The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

Keywords: ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การป้องกันการทุจริต สค 22022

86

การปกครองในระบอบประชาธิปไตย เปนการปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสวนรวมในการปกครอง
ประเทศ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจะประสบความสําเร็จไดน้ันจะตองสรางความเปนพลเมือง
ใหประชาชนสามารถปกครองตนเองได ดังนั้น ความเปนพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย จึงมีคุณลักษณะ
ท่ีสําคัญ คือ เปน บุคคลที่สามารถแสดงบทบาทหนา ที่และความรบั ผดิ ชอบของตนเอง ตอสงั คม อีกท้ังดํารงตน
เปนประโยชนตอ สังคม ชว ยเหลอื เกื้อกลู กนั อันจะกอใหเกิดการพัฒนาสังคม และประเทศชาติ ใหเปนสังคม
ประชาธิปไตย ซ่ึงการสรางพลเมืองใหมีความเปนพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยนั้น มีหลักพ้ืนฐานอยู
3 ประการ ดงั น้ี

1. เคารพศกั ดิ์ศรีความเปนมนุษยท่ีทุกคนเกิดมามีคุณคาเทากันมิอาจลวงละเมิดได การมีอิสรภาพ
และความเสมอภาค การยอมรับในเกียรติภูมิของแตละบุคคล โดยไมคํานึงถึงสถานภาพทางสังคม ยอมรับ
ความแตกตา งของทกุ คน

2. เคารพสิทธิ เสรีภาพ และกฎกติกาของสังคมที่เปนธรรม โดยใหความสําคัญตอสิทธิ เสรีภาพ
การมีกฎกติกาทีว่ างอยูบ นความยุติธรรมและชอบธรรม มีหลกั นิตริ ฐั ในการคุม ครองสิทธิ เสรภี าพมใิ หถ กู ละเมดิ

3. รับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่น และสังคม โดยตระหนักถึงบทบาทหนาท่ีของความเปนพลเมือง
ในระบอบประชาธิปไตยท่มี ุงเนนเน้อื หาท่มี คี ุณลักษณะสาํ คัญในหนาที่และความรับผิดชอบของตนเอง ตอสังคม
การดาํ รงตนเปน ประโยชนต อสงั คมชว ยเหลือเก้ือกลู กนั ใชส ตปิ ญญาในการแกไ ขปญ หาดวยเหตแุ ละผล

ดังน้นั หากประชาชนไดเ ขาใจในหลักพืน้ ฐานความเปนพลเมือง ท้ัง 3 หลักการที่กลาวขางตนอยาง
ถูกตองแลว และสามารถนําไปปฏิบัติใหเกิดผลไดก็จะทําใหสังคมไทย พัฒนาเปนสังคมประชาธิปไตยอยาง
แทจรงิ

87

กจิ กรรมที่ 4

ใหผ เู รยี นบอกความหมายของคาํ วา “พลเมอื ง” และ “ความเปนพลเมอื ง”

88

เรอ่ื งที่ 5 ความเปน พลโลก

ความหมายของคําวา ความเปน พลโลก
พลโลก หมายถึง ชาวโลก พลเมอื งของโลก (พจนานกุ รม) ที่อาศัยอยูในประเทศตาง ๆ ในโลก ซึ่งมี
ความเหมอื นและความแตกตา งกนั หลายดา น เชน ดานภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ความเช่ือ และวิถีชีวิต ท้ังน้ี
ในความเหมือนและความแตกตางกนั พลโลกจะอยูรว มโลกกันอยางสันติสุขได ตองมีความเขาใจ ยอมรับ และ
เรยี นรซู งึ่ กันและกัน
แนวทางการประยกุ ตความเปนพลโลกมาใชในการดําเนนิ ชวี ิต
1. เคารพกฎหมายและปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสังคม เมื่อพลเมืองทุกคนปฏิบัติตาม
กฎระเบียบ ขอบังคับของสังคมและบทบัญญัติของกฎหมาย เชน ไมลวงละเมิดสิทธิของผูอ่ืน หรือไมกระทํา
ความผิดตามที่กฎหมายกาํ หนด ก็จะทําใหรัฐไมต อ งเสยี งบประมาณในการปองกันปราบปราม และจับกุมผูท่ี
กระทาํ ความผิดมาลงโทษ นอกจากนยี้ งั ทาํ ใหสงั คมมคี วามเปน ระเบียบสงบสุข ทุกคนอยูร ว มกันอยางสมานฉันท
ไมห วาดระแวงคดิ รา ยตอกนั
2. เปน ผมู ีเหตุผลและรับฟงความคดิ เห็นของผูอ่ืน ทุกคนยอมมีอิสรภาพ เสรีภาพในการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหวา งกนั ซงึ่ การรจู กั การใชเหตุผลในการดําเนินงาน จะชวยประสานความสัมพันธ ทําใหเกิด
ความเขาใจอันดงี ามตอกนั
3. ยอมรับมติของเสยี งสว นใหญ เมอื่ มคี วามขัดแยงกนั ในการดําเนินกิจกรรมอันเกิดจากความคิดเห็น
ที่แตกตา งกันและจาํ เปนตอ งตัดสนิ ปญหาดว ยการใชเสียงขา งมากเขาชว ย และมตสิ ว นใหญต กลงวา อยา งไร ถึงแมวา
จะไมต รงกับความคิดของเรา เรากต็ อ งปฏิบัติตามเพราะเปน มตขิ องเสียงสวนใหญ
4. เปนผูน ํามีน้ําใจประชาธิปไตย และเห็นแกประโยชนส วนรวม ผทู ่มี ีความเปน ประชาธปิ ไตยจะตอ งมี
ความเสยี สละในเร่ืองทจ่ี ําเปน เพ่อื ผลประโยชนของสว นรวมและรักษาไวซง่ึ สงั คมประชาธปิ ไตย เปน การสงผล
ตอ ความมน่ั คงและความกาวหนา ขององคกรซ่ึงสุดทายแลว ผลประโยชนดังกลาวก็ยอนกลับมาสูสมาชิกของ
สังคม เชน การไปใชสิทธ์ิเลือกตั้ง ถึงแมวาเราจะมีอาชีพบางอยางท่ีมีรายไดตลอดเวลา เชน คาขาย แตก็ยอม
เสยี เวลาคาขาย เพ่ือไปลงสิทธ์ิเลือกต้ัง บางครั้งเราตองมีน้ําใจชวยเหลือกิจกรรมสวนรวม เชน การสมัครเปน
กรรมการเลือกต้งั หรือสมาคมบําเพ็ญประโยชนส วนรวม เปน ตน
5. เคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอื่น ควรรูจักเคารพในสิทธิเสรีภาพของผูอ่ืน เชน บุคคลมีเสรีภาพ
ในการแสดงความคดิ เห็น การพดู แตตองไมเปนการพูดแสดงความคดิ เห็นท่ใี สรายผูอ่นื ใหเสียหาย
6. มีความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ในการอยูร วมกันในสงั คมยอ มตอ งมกี าร
ทํางานเปน หมคู ณะ จึงตอ งมกี ารแบงหนา ทค่ี วามรับผดิ ชอบในงานนั้น ๆ ใหสมาชิกแตล ะคนนําไปปฏบิ ตั ิตามท่ี
ไดร บั หมอบหมายไวอ ยางเต็มท่ี
7. มีสวนรวมในกิจกรรมการเมืองการปกครอง ในสังคมประชาธิปไตยน้ัน สมาชิกทุกคนตองมี
สว นรว มในกจิ กรรมการเมืองการปกครอง เชน การเลือกตัง้ เปน ตน

89

8. มีสวนรวมในการปองกัน แกไขปญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ชวยสอดสอง
พฤตกิ รรมม่วั สมุ ของเยาวชนในสถานบนั เทิงตาง ๆ ไมห ลงเช่อื ขาวลอื คํากลา วรา ยโจมตี ไมมองผูท่ีไมเห็นดวย
กับเราเปนศัตรู รวมถึงสงเสริมสนับสนนุ การแกไ ขปญ หาความขัดแยง ตาง ๆ ดว ยสันติวธิ ี

9. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรม ทุกคนควรมีศีลธรรมไวเปนหลักในการควบคุม
พฤตกิ รรมของบคุ คลใหด าํ เนนิ ไปอยา งเหมาะสม ถึงแมจะไมม ีบทลงโทษใด ๆ ก็ตาม

90

กจิ กรรมที่ 5

ใหผ เู รยี นบอกแนวทางการประยุกตค วามเปน พลโลกมาใชใ นการดําเนนิ ชวี ติ มาอยา งนอ ย 3 ขอ

91

แบบทดสอบหลังเรียน

1. ขอ ใดตอ ไปนีเ้ ปน การปองกนั การทจุ รติ
ก. ตั้งคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.)
ข. ปฏริ ปู กฎหมายท่ีเก่ียวกบั การบรหิ ารพสั ดแุ ละการจัดซือ้ จดั จา งใหโ ปรง ใส
ค. การเพิม่ โทษในการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ
ง. การปลูกจิตสํานกึ โตไปไมโกงใหแ กเ ด็ก ๆ

นาย ก. เปนขาราชการเกษยี ณ ตอ มาไดเปน สมาชิกสภาเทศบาล รลู ว งหนาจากการประชมุ สภา
วา สภาเทศบาลอนมุ ัตใิ หตดั ถนนผานชมุ ชนแหง หนงึ่ นาย ก. จงึ ไดไปกวานซอ้ื ท่ีดนิ บรเิ วณท่ถี นนตัดผา น
เพ่อื เก็งกําไรทด่ี นิ

2. จากขอความขา งตน พฤติกรรมของ นาย ก. เปน ผลประโยชนท บั ซอ นรูปแบบใด
ก. การรบั ผลประโยชนตา ง ๆ
ข. การรูขอ มลู ภายใน
ค. การทํางานหลงั เกษยี ณ
ง. การทาํ ธรุ กิจของตนเอง

3. ขอใดไมใชการประพฤตติ นตามหลกั ความเปน พลเมอื งโลกมาใชใ นการดําเนนิ ชีวิต
ก. นาํ รถไปจอดขวางหนาบา นคนอ่ืนในหมูบาน
ข. ผทู ่มี จี ิตอาสาไปรวมกนั พฒั นาคลอง
ค. การประชุมชาวบานในการประชาพจิ ารณเพอ่ื ทําถนนในหมูบา น
ง. ชว ยแจงขา วกบั ตาํ รวจเมอ่ื พบเจอวยั รุนมว่ั สุมยาเสพตดิ ในชมุ ชน

4. การเลอื กตงั้ องคกรนกั ศึกษา กศน. เปนการสง เสรมิ เรือ่ งใด
ก. สงเสริมความเปนประชาธิปไตย
ข. พฒั นาผเู รยี นใหม คี ุณภาพ
ค. ฝก ใหผเู รียนเหน็ คณุ คา ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข
ง. ถกู ทกุ ขอ

92

5. หากเรามีหลัก STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ รติ แลว จะสงผลใหสงั คมเปน อยา งไร
ก. ประชาชนชาวไทยจะมคี วามต่นื ตวั ตอ การทจุ รติ มากข้นึ
ข. ประชาชนชาวไทยมคี วามสนใจตอ ขา วสารการทจุ ริตมากขน้ึ
ค. ประชาชนชาวไทยมคี วามตระหนกั ถึงผลกระทบของการทุจริตมากขน้ึ
ง. ถกู ทกุ ขอ

6. พฤตกิ รรมในขอ ใดทแี่ สดงวา เปน ผูขาดความละอาย
ก. การแอบรบั เงนิ จากผสู มคั ร อบต.
ข. พอชว ยหาเสยี งใหล กู ทสี่ มัคร ส.ส.
ค. ผสู มัคร ส.ส. เดินหาเสยี งในตลาด
ง. ขามถนนบนทางมาลาย

7. ขอใดเปน การทจุ รติ
ก. ผรู บั เหมากอสรางยื่นซองประมลู ประกวดราคา
ข. นักการเมอื งออกเย่ยี มประชาชนท่ปี ระสบภยั พิบัตโิ ดยมอบของให
ค. นักธุรกิจนาํ กระเชาผลไมไปเย่ยี มภมู ปิ ญ ญาในหมบู า น
ง. เจา หนาทข่ี องรัฐใหบ รกิ ารนกั ธรุ กจิ โดยจายเงินตามชอ งทางตามปกตขิ องทางราชการ
แตเพ่มิ เงนิ ใหเ ปนคา บริการเพื่อความสะดวกรวดเรว็

8. เปา หมายของกระบวนการคดิ เปน คือขอ ใด
ก. ความสขุ
ข. การคดิ เปน
ค. แกป ญ หาเปน
ง. การประเมนิ ผล

9. พฤติกรรมในขอ ใดเปน การไมทนตอ การทจุ รติ หรอื การกระทาํ ทไี่ มถ กู ตอง
ก. แจง เจาหนาที่ตาํ รวจทนั ทีท่พี บเห็นการแซงคิว
ข. ใชว ิธกี ารประณามตอ สาธารณชนทกุ คร้งั ที่พบเรื่องไมถูกตอ ง
ค. บอกผแู ซงควิ ใหทราบ และไปตอ ทา ยแถว
ง. ไมส นใจถา เราไมเ ดือดรอ น

93

10. ขอใดหมายถึง พลเมอื ง
ก. คนของรัฐ
ข. คนท่ัวไปของประเทศ
ค. ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ง. สมาชิกของสังคม

11. ขอใดเปน พฤตกิ รรมของพนกั งานในหางสรรพสินคาทถี่ ือวามจี ติ สํานึกทด่ี ี
ก. ปฏบิ ตั ิตามระเบียบของหางสรรพสนิ คา
ข. เลือกการใหก ารบริการตอลูกคา
ค. เก็บเงินไดแ ลวนําไปคืนเจาของ
ง. ตองการใหห า งสรรพสินคา มชี อ่ื เสยี ง

12. กรณี นาย ก. ดํารงตาํ แหนง กรรมการผจู ัดการในธนาคารพาณิชยเอกชนแหงหน่ึง ซึ่งมีอาํ นาจหนา ท่ใี นการ
พจิ ารณาอนุมัติสินเช่ือ และบริษัท A ซ่ึงมีภรรยาของ นาย ก. ดํารงตําแหนงกรรมการผูจัดการ ไดมาขอ
สินเช่ือจากธนาคารท่ี นาย ก. ทํางานอยู แตขาดคุณสมบัติของผูกูตามที่ธนาคารกําหนด อยากทราบวา
นาย ก. จะตอ งปฏบิ ตั ติ นอยางไรจึงจะเหมาะสมท่ีสุด
ก. แตง ต้งั คณะกรรมการพจิ ารณาวงเงนิ สนิ เช่อื ของบริษทั A เตม็ จาํ นวน
ข. แตงตงั้ คณะกรรมการพจิ ารณาวงเงินสินเช่ือของบรษิ ทั A แตมีเงอ่ื นไขอนุมัตภิ ายในวงเงนิ รอยละ 50
ค. กําหนดใหบ ริษัท A นาํ หลักทรพั ยค้ําประกนั สนิ เชือ่ มากกวา ปกติ
ง. ไมอ นุมตั วิ งเงนิ สนิ เช่ือ

13. การกระทาํ ในขอใดไมใ ชการทจุ รติ
ก. การใหผ ูอนื่ รับโทษแทนตน โดยใหคาจางตอบแทน
ข. การใหเงินเจา หนาทเี่ พือ่ เปน คา สงเอกสารที่ขอไว
ค. การอํานวยความสะดวกเปน พิเศษเพ่ือใหง านของตนเองราบรืน่
ง. การสับเปล่ียนสนิ คาทมี่ ีคณุ ภาพตาํ่ กวาใหกับลูกคา

14. วฒั นธรรม ประเพณี เปน ขอมูลดา นใดของกระบวนการคิดเปน
ก. ตนเอง
ข. สังคมและส่งิ แวดลอม
ค. วิชาการ
ง. ถกู ทกุ ขอ

94

15. ภมู คิ ุม กันทีท่ าํ ใหบ คุ คลไมกระทําทุจริตจะตอ งประกอบดว ย
ก. ความรู ความเขาใจ และปลกุ ใหตื่นรู
ข. ความรู ความเขาใจ และความเปนผูน าํ
ค. ความรู ความเขา ใจ และความเอ้อื อาทร
ง. ความรู ความเขาใจ และการมุงไปขา งหนา

16. การมีจติ พอเพียงตา นทุจริต ควรเรม่ิ จากขอใดเปน อันดับแรก
ก. สงั คม
ข. ตนเอง
ค. ครอบครวั
ง. ประเทศชาติ

17. STRONG : จติ พอเพียงตา นทจุ รติ เปน การนาํ หลกั การใดมาประยกุ ตใ ชต อ ตานการทจุ รติ
ก. หลักคิดเปน
ข. หลกั ศลี ธรรม
ค. หลกั สมดลุ
ง. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

18. บุคคลจะเกิดความละอายตอการทจุ รติ ควรเรมิ่ ตนจากขอ ใดเปนสําคญั
ก. ความกลวั ผูอ ่ืนรู
ข. ความตระหนักถึงผลเสยี
ค. ความฉลาดรอบรู
ง. ความกาวหนา ในการทํางาน

19. ขอใดหมายถงึ การกระทาํ ทเี่ ปน ประโยชนสว นรวม
ก. เจาหนาที่ของรฐั ใชเครอ่ื งพิมพข องสํานกั งานพมิ พร ายงานสงอาจารย
ข. ใชเ คร่ืองตดั หญา ของหนวยงานรฐั ไปตดั หญา ทบ่ี านของหวั หนา
ค. เก็บใบไมแ หง จากสวนสาธารณะไปทําปุยหมกั ทบี่ าน
ง. ยมื เกาอจี้ ากหนวยงานของรัฐไปใชจดั งานบวชทีบ่ าน

95

20. หนว ยงานใดมีหนา ทโี่ ดยตรงในการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ ของประเทศไทย
ก. ป.ป.ง.
ข. ป.ป.ช.
ค. สตง.
ง. สคบ.

-------------------------------

96

เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น - หลงั เรียน

แบบทดสอบกอนเรยี น

1. ค. 11. ข.
2. ค. 12. ข.
3. ก. 13. ง.
4. ข. 14. ก.
5. ข. 15. ง.
6. ง. 16. ข.
7. ง. 17. ง.
8. ก. 18. ข.
9. ข. 19. ค.
10. ค. 20. ก.

แบบทดสอบหลังเรยี น

1. ข. 11. ค.
2. ข. 12. ง.
3. ก. 13. ข.
4. ง. 14. ข.
5. ง. 15. ก.
6. ก. 16. ข.
7. ง. 17. ง.
8. ก. 18. ข.
9. ค. 19. ค.
10. ค. 20. ข.

97

แนวคําตอบกิจกรรม

บทที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตนกับผลประโยชนส ว นรวม

กิจกรรมที่ 3
แนวคําตอบ
1.1 การกระทําเขา ขายการขดั กันระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม มีอะไรบาง
1. การรบั ผลประโยชนตาง ๆ
2. การทาํ ธุรกจิ กับตัวเอง เปน คูสญั ญา
3. การทํางานหลงั เกษยี ณ
4. การทํางานพเิ ศษ
5. การรูข อ มลู ภายใน
6. การใชบ คุ ลากรหรอื ทรพั ยส ินของหนว ยงานเพ่ือประโยชนส ว นตน
7. การทําโครงการลงในเขตเลอื กตัง้
8. ความสมั พนั ธระหวา งเครอื ญาติ
9. การใชอิทธพิ ลเพ่ือผลประโยชนบ างอยาง

1.2 เราจะชว ยปองกันการทจุ ริตการเกดิ ผลประโยชนท บั ซอ นไดอยางไร
1. ตองคิดแยกแยะระหวางประโยชนส วนตน และประโยชนส ว นรวมอยา งชดั เจน
เพอ่ื ไมใหเ ปน ตนเหตขุ องการคอรร ปั ชนั
2. ตอ งคดิ ถึงประโยชนส ว นรวมกอ น

98

บทที่ 2 ความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต

กจิ กรรมท่ี 1
แนวคําตอบ
1. ผูเรยี นสามารถมีสว นรวมในการสง เสรมิ สนับสนนุ การเลอื กตัง้ ไดอ ยา งไร ตอบมาอยางนอย 3 ขอ
1. รณรงคใ หม ีการไปใชส ิทธ์ลิ งคะแนนในการเลือกตัง้
2. ติดตามขาวสารของผแู ทนมาเผยแพร
3. การรวมกิจกรรมประกวดคําขวญั
4. เชญิ ชวนกันไปใชสิทธ์ิออกเสยี ง
5. แนะนําคนในครอบครัว หรือเพอ่ื นบา นใหเ ห็นภัยของการซือ้ ขายเสียง และรวมกันรณรงค
ตอตา น
2. จากภาพที่กาํ หนด
2.1 เด็กผูชายกาํ ลงั ทาํ ขอ สอบ
2.2 ไมถกู ตอ ง เพราะ คดิ จะลอกขอ สอบของผูอน่ื
2.3 ไมควรทาํ เพราะ เปน ส่ิงที่ไมถกู ตอง ไมซ่อื สัตยต อ ตนเอง
2.4 ไมภาคภูมใิ จ เพราะ ไมไดท าํ ขอ สอบตามความสามารถของตน และเปน การทจุ รติ การสอบ
2.5 ผูเ รียน ควรปฏบิ ัติตนดังนี้
1. ไมล อกขอ สอบ หรอื ไมถามคาํ ตอบจากเพือ่ นผูเรยี น
2. ตั้งใจเรยี น ทําแบบฝก หัด และอานหนังสอื อยางสมํา่ เสมอ
3. เมื่อเรียนไมเ ขาใจควรถามผรู ู ครู เพื่อน

กจิ กรรมท่ี 2
แนวคาํ ตอบ
1. ตัวอยางการกระทาํ ทีเ่ ปน การทจุ ริตคอรร ปั ชัน มีดงั น้ี
1. การเสนอโครงการหรอื เลือกโครงการท่ีไมใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมาก แตมีโอกาส

ที่จะไดเงินใตโตะ มากกวา
2. การซอ้ื วสั ดุอปุ กรณท ตี่ ่าํ กวามาตรฐาน หรือราคาสงู กวา ความเปนจรงิ
3. การจายเงนิ ใหกับเจาหนา ท่ีเพอ่ื ใหม กี ารยกเวน กฎ ระเบยี บทเี่ ก่ยี วกับการบงั คบั ใชกฎหมาย
4. การยกั ยอกทรพั ยสนิ ของรัฐไปเปนของตน
5. การซื้อขายตําแหนง หรือการกระทําทม่ี ีผลกระทบตอระบบคณุ ธรรมของราชการ
6. การใหและรบั สนิ บน การขูเขญ็ บงั คับและการใหสงิ่ ลอใจ ฯลฯ

2. ผลเสยี ทเ่ี กดิ จากการทุจริตคอรรัปชนั
1. บอ นทาํ ลายศลี ธรรมของทุกสงั คม
2. รกุ ลาํ้ สิทธทิ างสงั คมและเศรษฐกิจของคนยากจนและออนแอ

99

3. ทําใหป ระชาธิปไตยออนแอ
4. ขัดตอ กฎ กติกา กฎหมาย ซ่ึงเปน พ้นื ฐานของทกุ สงั คม
5. ขดั ขวางการพฒั นาสังคมและประเทศชาติ
6. ทําใหส ังคมผยู ากไรแ ละผูด อ ยโอกาสไมไดร ับประโยชนจากระบบเศรษฐกจิ เสรี
3. แนวทางการปอ งกนั การทจุ ริตคอรร ปั ชัน
1. มคี วามซ่ือสตั ย สจุ รติ ไมท นตอ การทจุ ริตและการกระทําทไ่ี มถ กู ตอ ง คาํ นงึ ถงึ ประโยชน

สวนรวมมากกวา ประโยชนสวนตน
2. เลือกผูนําชมุ ชน นักการเมืองทมี่ ีความมงุ มัน่ ตั้งใจทจ่ี ะอาสาเขามาทํางานเพอ่ื ประโยชนของ

บานเมอื งอยา งแทจ ริง
3. แสวงหาความรูใหเ ทา ทันเทคนคิ กลโกง และการทจุ รติ คอรรปั ชันทุกวธิ ี
4. มสี ว นรวมในการรณรงคต อตานการทุจรติ อยา งตอ เน่อื งในชมุ ชน หมูบา น ตําบล และ

ทกุ ภาคสวนของสงั คม
ฯลฯ

100

บทท่ี 3 STRONG : จติ พอเพยี งตานทจุ รติ

กจิ กรรมที่ 2
แนวคําตอบ

บคุ คลในขาวมคี วามโลภ บคุ คลในขาวขาดคุณธรรม

บุคคลในขาวเห็นแกประโยชน พฤตกิ รรมทีท่ จุ รติ บุคคลในขา วเห็นแก
สวนตนมากกวาประโยชน โดยไมม ีความพอเพยี ง อามิสสินจาง
สวนรวม
บุคคลในขา วไมมภี มู ิคุมกัน

101

บทท่ี 4 พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอสงั คม

กจิ กรรมที่ 1
แนวตอบ

1. สทิ ธสิ วนบุคคลตามรัฐธรรมนญู เชน สทิ ธใิ นการครอบครองที่ดิน สทิ ธใิ นการเรยี นฟรี สทิ ธใิ นการรบั
บริการสาธารณสุข

2. หนาท่ีของบคุ คลตามรัฐธรรมนญู เชน การเสยี ภาษี การเกณฑท หาร เปนตน
3. เสรภี าพสว นบคุ คลตามรัฐธรรมนญู เชน การมีเสรภี าพทจ่ี ะกระทาํ การใด ๆ ในเคหะสถานของตนเองได

แตต องไมเปนการรบกวนสิทธเิ สรภี าพของผอู ื่น เปนตน

กจิ กรรมที่ 2
แนวตอบ

1. ปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย
2. ชว ยสอดสอง ดูแลพฤติกรรม หรอื การกระทําทเี่ สี่ยงตอการทุจรติ
3. มีสวนรว มในการรณรงคก ารปอ งกนั และปราบปรามทจุ ริตในชมุ ชน

ฯลฯ

กิจกรรมที่ 3
แนวตอบ

พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรบั ผิดชอบตอ ตนเอง เชน การรักษาสุขภาพอนามัยของตนเอง
ความรบั ผดิ ชอบในเรื่องงานที่ไดรบั มอบหมาย รบั ผิดชอบตอ การกระทําของตน ฯลฯ

พฤตกิ รรมทแ่ี สดงถงึ ความรบั ผิดชอบตอผอู ่นื เชน การดแู ลบดิ ามารดา การเคารพครู อาจารย
การปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบของชุมชนและสงั คม ฯลฯ

กจิ กรรมที่ 4
แนวตอบ

พลเมอื ง หมายถึง ประชาชน ราษฎร ชาวประเทศ
ความเปนพลเมอื ง คอื สถานภาพของบุคคลทีจ่ ารีตประเพณีหรอื กฎหมายของรัฐรับรอง ซง่ึ ไดแก สิทธิ
และหนา ท่แี หงความเปนพลเมืองแกบ คุ คล (เรียก พลเมือง) ซง่ึ อาจรวมสทิ ธิออกเสยี งเลอื กต้ัง การทํางานและ
อาศยั อยใู นประเทศ สทิ ธกิ ลบั ประเทศ สทิ ธิครอบครองอสังหาริมทรัพย การคุมครองทางกฎหมายตอรัฐบาล
ของประเทศ และการคุมครองผานกองทัพหรือการทูต พลเมืองยังมีหนาท่ีบางอยาง เชน หนาที่ปฏิบัติตาม
กฎหมายของรฐั จายภาษี หรือรับราชการทหาร บุคคลอาจมีความเปนพลเมอื งมาก และบคุ คลทีไ่ มมีความเปน
พลเมือง เรยี ก ผไู รส ญั ชาติ

102

กจิ กรรมที่ 5
แนวตอบ

1. เคารพกฎหมายและปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ขอ บงั คับของสงั คม
2. เปน ผมู เี หตุผล และรับฟง ความคดิ เหน็ ของผอู ื่น
3. ยอมรบั มตขิ องเสียงสวนใหญ
4. เปนผนู ํามีน้าํ ใจประชาธิปไตย และเหน็ แกประโยชนส วนรวม
5. เคารพในสิทธเิ สรภี าพของผูอ น่ื
6. มีความรับผดิ ชอบตอ ตนเอง ชุมชน สงั คม ประเทศชาติ
7. มีสว นรว มในกจิ กรรมการเมืองการปกครอง
8. มีสวนรว มในการปอ งกนั แกไขปญ หาเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งการปกครอง
9. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรม

103

บรรณานุกรม

กําชยั จงจักรพนั ธ. การขดั กนั แหงผลประโยชนแ ละมาตรา 100. กรงุ เทพฯ.

ความเปน พลเมอื งโลก. สืบคนเม่อื วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2562, จาก
http://treetep605.blogspot.com/2012/06/blog-post_596.html.

ความเออ้ื เฟอ และเผอื่ แผแ ละความเสียสละตอสังคม. สืบคน เมอื่ วันท่ี 31 กรกฎาคม 2562, จาก
https://sites.google.com/a/sapit.ac.th/toey-1/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-1/reuxng-thi-2-
khwam-xeuxfeux-pheux-phae-laea-seiy-sla-tx-sangkhm.

ชดิ ชนก นามเจรญิ และธนั ยชนก สขุ เทยี มสุวรรณ. (2562). พลเมืองดีคืออะไร. สบื คน เมอ่ื วันที่ 31 กรกฎาคม
2562, จาก https://chidnastory.wordpress.com/พลเมอื งดีคอื อะไร/.

บา นจอมยทุ ธ. (2562). ความสาํ คัญของการคิด. สบื คนเมื่อวนั ท่ี 10 มิถนุ ายน 2562., จาก
https://www.baanjomyut.com/library_2/scientific_thinking_skills/02.html.

พนั ธกร อทุ ธิตสาร. (2562). มารยาทไทยการแตง กาย. สบื คน เมอื่ วนั ที่ 12 มถิ นุ ายน 2562, จาก:
https://sites.google.com/a/thoengwit.ac.th/reiyn-ru-kab-khru-ben/maryath-thiy-reuxng-
kar-snthna.

มนมนัส สุดสน้ิ . (2562). ทฤษฎีการเรยี นรขู องบลมู . สืบคนเมือ่ วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2562, จาก
http://www.eledu.ssru.ac.th/monmanus_su/.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรงุ เทพฯ: บริษทั ศริ ิวัฒนา
อนิ เตอรพ ริ้นท จํากัด (มหาชน).

วรรณศิ า มาลัยทอง. (2562). การเลอื กตัง้ . สืบคน เม่ือวนั ท่ี 12 มิถุนายน 2562, จาก
https://sites.google.com/site/lawslearinginschool12/raththrrmnuy-chbab-paccuban-ni-
matra-tang/kar-leuxk-tang.

104

ศนู ยป ฏบิ ัติการตอตา นการทจุ ริต กระทรวงสาธารณสุข. STRONG จติ พอเพียงตานทจุ รติ วิชาที่ 3
การประยกุ ตห ลกั ความพอเพียงดวยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา นทจุ รติ . สบื คน เมือ่ วันที่
10 มถิ ุนายน 2562, จาก
http://ethics.dmsc.moph.go.th/Anti%20Corruption%20Education/Ebook%20Lesson%20
3%20.ppsx.

ศูนยป ฏบิ ตั ิการตอ ตานการทจุ รติ สาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหงชาต.ิ (2562). กฎหมายท่เี กย่ี วของกับการ
ปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ . สบื คน เมื่อวันท่ี 11 มถิ นุ ายน 2562, จาก https://anti-
cor.nrct.go.th/home/ArtMID/542/ArticleID/2046/กฎหมายที่เก่ยี วขอ งกับการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ ริต.

สติ. สบื คน เมื่อวนั ที่ 11 มิถนุ ายน 2562, จากวกิ พิ เี ดยี https://th.wikipedia.org/wiki/สต.ิ

สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ รวมกับสาํ นักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน. (2562). แผนจดั ประสบการณ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ งกนั การทจุ ริต”
ระดับมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 3 ชุดหลักสตู รตา นทจุ รติ ศกึ ษา. นนทบุร:ี ชุมนมุ สหกรณก ารเกษตร
แหง ประเทศไทย จํากัด สาขา 4.

สํานกั งานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ รวมกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พื้นฐาน. (2561). แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปองการการทุจริต ระดับมัธยมศึกษา
ชน้ั ปท่ี 1 ชุดหลักสตู รตานทุจริตศึกษา.(เอกสารอดั สาํ เนา).

สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ รวมกบั สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน. (2561). แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เติม การปองการการทุจริต ระดับมัธยมศึกษา
ช้ันปท ี่ 2 ชดุ หลกั สูตรตา นทุจริตศึกษา.(เอกสารอัดสาํ เนา).

สาํ นกั งานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ รวมกบั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน. (2561). แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่ิมเติม การปองการการทุจริต ระดับมัธยมศึกษา
ช้นั ปท่ี 3 ชุดหลกั สตู รตา นทุจริตศึกษา.(เอกสารอัดสาํ เนา).

สํานักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาต.ิ (2561). หลกั สูตรรายวชิ าเพม่ิ เติม
“การปอ งกนั การทุจริต”. นนทบรุ :ี ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั สาขา 4.

105

สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ 21 เซน็ จรู ี.

สาํ นกั งานศาลรัฐธรรมนญู (สมชาย แสวงการ). (2562). สรา งความเปนพลเมืองไทยในระบอบประชาธปิ ไตย.
สืบคนเมือ่ วันที่ 11 มนี าคม 2562, จาก
http://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=1474.

สํานกั ตา นทจุ ริตศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาต.ิ (2562). คมู ือ
แนวทางการปฏบิ ตั ิสําหรบั การขบั เคล่ือนหลักสตู รตา นทจุ ริตศึกษาในพื้นทสี่ ําหรับบคุ ลากร
สํานกั งาน ป.ป.ช. ทัง้ สวนกลาง และสวนภมู ิภาค. (เอกสารอดั สําเนา).

สํานกั ประชาสมั พนั ธเ ขต 5 กรมประชาสมั พนั ธ สาํ นกั นายกรัฐมนตร.ี (2562). คุณธรรมในการดาํ รงชีวติ ที่
รบั ผิดชอบตอสงั คม. สบื คนเมื่อวันที่ 12 มถิ ุนายน 2562, จาก
https://region5.prd.go.th/ewt_news.php?nid=605.

สาํ นักงานราชบณั ฑติ ยสภา. (2562). ความหมาย คิด แยกแยะ. สืบคนเมอื่ วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2562, จาก
http://www.royin.go.th/dictionary/.

Korpongwit Keereekin and Suraiya Homhoul. (2562). การเคารพสทิ ธิเสรีภาพของตนเองและผูอน่ื .
สืบคนเมื่อวนั ที่ 11 มิถุนายน 2562, จาก https://sites.google.com/site/aiuyunsonya/kar-
khearph-siththi-seriphaph-khxng-tnxeng-laea-phu-xun.

106

คาํ ส่ังสํานกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

1. คาํ ส่งั สํานกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ท่ี 116/2562
เรอ่ื ง แตงตง้ั คณะทํางานจดั ทาํ สอ่ื ประกอบการเรียนรู ดานการปองกนั การทจุ ริต
หลกั สตู รตา นทุจริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)

2. คาํ สั่งสาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ี 166/2562
เรอื่ ง แตง ตั้งคณะทาํ งานบรรณาธิการสอ่ื ประกอบการเรยี นรู ดา นการปอ งกันการทุจริต
หลักสตู รตานทุจริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)

107

108

109

110

111

1123

113

114

การประชมุ จดั ทําหนงั สอื เรยี น
รายวชิ าการปอ งกันการทจุ รติ

1. การประชุมเชิงปฏบิ ัติการจดั ทําสือ่ ประกอบการเรยี นรู ดา นการปองกันการทจุ รติ
หลักสตู รตา นทจุ ริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education)
ระหวา งวันท่ี 10 – 14 มิถุนายน 2562 ณ โรงแรมรอยัลซติ ้ี กรุงเทพมหานคร

2. การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารบรรณาธิการสอื่ ประกอบการเรียนรู ดานการปอ งกนั การทจุ รติ
หลักสูตรตา นทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education)
ระหวางวนั ที่ 30 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมเบลลา บี จังหวัดนนทบรุ ี

115

การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารจัดทาํ ส่ือประกอบการเรยี นรู ดานการปอ งกันการทุจรติ
หลกั สตู รตา นทุจรติ ศึกษา (Anti – Corruption Education)
ระหวางวันท่ี 10 – 14 มถิ นุ ายน 2562
ณ โรงแรมรอยลั ซิตี้ กรุงเทพมหานคร

คณะผูจ ัดทาํ ตน ฉบบั บทที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตน

กบั ผลประโยชนสวนรวม

1. นางสาวพรทิพย จองทองหลาง เจาพนกั งานปองกันการทุจริตชํานาญการ สาํ นักตานทุจรติ ศึกษา

สาํ นักงานคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ

2. นางดษุ ฎี ศรีวัฒนาโรทยั ขาราชการบาํ นาญ

3. นายอนันต คงชุม รองผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวดั สุโขทยั

4. นางสาวจริ าภรณ ตันตถิ าวร ผอู ํานวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ กรุงเทพมหานคร

5. นางอําพรศลิ ป ลมิ าภริ ักษ ผอู าํ นวยการ กศน.เขตประเวศ กรงุ เทพมหานคร

6. นางวนั เพ็ญ แจมอนงค ผอู าํ นวยการ กศน.เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร

7. นายมงคล พลายชมพูนทุ ผูอํานวยการ กศน.อําเภอไทรงาม จงั หวัดกาํ แพงเพชร

8. นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป หวั หนา กลุมงานพฒั นาสื่อการเรียนรู

กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

9. นางเยาวรัตน ปน มณวี งศ หวั หนา กลุมงานเทยี บระดบั การศกึ ษา

กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

10. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น นกั วชิ าการศึกษา

กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

คณะผูจดั ทําตนฉบับ บทท่ี 2 ความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต

1. นางสาวชิดชนก สีนอง เจา พนกั งานปองกนั การทจุ รติ ปฏิบัตกิ าร สาํ นักตา นทุจริตศกึ ษา

สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

2. นางนพรัตน เวโรจนเ สรีวงศ ขาราชการบาํ นาญ

3. นางสาวอรณุ ี พันธพุ าณิชย ผูอํานวยการ กศน.อาํ เภอสงู เมน จงั หวัดแพร

4. นางสาวอาํ ภรณ ชา งเกวยี น ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอแจหม จงั หวดั ลาํ ปาง

5. นางสาวพัชรา จงโกรย ศกึ ษานเิ ทศก สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั ลพบรุ ี

6. นางสาวนิตยา มขุ ลาย ศกึ ษานิเทศก สาํ นักงาน กศน.จงั หวัดลพบรุ ี

7. นางนุสรา สกลนกุ รกิจ หัวหนา กลมุ งานพฒั นาการเรียนการสอน

8. นางสาวชัญญากาญจน โคตรพฒั น 116
9. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นักจัดการงานทัว่ ไปชาํ นาญการ
กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นกั วิชาการศึกษา
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

คณะผจู ดั ทําตนฉบบั บทท่ี 3 STRONG : จิตพอเพยี งตา นการทุจริต

1. นายศภุ วฒั น สอนลา เจา พนักงานปอ งกนั การทจุ รติ ปฏิบตั ิการ สํานักตานทุจริตศกึ ษา

สาํ นักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ

2. นางสาววไิ ล แยม สาขา ขาราชการบํานาญ

3. นางสาววมิ ลรตั น ภรู คิ ุปต ผูอ าํ นวยการ กศน.เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

4. นางสาวพัชยา ทบั ทิม ผูอาํ นวยการ กศน.เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร

5. นางสาววาสนา โกสยี ว ัฒนา ครเู ช่ยี วชาญ ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา

ตามอธั ยาศัย กลุม เปา หมายพเิ ศษ

6. นายมงคลชัย ศรีสะอาด นกั วชิ าการศึกษาชาํ นาญการพเิ ศษ

ศูนยว งเดือนอาคมสรุ ทัณฑ จังหวัดอทุ ัยธานี

7. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี หัวหนากลุมงานประกันคณุ ภาพศึกษา

กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

8. นางสาวฐิติมา วงศบณั ฑวรรณ นักวชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการพเิ ศษ
9. นางสุกญั ญา กลุ เลศิ พทิ ยา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
10. นางสาวชมพนู ท สังขพ ิชัย เจาพนกั งานธรุ การชาํ นาญงาน
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นกั วชิ าการศึกษา
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

คณะผูจัดทาํ ตน ฉบบั บทที่ 4 พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอ สงั คม

1. นายภัทรพล หงสจ ันทกานต เจา พนกั งานปอ งกนั การทจุ ริตปฏิบัติการ สํานกั ตา นทจุ รติ ศึกษา

สาํ นกั งานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ

2. นางสาวพิมพาพร อนิ ทจกั ร ขาราชการบาํ นาญ

3. นายจริ พงศ ผลนาค ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทัย

4. นางมณั ฑนา กาศสนุก ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอเมืองแมฮ อ งสอน จังหวัดแมฮองสอน

5. นางสาวอนงค ชูชยั มงคล ครูเชีย่ วชาญ ศูนยว งเดอื นอาคมสรุ ทัณฑ จงั หวัดอทุ ัยธานี

6. นางสาวอนงค เช้อื นนท 117
7. นางสาวพจนยี  สวสั ดร์ิ ัตน
ครชู าํ นาญการพเิ ศษ กศน.เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร
8. นางสาววรรณพร ปทมานนท ครชู ํานาญการพเิ ศษ กศน.อําเภอเมืองกาํ แพงเพชร
จังหวดั กําแพงเพชร
9. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน หัวหนากลมุ งานพฒั นาหลกั สูตร
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
10. นางสาวขวญั ฤดี ลวิ รรโณ นักวชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการ
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นกั วิชาการศกึ ษา
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

118

การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารบรรณาธกิ ารสอ่ื ประกอบการเรียนรดู านการปอ งกนั การทจุ ริต
หลักสตู รตานทจุ รติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education)
ระหวา งวนั ที่ 30 กรกฎาคม - 2 สงิ หาคม 2562
ณ โรงแรมเบลลา บี จังหวัดนนทบรุ ี

คณะบรรณาธกิ าร ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน

1. นางพรทิพย เขม็ ทอง ขาราชการบาํ นาญ

2. นางชนิดา ดีย่งิ ขา ราชการบาํ นาญ

3. นางสาวอรณุ ี พันธพุ าณิชย ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอสงู เมน จังหวดั แพร

4. นางสาวอนงค ชชู ัยมงคล ครเู ชยี่ วชาญ ศูนยว งเดอื นอาคมสรุ ทัณฑ จังหวัดอทุ ัยธานี

5. นายโยฑนิ สมโนนนท ครูชํานาญการ กศน.อําเภอสนั ปาตอง จงั หวัดเชยี งใหม

6. นางสาวฐิติมา วงศบ ัณฑวรรณ นักวิชาการศึกษาชาํ นาญการพเิ ศษ

กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

7. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน นักวชิ าการศึกษาชาํ นาญการ

กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

8. นายจตรุ งค ทองดารา นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร

กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

119

คณะทํางาน

ทป่ี รกึ ษา พระประชาธรรม เลขาธกิ าร กศน.
ลีสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
1. นายศรีชยั ไสยโสภณ ผูอาํ นวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
2. นางสาววิเลขา และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
3. นางรงุ อรุณ

คณะทาํ งาน ไสยโสภณ ผอู ํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัย
1. นางรุงอรณุ
หัวหนา กลมุ งานพัฒนาสอื่ การเรยี นรู
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

3. นางสาวชัญญากาญจน โคตรพัฒน นกั จดั การงานท่วั ไปชํานาญการ
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
4. นางสาวทพิ วรรณ วงคเรือน
นกั วิชาการศกึ ษาชํานาญการ
5. นางสาวชมพูนท สังขพชิ ัย กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

นกั วชิ าการศึกษา
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

ออกแบบปก ศรีรตั นศลิ ป หวั หนา กลุมงานพฒั นาส่อื การเรียนรู
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นายศุภโชค


Click to View FlipBook Version