The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR (Self-Assessment Report) รายงานประจำปีของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ประจำปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruoley.eng, 2022-03-30 02:02:19

SAR ประจำปี 2563

SAR (Self-Assessment Report) รายงานประจำปีของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ประจำปี 2563



คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านฉาง
กาญจนกุลวิทยา ฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานตน้ สังกัดหรือหน่วยงาน
ที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
ที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้อง
กับมาตรฐานการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน
กระบวนการบริหาร และการจัดการ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพ่ือ
นำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก
โดยสำนกั งานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคณุ ภาพการศึกษา(องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2563 ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ เอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์
ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา ในปีการศึกษา
2564 ต่อไป

(นางกฤตติกา เบญจมาลา)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา



ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2563 สถานศึกษามีภาระหน้าที่จะต้อง
ดำเนินการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่กำหนดไว้ชัดเจนในมาตรา 48
ใหส้ ถานศกึ ษามกี ารจดั ทำรายงานพัฒนาคุณภาพเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกดั เปน็ ประจำทกุ ปี

ดังนั้นโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา จึงได้ดำเนินการประชุมหารือคณะกรรมการ
สถานศึกษาและคณะครูตลอดจนได้แนวปฏิบตั ิ พร้อมท้งั ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมลู ผลงานซ่ึงทาง
โรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ตามสาระการเรียนรู้ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ทุกระดับช้ันในรอบปีการศกึ ษา การจัดทำรายงานประจำปขี องสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563
คณะกรรมการสถานศึกษา ได้ให้ความเห็นชอบและผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา
เป็นที่เรยี บร้อยแลว้

(นายสุชิน พูลหริ ญั )
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา



สารบญั

สว่ นท่ี หน้า
◆ คำนำ ก
◆ ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ข
◆ สารบญั ค

1 ข้อมลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 1
◆ ขอ้ มูลท่วั ไป 2
◆ ขอ้ มลู ครแู ละบุคลากร 4
◆ ขอ้ มลู นักเรยี น 5
◆ สรปุ ข้อมลู ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดบั สถานศึกษา 11
◆ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ องผู้เรยี น 13
◆ สรปุ การใช้แหลง่ เรยี นรูภ้ ายในและภายนอกสถานศึกษา 15
◆ สภาพชุมชนโดยรวม 16
◆ สรุปผลการประเมนิ จากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ
20
2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 30
◆ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น 37
◆ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 43
◆ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
◆ ผลการประเมนิ ภาพรวม 45
48
3 สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการการช่วยเหลอื 49
◆ จดุ เด่น/จุดควรพฒั นา 51
◆ แนวทางการพฒั นาในอนาคต
◆ ความตอ้ งการการชว่ ยเหลือ

4 ภาคผนวก



4 ภาคผนวก
- ประกาศใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
เพือ่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
- ประกาศกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
- คำสง่ั แต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งาน ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพ
ภายใน สถานศกึ ษา ประจำปี 2563

1

สว่ นท่ี 1
ขอ้ มลู พ้ืนฐาน

ความเป็นมา
“โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วิทยา” เป็นโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาประจำอำเภอบ้านฉาง ปัจจุบัน

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดร้ ับบรจิ าคที่ดนิ จาก คุณสุธรรม และคณุ นวลศรี กาญจนกลุ และ
ภายหลังได้รับบริจาคเพ่ิมเติมจาก คุณนิยม บูรพา จนมีเนื้อที่รวมจำนวน 42 ไร่ 3 งาน 7.5 ตารางวา
กรมสามัญศึกษาได้อนุมัติให้เปิดโรงเรียนโดยให้เปิดมัธยมศึกษาตอนต้น ประเภทสหศึกษา จำนวน
1 ห้องเรียน เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2518 ขณะนั้นสถานที่ก่อสร้างโรงเรียนยังไม่เสร็จ จึงได้ขอ
อาศัยสถานที่โรงเรียนวัดบ้านฉาง จำนวน 1 ห้องเรียน เพื่อเป็นสถานที่เรียนไปก่อนขณะเดียวกัน
หน่วยช่วยเหลือประชาชนจากสนามบินอู่ตะเภา ได้ให้ความร่วมมือกับคณะกรรมการ ริเริ่มต้ัง
โรงเรียน สร้างอาคารขึ้น 1 หลัง และย้ายมาทำการสอน ณ สถานที่ปัจจุบัน เมื่อวันที่ 6
มกราคม 2519 จากนัน้ กรมสามัญศึกษา ได้จัดสรรงบประมาณเพื่อสร้างอาคารเรยี นให้กับโรงเรียน
เพ่มิ ข้ึนเรอ่ื ยมา

1.1 ข้อมูลท่ัวไป

ชอื่ โรงเรยี น โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวิทยา
ท่อี ยู่ 185 หมู่ 3 ตำบลบา้ นฉาง อำเภอบา้ นฉาง
จงั หวดั ระยอง รหัสไปรษณีย์ 21130
โทรศพั ท์ 0-3860-2333
โทรสาร 0-3860-2333
E – mail [email protected]
Website http://www.bkwschool.ac.th
สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
ระดับท่เี ปดิ สอน กระทรวงศึกษาธกิ าร
เน้ือท่ี ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 - มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
เขตพ้ืนทบ่ี รกิ าร 42 ไร่ 3 งาน 7.5 ตารางวา
ประกอบด้วย 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลบ้านฉาง ตำบลพลา
ตำบลสำนกั ท้อน

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

2

1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

1) ข้อมูลผ้บู รหิ าร
ผู้อำนวยการโรงเรียน
นางกฤตตกิ า เบญจมาลา
วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา
ดำรงตำแหน่งต้ังแตว่ นั ท่ี 30 ต.ค.62 จนถงึ ปัจจุบนั

2) ข้อมลู ครแู ละ บคุ ลากร (ณ วันที่ 22 มนี าคม 2564)

ขา้ ราชการครู บุคลากรอน่ื

กลุม่ /กลุ่มสาระ ชาย หญงิ รวม ตำแหนง่ ชาย หญิง รวม

ผู้บริหาร 145 ครอู ตั ราจ้าง 5 9 14

ภาษาไทย 2 10 12 ลูกจา้ งประจำ ---

คณติ ศาสตร์ 3 15 18 ลกู จา้ งชัว่ คราว 4 9 13

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 18 25 เจ้าหนา้ ทส่ี ำนักงาน - 10 10

สังคมศึกษา 6 10 16 ครผู ทู้ รงคณุ ค่า ---

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 426 ยาม 2-2

ศิลปะ 3 4 7

การงานอาชพี ฯ 347

ภาษาตา่ งประเทศ 1 14 15

กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน -44

รวม 30 85 115 รวม 11 28 39

สรุป จำนวนข้าราชการครแู ละบุคลากรท้ังสิ้น จำนวน 154 คน

3) วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุดของบุคลากร 12.99%
19.48%
วุฒกิ ารศึกษา จำนวน รอ้ ยละ
67.53%
ปริญญาโท 30 19.48

ปรญิ ญาตรี 104 67.53
ตำ่ กวา่ ปริญญาตรี 20 12.99

รวม 154 100

ต่ากว่าปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

3

4) วิทยฐานะของบุคลากร

วทิ ยฐานะของบคุ ลากร ครผู ู้ชว่ ย ครู คศ.1 ครู คศ.2 ครู คศ.3 รวม
จำนวน 13 61 23 18 115
รอ้ ยละ 11.30 53.04 20.00 15.65 100

15.65% 11.30% ครผู ู้ชว่ ย
ครู คศ.1
20.00% ครู คศ.2
ครู คศ.3
53.04%

5) สาขาวิชาท่จี บการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวชิ า จำนวน(คน) ภาระงานสอนเฉลยี่ ของครู
1 คนในแต่ละสาขาวชิ า
1. บริหารการศึกษา 5
2. ภาษาไทย 13 (ชม./สัปดาห์)
3. คณิตศาสตร์ 18 -
4. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 28
5. สงั คมศึกษา 19 16.15
6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6 15.33
7. ศิลปะ 8 17.07
8. การงานอาชีพฯ 8 16.53
9. ภาษาต่างประเทศ 21 16.33
10. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 16.50
129 14.13
รวม 16.30
15.70
19.45

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

4

1.3 ข้อมูลนักเรียน

จำนวนนกั เรยี น ปีการศกึ ษา 2563 รวม 2,285 คน (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 10 ม.ิ ย.63)

ระดบั ช้นั เรียน จำนวน จำนวนนักเรียน เฉลย่ี
หอ้ งเรยี น ชาย หญิง รวม ตอ่ ห้อง
ม.1
ม.2 14 248 295 543 39
ม.3 13 231 291 522 40
รวม 12 225 229 454 38
ม.4 39 704 815 1,519 39
ม.5 7 87 190 277 39
ม.6 7 89 169 258 37
รวม 7 92 139 231 33
รวมท้ังหมด 21 268 498 766 36

60 972 1,313 2,285 38

เปรียบเทยี บจ่านวนนักเรียนระดบั ช้นั ม.1-6 ปีการศกึ ษา 2561-2563

600
500
400
300
200
100

0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
ปี 2561 463 483 447 249 222 261
ปี 2562 540 471 480 276 240 217
ปี 2563 543 522 454 277 258 231

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

5

1.4 ข้อมูลผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา (ข้อมลู ณ 31 มีนาคม 2563)

1) ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีเกรดเฉลี่ยผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นแตล่ ะรายวิชาในระดับ 3 ข้ึนไป
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ปกี ารศึกษา 2563
รายวชิ า(พ้นื ฐาน)

ระดบั ชน้ั
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
สังคม ึศกษาฯ
ประ ัวติศาสตร์
ภาษา ัองกฤษ
สุขศึกษาฯ
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

ม.1 313 229 257 354 335 174 509 413 427
ม.2 354 176 227 364 346 193 451 412 313
ม.3 247 148 206 308 310 128 431 380 345
ม.4 188 129 147 221 204 118 181 258 239
ม.5 172 134 128 198 219 81 128 220 212
ม.6 177 127 211 173 - 117 138 203 189
รวม 1,451 943 1,176 1,618 1,414 811 1,838 1,886 1,725
รอ้ ยละ 64.09 41.65 51.94 71.47 62.46 35.82 81.18 83.30 76.19

รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี ีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนแตล่ ะวชิ าในระดบั 3 ขน้ึ ไป ปีการศึกษา 2563

การงานอาชพี ฯ 76.19

ศลิ ปะ 83.3

สุขศกึ ษาฯ 81.18

ภาษาองั กฤษ 35.82

ประวัติศาสตร์ 62.46

สังคมศกึ ษาฯ 71.47

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 51.94

คณติ ศาสตร์ 41.65

ภาษาไทย 64.09

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

6

2) ร้อยละของนักเรยี นท่มี ผี ลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ในระดบั ดีขน้ึ ไป
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563

ระดบั ชั้น จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมนิ ดีเยย่ี ม ระดับดี รอ้ ยละ
นักเรยี น ผ่าน ดี ขนึ้ ไป

ม.1 539 - 15 45 479 524 97.22
ม.2 519 - 13 58 434 492 94.80
ม.3 441 - 7 163 271 434 98.41
ม.4 277 - 1 52 224 276 99.64
ม.5 258 - 0 67 191 258 100
ม.6 230 - 1 70 159 229 99.57
รวม 2,269 - 37 455 1,758 2,213 97.53

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

ผ่าน 2.78 2.50 1.59 0.36 0.00 0.43
ดี 8.35 11.18 36.96 18.77 25.97 30.43
ดเี ยย่ี ม 88.87 83.62 61.45 80.87 74.03 69.13

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

7

3) ร้อยละของนักเรยี นท่มี ีผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ในระดบั ดีขึน้ ไป
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2563

ระดับช้ัน จำนวน ไม่ผ่าน ผลการประเมนิ ดีเย่ยี ม ระดบั ดี ร้อยละ
นักเรียน ผ่าน ดี ข้ึนไป
98.33
ม.1 539 - 11 27 503 530 96.92
ม.2 519 - 2 38 465 503 99.55
ม.3 441 - 2 55 384 439 100
ม.4 277 - 0 32 245 277 100
ม.5 258 - 0 53 205 258 100
ม.6 230 - 0 47 183 230 98.59
รวม 2,269 - 15 252 1,985 2,237

100.00

80.00

60.00

40.00

20.00

0.00
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

ผ่าน 2.04 0.39 0.45 0.00 0.00 0.00
ดี 5.01 7.32 12.47 11.55 20.54 20.43
ดเี ยี่ยม 93.32 89.60 87.07 88.45 79.46 79.57

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

8

4) รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ปกี ารศึกษา 2563 ของผเู้ รยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
ในระดับผ่านขึ้นไป

สมรรถนะสำคญั ผลการประเมนิ ระดบั ผา่ น รอ้ ยละ

ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดีเยยี่ ม ข้ึนไป 100
100
1. ความสามารถในการสอื่ สาร - 58 144 239 441 100
100
2. ความสามารถในการคิด - 136 197 108 441 100
100
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - 68 205 168 441

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ - 11 119 311 441

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - 25 153 263 441

รวม - 298 818 1,089 2,205

รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมนิ สมรรถนะสา่ คญั ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ปกี ารศึกษา 2563 ของผเู้ รยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ในระดับผา่ นขน้ึ ไป

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5.67 34.69 59.64

ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 2.49 26.98 70.52

ความสามารถในการแก้ปัญหา 15.42 46.49 38.10

ความสามารถในการคิด 30.84 44.67 24.49

ความสามารถในการสื่อสาร 13.15 32.65 54.20

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

ผ่าน ดี ดีเยยี่ ม

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

9

5) ร้อยละของนักเรียนทม่ี ผี ลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ปกี ารศกึ ษา 2563 ของผู้เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6
ในระดบั ผา่ นข้ึนไป

สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมนิ ระดับผ่าน ร้อยละ

1. ความสามารถในการส่ือสาร ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ดีเยี่ยม ขน้ึ ไป 100
2. ความสามารถในการคิด 100
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - 15 90 125 230 100
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 100
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - 19 88 123 230 100
100
รวม - 45 122 63 230

- 8 138 84 230

- 13 89 128 230

- 100 527 523 1,150

ร้อยละของนกั เรยี นทมี่ ีผลการประเมนิ สมรรถนะส่าคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
ปกี ารศกึ ษา 2563 ของผู้เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ในระดบั ผา่ นข้นึ ไป

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5.65 38.70 55.65

ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 3.48 60.00 36.52

ความสามารถในการแก้ปัญหา 19.57 53.04 27.39

ความสามารถในการคิด 8.26 38.26 53.48

ความสามารถในการส่ือสาร 6.52 39.13 54.35

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

ผ่าน ดี ดีเย่ยี ม

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

10

การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรายวิชา 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้

การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562-2563

ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563

4

3.5

3 3.18 3.29 3.53 3.41 3.18 3.23 3.27 3.16
2.5
2.98 2.8 2.98 2.81 2.82
2 2.67 2.47 2.52

1.5

1

0.5

0

การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562-2563

ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563

4

3.5

3 3.17 3.17 3.54 3.42 3.47 3.19 3.3
2.5 3.24
2.84 3.01 3.11
2 2.45 2.64 2.79 2.76 2.92

1.5

1

0.5

0

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

11

1.5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563

รายวชิ า ระดับโรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ
60.88 ระดับจังหวดั ระดับสังกดั สพฐ. 54.29
ภาษาไทย 42.29 34.38
ภาษาอังกฤษ 27.67 55.75 55.18 25.46
คณติ ศาสตร์ 32.17 38.05 34.14 29.89
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 26.63 25.82
30.86 30.17

70 60.88
60 57.75
50 55.18
40 54.19
30 42.29
20 38.05
10 34.14
0 34.38
26.67
ภาษาไทย 26.63
25.82
25.46
32.17
30.86
30.17
29.89

ภ า ษา อัง กฤษ คณิต ศา สต ร์ วิท ย า ศา สต ร์แ ล ะ
เ ท ค โ น โ ล ยี

ระดับโรงเรียน ระดบั จังหวดั ระดบั สงั กัด สพฐ ระดบั ประเทศ

หมายเหตุ คะแนนเฉลีย่ ทุกรายวิชาของนักเรยี นสงู กว่าระดับจงั หวดั ระดับสงั กดั สพฐ. และ

ระดบั ประเทศ

การเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2562-2563

70

60 60.88
56.05

50 42.29
34.85
40 32.17 ปี 2562
7.44 29.09 ปี 2563
30 26.17 27.67 ผลตา่ ง
ภาษาองั กฤษ 3.08
20 1.5
วิทยาศาสตร์
10 4.83 คณิตศาสตร์
0

ภาษาไทย

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

12

2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2563

รายวิชา ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ
45.80 ระดับจงั หวัด ระดับสังกดั สพฐ. 44.36
ภาษาไทย 36.93 35.93
สงั คมศึกษาฯ 29.98 47.84 45.22 29.94
ภาษาอังกฤษ 26.26 37.58 36.32 26.04
คณติ ศาสตร์ 35.10 34.18 29.73 32.68
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 29.39 26.33
36.18 33.04

ระดับโรงเรยี น ระดับจังหวดั ระดบั สังกดั สพฐ ระดบั ประเทศ

45.80
47.84
45.22
44.36
36.93
37.58
36.32
35.93
29.98
34.18
29.73
29.94
26.26
29.39
26.33
26.04
35.10
36.18
33.04
32.68

ภาษาไทย สั ง ค ม ศึ ก ษ า ฯ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ
เ ท ค โ น โ ล ยี

หมายเหตุ คะแนนเฉลี่ยทกุ รายวิชาของนกั เรยี นต่ำกว่าระดับจงั หวดั สงู กวา่ ระดบั สังกัด สพฐ.

ในรายวชิ าภาษาไทย สังคมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์ และสูงกว่าระดับประเทศ

ทกุ รายวิชา

การเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2562-2563

50 36.66 36.93 28.22 29.98 26.12 26.26 35.1 ปี 2562
29.49 ปี 2563
45.8 0.27 1.76 0.14 ผลต่าง
5.61
40 41.49 สงั คมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์
30

20

10

4.31

0
ภาษาไทย

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

13

1.6 ขอ้ มลู การใช้แหล่งเรยี นรูภ้ ายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2563

แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียน สถติ ิการใช้
ชื่อแหล่งเรยี นรู้ จำนวนครง้ั / ปี

ห้องปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ 90
ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 90
ห้องปฏบิ ัตกิ ารทศั นศิลป์ 90
ห้องปฏบิ ตั ิการนาฏศลิ ป์ 90
หอ้ งปฏิบตั ิการดนตรี 90
หอ้ งปฏิบัติการคหกรรม 90
ห้องปฏบิ ัตกิ ารงานบ้าน 90
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารงานประดิษฐ์ 90
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารงานช่าง 90
หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเกษตร 90
หอ้ งปฏิบตั กิ ารภาษาตา่ งประเทศ 90
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาษาไทย 90
หอ้ งลกู เสอื -
หอ้ งแนะแนว 90
หอ้ ง Eco-school 90
ห้องพิพิธภณั ฑ์ธรรมชาติ 90
ห้องงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน 90
หอ้ งสมดุ โรงเรียน 90

หมายเหตุ เน่ืองจากปีการศกึ ษา 2563 มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 19 (COVID-19)
จึงงดใช้ และจำกดั ระยะเวลาในการใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียนเพอ่ื ปอ้ งกนั
การแพรร่ ะบาด และติดตอ่ ของเช้อื ไวรัส

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

14

แหล่งเรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน สถติ ิการใช้
ชอื่ แหล่งเรียนรู้ จำนวนคร้งั / ปี

1. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั รำไพพรรณี จ.จันทบรุ ี 1
2. พพิ ิธภัณฑธ์ รรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย จ.ชลบรุ ี 1
3. เขาชจี รรย์ จ.ชลบุรี 1
4. ตลาดนำ้ 4 ภาค พทั ยา จ.ชลบรุ ี 1
5. สวนนงนชุ จ.ชลบุรี 1
6. โรงแรมโกลเดน้ ซิตี้ จ.ระยอง 2
7. วิทยาลยั เทคโนโลยีอักษรบริหารธุรกิจ จ.ระยอง 1
8. วิทยาลยั เทคนคิ สตั หบี จ.ชลบรุ ี 1
9. โรงเรียนชลบุรีสุขบท จ.ชลบุรี 1
10. หาดเตยงาม จ.ชลบุรี 1
11. บริษัท HMC โพลเิ มอร์ จำกดั 1
12. เขาภูดร ห้วยมะหาด จ.ระยอง 2
13. กองงานสิง่ แวดลอ้ ม เทศบาลตำบลบา้ นฉาง จ.ระยอง 1
14. โรงแรมบางแสนเฮอรเิ ทจ จ.ชลบรุ ี 1
15. ปา่ แมต่ ืนแมแ่ ตง จ.เชียงใหม่ 1
16. บริษัท เอ็มยู ครเี อชน่ั จำกัด 1

หมายเหตุ เน่ืองจากปีการศึกษา 2563 มีการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 19 (COVID-19)
ทำใหไ้ ม่สามารถไปศกึ ษาจากแหลง่ เรียนรู้ภายนอกโรงเรยี นบางสถานที่ได้
เพื่อปอ้ งกันการแพร่ระบาด และติดต่อของเช้ือไวรัส

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

15

1.7 ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม

1.7.1 สภาพชุมชนโดยรอบโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา
โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ตั้งอยู่ในเขตอำเภอบ้านฉาง ซึ่งมีเนื้อที่ 238 ตาราง
กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 46,403 คน และได้รับการกำหนดให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและ
อุตสาหกรรมไร้มลภาวะ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นพื้นที่การเกษตร บริเวณ
ใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนได้แก่ พื้นที่เกษตร อาชีพหลักของชุมชนคือ กสิกรรม เนื่องจากมีพื้นที่
การเกษตร จำนวน 46,006 ไร่ นอกจากนี้ยังมีประมง ปศุสัตว์ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม
ขนาดย่อม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี /ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่รู้จักโดยทั่วไป
คือ ประเพณีบุญข้าวหลาม หรือทำบุญกลางทุ่ง ประเพณีลอยกระทง และแข่งเรือทะเล ประเพณี
สงกรานต์
1.7.2 ขอ้ มูลผูป้ กครอง
ผู้ปกครองสว่ นใหญจ่ บการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ รอ้ ยละ 73.74 ประกอบอาชีพ
รบั จ้าง ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดเ้ ฉล่ียต่อปี 62,580 บาท
1.7.3 โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรยี น
ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน วัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้
และการจัดหาทุนเพื่อการศึกษาเป็นอย่างดี ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่เกี่ยวกับภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นในด้านต่าง ๆ และแหล่งเรียนรู้ได้รับการสนับสนุนจากเจ้าอาวาสวัดต่าง ๆ ในชุมชน
เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับการศึกษาด้านศาสนา นอกจากนี้ทางวัดยังให้ความช่วยเหลือ
ในการจัดหาทุนให้กับนักเรียนทุกปี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็เช่นเดียวกันได้ช่วยในการพัฒนา
สิ่งแวดลอ้ มในโรงเรียน จัดหางบประมาณตามโครงการที่โรงเรียนได้ร้องขอ ในบางโอกาสทางองค์กร
ปกครอง ส่วนท้องถ่ินจะจัดสรรให้กับโรงเรียนเอง เช่น สนามฟุตบอล ได้รับงบประมาณจากแผน
ขจัดมลพิษ ของจังหวัดระยอง ได้รับเงินช่วยเหลือสนบั สนุนจากกองทนุ ไฟฟ้าในการสร้างอาคารเรยี น
และซ่อมแซมโรงเรียนในส่วนต่าง ๆ รวมถึงการให้งบประมาณสนับสนุนในการจ้างจ้างครูต่างชาติ
สำหรับการสอนภาษาองั กฤษ

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

16

1.8 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกจากสมศ.รอบที่ผ่านมา (รอบสี่)

1.8.1 ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหาร

คณะผู้ประเมินได้ตรวจเยี่ยมสถานศึกษาเมื่อวันที่ 11-12 พฤศจิกายน 2562
โดยมผี ลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ.2559-2563) ดังนี้

ด้าน ระดับคุณภาพ
ดีเยยี่ ม
1. คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ดีเย่ยี ม
2. กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ดีมาก
3. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

1.8.2 ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอก

จดุ เด่น
ด้านคุณภาพของผู้เรียน

1. ผ้เู รยี นอ่านเขียนเพื่อการส่อื สารไดส้ องภาษา มีผลงานจากการแขง่ ขันความ
เป็นเลศิ ทางวิชาการ ทกุ ระดับช้นั อยา่ งตอ่ เนื่องทกุ ปี

2. ผู้เรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คะแนน
เฉล่ยี สูงกวา่ ระดบั ประเทศตอ่ เนอื่ ง

3. ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้
ผลงานชนะการประกวดและไดร้ ับรางวลั ต่าง ๆ มากมาย

4. ผู้เรียนสามารถบริหารจัดการขยะในโรงเรียนแบบครบวงจรและสามารถ
แยกขยะ และรูจ้ ักการลดปรมิ าณขยะในสถานศกึ ษา

5. ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถเข้าศึกษาต่อ
ในระดับสูงขึ้น ได้เปน็ จำนวนมาก

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

17

ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. สถานศึกษามีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ทุกฝ่ายมี

สว่ นร่วมในการกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าหมาย ท่ีชดั เจน
2. ผู้บริหารมีความตั้งใจ มคี วามมุ่งมน่ั มีหลักการบริหารและมีวิสัยทัศน์ท่ีดี และ

คณะกรรมการ สถานศึกษามีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาท มีการพัฒนาหลักสูตร
โดยจดั ห้องเรยี นพิเศษ Mini English Program (MEP) การสอนภาษาจีน และการสอนวิชาชีพ

3. ผู้บริหารมีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี โดยได้รับ
การสนับสนุน และช่วยเหลือจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียน
บ้านฉางกาญจนกุลวิทยา เครือข่ายผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ
อตุ สาหกรรมทีอ่ ย่บู รเิ วณใกลเ้ คียง

4. ผู้บริหารคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา มีแผนงาน โครงการในการ
พฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียน

5. สถานศึกษามีบริเวณโรงเรียนกว้างขวาง ร่มรื่นด้วยพรรณไม้นานาชนิด
มโี ครงการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เพอ่ื อนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อม

ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ
1. กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์ของ

ครูทุกคนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีความต่อเนื่อง ครูใช้พื้นที่ทุกส่วนสำหรับจัดการเรียนรู้
สง่ ผลต่อการยกระดบั คณุ ภาพ

2. ครูทุกคนจัดทำงานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action
Research : CAR 1-4) แต่ละขั้นตอนของ CAR ทั้ง 4 ขั้นตอน ได้เรียนรู้วิชาชีพด้วยกระบวนการ
PLC (Professional Learning Community) มีความตอ่ เนอ่ื ง

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

18

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาสูน่ วตั กรรม หรือแบบอยา่ งท่ีดี
ด้านคณุ ภาพของผ้เู รียน
สถานศึกษาควรต่อยอดกระบวนการเรียนรู้ของผูเ้ รียน เช่น มีการจัดเก็บฐานข้อมูลของ

พืชศกึ ษาและปัจจัยท่เี ก่ียวข้อง เผยแพร่ออกสชู่ ุมชนและเกดิ เป็นประโยชน์กับมหาชนส่วนใหญ่เพ่ือให้
สามารถผ่านเกณฑ์การประเมินเกียรติบตั รขั้นที่ 2 จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ได้ดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริของ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นการดำเนินงานในอีกรูปแบบหนึ่งของ
สวนพฤกษศาสตร์ โดยดำเนินกิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช การรวมพันธุ์ไม้
ที่มีชีวิต มีแหล่งข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ พันธุ์ไม้ มีการศึกษาต่อเนื่อง เป็นโครงการที่ดีมีคุณค่าใน
การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นแบบอย่างที่ดีในระดับภูมิภาค ควรดำเนินการให้เกิด
ผลดียิง่ ขนึ้ โดยเพิม่ กจิ กรรมจาก 8 กิจกรรมหลัก เช่น กิจกรรมอนรุ กั ษ์ และใชป้ ระโยชนพ์ ันธุกรรมพืช
และเผยแพร่ผลงานการดำเนินโครงการให้กว้างขวางและเป็นแบบอย่างให้กับสถานศึกษาอื่น ๆ
ในระดับประเทศต่อไป

ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั
1. สถานศึกษาควรรวบรวมบทสรุป ของผลงานวิจัยเชิงปฏิบัติการทุกคน และทุก

กลุ่มสาระการเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานให้หลากหลายชอ่ งทาง
2. สถานศึกษาควรศึกษาวิธีการถอดบทเรียนในการพัฒนาวิชาชีพครู ใช้วิธีการเรียนรู้

จากการ ปฏิบตั จิ ริงของงานวจิ ัยเชิงปฏิบัติการแตล่ ะขนั้ ตอนของ CAR ท้งั 4 ขนั้ ตอน ด้วยการทำ PLC
(Professional Learning Community) ร่วมกันถอดบทเรียนวิธีปฏิบัติที่ดี (Best practice) ของ
การแก้ปัญหา การจัดการเรียนการสอนด้วยการใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โรงเรียนบ้านฉาง
กาญจนกลุ วทิ ยา ดำเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบตามแนวทางของเดมม่งิ (Deming Cycle)

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

19

สรปุ ผลการประเมินความโดดเด่น
โครงการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนซึ่งเป็นโครงการที่สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์

พันธุกรรมพืช ทรัพยากรชีวภาพและกายภาพ มีการสัมผัสการเรียนรู้ การสร้างและปลูกฝังคุณธรรม
การเสริมสร้างปัญญา และภูมิปัญญา สถานศึกษาควรต่อยอดกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
เช่น มีการจัดเก็บฐานข้อมูลของพืช ศึกษาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เผยแพร่ออกสู่ชุมชน เพื่อให้สามารถ
ผ่านเกณฑ์การประเมินเกียรติบัตรขั้นที่ 2 จากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

ปจั จบุ ันไดร้ ับเกียรติบัตรงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนขนั้ ท่ี 1 เกียรตบิ ัตรแห่งความมุ่งม่ัน
อนุรักษ์ สรรพสิ่ง สรรพชีวิต ด้วยจิตสำนึกของครูและเยาวชนจากโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้รับรางวัล
เหรียญทอง ชนะเลิศอันดับ 1 Best Practice ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประเภทสถานศึกษา
ยอดเยี่ยมขนาดใหญ่ และได้รับรางวัลด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม
เรื่องการจัดการเรียนการสอน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนโดยใช้โมเดล BKW 4G จากสำนักงาน
เขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 18

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

20

ส่วนที่ 2
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ได้พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน
การศึกษาที่โรงเรียนกำหนด จำนวน 3 มาตรฐาน โดยการดำเนินงานตามโครงการ กิจกรรมที่กำหนด
ในแผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งมีผลสำเร็จตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นรวมทั้งโรงเรียนมีการสนับสนุน
การดำเนินงานประจำทั้งด้านการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ การจัดกิจกรรม
ส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพของผู้เรยี นทั้งในเวลาและนอกเวลาเรียนดว้ ยรูปแบบต่าง ๆ และมีการจัดระบบ
การบรหิ ารจัดการที่สง่ เสริมสนับสนุนคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น

จากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
อยู่ใน ระดับยอดเยี่ยม โดยมีผูท้ รงคณุ วฒุ ิตามที่ต้นสงั กัดประกาศแต่งตั้งร่วมประเมินด้วยดังมรี ายละเอียด
ของผลการประเมนิ ตนเอง ดงั นี้

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
ระดบั คุณภาพ : ยอดเยี่ยม

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพฒั นา

1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน - ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่าน การเขยี น

- มีความสามารถในการอา่ น การเขียน และสอ่ื สารภาษาไทย และภาษาตา่ งประเทศ

การสอื่ สาร และการคดิ คำนวณ ไดเ้ หมาะสมตามระดบั ช้ัน

โรงเรียนมอบหมายให้ทกุ กลมุ่ สาระฯ

จัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ให้นักเรยี นเกดิ ทักษะ

การอ่าน และการเขียนโดยเฉพาะอยา่ งกลุม่ สาระ

การเรยี นรู้ด้านภาษา การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

ทีเ่ น้นการอา่ น การเขยี นตามตวั ช้วี ดั ของหลักสูตร

และทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ส่งเสริมใหน้ กั เรียน

ได้สบื คน้ ข้อมูล หาคำตอบด้วยตนเอง โดยจัดทำ

โครงการเพื่อสนบั สนุนให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้ - จากสถติ ขิ ้างตน้ พบว่า นกั เรียนทกุ ระดับช้ัน

อย่างเตม็ ตามศักยภาพ เช่น โครงการพัฒนา มีผลการประเมินในการอา่ น การเขยี น
นักเรยี นอ่าน เขียนใหค้ ล่อง โครงการสปั ดาห์ และการสื่อสารภาษาไทย ในระดับดีขึ้นไป

คณติ ศาสตร์ โครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์ และ เฉลยี่ รอ้ ยละ 89.13 สูงกว่าค่าเปา้ หมายทีต่ งั้ ไว้

โครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร เป็นตน้ คอื รอ้ ยละ 85

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

21

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพฒั นา
นอกจากน้ไี ดด้ ำเนนิ การสง่ เสริมผู้เรยี น

ใหม้ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการดว้ ยการจัดกจิ กรรม
ตามโครงการต่าง ๆ เชน่ โครงการยกระดบั
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของแตล่ ะกลุ่มสาระฯ
โครงการติว O-NET โครงการส่งนกั เรียนเข้าร่วม
แข่งขันความสามารถทางวิชาการ กิจกรรม Easy
English & Chinese Conversation กิจกรรม
One Day Field trip และสปั ดาหห์ อ้ งสมุด

- จากสถิตขิ ้างต้น พบว่า นักเรียนทกุ ระดับชน้ั
มผี ลการประเมินในการอ่าน การเขียน
และการสื่อสารภาษาต่างประเทศ ในระดบั ดขี ึ้นไป
เฉลย่ี ร้อยละ 87.78 สงู กว่า ค่าเปา้ หมายท่ีตงั้ ไว้
คอื รอ้ ยละ 55

- ผเู้ รียนมีความสามารถในการคิดคำนวณได้
เหมาะสมตามระดับชัน้

- จากสถติ ิขา้ งตน้ พบว่า นักเรียนทุกระดับชน้ั
มคี วามสามารถในการคิดคำนวณได้ในระดับดีขนึ้ ไป
เฉล่ยี ร้อยละ 77.16 สูงกวา่ ค่าเปา้ หมายท่ตี ัง้ ไว้
คือ รอ้ ยละ 65

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

22

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพัฒนา

- มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ - ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์

คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณอภิปรายแลกเปล่ยี น คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน

ความคดิ เห็นและแก้ปญั หา ความคิดเห็นและแก้ปญั หา

โรงเรยี นมอบหมายใหท้ ุกกลมุ่ สาระ

การเรยี นรู้จัดกจิ กรรมการเรียนรสู้ ง่ เสริมให้

นกั เรียนมคี วามสามารถดา้ นการคิดวเิ คราะห์

คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยน

ความคิดเห็น แกป้ ัญหาและนำไปประยุกตใ์ ช้

ในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมนั้น

โรงเรียนได้ส่งเสริมให้นักเรียนทำงานโดยใช้

กระบวนการกลุม่ รว่ มคดิ ร่วมทำ แลกเปลี่ยน

เรียนรู้ เพื่อความคิดสรา้ งสรรค์ คิดแก้ปญั หา - จากสถติ ิขา้ งต้น พบว่า นกั เรียนทุกระดับช้ันขึน้ ไป
และนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ ได้ มคี วามสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ ง
เป็นต้น โดยใชเ้ ทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย มีวิจารณญาณอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เช่น การจดั การเรยี นรู้แบบกระตือรือรน้ 5E และแกป้ ัญหาได้ในระดบั ดีขนึ้ ไป เฉล่ียรอ้ ยละ
การใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน การใช้คำถามเปน็ ฐาน 91.37 สูงกวา่ คา่ เปา้ หมายทีต่ ั้งไว้คือ ร้อยละ 85
เป็นตน้ สง่ ผลให้นกั เรยี นมคี วามสามารถ

ในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ

อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ แกป้ ญั หา

และนำไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ

ได้อย่างเหมาะสม

- มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 85 ขน้ึ ไปมคี วามรู้และทักษะพื้นฐาน

โรงเรยี นมอบหมายจดั การเรียนรู้ ในการสรา้ งนวัตกรรม เช่น โครงงาน หุน่ ยนต์

แบบบรู ณาการท่ีม่งุ เนน้ ให้นกั เรียนมที ักษะด้าน สิง่ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรมทางเทคโนโลยีจนได้

การเรียนรู้ ทักษะตามการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 รบั รางวัล ดังน้ี

เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง สามารถสร้าง การแข่งขัน IT DAY วทิ ยาลยั เทคโนโลยี

นวตั กรรมนำไปใช้และเผยแพรไ่ ด้ เช่น รายวิชา ภาคตะวนั ออก (อเี ทค)

การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (IS) การสอนแบบ 1. รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ 1 การแข่งขัน

โครงงาน นอกจากน้ียังจัดกิจกรรมตามโครงการ Animation Contest ระดบั มัธยมศกึ ษา

เช่น การจัดกจิ กรรมชมุ นุม กิจกรรมลดเวลาเรยี น ตอนปลาย

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

23

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพฒั นา

เพมิ่ เวลารู้ โครงการเข้ารว่ มการแขง่ ขัน IT DAY 2. รางวัลเข้าร่วมการแข่งขัน Adobe

2020 ส่งผลใหน้ กั เรยี นมคี วามสามารถในการ Photoshop CC 2017 ระดับมัธยมศึกษา

สร้างนวัตกรรมมีการนำไปใช้และเผยแพร่ได้ ตอนตน้

- ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ผู้เรยี นร้อยละ 100 มคี วามสามารถในการใช้

สารสนเทศและการส่ือสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือพัฒนา

โรงเรยี นมอบหมายให้ทกุ กลุ่มสาระ ตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสมและปลอดภยั ดังน้ี

การเรียนรู้ บูรณาการจัดการเรยี นการสอน 1. ผู้เรยี นสามารถศกึ ษา เรียนรู้ผ่านระบบ

ใหน้ ักเรยี นใช้เทคโนโลยีในการสอื่ สารเพื่อพัฒนา Online และ On-site ได้

ตนเองในการนำเสนอ วีดที ัศนน์ ำเสนองาน 2. ผูเ้ รียนสามารถสื่อสารโดยการใช้เทคโนโลยี

สง่ งานโดยผา่ นสือ่ โซเชยี ลมีเดยี เชน่ E-Mail ท่เี หมาะสมและปลอดภยั

Line Facebook Google Classroom 3. ได้รบั รางวัลเข้ารว่ มการแขง่ ขัน Be Fast

นอกจากนศ้ี ูนยค์ อมพวิ เตอรย์ ังไดจ้ ดั ทำโครงการ E-searching ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

ตา่ ง ๆ เชน่ โครงการจดั ซอื้ คอมพิวเตอรส์ ำหรบั ณ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อเี ทค)

หอ้ งเรียน โครงการพฒั นานักเรียน ดา้ นการสร้าง 4. ไดร้ บั รางวัลเขา้ รว่ มการแขง่ ขัน Microsoft

ผลงานมลั ตมิ เี ดีย โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ Office 2016 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ดา้ น ICT โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ครูผู้สอนวิชา ณ วทิ ยาลยั เทคโนโลยภี าคตะวันออก (อีเทค)

คอมพิวเตอร์เน้นให้นักเรียนใช้คอมพวิ เตอร์ 5. ได้รับรางวัลเข้าร่วมการแข่งขัน Computer

ใชส้ อ่ื เทคโนโลยี โรงเรียนจัดแนวทางการให้ Graphic and Homepage 2020

นกั เรียนใช้โทรศพั ทม์ ือถือ ส่งผลใหน้ กั เรียนใช้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ณ วิทยาลยั

คอมพวิ เตอร์และสือ่ Social อย่างมีคณุ ภาพ เทคโนโลยภี าคตะวันออก (อเี ทค)

ไม่ละเมดิ พรบ. คอมพิวเตอร์

- มีผลสัมฤทธิก์ ารทางการเรียน - ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเฉล่ีย 2.50 ขึน้ ไป

ตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดบั ช้ัน ม.1-6 ปี 2563

โรงเรยี นมอบหมายให้ทุกกลุ่มสาระ

การเรยี นร้สู อนตามตัวช้ีวดั โดยเฉพาะอย่างย่งิ

รายวชิ าที่ใชท้ ดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน

(O-NET) ใหด้ ำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียน

การสอนใหเ้ ข้มข้นขึ้นในทุกรายวชิ าทท่ี ดสอบ

ในระดบั ชั้น ม.3 โดยกำหนดเวลาเรยี นไว้ใน

ตารางเรยี นทง้ั สองภาคเรยี น และจัดชั่วโมง

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

24

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพฒั นา

ติวเพม่ิ เตมิ ในช่ัวโมงชุมนุม ส่วนนักเรยี นระดับ - จากสถติ ิข้างต้น พบว่า นกั เรียนระดบั ชัน้ ม.1-6

ชั้น ม.6 มีการจดั ช่ัวโมงติว O-Net ให้กับนักเรยี น มีผลการเรียนเฉลี่ยตัง้ แตร่ ้อยละ 2.50 ขน้ึ ไป

ในชว่ งเชา้ ก่อนเขา้ เรียนในภาคเรียนที่ 2 เฉลย่ี รอ้ ยละ 81.05 สงู กวา่ ค่าเป้าหมายที่ตัง้ ไว้

นอกจากนโ้ี รงเรียนยังไดจ้ ัดทำโครงการ คือ ร้อยละ 80

ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของแต่ละกลุ่ม

สาระการเรยี นรู้ โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ - ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ

ทางการเรียน O-NET ทำให้คะแนนเฉล่ียสูงข้ึน ข้ันพนื้ ฐาน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

จากปีทีผ่ ่านมาทกุ รายวิชา

- เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

- ผเู้ รยี นมผี ลการทดสอบระดบั ชาติเพมิ่ ขึ้นจาก
ปีท่ผี ่านมาทุกรายวิชา และในปกี ารศกึ ษา 2563
ผลคะแนนเฉลีย่ สูงกวา่ ระดบั ประเทศทุกรายวชิ า
โดยเฉพาะรายวชิ าภาษาอังกฤษมผี เู้ รยี นสามารถ
ทำข้อสอบได้ 100 คะแนนเต็ม

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

25

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพฒั นา
- ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ

ข้ันพื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 6

- เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดบั ชาติ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6

- ผูเ้ รียนมีผลการทดสอบระดบั ชาติ เฉลยี่ เพิ่มขนึ้ จาก

ปที ่ีผา่ นมาทุกรายวิชา และในปีการศกึ ษา 2563

ผลคะแนนเฉลีย่ สงู กว่าระดบั ประเทศทุกรายวชิ า

- มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดี - ร้อยละของนักเรยี นชนั้ ม.3 ท่ีศกึ ษาตอ่

ตอ่ งานอาชพี ปีการศกึ ษา 2563

โรงเรยี นมอบหมายให้กลมุ่ สาระการเรียนรู้

การงานอาชพี ฯ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรฯ

ม่งุ สอนทักษะอาชีพเพ่ือใหน้ ักเรยี นท่จี บ ม.3

และ ม.6 สามารถใช้เปน็ แนวทางในการประกอบ

อาชีพได้ กิจกรรมแนะแนวแนะนำใหน้ กั เรยี น

สามารถวิเคราะหค์ วามต้องการของตลาด เลือก

สาขาวิชาเรยี นท่ีสอดคล้อง และมเี จตคติทีด่ ีต่อ

การศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

26

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพฒั นา

นอกจากนโี้ รงเรียนยังได้จัดทำโครงการ - ร้อยละของนักเรียนช้ัน ม.6 ท่ีศึกษาต่อในระดับ

ส่งเสรมิ ทักษะอาชพี ข้นึ เช่น โครงการกจิ กรรม มหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ ปีการศึกษา 2563

ชุมนุมตามความสนใจ โครงการศึกษาดงู านระบบ (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 เม.ย. 64)

การทำงานในโรงแรม ณ โรงแรมโกลเดน้ ซติ ้ี

ระยอง และกิจกรรมศึกษาดูงานเก่ยี วกับเขต

พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น - จากสถิตขิ ้างต้น พบวา่ นกั เรียนระดบั ชน้ั ม.3 และ
1) มีคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ดี ีตามท่ี ม.6 มคี วามสนใจและมีเจตคติที่ดตี อ่ การศึกษาต่อ
สถานศกึ ษากำหนด และการประกอบอาชีพ เฉลีย่ ร้อยละ 90.04
สูงกว่าคา่ เป้าหมายที่ตง้ั ไว้คือ ร้อยละ 85
โรงเรียนได้ประชุมช้แี จงครผู สู้ อนทกุ คน
ให้จัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ หเ้ ป็นไปตามหลักสูตร - จากสถติ ขิ า้ งตน้ พบวา่ นกั เรียนทุกระดับช้นั
แกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นระดบั ดขี ้ึนไป
2551 จดั ทำโครงการกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับ เฉลี่ยร้อยละ 98.59 สงู กว่าค่าเป้าหมายท่ีตัง้ ไว้
มาตรฐาน และครอบคลุมทุกตัวบ่งชี้ อีกท้งั คอื รอ้ ยละ 95
มบี ทบาทสำคัญในการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม
ครทู กุ คนร่วมกนั อบรม สอดแทรกทุกเวลา
ไม่วา่ จะเปน็ การจัดการเรยี นรู้ กจิ กรรมโฮมรูม
การอบรมหน้าเสาธง การประชุมระดับ
นอกจากน้ีโรงเรยี นยงั ได้จดั ทำโครงการพัฒนา
คุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมที่พึงประสงค์
เชน่ สอบธรรมศกึ ษาชน้ั ตรี-โท-เอก

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

27

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพฒั นา

กจิ กรรมไหวค้ รู โครงการสง่ เสรมิ พัฒนางาน

ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน กิจกรรมทำบญุ ใส่บาตร

ในวนั พระ ค่ายปรบั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

กิจกรรมจติ อาสาเพือ่ สังคม และ

สาธารณประโยชน์ โครงการสถานศกึ ษาสขี าว

ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ส่งผลให้นักเรยี น

มคี ุณลักษณะและคา่ นิยมท่นี า่ พงึ พอใจ

2) มคี วามภูมิใจในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100 มีความภูมใิ จในท้องถ่นิ
โรงเรยี นเน้นใหค้ รผู ูส้ อนบูรณาการเกยี่ วกบั และความเป็นไทย

ประเพณี การอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ิปัญญา

ไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุม่ สาระการเรยี นรู้

สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กล่มุ สาระ

การเรยี นร้ศู ิลปะ กล่มุ สาระการเรยี นรู้

การงานอาชพี กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาต่างประเทศ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

สุขศึกษาและพลศึกษา จดั กิจกรรมการเรียนรู้

ท่เี นน้ การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย

ภาษาถ่ิน

นอกจากนี้ยังไดจ้ ดั ให้มโี ครงการตักบาตร

ทกุ วันพระ ทำบุญในวนั สำคัญของทางศาสนา

กิจกรรมวันพ่อ กิจกรรมวันแม่ โดยจะเชิญชวน

ครู บุคลากรและนกั เรียน รวมถึงผ้ปู กครอง

เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการอนุรักษ์วฒั นธรรม

ประเพณี และยังสืบสานภมู ิปัญญาไทย

โดยการนำนกั เรยี นไปทัศนศกึ ษาเกี่ยวกบั

เศรษฐกจิ พอเพียง การสรา้ งฝายชะลอน้ำ

สง่ ผลใหน้ กั เรยี นมคี วามภมู ิใจและเหน็ คุณคา่

ทางภมู ปิ ัญญาไทย

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

28

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพฒั นา

3) ยอมรับทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ ง - ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 100 ยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกนั

และความหลากหลาย บนความแตกต่างและความหลากหลาย

โรงเรยี นมงุ่ เนน้ ใหค้ รผู สู้ อนบูรณาการ โดยมโี ครงการ/กิจกรรมตา่ ง ๆ ดงั น้ี

ในรายวชิ าของตนเองตามคณุ ลกั ษณะ - กจิ กรรมวันครสิ ตม์ าส

อนั พึงประสงค์ 8 ประการ สามารถอยู่ร่วมกบั - กิจกรรมวนั ตรษุ จีน

ผอู้ ื่นได้อย่างมีความสุข โดยเฉพาะอย่างย่งิ - กิจกรรมเรียนรสู้ ู่ประชาคมอาเซยี น

กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมฯ ม่งุ ให้จัดกิจกรรม - กิจกรรมสภานกั เรยี น

การเรยี นการสอนตามรายวชิ าอาเซียนศึกษา - กจิ กรรมเลือกต้งั คณะกรรมการสภานักเรยี น

หนา้ ท่ีพลเมือง ตามตัวช้ีวัดของหลกั สูตร - ค่ายพฒั นาศกั ยภาพคณะกรรมการ

วิชาสงั คมฯ โดยจดั กจิ กรรมทุกระดับชน้ั สภานกั เรยี น

เพอื่ ใหน้ กั เรียนเปน็ คนดขี องสังคม - BKW Green Challenge

4) มสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม

โรงเรียนได้มอบหมายให้กลุ่มสาระการเรยี นรู้

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษาจดั กจิ กรรมการเรยี น

การสอนส่งเสริมให้นักเรยี นร้วู ิธีสร้างเสรมิ

สขุ ภาพ และการป้องกันโรค บูรณาการทุก

รายวชิ าตามตวั ช้ีวัดตามหลกั สูตรแกนกลางฯ

นอกจากนีย้ ังจดั กจิ กรรมทดสอบ

สมรรถภาพนักเรยี น จัดกิจกรรมสง่ เสริม

ให้นกั เรียนทมี่ ีพัฒนาการด้านนำ้ หนัก สว่ นสูง

ทีไ่ ม่เปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานทาง สสส. - จากสถติ ขิ ้างตน้ พบวา่ นกั เรียนทกุ ระดับชน้ั ส่วนสูง
จัดปา้ ยนิเทศความรู้ สว่ นเร่ืองจติ สังคมน้ัน และน้ำหนกั เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่กี ำหนด
ให้ครทู ุกคนดูแลภาวะจติ ของนกั เรยี น เฉล่ียร้อยละ 85.17 สูงกวา่ ค่าเปา้ หมายท่ตี งั้ ไว้
ใหน้ กั เรียนอยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ คือ รอ้ ยละ 85
ตลอดจนครแู นะแนวส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนรจู้ กั

ตนเอง รู้จกั ผู้อ่นื รจู้ ักปรบั ตวั ครทู ป่ี รกึ ษา

จดั กจิ กรรมโฮมรมู ทส่ี ง่ เสริมทักษะชวี ิตพฒั นา

สุขภาพกายและจติ ใหส้ มบรู ณ์ สง่ ผลให้นกั เรยี น

มีความรู้ มภี มู ิคุ้มกันเก่ียวกับการสรา้ งเสรมิ

สุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

29

จุดเด่น
ผู้เรียนมีสุขนิสัย ในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายสม่ำเสมอ มีน้ำหนัก ส่วนสูง

มีสมรรถภาพทางกายและออกกำลังกายตามเกณฑ์มาตรฐาน รู้จักป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติด
มาโรงเรียนทันเวลา เข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงโดยมีคณะกรรมการสภานักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ
แต่งกายถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน ใช้คำพูดสุภาพ มีสัมมาคารวะ แสดงความเคารพพ่อแม่
ครูและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา “ยิ้มไหว้ ให้ปัน ร่วมกันบำเพ็ญ
ประโยชน์” มีความซื่อสัตย์ ความกตัญญู รู้จักการช่วยเหลือ การเสียสละ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง
และของโรงเรียนอย่างประหยัด เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีทักษะใน
การแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม การใช้เทคโนโลยี รู้จักวางแผนการทำงานอย่าง
มคี วามสขุ ม่งุ มน่ั พัฒนางาน มคี วามภมู ใิ จในผลงานของตนเอง สามารถทำงานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้

จุดควรพัฒนา
ผู้เรียนในระดับชั้น ม.1 – ม.3 ยังต้องเร่งพัฒนาด้านการนำเสนอ การอภิปราย และ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่าง
เหมาะสม ผู้เรียนในระดบั ชั้น ม.4 – ม.6 ยังต้องได้รับการส่งเสริมในด้านทัศนคติท่ีดีต่อความเป็นไทย
ไมห่ ลงใหลกบั ค่านิยมต่างชาติ จนเกดิ การลอกเลยี นแบบ ทำใหล้ ืมวฒั นธรรมอนั ดงี ามของไทย

แผนพฒั นาเพ่อื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่สี งู ขึน้
1. ดำเนนิ การต่อเนอ่ื งโครงการโรงเรียนนำร่องพืน้ ท่นี วตั กรรมการศึกษา จงั หวดั ระยอง
เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพทางการศกึ ษาในสถานศึกษา ให้บรรลเุ ป้าหมาย มผี ลงานเปน็ ท่ีประจกั ษ์
2. จดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการภายใต้ School Concept คือ Innovation For Life หรอื
นวตั กรรมเพ่ือชีวิตโดยจัดการเรียนการสอนเนน้ แบบบรู ณาการทง้ั 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

30

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเย่ียม
2.1 การมเี ป้าหมาย วิสัยทศั น์และพนั ธกิจ ทีส่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน

กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยกำหนดโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น
4 กลุม่ คอื กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ กลุ่มบรหิ ารงานทวั่ ไป กลุม่ บริหารงานบุคคล และกลุ่มบริหารงาน
งบประมาณ โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา บริบทของโรงเรียน จากการมีส่วนร่วมของ
ผู้เกย่ี วข้องทุกฝ่าย ได้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สมาคมศษิ ยเ์ ก่า ผแู้ ละฝ่ายบริหารของ
โรงเรียน โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมิน การจัดการศึกษาตาม
นโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา
เพื่อวางแผนร่วมกัน ในการกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูป
การศึกษาพร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการ
พัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม
ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานและจดั ทำรายงานผลการจดั การศึกษา

ผลการพฒั นา
บุคลากร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโรงเรียนทุกคนรับทราบถือปฏิบัติ และนำข้อมูลผลการ
ดำเนินงานมาทำการทบทวนวัตถุประสงค์เป้าหมาย จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณอย่าง
เป็นระบบ พร้อมรายงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โรงเรียน
กำกับ ติดตามการดำเนินงาน กิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ
ประกอบด้วยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของโรงเรียนดำเนินการร่วมวิเคราะห์สภาพบริบทของโรงเรียน
ด้วยเทคนิค SWOT Analysis โดยผู้บริหาร หัวหน้างาน และหัวหน้ากลุ่มสาระฯ ร่วมกันวิเคราะห์
ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกของหน่วยงานตนเองแล้วกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
กรอบกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูป
การศึกษาความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษา
ชาติ โครงการพัฒนางานแผนงาน งานจัดสรรงบประมาณในโรงเรียนทีม่ ีระบบและขั้นตอนที่ชัดเจน
ส่งผลให้การบริการด้านใช้งบประมาณมีประสิทธิภาพ ครูติดต่อประสานงานได้สะดวกขึ้น ทุกงาน
ทุกกลุ่มสาระฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมกับภารกิจ การเบิกจ่ายและการดำเนิน

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

31

โครงการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน ผลการประเมินโดย
ภาพรวมอยู่ในระดบั ยอดเยย่ี ม

2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ดีเยี่ยม ก่อให้เกิดแผนพัฒนา

คุณภาพการจัด การศกึ ษา แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีสอดคล้องกบั การพฒั นาผูเ้ รียนทุกกลุ่มเป้าหมาย
มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูล
สารสนเทศถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ มีการดำเนินการอย่างเป็น โดยมีการ
ประชุมการทำงานทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันกำหนดมาตรฐานการศึกษา ค่าเป้าหมายและผู้รับผิดชอบ
เพ่อื ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา ซง่ึ เปน็ ไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ
การใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 โดยโรงเรียนใช้มาตรฐานการประกัน
คุณภาพเป็นแนวทางหนึ่งในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน กำหนดให้ทุกปี
การศึกษาประเมินตนเอง ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา เพื่อนำข้อมูลนั้นมาปรับปรุง และพัฒนาอย่าง
ตอ่ เน่อื งตามหลัก PDCA อกี ทง้ั มกี ิจกรรมจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียน
ใฝ่เรียนรู้ อาทิ กิจกรรมศึกษาดูงานและฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการณ์ของนักเรียนแผน
ภาษาจีน ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว และภาษาญี่ปุ่น โครงการพลิกฟ้าค้นหา “ศักยภาพ” ของ
ตนเอง โครงการเปิดโลกทัศนเ์ ส้นทางสายอาชีพสู่ EEC โครงการพฒั นาบคุ ลากรทางดา้ นการสร้างสื่อ
การเรียนการสอน ICT โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม โครงการยกย่องเชิดชเู กียรตบิ ุคลากรทางการศึกษา ฯลฯ ซึ่งกิจกรรมเหล่านีส้ ง่ ผลให้
ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดและสรุปความคิดอย่างเป็นระบบจนสามารถนำไปใช้แก้ปัญหา และ
นำไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม คณะครูและบุคลากรมีความรู้ มีความสัมพันธท์ ี่ดี
ตอ่ กัน สามารถนำไปพัฒนากระบวนทศั นใ์ นการทำงานได้ ฯลฯ

ผลการพัฒนา
ภายใต้ระบบบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาข้างตน้ ส่งผลใหโ้ รงเรยี นบริหารจัดการได้อย่าง
เป็นระบบ ระบบการบริหารการเงินเป็นไปตามขั้นตอนของกระทรวงการคลังและเปิดเผยต่อชุมชน
ระบบการบรหิ ารจัดการพัสดุและสินทรัพย์ที่ชัดเจนและตรวจสอบได้ ในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษามีการประชุม วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง อุปสรรค และโอกาส แล้วนำมากำหนดวิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ แผนปฏิบัติการ
ประจำปี สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน
มีการจัดสรรงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียน ได้รับความ

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

32

เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา มีระบบบริหารจัดการคุณภาพที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ
ส่งผลให้โรงเรียน ผู้บริหาร ครู นักเรียน ได้รับรางวัลในระดับต่าง ๆ เป็นที่ยอมรับของผู้มีส่วนได้
สว่ นเสยี และหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง ระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพ ของโรงเรยี นมปี ระสิทธิภาพส่งผลให้
โรงเรยี นเป็นโรงเรียนคณุ ภาพยอดนยิ ม ผลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดบั ยอดเยย่ี ม

2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและ
ทุกกลมุ่ เป้าหมาย
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ ที่ประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ าย ได้แก่

ผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้างานต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง จัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่มีโครงสร้าง องค์ประกอบของหลักสูตรครบถ้วน
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 สอดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และ
การขยายตัวของระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้นของ
สถานศึกษา ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน และนำสู่การ
ปฏิบัติโดยครูนำไปจัดทำมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ลำดับเนื้อหาสาระตามกระบวนการเรียนรู้
บรู ณาการสภาพปญั หาและความตอ้ งการของท้องถนิ่ ในรายวิชาพืน้ ฐานและหรือรายวชิ าเพิ่มเติมอย่าง
เหมาะสม ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรมีความหลากหลายสนองตอบต่อความ
ต้องการ วิเคราะห์กำหนดรายวิชาเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่มีเนื้อหา/สาระการเรียนรู้/
กิจกรรมเหมาะสมตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา และสถานการณ์ในปัจจุบัน (สถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือโคโรนาไวรัส COVID-19) ของนักเรียนทุกระดับชั้น อย่างหลากหลาย
เพียงพอตามความต้องการ ความถนัดและความสนใจ และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตร
สถานศึกษา นำขอ้ มลู ผลการประเมนิ ไปทบทวน ปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา

ผลการพฒั นา
โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษา ที่ประกอบด้วยโครงสร้าง และองค์ประกอบของหลักสูตร
ครบถ้วนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้น
ของสถานศกึ ษา กำหนดเวลาเรยี นเหมาะสมกับระดับชัน้ เรียน และครนู ำไปจัดทำมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด ลำดับเนื้อหาสาระตามกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความต้องการของ
ท้องถิ่น ในรายวิชาพื้นฐานและหรือรายวิชาเพิ่มเติมอย่างเหมาะสม ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิง
มาตรฐาน มีหลักสูตรที่หลากหลายสนองตอบต่อความต้องการ นักเรียนได้มีส่วนร่วมทุกรายวิชา

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

33

มีโอกาสลงมือปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือใกล้เคียงสถานการณ์จริง มีการจัดรูปแบบการสอน
ประเภทออนไลน์ มีผลงาน/โครงงาน/โครงการที่แสดงให้เห็นการอธิบายวิธีคิดและสรุปความคิดของ
ผู้เรียน และมีการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา นำข้อมูลผลการประเมินไปทบทวน
ปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา มผี ลการประเมนิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับคณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม

2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองเพื่อให้มีความเชี่ยวชาญใน

สาขาวิชาที่ตนสอนหรืองานที่ตนเองรับผิดชอบ สามารถเลื่อนหรือมีวิทยฐานะที่สูงขึ้น หากมีครูขาด
อัตรากำลังโรงเรียนเรียกบรรจุหรือรับย้ายหรือประกาศรับครูอัตราจ้าง เจ้าหน้าที่ ตรงกับสาขา
ที่ขาดแคลน ขณะเดียวกันกลุ่มบริหารบุคคลยังได้จัดโครงการพัฒนาบุคลากรทั้งโรงเรียนเพื่อให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องทุกปีการศึกษา อาทิ การอบรมเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตรฐานสมรรถนะสู่การพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการ
สื่อสารสำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา “English Experience Train the Trainer”หลักสูตร
ออนไลน์ ฯลฯ มีการนิเทศติดตามการสอนของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้ครู
และบุคลากรได้พัฒนาวิชาชีพการทำวิทยฐานะในระดับต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น การประชุมเชิง
ปฏิบัติการ เรื่องการขอมี/เลื่อนวิทยฐานะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ตาม ว21/2560 ทำให้
โรงเรยี นมีครูและบุคลากรทางการศึกษาตรงตามเอกสาขาวิชาท่ีสอนทุกคนและได้รบั การพฒั นาตนเอง
เปน็ ไปตามเปา้ หมาย

ผลการพัฒนา
โรงเรียนมีแผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม ที่ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร ทั้งด้าน
ความรู้ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานประกอบด้วย การพัฒนาครูตามมาตรฐานตำแหน่งและ
มาตรฐานวทิ ยฐานะ ได้แกส่ ่งเสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากรไดพ้ ัฒนาวิชาชพี การทำวิทยฐานะในระดับต่าง ๆ
เมื่อถึงเวลาการจัดทำแผนพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา (Id Plan) มีการนิเทศ
ติดตามการสอนของทุกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูสร้างชุมชนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทุกกลุ่มสาระฯ
การสร้างชุนชนเรียนรู้ติดตามการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรด้วยกระบวนการนิเทศติดตาม
และพัฒนา (Coaching and Mentoring) นอกจากนั้นและสนับสนุนให้ครูบุคลากรเข้ารับการพัฒนา
อยา่ งน้อย 20 ชัว่ โมง มผี ลการประเมนิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

| โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

34

2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อือ้ ต่อการจัดการเรยี นร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ
กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนมีแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม พัฒนาอาคารสถานทีใ่ ห้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ

หอ้ งนำ้ โรงอาหาร หอประชมุ อาคารประกอบการ ฯลฯ ทกุ แหง่ สะอาด เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย มีความ
มงั่ คงแขง็ แรง และปลอดภัย จดั สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรยี นใหส้ วยงาม ร่มรนื่ ภายในหอ้ งเรยี นมี
สิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ได้แก่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ จัดสิ่งอำนวยความสะดวกในการ
เรียนรู้อย่างเพียงพอกับผู้เรียน และพร้อมใช้งาน จัดพัฒนาแหล่งเรียนรู้ (Learning Space) ภายใน
โรงเรียนครบทุกกลุ่มสาระ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทันสมัย
เพยี งพอ และสะดวกตอ่ การใชง้ าน

ผลการพัฒนา
โรงเรียนมีแผน / โครงการ / กิจกรรมพัฒนาอาคารสถานที่ ทำให้ห้องเรียน แหล่งเรียนรู้
ภายในโรงเรียนห้องปฏิบัติการ ห้องน้ำ โรงอาหาร หอประชุม อาคารประกอบ ฯลฯ ทุกแห่งมีความ
สะอาด เป็นระเบียบ ภายใต้งบประมาณที่ได้รับจัดสรรอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพมีความมั่นคง
แข็งแรง ปลอดภัย จัดสภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนให้สวยงาม ร่มรื่น ภายในห้องเรียน มีส่ิง
อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนครบทุกกลุ่มสาระ พัฒนา
แหล่งเรียนรู้ให้มีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพียงพอต่อการใช้งาน และผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า จาก
แหลง่ ขอ้ มูลทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดส้ ะดวกและรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ท้ังภายในและภายนอก
ห้องเรยี นมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ สนับสนนุ การจัดการเรียนรู้ โดยพัฒนาทั้งในส่วน
ของงานและส่วนของบุคลากร เช่น โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการสร้างสือ่ การเรียนการสอน ICT
และงานพัฒนาเทคโนโลยี เป็นต้น ส่งผลให้ห้องเรียนทุกห้องเป็นห้องเรียนคุณภาพ มีสื่อเทคโนโลยี
การเรียนการสอนที่ทันสมัย ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่ดีขึ้น ครูและ
บุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ความสามารถในการสร้างส่ือประเภท ICT เพ่อื ใช้ในการจดั การเรียนการ
สอนของตน มผี ลการประเมนิ โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีการจัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการโดยใช้

โปรแกรมต่าง ๆ เช่น ระบบทะเบียนวัดผล ระบบสารสนเทศ มีการจัดเก็บข้อมูลที่ สามารถเข้าถึง
สะดวก รวดเร็วและตรวจสอบได้ กลุ่มงานทั้ง 4 กลุ่มงาน คือ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหาร
งบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไป และ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีการกำหนด
ผู้รับผิดชอบจัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ครอบคลุมภารกิจ แต่งตั้งคณะกรรมการ

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

35

งานสารสนเทศจากทุกกลุ่มงานที่เก่ียวข้อง มีการประชมุ คณะกรรมการเพื่อวางแผนในการดำเนินการ
จดั เกบ็ ขอ้ มลู กำหนดเวลา แจง้ ผรู้ ับผิดชอบของแตล่ ะกลุ่มบรหิ าร กลุม่ สาระการเรียนรใู้ นการรายงาน
ข้อมูล ดำเนินการจดั การข้อมูลทส่ี ำคัญของหนว่ ยงานตนให้เปน็ ปัจจุบนั นำไปใช้ในการวางแผนการจัด
การศึกษาที่ครอบคลุมภารกิจทั้ง 4 กลุ่มงาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดทำและให้บริการข้อมู ล
สารสนเทศที่เป็นระบบแก่ผู้ต้องการใช้ทุกฝ่าย บุคลากรทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว
เป็นปัจจบุ ัน

ผลการพัฒนา
โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการโดยใชโ้ ปรแกรมต่างๆ
เช่น ระบบทะเบียนวัดผล ระบบสารสนเทศ มีการจัดเก็บข้อมูลที่ สามารถเข้าถึงสะดวก รวดเร็ว
และตรวจสอบได้ กลุ่มงานทั้ง 4 กลุ่มงาน คือ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ
กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารทัว่ ไป และ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีการกำหนดผู้รบั ผิดชอบจัดทำ
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่ครอบคลุมภารกิจ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการงานสารสนเทศจากทุกกลุ่มงาน
ที่เกี่ยวข้อง มีการประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนในการดำเนินการจัดเก็บข้อมูล กำหนดเวลา
แจ้งผู้รับผิดชอบของแต่ละกลุ่มบริหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ในการรายงานข้อมูล ดำเนินการจัดการ
ข้อมูลที่สำคัญของหน่วยงานตนให้เปน็ ปัจจุบัน เพื่อตอบสนองแก่ผู้ตอ้ งการใช้ทุกฝา่ ย บุคลากรทุกคน
สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกรวดเร็วเป็นปัจจุบัน มีผลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดับ
คุณภาพ ยอดเยี่ยม

2.7 จดั ใหม้ ีโครงการ/กจิ กรรมเพ่ือรองรับเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC)
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีการจัดทำหลักสูตรเพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC จึงได้จัดอบรม

เชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC เพื่อให้ครู
มีความเข้าใจที่มาและความสำคัญของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก อีกทั้งสามารถนำความรู้
จากการอบรมไปใช้ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อตอบสนอง
ต่อการทำงานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก อีกทั้งยังจัดให้มีโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนา
ศกั ยภาพผู้เรียนในด้านต่าง ๆ เพอ่ื รองรบั เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก เช่น โครงการเปิดโลกทัศน์
เส้นทางสายอาชีพ….สู่ EEC โครงการศึกษาดูงานของนักเรียนแผนภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยว
แผนภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว และภาษาญี่ปุ่น เพื่อให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทาง
การประกอบอาชีพงานบริการในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC มีส่วนร่วมในการเรียนรู้
ไดล้ งมอื ปฏิบัตจิ รงิ มคี วามรแู้ ละทกั ษะเก่ียวกับสายอาชีพ

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

36

ผลการพฒั นา
โรงเรียนมีหลักสูตรเพื่อรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ( Eastern Economic

Corridor : EEC ) ส่งผลให้บุคลากรได้รับการอบรมตามโครงการเพื่อการขับเคลื่อน และพัฒนา
สถานศึกษารองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ( Eastern Economic Corridor : EEC ) สามารถ
นำความรู้จากการอบรมไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อตอบสนองต่อการทำงาน
ใน เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการประกอบอาชีพงาน
บริการในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ได้ลงมือปฏิบัติจริง มีความรู้
และทักษะเกี่ยวกับสายอาชพี เพื่อที่จะพัฒนาตนเองให้สอดคลอ้ งกับความต้องการทางด้านเศรษฐกจิ
ในอนาคตได้ มผี ลการประเมินโดยภาพรวมอยใู่ นระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม

จุดเด่น

โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุม
ที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพื่อให้
ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพ
การจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา
ความต้องการพัฒนา และนโยบายที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมีการดำเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทั้งด้านความรู้
ความสามารถและทักษะ มีการส่งเสริมให้ครูส่งผลงานเพื่อให้มีวิทยฐานะที่สูงขึ้นตามเวลาที่กำหนด
มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคม
ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างหลากหลาย และมีความปลอดภัย มีระบบ/Software ที่เหมาะสม
และมีประสิทธิภาพในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญของโรงเรียน มีความถูกต้อง แม่นยำ
และเชื่อถือได้ มีหลักฐาน ร่องรอย ครูและบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบขอ้ มูลให้ถูกตอ้ ง
เช่น เวบ็ ไซต์โรงเรียน เวบ็ ไซตท์ ะเบียนวัดผล เว็บไซต์บรหิ ารจัดการบัญชผี ู้ใช้เครือข่าย ระบบประเมิน
ผลการเรียน เปน็ ตน้

จุดควรพฒั นา

1. เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ปกครองได้มสี ว่ นรว่ มในการเสนอความคดิ เหน็ ในการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนา
ผเู้ รียนทัง้ ทาง Online และ On-site

2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้
มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพ
การจดั การศกึ ษา

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

37

3. โรงเรียนควรสร้างความตระหนัก ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้ครู บุคลากรทางการศึกษา และ
ผูเ้ รียนมสี ่วนร่วมในการดูแล รักษาอาคารสถานที่ หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏิบัติการ และแหล่งเรียนรู้
อื่น ๆ ภายในโรงเรียน ให้อยู่ในสภาพที่ดี เพื่อสร้างจิตสำนึกในการรักษาสาธารณสมบัติของ
สว่ นรวม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ คณุ ภาพผเู้ รียนเป็นสำคญั
ระดบั คุณภาพ : ยอดเยีย่ ม
3.1 จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้

กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นไดด้ ำเนนิ การจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินโครงการ/
กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชมุ ปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
สู่การพัฒนาสถานศึกษารองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ( EEC ) และมาตรฐานสากล
มีการบูรณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดยทุกระดับชั้นจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจ
พอเพยี ง บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ปรับโครงสรา้ งรายวชิ า หน่วยการเรียน สนบั สนุน
ให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลัง 5 ขั้นตอน ( Co – 5 STEPs ) เน้นทักษะการคิด ส่งเสริม
ให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทั้งนี้สถานศึกษา
ไดจ้ ัดอบรมให้ความรู้แก่ครูทุกคนก่อนทจี่ ะนำไปปฏิบัติจรงิ ครใู นแต่ละระดับชั้นจะมีการจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการข้ามกลุ่มสาระฯ เพื่อลดภาระงานของผู้เรียน แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
มีการจัดแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน เพื่อสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ ครูใช้
สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรม และเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและ
ประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง
โดยไดร้ ับการตรวจให้คำแนะนำจากคณะกรรมการวิจยั ของโรงเรยี นและผทู้ รงคุณวฒุ ิด้านงานวิจัย

ผลการพฒั นา
ผลจากการพัฒนาครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดการเรียนรู้
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา
มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ โดยใช้วิธีการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำหนด มีผลการพัฒนาโดย
ภาพรวมอย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

38

3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสง่ เสรมิ ใหค้ รูใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ รวมท้ังภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น

โดยการนำสื่อมาประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจาก
สื่อที่หลากหลาย เช่น สื่อออนไลน์ สื่อที่ครูจัดทำ และการเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน อาทิ ศูนย์การเรียนรู้ภาษาไทย ห้องสมุดโรงเรียน ศูนย์การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระฯ
ศูนย์สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน การศึกษาดูงานนอกสถานที่สาขาช่างเชื่อมโลหะ ฯลฯ ส่งผลผู้เรียน
เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพนอกจากนี้สามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ในรูปแบบต่าง ๆ มาช่วย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ มีโครงการ
ส่งเสริมให้ครูผู้สอนสร้างสื่อการจัดการเรียนรู้ ครูสร้างสื่อ เลือกเทคโนโลยีสารสนเทศ Google
Classroom และ ช่องทาง Youtube เพื่อการศึกษา ข้อสอบ Online ไว้ใน Google Drive และ
Google site เพื่อให้ผู้เรียนสามารถหาความรู้ ได้ด้วยตนเอง เป็นการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้โดย
ใช้เทคโนโลยีเป็นสอื่ ครจู ัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้สื่อและเทคโนโลยสี ารสนเทศท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้
โดยประเมินจากรอ้ ยละของครูทจี่ ัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใหผ้ ้เู รยี นใชส้ ื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศและ
แหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้

ผลการพัฒนา
ผลจากการพัฒนาครูจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้
ท่ีเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ โดยพิจารณาจากรอ้ ยละของครูทจี่ ดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ใหผ้ ู้เรยี นใช้สอ่ื เทคโนโลยี
สารสนเทศที่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ มีผลการพฒั นาโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม

3.3 มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนเน้นให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อส่งเสริมให้นักเรียน

มคี วามมน่ั ใจ กล้าคิด กลา้ แสดงออก เกดิ แรงจูงใจในการเรียน ทำใหม้ ีความสุขในการเรยี น ส่งเสริมให้
ครูชมเชย ยกย่องนักเรียนเมื่อนักเรียนทำความดีทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน นอกจากนี้
ยังมีกิจกรรมอื่น ๆ ที่ส่งเสริมให้นักเรียนมาโรงเรียนอย่างมีความสุข เช่น กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรม
นอ้ งไหวพ้ ี่ พี่ไหว้นอ้ ง การมอบเกียรติบัตรนักเรียนท่ีทำความดีหรือได้รบั รางวลั ต่าง ๆ เป็นต้น สำหรับ
ในแต่ละห้องที่มีสื่ออุปกรณ์เพื่อสำหรับการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยพร้อมใช้งาน กระตุ้นให้นักเรียน
เกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้นักเรียนมาโรงเรียนอย่างมีความสุข รักและผูกพันระหว่างเพื่อน
ครแู ละโรงเรยี น

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

39

ผลการพัฒนา
ผลการพัฒนาครูผู้สอนมีการจัดการเรียนการสอนโดยมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ทำให้ผู้เรียนมีความสุข มีความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ และ
การลงมือปฏิบตั ิ มผี ลการพัฒนาโดยภาพรวมอยใู่ นระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนกำหนดให้ครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Co-5 STEPs มีกระบวนการ

ตรวจแผนการจดั การเรียนรูน้ ิเทศการสอนของครูทุกคนในโรงเรียน ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ตาม
ธรรมชาติของวิชา เพื่อพัฒนาความรู้ทักษะและความสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนด้วยกิจกรรม
การเรียนรู้ที่หลากหลาย ใช้สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
มกี ระบวนการประเมินผลการเรียนตามสภาพจรงิ เชน่ การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรภู้ ายในชั้นเรียน
การตรวจใบงาน แบบฝึกหัด ผลงานต่าง ๆ การทดสอบความรู้ด้วยแบบทดสอบ มีการกำหนด
ผเู้ ชย่ี วชาญในกล่มุ สาระการเรียนร้ตู า่ ง ๆ เพ่อื ตรวจสอบการออกข้อสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และมีรูปแบบที่เหมาะสมเพือ่ ให้ผลการทดสอบสะท้อนความรู้
ความสามารถทางด้านการคิด วิเคราะห์ และการแก้ปัญหาของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง สะท้อนผล
การทดสอบไปยังผู้เรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ความสามารถให้เป็นตามมาตรฐานที่แต่ละ
รายวิชากำหนด ครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ให้มปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขึ้น

ผลการพัฒนา
ผลการพัฒนาครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้อย่างน้อย 1 รายวิชา มีการวิเคราะห์
หลักสตู รมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดของหลกั สูตรสถานศึกษา ทำให้เกิดการพฒั นาการสอนของครูให้
มีคุณภาพ มีการนิเทศการสอนเพื่อพัฒนา ปรับปรุงการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินผล
ผู้เรียนให้เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้ โดยครูทุกคนได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการ
จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาความรู้และทักษะการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ของครูทุกคน ครูจัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ เช่น กิจกรรมการ
เรียนรู้สู่โครงงาน (IS) ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนเป็นระยะ ๆ มีการตรวจสอบความถูกต้อง
แจ้งผเู้ รยี น และตรวจผลงานซ้ำจนเป็นผลงานทีม่ คี ณุ ภาพ ผูเ้ รียนไดล้ งมอื สบื ค้นข้อมลู ทำงานเป็นกลุ่ม
และเกิดชิ้นงานหรือนวัตกรรม มีเวทีให้ผู้เรียนได้แสดงผลงานและนำเสนอผลงานของตนเองในระดับ
โรงเรียน และผลงานบางส่วนได้เข้าร่วมการแข่งขันภายนอกโรงเรียน ครูทุกคนมีการประเมินผู้เรียน
ด้วยเครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

40

ของแต่ละรายวิชา โดยเครื่องมือในการวัดและประเมินผลมีการตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้
ประเมินคุณภาพผู้เรียน เช่น ข้อสอบ โดยข้อสอบทุกฉบับถูกตรวจสอบด้วยผู้เชี่ยวชาญในแต่ละกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ สามารถนำไปใช้ทดสอบความรู้ความสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน ผู้เรียนได้รับ
ข้อมูลย้อนกลับทั้งผลการเรียน การทำงาน และผลงานต่าง ๆ จากครูผู้สอน ผู้เรียนสามารถพัฒนา
ปรบั ปรงุ ผลการเรยี นและผลการประเมินผลงานต่าง ๆ ใหไ้ ด้ระดับคุณภาพที่ครูกำหนด
มผี ลการพัฒนาโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม

3.5 มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้
กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันโดยผ่านโครงการหรือกิจกรรม

ต่าง ๆ อาทิ งานนิเทศการสอน กิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยมีการทำ PLC
เพื่อนำข้อมูลที่ได้รับมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนางาน พัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็น
ระบบ และเป็นรูปธรรม ดังนี้ 1. จัดประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางในการทำ PLC อย่างเป็นระบบ
ตามระบบการเรียนรู้ของโรงเรียน 2. ติดตามตรวจสอบการทำ PLC อย่างสม่ำเสมอ และนำเสนอ
ตามลำดับขัน้ จนกว่าจะสามารถนำไปใช้ไดจ้ ริง โรงเรยี นมีการสนับสนนุ ครใู นการนำเสนอผลงานดีเด่น
(Best practice) OBEC AWARD ด้านต่าง ๆ ทุกปี และมีการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนของครทู กุ คนโดยผู้เรียนในแตล่ ะรายวิชา

ผลการพัฒนา
ผลการพัฒนาครูทุกคนได้รับการนิเทศการสอนจากครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ของตน ส่งผล
ให้เกิดการพัฒนาความรู้ ทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (PLC) โดยร่วมประชุมหารือเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอนร่วมกัน เกิดการ
แลกเปลี่ยนปัญหาที่เกิดขึ้นในการจดั การเรียนการสอนของตนเอง ร่วมกันออกแบบการจัดการเรียนรู้
เพื่อแก้ปัญหาหรือสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อนำไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาน้ัน
ต่อไป นอกจากที่ครูจะได้รับประสบการณ์ใหม่ ได้รับความรู้ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ในการสอนของ
ตนแล้ว ครูยังเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม ได้รับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่ืนและร่วมแสดงความคดิ เห็นของ
ตนเอง เกิดความสามัคคีในองค์กรและเป็นการพัฒนาองค์กรที่ทุกคนมีส่วนร่วมอีกด้วย นำเสนอ
ผลงานดเี ดน่ (Best practice) เป็นเวทที ีใ่ ห้ครแู ต่ละคนไดแ้ สดงผลงานของตนเองและของผู้เรียนท่ีเกิด
จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เกิดความร่วมมือในการทำงาน และเกิดความคิดที่จะพัฒนา
ผลงานของตนเองและผู้เรียนต่อไป นอกจากนั้นยังเป็นการเปิดโอกาสให้โรงเรียนได้เผยแพร่ผลงาน
ของครูและของโรงเรียนไปยังภายนอก สรา้ งชอ่ื เสียงกบั โรงเรยี นได้อีกด้วย ครูทุกคนได้รบั การประเมิน
คุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยผู้เรียน เพื่อให้ครูนำข้อมูลไปพัฒนาการจัดกิจกรรม

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง

41

การเรียนการสอนของตนเองในปีการศึกษาต่อไป มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยีย่ ม

3.6 มีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นและสามารถนำไป
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั
กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อให้

สอดคล้องกับการที่โรงเรียนเข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก พระราชดำริฯ
ได้ดำเนินงานสนองพระราชดำริ จัดตั้งงาน "สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน" เพื่อเป็นสื่อในการสร้าง
จิตสำนึกด้านอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยให้นักเรียนได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ เห็นคุณค่า ประโยชน์
ความ สวยงาม อันจะก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป โดยครูผู้สอนจะดำเนินการสอน
สัปดาห์ละ 1 คาบ และต้องจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนอย่าง
น้อยวิชาละ 1 แผน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรัก หวงแหนและเกิดจิตอนุรักษ์และเห็นคุณค่าของ
สง่ิ แวดล้อม

ผลการพฒั นา
โรงเรียนมกี ารจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ครรู ้อยละ 100
มีแผนการสอนบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์ และโรงเรียนมีแหล่งรวบรวมตัวอย่างพรรณไม้ ข้อมูล
พรรณไม้และการเก็บรักษาเพือ่ ประโยชนข์ องการศึกษา และเผยแพร่สู่ภายนอก ส่งผลให้นักเรียนเกดิ
ความรกั หวงแหนและเหน็ คุณค่าของของพชื พรรณไม้ ตามแนวพระราชดำริ ฯ รวมทั้งมจี ิตอนุรักษ์และ
เหน็ คุณค่าของสิ่งแวดลอ้ ม มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

จดุ เด่น
1. ครมู ีความตัง้ ใจ มุง่ มัน่ ในการพฒั นาการสอนโดยจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นแสวงหาความรู้จากส่ือ
เทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีแหล่งเรียนรู้
ท่ีหลากหลาย นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้
2. ผลงานวิจัยของครูทุกคนได้รับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการวิจัยพร้อมทั้งให้
คำแนะนำทค่ี รสู ามารถพฒั นาต่อยอดได้เปน็ อย่างดี
3. โรงเรียนดำเนินการโดยใช้ระบบการนิเทศ ผ่านครูพี่เลี้ยงอาวุโส จึงทำให้ครูผู้สอนพบปัญหา
และสามารถนำปัญหาต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้และการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกมา
พฒั นาตนเอง เพื่อการพฒั นาผ้เู รียนได้อยา่ งแท้จริง

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกุลวทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

42

4. ครูเห็นความสำคญั และเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC) ส่งผลให้เกิด
ความร่วมมือระหว่างครูผู้สอนในรายวิชาเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัด
กิจกรรมการสอน ส่งผลให้เกิดการพัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะการจัดกิจกรรม และ
พฒั นานวตั กรรมเพ่อื ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องผู้เรียน

5. โรงเรียนส่งเสริมให้ครูศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถของครู
แลว้ นำมาพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นตอ่ ในอนาคต

จดุ ควรพัฒนา
1. สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ให้ครพู ฒั นากระบวนการเรยี นรู้และการจดั กจิ กรรมการเรยี นการ
สอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ใหม้ ีความหลากหลายเพ่มิ มากขึน้ และส่งเสริมการสอนแบบ
โครงงานให้ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครอบคลมุ ทุกช้นั เรยี น
2. สถานศกึ ษาวางแผนส่งเสริมให้ครมู ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีคุณวุฒิความรคู้ วามสามารถตรง
กบั งานทรี่ ับผิดชอบมุง่ มัน่ พัฒนาตนเอง ส่งเสริมครเู ขา้ รับการอบรมประชมุ สัมมนาผลงาน
ทางวิชาการใหเ้ ปน็ ทีป่ ระจักษ์ ศึกษาดูงานในวิชาท่สี อนเพ่ือเพ่ิมพนู ความรแู้ ละมเี ทคนคิ
วธิ กี ารใหม่ ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
3. การบริหารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก อาจจำเปน็ ต้องมีการใช้เทคนิคที่แปลกใหม่ เพื่อให้
ผ้เู รียนเข้าถึง มีความอยากรู้อยากเรียนและมคี วามสขุ ในการเรยี นรู้มากยง่ิ ข้นึ เช่น
การใชส้ มาร์ทโฟน หรือ เทคโนโลยใี หม่ ๆ เข้ามาชว่ ยในการจัดการเรยี นรู้ เป็นตน้
4. ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการคิดคำนวณให้มากขน้ึ เพื่อยกระดบั ผลการเรยี นดา้ นนี้

แผนพฒั นาเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐานทีส่ งู ขึน้
1. จดั ทำโครงการพัฒนาครวู ดั ประเมินผลตามสภาพจรงิ ทย่ี ่งั ยืน
2. จัดทำโครงการพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี นใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด
3. การพฒั นาครูสู่การบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก

| โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

43

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สรุปได้ ดงั น้ี คา่ ระดบั
เป้าหมาย คุณภาพ/
มาตรฐานท่ี 1 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ 5 ยอดเย่ียม ปี 2563 รอ้ ยละ
มาตรฐานที่ 2 อยู่ในระดับคณุ ภาพ 5 ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดบั คุณภาพ 5 ยอดเย่ียม ดี
ยอดเยี่ยม
ท่ี ประเด็นพิจารณา ดี
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ดี
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียน ยอดเยย่ี ม
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สาร และ ดี ยอดเยย่ี ม
ยอดเยยี่ ม ยอดเยย่ี ม
การคิดคำนวณ ยอดเยีย่ ม
2) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมี ดี
ดี ยอดเยย่ี ม
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเห็น และ ยอดเย่ียม
แก้ปัญหา ดเี ลิศ ยอดเยยี่ ม
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม
4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ยอดเยยี่ ม ยอดเยี่ยม
ส่ือสาร ยอดเยี่ยม
5) มผี ลสัมฤทธ์กิ ารทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ดี ยอดเย่ยี ม
6) มคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชพี ดเี ลิศ
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รียน ดีเลศิ
1) มคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด ดเี ลิศ
2) มคี วามภูมใิ จในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย
3) ยอมรับที่จะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและ
ความหลากหลาย
4) มีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
2.1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด
ชดั เจน
2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกลุ วิทยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

44

ที่ ประเดน็ พจิ ารณา ค่า ระดับ
เป้าหมาย คณุ ภาพ/
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพของผเู้ รียนรอบ ปี 2563 ร้อยละ
ด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกล่มุ เป้าหมาย ยอดเยย่ี ม
ดีเลศิ
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใชม้ คี วามเชีย่ วชาญ ยอดเยี่ยม
ทางวิชาชีพ ดีเลศิ
ยอดเยย่ี ม
2.5 จัดสภาพ แวดล้อม ทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการ ดเี ลศิ
จดั การเรียนร้อู ย่างมคี ุณภาพ ยอดเยี่ยม
ดเี ลิศ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหาร ยอดเยย่ี ม
จดั การและการจดั การเรียนรู้ ดี
ยอดเย่ียม
2.7 จดั ให้มีโครงการ/กจิ กรรมเพื่อรองรบั เขตพัฒนาพเิ ศษ ดีเลศิ
ภาคตะวนั ออก EEC ยอดเยย่ี ม
ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นคุณภาพ ยอดเยย่ี ม
ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ดี ยอดเยย่ี ม
ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม
3.1 จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และ ดเี ลศิ
สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ่เี อ้อื ต่อ ยอดเยีย่ ม
การเรยี นรู้ ยอดเยีย่ ม

3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผล

มาพฒั นาผเู้ รียน
3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพื่อ

พัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้
3.6 มีการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบบรู ณาการงานสวน

พฤกษศาสตรโ์ รงเรียนและสามารถนำไปประยุกต์
ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

| โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จงั หวดั ระยอง

45

สว่ นท่ี 3
สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความตอ้ งการชว่ ยเหลอื

ในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ได้พัฒนาคุณภาพการศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษาที่โรงเรียนกำหนด 3 มาตรฐาน โดยการดำเนินงานตามโครงการ กิจกรรม
ที่กำหนดในแผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งมีผลสำเร็จตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น รวมทั้งโรงเรียนมี
การสนับสนุน การดำเนินงานประจำทั้งด้านการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพของผ้เู รียนทั้งในเวลาและนอกเวลาเรียนด้วยรูปแบบต่าง ๆ
และมีการจัดระบบการบริหารจัดการที่ส่งเสริมสนับสนุนคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
ของโรงเรยี น

จากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้โรงเรียนมีผลการประเมินคุณภาพภายในมาตรฐาน
ที่ 1, 2 และ 3 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิตามที่ต้นสังกัดประกาศแต่งตั้งร่วมประเมิน
ด้วย ดังมรี ายละเอียดของผลการประเมนิ ตนเอง ดังนี้

จดุ เด่น จุดควรพัฒนา

1. คณุ ภาพของผเู้ รยี น 1. คณุ ภาพของผู้เรยี น
1.1 ผู้เรียนมีสขุ นิสัย ในการดแู ลสุขภาพ 1.1 ผเู้ รยี นในระดบั ชนั้ ม.1 – ม.3 ยังต้อง

และออกกำลังกายสมำ่ เสมอ มนี ้ำหนัก สว่ นสงู เรง่ พฒั นาดา้ นการนำเสนอ การอภปิ ราย และ
มีสมรรถภาพทางกายและออกกำลงั กาย แลกเปล่ยี นเรียนรอู้ ย่างสมเหตุสมผล และตอ้ ง
ตามเกณฑ์มาตรฐาน แตง่ กายถกู ต้อง พฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หาตามสถานการณ์ได้
ตามระเบียบของโรงเรียน ใช้คำพูดสภุ าพ อยา่ งเหมาะสม
มีสัมมาคารวะ แสดงความเคารพพ่อแม่ ครู
และผู้อน่ื ไดอ้ ย่างเหมาะสม ตามอตั ลักษณ์ของ 1.2 ผเู้ รยี นในระดบั ชัน้ ม.4 – ม.6 ยังตอ้ ง
สถานศกึ ษา ได้รบั การสง่ เสรมิ ในดา้ นทัศนคตทิ ่ีดีต่อความ
“ย้ิมไหว้ ใหป้ ัน ร่วมกันบำเพ็ญประโยชน”์ เปน็ ไทย ไมห่ ลงใหลกับคา่ นิยมต่างชาติ จนเกดิ
การลอกเลยี นแบบ ทำให้ลมื วัฒนธรรมอนั ดีงาม
1.2 ผเู้ รียนมีความซ่ือสัตย์ ความกตัญญู ของไทย
รู้จักการชว่ ยเหลอื การเสยี สละ ใช้ทรพั ยส์ ิน
ของตนเองและของโรงเรียนอยา่ งประหยดั
เห็นคุณคา่ ในตนเอง มีความม่ันใจ
กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม มีมนุษยสมั พันธ์
ทด่ี ีและใหเ้ กยี รตผิ ้อู ่นื มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษ์
และพฒั นาส่ิงแวดล้อม

| โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา อำเภอบา้ นฉาง จังหวดั ระยอง


Click to View FlipBook Version