ของใคร 100 กันแน่
นก่ี เ็ พราะความยดึ ตดิ ถอื มน่ั ทจี่ ะใหม้ นั เปน็ ไปตามใจเรา เสรจ็ แลว้ เรา
กเ็ ผลอ กลายเปน็ ทาสของมันไป
ความยดึ มนั่ ในสง่ิ ทเี่ ปน็ ของเรานอี่ นั ตราย เวลาเรายดึ มน่ั อะไร
วา่ เปน็ ของเราแลว้ เชน่ ยดึ มนั่ ในรถ กเ็ หมอื นกบั วา่ เอาตวั กไู ปฝาก
ไวก้ บั รถ ใครมาวจิ ารณร์ ถ กเ็ ทา่ กบั วจิ ารณต์ วั ก ู มาท�ำใหร้ ถเปน็ รอย
ขีดขว่ น ก็เท่ากบั ว่ามาทำ� ร้ายตัวกูดว้ ย
ความคดิ กเ็ หมอื นกนั ความคดิ อนั ไหนทเี่ ราเหน็ วา่ เปน็ ความคดิ
ท่ีดี ประเสริฐ ก็ไปส�ำคัญม่ันหมายว่านี่เป็นความคิดของกู ถ้าใคร
ไม่เห็นด้วยกับความคิดของกู ก็เท่ากับว่าไม่เห็นด้วยกับตัวกู ก็อยู่
ด้วยกันไม่ได้
บางทบี า้ นเดยี วกนั กท็ ะเลาะกนั ทะเลาะกนั เรอื่ งอะไร ทะเลาะ
กันเร่ืองเอาทักษิณ ไม่เอาทักษิณ ก็ไปยึดมั่นว่า นี่ความคิดของกู
ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ความคดิ ก ู กแ็ สดงวา่ ไมเ่ อาก ู กท็ ะเลาะกนั จนกระทง่ั
บ้านแตก เวลาเราไปส�ำคัญม่ันหมายกับอะไร เราต้องระวังอย่าให้
ตัวกขู องกเู ข้ามาเปน็ ใหญ่
พระไพศาล 101 วิสาโล
เรามักยดึ ตดิ อะไรต่ออะไรวา่ เปน็ ตวั กขู องกูโดยไมร่ ตู้ วั อยา่ ง
เวลาไปเมอื งนอก ไปถามฝร่ังว่า หน้าร้อนน้ีจะไปไหน เขาบอกจะ
ไปเวียดนาม ไปลาว ไปเขมร จะมคี วามคิดเกิดขึน้ ทันทวี า่
“เอ๊ะ ท�ำไมไม่ไปเมืองไทย เมืองไทยของกูไม่ดียังไง ท�ำไม
ถงึ ไปลาว ไปเขมร ไปเวียดนาม”
นเี่ กดิ ความไมพ่ อใจเขาขน้ึ มาทนั ทเี ลย ทงั้ ๆ ทเ่ี ขาไมไ่ ดว้ จิ ารณ์
ประเทศไทยเลย
นักปฏิบัติธรรม ถ้าเผลอก็อาจจะเป็นแบบเดียวกัน มีคนมา
ทวี่ ดั เราก็ไปคยุ กบั เขา คยุ ไปคยุ มา เขากบ็ อกวา่ เขาชอบไปปฏบิ ตั ิ
ธรรมท่ีวัดนั้นวัดนี้ เช่น ที่วัดม่ิงขวัญ สวนป่าอกาลิโก เราไปฟังก็
เกิดความรูส้ กึ ไม่พอใจทันทีว่า
“แลว้ วัดฉนั ไม่ดยี งั ไง ถงึ ไม่มาปฏิบัติท่ีน”ี่
แนะ่ หาเรอื่ งทนั ทเี ลย นเ่ี ปน็ เพราะความยดึ ตดิ ถอื มน่ั วา่ นว่ี ดั
ของก ู ถา้ ใครจะมาปฏบิ ตั ธิ รรมกต็ อ้ งมาวัดกูสิ เสรจ็ แลว้ เราก็ผดิ ใจ
กันหรือทะเลาะกนั เพราะเรื่องน้ ี ทงั้ ๆ ทีเ่ ปน็ นกั ปฏิบตั ธิ รรมแทๆ้
ของใคร 102 กันแน่
ความยึดติดถือมั่นในตัวกูของกูมันละเอียดอ่อนมาก มัน
แยบคายมาก และพอยึดม่ันแล้ว ชีวิตจิตใจก็จะทุ่มเทเพื่อมันโดย
ไม่รตู้ วั กลายเปน็ ว่าท�ำเพ่อื มัน จนอาจยอมตายเพอื่ มันได้
พดู มาอยา่ งน ี้ บางคนกอ็ าจจะมคี �ำถามวา่ ถา้ เชน่ นน้ั เราก็ไม่
ควรจะมีอะไรเลยใช่ไหม เพราะมีอะไรก็ตามเราก็จะกลายเป็นของ
มันไป ทจ่ี รงิ เรามีไดน้ ะ แต่มโี ดยที่ไมไ่ ปยึดวา่ มนั เปน็ ของเรา เช่น
อาจจะท�ำในใจว่าทรัพย์สมบัติเหล่าน้ีเป็นสิ่งที่เราหยิบยืมมา มัน
ไม่ใช่ของเรา ถึงเวลาเราก็ตอ้ งสง่ คนื ใหค้ นอืน่ ไป
แม้แต่ร่างกายนี้ ก็เป็นส่ิงที่เราหยิบยืมมาจากธรรมชาติ ถึง
เวลาเราก็ต้องคนื ให้ธรรมชาติไป ทรัพยส์ มบตั ินีก่ ็ชดั เจน เมอื่ เวลา
เราตาย เราก็เอาไปไม่ได้ มันก็ต้องตกเป็นของคนอื่น จริงๆ แล้ว
มนั ไม่ใชเ่ ปน็ แคค่ วามคดิ นะ มนั เปน็ ความจรงิ วา่ สง่ิ ทง้ั หลายทง้ั ปวง
ลว้ นเปน็ ของธรรมชาต ิ เราไมไ่ ดเ้ ปน็ เจา้ ของแมแ้ ตน่ อ้ ย แตเ่ ราสมมติ
พระไพศาล 103 วิสาโล
ข้ึนมาว่ามันเป็นของเรา และเมื่อใดก็ตามที่เราไปยึดว่ามันเป็น
ของเรา เราก็ไม่ต่างจากขโมย
ของเหลา่ นเี้ ปน็ สมบตั ขิ องธรรมชาต ิ เมอ่ื เราไปตวู่ า่ เปน็ ของเรา
ไม่ว่าส่ิงนั้นจะเป็นอะไรก็ตาม เราก็จะหาความสุขไม่ได้ เช่นเดียว
กับคนที่ขโมยเงินก็ต้องถูกต�ำรวจไล่จับ จะหายเดือดเนื้อร้อนใจ
ก็ตอ่ เมื่อคืนให้กับเจ้าของไป
เมอื่ ใดกต็ ามทเ่ี ราคดิ วา่ ของนนั้ เปน็ ของเรา เรากจ็ ะไมม่ คี วามสขุ
เพราะต้องคอยห่วงกังวล เช่น กลัวหาย กลัวคนมาขโมยไป ยิ่ง
ส�ำคัญม่ันหมายว่าเป็นของฉันมากเท่าไหร่ ก็จะย่ิงกลัวมันหาย
กลวั มนั เสอื่ มหรอื เสยี ไป อนั นแ้ี หละเปน็ ความทกุ ขท์ เ่ี กดิ จากการไป
ตู่เอาสิง่ ที่เป็นของธรรมชาตมิ าเป็นของเรา
แตถ่ า้ เราไมส่ ำ� คญั มน่ั หมายวา่ มนั เปน็ ของฉนั มนั เปน็ แคข่ อง
ท่ีฉันหยิบยืมมาชั่วคราว เราก็จะไม่ทุกข์ และไม่ตกอยู่ในอ�ำนาจ
ของมนั หรือกลายเปน็ ของมนั ไป
ทีน้ีก็อาจมีค�ำถามว่า เมื่อถือว่าทุกส่ิงทุกอย่างเป็นของที่เรา
หยบิ ยมื มาชวั่ คราว ฉะนนั้ ก็ไมต่ อ้ งดแู ลรกั ษาหรอื เอาใจใสม่ นั ใชไ่ หม
ของใคร 104 กันแน่
ไม่ใช ่ ของทห่ี ยบิ ยมื เขามา ไมว่ า่ อะไรกต็ าม เรามหี นา้ ทต่ี อ้ ง
ดแู ลรกั ษา ไม่ใชว่ า่ ในเมอื่ เปน็ ของทย่ี มื มา ไม่ใชข่ องฉนั ฉนั จะใช้
แบบท้ิงๆ ขว้างๆ ก็ได้ อันนั้นไม่ใช่วิสัยของผู้ยืมท่ีดี ในชีวิตจริง
เรายมื ของใครมา จะเปน็ โทรศพั ทก์ ด็ ี เปน็ รถกด็ ี หมายความวา่ เรา
ไมต่ ้องดูแลใช่ไหม
ไม่ใช่เลย ถึงแม้ไม่ใช่ของเรา เราก็ต้องดูแลให้ดีก่อนที่จะ
คนื ใหแ้ กเ่ จา้ ของ ขนื เราไมท่ ำ� เชน่ นนั้ เรากจ็ ะถกู ตอ่ วา่ หรอื ถกู ปรบั
ในทำ� นองเดยี วกัน ใครยืมของเราเขาก็ตอ้ งดูแลใหด้ ี และส่งคนื มา
ในสภาพที่ดีไม่ต่างจากตอนท่ียืมไปใช่ไหม หากของท่ีคืนมาอยู่ใน
สภาพยับเยิน เราจะพอใจไหม
ของท่ีเราหยิบยืมมา เรามีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่ แต่การ
เอาใจใส่ของเราจะเป็นไปด้วยความรู้สึกโปร่งเบามากขึ้น หนักอก
หนักใจน้อยลง ไม่เหมือนกับตอนที่ยึดติดถือมั่นว่ามันเป็นของเรา
เราจะห่วงกังวลมาก
เพราะฉะนนั้ จงึ อยากใหล้ องคดิ แบบนเี้ สยี บา้ งวา่ ทรพั ยส์ มบตั ิ
ทั้งหลายท้ังปวงที่อยู่กับเรา แม้เราจะซื้อมา แต่ก็ให้ถือว่าเป็นของ
พระไพศาล 105 วิสาโล
ท่เี ราหยบิ ยืมมา มนั จะอยูก่ ับเราเพยี งชั่วคราว ไมน่ านมันก็จะจาก
เราไป หรอื ไมเ่ รากต็ อ้ งคนื เจา้ ของทแ่ี ทจ้ รงิ ไป ไมม่ อี ะไรทเ่ี ปน็ ของ
เราเลยสกั อยา่ ง แม้แต่ร่างกาย
ฉะนนั้ หากไมอ่ ยากจะทกุ ขเ์ พราะความพลดั พรากสญู เสยี หรอื
ว่าทุกข์เพราะกลายเป็นทาสของมัน เราก็อย่าไปยึดติดถือม่ันว่า
มนั เปน็ ของเรา มนั เปน็ แคข่ องทหี่ ยบิ ยมื มา ถงึ เวลากต็ อ้ งคนื เขาไป
หรือพร้อมที่จะให้เป็นไปตามเหตุตามปัจจัยของธรรมชาติ อย่าไป
ยดึ อยา่ ไปขวางเอาไว ้ แตก่ ็ไมไ่ ดห้ มายความวา่ เราจะไมด่ แู ลรกั ษา
เราดแู ลเตม็ ท ี่ แตไ่ มไ่ ดท้ ำ� ดว้ ยความยดึ ตดิ ถอื มน่ั รา่ งกายไมใ่ ชข่ อง
เรากจ็ ริง แตเ่ รากด็ แู ลรกั ษาและพรอ้ มทำ� ใจวา่ เม่อื ถงึ เวลากต็ อ้ งคืน
ใหก้ บั ธรรมชาตไิ ป เรยี กวา่ เปน็ “การม”ี แบบ “พรอ้ มทจี่ ะปลอ่ ยวาง”
ขอให้สังเกต เม่ือเราพร้อมท่ีจะปล่อยวางหรือสละออกไป
กลับย่ิงมยี งิ่ ได้ ตรงกนั ข้ามคนทีย่ ิ่งยึดเอาไวก้ ลับยง่ิ เสีย ลองนกึ ถงึ
คนท่ีเขาไม่ยึดติดถือม่ันกับทรัพย์สมบัติ เช่น อาจารย์กรรมฐาน
ทา่ นมบี รขิ ารไมก่ ช่ี นิ้ คอื ทา่ นสละหมดแลว้ แตป่ รากฏวา่ ยงิ่ สละ คน
ก็ยิ่งให้ท่าน ถวายเงินไม่ใช่แค่ล้าน ไม่ใช่แค่สิบล้าน แต่เป็นร้อย
ล้าน อย่างมหาตมะคานธีก็เช่นกัน ท้ังเน้ือทั้งตัวมีสมบัติไม่กี่ชิ้น
ของใคร 106 กันแน่
เพราะทา่ นสละเกอื บทกุ อยา่ ง แตย่ ง่ิ สละ คนกย็ งิ่ บรจิ าคใหท้ า่ น ตอ้ งการ
เงินเท่าไหร่ ก็มีคนทุ่มเทให้ ท่านย่ิงจนเท่าไหร่ ก็ย่ิงรวยมากขึ้น
ตรงกนั ขา้ ม ยิง่ เราอยากได้ กลบั ไมไ่ ด ้ แต่ยิ่งปลอ่ ยวาง กลบั มี
ธรรมชาตเิ หมอื นเลน่ ตลกกบั มนษุ ย ์ แตม่ นั เปน็ อยา่ งนน้ั จรงิ ๆ
พระพุทธเจ้าเป็นผู้ท่ีสละโลกแล้ว แต่ปรากฏว่า โลกท้ังโลกก็มาอยู่
แทบเทา้ ของพระองค ์ จะเรยี กวา่ โลกทง้ั โลกกลายมาเปน็ ของพระองค์
ก็วา่ ได้
เดย๋ี วนที้ กุ มมุ โลกนบั ถอื พระพทุ ธเจา้ วา่ เปน็ พระศาสดา ปฏบิ ตั ิ
ตามค�ำสอนของพระองค์ ท้ังๆ ท่ีพระองค์ไม่เคยคิดจะครอบครอง
ไม่คิดที่จะเป็นจักรพรรดิ แต่สุดท้ายโลกทั้งโลกก็มาสยบอยู่ใต้เท้า
พระองค ์ ขณะทจ่ี กั รพรรดทิ งั้ หลายไมว่ า่ จะแผแ่ สนยานภุ าพยดึ ครอง
แผ่นดนิ ไดม้ ากเทา่ ไหร่ สดุ ท้ายก็ต้องสูญเสียมนั ไป
ขอใหล้ องท�ำแบบพระองคด์ บู า้ ง คอื มโี ดยไมส่ �ำคญั มนั่ หมาย
วา่ เปน็ ของเรา มแี บบไมม่ ี ไมใ่ ชว่ า่ มไี มไ่ ด ้ แตม่ ใี หเ้ ปน็ คอื มโี ดย
ไมย่ ดึ ตดิ ถอื มน่ั วา่ มนั เปน็ ของเรา ถา้ เราทำ� อยา่ งนที้ ลี ะนดิ ทลี ะหนอ่ ย
ชีวิตจะเบาข้ึนเรื่อยๆ เพราะไม่ต้องแบกมันเอาไว้ เราจะเป็นทาส
พระไพศาล 107 วิสาโล
สิ่งต่างๆ น้อยลง และเป็นอิสระมากข้ึน ขณะเดียวกัน เมื่อเราไม่
คิดครอบครองอะไร ส่ิงต่างๆ ก็จะกลายเป็นของเราอย่างแท้จริง
คอื เปน็ ประโยชนแ์ กเ่ รา โดยไม่ท�ำใหเ้ ราเป็นทกุ ข์
ถือธรรมเปน็ ใหญ่
บรรยายเย็นวันท ี่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๔๙
ทปี่ ระเทศอเมรกิ า ทกุ ปจี ะมกี ารแขง่ ขนั การสะกดคำ� ถอื เปน็
งานใหญ่ระดับชาต ิ ซึง่ จดั ติดตอ่ กันมา ๘๐-๙๐ ปแี ลว้ คำ� ท่ีเอามา
ใช้แข่งขันก็เป็นค�ำภาษาอังกฤษหรือไม่ก็ค�ำต่างประเทศที่เอามาใช้
กันในภาษาอังกฤษ คนท่ีจะเข้าแขง่ ขันตอ้ งอายตุ ำ่� กว่า ๑๗ ป ี ปนี ้ี
มีเด็กเข้าร่วมกว่าสิบล้านคนจากท่ัวประเทศ รอบสุดท้ายเขาคัดมา
จนเหลือ ๒๐ คน แล้วเอามาแข่งขันกันเองโดยมีการถ่ายทอดสด
ทว่ั ประเทศ ซงึ่ เพง่ิ จะผา่ นไปเมอื่ สองสามเดอื นนเี้ อง ปนี ม้ี เี หตกุ ารณ์
ที่น่าสนใจ ก็คือ หลังจากท่ีการแข่งขันงวดลงมาจนเหลือเด็กแค่
๔-๕ คน ตวั เกง็ อนั ดบั หนงึ่ ก็ไดแ้ กซ่ ามรี ์ อายแุ ค ่ ๑๒ ป ี อนั ดบั สอง
ชื่อ ราชีพ เป็นลูกคร่ึงทั้งสองคน น่าสังเกตว่าคนท่ีเป็นตัวเก็งและ
ผู้ชนะมักจะเปน็ ลูกครงึ่ เป็นอยา่ งนม้ี าหลายปแี ล้ว ใครๆ กค็ าดวา่
พระไพศาล 109 วิสาโล
ซามรี จ์ ะเปน็ ผชู้ นะ แตป่ รากฏวา่ ซามรี ไ์ ปเจอคำ� ยากสดุ ๆ อยคู่ ำ� หนง่ึ
ซงึ่ มาจากตา่ งประเทศ คำ� นนั้ คอื eramacausis อยา่ วา่ แตจ่ ะสะกดเลย
อา่ นออกเสยี งยงั ไงอาตมาก็ไมแ่ นใ่ จ ซามรี ส์ ะกดไมไ่ ด ้ กต็ กรอบไป
ตวั เก็งอนั ดับสองคือ ราชีพ ก็เลยกลายเป็นตวั เกง็ อนั ดบั หน่งึ แทน
ทนี พ้ี ธิ กี รเขากม็ าสมั ภาษณร์ าชพี วา่ ดีใจไหมทซี่ ามรี ต์ กรอบ
ไป ถ้าเราเป็นราชีพ เราจะตอบอย่างไร หลายคนคงตอบว่าดีใจ
แตร่ าชีพกลับตอบวา่
“ไม่ครับ นเ่ี ปน็ การแขง่ ขนั กบั ‘คำ� ’ ไมใ่ ชก่ บั ‘คน’ ครบั ”
พอเขาพูดจบ ผู้ชมในห้องประชุมก็ปรบมือด้วยความช่ืนชม
เพราะนึกไม่ถึงว่าเขาจะตอบได้อย่างน่าประทับใจ ค�ำตอบของเขา
อยา่ วา่ แตเ่ ดก็ เลย แมแ้ ตผ่ ใู้ หญก่ ค็ งไมต่ อบแบบน ี้ เพราะมกั จะมอง
ซึ่งกันและกันเป็นคู่แข่ง บางทีไม่ได้เห็นเป็นแค่คู่แข่ง แต่เห็นเป็น
ศตั รดู ว้ ยซำ�้ แตว่ า่ ราชพี ไมไ่ ดม้ คี วามคดิ แบบนเ้ี ลย เขามองวา่ คแู่ ขง่
ของเขาไม่ใช่คน แต่เป็นค�ำยากๆ ซ่ึงเขาจะต้องเอาชนะให้ได้
น่ันคือจะต้องถอดตัวสะกดออกมาให้หมดทุกตัว ดังน้ันเมื่อซามีร ์
ตกรอบ ราชีพจึงไม่ได้รู้สึกดีใจ เพราะว่าเขาไม่ได้มองซามีร์เป็น
ค่แู ข่งตั้งแตแ่ รก
ถือธรรม 110 เป็นใหญ่
ผใู้ หญท่ ดี่ รู ายการนคี้ งนกึ ไมถ่ งึ วา่ เดก็ อาย ุ ๑๒-๑๓ จะตอบ
แบบน ี้ คำ� ตอบของราชพี คงทำ� ใหผ้ ใู้ หญห่ ลายคนสะอกึ เพราะสว่ น
ใหญ่มองว่าเด็กเหล่านี้เป็นคู่แข่งกัน หรือเข้าไปถือหางกันจนแบ่ง
เป็นฝักเป็นฝ่าย ใครที่เชียร์ราชีพ ก็เห็นซามีร์เป็นคู่แข่ง ส่วนใคร
ท่ีเชียรซ์ ามรี ์ กเ็ หน็ ราชพี เปน็ คู่แขง่ เป็นฝา่ ยตรงข้ามหรือเป็นศตั รู
กันเลยทีเดียว
ที่จริงไม่ใช่แค่การแข่งขันเท่าน้ันที่เรามักจะมองคนอื่นเป็นคู่
แข่ง เป็นฝ่ายตรงข้ามหรือเป็นศัตรู เวลาท�ำงาน เราก็มักจะมอง
คนทอ่ี ยคู่ นละฝา่ ยหรอื คนละหนว่ ยงาน วา่ เปน็ คแู่ ขง่ หรอื ฝา่ ยตรงขา้ ม
เหมือนกัน การมองแบบน้ีท�ำให้เราทุกข์นะ เพราะว่าจะเกิดความ
อิจฉาหรือเกิดความเครียดข้ึนมา โดยเฉพาะเม่ืออีกหน่วยงานหรือ
อีกฝ่ายเขาท�ำงานได้ดีกว่าหรือประสบความส�ำเร็จได้มากกว่าเรา
ท�ำไปๆ สักพัก เราจะเผลอแช่งให้เขาประสบปัญหา และหากเขา
ทำ� งานผดิ พลาดหรือลม้ เหลว เราจะมีความสุขมาก
แต่ถ้าเราเปลี่ยนมุมมอง มาลองมองอย่างราชีพดูบ้าง คือ
ไมไ่ ดม้ องวา่ คนหรอื ใครกต็ าม เปน็ คแู่ ข่ง แตม่ องวา่ งานทเี่ รากำ� ลงั
ทำ� อยนู่ ตี้ า่ งหากทเี่ ปน็ คแู่ ขง่ ของเรา นน่ั คอื ทำ� อยา่ งไรเราถงึ จะทำ� งาน
พระไพศาล 111 วิสาโล
ของเราใหด้ ที สี่ ดุ ถา้ มอี ปุ สรรค ทำ� อยา่ งไรถงึ จะเอาชนะมนั ได ้ สว่ น
คนอ่ืนเขาจะท�ำไดด้ กี วา่ ฉันหรือไม ่ ฉนั ไม่สนใจ เพราะไมไ่ ด้เห็นว่า
เขาเป็นคู่แข่งของฉัน การมองแบบน้ีจะท�ำให้เราจดจ่ออยู่กับงาน
ไม่วอกแวกกับเรื่องคนอ่ืน แล้วก็ไม่ต้องไปทะเลาะเบาะแว้งกับใคร
การทำ� งานดว้ ยมุมมองอยา่ งน้ ี มนั จะทำ� ใหเ้ รามีความสุขมากขนึ้
ลองสังเกตดูสาเหตุท่ีเรามีความทุกข์ ไม่ว่าในเวลาท�ำงาน
หรอื ในชวี ติ ประจำ� วนั กเ็ พราะเราไปมองคนอนื่ ดว้ ยความรสู้ กึ แขง่ ขนั
อยู่ในที เช่น มองว่าเขารวยกว่าเรา เขามีโทรศัพท์มือถือรุ่นด ี
กว่าเรา เขาซื้อของได้ดีกว่าเรา หรือแม้แต่ซื้อของได้ถูกกว่าเรา
เวลาเราไปเที่ยวต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ เห็นของชิ้นหนึ่งวาง
ขายอยู่ริมทางราคา ๕๐๐ บาท เราเหน็ แล้วก็อยากได ้ อตุ ส่าหต์ อ่
ราคาจนลดเหลือ ๓๐๐ บาท เราซื้อมาด้วยความดีใจ แต่พอเรา
กลบั มาทพี่ กั ปรากฏวา่ เพอื่ นเรากซ็ อ้ื ไดข้ องอยา่ งเดยี วกนั แตถ่ กู กวา่
คอื ๒๐๐ บาท เรารู้สกึ ยงั ไง รู้สึกไม่พอใจข้ึนมาทันทีใช่ไหม
ความไมพ่ อใจเกดิ ขนึ้ มาจากอะไร เกดิ จากการไปเปรยี บเทยี บ
กบั เพอื่ นวา่ เขาซอ้ื ไดถ้ กู กวา่ ท�ำใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ตามมาทนั ทวี า่ ฉนั
ซอื้ ของแพงๆ พอคดิ แบบน ี้ กเ็ ลยชน่ื ชมไมล่ งกบั ของทเ่ี ราเพงิ่ ซอื้ มา
ถือธรรม 112 เป็นใหญ่
ทงั้ ๆ ทเี่ ปน็ ของดนี า่ ใช ้ ในทางตรงขา้ ม หากเพอื่ นซอื้ ของชน้ิ นน้ั ใน
ราคา ๔๐๐ บาท เรากลบั จะดีใจหรอื ปลมื้ ใจ ทง้ั ๆ ทน่ี า่ จะเสยี ใจที่
เพอื่ นของเราจา่ ยเงินมากไป
ความรู้สึกอย่างนี้เกิดข้ึนได้เพราะอะไร เพราะลึกๆ เรามอง
เห็นเพ่ือนเป็นคู่แข่ง เราไม่ได้แข่งกันเวลาเล่นกีฬาเท่าน้ัน แม้แต่
เวลาช็อปปิ้งก็ยังอดไม่ได้ท่ีจะมองคนอื่นเป็นคู่แข่ง บางทีจะเลือก
แฟนก็ยังคอยช�ำเลืองดูเลยว่าเพื่อนเราได้แฟนสวยกว่า หรือ
หล่อกว่าแฟนของเราหรือไม่ ค�ำถามก็คือ มองแบบนี้แล้วเราจะมี
ความสุขหรือ
ทุกวันน้ีเราอิจฉาแม้กระท่ังเพ่ือนหรือพ่ีน้อง เพราะมองเขา
เป็นคู่แข่ง ความทุกข์ของคนเราส่วนใหญ่ก็เพราะมองคนอื่นเป็น
คู่แข่ง หรือมองเขาด้วยความรู้สึกแข่งขันอยู่ในที กินก็เลยไม่มี
ความสขุ ชอ็ บปง้ิ ก็ไมม่ คี วามสขุ เลน่ กฬี าก็ไมม่ คี วามสขุ ทำ� งานก็
ไมม่ ีความสขุ
แต่ถ้าเราลองเปลี่ยนมุมมอง จะท�ำอะไรก็ตามก็มองว่าส่ิงที่
ก�ำลังท�ำอยู่เป็นเร่ืองท้าทาย เป็นสิ่งท่ีเราจะต้องท�ำให้ดีท่ีสุด เวลา
พระไพศาล 113 วิสาโล
ทำ� งานกม็ องวา่ งานคอื สง่ิ ทา้ ทาย เปน็ สงิ่ ทเ่ี ราตอ้ งปลกุ ปลำ�้ จนสำ� เรจ็
คอื เหน็ งานเปน็ คแู่ ขง่ แตถ่ งึ แมเ้ ราจะแพ ้ ทำ� งานไมส่ ำ� เรจ็ เราก็ไม่
ทอ้ ถอย หาบทเรยี นจากความผดิ พลาด เกดิ ความรมู้ ากขนึ้ วนั หนา้
ค่อยมาสู้กนั ใหม่
อยา่ งราชพี เขาเคยตกรอบมาแลว้ เมอื่ ปที แี่ ลว้ แตก่ ็ไมท่ อ้ ถอย
เตรียมตัวให้หนักข้ึน จนปีน้ีกลายมาเป็นตัวเก็งอันดับหนึ่ง แต่ใน
ทส่ี ดุ เขากต็ กรอบอกี แตเ่ ขาก็ไมร่ สู้ กึ ทอ้ ถอยเลย เพราะคดิ วา่ ฉนั จะ
ต้องต่อสู้กับค�ำยากๆ นี้ให้ได้ ปีนี้ฉันสู้ไม่ได้ ปีหน้าเอาใหม่ ไม่ได้
เดือดเน้ือร้อนใจท่ีคนอ่ืนได้รางวัลท่ีหน่ึง ใครจะได้รางวัลท่ีหน่ึงฉัน
ไม่สนใจเพราะเขาไม่ใช่คู่แข่งของฉัน คู่แข่งของฉันคือค�ำยากๆ
ฉนั จึงสนใจเพยี งว่าจะเอาชนะค�ำยากๆ ไดอ้ ย่างไร
อนั นเี้ ปน็ มมุ มองทเี่ รานา่ จะเอามาใชก้ บั ตวั เองบา้ ง เวลาทำ� งาน
ก็ถือว่างานเป็นคู่แข่ง คนอื่นจะอยู่ฝ่ายอ่ืนหรือโรงเรียนอื่นก็ตาม
ไม่ใช่คู่แข่งของเรา คือมองไปท่ีงาน ไม่ใช่มองไปที่คน ถ้าจะให้ดี
กว่าน้นั แม้จะมองไปที่งานก็ไมไ่ ดเ้ หน็ ว่างานเปน็ คู่แข่ง แต่เป็นสง่ิ ท่ี
จะชว่ ยใหเ้ ราเจรญิ เตบิ โต มปี ญั ญามากขน้ึ คอื เหน็ เปน็ อาจารยห์ รอื เพอ่ื น
ถือธรรม 114 เป็นใหญ่
ในทำ� นองเดยี วกนั เวลาถกู ตกั เตอื นหรอื ถกู วพิ ากษว์ จิ ารณ์ แทนทจี่ ะ
มองไปท่ีคนซงึ่ ตำ� หนเิ รา ดา่ ว่าเขาอยู่ในใจ กห็ ันไปพจิ ารณาคำ� พดู
ของเขาว่าถูกต้องหรือไม่ มีสาระควรรับฟังไหม ถ้ามองแบบน้ีเรา
จะทกุ ขน์ อ้ ยลง แตไ่ ดป้ ระโยชนม์ ากขนึ้ คอื เกดิ ปญั ญา แตค่ นทว่ั ไป
ไมค่ อ่ ยมองแบบน ้ี เวลามีใครมาตกั เตอื นหรอื ตำ� หน ิ สว่ นใหญจ่ ะมอง
เหน็ คนนน้ั เปน็ ศตั ร ู หรอื เปน็ คนละฝา่ ยกบั เรา ขณะเดยี วกนั กจ็ ะพงุ่
ความรูส้ กึ ไปท่ีคนๆ นน้ั ในทางท่ีไมส่ ูด้ ี แทนทเ่ี ราจะถามตัวเองว่า
“ท่ีเขาพูดน้ันจรงิ หรือเปลา่ มีประโยชนแ์ ค่ไหน?”
กลับไปก่นดา่ ในใจวา่
“ถือดอี ย่างไรมาว่าฉนั แลว้ แกละ่ ดแี ค่ไหน”
ยิ่งคิดก็ย่ิงทุกข์ และเม่ือทุกข์มากๆ ก็ทนไม่ไหว ระบาย
ความโกรธใสค่ นอ่ืน เกดิ ปัญหาตามมาอกี มากมาย
ปญั หาของคนเราสว่ นใหญเ่ กดิ ขนึ้ เพราะการมองหรอื การตงั้ ใจ
ไวผ้ ดิ คอื ตง้ั จติ ไปทค่ี นพดู วา่ เขาพดู อยา่ งนน้ั พดู อยา่ งนก้ี บั เรา แทนที่
จะต้ังจิตอยู่กับสาระของค�ำพูดหรือประโยชน์ที่จะได้จากค�ำพูดน้ัน
พระไพศาล 115 วิสาโล
ตรงนี้มองให้ดี มันสะท้อนถึงอัตตาของเรา เพราะว่า อัตตามันจะ
มนี สิ ยั อยา่ งหนงึ่ คอื เวลาเกดิ อะไรขน้ึ จะเอาความชอบใจหรอื ความ
ไม่ชอบใจเป็นหลัก แต่จะไม่สนใจความถูกต้องหรือประโยชน์ท่ีจะ
เกิดข้ึน การเอาอัตตาหรือความชอบใจ ไม่ชอบใจเป็นหลัก ท่าน
เรียกว่า “อัตตาธิปไตย” แต่ถ้าเราเอาความถูกต้องหรือประโยชน์
เปน็ หลกั ท่านเรยี กว่า “ธรรมาธิปไตย”
ธรรมาธิปไตย ไม่ใช่เรื่องของการปกครองแบบท่ีเราใช้กับ
ค�ำว่าประชาธิปไตย แต่หมายถึงการเอาธรรมะ คือ ความจริง
ความถกู ตอ้ ง เปน็ กรอบในการมอง หรอื เปน็ เกณฑใ์ นการตดั สนิ ใจ
ท�ำอะไรก็ตาม หรือเอามาเป็นใหญ่ในการด�ำเนินชีวิต เช่น จะกิน
อะไร ก็ไม่ใชเ่ พราะวา่ อรอ่ ยถกู ลน้ิ หรอื เทห่ ์ แตเ่ พราะมนั มปี ระโยชน์
ต่อสุขภาพ ในท�ำนองเดียวกัน เวลามีใครมาตักเตือนหรือวิพากษ์
วิจารณ์ แม้จะไม่ถูกใจเรา แต่เราจะเอาค�ำพูดของเขามาพิจารณา
กอ่ นวา่ เปน็ ความจรงิ ไหม มปี ระโยชนห์ รอื ไม ่ ถา้ เปน็ ความจรงิ และ
มปี ระโยชน์ ก็เอามาแก้ไขปรับปรุงตวั เอง
คนเราไม่ค่อยนึกถึงประโยชน์หรือความจริงเท่าไหร่ แต่มัก
เอาความชอบใจไมช่ อบใจเปน็ ทตี่ งั้ ความรสู้ กึ อกี อยา่ งหนง่ึ เวลาถกู
ถือธรรม 116 เป็นใหญ่
วจิ ารณค์ อื รสู้ กึ เสยี หนา้ เสยี หนา้ เพราะกลวั วา่ คนอนื่ เขาจะมองเรา
อยา่ งโน้นอย่างนี้
ทนั ทที ่ีถกู วจิ ารณ ์ ปฏิกิรยิ าอยา่ งแรกคือ นกึ ข้ึนมาวา่ คนอน่ื
เขาจะมองเราอยา่ งไร การคดิ แบบนแี้ หละทท่ี �ำใหเ้ ราทกุ ข ์ ทำ� ใหเ้ รา
คล้อยตามคนอื่นอยรู่ ่�ำไป จะท�ำอะไรก็ต้องดกู ่อนวา่ คนอื่นเขาจะวา่
อยา่ งไร การเอาความเหน็ ของคนอน่ื เปน็ ใหญ ่ ทา่ นเรยี กวา่ “โลกาธปิ ไตย”
คนทนี่ ยิ มโลกาธปิ ไตยนน้ั เวลาเขาจะทำ� อะไรกจ็ ะถามกอ่ นวา่
“คนอ่ืนเขาจะว่าอย่างไร?”
ส่วนคนท่นี ยิ มอัตตาธปิ ไตยนน้ั จะถามวา่
“ท�ำแลว้ ฉันจะไดอ้ ะไร?”
แต่ถ้านิยมธรรมาธิปไตย ก็จะถามวา่
“มันถกู ต้องไหม? เปน็ ประโยชนห์ รือไม่”
คนทจ่ี ะเอาธรรมาธปิ ไตยเปน็ หลกั มกั จะเปน็ คนสว่ นนอ้ ย สว่ น
ใหญจ่ ะหนกั ไปในทางโลกาธปิ ไตยหรอื ไมก่ อ็ ตั ตาธปิ ไตย บางทกี ป็ นๆ
กนั ทง้ั สองอยา่ ง
พระไพศาล 117 วิสาโล
เวลาเกดิ อะไรขน้ึ กต็ าม มกั จะเอาอตั ตานำ� หนา้ ถา้ เขาสรรเสรญิ
เรากเ็ อาอัตตามารบั อัตตาเลยพองโต
ถา้ เขาตำ� หนเิ รา พอเอาอตั ตามารับ อตั ตาก็เลยถูกกระแทก
อยา่ งแรง เกดิ ความไม่พอใจข้นึ มา
แตถ่ า้ เอาธรรมะเปน็ ใหญ ่ นอกจากจะไมค่ อ่ ยทกุ ขแ์ ลว้ ปญั ญา
ยงั จะเกดิ ข้นึ ตามมา เรียกว่าได้ก�ำไร
ที่ไม่ทุกข์ก็เพราะไม่ได้เอาอัตตามารับค�ำต�ำหนิ เลยไม่รู้สึก
ถกู กระทบกระแทก เหมอื นกบั มลี งิ ขวา้ งมะพรา้ วลงมาทเี่ รา แทนที่
จะเอาตวั รบั กห็ ลบเสยี เลยไมเ่ จบ็ และแทนทจี่ ะเอามะพรา้ วนน้ั ขวา้ ง
กลับไป ก็เอามะพร้าวนั้นมาผ่าเอาน�้ำและเน้ือไปใช้ประโยชน์ต่อ
นน่ั คอื แทนทจ่ี ะดา่ กลบั กเ็ อาคำ� ตำ� หนนิ น้ั มาพจิ ารณาเพอื่ หาประโยชน์
จากมนั ซงึ่ ถา้ มองใหด้ ๆี คำ� ตำ� หนทิ ง้ั หลาย ลว้ นมปี ระโยชน์ไมม่ าก
ก็น้อย อย่างน้อยๆ ก็ช่วยให้เรารู้จักนิสัยคนต�ำหนินั้นดีข้ึนว่าเป็น
อยา่ งไร
ถือธรรม 118 เป็นใหญ่
ทา่ ทอี ยา่ งนเี้ ปน็ สงิ่ จำ� เปน็ มากสำ� หรบั คนทที่ ำ� งานเพอื่ ประโยชน์
สว่ นรวม ไมว่ า่ จะเปน็ คร ู เปน็ พระ เปน็ นกั บวช เปน็ หมอ เปน็ พยาบาล
ตรงนี้เป็นเร่ืองส�ำคัญมาก เพราะงานของเราเป็นการเอาประโยชน์
ของผอู้ น่ื เปน็ ตวั ตั้ง มากกวา่ ทจ่ี ะเอาอัตตาหรอื เอาตัวเองเป็นตัวตั้ง
แต่บ่อยคร้ัง เราท�ำงานแล้วมีความทุกข์ เพราะว่าอัตตามัน
ถกู กระทบ เจอปญั หายากๆ เราก็ไมส่ แู้ ลว้ เพราะมนั ไปกระทบอตั ตา
อตั ตาไมช่ อบความลำ� บาก ชอบอะไรทงี่ า่ ยๆ ยงิ่ มที ที า่ วา่ จะลม้ เหลว
ก็ยิ่งไม่อยากท�ำ เพราะกลัวเสียหน้า ไม่อยากเป็นผู้แพ้ แต่ถ้าเรา
มสี ติ เรากจ็ ะเตอื นตนว่า
“นฉี่ นั กำ� ลงั ท�ำเพือ่ ตัวเองนะ ฉันไมไ่ ดท้ �ำเพอื่ ผ้อู น่ื ”
สตจิ ะชว่ ยใหเ้ ราหนั กลบั มาคำ� นงึ ถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมเปน็
ท่ีต้ัง และถ้าเราค�ำนึงถึงประโยชน์ของผู้อ่ืนหรือส่วนรวมเป็นท่ีต้ัง
แล้ว ไม่ว่ามันจะล�ำบากแค่ไหน เราก็ไม่สะดุ้งสะเทือนหรือว่าไม่
ท้อถอย
มเี ดก็ ผูห้ ญิงคนหน่งึ เปน็ ไขข้ น้ึ สูง นอนซมอยบู่ นเตียง หมอ
หนมุ่ กเ็ อายานำ้� มาปอ้ น ทนั ทที เี่ ดก็ เหน็ ชอ้ นปอ้ นเขา้ มาใกลๆ้ ปาก
พระไพศาล 119 วิสาโล
แกกเ็ อามอื สะบดั ชอ้ นกก็ ระเดน็ ยากระเซน็ เปอ้ื นพน้ื หมอกท็ ำ� อกี
คร้ังหน่ึง แต่ช้อนก็ไม่ทันจะถึงปาก เด็กก็ปัดอีก หมอหนุ่มโมโห
มาก เลยเลกิ ปอ้ นยา บน่ ขึน้ มาในใจ ถอื ดยี งั ไง อตุ สา่ หป์ อ้ นยาให้
ยงั มาทำ� อยา่ งนก้ี บั ฉนั ทนี พ้ี อหมอใหญเ่ ขา้ มา และรวู้ า่ เดก็ ไมย่ อม
กนิ ยา หมอใหญ่ก็พยายามปอ้ นยาให้เด็ก เดก็ ก็ท�ำเหมือนเดิม พอ
ชอ้ นสมั ผสั กบั ปาก เดก็ กป็ ดั ชอ้ นยากระเดน็ เปอ้ื นพนื้ แตห่ มอใหญ่
ไม่หว่ันไหว ครั้งน้ีแกยิ้มให้เด็ก เด็กก็ปัดช้อนอีก ครั้งท่ีสามหมอ
ยม้ิ ใหพ้ ร้อมกับพูดหว่านล้อม
“อา้ ปากหนอ่ ย ยาไมข่ มหรอก”
แต่เด็กก็ยังปัดอีก กระน้ันหมอก็ยังไม่ละความพยายาม
คราวนนี้ อกจากจะยม้ิ ใหเ้ ดก็ หมอยงั อา้ ปากดว้ ยอาการคลา้ ยกบั ลกู
อ่อนเวลาจะเกลี้ยกล่อมให้ลูกน้อยกินยา พอช้อนมาถึงปาก
เด็กท�ำท่าจะสะบัดช้อน แต่หมอก็ยังย้ิมให้เหมือนเดิม คราวน้ีเด็ก
ยัง้ มือ ในทีส่ ุดเขาก็อ้าปากรับยาเขา้ ไป
หมอหนมุ่ กบั หมอใหญต่ า่ งกนั ตรงไหน หมอหนมุ่ ถอดใจหลงั
จากท่ีพยายามป้อนยาสองครั้งแต่ไม่ส�ำเร็จ เพราะในใจเต็มไปด้วย
ความไมพ่ อใจทเ่ี ด็กท�ำอย่างนั้นกบั เขา
ถือธรรม 120 เป็นใหญ่
“ฉันอุตส่าห์ท�ำดีกับเธอแล้วยังมาท�ำกับฉัน ถ้าอวดดีอย่างน้ี
ก็อยา่ กนิ ยาเลย”
แต่หมอใหญ่กลับตรงกันข้าม เขาสนใจแต่ว่าท�ำอย่างไรเด็ก
ถงึ จะกนิ ยา เขาไมไ่ ดส้ นใจเลยวา่ เดก็ จะทำ� อะไรกบั เขา ทง้ั ๆ ทเี่ ปน็
หมอใหญ ่ แตเ่ ขาก็ไม่ไดเ้ อาตวั เองเป็นทต่ี ้ัง ไม่ไดค้ ดิ วา่
“ฉนั เปน็ หมอใหญน่ ะ เธอเปน็ เดก็ จะมาทำ� แบบนกี้ บั ฉนั ไดย้ งั ไง”
เมอ่ื ไม่เอาตวั เองเปน็ ทตี่ ัง้ แตค่ ำ� นงึ ถงึ เดก็ เปน็ ส�ำคญั เพราะ
ฉะนั้นแม้เด็กจะปัดช้อนคร้ังแล้วคร้ังเล่า หมอใหญ่ก็ยังท�ำต่อไป
เพราะโจทยข์ องหมอใหญค่ อื วา่ ทำ� ยงั ไงเดก็ ถงึ จะกนิ ยา หมอจงึ ไม่
สนใจว่าตัวตนจะถูกกระทบหรือไม่ ที่จริงถ้าไม่เอาตัวตนออกหน้า
จะมีตัวตนท่ีไหนมาถูกกระแทก พูดอีกอย่าง คือ ไม่มีตัวฉันเป็น
ผู้ถกู กระแทก
เวลาทำ� งานกบั เดก็ และเจอปญั หาแบบน ี้ เราเลอื กจะเปน็ อยา่ ง
หมอคนไหน หมอหนมุ่ หรอื หมอใหญ ่ ถา้ เดก็ หรอื คนทเี่ ราอยากชว่ ย
ทำ� ทา่ ทางปน้ั ปง่ึ หรอื มกี ริ ยิ ามารยาทหยาบคายกบั เรา ไมต่ อบสนอง
พระไพศาล 121 วิสาโล
ความปรารถนาดีของเรา เราจะมปี ฏิกริ ิยาอยา่ งไร อยา่ งหมอหนุ่ม
หรืออยา่ งหมอใหญ่
ถา้ เรานกึ ถงึ ตวั เราเอง เอาอตั ตาเปน็ ใหญ ่ เรากค็ งยอมแพแ้ ลว้
แต่ถ้าเรานึกถงึ ประโยชน์ของเด็กเปน็ ส�ำคัญ เราจะไม่ทอ้ งา่ ยๆ เรา
จะมคี วามเพยี รพยายามไมว่ า่ เดก็ จะหยาบคายกับเราอยา่ งไร เราก็
ไม่สนใจ เราก็จะเพียรพยายามจนกระทั่งส�ำเร็จจนได้ และท�ำโดย
ไม่ทุกข์ด้วยนะ เหมือนกับหมอใหญ่ในเรื่องที่เล่า แกก็ไม่ได้ทุกข์
อะไร เพราะไมไ่ ดเ้ อาตวั ตนออกรบั ตงั้ แตแ่ รก จงึ ไมม่ ตี วั ตนฉนั เปน็
ผทู้ กุ ข ์ และเมอื่ คำ� นงึ ถงึ ตวั เดก็ เปน็ สำ� คญั ในใจจงึ มแี ตค่ วามเมตตา
และเหน็ ใจเดก็ ลกึ ๆ หมออาจจะรดู้ จี ากประสบการณท์ สี่ งั่ สมมานาน
ว่า เด็กคนน้ีคงมีภูมิหลังที่เจ็บปวดกับผู้ใหญ่หรือกับผู้ชายมาก่อน
ท่ีท�ำให้เด็กระแวง ไม่ไว้ใจคนที่จะมาท�ำดีกับเขา หรือไม่เด็ก
อาจตอ้ งการสรา้ งก�ำแพงขวางกน้ั ระหวา่ งตวั เองกบั ผอู้ นื่ เขา้ ไว ้ เพราะ
กลัวจะผิดหวังหากไปผูกพันกับใคร คือ กลัวว่าอาจถูกหลอกหรือ
ต้องพลัดพรากจากกันอีก จึงไม่อยากให้ใครมาใกล้ชิดกับตัวเอง
กเ็ ลยพยายามปฏิเสธความปรารถนาดตี ัง้ แตแ่ รก
ถือธรรม 122 เป็นใหญ่
คนที่ผ่านโลกมามาก เห็นความทุกข์ของผู้คนมามาก ก็ย่ิง
เข้าใจและมีเมตตายิ่งขึ้น ดังน้ันจึงสามารถอดทนกับอากัปกิริยาที่
ไม่ดีของคนอนื่ ไมเ่ หน็ ส่งิ เหล่านน้ั เปน็ สาระ
นเ่ี ป็นวิธหี นึง่ ท่ีจะทำ� งานอย่างมคี วามสุขและไดผ้ ล เพราะวา่
ถ้าเราไม่เอาตัวตนเป็นที่ต้ัง ไม่เอาความชอบใจหรือไม่ชอบใจเป็น
ใหญ ่ แตจ่ ะคำ� นงึ ถงึ ประโยชนแ์ ละความถกู ตอ้ งเปน็ หลกั โดยเฉพาะ
เม่ือเราท�ำงานเพ่ือคนอื่น ลองดูเถอะ ถ้าเราท�ำเพ่ือผู้อื่นแล้ว เรา
จะทำ� ได้ทน เราจะท�ำได้นาน
อย่างแม่จะมีความอดทนต่อลูกสูงมาก ทั้งนี้เพราะแม่นึกถึง
ลูกมากกว่าตัวเอง แต่สาเหตุท่ีเรามักจะท�ำอะไรไม่ได้นานหรือทน
ก็เพราะเผลอเอาตัวเองเป็นใหญ่ เอาอัตตาออกหน้า จึงเจอแรง
กระทบกระแทกไมเ่ วน้ แตล่ ะวนั จงึ เตม็ ไปดว้ ยความทกุ ข ์ คนเราเมอ่ื
เอาตัวตนออกหน้า เวลาเขาท�ำอะไรไม่ดีกับเรา พูดไม่ดีกับเรา
ปั้นปึ่งกับเรา เราก็จะทุกข์ทันที แถมเกิดความเกลียด เกิดความ
ขุ่นเคืองขน้ึ มา เลยไม่อยากจะท�ำต่อ
พระไพศาล 123 วิสาโล
การทำ� งานเพอ่ื ผอู้ น่ื นน้ั ถา้ เราไมร่ ะวงั อตั ตาหรอื ตวั ตนจะเขา้
มาแทรกเขา้ มาออกหนา้ พอออกหนา้ แลว้ กท็ ำ� งานอยา่ งไมม่ คี วามสขุ
และทำ� งานไดไ้ มย่ ดื แตถ่ า้ เราคำ� นงึ ถงึ คนอนื่ เปน็ หลกั เอาประโยชน์
หรอื ความถกู ตอ้ งเปน็ หลกั เราไมเ่ อาตวั ตนออกหนา้ อยรู่ ำ�่ ไป เราจะ
ทำ� งานได้อย่างมคี วามสขุ มคี วามพากเพียรและอดทน
ทีนี้ค�ำถามก็คือเราจะท�ำอย่างไรเพ่ือไม่ให้ตัวตนเข้ามาออก
หน้าอยู่เสมอ อันนี้ก็ต้องอาศัย สติ สติน้ีจะช่วยเตือนเรา ทันทีท่ี
ตัวตนเข้ามาออกหน้า เราจะรู้เลยเพราะพอตัวตนออกหน้า มันจะ
เกิดความรู้สึกเป็นตวั ฉนั ข้ึนมาถูกชม ก็เกดิ ความรสู้ ึกว่า “ฉนั เก่ง”
พอถูกต�ำหนิ ก็เกิดความรู้สึกว่า “ฉันแย่” หรือ “ฉันเสียหน้า”
หรอื “ฉนั ทกุ ข”์ ความรสู้ กึ “ตวั ก ู ของก”ู มนั จะโผลม่ าอยา่ งชดั เจน
เช่น งานของกู โรงเรียนของกู เป็นต้น ใครท�ำดีกว่าฉัน ก็จะไม่
พอใจ เกดิ อจิ ฉา แตถ่ า้ คนอนื่ เกดิ ปญั หา งานลม้ เหลว กจ็ ะดีใจทง้ั ๆ
ท่ีเปน็ เรอ่ื งน่าเห็นใจมากกว่า แต่อัตตามนั ไม่สนใจหรอก ขอให้มนั
เก่งหรอื เด่นกวา่ คนอื่นเป็นใช้ได้
อย่างที่พูดไว้ว่าบ่อยครั้งว่าเรายึดติดถือม่ันโดยไม่รู้ตัว เรา
เป็นพระหรือแม่ชีท่ีสุคะโต มีโอกาสไปสนทนากับนักปฏิบัติธรรม
ถือธรรม 124 เป็นใหญ่
ด้วยกัน พอเขาบอกว่าเขาชอบไปปฏิบัติธรรมที่ส�ำนักโน้นส�ำนักนี้
ถ้าเรามีความยึดตดิ ถือม่นั ในวดั ปา่ สคุ ะโตว่าเป็นวดั ของฉนั เราก็จะ
รู้สกึ ไม่พอใจลึกๆ วา่
“ท�ำไมเธอไมม่ าปฏิบัตทิ ี่วดั ของฉัน ท�ำไมไปวัดอนื่ ”
หรืออาจจะสรุปแต่งตอ่ ไปวา่
“วัดอื่นดีกว่าวดั ฉนั ตรงไหน”
ถ้าไมม่ สี ติร้ตู ัว ใจกจ็ ะพลดั ไปตามความยึดตดิ ถือมน่ั เอาสิ่ง
ที่ไม่เป็นเรื่องมาเป็นเร่ือง ไม่ใช่แต่วัดของฉันเท่าน้ัน เราสามารถ
ยดึ ตดิ ถอื มน่ั ไปกบั ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง รถของฉนั บา้ นของฉนั ประเทศ
ของฉนั ศาสนาของฉนั ท้งั หมดนม้ี ันเปน็ เร่อื งอัตตาทัง้ น้ัน เพราะ
เปน็ เร่ือง “ตัวกขู องก”ู
การยึดติดถือมั่นกับหน้าตาก็เป็นฝีมือของอัตตา มีชื่อเรียก
อกี อยา่ งว่า มานะ เวลาไปไหนกอ็ ยากให้ใครๆ รู้ว่าฉนั เป็นใคร
มานะ คอื อตั ตาทตี่ อ้ งการแสดงความเปน็ ใหญ ่ ตอ้ งการให้
ใครๆ เคารพนบนอบหรือปฏิบัติกับเราอย่างดี หมอหนุ่มเขายังติด
พระไพศาล 125 วิสาโล
ตรงนอ้ี ย ู่ เขากต็ อ้ งการใหเ้ ดก็ ปฏบิ ตั กิ บั เขาดว้ ยความเคารพ พอเดก็
ปัดชอ้ นก็เลยไมพ่ อใจ
“ฉนั เป็นหมอนะ มาท�ำอย่างนีก้ ับฉันได้ไง ถือดยี งั ไง”
แต่ถ้ามีสติรู้ตัวทันทีที่ความคิดแบบนี้มันแวบข้ึน และหันมา
นกึ ถงึ ประโยชนข์ องเดก็ กย็ งั ท�ำงานตอ่ ไปได ้ คนเราน่ีไม่ใชว่ า่ จะทำ�
อะไรเพ่ือผู้อื่นได้ตลอดเวลา บางทีเราก็อดนึกถึงตัวเองไม่ได้ว่า
ทำ� ดที ำ� ไมไมไ่ ดด้ ี ทำ� ไมคนอน่ื ไมเ่ หน็ ความดขี องเรา แตถ่ า้ เรามสี ติ
เราจะรู้ตัวว่า คิดแบบนี้มันไม่ถูก ไม่มีประโยชน์ มันเป็นทุกข์
เปน็ อตั ตาธปิ ไตย บางทเี ราอดคดิ ไมไ่ ดว้ า่ “ทำ� แลว้ ฉนั จะไดอ้ ะไร?”
นี่แหละ “อัตตาธิปไตย” แต่ถ้าเราเอา “ธรรมาธิปไตย” มาเป็น
ตวั นำ� เราก็ร้วู ่า เออ มันเป็นเชน่ นั้นเอง มันเปน็ เชน่ นนั้ เอง
ในชีวิตประจ�ำวันมักจะมีทางเลือกอยู่สองทางอยู่เสมอ เช่น
เราทักเพื่อน เพื่อนไม่ทักเรา ถ้าเราเอาอัตตาน�ำหน้า เราก็จะรู้สึก
ข้นึ มาทันทีว่า
“เอ๊ะ ท�ำกับฉันอยา่ งนี้ได้ยงั ไง ฉนั อุตสา่ หย์ มิ้ ให”้
เห็นไหมว่าเจ้าตัว “ฉัน” มันโผล่ขึ้นมาทันที พอโผล่ข้ึนมา
ถือธรรม 126 เป็นใหญ่
ก็เลยมีตัวฉันเป็นผู้ทุกข์ เป็นผู้เดือดร้อนทันทีเลย แต่ถ้าเรามีสติ
เราจะนึกถึงเขากอ่ นวา่
“วันน้ีเขาเป็นอะไรนะ เขามีเร่ืองทุกข์ใจหรือเปล่า อาจจะมี
ปญั หาทบ่ี า้ นก็ได ้ หรอื วา่ พ่อเขาอาการหนกั ”
พอคิดแบบนี้ เราจะไม่โกรธเขาเลยนะ เราจะมีแต่ความ
เป็นห่วงและความเห็นใจแล้ว ถ้าเราลองเดินเข้าไปถามเขาว่าเกิด
อะไรข้ึน แทนที่จะนึกเอาเอง เราก็อาจจะพบความจริงว่าพ่อเขา
ก�ำลังป่วยหนัก หรือว่าแฟนเขาก�ำลังมีปัญหาเร่ืองหน้ีสิน เมื่อรู ้
เช่นนี้ก็ท�ำให้เกิดความเห็นอกเห็นใจกันมากข้ึน เกิดการเอื้อเฟื้อ
เกอ้ื กูลกัน
ลองนกึ ดเู ถดิ วา่ เวลาประสบกบั เหตกุ ารณท์ ำ� นองน ี้ ถา้ เราเอา
ตัวตนออกหน้าหรือเอาความถูกใจหรือไม่ถูกใจเป็นหลัก ก็จะเกิด
ความรสู้ กึ เปน็ ปฏปิ กั ษ ์ ซงึ่ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาตา่ งๆ ตามมามากมาย
แตถ่ า้ เรานกึ ถงึ คนอนื่ เปน็ หลกั นกึ ถงึ ความจรงิ นกึ ถงึ ประโยชนเ์ ปน็
หลกั เราจะเปน็ ทกุ ขน์ อ้ ยลง โกรธคนนอ้ ยลง เขา้ ใจคนอนื่ หรอื เหน็ ใจ
เขามากขึ้น
พระไพศาล 127 วิสาโล
อันนี้แหละเป็นวิธีการที่จะลดตัวตนลงได้ มันอยู่ท่ีมุมมอง
หรือปฏิกิริยาแรกพบว่า เราเอาอะไรเป็นตัวออกหน้า อัตตาหรือ
ธรรมะ เอาผลประโยชน์ของตวั เองหรอื ประโยชนข์ องผอู้ ่นื เปน็ หลัก
ถ้าเราไม่เข้าใจตรงน้ี เราก็เสร็จอัตตา มันจะโผล่มาเป็นใหญ่หรือ
ออกหน้าอยู่เรื่อย เราจะต้องรู้เท่าทันมัน และหาทางป้องกันไม่ให้
มนั ออกหนา้ โดยการมสี ตแิ ละหาธรรมะ คอื ความจรงิ หรอื ความ
ถูกต้องมาออกหน้าแทน หรือไม่ก็มองเอาส่ิงอ่ืนเป็นคู่แข่ง แทนที่
จะเอาคนหรือใครก็ตามเป็นคู่แข่ง อย่างเช่น ราชีพที่ตระหนักอยู่
เสมอวา่ “เขากำ� ลงั แขง่ กบั คำ� ไมไ่ ดแ้ ขง่ กบั คน” คำ� พดู เพยี งแคส่ อง
ประโยคนี้มีความหมายทล่ี กึ ซึง้ มาก ถา้ เราลองน�ำไปใช้กับงานการ
และชวี ติ ประจำ� วนั ของเรา จะมคี วามทกุ ขน์ อ้ ยลงและจะเปน็ มติ รกบั
ผู้คนได้ง่ายขน้ึ