The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผลโครงการผู้นำฯ (E-book)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nok pood, 2020-12-21 04:05:16

รายงานสรุปผลโครงการผู้นำฯ (E-book)

รายงานสรุปผลโครงการผู้นำฯ (E-book)

4.2 แก้ไขปัญหาการเปรียบเทียบปรับรถตู้รับจ้าง กรณีท่ีสัญญาณระบบนาทาง (GPS) ไม่มี
ความเสถยี รภาพหรือมีการขาดช่วงของสัญญาณ ทาให้ผขู้ บั ข่ีถกู เปรยี บเทยี บปรบั จากการขาดชว่ งของสัญญาณ
นัน้ เพราะบางครั้งรถว่ิงผ่านสถานท่ีที่ไม่มีสัญญาณรองรับ เช่น การวิ่งข้ึนดอย หรือการว่ิงข้ามจังหวัด ซึ่งผู้ขับข่ี
รถตรู้ ับจา้ งไมม่ เี จตนาในการกระทาความผิด หรอื จงใจปิดสญั ญาณดังกล่าว

5. ภาครัฐควรมีมาตรการในการช่วยเหลือผ้ปู ระกอบธรุ กจิ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ย (SMEs)
ดังนี้

5.1 ควรขยายระยะเวลาในการยน่ื ภาษี
5.2 จัดให้มโี ครงการเพ่อื ให้ผูร้ ิเริ่มสร้างธุรกิจได้ทางานร่วมกบั ผู้ท่ีเลิกกิจการแล้ว เพ่อื ประโยชน์
ในการสร้างสมประสบการณ์ และการรบั ชว่ งต่อฐานผู้บรโิ ภค
5.3 ส่งเสริมการค้าออนไลน์ท้ังในและต่างประเทศ โดยเฉพาะในต่างประเทศ ภาครัฐควรให้
ความช่วยเหลือในด้านการประสานงานและการตดิ ตอ่
6. ภาครฐั ควรมีมาตรการในการช่วยเหลอื ผปู้ ระกอบธรุ กิจร้านอาหาร ดงั นี้
6.1ส่งเสริมให้มีการจัดงานเทศกาลอาหาร งานประกวดอาหาร เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจด้านการ
ทอ่ งเทย่ี ว
6.2 จัดเกบ็ ภาษปี า้ ยลดน้อยลง
6.3 ผอ่ นปรนใหส้ ามารถจาหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้ในช่วงเวลา 14.00-17.00 นาฬิกา
7 ภาครัฐควรเพ่ิมบริการนวดและสปาให้อยู่ในสิทธิการรักษาพยาบาล เพื่อให้ประชาชนท่ีมีสิทธิ
สามารถเบิกจ่ายเป็นค่ารักษาพยาบาลได้ เน่ืองจากการนวดและสปาเป็นการส่งเสริมสุขภาพ สร้างอาชีพ
และรายได้ให้กับธรุ กจิ รา้ นนวดและสปาท่ัวประเทศ
8 ภาครัฐควรมีมาตรการให้ความช่วยเหลือเยียวยาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีได้รับผลกระทบ
ขาดรายได้จากการจัดเก็บภาษีท่ีดิน เนื่องจากการแก้ไขกฎหมาย ทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีงบประมาณ
ไมเ่ พียงพอตอ่ การบรหิ ารจัดการในองค์กร
9 ภาครฐั ควรมีมาตรการและจัดต้ังคณะกรรมการขึน้ มาเพ่ือแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 เนื่องจากปัญหา
ดังกล่าวกระทบต่อสุขภาพของประชาชน กระทบต่อเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่
และภาคเหนอื ทั้งหมด
10. รัฐบาลควรปราบปรามการทุจริตคอรัปช่ัน ช่วยแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน รวมทั้ง
ฝ่ายรัฐบาลควรจัดโครงการเพ่อื รบั ปัญหาประชาชนในลักษณะเดียวกัน
11. ควรดูแลความปลอดภัยของเยาวชน ไม่ควรสร้างความแตกแยกในท้องถิ่น เพราะท้องถิ่นใกล้ชิด
ประชาชนพร้อมไปในทิศทางของบา้ นเมืองที่เปน็ ประชาธปิ ไตย
12. ผลักดันการท่องเท่ียว เปิดรับนักท่องเท่ียวเป็นจิตอาสา เพราะมีเวลาใช้จ่ายและนาเม็ดเงินเข้า
จงั หวดั เชยี งใหม่ รวมทงั้ สถาบนั การเงนิ ควรช่วยเหลอื ดา้ นเงนิ ทุน หรอื พกั การชาระหนี้ใหก้ บั ผู้ประกอบการ
13. ภาครัฐควรช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่อย และผู้สูงวัยซึ่งประกอบอาชีพ ให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่าย
โดยให้ธนาคารลดเง่ือนไขกฎเกณฑ์บางข้อ เช่น อายุผู้ประกอบการ สถานะการเงิน เป็นต้น เพราะผู้ประกอบการ

| 44 |

ล้วนต้องการเงินทุนเพ่ือนาไปเสริมสร้างสภาพคล่องในภาคธุรกิจต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้าสาเร็จรูป การท่องเที่ยว
โรงแรม ท่ีพัก รีสอร์ท ธุรกิจสปา ในภาคเหนือให้สามารถดาเนินธุรกิจต่อไปได้ รวมทั้งผู้ประกอบการโอทอป
ควรมีการจัดบูธจาหน่ายสินค้าโอทอป หรือหาสถานที่จาหน่ายให้เพียงพอกับผู้ประกอบการ รวมทั้งส่งเสริม
สนบั สนุนผลิตภัณฑ์โอทอป

14. ควรช่วยเหลือองค์กรปกครองท้องถ่ิน โดยจัดให้มีงบประมาณบริหารจัดการเพียงพอในการช่วยเหลือ
ประชาชนในทอ้ งถิ่น

15. ประเด็นเพมิ่ เตมิ ซง่ึ ผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาตอ้ งการทราบโดยสรปุ ดงั นี้
15.1 ต้องการทราบว่าในฐานะฝ่ายค้าน มีบทบาทหน้าท่ีอย่างไร และจะช่วยราษฎรได้อย่างไร

ในช่วงวิกฤตโควดิ -19
15.2 ต้องการทราบแนวคิด วิสัยทัศน์ของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการฟื้นฟูการท่องเที่ยว ในช่วงระยะเวลา
6 เดือน และในชว่ งระยะเวลา 1 - 3 ปี

15.3 ต้องการทราบความเห็นในฐานะฝ่ายค้าน ว่าการที่รัฐบาลขยายเวลาพระราชกาหนดฉุกเฉิน
เพ่ือควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ออกไปอีก 1 เดือน
จะสง่ ผลกระทบอยา่ งไร

| 45 |

ผลการประเมินโครงการผ้นู าฝ่ายค้านพบประชาชน

ครงั้ ท่ี 2 การรับฟังความเดือดร้อนของผู้ประกอบการภาคการทอ่ งเที่ยวและบริการ

ผลการสารวจความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถามซ่ึงเขา้ ร่วมโครงการเสวนา ครั้งท่ี 2 การรบั ฟังความ
เดือดร้อนของผู้ประกอบกิจการภาคการท่องเท่ียวและการบริการ จากผู้ตอบแบบถาม จานวน 262 คน
เมอื่ วเิ คราะหข์ ้อมลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม และความพึงพอใจตอ่ โครงการ มีผลการประเมิน ดังตอ่ ไปนี้

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเพศ

เพศ จานวน ร้อยละ

ชาย 96 36.6
หญงิ 166 63.4
262 100.00
รวม

ชาย
36.6%

หญงิ
63.4%

ภาพที่ 1 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถามดา้ นเพศ

จากตารางท่ี 1 และภาพที่ 1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ คดิ เป็นร้อยละ 63.4
และเปน็ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 36.6

| 46 |

ตารางท่ี 2 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านสถานะ/อาชีพ

สถานะ/อาชีพ จานวน ร้อยละ

ผู้ประกอบการภาคธรุ กจิ 47 17.9
ผปู้ ระกอบการภาคการท่องเที่ยว 75 28.6
ผู้ประกอบการภาคสินค้าและการบริการ 40 15.3
พนกั งาน/ลูกจ้าง 23 8.8
ประชาชนท่วั ไป 77 29.4
262 100.0
รวม

29.40% 17.90% ผู้ประกอบการภาคธุรกิจ
28.60% ผปู้ ระกอบการภาคการทอ่ งเทย่ี ว
ผ้ปู ระกอบการภาคสนิ ค้าและการบรกิ าร
8.80% พนักงาน/ลกู จ้าง
ประชาชนทัว่ ไป
15.30%

ภาพที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นสถานะ/อาชีพ
จากตารางท่ี 2 และภาพท่ี 2 พบว่า ส่วนใหญ่เป็นประชาชนท่ัวไปมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 29.4
รองลงมา คือ ผู้ประกอบการภาคการท่องเที่ยว คิดเป็นร้อยละ 28.6 ผู้ประกอบการภาคธุรกิจ คิดเป็นร้อยละ
17.9 และผู้ประกอบการภาคสินค้าและการบริการ คิดเป็นร้อยละ 15.3 ทั้งน้ี พนักงานและลูกจ้าง น้อยท่ีสุด
คิดเปน็ ร้อยละ 8.8

| 47 |

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านวุฒิการศึกษา

วฒุ ิการศกึ ษา จานวน รอ้ ยละ

ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี 126 48.1
ปริญญาตรี 112 42.7
ปริญญาโท 20 7.6
สูงกวา่ ปริญญาโท 4 1.5
262 100.0
รวม

7.6% 1.5% 48.1% ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี
42.7% ปริญญาตรี
ปรญิ ญาโท
สงู กวา่ ปรญิ ญาโท

ภาพที่ 3 แสดงค่ารอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถามด้านวุฒกิ ารศึกษา

จากตารางท่ี 3 และภาพที่ 3 พบวา่ สว่ นใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับต่ากวา่ ปรญิ ญาตรีมากทส่ี ุด คดิ เป็น
ร้อยละ 48.1 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 42.7 และระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 7.6
ท้งั น้ี วุฒิการศึกษาสูงกว่าปริญญาโทมจี านวนน้อยทสี่ ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.5

| 48 |

ตารางท่ี 4 แสดงค่าร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านอายุ

อายุ จานวน รอ้ ยละ

ตา่ กวา่ 20 ปี 5 1.9
20 - 30 ปี 21 8.0
31- 40 ปี 27 10.3
41 - 50 ปี 53 20.2
51 ปีขึ้นไป 156 59.5
262 100.0
รวม

59.5% 1.9% ตา่ กวา่ 20 ปี
8.0% 20-30 ปี
10.3% 31-40 ปี
41-50 ปี
20.2% 51 ปีขนึ้ ไป

ภาพที่ 4 แสดงค่ารอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านอายุ

จากตารางที่ 4 และภาพที่ 4 พบว่า ส่วนใหญ่มีช่วงอายุตั้งแต่ 51 ปีขึ้นไป มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
59.5 รองลงมา คือ ช่วงอายุระหว่าง 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.2 ช่วงอายุระหว่าง 31 - 40 ปี คิดเป็น
ร้อยละ 10.3 และช่วงอายุระหว่าง 20 - 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.0 ท้ังนี้ ช่วงอายุต่ากว่า 20 ปี น้อยท่ีสุด
คดิ เปน็ ร้อยละ 1.9

| 49 |

ส่วนท่ี 2 ความพงึ พอใจตอ่ โครงการ
ระดับคะแนนเฉลี่ย สามารถแบ่งระดับความคิดเห็นการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการ

5 ระดบั (Likert Scale) ดังนี้
4.21 - 5.00 หมายถึง ระดับมากทส่ี ดุ
3.41 - 4.20 หมายถงึ ระดับมาก
2.61 - 3.40 หมายถงึ ระดับปานกลาง
1.81 - 2.60 หมายถงึ ระดับนอ้ ย
1.00 - 1.80 หมายถึง ระดับน้อยทีส่ ุด

2.1 กระบวนการและการดาเนินงานโครงการ

ตารางที่ 5 ความคดิ เห็นของผู้เข้ารว่ มโครงการที่มตี ่อกระบวนการและการดาเนินงานโครงการ

ระดับการประเมิน ระดับ
คะแนน
หัวข้อ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด ค่าเฉลีย่ มากท่ีสุด

(5) (4) (3) (2) (1) มากทีส่ ุด

1. การดาเนนิ การจดั เสวนา 91 137 33 1 - 4.21 มาก

(34.7) (52.3) (12.6) (0.4) มากทีส่ ุด

2. ความเหมาะสมของสถานท่ี 133 111 18 - - 4.44 มาก

(50.8) (42.4) (6.9)

3. ความเหมาะสมของ 88 131 40 3 - 4.16

ระยะเวลา (33.6) (50.0) (15.3) (1.1)

4. ความเหมาะสมของ 97 125 38 2 - 4.21

ช่วงเวลาท่จี ดั (37.0) (47.7) (14.5) (0.8)

5. การจดั ลาดับขน้ั ตอนของ 81 137 42 2 - 4.13

กิจกรรม (30.9) (52.3) (16.0) (0.8)

จากตารางท่ี 5 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาตอ่ กระบวนการและการดาเนินงานโครงการ
พบว่า มีการตอบความพึงพอใจอยู่ระหว่างความพึงพอใจระดับมาก (ระดับ 4) จนถึงระดับมากที่สุด (ระดับ 5)
โดยส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจเกี่ยวกับความเหมาะสมของสถานท่ีมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย 4.44 รองลงมา คือ ความ
เหมาะสมของการดาเนินการจัดเสวนา และความเหมาะสมของช่วงเวลาที่จัด ค่าเฉล่ีย 4.21 และความเหมาะสม
ของระยะเวลา คา่ เฉลยี่ 4.16 ท้ังน้ี มีความพึงพอใจตอ่ การจดั ลาดับขน้ั ตอนของกิจกรรมน้อยท่ีสดุ ค่าเฉลี่ย 4.13

| 50 |

2.2 วิทยากร

ตารางที่ 6 ความคิดเห็นของผเู้ ข้าร่วมโครงการท่ีมีตอ่ วทิ ยากร

หวั ข้อ ระดบั การประเมิน ระดับ
มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ คา่ เฉลย่ี คะแนน
1. ความรอบรู้ในเนอื้ หาของ มากทสี่ ดุ
วทิ ยากร (5) (4) (3) (2) (1)
2. ความสามารถในการ 99 135 28 - - 4.27 มาก
ถา่ ยทอดความรู้ (37.8) (51.5) (10.7)
3. ความชดั เจนในการตอบ มาก
คาถามของวิทยากร 88 139 34 1 - 4.20
4. การเปดิ โอกาสให้ (33.6) (53.1) (13.0) (0.4) มาก
แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น
5. ความเหมาะสมของ 85 139 36 2 - 4.17 มากทส่ี ดุ
วิทยากรในภาพรวม (32.4) (53.1) (13.7) (0.8)

87 142 29 4 - 4.19
(33.2) (54.2) (11.1) (1.5)

101 134 25 2 - 4.27
(38.5) (51.1) (9.5) (0.8)

จากตารางท่ี 6 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาท่ีมีต่อวิทยากร พบว่า มีการตอบความ
พึงพอใจอยู่ระหว่างความพึงพอใจระดับมาก (ระดับ 4) จนถึงระดับมากท่ีสุด (ระดับ 5) โดยส่วนใหญ่มีความ
พึงพอใจเก่ียวกับความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร และความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวม มากที่สุด
มคี ่าเฉลี่ย 4.27 รองลงมา คือ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ค่าเฉล่ีย 4.20 และการเปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย 4.19 ทั้งน้ี มีความพึงพอใจเก่ียวกับความชัดเจนในการตอบคาถามของวิทยากร
น้อยที่สุด คา่ เฉล่ีย 4.17

| 51 |

2.3 ความพงึ พอใจในการจัดโครงการเสวนาภาพรวม

ตารางที่ 7 ความคิดเหน็ ของผู้เขา้ รว่ มโครงการที่มตี อ่ การจดั โครงการเสวนาภาพรวม

ระดับการประเมิน ระดับ
คะแนน
หัวข้อ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ุด คา่ เฉล่ีย มาก

(5) (4) (3) (2) (1) มาก

1. ทา่ นไดร้ บั ความรู้ แนวคดิ 72 149 39 2 - 4.11 มาก
มาก
ทักษะ และประสบการณใ์ หม่ ๆ (27.5) (56.9) (14.9) (0.8) มากท่สี ดุ

จากการเสวนา

2. สงิ่ ท่ีทา่ นได้รบั จากโครงการ 59 150 47 6 - 4.00

ครงั้ นต้ี รงตามความคาดหวัง (22.5) (57.3) (17.9) (2.3)

ของทา่ นหรอื ไม่

3. โดยรวมท่านไดร้ ับประโยชน์ 82 131 43 6 - 4.10

จากการเสวนาในคร้ังน้ี (31.3) (50.0) (16.4) (2.3)

4. ความพึงพอใจของทา่ นต่อ 91 135 32 4 - 4.19

ภาพรวมโครงการ (34.7) (51.5) (12.2) (1.5)

5. ท่านไดร้ บั ความสะดวกต่อ 98 136 25 3 - 4.26

เจ้าหน้าที่ (37.4) (51.9) (9.5) (1.1)

จากตารางที่ 7 ความคิดเห็นของผู้เขา้ ร่วมโครงการเสวนาท่ีมีตอ่ การจัดโครงการเสวนาภาพรวม พบว่า
มีการตอบความพึงพอใจอยู่ระหว่างความพึงพอใจระดับมาก (ระดับ 4) จนถึงระดับมากที่สุด (ระดับ 5)
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเก่ียวกับการได้รับความสะดวกต่อเจ้าหน้าท่ีมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.26 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจต่อภาพรวมโครงการ ค่าเฉล่ีย 4.19 การได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะ และประสบการณ์ใหม่ ๆ จาก
การเสวนา ค่าเฉลี่ย 4.11 และการได้รับประโยชน์จากการเสวนาในคร้ังนี้ ค่าเฉล่ีย 4.10 ทั้งนี้ มีความพึงพอใจต่อ
ส่ิงทไ่ี ด้รบั จากโครงการครัง้ น้ีตรงตามความคาดหวงั น้อยที่สดุ ค่าเฉลี่ย 4.00

| 52 |

2.4 สิ่งท่ปี ระทบั ใจในการจดั โครงการ

ตารางท่ี 8 จานวนรอ้ ยละความคิดเหน็ ของผู้เขา้ ร่วมโครงการเสวนาท่มี ีตอ่ สง่ิ ทป่ี ระทบั ใจในการจดั โครงการ

ดา้ น จานวน รอ้ ยละ
(ผู้ตอบ)

วิทยากร 182 21.2

เนือ้ หาข้อมูลในการเสวนา 210 24.5

ผจู้ ัด 140 16.3

สถานที่ 192 22.4

อาหาร/เครื่องดมื่ 133 15.5

จากตารางที่ 8 ความคดิ เหน็ ของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาทมี่ ีต่อส่งิ ทีป่ ระทบั ใจ พบว่า สว่ นใหญม่ ีความ
ประทับใจเกี่ยวกับเนื้อหาข้อมูลในการเสวนามากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 24.5 รองลงมา คือ ความประทับใจต่อ
สถานท่ี คิดเป็นร้อยละ 22.4 ความประทับใจต่อวิทยากร คิดเป็นร้อยละ 21.2 และความประทับใจต่อผู้จัด
คิดเป็นรอ้ ยละ 16.3 ท้งั น้ี มคี วามประทบั ใจตอ่ อาหารและเครอื่ งดื่มน้อยท่สี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.5

สว่ นที่ 3 ข้อเสนอแนะ

3.1 ข้อเสนอแนะเก่ยี วกับประโยชนข์ องโครงการ
 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการเห็นว่า จัดโครงการได้ดีมาก การเข้ารว่ มโครงการได้รับประโยชน์ วิทยากรบรรยาย

ให้ความรู้ได้รับทราบข้อมูลต่าง ๆ เพ่ิมขึ้น ทราบสถานการณ์ใหม่เกี่ยวกับอนาคตการท่องเที่ยวไทย และเน้ือหา
ขอ้ มูลการเสวนามคี วามเหมาะสม รวมทั้งขอบคุณผู้จัดโครงการ และผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรซึ่งรับฟัง
ความคิดเห็นและเขา้ ใจปญั หาของประชาชน

 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการไดม้ ีโอกาสแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ จงึ ควรจัดโครงการเสวนาอยา่ งสม่าเสมอ
3.2 ข้อเสนอแนะสาหรบั การจดั โครงการครงั้ ต่อไป

1) ด้านระยะเวลา
 ควรเพ่มิ ระยะเวลา ช่วงการรบั ฟังปญั หาความเดือดร้อนและความคิดเห็นของประชาชน
 ควรจัดโครงการทุก 3 - 6 เดือน หรือจัดปีละ 2 ครั้ง และการจัดเสวนาในแต่ละคร้ังควรมี

ระยะเวลา 2 - 3 วัน
2) ด้านการดาเนนิ โครงการ/อืน่ ๆ
 ควรมีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการได้ทราบและเปิด

โอกาสให้ประชาชนทว่ั ไปไดเ้ ข้ารว่ มเสวนาทกุ กล่มุ
 ปรับปรุงอาหารและเคร่ืองดื่มให้มีเพียงพอ ปรับปรุงรสชาติอาหาร รวมท้ังขณะรับอาหาร

และเคร่ืองดืม่ ควรเข้าแถวและมีปา้ ยชัดเจน เพอื่ ความเปน็ ระเบียบ
 ควรนาปัญหาและข้อเสนอแนะเข้าสู่การพิจารณาในสภาผู้แทนราษฎร และเสนอรัฐบาล

เพื่อแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างตรงจุด
| 53 |

ครั้งท่ี การรบั ฟังความเดือดร้อน
ของภาคการเกษตร
3

| 55 |

ครัง้ ท่ี 3 การรับฟังความเดอื ดร้อนของภาคการเกษตร

สถานที่ ระยะเวลา วนั เสารท์ ี่ 12 กันยายน 2563
ณ หอ้ งคอนเวนช่นั ฮอลล์ โรงแรมรอยลั นาคาราและคอนเวนชั่นเซน็ เตอร์ หนองคาย
จงั หวัดหนองคาย

กลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมาย คอื ภาคการเกษตร ประชาชนท่ัวไปในพ้นื ที่จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ อุดรธานี หนองคาย
บงึ กาฬ ชัยภูมิ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอด็ เลย สกลนคร และหนองบัวลาภู
11 จังหวดั จานวน 500 คน รวมถึงสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร และผ้สู ังเกตการณ์ จานวน 50 คน

รปู แบบกจิ กรรม การเสวนาและรับฟงั ความคิดเหน็ ของประชาชน

กำหนดกำรโครงกำรผ้นู ำฝำ่ ยคำ้ นในสภำผแู้ ทนรำษฎรพบประชำชน

วันเสารท์ ่ี 12 กันยายน 2563

10.30 – 11.30 น. ลงทะเบยี นผู้เข้าร่วมโครงการเสวนา/ชแ้ี จงรายละเอยี ดการเข้าร่วมโครงการเสวนา

11.30 – 12.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน

12.30 – 13.00 น. พิธีเปดิ และปาฐกถาพิเศษเรื่อง “ผลกระทบความเดือดร้อนภาคการเกษตร”

โดย นายสมพงษ์ อมรววิ ฒั น์ ผูน้ าฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร

13.00 – 16.30 น. เสวนาในหวั ขอ้ “ฝา่ ยคา้ นรับฟงั 4 กล่มุ เปราะบางจากวิกฤตโิ ควิด-19”

ครงั้ ท่ี 3 : ความเดือดรอ้ นภาคการเกษตร โดย วทิ ยากร

1. นายประยุทธ์ ศริ พิ านิชย์ เลขานุการผู้นาฝ่ายคา้ นในสภาผ้แู ทนราษฎร

พรรคเพื่อไทย

2. นายอภชิ าติ ศริ ิสนุ ทร สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร พรรคกา้ วไกล

3. นายแพทย์ประสงค์ บูรณ์พงศ์ รองหวั หนา้ พรรคเสรีรวมไทย

4. นายมนตรี บญุ จรสั ประธานยุทธศาสตร์เกษตรอินทรยี ์

พรรคประชาชาติ

5. นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ หวั หน้าพรรคเพ่ือชาติ

6. นายนคิ ม บุญวิเศษ หัวหนา้ พรรคพลังปวงชนไทย

7. นายศิโรตม์ คลา้ มไพบูลย์ ผูด้ าเนินรายการ

- การเปดิ รบั ฟังปญั หาความเดือดร้อน และข้อคิดเหน็ ของประชาชน

16.30 น. ปิดการเสวนา

| 56 |

การกล่าวเปดิ และปาฐกถาพเิ ศษ

นายสมพงษ์ อมรวิวฒั น์ ผนู้ าฝ่ายคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร

ครั้งท่ี 3 การรับฟังความเดือดรอ้ นของภาคการเกษตร
ณ ห้องคอนเวนชน่ั ฮอลล์ โรงแรมรอยัลนาคาราและคอนเวนชั่นเซน็ เตอร์ หนองคาย จังหวัดหนองคาย

โครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน
“ฝ่ายคา้ นรับฟัง 4 กลุ่มเปราะบางจากวิกฤตโิ ควิด - 19” ครั้งท่ี 3 :
ความเดือดร้อนภาคการเกษตร โดยกลุ่มงานผู้นาฝ่ายค้านในสภา
ผู้แทนราษฎร สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจัดข้ึน
ซึ่งเป็นการเสวนาของผู้แทนจากพรรคการเมืองฝ่ายค้านและเปิด
โอกาสให้เกษตรกรได้แสดงความคิดเห็น เพื่อสะท้อนปัญหาและ
รวบรวมขอ้ มูลนาไปสกู่ ารพจิ ารณาแกไ้ ขปญั หาต่อไป
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ส่งผลกระทบต่อ
ประชาชนอย่างแสนสาหัสในทุกภาคส่วนของประเทศ ซงึ่ ภาคการผลิตที่ได้รับผลกระทบมากท่ีสุด คอื ภาคการท่องเที่ยว
และการบริการ ภาคการส่งออก แรงงานในและนอกระบบ ท้ังนี้ ในปัจจุบันประเทศไทยมีแรงงานจานวน 39 ล้านคน
ซ่ึงในจานวนดังกล่าวเป็นแรงงานภาคการเกษตรมากถึง 14 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 36 ของจานวนแรงงาน
ท้ังหมดของประเทศ ภาคการเกษตรของประเทศไทยมีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 5.7 ของ GDP ประเทศไทย ตัวเลขเหล่านี้
มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง เพราะธรรมชาติของภาคการเกษตรจะใช้แรงงานและพื้นที่เพื่อทาการเกษตรจานวนมาก
แต่ผลผลิตกลับสร้างมูลค่าได้ไม่มากเท่าท่ีควร ทาให้แรงงานรุ่นหนุ่มสาวย้ายไปทางานในภาคบริการและ
ภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมมากขึ้น จึงทาให้ภาคการเกษตรไม่ได้รับการพัฒนาอีกทั้งรัฐบาลขาดแผนพัฒนาในระยะยาว
ทาให้ขาดระบบการจัดสรรการผลิตเพ่ือรักษาเสถยี รภาพของสนิ คา้ การเกษตร
สาหรับผลกระทบด้านการเกษตรในพ้ืนที่จังหวัด
หนองคาย มีการปลูกยางพาราจานวนมาก ในยุคของรัฐบาล
พรรคไทยรักไทย ราคายางพาราสูงถึงกิโลกรัมละ 120 บาท
แต่ในปัจจุบันราคายางเหลือเพียงกิโลกรัมละ 12 บาท
เท่านั้น จึงเป็นเหตุผลให้บริษัทผลิตยางพาราปิดตัวลง
หลายแห่ง มีการรับซื้อยางพาราน้อยลง จากการดาเนินการ
ข้างต้นเป็นตัวอย่างของการบริหารจัดการของรัฐบาลที่
ไม่บรรลุวัตถุประสงคใ์ นการบรหิ ารประเทศ ขาดแผนการ
จัดสรรงบประมาณกระจายลงสู่ท้องถิ่น ขาดการรักษาเสถียรภาพทางการเกษตรในระยะยาว เช่นเดียวกับปัญหา
ภัยแล้งท่ีมีผลกระทบโดยตรงต่อภาคการเกษตร ท้ังน้ี ประเทศไทยมีพื้นท่ีการเกษตรจานวน 149 ล้านไร่
แต่เกษตรกรเป็นเจ้าของพ้ืนท่ีเพียงแค่ 72 ลา้ นไร่ หรอื คดิ เป็นร้อยละ 48 จากจานวนท่ีดินทงั้ หมด โดยพ้นื ท่ีที่เหลือ

| 57 |

เป็นการเช่าที่ดินทากิน ทาให้เกษตรกรต้องกู้ยืมเงินเพื่อเชา่ ท่ีดินทาการเกษตร ซง่ึ เกษตรกรมีรายได้โดยเฉล่ียคนละ
5,000 บาท ต่อเดือนเท่าน้ัน แต่ผู้ประกอบวิชาชีพอื่นมีรายได้มากถึง 16,000 บาทต่อเดือน และประชาชนคนไทย
เป็นหน้ีท่ัวประเทศอย่างต่าคนละ 200,000 บาท ทาให้ไม่สามารถชดใช้หน้ีทั้งหมดในระยะเวลาอันส้ันได้ ดังน้ัน
รัฐบาลไม่ควรละเลยกลุ่มเกษตรกร และต้องหาวิธีการช่วยเหลือ เพราะถือเป็นกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบ
จากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยา่ งชัดเจน

ส่วนปัญหาภัยแล้ง ซ่ึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สาคัญ เพราะภาคการเกษตรต้องอาศัยภูมิอากาศและน้า
จงึ ทาให้ชวี ิตเกษตรกรไทยขนึ้ อยูก่ ับสภาพอากาศท่ีแปรปรวนตลอดเวลา และปัจจุบันกาลังเผชญิ กับวิกฤติภัยแล้งที่
รนุ แรงมากทส่ี ุดในรอบ 40 ปี โดยมี 43 จังหวดั ที่ไดร้ ับผลกระทบจากการขาดแคลนน้าอย่างหนัก ทาให้เกดิ คาถาม
วา่ รัฐบาลมีการบริหารจัดการระบบชลประทานของประเทศอย่างไร ทาไมประชาชนในพื้นท่ีประสบปัญหาภยั แล้ง
อย่างต่อเนื่อง แม้กระท่ังจังหวัดหนองคายท่ีอยู่ติดแหล่งน้าก็ประสบปัญหาดังกล่าว ดังนั้น รัฐบาลจาเป็นต้องเร่ง
แกไ้ ขปญั หาทีเ่ กิดขนึ้ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวติ ของเกษตรกรไทยต่อไป

| 58 |

สรุปการเสวนาของวิทยากร

ครง้ั ท่ี 3 การรบั ฟังความเดอื ดรอ้ นของภาคการเกษตร

นายศโิ รตม์ คล้ามไพบูลย์ ผดู้ าเนนิ รายการ

โครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน ครั้งที่ 3
จังหวัดหนองคาย เพ่ือรับฟังความคิดเห็นของประชาชนภาคการเกษตร โดยจะ
เชิญวิทยากรในแต่ละพรรคการเมืองฝ่ายค้านได้แสดงมุมมองวิสัยทัศน์ และ
แนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของภาคการเกษตร หลังจากนั้นจะเปิด
โอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความเดือดร้อน
และผลกระทบทเ่ี กิดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) โดยเชิญวทิ ยากร ผแู้ ทนแต่ละพรรค ดังต่อไปน้ี

1. นายประยุทธ์ ศิรพิ านิชย์ เลขานกุ ารผู้นาฝา่ ยคา้ นในสภาผ้แู ทนราษฎร พรรคเพ่ือไทย

2. นายอภชิ าติ ศริ สิ ุนทร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคกา้ วไกล

3. นายแพทยป์ ระสงค์ บรู ณ์พงศ์ รองหัวหนา้ พรรคเสรีรวมไทย

4. นายมนตรี บุญจรัส ประธานยุทธศาสตร์เกษตรอนิ ทรีย์ พรรคประชาชาติ

5. นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ หวั หนา้ พรรคเพื่อชาติ

6. นายนิคม บญุ วิเศษ หวั หนา้ พรรคพลงั ปวงชนไทย

1. นายประยุทธ์ ศริ พิ านชิ ย์ เลขานกุ ารผู้นาฝ่ายค้านในสภาผแู้ ทนราษฎร

การจัดเสวนารับฟังความคิดเห็นตามโครงการผู้นาฝ่ายค้าน
ในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชนครั้งน้ี เป็นการรับฟังปัญหาและความ
เดือดร้อนของประชาชนภาคการเกษตร เพ่ือนาข้อมลู ปญั หาและอุปสรรคตา่ ง ๆ
ในการประกอบอาชีพและการดารงชีพของเกษตรกร เสนอต่อรัฐบาลและ
ร่วมกันหาแนวทางการแก้ไขต่อไป ท้ังน้ี รัฐบาลควรมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เพื่อให้เกิดความเป็นประชาธิปไตย
อย่างแท้จริง โดยรัฐธรรมนูญจะสมบูรณ์ได้ต้องมาจากประชาชน โดยประชาชน
และเพ่ือประชาชน รัฐบาลต้องแสดงความจริงใจในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
เพ่ือให้การเลือกต้ังเป็นไปด้วยความสุจริตและมีความโปร่งใส ปราศจากการแทรกแซงของกลุ่มบุคคลท่ีมาจาก
หน่วยงานภาครฐั เพอ่ื ให้ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอย่างยัง่ ยนื และมัน่ คงต่อไป

| 59 |

2. นายอภชิ าติ ศิริสนุ ทร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

กลุ่มเปราะบางจากวิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) คาว่า“กลุ่มเปราะบาง” โดยความหมายท่ัวไป คือ กลุ่มประชาชนท่ัวไป
ที่มคี วามอ่อนแอในสังคม ขาดโอกาสและการเข้าถึงทรัพยากร โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ
และสังคม ซ่ึงเป็นกลุ่มท่ีรัฐบาลละเลยในการเอาใจใส่ดูแล ประกอบกับรัฐบาลชุด
ปัจจุบันมองว่า กลุ่มเปราะบาง คือ บุคคลท่ีมีบัตรสวัสดิการหรือบัตรคนจนเท่านั้น
ทาให้การแก้ไขปัญหาเกิดความผิดพลาด เพราะเป็นการเยียวยาเฉพาะกลุ่มผู้มีบัตรคนจน
แต่กลุ่มอื่นไม่สามารถเข้าถึงทรัพยากรได้ นโยบายการแก้ไขปัญหาให้กลุ่มเปราะบาง
ไมต่ รงตามวัตถุประสงค์ ทาให้ประเทศไทยเกดิ ความเหลือ่ มลา้ เป็นอย่างมาก
ดังมีงานวิจัยของธนาคารแห่งประเทศไทยได้ว่า ความเปราะบางของคนไทยกระจายอยู่กลุ่มครัวเรือน
ในทุกพ้นื ท่ีของประเทศ คือ คนไทยไม่มีงานทา ตกงานแตม่ ีภาระต้องรับผดิ ชอบ โดยมีรายจา่ ยมากกว่ารายรับหรือ
มีรายจ่ายคงเดิมแต่รายได้ลดน้อยลง ประกอบกับรัฐบาลไม่มีงบประมาณเพียงพอในการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพให้กับ
ผู้สูงอายุ ซึ่งปัญหาหลักสาคัญส่วนหนึ่งเกิดจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช 2560 ที่มีการรวบ
อานาจท้งั หมดไวท้ ส่ี ว่ นกลางหรือภาครัฐ

3. นายแพทย์ประสงค์ บรู ณพ์ งศ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

“กลุ่มเปราะบาง” หมายถึง กลุ่มผู้สูงวัยและกลุ่มเด็กเล็ก จากการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้เม่ือวันที่ 24 มีนาคม 2563
นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้ประกาศใช้พระราชกาหนด
การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เพ่ือควบคุม
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งให้มีผล
บังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 26 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป โดยการดาเนินการดังกล่าวได้ส่งผล
กระทบต่อระบบเศรษฐกจิ ของประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะประชาชนทีป่ ระกอบ
อาชีพเกษตรกร ซ่ึงในปัจจุบันคนรุ่นใหม่ตกงานเพิ่มมากข้ึนจากสภาวะผลกระทบด้านเศรษฐกิจดังกล่าว จึงเดินทาง
กลับภูมิลาเนาเพ่ือประกอบอาชีพเกษตรกรในบ้านเกิดของตนเอง แต่ผลกระทบท่ีได้รับคือกลุ่มบุคคลข้างต้นไม่ได้รับ
การจัดสรรงบประมาณการช่วยเหลือจากภาครัฐอย่างเพียงพอและเหมาะสมซึ่งเกษตรกรท่ัวประเทศมีประมาณ
7 ล้านครอบครัว แต่รัฐจ่ายเงินงบประมาณให้ครอบครัวละ 5,000 บาทเท่านั้น ซ่ึงไม่เพียงพอต่อการดารง
ชีวิตประจาวันและการต่อยอดอาชีพธุรกิจของตนเองได้ ดังน้ัน ปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรดังกล่าว
ควรไดร้ ับการชว่ ยเหลอื ตามทป่ี ระชาชนพึงได้รบั ด้วย

| 60 |

4. นายมนตรี บุญจารสั ผูแ้ ทนพรรคประชาชาติ

ประเทศไทยมีคนยากจนประมาณ 7.3 ล้านคน และนับต้ังแต่
มีการรัฐประหารเม่ือปี 2557 ที่ผ่านมาจนกระท่ังปี 2563 ประเทศไทยเกิดสถิติ
ตัวเลขคนยากจนเพ่ิมมากขึ้นเป็น 14.6 ล้านคน สืบเนื่องจากรัฐบาลมีการบริหาร
ประเทศท่ีไม่มีประสิทธิภาพแบบเชิงบูรณาการ ซึ่งงบประมาณควรนามากระจาย
รายได้และสรา้ งความม่ันคงให้กับประชาชนในท้องถ่ิน เช่น การสร้างโรงสีชุมชน การ
ซื้อรถไถนา การซื้อเรือประมง และการทาธนาคารเมล็ดพันธ์ุพืช เป็นต้น ทั้งน้ี ที่
ผ่านมาเกษตรกรไทยได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการใช้สารเคมีในพืชเพ่ือให้ได้ผลผลิตจานวนมาก ซึ่งส่งผลต่อระบบ
นิเวศ เน่ืองจากช่วงฝนตกจะมีสารเคมีท่ีเป็นพิษปนเปื้อนอยู่ในน้าประปาซึ่งใช้ในการอุปโภคและบริโภคของ
ประชาชน ความเข้มข้นของสารพิษมีการสะสมมาตลอดระยะเวลา 30-50 ปี ส่งผลให้เซลล์พืชดูดสารพิษและ
สิ่งปนเปื้อนเข้ามาในชุมชนเมืองและแหล่งท่องเท่ียว จึงทาให้ประชาชนในพื้นท่ีท้องถิ่นต่าง ๆ เร่ิมมีความสนใจ
ในการทาเกษตรอินทรยี ์เพมิ่ มากข้ึน เน่ืองจากเกษตรอินทรีย์มีความปลอดภยั และปลอดสารพิษ

สาหรับปัญหาเรื่องเกษตรกรส่วนใหญ่มีหน้ีสิน และไม่มีท่ีดินทากินเป็นของตนเอง จาเป็นต้องเช่าพ้ืนที่ทากิน
จากนายทุนถึงร้อยละ 45 โดยงบประมาณการช่วยเหลือเกษตรกรไม่กระจายลงสู่ท้องถ่ินอย่างแท้จริง ส่งผลให้
ประชาชนมีความยากจนตลอดมา และประเด็นเร่ืองแหล่งน้าอุปโภคบริโภค ในขณะนี้สภาผู้แทนราษฎรต้ังกรรมาธิการ
วิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการบริหารจัดการลุ่มน้าท้ังระบบ เพื่อศึกษาลุ่มน้า 26 ลุ่มน้าท่ัวประเทศ
ท้ังนี้ คณะกรรมาธิการดังกล่าวต้องพิจารณาศึกษาร่วมกันอย่างจริงจัง เพื่อให้มีการแก้ไขปัญหาท่ีมีประสิทธิภาพ
ต่อไปในอนาคต

5. นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ฉบับปัจจุบัน ต้องมีการ
ปรบั ปรุงแก้ไขอยา่ งเร่งดว่ น ปญั หาภาคการเกษตรในปจั จุบันยังไม่ไดร้ ับการแก้ไขให้
เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม อาทิ การบริหารจัดการแหล่งน้าเพ่ือการอุปโภคบริโภค
และเพื่อการเกษตร ซ่ึงรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร จะให้ความสาคัญกับเร่ือง
แหล่งน้าเป็นอย่างมาก เพราะน้าคือชีวิต จาเป็นต้องมีการบริหารจัดการเชิงบูรณา
การท้ังระบบ ในอดีตท่ีผ่านมาน้ันประเทศไทยให้ความสาคัญกับอาชีพเกษตรกร
เป็นอย่างมาก จึงมีการจัดต้ังหน่วยงานให้ความช่วยเหลือเกษตรกรโดยเฉพาะ
ได้แก่ เกษตรตาบล เกษตรอาเภอ และเกษตรจังหวัด แต่ในขณะน้ีบริษัทภาคเอกชนได้เข้ามามีบทบาทสาคัญกับ
ภาคการเกษตรของไทยเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะท่ีดินทาการเกษตร และการผูกขาดสินค้าทางการเกษตร เช่น
อาหารสัตว์ ยารกั ษาสัตว์ และเมล็ดพันธพุ์ ืชต่าง ๆ ดังน้ัน ประชาชนทุกคนตอ้ งช่วยกันพิจารณาวา่ ต้องการรัฐบาล
ลักษณะแบบใดท่ีสามารถช่วยให้ประชาชนอยู่ดีกินดี ไม่มีหนี้สิน และหลักสาคัญคือ รัฐบาลต้องมีความเป็น
ประชาธิปไตยในการบรหิ ารจดั การประเทศใหเ้ กดิ ความสมบรู ณ์

| 61 |

6. นายนิคม บุญวเิ ศษ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร

คนไทยในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะนิยมทาการเกษตร
มากกว่าการเล้ียงสัตว์ โดยประเทศไทยมีความพร้อมด้านภูมิศาสตร์และ
สภาพอากาศในการทาการเกษตรเป็นอย่างมาก แต่ช่วงท่ีผ่านมาเกษตรกร
ประสบปัญหาด้านการบริหารจัดการ เนอ่ื งจากบรษิ ัทภาคเอกชนหรือนายทุน
ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญและผูกขาดการขายสินค้าและบริการ เช่น เมล็ดพันธ์ุ
พืช แม่พันธุ์สัตว์ ยารักษาสัตว์ และปุ๋ย เป็นต้น ทาให้หน่วยงานราชการท่ี
เกี่ยวข้องหรือดูแลภาคการเกษตรไม่ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้เท่าท่ีควร
และประเทศไทยขาดการบริหารจัดการแหล่งน้าที่ดีและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง
โดยปัจจบุ ันสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างมาก บางพ้ืนท่ีฝนไม่ตกตามฤดูกาลหรือบางพื้นท่ีประสบปัญหาภัยแล้ง
การบริหารจัดการน้าเพื่อการเพาะปลูกพืชอย่างทั่วถึง จึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง ประกอบกับเกษตรกรยังคงทา
การเกษตรรูปแบบเดิม ๆ ท่ีขาดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาเคร่ืองมือให้มีความทันสมัย เพ่ือลดต้นทุนและการใช้
แรงงาน ดังนั้น ภาครัฐและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจาเป็นต้องส่งเสริม สนับสนุนและสร้างนวัตกรรมทางการเกษตร
รูปแบบใหม่ให้กับเกษตรกรเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพผลผลิตและสร้างรายได้ อย่างทั่วถึง
นอกจากนี้ กองทุนหมู่บ้านนับว่าเป็นโครงการที่รัฐบาลจะต้องให้ความสาคัญ และจะต้องกระจายงบประมาณ
เพ่ือให้หมู่บ้านสามารถบริหารจัดการทรัพยากรเคร่ืองมือการเกษตร สภาพความเป็นอยู่และระบบเศรษฐกิจได้
ด้วยตนเอง

| 62 |

ประเดน็ คาถามและข้อเสนอแนะของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการเสวนา

ครง้ั ท่ี 3 การรบั ฟงั ความเดือดรอ้ นของภาคการเกษตร

1. ภาครัฐควรสร้างความม่ันคงในการบริหารจัดการน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
และชุมชน รวมถึงภาคการเกษตรภาคการผลิตและอุตสาหกรรม ซึ่งมีบทบาทสาคัญต่อสังคมและเศรษฐกิจของ
ประเทศ โดยจาเป็นต้องจดั หาน้าต้นทุน และแหล่งเก็บกกั นา้ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพอยา่ งย่ังยืน

2. ภาครัฐและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติ
ในการห้ามใช้สารเคมีการเกษตร โดยจะต้องระบุเหตุผลความจาเป็นและถ่ายทอดองค์ความรู้ต่าง ๆ และการบังคับ
ใช้กฎหมาย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายช่ือวัตถุอันตราย (ฉบับท่ี 6) พ.ศ. 2563 ให้มีความ
ชัดเจน

3. ภาครัฐควรสนับสนุนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ โดยการเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ เพือ่ ผลักดันการผลิตที่
เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม การสร้างสมดุลให้กับระบบนิเวศท่ีมีความปลอดภัยตอ่ ท้ังผู้ผลิตและผู้บรโิ ภค เพ่ือคุณภาพ
ชีวิตท่ีดีของประชาชนในประเทศ

4. ภาครัฐควรส่งเสริมสนับสนุนการนาผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปเพิ่มมากข้ึน ซึ่งจะช่วยป้องกัน
สนิ ค้าทางการเกษตรล้นตลาดและเป็นการช่วยยกระดับราคาผลผลิตไม่ให้ตกต่า อันเป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลติ ทาง
การเกษตรให้เป็นท่ียอมรับ และสามารถขยายตลาดการค้าออกไปสู่ต่างประเทศเพ่ือสร้างรายได้ให้กับประเทศได้
เป็นอยา่ งดี

5. ภาครัฐและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องควรเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการพฒั นาทรัพยากรดินและการบริหารจัดการ
ดินให้มีคุณภาพและมีความอุดมสมบูรณ์ เพ่ือให้เกษตรกรมีความเข้มแข็ง สามารถพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลผลิต
ทางการเกษตรได้

6. เจ้าหน้าที่ของรัฐ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเกษตรตาบลและเกษตรอาเภอ ควรลงพื้นที่เพ่ือตรวจสอบสภาพ
ปัญหาความเดือดร้อนและการประกอบอาชีพการเกษตร ไปจนถึงการบริหารจัดการน้า ปัญหาภัยแล้งของประชาชน
ในพนื้ ที่อย่างใกล้ชดิ เพื่อร่วมกันหาแนวทางป้องกนั และแก้ไขปัญหาทเี่ กิดขนึ้ ไดอ้ ย่างทันทว่ งที

7. ภาครัฐควรให้ความช่วยเหลือชาวนาเกี่ยวกับปัญหาราคาข้าวตกต่า ประกอบกับโรงสีข้าวรับซื้อข้าว
ในปริมาณจากัด และบางส่วนรับซื้อในราคาต่า ซ่ึงทาให้ชาวนาได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก ดังนั้น ควรมีมาตรการ
ประกันรายได้เกษตรกรให้ได้รับราคาข้าวท่ีไม่ต่ากว่าต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เพ่ือช่วยเหลือประกัน
รายได้โดยการชดเชยสว่ นต่าง ๆ ใหม้ ีความสมดลุ และเหมาะสม

| 63 |

8. ชว่ งที่ผ่านมาปญั หาราคาอ้อยตกตา่ กว่าต้นทนุ การผลิต และปรมิ าณออ้ ยมมี ากกว่าปกติ ทาให้ปริมาณ
น้าตาลล้นตลาด ประกอบกับเกษตรกรชาวไร่อ้อยเก็บเกี่ยวอ้อยด้วยวิธีการเผาไร่อ้อยก่อนตัดส่งเข้าโรงงานนา้ ตาล
ซ่ึงเป็นการกระทาท่ีอาจเข้าข่ายเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 220 มีโทษท้ังจาคุกและปรับ
ดงั นนั้ ภาครฐั ควรหาแนวทางและมาตรการใหค้ วามช่วยเหลือเกษตรกรชาวไรอ่ อ้ ยอยา่ งครบวงจรต่อไป

9. ภาครัฐควรสรา้ งหลักประกันรายได้ในการลงทุนให้กับเกษตรกร เพื่อลดภาวะความเสย่ี งจากความผันผวน
ของราคาผลผลิต รายได้ของเกษตรกร การควบคุมปริมาณการผลิต การตลาดและการส่งออก ท่ีคาดว่า
จะสง่ ผลกระทบต่อเกษตรกรในอนาคต

10. สานกั งานสหกรณจ์ ังหวดั จะตอ้ งจัดสวสั ดิการเงนิ ก้หู รอื สนิ เชอ่ื ใหก้ บั สมาชิกอย่างท่วั ถึงและเสมอภาค
เพอ่ื ให้สมาชกิ นาเงินดังกล่าวไปแก้ไขปัญหาหนค้ี ้างชาระไดต้ ามศักยภาพและความสามารถในการชาระหนี้ของตนได้

11. ภาครัฐควรตรวจสอบมาตรการช่วยเหลือเยียวยาเกษตรกรจากผลกระทบโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) กรณีที่มีการจ่ายเงินเยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบไม่ท่ัวถึงและได้รับเงินไม่เป็นไปตาม
สิทธทิ ี่พึงได้ ดังน้ัน ควรให้ผแู้ ทนเกษตรกรได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการเป็น “คณะกรรมการ” บรหิ ารจัดการงบประมาณ
ดงั กล่าวด้วย

12. ภาครัฐควรพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งของเส้นทางการคมนาคมทางบกให้มีความเช่ือมโยงกับ
เส้นทางเศรษฐกิจแบบเชิงบูรณาการ เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกให้กับประชาชนและเกษตรกรในพื้นที่ให้สามารถ
สญั จรในชีวิตประจาวันและการขนส่งสินคา้ การเกษตรได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

13. รฐั บาลไทยควรมนี โยบายส่งเสริมสนับสนุนให้มีการศึกษาดา้ นการเกษตรยุคใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยี
ท่ีทนั สมยั ไปยังกลุ่มคนรนุ่ ใหม่ เพื่อปฏิวัติชาวนาไทยให้เปน็ อาชีพท่ีมคี ณุ ค่าและสามารถสร้างรายได้ต่อเกษตรกรไทย
ในอนาคตได้ เหมอื นดงั เช่นชาวนาของประเทศญ่ปี ุ่นที่มีความมนั่ คงในอาชีพ มรี ายได้จานวนมาก เป็นผปู้ ระกอบการ
ธรุ กิจของตนเอง และเปน็ อาชพี ที่ไดร้ บั การนบั ถือและยอมรับในสงั คมด้วย

| 64 |

ผลการประเมินโครงการผู้นาฝา่ ยคา้ นพบประชาชน

ครงั้ ท่ี 3 การรับฟงั ความเดอื ดรอ้ นของภาคการเกษตร

ผลการสารวจความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเข้าร่วมโครงการเสวนา ครั้งที่ 3 การรับฟงั ความเดือดรอ้ น
ของภาคการเกษตร จากผู้ตอบแบบถาม จานวน 491 คน เม่ือวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
และความพงึ พอใจต่อโครงการ มีผลการประเมิน ดังต่อไปน้ี

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเพศ

เพศ จานวน ร้อยละ

ชาย 206 42.0
หญิง 285 58.0
491 100.0
รวม

ชาย
42.0%

หญิง
58.0%

ภาพท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเพศ

จากตารางท่ี 1 และภาพที่ 1 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญงิ คดิ เปน็ ร้อยละ 58.0
และเป็นเพศชาย คดิ เปน็ ร้อยละ 42.0

| 65 |

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านสถานะ/อาชพี

สถานะ/อาชีพ จานวน รอ้ ยละ
73.3
ทานา 360 7.1
เลีย้ งสัตว์ 35 14.3
ทาไร่ 70 0.6
ประมง 3 4.7
ทาสวน 23 100.0
491
รวม ทานา
เล้ยี งสตั ว์
0.6% 4.7% ทาไร่
14.3% ประมง
7.1% ทาสวน

73.3%

ภาพท่ี 2 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นสถานะ/อาชีพ

จากตารางท่ี 2 และภาพท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานะ/อาชีพทานามากท่ีสุด
คิดเป็นร้อยละ 73.3 รองลงมา คือ ทาไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.3 เล้ียงสัตว์ คิดเป็นร้อยละ 7.1 และทาสวน คิดเป็น
ร้อยละ 4.7 ทงั้ นี้ อาชีพประมงนอ้ ยทสี่ ดุ คิดเปน็ ร้อยละ 0.6

| 66 |

ตารางที่ 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นวุฒกิ ารศกึ ษา

วุฒิการศกึ ษา จานวน ร้อยละ
94.5
ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี 464 4.3
ปริญญาตรี 21 1.2
ปรญิ ญาโท 6 100.0
491
รวม ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี
ปริญญาตรี
1.2% ปรญิ ญาโท
4.3%

94.5%

ภาพที่ 3 แสดงค่าร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามดา้ นวุฒิการศกึ ษา

จากตารางที่ 3 และภาพท่ี 3 พบว่า ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาตรีมากท่ีสุด คิดเป็น
ร้อยละ 94.5 รองลงมา คอื ระดบั ปรญิ ญาตรี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.3 และระดับปรญิ ญาโทน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 1.2

| 67 |

ตารางที่ 4 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นอายุ

อายุ จานวน รอ้ ยละ

ตา่ กว่า 20 ปี 11 2.2
20 - 30 ปี 16 3.3
31 - 40 ปี 45 9.2
41 - 50 ปี 114 23.2
51 - 60 ปี 175 35.6
61 ปีขน้ึ ไป 130 26.5
491 100.0
รวม

26.5% 2.2% 3.3% ตา่ กวา่ 20 ปี
9.2% 20-30 ปี
23.2% 31-40 ปี
41-50 ปี
35.6% 51-60 ปี
61 ปีขึ้นไป

ภาพท่ี 4 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นอายุ

จากตารางที่ 4 และภาพท่ี 4 พบว่า ส่วนใหญ่มีช่วงอายุ 51-60 ปี มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 35.6
รองลงมา คือ ช่วงอายุ 61 ปีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ 26.5 ช่วงอายุระหว่าง 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 23.2 ช่วงอายุ
ระหว่าง 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 9.2 และช่วงอายุระหว่าง 20-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 3.3 ทั้งนี้ ช่วงอายุต่ากว่า 20 ปี
น้อยที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 2.2

| 68 |

ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการ
ระดับคะแนนเฉลี่ย สามารถแบ่งระดับความคิดเห็นการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการ

5 ระดบั (Likert Scale) ดงั น้ี
4.21 - 5.00 หมายถึง ระดับมากทสี่ ุด
3.41 - 4.20 หมายถงึ ระดับมาก
2.61 - 3.40 หมายถงึ ระดับปานกลาง
1.81 - 2.60 หมายถงึ ระดับนอ้ ย
1.00 - 1.80 หมายถึง ระดับนอ้ ยที่สดุ

2.1 กระบวนการและการดาเนนิ งานโครงการ

ตารางท่ี 5 ความคิดเหน็ ของผเู้ ข้าร่วมโครงการที่มตี อ่ กระบวนการและการดาเนนิ งานโครงการ

ระดบั การประเมนิ ระดบั
คะแนน
หวั ข้อ มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทีส่ ุด ค่าเฉลี่ย มาก

(5) (4) (3) (2) (1) มากทส่ี ุด

1. การดาเนนิ การจัดเสวนา 184 226 76 4 1 4.20 มาก

(37.5) (46.0) (15.5) (0.8) (0.2) มาก

2. ความเหมาะสมของสถานท่ี 214 236 39 2 - 4.35 มาก

(43.6) (48.1) (7.9) (0.4)

3. ความเหมาะสมของ 158 229 99 3 2 4.10

ระยะเวลา (32.2) (46.6) (20.2) (0.6) (0.4)

4. ความเหมาะสมของ 173 228 81 7 2 4.15

ชว่ งเวลาท่ีจดั (35.2) (46.4) (16.5) (1.4) (0.4)

5. การจัดลาดบั ขนั้ ตอนของ 177 238 69 4 3 4.19

กิจกรรม (36.0) (48.5) (14.1) (0.8) (0.6)

จากตารางท่ี 5 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาท่ีมตี ่อกระบวนการและการดาเนินงานโครงการ
พบว่า มีการตอบความพึงพอใจอยู่ระหว่างความพึงพอใจระดับมาก (ระดับ 4) จนถึงระดับมากที่สุด (ระดับ 5)
โดยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเกี่ยวกับความเหมาะสมของสถานท่ีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.35 รองลงมา คือ ความ
เหมาะสมของการดาเนินการจัดเสวนา ค่าเฉล่ีย 4.20 การจดั ลาดับขัน้ ตอนของกิจกรรม ค่าเฉล่ีย 4.19 และความ
เหมาะสมของช่วงเวลาท่ีจัด ค่าเฉล่ีย 4.15 ท้ังนี้ มีความพึงพอใจต่อความเหมาะสมของระยะเวลา น้อยท่ีสุด
คา่ เฉลีย่ 4.10

| 69 |

2.2 วิทยากร

ตารางที่ 6 ความคิดเหน็ ของผู้เข้าร่วมโครงการท่ีมีตอ่ วิทยากร

ระดับการประเมิน ระดับ
คะแนน
หวั ข้อ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ุด คา่ เฉลี่ย มากที่สุด

(5) (4) (3) (2) (1) มาก

1. ความรอบร้ใู นเนอื้ หาของ 176 255 58 2 - 4.23 มากท่สี ดุ

วิทยากร (35.8) (51.9) (11.8) (0.4) มากทส่ี ุด

2. ความสามารถในการ 165 264 56 6 - 4.20 มากที่สุด

ถ่ายทอดความรู้ (33.6) (53.8) (11.4) (1.2)

3. ความชดั เจนในการตอบ 187 230 71 3 - 4.22

คาถามของวทิ ยากร (38.1) (46.8) (14.5) (0.6)

4. การเปิดโอกาสให้ 190 233 65 3 - 4.24

แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ (38.7) (47.5) (13.2) (0.6)

5. ความเหมาะสมของ 188 239 61 3 - 4.25

วิทยากรในภาพรวม (38.3) (48.7) (12.4) (0.6)

จากตารางท่ี 6 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาที่มตี ่อวิทยากร พบว่า มีการตอบความพึงพอใจ
อยู่ระหว่างความพึงพอใจระดับมาก (ระดับ 4) จนถึงระดับมากที่สุด (ระดับ 5) โดยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ
เกี่ยวกับความเหมาะสมของวิทยากรในภาพรวมมากที่สุด มีค่าเฉล่ีย 4.25 รองลงมา คือ การเปิดโอกาสให้
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ค่าเฉล่ีย 4.24 ความรอบรู้ในเนื้อหาของวิทยากร ค่าเฉลี่ย 4.23 และความชัดเจนในการตอบ
คาถามของวิทยากร ค่าเฉล่ีย 4.22 ทั้งนี้ มีความพึงพอใจเก่ียวกับความสามารถในการถ่ายทอดความรู้น้อยที่สุด
ค่าเฉลีย่ 4.20

| 70 |

2.3 ความพึงพอใจในการจดั โครงการเสวนาภาพรวม

ตารางท่ี 7 ความคดิ เหน็ ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการที่มีตอ่ การจดั โครงการเสวนาภาพรวม

ระดับการประเมิน ระดับ
คะแนน
หัวข้อ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่ีสุด ค่าเฉลยี่ มากทีส่ ดุ

(5) (4) (3) (2) (1) มาก

1. ท่านได้รบั ความรู้ แนวคดิ 170 264 55 2 - 4.23 มากที่สุด
มากที่สุด
ทกั ษะ และประสบการณ์ใหม่ ๆ (34.6) (53.8) (11.2) (0.4) มากท่สี ุด

จากการเสวนา

2. สงิ่ ที่ท่านไดร้ ับจากโครงการ 167 258 62 4 - 4.20

ครั้งน้ีตรงตามความคาดหวัง (34.0) (52.5) (12.6) (0.8)

ของท่านหรอื ไม่

3. โดยรวมทา่ นไดร้ ับประโยชน์ 194 230 64 2 1 4.25

จากการเสวนาในคร้ังนี้ (39.5) (46.8) (13.0) (0.4) (0.2)

4. ความพึงพอใจของทา่ นต่อ 224 210 55 2 - 4.34

ภาพรวมโครงการ (45.6) (42.8) (11.2) (0.4)

5. ทา่ นไดร้ บั ความสะดวกต่อ 219 211 58 2 1 4.31

เจ้าหนา้ ท่ี (44.6) (43.0) (11.8) (0.4) (0.2)

จากตารางท่ี 7 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาที่มีต่อการจัดโครงการเสวนาภาพรวม พบว่า
มีการตอบความพึงพอใจอยู่ระหว่างความพึงพอใจระดับมาก (ระดับ 4) จนถึงระดับมากท่ีสุด (ระดับ 5) โดยส่วนใหญ่
มีความพึงพอใจต่อภาพรวมโครงการมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 4.34 รองลงมา คือ การได้รับความสะดวกต่อเจ้าหน้าท่ี
ค่าเฉลี่ย 4.31 การได้รับประโยชน์จากการเสวนาในครั้งน้ี ค่าเฉล่ีย 4.25 และการไดร้ บั ความรู้ แนวคดิ ทกั ษะ และ
ประสบการณ์ใหม่ ๆ จากการเสวนา ค่าเฉลี่ย 4.23 ทั้งน้ี มีความพึงพอใจต่อส่ิงท่ีได้รับจากโครงการคร้ังนี้ตรงตาม
ความคาดหวงั จานวนนอ้ ยทีส่ ดุ ค่าเฉลย่ี 4.20

| 71 |

2.4 ส่ิงทปี่ ระทบั ใจในการจดั โครงการ

ตารางที่ 8 จานวนร้อยละความคดิ เหน็ ของผเู้ ข้าร่วมโครงการเสวนาท่มี ตี ่อส่ิงที่ประทับใจในการจดั โครงการ

ดา้ น จานวน ร้อยละ
(ผ้ตู อบ)

วิทยากร 359 23.7

เนอ้ื หาขอ้ มลู ในการเสวนา 378 25.0

ผจู้ ัด 260 17.2

สถานที่ 328 21.7

อาหาร/เครื่องด่ืม 187 12.4

จากตารางที่ 8 ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการเสวนาท่ีมีต่อส่ิงที่ประทับใจในการจัดโครงการ พบว่า
ส่วนใหญ่มีความประทับใจเกี่ยวกับเนื้อหาข้อมูลในการเสวนามากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 25.0 รองลงมา คือ ความ
ประทับใจต่อวิทยากร คิดเป็นร้อยละ 23.7 ความประทับใจต่อสถานท่ี คิดเป็นร้อยละ 21.7 และความประทับใจ
ตอ่ ผู้จดั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.2 ทง้ั น้ี มคี วามประทับใจตอ่ อาหารและเครื่องด่มื จานวนนอ้ ยทีส่ ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.4

ส่วนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ
3.1 ข้อเสนอแนะเกยี่ วกบั ประโยชน์ของโครงการ
 ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นว่า เป็นโครงการที่ดี การเปิดรับฟังความคิดเห็นและตอบปัญหาได้ตรงจุด

ผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรกล่าวปาฐกถาพิเศษได้ดี รวมทั้งวิทยากรบรรยายให้ความรู้ดีมาก เน้ือหาข้อมูลการ
เสวนาดมี าก ทาให้ประชาชนไดร้ บั ความรู้ จงึ ควรมีการจดั โครงการบ่อย ๆ จัดโครงการให้ทัว่ ภาคอสี านและทกุ จังหวัด

 ผู้เข้าร่วมโครงการ รู้สึกพอใจในการรับฟังปัญหาและการได้แสดงความคิดเห็นของทุกฝ่าย
ขอบคุณสาหรับการจัดโครงการ ขอบคุณผู้ดาเนินรายการ และตัวแทนจากพรรคการเมืองฝ่ายค้านท่ีให้ความรู้
และมาพบประชาชน

3.2 ขอ้ เสนอแนะสาหรับการจัดโครงการครัง้ ตอ่ ไป
 ควรจัดโครงการในระดับจงั หวดั ทกุ จงั หวดั
 การสอบถามหรอื แสดงความคิดเหน็ ควรกาหนดเป็นรายจงั หวัด จงั หวดั ละ 1 - 2 คน
 ควรจดั อาหารที่ดีต่อสุขภาพ ปรบั ปรงุ รสชาติอาหาร และปรับอุณหภมู หิ อ้ งเสวนาให้เหมาะสม

3.3 ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับสภาพเศรษฐกจิ สังคม และการเมอื ง
 ฝ่ายค้านควรเป็นตัวแทนช่วยเหลือเกษตรกรท่ัวประเทศ ผลักดันราคาสินค้าทางการเกษตรให้ดีขึ้น

เช่น ราคาข้าวตันละ 20,000 บาทหรอื ประกันราคาสินคา้ เกษตรแบบ 3 ปีข้ึนไป ไม่ใช่รายปี เปน็ ต้น
 ควรมีการซ่อมแซมห้วย หนอง คลอง บึงต่าง ๆ และก่อสร้างฝายเพื่อเพิ่มแหล่งกักเก็บน้าใน

ทุกตาบล เพ่อื ให้การเกษตรมนี ้าใชต้ ลอดปี
 ควรมีโรงงานรีไซเคิลกาจัดขยะในหมู่บ้าน เพ่ือบ้านเรือนสะอาดและประชาชนสามารถเก็บขยะ

ไปขายก่อใหเ้ กดิ รายได้

| 72 |



ครั้งท่ี การรบั ฟังความเดือดรอ้ นของ
ภาคอตุ สาหกรรมและการส่งออก
4

| 74 |

ครง้ั ท่ี 4 ความเดอื ดรอ้ นของภาคอุตสาหกรรมและการสง่ ออก

สถานที่ ระยะเวลา วันเสารท์ ี่ 26 กนั ยายน 2563
ณ โรงแรมเซน็ ทาราแกรนด์มิราจบีชรีสอร์ท พทั ยา จงั หวัดชลบุรี

กลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมาย คือ ตัวแทนภาคอุตสาหกรรม ภาคการส่งออก และประชาชนทั่วไปท่ีได้รับ
ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจจากโควิด-19 จานวน 600 คน รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร และผ้สู ังเกตการณ์ จานวน 50 คน

รูปแบบกจิ กรรม การเสวนาและรับฟงั ความคิดเหน็ ของประชาชน

กาหนดการโครงการผูน้ าฝา่ ยค้านในสภาผแู้ ทนราษฎรพบประชาชน

วนั เสารท์ ่ี 26 กนั ยายน 2563

10.30 – 11.30 น. - ลงทะเบยี นผู้เข้าร่วมโครงการเสวนา
- ชี้แจงรายละเอียดการเขา้ รว่ มโครงการเสวนา

11.30 – 12.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน

12.30 – 13.00 น. พิธเี ปิดและปาฐกถาพเิ ศษเรื่อง “ผลกระทบ ความเดอื ดร้อนต่อภาคอตุ สาหกรรม และ
การสง่ ออกจากวิกฤติโควิด-19”
โดย นายสมพงษ์ อมรววิ ัฒน์ ผ้นู าฝา่ ยคา้ นในสภาผู้แทนราษฎร

13.00 – 16.00 น. เสวนาในหัวขอ้ “ฝา่ ยค้านรับฟัง 4 กลมุ่ เปราะบางจากวิกฤติโควิด-19”

ครัง้ ท่ี 4 : ความเดือดรอ้ นต่อภาคอุตสาหกรรมและการส่งออกจากวิกฤติโควิด-19

โดย วิทยากร

1. นายพิชัย นริพทะพนั ธ์ุ อดีตรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงพลงั งาน
2. นางสาวเบญจา แสงจันทร์ พรรคเพอื่ ไทย
3. นายแพทยเ์ รวตั วศิ รตุ เวช สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร พรรคกา้ วไกล
4. พันตารวจเอก ทวี สอดส่อง รองหวั หนา้ พรรคเสรรี วมไทย
5. นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ เลขาธิการพรรคประชาชาติ
6. นายนคิ ม บญุ วเิ ศษ หวั หนา้ พรรคเพอื่ ชาติ
7. นายศโิ รตม์ คลา้ มไพบลู ย์ หัวหน้าพรรคพลังปวงชนไทย
ผดู้ าเนินรายการ

- การเปดิ รับฟังปัญหาความเดือดร้อน และข้อคิดเหน็ ของประชาชน

ปดิ การเสวนา

| 75 |

การกลา่ วเปดิ และปาฐกถาพเิ ศษ

นายสมพงษ์ อมรววิ ัฒน์ ผูน้ าฝ่ายคา้ นในสภาผแู้ ทนราษฎร

ครง้ั ที่ 4 การรบั ฟังความเดือดรอ้ นของภาคอตุ สาหกรรมและการสง่ ออก
ณ โรงแรมเซน็ ทาราแกรนดม์ ิราจบีชรสี อร์ท พทั ยา จังหวดั ชลบรุ ี

เม่ือประมาณปี พ.ศ. 2526 กระผมมีความต้ังใจลงสมคั ร
เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี แต่ด้วยเหตุผลว่า
การเป็นผู้ประกอบอาชีพค้าขายอาจจะถูกกล่ันแกล้ง จึงไม่ได้
ลงสมัครในขณะนั้น จนกระท้ังถึงปี พ.ศ. 2529 ได้ลงสมัคร
เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชลบุรี ในเขตอาเภอเมือง
เขตอาเภอบ่อทอง และเขตอาเภอพนัสนิคม ซึ่งทาให้เกิด
ความรู้สึกผูกพันกับประชาชนในเขตจังหวัดชลบุรี และสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดข้ึน ส่งผลกระทบต่อพี่น้องประชาชน
ในจังหวัดชลบุรีและทุกภาคส่วนเป็นอย่างมาก ฝ่ายค้านจึงต้องการรับทราบข้อมูลข้อเท็จจริงและสอบถามพี่น้อง
ประชาชนว่าได้รับความเดือดร้อนและผลกระทบอย่างไร เพ่ือจะนาปัญหาเข้าสู่การพิจารณาในสภาผู้แทนราษฎร
ให้ได้รับทราบข้อเท็จจริง รวมทั้งจะเป็นแรงกระตุ้นให้รัฐบาลได้ทราบและมีมาตรการช่วยเหลือประชาชน
ท่ีได้รบั ความเดอื ดร้อนดว้ ย

สาหรับโครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน ได้มีการจัดโครงการมาแล้ว 3 คร้ัง
โดยคร้ังแรกจัดข้ึนท่ีกรุงเทพมหานคร รับฟังความเดือดร้อนของแรงงานในและนอกระบบจากวิกฤติโควิด-19
คร้ังท่ี 2 จังหวัดเชียงใหม่ รับฟังความเดือดร้อนของผู้ประกอบกิจการภาคการท่องเที่ยวและการบริการ ครั้งที่ 3
จังหวัดหนองคาย รับฟังความเดือดร้อนของภาคการเกษตร และคร้ังนี้ จะรับฟังความเดือดร้อนของ
ภาคอุตสาหกรรมและภาคการส่งออก จากวิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ซึ่งได้ก่อให้เกิดปัญหาและผลกระทบต่าง ๆ มากมาย เป็นต้นว่า อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งถือเป็นอันดับหนึ่ง
ที่ได้รับความเสียหายและมีผลพวงต่อเน่ืองไปยังธุรกิจอื่น ๆ และถือเป็นแหล่งรายได้สาคัญ อันเป็นรายได้หลัก
ของประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมืองพัทยาเป็นเมืองท่องเท่ียวย่อมได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก เรื่องที่ 2 คือ

| 76 |

เร่ืองการผลิตและการส่งออก ก็ถือว่าเป็นเรื่องสาคัญ โดยการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการส่งออกของประเทศ
ลดลงติดลบทันที เนื่องจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป (EU) ต่างประสบปัญหาการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เช่นกัน ท้ังปัญหาเร่ืองค่าเงินบาทแข็งค่า ส่งผลให้การส่งออก
ยิ่งมีปัญหา เพราะราคาสินค้าแข่งกับประเทศเพื่อนบ้านไม่ได้ ส่วนโรงงานผลิตหรือภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีค่า
ดอกเบ้ีย ค่าใช้จ่ายมากขึ้น จึงต้องปลดคนงานและเกิดปัญหาการว่างงานตามมา รัฐบาลพยายามช่วยเหลือ
โดยให้สินเชื่อดอกเบ้ียต่า แต่การเข้าถึงแหล่งเงินทุนโดยเฉพาะผู้ประกอบการ มีเง่ือนไขมากจึงทาให้
ผู้ประกอบการไมส่ ามารถเข้าถึงแหลง่ เงินทุนได้ทว่ั ถงึ ทุกกล่มุ

ในการเสวนาคร้ังน้ี จะแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงแรกการเสวนาจากผู้แทนของพรรคการเมืองร่วมฝ่ายค้าน
ซ่งึ จะบรรยายและเสวนาถึงแนวทางว่าควรจะแก้ไขปญั หาเรื่องน้ีอยา่ งไร ชว่ งท่ี 2 จะเปดิ โอกาสให้ประชาชนได้
สอบถาม แลกเปลีย่ นความคิดความเหน็ และเสนอแนะ เพอื่ ใหร้ ฐั บาลได้รบั ทราบปญั หาในโอกาสตอ่ ไป

| 77 |

สรุปการเสวนาของวิทยากร

คร้ังท่ี 4 การรบั ฟงั ความเดือดร้อนของภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก

นายศโิ รตม์ คล้ามไพบูลย์ ผู้ดาเนนิ รายการ

โครงการผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรพบประชาชน ครั้งท่ี 4
จังหวัดชลบุรี เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชน โดยจะเชิญวิทยากรในแต่
ละพรรคการเมืองฝ่ายค้านได้แสดงมุมมองวิสัยทัศน์ และแนวทางการแก้ไข
ปัญหาของภาคอุตสาหกรรมและการสง่ ออก หลังจากน้ันจะเปิดโอกาสใหผ้ ู้เข้าร่วม
โครงการเสวนาได้แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความเดือดร้อนและผลกระทบ
ท่ีเกิดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) โดยเชิญวิทยากร ผู้แทนแต่ละพรรค ดังตอ่ ไปนี้

1. นายพิชยั นรพิ ทะพันธุ์ อดตี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน พรรคเพ่ือไทย
2. นางสาวเบญจา แสงจันทร์ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร พรรคกา้ วไกล
3. นายแพทยเ์ รวตั วศิ รุตเวช รองหวั หน้าพรรคเสรรี วมไทย
4. พันตารวจเอก ทวี สอดส่อง เลขาธิการพรรคประชาชาติ
5. นายสงคราม กิจเลศิ ไพโรจน์ หวั หน้าพรรคเพื่อชาติ
6. นายนคิ ม บุญวิเศษ หัวหนา้ พรรคพลังปวงชนไทย

1. นายพชิ ัย นริพทะพันธ์ุ อดตี รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงพลังงาน พรรคเพ่ือไทย

ประเทศไทยมีอุตสาหกรรมและการส่งออกเป็นเคร่ืองจักรสาคัญใน
การขับเคลื่อนประเทศ ซึ่งสถานการณ์การผลติ ภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก
แย่มาตลอด ต้ังแต่ พ.ศ. 2558 การลงทนุ ต่างประเทศของไทยหายไปร้อยละ
90 ประเทศขาดความน่าเชื่อถือ เกิดการว่างงาน หนี้สาธารณะของประเทศ
ทะลุร้อยละ 60 รัฐบาลไมส่ ามารถเก็บภาษีเพื่อมาใช้จ่าย หนีภ้ าคครัวเรือนสูง
ถึงร้อยละ 90 เกิดหนี้ธนาคาร หนี้นอกระบบ จึงขอเสนอแนวทางในการแก้ไข
ปญั หาดังกล่าว 8 ขอ้ ดังน้ี
1) ประเทศไทยต้องเร่งสรา้ งความเชื่อมั่น ปัจจุบันต่างประเทศขาดความเชอ่ื ม่ันต่อประเทศไทย ญี่ปุ่น
ย้ายโรงงานจากสาธารณรัฐประชาชนจีนไปสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ถ้าประเทศไทยไม่สร้างความม่นั ใจ
กลับมาจะไม่สามารถฟ้ืนเศรษฐกิจได้ รัฐบาลต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญ ระบบยุติธรรม และระบบองค์กรอิสระให้
เกิดการยอมรบั ได้

| 78 |

2) รัฐบาลต้องสนับสนุนมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่า (soft loan) โดยผูกติดกับการจ้างงาน และรักษา
การจ้างงานไว้ ให้รัฐบาลช่วยจ่ายบางส่วน ธุรกิจอะไรที่จะรอดต้องช่วยประคองให้ผ่านช่วงนี้ไปจนกระทั่ง
กลบั มาฟน้ื ตัวได้

3) การปรับประเทศเข้าสู่ระบบ Digital เป็นเรื่องท่ีสาคัญมาก ตัวอย่างโมเดลประเทศเอสโตเนีย
ที่ก่อนจะแยกจากประเทศรัสเซียมีรายได้ต่อคน เดือนละ 7,000 บาท 20 ปีให้หลังรายได้ต่อคนเดือนละ
53,000 บาท เพิ่มขึ้นเกือบ 70-80 เท่า เป็นต้น ประเทศไทยต้องปรับขนาดของข้าราชการให้เล็กลงแล้ว
จะสามารถป้องกันการทุจรติ ได้ เม่อื ไมม่ กี ารทุจรติ ก็จะมเี งินเหลือสาหรับพฒั นาประเทศไดเ้ พ่ิมขึ้นตามมา

4) รฐั บาลตอ้ งหารายได้เพ่ิมจากการเก็บภาษี ตอ้ งคดิ กอ่ นกเู้ งินว่าจะหารายได้เพม่ิ จากไหน เชน่ เรือ่ งของ
การจัดการพ้ืนท่ีทับซ้อนระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ซึ่งมีก๊าซธรรมชาติจานวนมาก อันจะเป็น
ประโยชน์ตอ่ การหารายได้ของประเทศไทยเป็นอยา่ งมาก

5) การทาหวยออนไลน์ ซ่ึงมีประโยชน์ในการสร้างรายได้เข้ารัฐ คนไทยไม่ต้องไปเล่นคาสิโนไกลถึง
ต่างประเทศ การแกไ้ ขปญั หาเร่ืองการผูกขาดโดยการใชร้ ะบบภาษีใหม่ ปัจจุบนั ภาษคี นรวยเยอะมาก การปรับ
โครงสร้างภาษใี หม่จงึ เปน็ เรอื่ งที่จาเป็น

6) การรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา คือต้องลดอัตราค่าเงินบาทเพ่ือให้ราคาสินค้าเกษตรดีขึ้น
ภาคอตุ สาหกรรมก็จะได้ประโยชน์มากขึ้น

7) การปรับการจัดสรรงบประมาณใหม่ เร่ืองที่ไม่จาเป็นไม่เกี่ยวกับเศรษฐกิจต้องตัดท้ิงให้หมด
เน้นการจดั สรรงบประมาณในเรื่องที่เก่ียวข้องกับเศรษฐกิจเปน็ หลัก

8) รัฐบาลต้องให้ความสาคัญกับการศึกษา ปัญหาเรื่องการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่เป็นสิ่งท่ีจาเป็นมาก
รัฐบาลต้องให้ความสาคัญกับแนวคิดของคนรุ่นใหม่ ประเทศไทยเรากาลังเข้าสู่สังคมสูงวัยจึงต้องสนับสนุนเด็ก ๆ
ใหฉ้ ลาดและเก่งเพื่อสามารถเลี้ยงผู้สูงอายุไดต้ ่อไปในอนาคต

2. นางสาวเบญจา แสงจันทร์ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร พรรคกา้ วไกล

ภาคตะวันออกโดยเฉพาะจังหวัดชลบุรี เป็นภาคที่มีเศรษฐกิจเป็น
ระบบอุตสาหกรรมค่อนข้างใหญ่ที่สุดในประเทศ มีนิคมอุตสาหกรรมตั้งอยู่เปน็
จานวนมาก มีการจ้างงานมากถึง 3.2 ล้านคน จังหวัดชลบุรีมีศักยภาพครบมาก
ทัง้ ในดา้ นอตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยวและเรื่องการบริการ และการแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดชลบุรีกไ็ ดร้ บั ผลกระทบ
อย่างหนักมาก การส่งออกซบเซาต้ังแต่ปีที่แล้ว เมื่อเจอสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ก็ติดลบต่อเน่ืองมาก
ถึงรอ้ ยละ 5

การแข็งค่าของเงินบาทในช่วงต้นปี ไม่ได้สอดคล้องกับปัจจัยพ้ืนฐานและความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศไทย ค่าเงินบาทที่แข็งตัวส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก การส่งออกท่ีอาศัยตลาดจาก
สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นตลาดหลักซ่ึงเผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

| 79 |

2019 (COVID-19) หนักหน่วงมาก ทาให้มีการฉุดร้ังเศรษฐกิจโลก ในเดือนมิถุนายนการส่งออกของประเทศ
ไทยลดลงอย่างต่อเนื่องสูงมากที่สุดถึงร้อยละ 23 ถึงแม้ว่าประเทศไทยมีมาตรการควบคุมสถานการณ์โควิดได้
ค่อนข้างดี แต่สถานการณ์ท่ัวโลกยังมีแนวโน้มท่ียังไม่สามารถควบคุมได้ในตลาดสหภาพยุโรป (EU) หรือ
ตะวันออกกลางยังมีความน่าเป็นห่วง เพราะยังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเน่ืองเป็นอุปสรรคต่อการส่งออกที่
จะฟ้นื ตวั ไดช้ า้

ภาครัฐและภาคเอกชน ควรจะต้องปรับตัวรับความท้าทายใหม่ ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต ทั้งในเร่ือง
ของการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้างของการแข่งขัน ภาคการส่งออกมีการแข่งขันท่ีเพิ่มมากขึ้น ปัญหาเร่ือง
ของสังคมสูงวัย ปัญหาเร่ืองทักษะแรงงาน ธนาคารแห่งประเทศไทยมีการส่งเสริมและสนับสนุนเร่ืองนี้อยู่บ้าง
พอสมควร รวมทั้งภาครัฐควรมีการส่งเสริมการลงทุนและการเพิ่มศักยภาพในการสร้างรายได้ของประเทศ
สนับสนุนเร่อื งการซื้อเคร่อื งจกั รอปุ กรณ์กอ่ สร้าง และอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์

เรื่องสงครามการค้า (Trade war) ซึ่งเกิดขึ้นต่อเน่ืองในระยะเวลาท่ีผ่านมา ประกอบกับปัจจุบัน
ประเทศไทยต้องตั้งรับในเรื่อง New Normal เรียนรู้ให้มากข้ึนกับสถานการณ์แบบนี้ ผู้ประกอบการจาเป็น
ต้องปรับตัวให้ทันกับโลกยุคใหม่ ไม่อาศัยตลาดจากสาธารณรัฐประชาชนจีนหรือตลาดจากสหรัฐอเมริกา
อยา่ งเดียว ควรตอบรบั ในเรื่องการเปลยี่ นแปลงของยุคโลกาภวิ ัตน์ทก่ี าลงั เข้ามาเปล่ียนแปลงใหท้ ันยุคออนไลน์
และยคุ ดิจิทลั

พรรคก้าวไกล มีแนวทางการแก้ไขปญั หา (4R) เสนอรฐั บาลและผูป้ ระกอบการ ดังนี้
1) Resilient คือ เพ่ิมความยืดหยุ่นให้กับธุรกิจ รัฐบาลต้องส่งเสริมการลงทุนและสนับสนุนเงินทุน
ให้กับผปู้ ระกอบการ SMEs เพม่ิ ขนึ้
2) Reopen รัฐบาลต้องหามาตรการในการกลับมาเปิดประเทศให้เร็วที่สุด โดยหาโมเดลในการเปิด
ประเทศที่จะรกั ษาสมดุลเกีย่ วกบั การดูแลด้านความปลอดภยั ของโรคระบาดพร้อมกนั ไปด้วย
3) Reimagine เป็นเร่ืองของจินตนาการใหม่ ใช้โอกาสในเวลาน้ีที่ประเทศไทยยังไม่สามารถท่ีจะกลับมา
เปิดประเทศได้แบบสมบูรณ์ ในการที่จะวางแผนการลงทุนและการส่งออก รวมถึงภาคการท่องเท่ียวให้ไปไกล
มากกว่าการเน้นขายทรัพยากร คานึงถึงความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ที่จะส่งเสริมการลงทุนไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของ
E-Sport เรือ่ งของการส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวแบบเชงิ Eco และส่งเสรมิ การลงทนุ ในประเทศควบคูไ่ ปด้วย
4) National right การปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ ภาครัฐต้องยอมรับและปรับตัวในเร่ืองของการที่
จะส่งเสริมภาพลักษณก์ ารลงทุนและการส่งออกของประเทศไทยใหม้ ากยิ่งข้ึน

| 80 |

3. นายแพทย์เรวัต วศิ รุตเวช รองหัวหนา้ พรรคเสรรี วมไทย

วิกฤติไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบกับประชาชน
ทั้งโลก สาหรับประเทศไทย GDP เม่ือสิ้นเดือนมิถุนายนติดลบไปประมาณ
ร้อยละ 8 คาดว่าทัง้ ปนี ้ีอาจจะตดิ ลบถงึ ร้อยละ 12 ซ่งึ อาจตดิ ลบมากทีส่ ุดใน
อาเซียนเพราะว่าโดยเฉลี่ยแล้ว ประเทศในอาเซียนจะติดลบอยู่ท่ีประมาณ
ร้อยละ 2.6 เศรษฐกิจของไทยพึ่งพาอุตสาหกรรมและการส่งออกเป็นหลัก
เมื่อมีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
การเดินทางหยุดชะงัก แต่ละประเทศจะควบคุมและกักกันไม่ให้มีการเดิน
ทางเข้าสู่ประเทศ การปิดห้างสรรพสินค้า ปิดร้าน ปิดโรงงาน ส่งผลให้การผลิตลดลง เพราะฉะนั้นเศรษฐกิจ
จึงชะลอตัวอย่างรุนแรง การท่องเที่ยวเมื่อ 10 ปีท่ีแล้วมีนักท่องเที่ยวประมาณ 13 ล้านคน ก่อนมีการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีนักท่องเที่ยวประมาณ 40 ล้านคน การท่องเท่ียว
จึงได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงเป็นลูกโซ่ตอ่ เนือ่ งไปถึงธรุ กิจที่พัก อาหาร และเครื่องด่มื

เมื่อประเทศไทยพ่ึงการท่องเที่ยวกับการส่งออกไม่ได้ ภาคการเกษตรซ่ึงมีแรงงานถึงร้อยละ 40
ก็พึ่งไม่ได้ เพราะฉะน้ันเท่ากับปัญหาซ้าเติมแล้วก็รุนแรงหนักขึ้นไปอีก เม่ือตอนท่ีการท่องเท่ียวในประเทศบูม
กผ็ ลักดนั หรือดันใหค้ ่าแรงสูง พอเศรษฐกิจหยุดชะงัก อตุ สาหกรรมไม่มีเงินมาจ่ายค่าแรงก็ไปกระทบกับชีวิตความ
เปน็ อยู่ของพี่น้องประชาชน กระทบครอบครวั คนตกงานก็ได้รับความเดือดรอ้ นเปน็ อย่างมาก

รัฐบาลแก้ปัญหาไมต่ รงจุดและไม่ได้ผล ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพในเชิงนโยบาย ตัวอย่างโครงการ ชมิ ช้อป ใช้
ซ่ึงออกมาหลายเฟสแล้วต้องลงทะเบียนผ่านระบบ Application ซึ่งผู้มีรายได้น้อยจะเข้าไม่ถึง และที่สาคัญ
ยังไม่มีผลประเมินออกมาเลยว่าจริง ๆ แล้วใครได้รับประโยชน์มากกว่ากัน ระหว่างบริษัทยักษ์ใหญ่รวมทั้ง
ห้างสรรพสินค้าที่ได้ประโยชนโ์ ดยตรง ขณะทีป่ ระชาชนในชัน้ รากหญ้าไม่ได้รบั ประโยชน์อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
โครงการเราเท่ียวด้วยกันที่รัฐบาลหวังว่าจะกระตุ้นเศรษฐกิจขอ งประเทศได้แต่ปรากฏว่าเดือนกรกฎาคม
ถงึ สิงหาคม มีการจองโรงแรมจริงเพยี ง 600 แหง่ เท่านั้น

ปัญหาของรัฐบาล คอื การจัดสรรงบประมาณก่อนมีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ล้าสมัย ไม่สอดคล้องและไม่ตอบโจทย์ หลังมีการแพร่ระบาด การจัดสรรงบประมาณก็ไม่ตรงจุด
ไม่ตรงประเด็น รัฐบาลไม่มีความสามารถในการแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือน หน้ีสาธารณะสูง เม่ือรัฐบาลใช้จ่ายเงิน
แล้วหาเงินมาไมพ่ อก็ต้องกู้เงนิ กสู้ ะสมเรื่อย ๆ เวลาใชห้ น้ีกอ็ ยู่ในรปู แบบของการเก็บภาษีจากประชาชน อกี ส่ิงท่ี
น่าเป็นห่วง คือ แรงงานนอกระบบ พบว่า แรงงานไทยจะเป็นแรงงานนอกระบบมากกว่าร้อยละ 50 การดูแลเร่ือง
ของสวัสดกิ ารและการไดร้ บั การชดเชยจึงมักจะตกหล่น จึงมีข้อเสนอต่อรฐั บาลดงั นี้

1) รัฐบาลต้องรีบเร่งผลักดันโครงการที่กระตุ้นการจ้างงาน เพื่อสร้างรายได้ให้มีการใช้จ่ายในระบบ
เศรษฐกจิ ใหร้ ะบบเศรษฐกิจหมนุ เวียน

2) รัฐบาลต้องรักษาแรงงานไว้อย่าปลดออก เพราะถ้าไม่รักษาแรงงานไว้แล้วปลดออก นั่นก็คือ
เพิ่มคนตกงานมากข้ึนมหาศาลและผลกระทบจะรุนแรงมากข้ึนเรื่อย ๆ ตัวเลขของศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์
ในเดือนมถิ นุ ายน – กรกฎาคม ปีนี้ มธี ุรกิจปิดตวั เพิ่มขึน้ จากปกี ่อนถึงรอ้ ยละ 38.4

| 81 |

3) รัฐบาลต้องทาให้พี่น้องประชาชนมีความมั่นใจ วันนี้คนไทยไม่เชื่อใจรัฐบาล รัฐบาลต้องสร้าง
ความมั่นใจให้กับพ่ีน้องประชาชนมิฉะน้ันจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจไม่ได้ ต้องสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน
เพ่ือประชาชนกล้าใช้จ่ายและเศรษฐกิจจะได้เดินหน้า การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) การเฝ้าระวังและการรักษาโรคให้ดีมีมาตรฐาน รวมท้ังควบคุมการเข้าประเทศของ
ชาวต่างชาติและมีหลักประกนั วา่ สามารถควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้

ประเด็นสุดท้ายท่ีสาคัญมาก คือ Digital disruption เร่ืองของเทคโนโลยีที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
มาก ซ่ึงประเทศไทยจาเป็นจะต้องทาความเข้าใจต่อเร่ืองนี้ เพราะในอดีตกระบวนการการผลิตของประเทศ
อุตสาหกรรมท่ีอยากจะใช้แรงงานราคาถูกก็จะย้ายฐานการผลิตมาประเทศไทย แต่ว่าต่อไปนี้ด้วยความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยีจึงไม่จาเป็นต้องใช้แรงงานราคาถูก เพราะสามารถใช้เทคโนโลยีแทนได้ เช่น ใช้ Robot คือ
หุ่นยนต์ ในการผลิตสินค้าโดยที่ไม่ต้องใช้แรงงานราคาถูกอีกต่อไป ซึ่งจะมีผลกระทบถึงประเทศไทยโดยทันที
เพราะฉะน้ันผู้ประกอบการทุกท่านต้องเตรียมตัว รัฐบาลต้องเตรียมตัวรับมือกับเรื่องน้ีและปรับตัวให้ทัน
ในเรื่องของเทคโนโลยีและดิจิทัล เพราะว่าเรื่องนี้จะเป็นวิกฤติในอนาคตต่อไป ถึงแม้ว่าหลังสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แล้ว จะสามารถแก้ปัญหาได้แต่อาจจะเจอกับ
วิกฤติในเรอ่ื งน้แี ทน

4. พนั ตารวจเอก ทวี สอดส่อง เลขาธกิ ารพรรคประชาชาติ

จงั หวดั ชลบรุ ีเปน็ พ้นื ท่อี ุตสาหกรรม พบวา่ มโี รงงานอตุ สาหกรรม
ขนาด 50 แรงม้า ประมาณจานวน 67,777 โรงงาน มีแรงงาน ประมาณ
3,600,000 คน อุตสาหกรรมได้รับผลกระทบแต่ผู้นารัฐบาลไม่สามารถ
แก้ปญั หาประเทศได้ วันนีถ้ า้ พรรคฝ่ายค้านเป็นรัฐบาล เราตอ้ งทาใหโ้ รงงาน
อุตสาหกรรมไม่ถูกปิด ส่วนใหญ่อุตสาหกรรมของประเทศไทยเจ้าของ
กิจการจะเป็นชาวต่างชาติที่ได้รับการส่งเสริม BOI แต่คนท่ีได้รับความ
เดือดร้อนจริง ๆ คือแรงงานชาวไทย รัฐบาลต้องทุ่มเทเงินเพ่ือมาช่วยเหลอื แรงงาน ต้องช่วยในเรื่องตลาดดว้ ย
การใช้มาตรการพักหน้ีระยะยาวเพ่ือให้โรงงานอุตสาหกรรมและประชาชนอยู่รอดตามมา สิ่งแรกท่ีต้อง
ดาเนินการอีกประการหนง่ึ คือ การทาให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศใช้เงินสด ธรุ กิจไม่มีระบบเงินสดจึงต้องไป
หาระบบเงินกู้ ถ้าแก้จุดตรงน้ีได้ SMEs หรือโรงงานขนาดเล็ก จะสามารถอยู่รอด เคยมีคาถามที่ตอบไม่ได้ต่อ
อดีตผู้วา่ การธนาคารแห่งประเทศไทยวา่ ทาไมดอกเบีย้ เงนิ ฝากกบั ดอกเบ้ยี เงินกู้ตา่ งกันเยอะทาไมธนาคารถึงมี
รายได้จานวนมาก แมแ้ ต่ธนาคารของรัฐบาลตา่ งกม็ กี าไรหลายหม่นื ล้าน

วันน้ีผู้ประกอบการต้องลดค่าใช้จ่าย ค่าสาธารณูปโภคของโรงงานอุตสาหกรรม โดยค่าไฟฟ้าซ่ึงเป็น
สาธารณูปโภคท่ีกฎหมายกาหนดว่ารัฐต้องผลิตร้อยละ 50 ปรากฏว่ารัฐบาลซื้อไฟฟ้าจากภาคเอกชนในราคาแพง
รัฐบาลผูกขาด และผลกั ภาระคา่ ไฟฟ้ามาให้กับประชาชน แตผ่ ู้คา้ ไฟฟา้ ร่ารวยกลายเปน็ เศรษฐี

| 82 |

เร่ืองสาคัญอีกประการหน่งึ คือ ต้องกระจายอานาจ ต้องกระจายทรัพยากร ไมค่ วรใหร้ วมท่ีศูนย์กลาง
สิ่งสาคัญท่ีสุดที่ต้องแก้ปัญหาความทุกข์ยากขณะน้ี คือ ต้องกระจายอานาจ และเปล่ียนจากระบบราชการเป็น
รฐั สวัสดกิ ารทุกคนมสี ทิ ธ์ิเสมอกนั

5. นายสงคราม กจิ เลิศไพโรจน์ หวั หนา้ พรรคเพือ่ ชาติ

สาเหตุที่ระบบเศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรมถดถอยน้ัน มีมาก่อนเกิด
วิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ประชาชนได้รับผลกระทบต้ังแต่การทารัฐประหารวันแรก ประเทศตะวันตก
ต่อต้านประเทศไทยเพราะเป็นรัฐบาลท่ีมาจากการปฏิวัติรัฐประหาร มีการค้า
มนุษย์ โดยมีสาเหตุใหญ่เกิดจากการรัฐประหาร ถ้าคณะรัฐประหารยังคงอยู่
เศรษฐกิจก็ยังคงตกต่าลงเร่ือย ๆ เม่ือเจอกับวิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ประเทศไทยยง่ิ ไดร้ บั ผลกระทบมากขึน้ อีก
เร่ืองโรงงานอุตสาหกรรม ในจังหวัดชลบุรีมีนิคมอุตสาหกรรมมาก การท่องเที่ยวก็ดี ประชาชน
ก็ยิ้มแย้มแจ่มใส ปัจจุบันเศรษฐกิจไม่ดี คนตกงาน พ่อแม่ไม่ได้รับเงินเดือนจากลูก รัฐบาลมีวิธีแก้ปัญหาคือ
การแจกเงินเพียงอย่างเดียว ซ่ึงไม่เกิดผลผลิตและการหมุนเวียนของเงินตรา เงินท่ีประชาชนใช้แล้วหายเข้าไป
อยู่ในกระเป๋าของเจ้าสัว เศรษฐกิจจึงแย่ลงเร่ือย ๆ รัฐบาลกู้เงินมาก อีกทั้งช่วงน้ีประเทศสหรัฐอเมริกากับ
สาธารณรัฐประชาชนจีนกาลังทาสงครามเศรษฐกิจ ประเทศสหรัฐอเมริกาก็พยายามรณรงค์ไม่ให้ซ้ือสินค้าจาก
สาธารณรัฐประชาชนจีน นักลงทุนต่างถอนตัวออกจากสาธารณรัฐประชาชนจีน และอยากจะมาลงทุนประเทศไทย
แต่รัฐบาลไม่มีความน่าเช่ือถือ จึงไปลงทุนท่ีสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ราชอาณาจักรกมั พูชา หรอื สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาวแทน รฐั บาลไม่สร้างวิกฤติให้เปน็ โอกาสกลับ
สร้างโอกาสให้เป็นวิกฤติแทน รัฐบาลต้องให้ความสาคัญกับการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ ไม่ใช่เน้นเร่ืองการซื้อ
อาวธุ และการทหาร เพราะถ้าเศรษฐกิจแยป่ ระเทศก็ไปต่อไม่ได้

6. นายนิคม บุญวเิ ศษ หวั หน้าพรรคพลงั ปวงชนไทย

การส่งออกภาคอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่มีการยึดอานาจ ปี 2557
เกิดปญั หาด้านการส่งออกสินค้าภาคอุตสาหกรรมเพิ่มข้ึน เพราะต่างชาติขาด
ความเช่ือมนั่ ต่อรฐั บาล รัฐบาลต้องปรับวธิ ีการบริหารประเทศ ปรบั ตัวโดยเสริม
การผลิตสินค้าเพ่ือขายในประเทศ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมแปรรูป
ทางการเกษตร อุตสาหกรรมเก่ียวกับเครื่องใช้ในครัวเรือนต่าง ๆ ในปัจจุบัน
ผู้บริโภคยังมีความต้องการบริโภคสูง ผู้ประกอบการจึงต้องมีการปรับตัว
เปลี่ยนแปลง การผลิตสินค้า ต้องพัฒนาสินค้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ เพ่ือขายให้ผู้บริโภคภายในประเทศ
ผู้ประกอบการต้องเปลี่ยนวิธีการผลิตเพราะจะหวงั พึ่งรัฐบาลไม่ได้ การรอความช่วยเหลือจากรัฐบาลเป็นไปได้
ยากเพราะรัฐบาลจะเน้นเรื่องความม่ันคงเป็นหลัก การจัดสรรงบประมาณต่าง ๆ เน้นความมั่นคงมากกว่าการ

| 83 |

ลงทุนสร้างงานสร้างอาชีพ การเก็บภาษีไม่ตรงตามคาดการณ์ การบริหารของรัฐบาลขาดประสทิ ธภิ าพ รัฐบาล
บริหารประเทศโดยใช้เงินงบประมาณไปเยอะมากจนหนี้สาธารณะชนเพดาน มีการใช้งบฉุกเฉินเร่งด่วน และ
การโอนงบประมาณคืน ในช่วงวิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีการ
จัดสรรงบประมาณทเี่ ป็นงบกลางมากข้นึ ทุกปี

โครงการสินเช่ือดอกเบ้ียต่า (Soft Loan) สาหรับผู้ประกอบการ Non-Bank ท่ีได้รับผลกระทบจาก
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทจี่ ะชว่ ย SMEs แตม่ เี งือ่ นไขจนผปู้ ระกอบการ
รายเล็กไม่สามารถเข้าถึงได้ ธุรกิจเหล่าน้ีไม่สามารถเข้าถึงเงินทุนน้ีได้จึงล้มละลายกันหมด รัฐบาลให้ธนาคาร
พาณิชย์เป็นผู้ปล่อยเงินกู้ โดยรัฐบาลให้เงินธนาคารพาณิชย์ ปล่อยกู้ให้กับผู้ประกอบการซึ่งไม่มีความทั่วถึง
และเป็นธรรม รัฐบาลควรตั้งกองทุนขึ้นมากองทุนหน่ึงเพื่อมาอุดหนุนช่วยเหลือค่าจ้างแรงงาน อีกท้ัง
นโยบายในการช่วยเหลือนักศึกษาจบใหม่ บริษัทใดจ้างคนจบใหม่รัฐบาลจะจ่ายเงินเดือนให้คร่ึงหน่ึง แต่คนเก่า
ซ่ึงเป็นแรงงานมีฝีมือทางานมานานกลับไม่ได้รับการช่วยเหลือ รัฐบาลควรนาเงินก้อนน้ีมาต้ังกองทุนอุดหนุน
เงินเดือน จ้างแรงงานต่ออีกประมาณ 1 ปี เม่ือทุกอย่างฟื้นตัว รัฐบาลจะสามารถเก็บภาษีได้ ธุรกิจก็สามารถเดิน
ต่อได้ แทนการปล่อยให้ธุรกิจเหล่านี้ได้รับผลกระทบล้มละลายไป รัฐบาลต้องช่วยเหลือต้ังแต่บัดน้ีเป็นต้นไป
กอ่ นท่ที ุกอยา่ งจะสายเกนิ ไป

| 84 |

ประเด็นคาถามและข้อเสนอแนะของผเู้ ข้ารว่ มโครงการเสวนา

คร้ังท่ี 4 การรับฟังความเดอื ดร้อนของภาคอตุ สาหกรรมและการสง่ ออก

1. ภาคอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก แต่รัฐบาล
ช่วยเหลือไม่ท่ัวถึงทุกกลุ่ม อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวขนาดใหญ่ได้รับการช่วยเหลือแต่อุตสาหกรรมขนาดเล็ก
ไม่ได้รับความชว่ ยเหลือ มกี ารตรวจสอบการใช้เงนิ ของรัฐบาลในมาตรการการช่วยเหลือเหล่านอี้ ย่างไร

2. ปัญหานักศึกษาจบใหม่ไมม่ งี านทา ภาครัฐมแี นวนโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างไร
3. ระบบการศึกษาในปัจจุบันควรมีการปรับเปล่ียนเพ่ือให้นักศึกษาสามารถนาความรู้ไปใช้ในการ
ทางานได้จริง เนือ่ งจากเนอ้ื หาทเี่ รียนไม่สามารถนาไปใช้ในการทางานได้
4. ธุรกิจอสังหาริมทรพั ย์ที่มีราคาตกตา่ ภาครฐั มวี ิธีการแกไ้ ขอย่างไร
5. แรงงานนอกระบบที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ไม่ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจากภาครฐั ภาครัฐควรมีนโยบายในการชว่ ยเหลือและมีมาตรการทาให้แรงงานนอกระบบ
เข้ามาอยใู่ นระบบเพอ่ื ใหส้ ามารถตรวจสอบและช่วยเหลือได้
6. ความเหลื่อมล้าในการบังคับใช้กฎหมายของภาคอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว (สถานบันเทิงและ
การบรกิ าร) เชน่ ผบั บาร์ และอาบอบนวด มกี ารบังคบั ใช้กฎหมายกับธุรกจิ ขนาดย่อม ละเลยธุรกจิ ขนาดใหญ่
ภาครัฐควรมมี าตรการในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายให้มคี วามยุติธรรม
7. แนวทางการอย่รู ว่ มกนั อยา่ งเกื้อกูลระหวา่ งอุตสาหกรรมและชุมชน ทาอย่างไรใหภ้ าคอตุ สาหกรรม
และภาคประชาชนอยู่รว่ มกันอยา่ งมคี วามสขุ เกิดการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื และมีประสทิ ธภิ าพ
8. โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก Eastern Economic Corridor : EEC
ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาตา่ ง ๆ ตามมาโดยไม่สามารถแกไ้ ขได้ ดังนี้

8.1 ดา้ นการจัดการและสนบั สนุนจากภาครฐั
(1) การจัดการขยะชุมชน การจัดการขยะอุตสาหกรรม มลพิษทางอากาศที่เกิดจากการ

คมนาคมและการก่อสร้างถนน การขาดแคลนน้าและไฟฟ้า ระบบสาธารณูปโภค การคมนาคมและโลจิสติกส์
มีโครงการพัฒนารถไฟฟ้าความเรว็ สูงแต่ไม่มีการพฒั นาทางด้านระบบรองรบั การพฒั นา

(2) ปญั หาการจัดการผังเมือง เนื่องจากการกาหนดผังเมืองของ EEC ทาใหเ้ กดิ การลิดรอน
สิทธิของประชาชนจากการกาหนดผังเมืองและเขตถนนผงั เมือง

| 85 |

(3) ปัญหาการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านส่ิงแวดล้อม ไม่มีการสนับสนุนจากภาครัฐที่เป็น
รูปธรรม ไมม่ ีการจงู ใจใหผ้ ู้ประกอบการพัฒนาเพ่ือลดสภาวะเรือนกระจกหรือการใชพ้ ลงั งานทดแทน

(4) ผู้ประกอบการไทยไม่ได้รับการส่งเสริมอย่างทั่วถึง ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์เช่นเดียวกับ
การนิคมอตุ สาหกรรม เชน่ ผปู้ ระกอบการไม้พาเลทที่มีการส่งออกมากระดับ 1,000 ล้านบาทต่อปี แต่ไม่ได้รับ
สิทธก์ิ ารส่งเสริมแตอ่ ยา่ งใด เปน็ ต้น

(5) ปัญหาการส่งออก ผู้ประกอบการขาดความมั่นใจในการส่งออกสินค้าเกษตร เช่น ข้าว
เน่อื งจากไม่มั่นใจท่ีขายแล้วจะได้เงินตรงตามเวลา และไม่ไดร้ ับการสนับสนุนจากภาครฐั และธนาคารเพื่อการส่งออก
และนาเข้าแหง่ ประเทศไทย

(6) ปัญหาภาครัฐไม่มีการจัดทาข้อมูลทางด้านอุตสาหกรรมและการนาข้อมูลมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์อยา่ งเป็นรูปธรรม

(7) การจัดการปัญหาทางด้านกฎหมายและสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของภาครัฐ
เช่น การนาเขา้ ขยะจากตา่ งประเทศ และการจดั การขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ทาให้เกิดปญั หาภายในประเทศ

(8) การนาเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีตอบสนองความต้องการของประชาชน ภาคเอกชนเสนอ
แตไ่ มไ่ ด้รบั การตอบสนองจากภาครฐั เช่น ระบบเครอื ข่ายไร้สาย (WIFI) ฟรีทั่วจงั หวดั โครงการเน็ตประชารฐั

(9) ภาครัฐควรส่งเสริมสนับสนุนการสร้างกาลังซ้ือภายในประเทศ ขับเคล่ือนด้วยระบบ
เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม (Digital technology) เพื่อปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี
“ไม่ใช่พัฒนาทางดา้ นกายภาพ”

(10) การให้ต่างชาติเข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทย ในปัจจุบันมีบางโรงงานนาเข้า
ช้ินส่วน ร้อยละ 100 ไมม่ ีการใช้ชนิ้ สว่ นในไทยแตไ่ ดร้ บั การสง่ เสริมการลงทุน ใชแ้ รงงานระดบั ลา่ งและแรงงาน
ทางเทคนิคกน็ าเขา้ จากต่างประเทศท้ังหมด เป็นสาเหตหุ นง่ึ ที่ทาให้การลงทุนในประเทศไมม่ ีความยงั่ ยนื

8.2 ดา้ นการศึกษา
(1) ปัญหาทางด้านการศึกษา แนวทางการศึกษายังไม่มีการพัฒนาไปในทิศทางที่สอดคล้อง

กบั การพัฒนาอุตสาหกรรม การพฒั นาให้แรงงานมีการศึกษาทส่ี ูงข้ึน การเรียนทางด้านอาชีวศึกษาและการพัฒนา
ทักษะทางด้านการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพยังไม่มีความพร้อมถึงแม้จะมีนโยบายแต่ขาดการปฏิบัติ
อย่างแทจ้ รงิ

(2) การศึกษาวิจัยทางด้านเทคโนโลยีและดิจิทัลไม่ได้รับการส่งเสริมเป็นรูปธรรมจาก
ภาครัฐ การศึกษาวิจยั ทีม่ ีในปจั จุบันไม่ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนาประเทศ

| 86 |

8.3 ดา้ นแรงงาน
(1) ปัญหาแรงงานท่ีมีการตกงานจานวนมากและขาดทักษะในการทางาน จากวิกฤติการ

แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จะพบว่ามีคนตกงานมากกว่า 4.2 ล้านคน รวมทั้ง
คนจบใหม่ แต่กลับมีการนาเข้าแรงงานทาให้เกิดความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ในภาคอตุ สาหกรรม

(2) ปัญหาแรงงานทางด้านสาธารณสุข มีการนาแรงงานเข้ามาแบบไม่จากัดจานวนและ
มีสิทธิเข้าถึงการรักษาพยาบาลเช่นเดียวกับคนไทย แต่ค่าใช้จ่ายของแรงงานต่างด้าวต่ากว่าคนไทย
ถึงครึ่งต่อคร่ึง ซ่ึงเป็นการส้ินเปลืองงบประมาณไทย และการเพ่ิมทักษะทางด้านแรงงานต่างชาติ สามารถเข้า
พฒั นาฝมี ือแรงงานไดเ้ ชน่ เดียวกบั คนไทย แตใ่ ช้งบประมาณไทยในการพฒั นาทกั ษะฝมี ือแรงงาน

8.4 ดา้ นงบประมาณ
(1) ปัญหาทางด้านการเงินการลงทนุ เน่ืองจากการขาดสภาพคล่องทางดา้ นกระแสเงินสด

ทาให้ผูป้ ระกอบการไมส่ ามารถเข้าถึงแหลง่ เงินทุนได้อย่างรวดเร็ว สง่ ผลให้ธุรกจิ ลม้ ละลาย
(2) งบประมาณคงเหลือจากการเบิกจ่ายในแต่ละปีงบประมาณ เช่น งบสนับสนุนสินเช่ือ

ที่กันไว้ 5 แสนล้านบาท แต่ใช้จริงไม่ถึง 1.5 แสนล้านบาท งบพัฒนา 4 แสนล้านบาทกลับกลายเปน็ งบประจา
หรอื งบประมาณตามหน้าท่ี ไมไ่ ด้พฒั นาในพื้นท่อี ย่างจริงจงั

(3) ปัญหาการทางบประมาณแบบรวมศูนย์กลางทาให้การพัฒนาในพ้ืนท่ีเป็นไปได้
ยากลาบาก เช่น งบการสารวจศึกษา ซ่ึงมีความจาเปน็ แต่ไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนุน งบการศกึ ษาจากสว่ นกลางเป็น
การศึกษาแบบมีธงไม่ตอบโจทย์ของพ้ืนท่ี แล้วจะพัฒนาประเทศได้อย่างไร งบจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด
ลดน้อยลงทุกปี

(4) การใช้งบประมาณในการจัดซื้อจัดจ้างที่มีความสาคัญสามารถขับเคล่ือนประเทศได้
แต่ไม่มีการส่งเสริมธุรกิจของผู้ประกอบการไทย เช่น รถเมล์เอ็นจีวี และรถเมล์ไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งถ้ามีการซื้อ
ภายในประเทศจะสนบั สนนุ การใช้ของไทยอย่างแท้จริง

(5) ระบบการตรวจสอบความโปร่งใสในการทางานของภาครัฐไม่ได้รับการสนับสนุนให้
มกี ารพัฒนาการตรวจสอบความโปรง่ ใส ประชาชนไมส่ ามารถเขา้ ถึงและมีส่วนร่วมในการเข้าถงึ ข้อมลู พน้ื ฐานได้

9. กฎหมายผู้สูงอายุควรมีการปรับเปลี่ยนให้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุและเป็นปัจจุบัน
แนวโน้มการปรับเบี้ยยังชีพคนชราควรมีการปรบั เพ่ิมขึ้น เพราะสามารถช่วยเหลอื ประชาชนได้จริง และทุกคน
ทีม่ ีบัตรประชาชนควรมสี ิทธใิ์ นการไดร้ บั เบีย้ ยงั ชีพคนชราอยา่ งเท่าเทียมกัน

10. มาตรการปราบปรามและการบังคับใช้กฎหมายกับผู้ประกอบอาชีพหาบเร่แผงลอยไม่เพียงสร้าง
ผลกระทบต่อผู้ค้าเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อการดารงชีวิตของประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่ฝากท้องไว้กับร้านค้า
ขา้ งถนน ภาครัฐควรมมี าตรการช่วยเหลอื และจัดระเบียบหาบเรแ่ ผงลอยหรือหาพน้ื ทใี่ หก้ บั ผูค้ ้า

12. เร่ืองการปล่อยสินเช่ือหรือเงินทุนให้กับผู้ประกอบการรายย่อย รัฐบาลควรผลักดันให้เม็ดเงิน
ถึงประชาชนอย่างแท้จริง ธนาคารควรปล่อยสินเช่ือโดยไม่ต้องมีผู้ค้าประกัน รวมท้ังช่วยเหลือผู้ประกอบการ
รายยอ่ ยหรือโอทอป ให้เข้าถงึ แหล่งเงนิ ทุนได้ง่าย

| 87 |

13. ควรยกเลิกพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.
ฉุกเฉิน และเมอื งพทั ยาเป็นเมอื งท่องเทยี่ ว ในการเปิด-ปิดสถานบริการ จึงควรเปิด-ปิดไดต้ ามความเหมาะสม

14. ควรส่งเสริมด้านการท่องเท่ียวและภาคอุตสาหกรรมให้ชาวต่างชาติมาลงทุน เพ่ือให้กลุ่มแรงงาน
และประชาชนมีรายได้ รวมทง้ั ควรบารุงซ่อมแซมถนน เพอ่ื การคมนาคมขนส่งได้สะดวก

15. ควรมีการจ้างงานโดยหน่วยงานภาครัฐและกระตุ้นการจ้างงานในพื้นที่ ดูแลตรึงราคาน้ามัน
สาธารณูปโภคใหป้ ระชาชนมีกาลังซ้อื ไม่ควรขึน้ ภาษี เพราะจะเพ่มิ ภาระให้กับประชาชน

16. ประเดน็ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกยี่ วกับภาคอุตสาหกรรมและการสง่ ออก โดยสรปุ ดังน้ี
(1) เปิดโอกาสทางการศึกษาเพอ่ื พัฒนาบุคลากร สาหรับคนตกงาน
(2) ควรเร่งพัฒนาโครงการที่เป็นรายได้ของชาติให้เป็นรูปธรรม เช่น การขุดคลองคอคอดกระ

ที่จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ เปน็ ตน้
(3) ควรหักเงินประกันสังคมให้โรงพยาบาลโดยตรง เพื่อโรงพยาบาลสามารถรักษาพยาบาล

ผ้ปู ระกันตนไดด้ ยี ิง่ ขน้ึ

| 88 |

ผลการประเมินโครงการผู้นาฝ่ายค้านพบประชาชน

คร้งั ที่ 4 การรบั ฟังความเดอื ดร้อนของภาคอุตสาหกรรมและการส่งออก

ผลการสารวจความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามซ่ึงเข้าร่วมโครงการเสวนา ครั้งที่ 4 การรับฟัง
ความเดือดร้อนของภาคอตุ สาหกรรมและการส่งออก จากผตู้ อบแบบถาม จานวน 516 คน เมือ่ วิเคราะห์ข้อมูล
ท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม และความพงึ พอใจต่อโครงการ มผี ลการประเมนิ ดงั ตอ่ ไปน้ี

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นเพศ

เพศ จานวน รอ้ ยละ

ชาย 214 41.5
หญิง 302 58.5
516 100.0
รวม

ชาย
41.5%

หญงิ
58.5%

ภาพท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านเพศ

จากตารางที่ 1 และภาพที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 58.5
และเปน็ เพศชาย คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.5

| 89 |

ตารางท่ี 2 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นสถานะ/อาชพี

สถานะ จานวน รอ้ ยละ

ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม 32 6.2
ผปู้ ระกอบการภาคอุตสาหกรรมการท่องเทย่ี ว 24 4.7
ผปู้ ระกอบการภาคการส่งออก 8 1.6
พนกั งาน/ลูกจา้ ง 52 10.1
ประชาชนท่วั ไป 350 67.8
อ่นื ๆ เชน่ เกษตร อาชีพอิสระ ผูป้ ระกอบการโอทอป เปน็ ต้น 50 9.7
516 100.0
รวม

9.7% 6.2% 4.7% ผ้ปู ระกอบการภาคอุตสาหกรรม
67.7% 1.6% ผปู้ ระกอบการภาคอตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ ว
ผปู้ ระกอบการภาคการส่งออก
10.1% พนักงาน/ลูกจา้ ง
ประชาชนท่วั ไป
อ่ืน ๆ เชน่ เกษตร อาชพี อิสระ ผู้ประกอบการโอทอป เป็นต้น

ภาพที่ 2 แสดงค่าร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถามดา้ นสถานะ/อาชพี

จากตารางที่ 2 และภาพท่ี 2 พบว่า ส่วนใหญ่เป็นประชาชนท่ัวไปมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 67.8
รองลงมา คือ พนักงานและลูกจ้าง คิดเป็นร้อยละ 10.1 สถานะอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 9.7 ผู้ประกอบการ
ภาคอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 6.2 และผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว คิดเป็นร้อยละ 4.7
ทัง้ น้ี ผปู้ ระกอบการภาคการส่งออกมจี านวนนอ้ ยท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 1.6

| 90 |

ตารางที่ 3 แสดงค่ารอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นวุฒกิ ารศึกษา

วฒุ ิการศกึ ษา จานวน ร้อยละ
72.5
ต่ากว่าปรญิ ญาตรี 374 21.3
ปริญญาตรี 110 5.6
ปริญญาโท 29 0.6
สงู กวา่ ปริญญาโท 3 100.0
516
รวม ต่ากว่าปริญญาตรี
ปริญญาตรี
5.6% 0.6% ปรญิ ญาโท
สูงกว่าปริญญาโท
21.3%

72.5%

ภาพที่ 3 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นวุฒิการศึกษา

จากตารางท่ี 3 และภาพที่ 3 พบว่า ส่วนใหญ่มวี ฒุ ิการศึกษาระดับต่ากว่าปรญิ ญาตรีมากทสี่ ุด คิดเป็น
ร้อยละ 72.5 รองลงมา คือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 21.3 และระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 5.6
ท้งั นี้ วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงกว่าปรญิ ญาโท นอ้ ยทส่ี ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 0.6

| 91 |

ตารางท่ี 4 แสดงคา่ ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านอายุ

อายุ จานวน รอ้ ยละ
2.7
ต่ากวา่ 20 ปี 14 8.5
20-30 ปี 44 11.4
31-40 ปี 59 23.6
41-50 ปี 122 33.3
51-60 ปี 172 20.3
61 ปขี ้นึ ไป 105 100.0
516
รวม ต่ากว่า 20 ปี
20-30 ปี
20.3% 2.7% 31-40 ปี
8.5% 41-50 ปี
51-60 ปี
11.4% 61 ปขี ึน้ ไป

33.4% 23.6%

ภาพที่ 4 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นอายุ

จากตารางท่ี 4 และภาพที่ 4 พบว่า ส่วนใหญ่มีช่วงอายุตั้งแต่ 51- 60 ปี มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 33.3
รองลงมา คือ ชว่ งอายรุ ะหว่าง 41 - 50 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 23.6 ช่วงอายตุ ง้ั แต่ 61 ปขี ้นึ ไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.3
ช่วงอายุระหว่าง 31 - 40 ปี คิดเป็นร้อยละ 11.4 และช่วงอายุระหว่าง 20 - 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.5 ท้ังน้ี
มชี ว่ งอายุตา่ กวา่ 20 ปี นอ้ ยทีส่ ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 2.7

| 92 |


Click to View FlipBook Version