขารับการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
12 ป อยางมีคุณภาพและทั่วถึง โดยไมเสียคา ใชจ าย

5. สิทธใิ นการรับบริการทางดานสาธารณสุขอยางเสมอภาคและไดมาตรฐาน สําหรับผูยากไรจะไดรับ
สิทธิในการรกั ษาพยาบาลจากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั โดยไมเ สียคา ใชจา ย

6. สิทธิทจ่ี ะไดรบั การคมุ ครองโดยรฐั เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในสังคมท่ีไดรับการปฏิบัติอยางรุนแรง
และไมเ ปน ธรรมจะไดรบั การคุมครองโดยรฐั

70

7. สทิ ธิที่จะไดรับการชว ยเหลือจากรัฐ เชน บุคคลท่ีมีอายุเกินหกสิบป และรายไดไมพอตอการ
ยังชีพ รัฐจะใหความชวยเหลือ เปน ตน

8. สิทธทิ จ่ี ะไดส่ิงอาํ นวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ โดยรัฐจะใหความชวยเหลือและอํานวย
ความสะดวกอันเปน สาธารณะแกบคุ คลในสงั คม

9. สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชน ในการบํารุงรักษาและการไดประโยชนจาก
ทรพั ยากรธรรมชาติ

10. สิทธทิ จ่ี ะไดร บั ทราบขอมูลขา วสารจากหนวยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจหรอื ราชการสว นทองถิ่น
อยางเปดเผย เวนแตการเปดเผยขอมูลน้ันจะมีผลตอความมั่นคงของรัฐหรือความปลอดภัยของประชาชน
สวนรวม หรือเปน สวนไดสว นเสียของบคุ คลซ่งึ มีสิทธิไดรบั ความคุมครอง

11. สทิ ธเิ สนอเรอ่ื งราวรอ งทุกขโ ดยไดรบั แจงผลการพิจารณาภายในเวลาอันควรตามบทบัญญัติ
ของกฎหมาย

12. สิทธิทีบ่ ุคคลสามารถฟองรองหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกจิ ราชการสวนทองถ่นิ หรือองคกร
ของรฐั ทีเ่ ปน นิติบุคคลใหรบั ผดิ ชอบการกระทําหรอื ละเวนการกระทาํ ตามกฎหมายของเจาหนา ทข่ี องรัฐภายใน
หนวยงานนั้น

เสรภี าพ หมายถึง การใชสิทธิอยางใดอยางหนึ่ง หรือกระทําการอยางใดอยางหน่ึงไดอยางอิสระ
แตท ัง้ นีจ้ ะตอ งไมกระทบตอ สทิ ธขิ องผอู ื่น ซงึ่ หากผใู ดใชสิทธิเสรีภาพเกนิ ขอบเขตจนกอความเดอื ดรอนตอ ผอู ่ืน
กย็ อมถกู ดําเนินคดีตามกฎหมาย เชน เสรีภาพในการสอ่ื สารถึงกันโดยทางท่ีชอบดวยกฎหมาย การตรวจ การวัด
หรอื การเปด เผยขอ มลู สว นบุคคล รวมท้งั การกระทําตาง ๆ เพ่ือเผยแพรข อ มูลน้ันกระทาํ ไมได เปน ตน

เสรภี าพของปวงชนชาวไทย

ทม่ี า : https://hilight.kapook.com/img_cms2/user/kritfeb/ic1.jpg

1. เสรีภาพในเคหสถาน ชาวไทยทุกคนยอมไดรับความคุมครองในการอาศัยและครอบครอง
เคหสถานโดยปกตสิ ุข การเขาไปในเคหสถานของผูอน่ื โดยปราศจากการยินยอมของผูครอบครอง หรือการเขา
ไปตรวจคน เคหสถานโดยไมมีหมายคนจากศาลยอ มทําไมได

71

2. เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นท่ีอยู การเนรเทศบุคคลผูมีสัญชาติไทยออกนอก
ราชอาณาจักรหรือหา มมิใหบ ุคคลผมู สี ญั ชาตไิ ทยเขา มาในราชอาณาจกั รจะกระทํามไิ ด

3. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นผานการพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณาและการส่ือ
ความหมายโดยวิธีอื่น จะจํากัดแกบุคคลชาวไทยมิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
เฉพาะเพื่อความมั่นคงของรฐั เพ่ือรักษาความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน

4. เสรีภาพในการส่อื สารถึงกันโดยทางทช่ี อบดวยกฎหมาย การตรวจ การกัก หรือ การเปดเผย
ขอมูลสว นบคุ คล รวมทั้งการกระทําตา ง ๆ เพื่อเผยแพรขอมูลน้นั จะกระทาํ มิได

5. เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา นิกาย ลัทธิ ความเชื่อทางศาสนา และเสรีภาพในการประกอบ
พิธกี รรมตามความเชอ่ื ของตน โดยไมเ ปนปฏปิ ก ษตอ หนา ที่ของพลเมอื ง และไมขัดตอความสงบเรียบรอยหรือ
ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน ยอ มเปนเสรภี าพของประชาชน

6. เสรภี าพในการชุมนมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ การจํากัดเสรีภาพดังกลาวจะกระทําไมได
เวน แตโ ดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญตั ิของกฎหมายเพ่ือคุมครองประชาชนที่จะใชที่สาธารณะหรือเพ่ือรักษา
ความสงบเรียบรอยเม่ือประเทศอยใู นภาวะสงคราม หรอื ระหวา งประกาศสถานการณฉุกเฉิน หรือประกาศใช
กฎอัยการศกึ

7. เสรีภาพในการรวมตัวกันเปนสมาคม สหพันธ สหองคกร องคกรเอกชน หรือหมูคณะอื่น
การจํากัดเสรีภาพตาง ๆ เหลานี้จะกระทํามิได เวนแตอาศัยอํานาจกฎหมายเฉพาะเพ่ือคุมครองประโยชน
สวนรวมของประชาชน การรักษาความสงบเรยี บรอยหรอื ปองกนั การผูกขาดในทางเศรษฐกิจ

8. เสรีภาพในการรวมตัวจดั ตั้งพรรคการเมือง เพื่อดําเนินกิจกรรมทางการเมืองตามวิถีทางการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ

9. เสรีภาพในการประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม การจํากัดเสรีภาพ
ดงั กลาวจะทาํ ได โดยอาศัยกฎหมายเพื่อประโยชนในการรักษาความม่ันคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ
และเพื่อปองกนั การผูกขาดหรอื ขจดั ความไมเ ปนธรรมในการแขง ขันทางการคา

หนาท่ี หมายถึง การกระทําหรือการละเวนการกระทําเพ่ือประโยชนโดยตรงของการมีสิทธิหนาท่ี
เปนส่ิงท่บี งั คับใหม นุษยในสังคมตองปฏิบัติตามกฎเกณฑทางสังคมหรือกฎหมายบัญญัติไว จะไมปฏิบัติตาม
ไมไ ด สวนสิทธิและเสรีภาพ เปน สงิ่ ท่มี นษุ ยม ีอยแู ตจะใชหรือไมก็ได เชน การเสียภาษีตามท่ีกฎหมายกําหนด
มีหนาทร่ี ับการเกณฑทหาร เพอื่ รับใชชาติ เปนตน

72

หนา ทขี่ องประชาชนชาวไทย

ที่มา : https://hilight.kapook.com/img_cms2/user/kritfeb/ic3.jpg

1. บุคคลมหี นาที่รักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ

2. บคุ คลมหี นา ท่ีปฏิบัตติ ามกฎหมาย
3. บุคคลมีหนาท่ีไปใชสทิ ธเิ ลือกตงั้ บคุ คลซึง่ ไมไ ปเลือกต้งั โดยไมแ จง เหตผุ ลอันสมควร ยอ มเสยี สทิ ธิ
ตามท่กี ฎหมายบัญญตั ิไว
4. บคุ คลมีหนาทีป่ อ งกันประเทศ รบั ราชการทหาร
5. บคุ คลมีหนาที่เสยี ภาษใี หร ฐั
6. บุคคลมีหนาที่ชวยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม ปกปองและสืบสานวัฒนธรรมของชาติ
ภูมปิ ญญาทอ งถิน่ รวมถึงการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม
7. บคุ คลผูเปน ขาราชการ พนักงาน หรอื ลกู จางหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกจิ ราชการสวนทองถิ่น
มีหนาท่ดี ําเนนิ การใหเ ปนไปตามกฎหมายเพ่ือรักษาประโยชนสวนรวมอํานวยความสะดวกและใหบริการแก
ประชาชน
ความสาํ คญั ของการเคารพสทิ ธิหนา ที่ตอ ตนเองและผูอ่ืน

การเคารพสิทธติ อตนเองและผูอ่ืนท่ีมีตอประเทศชาติ หมายถึง การยึดม่ันในสิทธิ เสรีภาพ
และหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญ จะทําใหประชาชนในชาติอยูรวมกันอยางมีความสุข ทําใหชาติบานเมือง
เจริญกาวหนาไดอ ยา งรวดเรว็

1. สทิ ธิของตนเองและผูอ่นื ตามท่บี ัญญัติไวในรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย
การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองภายใตกรอบรัฐธรรมนูญ โดยไมกระทบสิทธิบุคคลอื่น

ยอ มไดช อ่ื วาบุคคลนั้นเปนผูมีสวนนําพาบานเมืองใหพัฒนา ในที่น้ีจะกลาวถึงการปฏิบัติตนในการรักษาและ

73

เคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและผูอื่น ตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติตามท่ีรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจกั รไทยกาํ หนดไว ดงั นี้

1) การเคารพสิทธขิ องตนเองและผอู น่ื ทมี่ ีตอครอบครวั

ทม่ี า : https://i.pinimg.com/236x/c9/3f/34/c93f34323ea5c82aaadb17bf1aaa9c4c--innovation-php.jpg

ครอบครัวประกอบดวยพอแมลูก ทุกครอบครัวมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครอง
ตามรฐั ธรรมนญู ในหลายประเด็นดวยกัน โดยเฉพาะเรื่องการใชความรุนแรง และการปฏิบัติอันไมเปนธรรม
หมายความวา พอ แม และลกู จะตอ งไมใ ชค วามรุนแรงหรือปฏิบัติตอกันอยางไมเปนธรรม กรณีระหวางสามี
ภรรยาจะตองเคารพและรับฟง ความคิดเห็นของกนั และกนั ไมตัดสินปญหาโดยใชกําลัง กรณีระหวางบุตรกับ
บิดามารดา บตุ รตอ งเชอื่ ฟงคําส่งั สอนของบิดามารดา บิดามารดาจะตองอบรมส่งั สอนบุตรโดยใชเหตุผล ไมใช
การแกไขพฤตกิ รรมลกู ดว ยการเฆ่ยี นตี เลีย้ งลกู ดวยรักความเขา ใจ และใชสทิ ธเิ สรีภาพในการแสวงหาความสุข
สว นตวั แตต องอยูในขอบเขตและไมท ําใหเ กิดความเดือดรอ นหรือสรางปญหาใด ๆ ใหแกบ ิดามารดา

2) การเคารพสทิ ธิของตนเองและผอู นื่ ทมี ตี อชมุ ชนและสงั คม
สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิเทาเทียมกันในการดํารงชีวิตในสังคม โดยสิทธิดังกลาว

จะตอ งไมละเมดิ สิทธิของสมาชกิ คนอน่ื ในสังคม ในทน่ี ขี้ อยกตวั อยา งสิทธิของตนเองท่ีมีตอชุมชนบางประการ
ดังนี้

(1) เสรภี าพในเคหสถาน ชาวไทยทกุ คนยอ มมีเสรภี าพในเคหสถาน ที่จะสามารถอาศัย
และครอบครองเคหสถานของตนโดยปกตสิ ขุ ไมว า จะเกดิ จากการเชา หรอื เปนเจาของกรรมสิทธ์ิ ซึ่งบุคคลอ่ืน
จะตองใหความเคารพในสิทธิน้ี แมแตเจาหนาท่ีของรัฐหากจะตองเขาไปดําเนินการตามกฎหมายใด ๆ เชน
การตรวจคน เคหสถานของประชาชนก็จะทําการมิได เวน แตจะมหี มายคน ทอี่ อกโดยศาลเทานัน้

(2) เสรีภาพในการเดนิ ทางและการติดตอสอ่ื สาร ชาวไทยทุกคนมีเสรีภาพท่ีจะเดินทางไป
ในที่ตาง ๆ บนผืนแผนดินไทยไดทุกพื้นที่ของประเทศไทย และสามารถเลือกถิ่นที่อยูอาศัย ณ ท่ีใดก็ได
ในประเทศไทย รวมทง้ั ชาวไทยทกุ คนสามารถที่จะติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่นไมวาจะเปนทางจดหมาย โทรศัพท
หรืออนิ เทอรเ นต็

74
(3) เสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา สมาชิกทกุ คนในสงั คมมสี ิทธิ เสรีภาพท่จี ะนบั ถือศาสนา
แตกตางกนั ได ซง่ึ บคุ คลอนื่ ในสงั คมรวมท้งั รฐั จะตอ งใหความเคารพสทิ ธเิ สรีภาพในเรื่องนีด้ วย
(4) เสรภี าพในทางวชิ าการ เยาวชนไทยทุกคนจะตองไดรับการศึกษาข้ึนพ้ืนฐานไมนอยกวา
12 ป โดยไมเ สียคาใชจ าย นอกจากนี้คนไทยทุกคนยังมสี ิทธิในการทจ่ี ะศกึ ษาคนควาหรือทําวจิ ัยตามที่ตองการ
โดยไมข ดั ตอกฎหมาย

ท่มี า : https://encrypted-
tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQkQZi665uPk8tuXiAB4f7WWaEvVbEkohvjEKKC3bGREf4RBlaH6Q

(5) เสรีภาพในการชุมนุมอยางสงบโดยปราศจากอาวุธ หมายถึง ประชาชนทุกคน
มีสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมแตตองเปนไปโดยสงบ ปราศจากอาวุธ และตองไมรบกวนสิทธิของผูอื่น
การปราศจากอาวธุ น้นั หมายรวมถึง หามทุกคนทม่ี ารว มชุมนมุ พกพาอาวธุ เขามาในที่ชุมนุมเด็ดขาด บุคคลใด
พกพาอาวธุ เขา มาในทช่ี ุมนุม บุคคลน้นั จะไมไดรบั ความคมุ ครองตามรัฐธรรมนญู ในกรณีทีไ่ ดกลา วมาขางตน

ที่มา : https://3.bp.blogspot.com/-w-hw-RTGYu0/WFE4SLaSAuI/AAAAAAAAAE0/t-
PRwB_iXj8byXn2p5_kGlhkg1Fhe3f8wCLcB/s1600/17.jpg

(6) สทิ ธิเสรภี าพในการอนรุ ักษแ ละฟน ฟูจารตี ประเพณี ภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น ทุกคนยอม
มีสวนรวมในการอนุรักษ และรวมสืบสานศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นและของประเทศชาติ
เพอ่ื ใหด ํารงอยูตอ ไปกบั อนชุ นรุนหลัง

75

(7) สิทธิเสรภี าพในการประกอบอาชีพ โดยเสรีภาพในการประกอบอาชีพจะตองไมเ อารัด
เอาเปรียบผอู ื่น เชน ผปู ระกอบการจะตองเคารพและซื่อสตั ยตอ ผบู ริโภค และไมเ อาเปรียบผูบรโิ ภค เปนตน

3) การเคารพสิทธิของตนเองและผูอื่นทมี่ ีตอประเทศชาติ
(1) สทิ ธใิ นการมสี ว นรวม หมายถึง สทิ ธิการมสี วนรวมในกระบวนการพจิ ารณาของ

เจาหนาทรี่ ฐั เกย่ี วกบั การปฏิบตั ริ าชการดา นการปกครอง อนั มผี ลกระทบตอ สิทธิและเสรีภาพของคนในสงั คม
โดยตรง

(2) สทิ ธทิ จ่ี ะฟอ งรอ งหนวยราชการ หนว ยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ ราชการสว นทอ งถ่นิ
เชน เทศบาล องคการบรหิ ารสวนตําบล องคการบรหิ ารสวนจงั หวดั หรอื องคกรของรัฐท่ีเปน นิติบุคคล ประชาชน
มสี ทิ ธิทจี่ ะฟองรอ งหนว ยงานตาง ๆ เหลานใ้ี หร ับผดิ ชอบ หากการกระทําใด ๆ หรอื การละเวนการกระทาํ ใด ๆ
ของขา ราชการ พนกั งาน หรอื ลูกจางของหนว ยงานนั้น สง ผลกระทบตอ การดําเนนิ ชวี ติ ของประชาชนตอ
ศาลปกครอง

(3) สิทธิทีจ่ ะตอตา นโดยสนั ตวิ ธิ ี การกระทําใดที่จะเปน ไปเพอื่ ใหไดม าซง่ึ อาํ นาจในการ
ปกครองประเทศ โดยวิธกี ารซึง่ มิไดเ ปน ไปตามวิถีทางท่ีบญั ญตั ไิ วใ นรฐั ธรรมนูญ เชน การตอตานการทําปฏิวัติ
รัฐประหาร เปน สง่ิ ท่ปี ระชาชนมีสิทธทิ ีจ่ ะออกมาตอ ตา น แตตองเปน ไปโดยสนั ตวิ ิธี เปนตน

2. แนวทางการปฏบิ ตั ิตนในการเคารพสิทธิของตนเองและผูอ ่นื
การปฏิบัตติ นตามสิทธขิ องตนเองและผอู ่นื ในสังคม เปนส่ิงท่ีชวยจัดระเบียบใหกับสังคม

สงบสุข โดยมีแนวทางปฏบิ ัติ ดังนี้
1) เคารพสทิ ธขิ องกันและกนั โดยไมล ะเมิดสิทธิเสรภี าพของผอู ่นื สามารถแสดงออกได

หลายประการ เชน การแสดงความคิดเหน็ การยอมรบั ฟงความคิดเห็นของผอู น่ื เปน ตน
2) รูจักใชส ิทธิของตนเองและแนะนาํ ใหผูอ น่ื รูจักใชสิทธขิ องตนเอง
3) เรยี นรแู ละทาํ ความเขา ใจเกย่ี วกับหลกั สทิ ธเิ สรภี าพตามที่บัญญตั ิไวในรฐั ธรรมนูญ เชน

สิทธิเสรีภาพของความเปนมนุษย สิทธเิ สรภี าพในเคหสถาน เปนตน
4) ปฏบิ ัติตามหนาท่ีของชาวไทยตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ เชน การออกไปใชสิทธิ

เลอื กตั้ง การเสยี ภาษใี หร ฐั เพ่ือนําเงนิ มาพฒั นาประเทศ เปนตน

ที่มา : https://encrypted-tbn0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQTk-uF7g6FAa3GqzdNTFk-
l16nTgMPucaw_BOpB9jLPaArCpvU

76

3. ผลท่ไี ดรบั จากการปฏบิ ตั ติ นในการเคารพสทิ ธขิ องตนเองและผอู ่ืน
1) ผลท่ีเกิดกับประเทศชาติ หากประชาชนมีความสมัครสมานรักใคร ไมมีความแตกแยก

ไมแ บง เปน พวกเปน เหลา บานเมืองกจ็ ะสงบสขุ เกิดสวสั ดภิ าพ บรรยากาศโดยรวมจะสดใส ปราศจากการระแวง
ตอกนั การดาํ เนินกจิ กรรมตา ง ๆ สามารถดาํ เนินไปอยางราบรน่ื นักลงทุน นักทองเท่ียวก็จะเดินทางมาเยือน
ประเทศของเราดวยความมน่ั ใจ

2) ผลทเ่ี กดิ ข้ึนกับชมุ ชนหรือสังคม เมื่อประชาชนในสังคมรูจักสิทธิของตนเอง และของ
คนอื่น ก็จะนําพาใหชุมชนหรือสังคมเกิดการพัฒนา เม่ือสังคมมั่นคงเขมแข็งก็จะมีสวนทําใหประเทศชาติ
เขม แขง็ เพราะชมุ ชนหรือสงั คมเปน สวนหนึ่งของประเทศชาติบานเมืองโดยรวม

3) ผลที่เกดิ ขน้ึ กบั ครอบครวั ครอบครวั เปน สถาบนั แรกของสังคม เม่ือครอบครัวเขมแข็ง
และอบรมสง่ั สอนใหสมาชกิ ในครอบครัวทุกคนรูบทบาท สิทธิ เสรีภาพของตนเองและปฏิบัติตามท่ีกฎหมาย
และรฐั ธรรมนญู ไดใหค วามคุมครองไดอยา งเครง ครัด โดยไมละเมิดสิทธิเสรีภาพของสมาชิกอ่ืนในสังคม ก็จะ
นําพาใหสงั คมและประเทศชาตเิ ขมแข็งตามไปดว ย

77

กจิ กรรมที่ 1

ใหผูเรียนยกตวั อยางสทิ ธิ หนา ท่ี และเสรภี าพของตนเองตามรัฐธรรมนญู

78

เรอื่ งท่ี 2 ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย กับการเปน พลเมอื งท่ดี ีมีสว นรวมในการปองกนั และ
ปราบปรามการทุจรติ

ความหมาย ความสาํ คัญของระเบยี บ กฎ กติกา และกฎหมายกับการเปน พลเมอื งทีด่ ี
ในสังคมปจ จบุ ัน มกี ารใชร ะเบียบ กฎ กติกา และกฎหมายในการอยรู ว มกัน เพอ่ื ความเปนระเบียบ
เรยี บรอ ยของบา นเมอื ง หากมผี ใู ดดาํ เนนิ ชีวติ ไมเ ปนไปตามกฎ กติกา กฎหมาย อาจเสย่ี งที่จะนําไปสูการเปน
ผูทจุ ริตได
ระเบียบ หมายถึง แบบแผนท่ีวางไวเปนแนวปฏิบัติหรือดําเนินการ เชน ระเบียบวินัย ระเบียบ
ขอ กําหนด
กฎ หมายถึง ขอกําหนดหรือขอบัญญัติท่ีบังคับใหตองมีการปฏิบัติตาม เชน พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง
กติกา หมายถึง กฎเกณฑหรอื ขอ ตกลงท่ีบุคคลต้ังแต 2 ฝา ยข้นึ ไป กําหนดข้ึนเปนหลักปฏิบัติ เชน
กตกิ าชกมวย กตกิ าฟตุ บอล
กฎหมาย หมายถึง กฎเกณฑท่ีผูมีอํานาจตราข้ึน เพื่อใชบังคับบุคคลใหปฏิบัติตามเปนการท่ัวไป
ผใู ดไมป ฏบิ ัตติ ามยอมไดร ับผลรา ย กฎหมายอาจตราขนึ้ เพื่อกาํ หนดระเบยี บ ความสัมพันธร ะหวา งบคุ คล หรือ
ระหวางบคุ คลกับรฐั หรอื เพอ่ื ใชในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณี อันเปนที่ยอมรับ
นบั ถือกนั ได
พลเมอื งดี หมายถงึ ประชาชนทปี่ ระพฤตปิ ฏิบัตติ ามระเบียบกฎเกณฑของสังคมมีความรับผิดชอบ
ตอหนา ท่ีของตนเอง รจู กั บทบาทหนา ทีข่ องตนเอง และปฏบิ ตั ติ นไดอ ยางเหมาะสมไมละเมิดลวงล้ําสิทธิ และ
เสรีภาพของบคุ คลอื่น
การทุจรติ คอื การคดโกง ไมซ ่ือสตั ยสจุ ริต การกระทาํ ท่ีผดิ กฎหมาย เพ่อื ใหเกิดความไดเปรียบในการ
แขงขัน การใชอํานาจหนาท่ีในทางที่ผิดเพื่อแสวงหาประโยชนหรือใหไดรับสิ่งตอบแทน การใหหรือการรับ
สนิ บน การกาํ หนดนโยบายท่ีเอื้อประโยชนแกต นหรือพวกพอ งรวมถงึ การทจุ ริตเชิงนโยบาย
ปญ หาการทุจรติ เปน ปญ หาท่ีสําคัญทง้ั ของประเทศไทยและประเทศอ่นื ๆ ท่วั โลก ปญ หาการทุจรติ
จะทําใหเกิดความเส่ือมในดานตาง ๆ เกิดข้ึน ท้ังสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และนับวันปญหาดังกลาวก็จะ
รนุ แรงมากขึ้น และมีรปู แบบการทจุ รติ ที่ซับซอ น ยากแกการตรวจสอบมากขึน้ จากเดมิ ทกี่ ระทําเพยี งสองฝาย
ปจจุบันการทุจริตจะกระทํากันหลายฝาย ท้ังผูดํารงตําแหนงทางการเมือง เจาหนาท่ีของรัฐ และเอกชน
โดยประกอบดวยสองสว นใหญ ๆ คือ ผใู หผลประโยชนก ับผูรับผลประโยชน ซง่ึ ทั้งสองฝายนี้จะมีผลประโยชน
รวมกนั ตราบใดท่ีผลประโยชน สมเหตุสมผลตอกัน กจ็ ะนาํ ไปสูปญหาการทุจริตได บางครง้ั ผูทีร่ บั ผลประโยชน
ก็เปน ผใู หป ระโยชนไดเ ชน กัน

79

กฎหมายทเี่ กี่ยวของกบั การเปนพลเมืองท่ดี มี ีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ
ประเทศไทยมีองคกรอิสระและหนวยงานที่เก่ียวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริต รวมถึง
การออกกฎหมายทเี่ กีย่ วขอ งกบั การปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต เพื่อการปองกันและปราบปรามการทุจริต
และประพฤติมิชอบใหครอบคลุมภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และภาคประชาชน อันจะสงผลให
สังคมไทยมีวินัย โปรงใส ยึดม่ันในความซื่อสัตยสุจริตและยุติธรรม รวมทั้งการสรางพลเมืองดี มีความเขมแข็ง
เปนภูมคิ ุม กนั ของสังคมไทย โดยมีกฎหมายท่เี ก่ียวของกับการปองกนั และปราบปรามการทุจริตทีส่ าํ คญั ดงั นี้

1) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2542
และทแี่ กไขเพม่ิ เตมิ

2) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการตรวจเงนิ แผนดิน พ.ศ. 2542 และทแี่ กไข
เพ่มิ เตมิ

3) พระราชบัญญัตมิ าตรการของฝายบรหิ ารในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2551
และที่แกไ ขเพมิ่ เติม

4) พระราชบญั ญัตจิ ดั ตงั้ ศาลอาญาคดที ุจริตและประพฤติมชิ อบ พ.ศ. 2559
5) พระราชบญั ญตั วิ ธิ ีพจิ ารณาคดที จุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ พ.ศ. 2559
6) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด 2 ความผดิ ตอ ตาํ แหนงหนาท่ีราชการ และความผดิ ตอ
ตําแหนง หนา ทีใ่ นการยตุ ธิ รรม
7) พระราชบญั ญตั วิ าดว ยความผดิ ของพนกั งานในองคการหรอื หนว ยงานของรัฐ พ.ศ. 2502
8) ขอ บังคับของประธานศาลฎีกา วา ดวยวธิ ีการดําเนนิ การคดที จุ รติ และประพฤติมิชอบ
พ.ศ. 2559
9) ระเบยี บสํานกั งานอยั การสงู สดุ วาดว ยการดาํ เนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ
ตามกฎหมายวาดว ยมาตรการของฝา ยบรหิ ารในการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2557

80

กจิ กรรมที่ 2

ใหผูเรียนยกตวั อยา งการเปน พลเมอื งที่ดใี นการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ

81

เร่อื งท่ี 3 ความรับผดิ ชอบตอ ตนเองและผูอนื่

ความหมายของคําวารบั ผดิ ชอบ
รบั ผิดชอบ หมายถึง ยอมรบั ผลทงั้ ทด่ี ีและไมดีในกิจการที่ตนเองไดทําลงไปหรือที่อยูในความดูแล
ของตนเอง
ความรบั ผิดชอบตอตนเอง หมายถึง การรับรูฐานะและบทบาทของตนท่ีเปนสวนหนึ่งของสังคม
ซง่ึ จะตองดาํ รงตนอยใู นสภาพทช่ี วยเหลือตนเองได โดยท่ีบุคคลควรจะวิเคราะหและแยกแยะวาสิ่งใดถูกหรือผิด
เหมาะสมหรือไม และมีความสามารถท่ีจะเลือกตัดสินใจในการเปนที่ยอมรับของสังคม ความรับผิดชอบ
ตอตนเอง แบงไดเ ปน
1. ความรับผดิ ชอบในดา นการรักษาสุขภาพอนามยั ของตนเอง คอื สามารถเอาใจใสแ ละระมัดระวัง
สขุ ภาพอนามัยของตนเอง ใหมีความสมบูรณแ ขง็ แรงอยเู สมอ
2. ความรบั ผิดชอบในการหาเคร่ืองอุปโภคบริโภค คือ สามารถจัดหาและดูแลเคร่ืองใชสวนตัวให
เปน ระเบยี บเรยี บรอย อยูในสภาพทส่ี ามารถใชงานไดเหมาะสม
3. ความรับผิดชอบในดา นสติปญ ญาและความสามารถ คอื ตั้งใจศกึ ษาเลาเรียนใฝหาความรูตาง ๆ
การฝกฝนตนเองในดานประสบการณตา ง ๆ
4. ความรับผิดชอบในดานความประพฤติ คอื รจู กั ประพฤตใิ หเหมาะสม เปนผูม รี ะเบียบวินัย ดํารงตน
ใหอ ยูในคุณธรรม จริยธรรม
5. ความรับผิดชอบในดานมนุษยสัมพันธ คือ รูจักท่ีจะปรับตัวใหอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยาง
เหมาะสม
6. ความรบั ผดิ ชอบในดา นเศรษฐกิจสวนตัว คือ รูจักวางแผนและประมาณการใชจายของตน โดยยึด
หลักการประหยัดและอดออม
7. ความรับผดิ ชอบเร่ืองการงาน คือ เมื่อไดรับมอบหมายใหทํากิจใดก็ตองทําใหเรียบรอยภายใน
เวลาทกี่ ําหนด
8. ความรบั ผิดชอบตอการกระทําของตน คือ ยอมรับผลการกระทําของตนท้ังผลดีหรือในดานท่ีเกิดผล
เสียหาย

ทม่ี า : https://www.wikihow.com/images_en/thumb/0/00/Be-Responsible-Step-18-Version-2.jpg/v4-728px-
Be-Responsible-Step-18-Version-2.jpg

82

ความรับผิดชอบตอผอู นื่ หมายถึง ภาระและหนา ที่ของบคุ คลซึ่งเกย่ี วของและมีสว นรว มตอ สวัสดิภาพ
ของผูอนื่ ในสังคมทีต่ นเปน สมาชกิ ดว ยเหตทุ ่บี คุ คลทุกคนเปน สวนประกอบของสังคมไมวาจะเปนสังคมขนาดเล็ก
จนถึงสังคมขนาดใหญ ไดแก ครอบครัว ช้ันเรียน สถานศึกษา ชุมชน และประเทศชาติ ตามลําดับ ดังน้ัน
การกระทําของบุคคลใดบุคคลหน่ึงยอมตองสงผลกระทบตอสังคมสวนรวมไมมากก็นอย เมื่อบุคคลทุกคนมี
ภาระหนา ที่ทจ่ี ะเก่ียวพนั กบั สวสั ดภิ าพของสังคมที่ตนดาํ รงอยู บุคคลจึงมหี นา ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบตอ งปฏบิ ตั ิ
ตอสงั คม 5 ประการ ดงั นี้

1. ความรับผดิ ชอบตอบิดามารดาและครอบครัว ไดแก ใหความเคารพและเชื่อฟง ชวยเหลือการงาน
ใหเ ตม็ ความสามารถในแตละโอกาสอันสมควร ประพฤตติ นเปน คนดี ตัง้ ใจศกึ ษาเลาเรยี น ไมนาํ ความเดอื ดรอน
มาสคู รอบครัวและชว ยกนั รกั ษา และเชิดชูชือ่ เสยี งวงศต ระกูล

2. ความรบั ผดิ ชอบตอเพ่ือน ไดแก การใหความรักแกเพ่ือนเปรียบเสมือนพ่ีนองของตน ตักเตือน
เม่ือเพ่ือนกระทาํ ผิด คอยแนะนาํ ใหเ พ่ือนกระทําในสงิ่ ท่ถี กู ตอ ง ชวยเพ่ือนอยางเหมาะสมและถูกตอ ง ไมเอารัด
เอาเปรยี บ ใหอ ภัยในกรณีท่ีเกิดความผดิ พลาดหรอื บาดหมางกัน ใชถ อยคาํ สุภาพตอกนั ดว ยความออ นโยน

3. ความรับผิดชอบตอสถานศึกษาครูอาจารย ไดแก การต้ังใจศึกษาเลาเรียน ไมหนีเรียน เคารพ
และเช่ือฟงครูอาจารย ชว ยเหลือกิจกรรมงานของสถานศึกษาอยา งเครงครัด รักษาความสะอาด ไมทําลายทรัพย
สมบตั ิของสถานศกึ ษา รกั ษาและสรางชอ่ื เสียงเกยี รติยศของสถานศึกษา

4. ความรับผิดชอบตอ ชมุ ชน ในฐานะท่เี ปนสมาชกิ ของชุมชน ไดแ ก เคารพ และปฏิบัติตามระเบยี บ
ขอบงั คบั หรือขนบธรรมเนยี มประเพณีที่ยึดถือภายในชมุ ชนของตน ชวยรักษาสาธารณสมบัติและใหความรวมมือ
ในการทํางานเพอื่ พัฒนาชุมชน ไมละเลยตอพลเมอื งดี

5. ความรบั ผดิ ชอบตอประเทศชาติ ไดแก ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบตาง ๆ ของสังคม รักษา
สาธารณสมบตั ิของชาติ ใหค วามรวมมือและชวยเหลือเจาหนาที่ในการรักษาความม่ันคงของชาติ จงรักภักดี
ตอชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย รกั ษาความสามคั คีของคนในชาติ ดาํ รงไวซ ่งึ ศลิ ปวัฒนธรรมแหง ความเปนไทย

ท่ีมา : http://www.goodyear.co.th/wp-content/uploads/gy_th_csr_03.jpg

83

แนวทางการประยกุ ตค วามรับผิดชอบมาใชใ นการดําเนินชีวิต
แนวทางปฏบิ ตั เิ พอื่ การดํารงชวี ิตท่รี บั ผดิ ชอบตอสังคม มีแนวทางปฏิบัติในฐานะพลเมืองดี

ผูรับผดิ ชอบตอ สังคม ดังนี้
1. มีวินัยในตนเอง เด็ดเดี่ยว บังคับใจตนเองได สามารถกระทําส่ิงตาง ๆ ที่ตนตองการ

จะกระทาํ และละเวนสง่ิ ตาง ๆ ทตี่ นเองตองการจะละเวน ได สามารถจูงใจตนเองได
2. มีความกลา หาญทางจรยิ ธรรม กลา ท่จี ะแสดงความคิดเห็นของตน รักษาสิทธิของตนไว

เม่อื เหน็ การกระทําที่ไมถกู ตอง ไมเ หมาะสม ตอ งกลาท่ีจะคัดคา น แสดงความไมเหน็ ดวย หรอื แสดงประชามติ
รว มกัน เพือ่ แสดงความไมพ งึ ใจ หรือเพื่อใหฝายท่กี ระทําผดิ หรือมพี ฤตกิ รรมไมเหมาะสม ไดรูตัว หรือละเลิก
การกระทํานั้น ๆ เสีย

3. มีจติ ใจ หรือมจี ิตสาธารณะ มีจิตใจกวางขวาง มุงรกั ษาผลประโยชนของสว นรวมมากอ น
ประโยชนสวนตนเสมอ หากร่ํารวยมีเงินทอง มีฐานะแลว เม่ือมีโอกาสที่จะชวยเหลือกิจการสาธารณะ หรือ
ชว ยเหลือผตู กทุกข ผผู จญกบั ทพุ ภิกขภัย วาตภยั อทุ กภยั กใ็ หความชว ยเหลือบา งตามกําลังศรัทธา

4. มีความรับผดิ ชอบตอ สวนรวม ชวยกันดูแลรักษาทรัพยสมบัติกลางของสวนรวม ส่ิงใด
ท่ีเปนของสาธารณะ เชน ถนนหนทาง บอนํ้า ฝายนํ้าลน แมนํ้าลําคลอง จะตองหวงแหน รวมกันทํานุ
บํารงุ รักษาไว เพ่ือใหค นทั้งหลายไดใชประโยชนร ว มกัน

5. มีความผูกพันและยึดม่ันในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม
ทํางานรว มกนั รว มแสดงความคิดเห็น แสดงมติ และลงมอื กระทําการตาง ๆ เหลานั้นดวยกัน มุงม่ันในการทํางาน
เปนทมี มคี วามพรอมเพรียงสมานฉันทกันดี

6. ใหค วามรวมมือ และมีสวนรวมในกิจกรรมกลุมและสมาคม ยินดีและเต็มใจรวมกิจกรรม
ตา ง ๆ ทีก่ ลุม และสมาคมริเรม่ิ ข้นึ มา เปน งานอาสาสมคั ร งานทรี่ ว มกันทาํ บญุ ทาํ กุศลเพื่อชวยเหลือ สงเคราะห
แกผ ยู ากไร แกส ตั วทัง้ หลาย ฯลฯ

84

กิจกรรมที่ 3

ใหผูเรยี นยกตวั อยา งพฤตกิ รรมหรอื การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นทแี่ สดงถึงการมีความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเองและผูอ ่ืน
มาอยา งนอ ย 3 ขอ

85

เรื่องท่ี 4 ความเปน พลเมือง

ความหมายของคําวา ความเปน พลเมอื ง
พลเมอื ง หมายถงึ ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ความเปน พลเมอื ง คือ สถานภาพของบุคคลท่ีจารีตประเพณีหรือกฎหมายของรัฐรับรอง ซ่ึงไดแก
สิทธิและหนา ทแี่ หง ความเปนพลเมืองแกบ ุคคล (เรียก พลเมอื ง) ซ่ึงอาจรวมสิทธอิ อกเสยี งเลือกตั้ง การทํางาน
และอาศัยอยูในประเทศ สิทธิกลับประเทศ สิทธิครอบครองอสังหาริมทรัพย การคุมครองทางกฎหมาย
ตอรัฐบาลของประเทศ และการคุมครองผานกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหนาที่บางอยาง เชน หนาท่ี
ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายของรัฐ จา ยภาษี หรอื รับราชการทหาร บคุ คลอาจมคี วามเปนพลเมอื งมาก และบุคคลที่ไม
มีความเปน พลเมอื ง เรียก ผไู รส ัญชาติ
การสรา งความเปนพลเมอื งไมไดเ ฉพาะแตการทําใหประชาชนรูถึงสิทธิและหนาท่ีท่ีตนเองมีเทาน้ัน
แตต อ งหันมาสนใจทจี่ ะสรางใหพลเมืองเกดิ ความตระหนกั ถงึ ความรบั ผิดชอบตอ สวนรวมมากกวาสวนตัว และ
อยูรวมกันอยางสันติภาพ สันติสุข มีอิสระท่ีจะกระทําใด ๆ ภายใตขอบเขตกฎหมายโดยไมลวงละเมิดสิทธิ
เสรีภาพของผูอื่น การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะประสบความสําเร็จไดน้ัน จําเปนจะตองสราง
“พลเมือง” ท่ีสามารถปกครองตนเองได ซ่ึงทุกสังคมทุกประเทศตองการเหมือนกัน และหากสังคมไทย
มปี ระชาชนที่เปน พลเมืองและเขาใจในระบอบประชาธิปไตยอยางแทจริงก็จะทําใหประเทศพัฒนากาวหนา
และมคี วามมน่ั คงอยางย่ังยนื

ที่มา : https://sites.google.com/site/fernzcxy/_/rsrc/1393160763348/8-
citizenship/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87.jpg

?height=313&width=320

แนวทางการประยกุ ตค วามเปน พลเมอื งมาใชในการดาํ เนินชีวติ
ความเปนพลเมืองในการดําเนินชีวิต ควรปฏิบัติตนตามกฎหมาย ดํารงตนเปนประโยชนตอสังคม
โดยมกี ารชวยเหลอื เก้อื กลู กนั อนั จะกอ ใหเ กดิ การพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ใหเปนสังคมและเปน ประเทศ
ประชาธปิ ไตยอยา งแทจริงตามหลักการประชาธิปไตย


Click to View FlipBook Version