The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR (Self-Assessment Report) รายงานประจำปีของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ประจำปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruoley.eng, 2022-05-10 22:54:26

SAR ประจำปี 2562

SAR (Self-Assessment Report) รายงานประจำปีของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง ประจำปี 2562



คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบา้ นฉางกาญ
จนกุลวิทยา ฉบับนี้ จัดทำข้ึนตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3
ระบุใหส้ ถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แกห่ น่วยงานต้นสังกัดหรือหนว่ ยงานที่กำกับ
ดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผล
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเรจ็ จากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหาร
และการจัดการ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญเพ่ือนำเสนรายงานผลการจัด
การศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อ
สาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรอง
มาตรฐานการศกึ ษาและประเมนิ คุณภาพการศึกษา(องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปี
การศึกษา 2562 ฉบบั น้ี คณะผู้จดั ทำหวังเปน็ อย่างยงิ่ ว่าเอกสารรายงานฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อ
การนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ในปีการศึกษา
2563 ต่อไป

(นางกฤตติกา เบญจมาลา)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา



ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจำปกี ารศึกษา 2562 สถานศกึ ษามีภาระหนา้ ทจ่ี ะต้อง
ดำเนนิ การตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ท่กี ำหนดไวช้ ดั เจนในมาตรา 48 ให้
สถานศกึ ษามีการจดั ทำรายงานพฒั นาคณุ ภาพเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกดั เปน็ ประจำทุกปี

ดังนนั้ โรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกลุ วิทยา จงึ ไดด้ ำเนนิ การประชุมหารือคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาและคณะครตู ลอดจนไดแ้ นวปฏิบตั ิ พรอ้ มทั้งได้ดำเนินการรวบรวมข้อมลู ผลงานซงึ่ ทาง
โรงเรียนได้ดำเนนิ กิจกรรม ตามสาระการเรียนรู้ ตลอดจนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนทกุ
ชนั้ ในรอบปกี ารศกึ ษา การจดั ทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2562
คณะกรรมการสถานศึกษา ได้ใหค้ วามเห็นชอบและผา่ นความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
เปน็ ที่เรียบรอ้ ยแลว้

(นายสุชนิ พูลหริ ญั )
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา



สารบัญ

สว่ นท่ี หน้า

• คำนำ ก

• ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ข

• สารบญั ค

1 ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา

• ขอ้ มลู ทวั่ ไป 1

• ขอ้ มลู ครูและบุคลากร 2

• ข้อมูลนักเรยี น 4

• สรปุ ขอ้ มูลผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดบั สถานศกึ ษา 5

• ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติของผูเ้ รียน 11

• สรุปการใช้แหลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา 13

• สภาพชุมชนโดยรวม 14

• สรปุ ผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ 16
2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

• มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 20

• มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 29

• มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ 36

• ผลการประเมนิ ภาพรวม 43
3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลือ

• จุดเดน่ /จดุ ควรพัฒนา 45

• แนวทางการพฒั นาในอนาคต 48

• ความตอ้ งการการช่วยเหลือ 49

4 ภาคผนวก 51



4 ภาคผนวก
- ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เพอ่ื การประกนั
คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
- ประกาศกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาข้ัน
พืน้ ฐานเพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
- คำสง่ั แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งาน ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ประจำปี 2562
- คำสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งานการประเมินคณุ ภาพภายนอก รอบที่ 4 ปี การศึกษา
2562 ตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่

ส่วนที่ 1
ขอ้ มลู พ้ืนฐาน

ความเป็นมา
“โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วิทยา” เปน็ โรงเรยี นมัธยมศกึ ษาประจำอำเภอบ้านฉาง ปัจจุบัน

สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 18 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่จำนวน 42 ไร่ 3 งาน 7.5 ตารางวา โดยได้รับบริจาคจาก
คุณสุธรรมและคุณนวลศรี กาญจนกุล เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2518 กรมสามัญศึกษาได้อนุมัติให้
เปิดโรงเรียนโดยให้เปิดมัธยมศึกษาตอนต้น ประเภทสหศึกษา จำนวน 1 ห้องเรียน ขณะนั้น
สถานทก่ี ่อสร้างโรงเรียนยงั ไม่เสร็จ จึงได้ขออาศยั สถานที่โรงเรียนวัดบ้านฉาง จำนวน 1 ห้องเรียน
เพื่อเป็นสถานที่เรียนไปก่อนขณะเดียวกัน หน่วยช่วยเหลือประชาชนจากสนามบินอู่ตะเภา ได้ให้
ความร่วมมือกับคณะกรรมการ ริเริ่มตั้งโรงเรียน สร้างอาคารขึ้น 1 หลัง และย้ายมาทำการสอน
ณ สถานท่ปี จั จบุ นั เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2519 จากนน้ั กรมสามัญศึกษา ไดจ้ ดั สรรงบประมาณ
เพอ่ื สร้างอาคารเรียนให้กับโรงเรียนเพิ่มขึน้ เรื่อยมา

1.1 ข้อมูลท่ัวไป

ช่อื โรงเรยี น โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา
ที่อยู่ 185 หมู่ 3 ตำบลบ้านฉาง อำเภอบา้ นฉาง
จังหวัดระยอง รหัสไปรษณยี ์ 21130
โทรศัพท์ 0-3860-2333
โทรสาร 0-3888-2761
E – mail [email protected]
Website http://www.bkwschool.ac.th
สงั กัด สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 18
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
ระดบั ที่เปดิ สอน กระทรวงศึกษาธิการ
เน้อื ที่ ระดับชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 - มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
เขตพนื้ ที่บริการ 42 ไร่ 3 งาน 7.5 ตารางวา
ประกอบด้วย 3 ตำบลได้แก่ ตำบลบา้ นฉาง ตำบลพลา
ตำบลสำนกั ทอ้ น

1

1.2 ข้อมูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

1) ข้อมูลผบู้ รหิ าร
ผู้อำนวยการโรงเรยี น
นางกฤตติกา เบญจมาลา
วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา
ดำรงตำแหน่งตง้ั แตว่ นั ท่ี 30 ต.ค.62 จนถงึ ปัจจุบัน

2) ข้อมลู ครูและ บคุ ลากร (ณ วนั ท่ี 18 มีนาคม 2563)

ข้าราชการครู บคุ ลากรอน่ื

กลุ่ม/กลุ่มสาระ ชาย หญิง รวม ตำแหนง่ ชาย หญงิ รวม
7 12
ผบู้ รหิ าร 011 ครอู ตั ราจ้าง 5 0 1
9 12
ภาษาไทย 1 10 11 ลกู จ้างประจำ 1 9 9
2 2
คณิตศาสตร์ 4 13 17 ลกู จ้างช่ัวคราว 3 0 2

วิทยาศาสตร์ 4 14 18 เจ้าหนา้ ทีส่ ำนักงาน 0 27 38

สงั คมศึกษา 6 10 16 ครูผู้ทรงคณุ ค่า 0

สุขศึกษาและพลศึกษา 4 2 6 ยาม 2

ศิลปะ 3 4 7

การงานอาชพี ฯ 6 10 16

ภาษาตา่ งประเทศ 1 13 14

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 0 5 5

รวม 29 82 111 รวม 11

สรปุ จำนวนข้าราชการครแู ละบคุ ลากรท้งั สน้ิ จำนวน 149 คน

3) วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุดของบุคลากร

วุฒิการศึกษา จำนวน ร้อยละ

ปรญิ ญาโท 32 11.41

ปริญญาตรี 100 67.11
ต่ำกวา่ ปริญญาตรี 17 21.48

รวม 149 100

2

4) วิทยฐานะของบคุ ลากร ครผู ู้ช่วย ครู คศ.1 ครู คศ.2 ครู คศ.3 รวม
35 35 20 21 111
วทิ ยฐานะของบุคลากร 31.53 31.53 18.19 18.75 100
จำนวน
ร้อยละ

17.12% 19.82% ครผู ้ชู ว่ ย
17.12% ครู คศ.1
ครู คศ.2
45.95% ครู คศ.3

4) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวชิ า จำนวน(คน) ภาระงานสอนเฉล่ียของ
ครู 1 คนในแต่ละ
1. บรหิ ารการศกึ ษา 1
2. คณิตศาสตร์ 17 สาขาวชิ า (ชม./สัปดาห)์
3. วิทยาศาสตร์ 19 -
4. ภาษาไทย 11
5. ภาษาต่างประเทศ 23 14.12
6. สังคมศึกษา 20 13.95
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 18 17.09
8. กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 4 16.30
9. พละศึกษา 7 13.50
10. ศลิ ปะ 8 13.83
128 13.50
รวม 13.57
15.13
14.51

3

1.3. ข้อมูลนักเรียน

จำนวนนกั เรียน ปกี ารศึกษา 2562 รวม 2,224 คน (ข้อมูล ณ วันท่ี 10 ม.ิ ย.62)

ระดับชั้นเรียน จำนวน จำนวนนักเรยี น รวม เฉลยี่
หอ้ งเรยี น ชาย หญงิ ตอ่ ห้อง

ม.1 13 232 308 540 42

ม.2 12 234 237 471 39

ม.3 10 242 238 480 48

รวม 35 708 783 1,491 43

ม.4 7 90 186 276 39

ม.5 7 97 143 240 34

ม.6 7 81 136 217 31

รวม 21 268 465 733 35

รวมท้ังหมด 56 976 1,248 2,224 40

เปรยี บเทยี บจำนวนนกั เรยี นระดบั ชั้น ม.1-ม.6 ปีกำรศกึ ษำ 2560-2562

600 506
500 463
400
300 540
200 484
100 483
471
0 477
447
ม.1 480
262
249
276
275
222
240
232
261
217

ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

4

ภาษาไทย1.4. ข้อมลู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศกึ ษา (ข้อมูล ณ 31 มนี าคม 2563)
ค ิณตศาสตร์1) รอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ ีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นแตล่ ะรายวิชาในระดับ 3 ข้นึ ไป
วิทยาศาสตร์
สังคม ึศกษาฯระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 ปีการศกึ ษา 2562
ประ ัวติศาสตร์รายวชิ า(พน้ื ฐาน)
ภาษา ัองกฤษ
สุขศึกษาฯระดับชนั้
ศิลปะ
การงานอาชีพฯม.1 288 224 267 292 246 178 494 447 338
ม.2 275 188 232 321 255 211 438 292 268
ม.3 222 126 202 266 335 131 443 411 330
ม.4 167 76 128 193 217 73 253 207 228
ม.5 104 92 121 184 196 79 146 190 199
ม.6 153 80 120 162 175 46 97 194 213
รวม 1209 786 1070 1418 1424 718 1871 1741 1576
รอ้ ยละ 55.61 36.15 49.22 65.22 65.50 33.03 86.06 80.06 72.49

5

2) รอ้ ยละของนกั เรยี นที่มผี ลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ในระดบั ดีข้ึนไป
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ถึงระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2562

ระดบั ชน้ั จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ดี ร้อยละ
นกั เรยี น ผ่าน ดี ข้นึ ไป
ไม่ผา่ น ดเี ย่ียม 96.23
99.15
ม.1 531 - 20 88 423 511 95.04
98.85
ม.2 468 - 4 154 310 464 99.57
100
ม.3 464 - 23 145 296 441 97.65

ม.4 262 - 3 68 191 259

ม.5 233 - 4 73 159 232

ม.6 216 - 0 102 114 216

รวม 2174 - 52 624 1493 2123

100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
พอใช้ 3.77 0.85 4.96 1.15 0.43 0.00
ดี 16.57 32.91 31.25 25.95 31.33 47.22
ดเี ยย่ี ม 79.66 66.24 63.79 72.90 68.24 52.78

ดีเยี่ยม ดี พอใช้

6

3) รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในระดบั ดีข้ึนไป
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562

ระดบั ช้นั จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ดี รอ้ ยละ
นกั เรียน ผา่ น ดี ขน้ึ ไป
ไม่ผา่ น ดเี ย่ยี ม 98.68
94.87
ม.1 531 - 7 45 479 524 96.77
100.00
ม.2 468 - 24 60 384 444 99.57
100.00
ม.3 464 - 15 89 360 449 97.84

ม.4 262 - - 48 214 262

ม.5 233 - 1 46 186 232

ม.6 216 - - 91 125 216

รวม 2174 - 47 379 1728 2127

ดเี ย่ยี ม ดี ผำ่ น

ม.6

ม.5

ม.4

ม.3

ม.2

ม.1

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
ดเี ย่ียม 90.21 82.05 77.59 81.68 79.83 57.87
ดี 8.47 12.82 19.18 18.32 19.74 42.13
ผ่ำน 1.32 5.13 3.23 0.00 0.43 0.00

7

4) ร้อยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551ปกี ารศกึ ษา 2562 ของผูเ้ รยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ในระดบั ผา่ นขน้ึ ไป

สมรรถนะสำคัญ ไม่ผ่าน ผลการประเมนิ ดเี ย่ียม ระดบั ผา่ น ร้อยละ
ผ่าน ดี ขนึ้ ไป

1. ความสามารถในการสอื่ สาร - 173 130 161 464 100
2. ความสามารถในการคิด - 195 186 83 464 100
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - 126 210 128 464 100
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต - 84 136 244 464 100
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - 60 68 336 464 100
- 638 730 952
รวม

8

5) รอ้ ยละของนกั เรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551ปีการศึกษา 2562 ของผ้เู รียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในระดับผา่ นขึ้นไป

สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน ร้อยละ
ผา่ น ดี ขน้ึ ไป
1. ความสามารถในการส่อื สาร ไมผ่ า่ น ดีเย่ียม
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - 27 94 95 216 100
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - 95 82 39 216 100

รวม - 37 120 59 216 100

- 17 56 143 216 100

- 1 30 185 216 100

- 177 382 521 100

9

การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวชิ า 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้

การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรียนภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561-2562

การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561-2562

10

1.5. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562

รายวิชา คะแนนเฉลีย่
ระดบั โรงเรียน ระดบั จงั หวัด ระดบั สพฐ. ระดับประเทศ

ภาษาไทย 56.73 57.08 55.91 55.14

คณติ ศาสตร์ 26.17 28.30 26.98 26.73

วิทยาศาสตร์ 29.09 30.69 30.22 32.98

ภาษาอังกฤษ 34.85 35.47 32.98 33.25

ภาษาอังกฤษ 33.25 ประเทศ
วทิ ยาศาสตร์ 32.98 สงั กดั
คณติ ศาสตร์ จงั หวดั
35.47 โรงเรียน
ภาษาไทย 34.85
30.07 55.14
30.22 55.91
30.69 57.08
29.09 56.05
26.73
26.98
28.30
26.17

0 10 20 30 40 50 60

หมายเหตุ คะแนนทุกรายวิชาของนักเรียนต่ำกวา่ ระดับจังหวัด สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสพฐ.ในวิชา
ภาษาไทย และสงู กว่าระดบั ประเทศในวิชาภาษาไทย และภาษาองั กฤษ

2) การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน(O-NET) ปีการศกึ ษา 2561-2562

80 56.73 ปี 2561 ปี 2562 ผลตา่ ง
70 56.05

60 35.63
29.09
50 29.07 29.78
26.17 -6.54 34.85
40
-2.9 5.07
30 -0.68

20

10

0

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

11

2) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2562

รายวชิ า ระดบั โรงเรยี น คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ
41.49 ระดับจังหวัด ระดบั สพฐ. 42.21
ภาษาไทย 26.12 25.41
คณิตศาสตร์ 29.49 45.53 43.02 29.20
วิทยาศาสตร์ 36.66 29.74 25.62 35.70
สังคมศึกษา 28.22 31.79 29.40 29.20
ภาษาองั กฤษ 37.40 36.10
32.72 28.97

50 41.49
45.53
40
43.02
30
42.21

26.12
29.74

25.62

25.41

29.49
31.79

29.40

29.20

36.66
37.40
36.10

35.70

28.22
32.72

28.97

29.20

20

10

0

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมฯ ภาษาองั กฤษ

ระดบั โรงเรยี น ระดับจงั หวัด ระดบั สงั กัด ระดบั ประเทศ

หมายเหตุ คะแนนทุกรายวชิ าของนักเรียนต่ำกว่าระดับจงั หวดั สงู กวา่ คะแนนเฉลีย่ ของสพฐ.ในวิชา
คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษา และสงู กวา่ ระดับประเทศในวชิ าภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์

และสังคมศกึ ษา

3) การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561-2562

70 ปี 2561 ปี 2562 ผลต่าง

60
48.72
50 41.49 31.87 30.84 36.33 31.73
26.12 29.49 36.66 28.22
40
-5.75
30

20 -7.23 -1.35 0.33 -3.51

10

0

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษาฯ ภาษาอังกฤษ

12

1.6 ข้อมูลการใช้แหล่งเรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2562

แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียน สถิติการใช้
ช่ือแหล่งเรียนรู้ จำนวนครั้ง / ปี

ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ 180
หอ้ งปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์ 180
หอ้ งปฏบิ ตั ิการทัศนศิลป์ 180
ห้องปฏิบัติการนาฏศิลป์ 180
หอ้ งปฏิบตั กิ ารดนตรี 180
หอ้ งปฏิบัตกิ ารคหกรรม 180
ห้องปฏบิ ตั ิการงานบา้ น 180
ห้องปฏิบตั กิ ารงานประดิษฐ์ 180
หอ้ งปฏิบัตกิ ารงานช่าง 180
หอ้ งปฏิบตั ิการเกษตร 180
ห้องปฏิบัตกิ ารภาษาตา่ งประเทศ 180
ห้องปฏบิ ัติการภาษาไทย 180
ห้องลกู เสอื 180
ห้องแนะแนว 180
ห้อง Eco-school 180
หอ้ งพิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติ 180
ห้องงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น 180
หอ้ งสมุดโรงเรียน 180

13

แหล่งเรียนรูภ้ ายนอกโรงเรียน สถิติการใช้
ช่อื แหล่งเรยี นรู้ จำนวนครง้ั / ปี

1. วัดสุวรรณรังสรรค์ 1
2. วดั คลองทราย 9
3. วัดสำนักทอ้ น 2
4. ชายทะเลหาดพยูนพลา นำ้ ริน 2
5. โรงงานในนคิ มอตุ สาหกรรมเอเชยี 1
6. มหาวิทยาลยั บรู พา 1
7. ค่ายลูกเสือกาญจนธชั 1
8. สมาคมพุทธธรรมสงเคราะหบ์ ้านฉาง 2
9. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลพยูน 1
10. สวนสมุนไพรสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ 1
11. การนิคมอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ 1
12. วดั พลา 1
14. วัดลุ่มมหาชยั ชุมพล 1
15. ค่ายกองรอ้ ยปฏบิ ัติการจิตวทิ ยา หน่วยบัญชาการนาวกิ โยธิน 1
16. องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติ 1
17. ศูนยก์ สิกรรมธรรมชาตมิ าบเอือ้ ง จ.ชลบุรี 1
18. ทุง่ โปรงทอง ต.ประแสร์ จ.ระยอง 1

1.7 ข้อมลู สภาพชุมชนโดยรวม

1.7.1 สภาพชมุ ชนโดยรอบโรงเรียนบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา
ตัง้ อยูใ่ นเขตอำเภอบ้านฉาง ซึ่งมเี นื้อที่ 238 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 46,403
คน และไดร้ บั การกำหนดใหเ้ ป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและอตุ สาหกรรมไรม้ ลภาวะ สภาพชมุ ชนรอบบรเิ วณ
โรงเรียนมีลักษณะเป็นพื้นที่การเกษตร บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนได้แก่ พื้นที่เกษตร อาชีพ
หลกั ของชมุ ชนคือ กสิกรรม เนอื่ งจากมีพืน้ ทก่ี ารเกษตร จำนวน 46,006 ไร่ นอกจากน้ียังมปี ระมง

14

ปศุสัตว์ การพณิชย์และอุตสาหกรรมขนาดย่อม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/
ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีบุญข้าวหลาม หรือทำบุญกลางทุง่ ประเพณีลอย
กระทง และแขง่ เรอื ทะเล ประเพณสี งกรานต์

1.7.2 ข้อมูลผู้ปกครอง
ผปู้ กครองสว่ นใหญ่จบการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ร้อยละ 73.74 ประกอบอาชพี
รับจ้าง ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้เฉล่ียต่อปี 62,580 บาท
1.7.3 โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี นโรงเรียน
ได้รับการสนับสนุนจากชุมชนวดั และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกี่ยวกับแหล่งเรียนรู้และ
การจัดหาทุนเพื่อการศึกษาเป็นอย่างดี ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน ซึ่งส่วนใหญ่เกี่ยวกับภูมิปัญญา
ท้องถนิ่ ในดา้ นต่าง ๆ และแหล่งเรยี นรู้ได้รบั การสนับสนุนจากเจา้ อาวาสวดั ตา่ ง ๆ ในชุมชนเปน็ อย่างดี
โดยเฉพาะในเร่อื งทีเ่ กี่ยวกับการศึกษาดา้ นศาสนา นอกจากน้ที างวัดยังให้ความชว่ ยเหลือในการจัดหา
ทุนให้กับนักเรียนทุกปี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็เช่นเดียวกันได้ช่วยในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมใน
โรงเรียน จัดหางบประมาณตามโครงการที่โรงเรียนได้ร้องขอ ในบางโอกาสทางองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นจะจัดสรรให้กับโรงเรียนเอง เช่น สนามฟุตบอล ได้รับงบประมาณจากแผนขจัดมลพิษของ
จังหวัดระยอง ได้รับเงินช่วยเหลือสนับสนุนจากกองทุนไฟฟ้าในการสร้างอาคารเรียนและซ่อมแซม
โรงเรยี นในสว่ นต่าง ๆ

15

1.8 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ.รอบท่ผี ่านมา (รอบสี่)

1.8.1 ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

บทสรุปสำหรบั ผ้บู ริหาร

คณะผู้ประเมินได้ตรวจเยี่ยมสถานศึกษาเมื่อวันที่ 11-12 พฤศจิกายน 2562
โดยมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ดังน้ี

ด้าน ระดบั คุณภาพ
ดีเยยี่ ม
1. คณุ ภาพของผูเ้ รยี น
ดีเยยี่ ม
2. กระบวนการบริหารและการจดั การ
ดมี าก
3. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั

1.8.2 ขอ้ เสนอแนะจากผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในและภายนอก

จดุ เด่น

ดา้ นคุณภาพของผ้เู รียน
1. ผเู้ รียนอ่านเขยี นเพ่ือการส่ือสารได้สองภาษา มผี ลงานจากการแขง่ ขันความเปน็ เลิศ
ทางวิชาการ ทุกระดบั ชน้ั อย่างต่อเนื่องทุกปี
2. ผู้เรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐาน (O-NET) คะแนนเฉลย่ี สงู
กวา่ ระดับประเทศต่อเน่ือง
3. ผเู้ รยี นสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง สง่ ผลให้ผลงานชนะ
การประกวดและไดร้ ับรางวลั ตา่ ง ๆ มากมาย
4. ผูเ้ รยี นสามารถบริหารจดั การขยะในโรงเรยี นแบบครบวงจรและสามารถแยกขยะ และ
รูจ้ กั การลดปริมาณขยะในสถานศกึ ษา
5. ผเู้ รียนท่สี ำเร็จการศกึ ษาในช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 สามารถเขา้ ศึกษาต่อในระดบั สูงขน้ึ ได้
เป็นจำนวนมาก

16

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ
1. สถานศกึ ษามกี ารบริหารและการจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อให้ทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ มใน

การกำหนดวิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย ท่ีชดั เจน
2. ผบู้ ริหารมีความตัง้ ใจ มคี วามม่งุ มน่ั มีหลักการบริหารและมวี สิ ัยทัศนท์ ี่ดี และ

คณะกรรมการ สถานศึกษามีความพร้อมในการปฏบิ ัติหน้าที่ตามบทบาท มีการพฒั นาหลกั สตู ร โดย
จัดห้องเรียนพเิ ศษ Mini English Program (MEP) การสอนภาษาจีน และการสอนวชิ าชีพ

3. ผูบ้ รหิ ารมีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธท์ ดี่ ี โดยไดร้ บั การสนบั สนุน
และ ช่วยเหลอื จาก คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน สมาคมศิษย์เก่าโรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ
วิทยา เครอื ข่ายผู้ปกครอง องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทอี่ ยู่บรเิ วณ
ใกลเ้ คียง

4. ผู้บริหารคณะครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา มแี ผนงาน โครงการในการพฒั นา
ผลสัมฤทธแิ์ ละ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น

5. สถานศกึ ษามบี ริเวณโรงเรียนกวา้ งขวาง ร่มรนื่ ดว้ ยพรรณไมน้ านาชนิด มโี ครงการ สวน
พฤกษศาสตร์โรงเรยี น เพอื่ อนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม

ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
1. กระบวนการจัดการเรียนรโู้ ดยใชแ้ ผนบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์ของครทู ุกคนใน

แตล่ ะ สาระการเรียนรมู้ ีความตอ่ เนือ่ ง ครใู ช้พ้ืนท่ีทุกส่วนสำหรับจัดการเรยี นร้สู ่งผลตอ่ การยกระดับ
คณุ ภาพ

2. ครทู ุกคนจดั ทำงานวิจยั เชิงปฏบิ ัติการในชัน้ เรยี น (Classroom Action Research :
CAR 1-4) แตล่ ะขัน้ ตอนของ CAR ท้ัง 4 ขนั้ ตอน ได้เรยี นรู้วชิ าชพี ด้วยกระบวนการ PLC
(Professional Learning Community) มคี วามต่อเนือ่ ง

ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาส่นู วตั กรรม หรือแบบอยา่ งทีด่ ี

ดา้ นคุณภาพของผู้เรยี น
สถานศกึ ษาควรต่อยอดกระบวนการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน เช่น มกี ารจัดเก็บฐานข้อมูลของ

พชื ศกึ ษาและปจั จัยที่เกย่ี วข้อง เผยแพรอ่ อกส่ชู ุมชนและเกิดเปน็ เป็นประโยชน์กับมหาชนส่วนใหญ่
เพื่อใหส้ ามารถผ่าน เกณฑ์การประเมนิ เกยี รติบตั รข้นั ที่ 2 จาก โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อัน

17

เนือ่ งมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ดำเนนิ โครงการตามพระราชดำรขิ องสมเด็จ

พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นการดำเนินงานในอีกรูปแบบหนึง่ ของ สวน
พฤกษศาสตร์ โดยดำเนิน กิจกรรมสร้างจติ สำนกึ ในการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื การรวมพันธไ์ุ ม้ทีม่ ีชีวติ
มีแหลง่ ข้อมูลความร้เู กย่ี วกบั พันธไ์ุ ม้ มีการศึกษาต่อเน่ือง เป็นโครงการทดี่ ีมีคุณคา่ ในการอนุรักษ์
ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เป็นแบบอย่างที่ ดใี นระดับภูมิภาค ควรดำเนนิ การให้เกดิ ผลดีย่ิงขึน้ โดย
เพิม่ กจิ กรรมจาก 8 กจิ กรรมหลัก เชน่ กจิ กรรมอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพชื และเผยแพร่
ผลงานการดำเนินโครงการให้กว้างขวางและเปน็ แบบอยา่ งใหก้ บั สถานศกึ ษาอ่นื ๆ ในระดับประเทศ
ตอ่ ไป

ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ
1. สถานศกึ ษาควรรวบรวมบทสรปุ ของผลงานวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั ิการทุกคน และทุกสาระการ
เรียนรู้ เผยแพรผ่ ลงานใหห้ ลากหลายชอ่ งทาง
2. สถานศึกษาควรศกึ ษาวิธกี ารถอดบทเรยี นในการพฒั นาวชิ าชพี ครู ใช้วิธกี ารเรียนรู้จาก
การ ปฏบิ ตั ิจรงิ ของงานวจิ ยั เชงิ ปฏิบตั ิการแต่ละขั้นตอนของ CAR ท้งั 4 ขั้นตอน ดว้ ยการทำ PLC
(Professional Learning Community) รว่ มกนั ถอดบทเรียนวิธีปฏิบัตทิ ี่ดี ( best practice ) ของ
การแก้ปัญหา การจดั การเรยี นการสอนดว้ ยการใชก้ ระบวนการวิจยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร โรงเรยี นบ้านฉาง
กาญจนกลุ วทิ ยา ดำเนินงานอย่างเป็นระบบตามแนวทางของเดมม่งิ (Deming Cycle)

สรปุ ผลการประเมินความโดดเดน่

โครงการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นซง่ึ เป็นโครงการทส่ี ร้างจิตสำนกึ ในการอนุรักษ์
พนั ธุกรรมพืช ทรัพยากรชวี ภาพและกายภาพ มกี ารสมั ผัสการเรียนรู้ การสรา้ งและปลูกฝงั คณุ ธรรม
การเสริมสรา้ งปัญญา และภูมิปญั ญา สถานศึกษาควรตอ่ ยอดกระบวนการเรยี นรู้ของผ้เู รียน เช่น มี
การจัดเก็บฐานข้อมลู ของพชื ศกึ ษาและปจั จัยทีเ่ กย่ี วข้อง เผยแพร่ออกสูช่ ุมชน เพื่อใหส้ ามารถผา่ น
เกณฑ์การประเมนิ เกยี รติบตั รข้ันท่ี 2 จากโครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ
ของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

18

ปจั จุบันไดร้ บั เกยี รติบัตรงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นข้ันท่ี 1 เกียรติบัตรแห่งความ
มงุ่ มั่น อนรุ ักษ์ สรรพสิง่ สรรพชวี ติ ดว้ ยจิตสำนกึ ของครูและเยาวชน จากโครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรม
พืช อันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดร้ ับรางวัล
เหรียญทอง ชนะเลิศอนั ดับ 1 Best Practice ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ประเภทสถานศึกษายอด
เย่ียมขนาดใหญ่ และไดร้ บั รางวัลดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอนยอดเย่ียม เรื่อง
การจดั การเรียนการสอน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นโดยใช้โมเดล BKW 4G จากสำนักงานเขต
พน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 18

19

สว่ นท่ี 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ในปกี ารศึกษา 2562 โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ได้พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาตาม
มาตรฐานการศึกษาทโ่ี รงเรยี นกำหนด จำนวน 3 มาตรฐาน โดยการดำเนนิ งานตามโครงการ กจิ กรรม
ทีก่ ำหนดในแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ซ่ึงมผี ลสำเรจ็ ตามทก่ี ล่าวมาแล้วขา้ งตน้ รวมทั้งโรงเรียนมกี าร
สนบั สนุนการดำเนินงานประจำท้ังด้านการจัดการเรยี นการสอนในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ การจัด
กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียนทัง้ ในเวลาและนอกเวลาเรียนด้วยรูปแบบต่าง ๆ และมี
การจัดระบบการบริหารจดั การที่ส่งเสรมิ สนบั สนุนคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน

จากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้โรงเรยี นมีผลการประเมินคณุ ภาพภายในของ
สถานศึกษาอยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม โดยมผี ้ทู รงคณุ วฒุ ิตามท่ีต้นสังกัดประกาศแต่งต้ังรว่ มประเมินดว้ ย
ดังมรี ายละเอียดของผลการประเมนิ ตนเอง ดังน้ี

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพัฒนา

1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรยี น ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการอา่ น เขียนและสื่อสาร

1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน ภาษาไทย ได้เหมาะสมตามระดับช้ัน

การสอื่ สารและการคิดคำนวณ

โรงเรียนมอบหมายให้ทุกกลุ่มสาระ

จัดการเรียน การสอนท่ีเนน้ ให้นักเรียนเกิดทักษะ

การอา่ นและ การเขยี นโดยเฉพาะอย่างกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ด้านภาษา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ที่เน้นการอ่านการเขียนตามตัวชี้วัดของหลกั สูตร

และทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียน จากสถติ ิข้างตน้ พบว่า นักเรียนทกุ ระดับชัน้ มีมีผลการ

ได้สืบค้นข้อมูล หาคำตอบด้วยตนเอง โดยจัดทำ ประเมินในการอ่าน เขียน และการส่ือสารภาษาไทย

โครงการเพื่อสนับสนุนให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่าง ในระดับดขี น้ึ ไป เฉลี่ยรอ้ ยละ 87.31 สูงกวา่ คา่

เต็มที่เช่น โครงการพัฒนานักเรียนอ่านเขียนให้ เป้าหมายทีต่ ้งั ไว้คือ รอ้ ยละ 80

20

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพฒั นา

คล่อง โครงการค่ายคณิตศาสตร์ โครงการเรียนรู้

วิทย์ รู้คิด นวัตกรรม โครงการค่ายพัฒนาทักษะ

การใช้อุปกรณ์ โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการ

สื่อสาร เปน็ ต้น

นอกจากนี้ได้ดำเนินการส่งเสริมผู้เรียน

ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการด้วยการจัดกิจกรรม

ตามโครงการต่าง ๆ เช่นโครงการยกระดับ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของแต่ละกลุ่มสาระ จากสถติ ขิ ้างต้น พบว่า นักเรียนทกุ ระดับช้นั มีการอา่ น

โครงการติว O-NET โครงการส่งนักเรียนเข้าร่วม การเขียนและการสื่อสารภาษาอังกฤษในระดับดีขน้ึ ไป

แข่งขันความสามารถทางวิชาการ กิจกรรม เฉล่ียร้อยละ 51.46 สงู กวา่ ค่าเป้าหมายทีต่ ง้ั ไวค้ ือ

สนทนาภาษาจีน สวัสดีหนีห่าว กิจกรรม Easy รอ้ ยละ 50

English Conversation ก ิ จ ก ร ร ม One Day

Field trip สปั ดาหห์ ้องสมุดและสุดยอดนักอ่าน

2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมี ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมี
วจิ ารณญาณอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็
โรงเรยี นมอบหมายให้ทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้

จัดกจิ กรรมการเรยี นรสู้ ่งเสริมใหน้ ักเรียนมี
ความสามารถด้านการคดิ วเิ คราะห์ คิด
วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น
แก้ปญั หาและนำไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสมน้นั โรงเรยี นได้สง่ เสรมิ
ให้นกั เรยี นทำงานโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม รว่ ม จากสถิตขิ ้างต้น พบว่า นักเรียนทุกระดับช้ันขึ้นไป มี
คดิ รว่ มทำ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพ่อื ความคดิ ความสามารถ ในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมี
สรา้ งสรรค์ คิดแกป้ ัญหาและนำไปประยุกตใ์ ช้ใน วิจารณญาณอภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และ
สถานการณต์ ่าง ๆ ได้ เป็นต้น โดยใช้เทคนคิ การ แก้ปญั หาได้ ในระดับ ดขี ึน้ ไป เฉลีย่ รอ้ ยละ 85.96
สอนทหี่ ลากหลาย เช่น การจัดการเรยี นรู้แบบ สูงกว่าค่าเป้าหมายทตี่ ง้ั ไว้คือ ร้อยละ 80
กระตือรือร้น 5E การใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน การใช้

21

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพัฒนา

คำถามเป็นฐาน เปน็ ตน้ ส่งผลใหน้ ักเรยี นมี

ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิด

วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็

แกป้ ัญหาและนำไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์

ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม

โรงเรียนมอบหมายจดั การเรียนรู้แบบ - ผ้เู รียนร้อยละ 80 ขึ้นไปมีความร้แู ละทักษะพื้นฐาน

บรู ณาการที่มงุ่ เน้นให้นักเรยี นมที ักษะด้านการ ในการสร้างนวตั กรรม เชน่ โครงงาน หุ่นยนต์

เรยี นรู้ ทักษะตามการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทางเทคโนโลยี จนได้รับ

เพ่อื พฒั นาศักยภาพของตนเอง สามารถสรา้ ง รางวัลตา่ ง ๆมากมาย ดงั นี้

นวัตกรรมนำไปใชแ้ ละเผยแพร่ได้ เชน่ รายวชิ า 1. รองชนะเลศิ อันดบั 2 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน

การศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (IS) การสอนแบบ ระดับชาติ ครั้งที่ 69 ระดบั ภาคกลางและภาค

โครงงาน นอกจากนย้ี ังจัดกจิ กรรมตามโครงการ ตะวนั ออก การแขง่ ขันการออกแบบสงิ่ ของ

เช่น โครงการตลาดนัดชมุ นุม การจดั กิจกรรม เคร่ืองใชด้ ้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ม.4-ม.6

ชุมนุม กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้ โครงการ 2. รางวัลเหรยี ญเงนิ งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น

พฒั นานักเรียนส่คู วามเปน็ เลิศดา้ นการงานอาชีพ ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 69 ระดับภาคกลางและภาค

และเทคโนโลยีสง่ ผลให้นักเรยี นมีความสามารถ ตะวนั ออก การแขง่ ขนั การสร้าง Webpage

ในการสรา้ งนวัตกรรมมกี ารนำไปใช้และเผยแพรไ่ ด้ ประเภท Web Editor ม.1-ม.3

4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ผูเ้ รยี นร้อยละ 100 มีความสามารถในการใช้

และการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพื่อพัฒนาตนเอง

โรงเรียนมอบหมายใหท้ ุกกลมุ่ สาระการ ได้อยา่ งเหมาะสมและปลอดภัย นักเรียนไดเ้ ข้าร่วม

เรียนรู้ บรู ณาการจดั การเรยี นการสอนให้ แขง่ ขนั และได้รับรางวลั ต่าง ๆ ดังนี้

นกั เรยี นใช้เทคโนโลยใี นการสื่อสารเพื่อพฒั นา 1. ชนะเลิศอันดับ 1 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน

ตนเองในการนำเสนอ วดี ีทัศน์นำเสนองาน สง่ ระดบั ชาติ คร้ังที่ 69 ระดับภาคกลางและภาค

งานโดยผ่านส่อื โซเชยี ล เช่น E-Mail line ตะวันออก การแข่งขนั การตัดตอ่ ภาพยนตร์ ม.4-ม.6

Facebook YouTube นอกจากนี้ศูนย์ 2. เหรียญทองลำดับท่ี 4 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน

คอมพวิ เตอรย์ ังไดจ้ ดั ทำโครงการต่าง ๆ เช่น ระดบั ชาติคร้งั ท่ี 69 ระดบั ภาคกลางและภาคตะวนั ออก

โครงการสง่ เสริม ICT ของโรงเรยี น โครงการ การแขง่ ขนั การสรา้ ง Web Applications ม.4-ม.6

22

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพัฒนา

พฒั นานกั เรยี น ด้านการสร้างผลงานมลั ตมิ เี ดีย

โครงการสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศด้าน ICT

โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงครูผ้สู อนวิชาคอมพิวเตอร์เน้น

ใหน้ ักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ ใช้ส่อื เทคโนโลยี

โรงเรยี นจดั แนวทางการให้นักเรยี นใช้

โทรศพั ท์มอื ถือ สง่ ผลให้นกั เรียนใช้คอมพิวเตอร์

และสื่อ Social อย่างมคี ุณภาพ ไมล่ ะเมดิ พรบ.

คอมพวิ เตอร์

5) มีผลสมั ฤทธ์ิการทางการเรียนตามหลักสูตร - ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเฉล่ีย 2.50 ขึ้นไประดบั ช้ัน

สถานศกึ ษา ม.1-6 ปี 2562

โรงเรียนมอบหมายใหท้ กุ กลมุ่ สาระการ

เรยี นร้สู อนตามตัวชว้ี ัด โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง

รายวชิ าที่ใช้ทดสอบระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-

NET) ใหด้ ำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ให้เขม้ ขน้ ขนึ้ ในทุกรายวชิ าท่ีทดสอบในระดับชัน้

ม.3 โดยกำหนดเวลาเรยี นไว้ในตารางเรยี นทัง้

สองภาคเรยี น สว่ นนกั เรยี น ม.6 มีการจดั ช่ัวโมง - จากสถิตขิ ้างตน้ พบวา่ นกั เรยี นระดบั ชน้ั ม.1-6 มผี ล

ตวิ O-Net ให้กบั นกั เรียนในช่วงเชา้ กอ่ นเข้าเรียน การเรยี นเฉลี่ยตัง้ แตร่ ้อยละ 2.50 ข้ึนไป เฉลี่ยร้อยละ

ในภาคเรียนท่ี 2 นอกจากน้ีโรงเรียนยังได้จัดทำ 75.48 สูงกวา่ คา่ เป้าหมายท่ตี ้ังไวค้ อื ร้อยละ 75

โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของแต่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน

ละกลุม่ สาระการเรยี นรู้ โครงการยกระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น O-NET

23

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพัฒนา
เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

ผู้เรียนมีผลการทดสอบระดบั ชาติลดลงจากปีทีผ่ า่ นมา
ยกเว้นรายวชิ าภาษาองั กฤษมีผลการทดสอบเพิ่มขน้ึ
รอ้ ยละ 5.07 มผี ลคะแนนเฉลีย่ สูงกวา่ ระดบั ประเทศ
ในรายวชิ าภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน
มัธยมศึกษาปีที่ 6

เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

24

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพัฒนา

- ผ้เู รียนมีผลการทดสอบระดับชาติ เฉล่ยี ลดลงจากปที ่ี

ผ่านมา ทกุ รายวิชายกเว้นวชิ าสงั คมศึกษา เพ่ิมขึน้ ร้อย

ละ 0.33 มผี ลคะแนนเฉลยี่ สูงกวา่ ระดบั ประเทศใน

รายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสงั คมศึกษา

6) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องาน ร้อยละของนักเรยี นชั้น ม.3 ที่ศกึ ษาปีการศึกษา 2562

อาชพี

โรงเรียนมอบหมายใหก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้

การงานอาชพี ฯ จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้

สอดคล้องกบั จุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรฯ มงุ่ สอน

ทักษะอาชพี เพ่ือให้นักเรยี นท่ีจบ ม.3 และ ม.6

สามารถใชเ้ ป็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพได้

กิจกรรมแนะแนวแนะนำให้นักเรียนสามารถ

วเิ คราะห์ความต้องการของตลาด เลือกสาขาวชิ า

เรียนทีส่ อดคล้อง และมีเจตคติท่ดี ี ตอ่ การศึกษา

ต่อและการประกอบอาชีพ นอกจากนโ้ี รงเรยี นยัง ร้อยละของนักเรยี นชัน้ ม.6 ทศี่ ึกษาต่อในระดบั

ไดจ้ ัดทำโครงการสง่ เสริมทักษะอาชีพข้ึน เช่น มหาวิทยาลัยต่างๆ ปกี ารศึกษา 2562

โครงการกจิ กรรมชุมนุมตามความสนใจ กจิ กรรม

ศึกษาดงู านเกีย่ วกับระเบยี งเศรษฐกิจภาค

ตะวนั ออก (EEC)

-จากสถติ ิขา้ งตน้ พบวา่ นักเรียนระดับชน้ั ม.3 และ ม.
6 มีความสนใจและมีเจตคติท่ีดีต่อการศึกษาต่อและ
การประกอบอาชพี เฉล่ยี ร้อยละ 94.25 สูงกวา่ ค่า
เปา้ หมายทตี่ ง้ั ไวค้ ือ รอ้ ยละ 80

25

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพัฒนา

1.2 คุณลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผ้เู รยี น

1) มีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมที่ดีตามที่

สถานศึกษากำหนด

โรงเรียนได้ประชุมชแ้ี จงครผู ู้สอนทุกคนให้

จดั กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ หเ้ ปน็ ตามหลักสตู ร

แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช

2551 จัดทำโครงการกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับ

มาตรฐาน และครอบคลุมทกุ ตวั บง่ ชี้ อีกท้งั มี

บทบาทสำคญั ในการอบรมคุณธรรม ครูทกุ คน

ร่วมกนั อบรม สอดแทรกทุกเวลา ไมว่ า่ จะเป็น จากสถติ ิขา้ งตน้ พบว่า นักเรียนทุกระดับช้ัน

การจดั การเรียนรู้ กจิ กรรมโฮมรมู การอบรมหนา้ ไป มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในระดบั ดขี ึ้นไป

เสาธง การประชมุ ระดบั นอกจากน้ีโรงเรียนยงั ได้ เฉลี่ยร้อยละ 97.84 สูงกวา่ ค่าเปา้ หมายที่ตัง้ ไว้คือ

จัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและ รอ้ ยละ 90

คา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ เชน่ ค่ายคุณธรรม

จรยิ ธรรม กจิ กรรมไหวค้ รู กิจกรรมแหเ่ ทยี น

เขา้ พรรษา บนั ทึกความดี โครงการสง่ เสรมิ

พฒั นางานดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น กิจกรรม

ทำบญุ ใสบ่ าตรในวันพระ ค่ายปรับคุณลักษณะ

อันพงึ ประสงค์ กจิ กรรมปฐมนเิ ทศและอบรม

คุณธรรม จริยธรรมนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4

โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยา

เสพตดิ และอบายมุข ส่งผลให้นกั เรียนมี

คุณลักษณะและค่านิยมทีน่ ่าพึงพอใจ

2) มคี วามภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย

โรงเรยี นเนน้ ใหค้ รูผ้สู อนบรู ณาการเก่ยี วกับ

ประเพณี การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญา

ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มสาระการเรียนรู้

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุม่ สาระ

26

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพิจารณา) ผลการพัฒนา

การเรียนร้ศู ลิ ปะ กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงาน - ผู้เรียนรอ้ ยละ 100 มีความภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ และ

อาชพี และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ความเป็นไทย

ภาษาต่างประเทศ กล่มุ สาระการเรียนรู้ สขุ

ศึกษาและพลศกึ ษา จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่เี น้น

การอนรุ ักษ์วัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาไทย ภาษาถนิ่

นอกจากนี้ยังได้จัดใหม้ โี ครงการตักบาตรทุกวนั

พระ ทำบุญในวันสำคญั ทางศาสนา กจิ กรรมวัน

พอ่ กจิ กรรมวนั แม่ กิจกรรมแห่เทยี นพรรษา โดย

จะเชญิ ชวน ครู บคุ ลากรและนักเรียน รวมถงึ

ผู้ปกครองเขา้ มามีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์

วัฒนธรรมประเพณี และยงั สืบสานภูมิปญั ญา

ไทย โดยการจัดให้นักเรยี นไปทศั นศึกษาเก่ียวกับ

เศรษฐกจิ พอเพียง การสรา้ งฝายชะลอน้ำ ส่งผล

ให้นกั เรียนมีความภูมิใจและเห็นคุณค่าทางภมู ิ

ปญั ญาไทย

3) ยอมรับทีจ่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกตา่ งและ - ผู้เรียนร้อยละ 100 ยอมรับที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความ

ความหลากหลาย แตกตา่ งและความหลากหลาย โดยมีโครงการ/

โรงเรียนมุง่ เนน้ ใหค้ รผู ู้สอนบรู ณาการใน กจิ กรรมต่าง ๆ ดังน้ี

รายวิชาของตนเองตามคุณลกั ษณะอันพงึ - กิจกรรมกีฬาภายใน

ประสงค์ 8 ประการ สามารถอยูร่ ่วมกบั ผูอ้ ืน่ ได้ - กจิ กรรมเข้าค่าย ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด

อย่างมีความสขุ โดยเฉพาะอย่างย่งิ กลุ่มสาระการ - กจิ กรรมวนั ครสิ ตม์ าส

เรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม มงุ่ ให้ - กจิ กรรมวันตรุษจนี

จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามรายวิชา - กจิ กรรมอาเซยี นศึกษา

อาเซยี นศึกษา หนา้ ที่พลเมือง ตามตัวช้วี ัดของ - กจิ กรรมสภานกั เรยี น

หลักสูตรวชิ าสงั คมฯ โดยจัดกิจกรรมทุกระดบั ชัน้ - กจิ กรรมฝกึ อบรมอาสายุวกาชาด

เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเป็นคนดขี องสังคม

27

กระบวนการพัฒนา (ประเด็นพจิ ารณา) ผลการพัฒนา

4) มีสุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม

โรงเรียนได้มอบหมายให้กลมุ่ สาระการ

เรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษาจดั กจิ กรรมการ

เรียนการสอนส่งเสริมให้นักเรียนร้วู ิธีสรา้ งเสริม

สขุ ภาพและ การป้องกนั โรคบูรณาการทุก

รายวิชาตามตวั ช้วี ัดตามหลักสตู รแกนกลางฯ

นอกจากนีย้ งั จดั กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพ

นักเรียน จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นทีม่ ี

พฒั นาการดา้ นนำ้ หนกั ส่วนสูง ท่ีไมเ่ ปน็ ไปตาม จากสถิติข้างต้น พบว่า นกั เรียนทุกระดับชัน้ สว่ นสูง

เกณฑ์มาตรฐานทาง สสส. จัดปา้ ยนิเทศความรู้ และนำ้ หนกั เปน็ ไปตามเกณฑ์ทก่ี ำหนดเฉล่ยี ร้อยละ

สว่ นเรอ่ื งจติ สงั คมนั้นให้ครทู ุกคนดแู ลภาวะจิต 81.56 สงู กวา่ ค่าเป้าหมายทีต่ ั้งไว้ คือ ร้อยละ 80

ของนักเรยี น ใหน้ ักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมี

ความสขุ ตลอดจนครูแนะแนวสง่ เสริมให้นักเรียน

รจู้ กั ตนเอง ร้จู ักผู้อน่ื ร้จู กั ปรับตวั ครทู ปี่ รึกษาจดั

กจิ กรรมโฮมรูมทส่ี ่งเสรมิ ทักษะชีวิตพัฒนา

สขุ ภาพกายและจติ ให้สมบรู ณ์

สง่ ผลใหน้ ักเรียนมคี วามรู้ มภี ูมิคุ้มกันเก่ียวกับ

การสร้างเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการ

ป้องกนั โรค

3. จุดเดน่
ผู้เรียนมีสุขนิสัย ในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย สม่ำเสมอ มีน้ำหนัก ส่วนสูง มี

สมรรถภาพทางกายและออกกำลงั กายตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้จู กั ป้องกันตนเองจากสงิ่ เสพตดิ
มาโรงเรยี นทันเวลา เขา้ ร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงโดยมีคณะกรรมการสภานักเรียนเปน็ ผดู้ ำเนนิ การ
แต่งกายถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน ใช้คำพูดสุภาพ มีสัมมาคารวะ แสดงความเคารพพ่อแม่
ครูและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา “ยิ้มไหว้ ให้ปัน ร่วมกันบำเพ็ญ
ประโยชน์” มีความซื่อสัตย์ ความกตัญญู รู้จักการช่วยเหลือ การเสียสละ ใช้ทรัพย์สินของตนเอง
และของโรงเรียนอย่างประหยัด เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม

28

มมี นษุ ยสัมพันธท์ ่ีดแี ละใหเ้ กยี รตผิ ูอ้ ื่น มีจิตสำนกึ ในการอนุรกั ษ์ และพฒั นาส่ิงแวดล้อม มที ักษะในการ
แสวงหาความรู้ การเรียนรรู้ ว่ มกนั เปน็ กลมุ่ การใช้เทคโนโลยี รูจ้ กั วางแผนการทำงานอย่างมคี วามสุข
มุ่งมน่ั พัฒนางาน มคี วามภมู ิใจในผลงานของตนเอง สามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้

4. จุดควรพฒั นา
ผู้เรียนในระดับชั้น ม.1 – ม.3 ยังต้องเร่งพัฒนาด้านการนำเสนอ การอภิปราย และ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่าง
เหมาะสม ผู้เรียนในระดับช้ัน ม.4 – ม.6 ยังต้องได้รับการส่งเสริมในด้านทัศนคติท่ีดตี ่อความเป็นไทย
ไม่หลงใหลกบั ค่านิยมตา่ งชาติ จนเกิดการลอกเลยี นแบบ ทำให้ลืมวัฒนธรรมอันดีงามของไทย

5. แผนพัฒนาเพ่อื ให้ไดม้ าตรฐานท่สี ูงขน้ึ

1. เข้ารว่ มโครงการโรงเรยี นนำร่องพ้นื ท่ีนวตั กรรมการศึกษา จงั หวดั ระยอง (โรงเรียนกล้า
เปลยี่ น ผอ. กลา้ เปลย่ี น)

2. จดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการภายใต้ School Concept คอื Innovation For Life หรอื
นวัตกรรมเพ่ือชีวติ โดยจดั การเรียนการสอนเนน้ แบบบรู ณาการทง้ั 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้
และกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม
1.การมเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชดั เจน

กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดำเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยกำหนดโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น
4 กลมุ่ คือ กล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ กล่มุ บรหิ ารงานท่วั ไป กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล และกลุ่มบริหารงาน
งบประมาณ โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา บริบทของโรงเรียน จากการมีส่วนร่วมของ
ผู้เกย่ี วข้องทุกฝ่าย ได้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สมาคมศิษย์เกา่ ผู้และฝ่ายบริหารของ
โรงเรียน โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมิน การจัดการศึกษาตาม
นโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา เพ่ือ
วางแผนร่วมกัน ในการกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษา

29

ของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ
การประจำปที ีส่ อดคล้องกับสภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นาและนโยบายการปฏิรปู การศึกษาพร้อม
ทง้ั จดั หาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตามแผนงาน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน
และจัดทำรายงานผลการจดั การศกึ ษา

ผลการพัฒนา
บุคลากร ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ของโรงเรียนทุกคนรับทราบถอื ปฏิบัติ และนำข้อมลู ผลการ
ดำเนินงานมาทำการทบทวนวัตถุประสงคเ์ ปา้ หมาย จดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณอย่าง
เปน็ ระบบ พร้อมรายงานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง โรงเรียน
กำกบั ติดตามการดำเนินงาน กจิ กรรมให้บรรลตุ ามเป้าหมายทก่ี ำหนด มีการแตง่ ต้ังคณะกรรมการ
ประกอบด้วยผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย ของโรงเรยี นดำเนินการร่วมวเิ คราะห์สภาพบริบทของโรงเรียนดว้ ย
เทคนคิ SWOT Analysis โดยผูบ้ รหิ าร หัวหน้างาน และหวั หน้ากลมุ่ สาระฯ รว่ มกันวเิ คราะหป์ จั จยั
ภายในและปจั จัยภายนอกของหนว่ ยงานตนเองแล้วกำหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กรอบ
กลยุทธ์ท่ีสอดคล้องกับสภาพปญั หาความต้องการพัฒนาของสถานศกึ ษา นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา
ความต้องการของชมุ ชน ท้องถนิ่ และสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏิรปู ตามแผนการศึกษาชาติ
โครงการพฒั นางานแผนงาน งานจัดสรรงบประมาณในโรงเรียนที่มีระบบและข้นั ตอนท่ชี ัดเจนสง่ ผล
ให้การบรกิ ารด้านใชง้ บประมาณมีประสิทธิภาพ ครูติดต่อประสานงานได้สะดวกข้นึ ทุกงานทกุ กลุ่ม
สาระฯ ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมกบั ภารกจิ การเบกิ จา่ ยและการดำเนนิ โครงการ
เป็นไปตามระยะเวลาท่กี ำหนด และถูกต้องตามระเบียบขอของโรงเรียน ผลการประเมนิ โดยภาพ
รวมอยู่ในระดบั ยอดเยยี่ ม

2. มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ดีเยี่ยม ก่อให้เกิดแผนพัฒนา

คุณภาพการจัด การศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีสอดคล้องกบั การพัฒนาผเู้ รียนทุกกลุ่มเป้าหมาย
มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูล
สารสนเทศถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ มีการดำเนินการอย่างเป็น โดยมีการ
ประชุมการทำงานทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันกำหนดมาตรฐานการศึกษา ค่าเป้าหมายและผู้รับผิดชอบ
เพ่อื ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ

30

การใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 โดยโรงเรียนใช้มาตรฐานการประกัน
คุณภาพเป็นแนวทางหนึ่งในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน กำหนดให้ทุกปี
การศึกษาประเมินตนเอง ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา เพื่อนำข้อมูลนัน้ มาปรับปรุง และพัฒนาอย่าง
ต่อเนอื่ งตามหลัก PDCA อีกทงั้ มีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นให้ผู้เรียน
ใฝ่เรียนรู้ อาทิ กิจกรรมเปิดบ้านวิชาการงาน “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสู่ชุมชนตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” มุ่งสู่มาตรฐานสากล โครงการพัฒนาบุคลากรทางด้านการสร้างสื่อการเรียนการ
สอน ICT กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพครูผชู้ ่วยและบุคลากรทางการศึกษา โครงการยกย่องเชิดชูเกียรติ
บุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ฯลฯ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ส่งผลให้ผู้เรียนมี
ความสามารถในการคิดและสรุปความคิดอย่างเป็นระบบจนสามารถนำไปใช้แก้ปัญหา และนำไป
ประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม คณะครูและบุคลากรมีความรู้ มีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน
สามารถนำไปพัฒนากระบวนทัศน์ในการทำงานได้ ฯลฯ

ผลการพัฒนา
ภายใต้ระบบบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาข้างต้น สง่ ผลใหโ้ รงเรยี นบริหารจัดการได้อย่าง
เป็นระบบ ระบบการบริหารการเงินเป็นไปตามขั้นตอนของกระทรวงการคลังและเปิดเผยต่อชุมชน
ระบบการบริหารจัดการพสั ดุและสินทรัพย์ท่ชี ดั เจนและตรวจสอบได้ ในการจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษามีการประชุม วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง อุปสรรค และโอกาส แล้วนำมากำหนดวิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ แผนปฏิบัติการ
ประจำปี สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจน มี
การจดั สรรงบประมาณอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปขี องโรงเรยี น ได้รบั ความเหน็ ชอบ
จากคณะกรรมการสถานศึกษา มีระบบบริหารจัดการคุณภาพที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพส่งผลให้
โรงเรียน ผู้บริหาร ครู นักเรียน ได้รับรางวลั ในระดับต่าง ๆ เป็นที่ยอมรับของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของโรงเรียนมีประสิทธิภาพส่งผลให้โรงเรียนเปน็
โรงเรียนคุณภาพยอดนิยม ผลการประเมินโดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั ยอดเยีย่ ม

3.ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตาหลักสูตร สถานศึกษาและทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย

กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นดำเนนิ การแตง่ ต้ังคณะกรรมการ ทป่ี ระกอบดว้ ยผมู้ ีสว่ นเกย่ี วข้องทุกฝ่าย ได้แก่
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ผ้ชู ่วยผอู้ ำนวยการโรงเรยี น หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หวั หน้างานต่าง ๆ ท่ี
เกีย่ วข้อง จัดทำและพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาที่มโี ครงสร้าง องค์ประกอบของหลักสูตรครบถ้วน

31

สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาชาติ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 สอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และ
การขยายตัวของระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก ตอบสนองวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และจดุ เน้นของ
สถานศกึ ษา ผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานของโรงเรยี น และนำสู่การ
ปฏบิ ัติโดยครนู ำไปจดั ทำมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั ลำดบั เนอื้ หาสาระตามกระบวนการ
เรียนรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความต้องการของท้องถิ่นในรายวชิ าพนื้ ฐานและหรอื รายวิชา
เพิ่มเติมอยา่ งเหมาะสม ออกแบบหน่วยการเรียนรู้องิ มาตรฐาน หลกั สูตรมคี วามหลากหลาย
สนองตอบตอ่ ความต้องการ วิเคราะห์กำหนดรายวชิ าเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นท่ีมเี นอ้ื หา/
สาระการเรียนรู้/กิจกรรมเหมาะสมตามโครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาของนักเรียนทุกระดบั ชน้ั อยา่ ง
หลากหลาย เพียงพอตามความต้องการ ความถนดั และความสนใจ และติดตามประเมนิ ผลการใช้
หลักสตู รสถานศกึ ษา นำข้อมูลผลการประเมนิ ไปทบทวน ปรบั ปรุงพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา

ผลการพฒั นา
โรงเรียนมหี ลักสูตรสถานศึกษา ท่ีประกอบดว้ ยโครงสร้าง และองคป์ ระกอบของหลกั สตู ร
ครบถว้ นสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องแผนการศึกษาชาติ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551 สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของชมุ ชน ตอบสนองวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ และจุดเน้น
ของสถานศกึ ษา กำหนดเวลาเรยี นเหมาะสมกับระดับช้ันเรียน และครูนำไปจัดทำมาตรฐานการเรยี นรู้
ตวั ชวี้ ัด ลำดบั เนื้อหาสาระตามกระบวนการเรยี นรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความต้องการของ
ทอ้ งถ่ิน ในรายวชิ าพ้ืนฐานและหรือรายวชิ าเพิ่มเตมิ อย่างเหมาะสม ออกแบบหน่วยการเรียนรอู้ งิ
มาตรฐาน มีหลักสูตรท่ีหลากหลายสนองตอบต่อความต้องการ นักเรยี นได้มีสว่ นรว่ มทุกรายวชิ า มี
โอกาสลงมือปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ รงิ หรอื ใกลเ้ คยี งสถานการณจ์ รงิ มผี ลงาน/โครงงาน/โครงการท่ี
แสดงให้เห็นการอธิบายวิธคี ิดและสรปุ ความคิดของผู้เรยี น และมีการตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้
หลักสตู รสถานศึกษา นำข้อมูลผลการประเมินไปทบทวน ปรบั ปรุงพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา
มีผลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

4. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นสง่ เสรมิ ให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาพัฒนาตนเองเพ่อื ให้มีความเชี่ยวชาญใน

สาขาวิชาทต่ี นสอนหรืองานท่ีตนเองรับผดิ ชอบ สามารถเล่ือนหรือมวี ิทยฐานะท่ีสูงขึ้น หากมคี รูขาด
อตั รากำลังโรงเรียนเรยี กบรรจหุ รอื รับยา้ ยหรอื ประกาศรบั ครอู ัตราจ้าง เจา้ หนา้ ท่ี ตรงกับสาขาท่ีขาด
แคลน ขณะเดยี วกันกลมุ่ บริหารบุคคลยังไดจ้ ดั โครงการพัฒนาบุคลากรทั้งโรงเรียนเพื่อให้ครแู ละ

32

บคุ ลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองทกุ ปีการศกึ ษา อาทิ จัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร เรอ่ื ง
เทคนคิ การเขยี นงานวิจยั ในชั้นเรียน พัฒนาศกั ยภาพครเู พ่ือสอนลูกเสือ-เนตรนารี ฯลฯ มกี ารนิเทศ
ตดิ ตามการสอนของทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ นอกจากนี้ยงั ส่งเสริมให้ครแู ละบุคลากรได้พัฒนาวิชาชพี
การทำวทิ ยฐานะในระดับตา่ ง ๆ ทำใหโ้ รงเรียนมคี รูและบุคลากรทางการศึกษาตรงตามเอกสาขาที่
สอนทุกคนและไดร้ บั การพัฒนาตนเองเป็นไปตามเปา้ หมาย

ผลการพฒั นา
โรงเรียนมแี ผนงาน/ โครงการ/ กิจกรรม ทสี่ ่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพครแู ละบคุ ลากร ทงั้ ดา้ น
ความร้คู วามสามารถและทักษะตามมาตรฐานประกอบดว้ ย การพฒั นาครูตามมาตรฐานตำแหน่งและ
มาตรฐานวิทยฐานะ ได้แกส่ ่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาวิชาชพี การทำวทิ ยฐานะในระดับต่าง ๆ
เมอ่ื ถึงเวลาการจัดทำแผนพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา (Id Plan ) มีการนเิ ทศ
ตดิ ตามการสอนของทุกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ครสู รา้ งชุมชนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทุกกลมุ่ สาระฯ
การสรา้ งชนุ ชนเรียนร้ตู ิดตามการอบรมพฒั นาครูและบุคลากรด้วยกระบวนการนเิ ทศติดตามและ
พฒั นา (Coaching and Mentoring) นอกจากนน้ั และสนับสนุนใหค้ รูบุคลากรเข้ารับการพัฒนาอย่าง
น้อย 20 ชัว่ โมง มีผลการประเมนิ โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้ือต่อการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม พัฒนาอาคารสถานทใี่ หห้ อ้ งเรยี น ห้องปฏบิ ัติการ

หอ้ งน้ำโรงอาหาร หอประชมุ อาคารประกอบการ ฯลฯ ทุกแห่งสะอาด เปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย มคี วาม
มง่ั คงแขง็ แรง และปลอดภยั จดั สภาพแวดลอ้ มภายนอกห้องเรยี นใหส้ วยงาม ร่มรื่น ภายในห้องเรียน
มีส่ิงอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ได้แก่ ส่อื วัสดุอุปกรณต์ ่าง ๆ จัดสงิ่ อำนวยความสะดวกในการ
เรยี นรูอ้ ย่างเพียงพอกับผูเ้ รยี น และพร้อมใช้งาน จัดพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ (Learning Spcae) ภายใน
โรงเรยี นครบทกุ กลุ่มสาระ พัฒนาแหล่งเรียนรภู้ ายในให้มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทนั สมัย
เพียงพอ และสะดวกต่อการใช้งาน

ผลการพัฒนา
โรงเรยี นมีแผน / โครงการ / กิจกรรมพัฒนาอาคารสถานท่ี ทำใหห้ อ้ งเรียน แหล่งเรยี นรู้
ภายในโรงเรียนหอ้ งปฏบิ ัติการ ห้องน้ำ โรงอาหาร หอประชุม อาคารประกอบ ฯลฯ ทุกแหง่ มีความ
สะอาด เป็นระเบียบ ภายใต้งบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรรอย่างคมุ้ ค่า มีประสิทธิภาพมคี วามมน่ั คง
แข็งแรง ปลอดภยั จดั สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนให้สวยงาม ร่มรืน่ ภายในหอ้ งเรียน มสี ่ิง

33

อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้มกี ารพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรยี นครบทุกกลมุ่ สาระ พัฒนา
แหลง่ เรยี นรใู้ หม้ รี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพียงพอต่อการใช้งาน และผเู้ รียนได้ศกึ ษาค้นควา้ จาก
แหล่งขอ้ มูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้สะดวกและรวดเร็ว ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ทง้ั ภายในและภายนอก
หอ้ งเรยี นมีการจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ สนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้ โดยพัฒนาทงั้ ในส่วน
ของงานและส่วนของบุคลากร เช่น โครงการพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการสรา้ งส่ือการเรียนการสอน ICT
และงานพฒั นาเทคโนโลยี เปน็ ตน้ สง่ ผลให้ห้องเรยี นทุกห้องเปน็ ห้องเรยี นคุณภาพ มสี ื่อเทคโนโลยี
การเรยี นการสอนทที่ นั สมยั ผู้เรยี นมสี ุขภาพกาย สุขภาพจติ ที่ดี สง่ ผลตอ่ การเรยี นรทู้ ี่ดีขึ้น ครแู ละ
บคุ ลากรในโรงเรียนมีความรู้ความสามารถในการสร้างส่อื ประเภท ICT เพ่ือใชใ้ นการจัดการเรียนการ
สอนของตน มผี ลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรยี นรู้
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีการจดั ทำระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการโดยใช้

โปรแกรมต่างๆ เชน่ ระบบทะเบียนวัดผล ระบบสารสนเทศ มีการจดั เก็บขอ้ มูลท่ี สามารถเข้าถึง
สะดวก รวดเรว็ และตรวจสอบได้ กลุ่มงานท้งั 4 กลุ่มงาน คอื กลุ่มบริหารวชิ าการ กลมุ่ บรหิ าร
งบประมาณ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล กลมุ่ บรหิ ารท่ัวไป และ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรมู้ ีการกำหนด
ผูร้ บั ผดิ ชอบจดั ทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทคี่ รอบคลุมภารกิจ แต่งต้ังคณะกรรมการงาน
สารสนเทศจากทุกกลุม่ งานทเ่ี กี่ยวข้อง มีการประชุมคณะกรรมการเพ่ือวางแผนในการดำเนินการ
จัดเกบ็ ข้อมลู กำหนดเวลา แจ้งผู้รับผิดชอบของแต่ละกลมุ่ บรหิ าร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ในการรายงาน
ข้อมูล ดำเนินการจดั การข้อมูลที่สำคัญของหน่วยงานตนให้เป็นปจั จบุ นั นำไปใชใ้ นการวางแผนการจดั
การศึกษาที่ครอบคลมุ ภารกจิ ท้ัง 4 กล่มุ งาน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จัดทำและให้บริการขอ้ มูล
สารสนเทศท่เี ป็นระบบแกผ่ ตู้ ้องการใช้ทกุ ฝา่ ย บุคลากรทกุ คนสามารถเข้าถงึ ข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว
เป็นปจั จบุ ัน

ผลการพฒั นา
โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการโดยใช้โปรแกรมตา่ งๆ
เชน่ ระบบทะเบยี นวัดผล ระบบสารสนเทศ มกี ารจดั เก็บข้อมลู ที่ สามารถเข้าถึงสะดวก รวดเร็วและ
ตรวจสอบได้ กลุ่มงานทง้ั 4 กลุม่ งาน คือ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กล่มุ บรหิ ารงบประมาณ กลุม่
บริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารท่ัวไป และ 8 กลุ่มสาระการเรียนรมู้ ีการกำหนดผรู้ บั ผดิ ชอบจัดทำระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ครอบคลุมภารกจิ แต่งต้ังคณะกรรมการงานสารสนเทศจากทุกกลุม่ งานที่
เก่ยี วขอ้ ง มีการประชมุ คณะกรรมการเพ่ือวางแผนในการดำเนินการจดั เกบ็ ข้อมูล กำหนดเวลา แจง้

34

ผู้รบั ผดิ ชอบของแต่ละกลุ่มบริหาร กลุม่ สาระการเรยี นรูใ้ นการรายงานข้อมลู ดำเนินการจัดการข้อมูล
ที่สำคัญของหน่วยงานตนใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั เพื่อตอบสนองแก่ผตู้ อ้ งการใช้ทุกฝ่าย บคุ ลากรทุกคน
สามารถเข้าถึงข้อมลู ไดส้ ะดวกรวดเรว็ เปน็ ปัจจบุ ัน มีผลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดบั
คุณภาพ ยอดเยี่ยม

7. จัดใหม้ ีโครงการ/กจิ กรรมเพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC)
กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นมีการจดั ทำหลกั สูตรเพ่ือรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก จงึ ได้จัดให้

มโี ครงการอบรมพฒั นาบุคลากรเพ่ือการขับเคลื่อน และพัฒนาสถานศกึ ษารองรบั เขตพฒั นาพเิ ศษภาค
ตะวนั ออก ( Eastern Economic Corridor : EEC ) เพ่อื ใหค้ รมู ีความเข้าใจท่ีมาและความสำคัญของ
เขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก อกี ท้ังสามารถนำความรจู้ ากการอบรมไปใชใ้ นการจดั
กิจกรรมการเรยี นการสอน เพ่ือตอบสนองต่อการทำงานในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก
อีกทั้งยงั จัดใหม้ โี ครงการ/กิจกรรมเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี นในด้านต่าง ๆ เพอ่ื รองรับการพฒั นา
เศรษฐกิจภาคตะวันออก เชน่ โครงการเปิดโลกทัศน์ เสน้ ทางสายอาชพี ….สู่ EEC โครงการศึกษาดูงาน
ของนักเรียนแผนภาษาจีนเพื่อการท่องเทย่ี วและแผนภาษาอังกฤษเพ่ือการท่องเท่ียว เพอื่ ให้นักเรยี น
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้แนวทางการประกอบอาชีพงานบริการในเขตเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC)
มีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ ไดล้ งมอื ปฏิบัติจรงิ มคี วามร้แู ละทักษะเกีย่ วกบั สายอาชพี

ผลการพัฒนา
โรงเรียนมีหลกั สตู รเพ่อื รองรบั การพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (Eastern
Economic Corridor : EEC) ส่งผลให้บุคลากรไดร้ ับการอบรมตามโครงการเพื่อการขับเคลอ่ื น และ
พัฒนาสถานศึกษารองรบั เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ( Eastern Economic Corridor : EEC)
สามารถนำความรูจ้ ากการอบรมไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือตอบสนองต่อการ
ทำงานในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก นกั เรยี นได้แลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ นวทางการประกอบ
อาชีพงานบริการในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ ได้ลงมอื ปฏบิ ัติ
จรงิ มีความร้แู ละทักษะเกย่ี วกบั สายอาชีพ เพื่อที่จะพฒั นาตนเองให้สอดคล้องกบั ความต้องการ
ทางดา้ นเศรษฐกิจในอนาคตได้ มผี ลการประเมินโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม

35

3. จดุ เด่น

โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารและการจดั การอย่างเปน็ ระบบ โรงเรียนได้ใชเ้ ทคนคิ การประชุมที่
หลากหลายวธิ ี เชน่ การประชมุ แบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชมุ กลุ่ม เพื่อให้ทกุ
ฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการกำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย ท่ีชัดเจน มีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการ
จัดการศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี ที่สอดคลอ้ งกับผลการจดั การศึกษา สภาพปญั หา ความ
ต้องการพฒั นา และนโยบายทีม่ งุ่ เนน้ การพฒั นาใหผ้ ู้เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนมกี ารดำเนินโครงการพฒั นาครแู ละบคุ ลกรทัง้ ด้านความรู้
ความสามารถและทักษะ มีการส่งเสริมให้ครูสง่ ผลงานเพื่อให้มีวทิ ยฐานะทีส่ งู ขึ้นตามเวลาที่กำหนด มี
การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ท้งั ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน และสภาพแวดล้อมทาง
สังคมทเ่ี อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้ อย่างหลากหลาย และมคี วามปลอดภัย มรี ะบบ/Sofeware ท่ี
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศทีส่ ำคัญของโรงเรยี น มีความถูกต้อง
แม่นยำ และเชื่อถือได้ มีหลักฐาน รอ่ งรอย ครแู ละบุคลากรทกุ คนมสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบข้อมลู ให้
ถูกต้อง เช่น เว็บไซตโ์ รงเรียน เว็บไซต์ทะเบียนวัดผล เวบ็ ไซต์บรหิ ารจดั การบัญชีผู้ใช้เครือขา่ ย ระบบ
ประเมนิ ผลการเรียน เป็นต้น

4. จุดควรพัฒนา
1. เปิดโอกาสใหผ้ ู้ปกครองได้มีสว่ นร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษาเพ่อื

พฒั นาผูเ้ รียน
2. สร้างเครอื ขา่ ยความรว่ มมือของผู้มีส่วนเกีย่ วข้องในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นให้มี

ความเขม้ แข็ง มีส่วนรว่ มรบั ผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา และการขบั เคล่อื นคุณภาพการจดั
การศึกษา

3. โรงเรยี นควรสร้างความตระหนักและและจัดกิจกรรมส่งเสริมใหค้ รแู ละบุคลากรและ
ผู้เรียน มีสว่ นรว่ มในการดูแลและรกั ษาอาคารสถานที่ หอ้ งเรียน ห้องปฏิบัตกิ าร และแหลง่ เรยี นรอู้ ื่น
ๆ ภายในโรงเรยี น ใหอ้ ยใู่ นสภาพทด่ี แี ละสรา้ งจิตสำนึกในการรกั ษาสาธารณสมบัตขิ องส่วนรวม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ คุณภาพผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ
ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยย่ี ม
3.1 จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้

36

กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นได้ดำเนนิ การจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ โดยการดำเนนิ โครงการ/
กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลกั สูตรมีการประชมุ ปฏบิ ัติการปรับปรงุ หลักสูตรสถานศกึ ษาสู่
การพัฒนาสถานศกึ ษารองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก ( EEC ) และมาตรฐานสากล
มีการบรู ณาการภาระงาน ชนิ้ งาน โดยทุกระดบั ชน้ั จัดทำหน่วยบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง บรู ณา
การงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ปรับโครงสรา้ งรายวชิ า หนว่ ยการเรียน สนบั สนุนให้ครจู ัด
กระบวนการเรยี นรู้แบบรวมพลัง 5 ขนั้ ตอน ( Co – 5step ) เน้นทกั ษะการคดิ ส่งเสรมิ ให้ครจู ัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนผา่ นชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) ท้ังน้ีสถานศึกษาได้จดั อบรมให้
ความรู้แก่ครูทกุ คนก่อนท่จี ะนำไปปฏิบตั ิจรงิ ครูในแตล่ ะระดบั ชัน้ จะมกี ารจัดการเรยี นการสอนแบบ
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระฯ เพื่อลดภาระงานของผเู้ รยี น แต่ละกลุ่มสาระวชิ ามีการจดั แหล่งเรยี นรู้ท้ัง
ภายในและภายนอกห้องเรยี น เพ่ือสร้างบรรยากาศแห่งการเรยี นรู้ ครูใชส้ ่อื การเรียนการสอน
นวตั กรรม และเทคโนโลยี ภมู ิปัญญาท้องถิ่น มกี ารประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของส่ือการ
สอนที่ใช้ ครทู ุกคนทำวิจัยในช้ันเรยี นอยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 เรือ่ ง โดยไดร้ ับการตรวจให้คำแนะนำ
จากคณะกรรมการวจิ ยั ของโรงเรียนและผู้ทรงคุณวุฒดิ ้านงานวจิ ยั

ผลการพัฒนา
ผลจากการพัฒนาครูจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จดั การเรยี นรู้ผ่าน
กระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ ได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั ของหลกั สตู รสถานศึกษา มี
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่สี ามารถนำไปปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ และนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ โดยใชว้ ิธกี ารวัด
และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียนตามท่หี ลกั สตู รสถานศกึ ษากำหนด มีผลการพฒั นาโดยภาพ
รวมอย่ใู นระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม

3.2 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้
กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นสง่ เสริมให้ครใู ช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ รวมทั้งภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

โดยการนำสือ่ มาประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้ผูเ้ รยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ้วยตนเองจากสือ่ ที่
หลากหลาย เชน่ สือ่ ออนไลน์ สื่อท่คี รจู ัดทำ และการเรยี นรู้ จากแหลง่ เรียนรู้ท้งั ภายในและภายนอก
โรงเรียน อาทิ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ภาษาไทย ห้องสมดุ โรงเรยี น ศนู ยก์ ารเรียนรูท้ ุกกลุม่ สาระฯ ศูนยส์ วน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น การศึกษาดูงานนอกสถานทส่ี าขาชา่ งเชื่อมโลหะ ฯลฯ ส่งผลผเู้ รยี นเรยี นรไู้ ด้

37

อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพนอกจากนส้ี ามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศ ในรูปแบบต่าง ๆ มาชว่ ยจดั กิจกรรม
การเรยี นร้ทู ี่ใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นในประเดน็ ต่างๆ มีโครงการสง่ เสริมให้
ครูผ้สู อนสรา้ งสื่อการจัดการเรยี นรู้ ครสู ร้างสือ่ เลือกเทคโนโลยีสารสนเทศ youtube ทางการศึกษา
ขอ้ สอบ Online ไว้ใน Google Drive เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถหาความรู้ ได้ดว้ ยตนเอง เป็นการสร้าง
สังคมแห่งการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเปน็ สื่อ ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใชส้ อื่ และเทคโนโลยี
สารสนเทศทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้โดยประเมินจากร้อยละของครทู ่จี ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ใี ห้ผ้เู รียนใชส้ ือ่
และเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรทู้ ี่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้

ผลการพัฒนา
ผลจากการพฒั นาครจู ัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้
ทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ โดยพจิ ารณาจากร้อยละของครูที่จัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ีใหผ้ เู้ รียนใชส้ ่อื เทคโนโลยี
สารสนเทศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ มผี ลการพฒั นาโดยภาพรวมอยู่ในระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม

3.3 มีการบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนเนน้ ให้ครจู ัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญเพื่อสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นมคี วาม

มน่ั ใจ กลา้ คดิ กลา้ แสดงออก เกิดแรงจงู ใจในการเรยี น ทำให้มคี วามสขุ ในการเรียน สง่ เสริมใหค้ รู
ชมเชย ยกยอ่ งนักเรียนเมอื่ นักเรียนทำความดที ง้ั ในห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี น นอกจากน้ยี งั มี
กจิ กรรมอืน่ ๆ ที่สง่ เสริมใหน้ ักเรียนมาโรงเรียนอยา่ งมคี วามสขุ เช่น กิจกรรมโฮมรมู กิจกรรมน้องไหว้
พี่ พ่ีไหว้น้อง การมอบเกยี รติบตั รนักเรียนทท่ี ำความดหี รือได้รบั รางวลั ต่าง ๆ เป็นต้น สำหรับในแต่ละ
หอ้ งทีม่ สี ื่ออปุ กรณ์เพ่ือสำหรบั การจัดการเรียนรู้ท่ที ันสมัยพร้อมใชง้ าน กระตุ้นให้นกั เรยี นเกิดการ
เรียนรูอ้ ย่างรวดเรว็ ส่งผลใหน้ ักเรยี นมาโรงเรยี นอย่างมคี วามสุข รกั และผูกพนั ระหวา่ งเพ่ือน ครแู ละ
โรงเรยี น

ผลการพฒั นา
ผลการพฒั นาครผู สู้ อนมีการจัดการเรียนการสอนโดยมีการบรหิ ารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก ทำ
ให้ผู้เรียนมคี วามสขุ มีความร่วมมอื ในการจัดการเรียนรู้ เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์ และการลงมือ
ปฏิบตั ิ มผี ลการพัฒนาโดยภาพรวมอย่ใู นระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

38

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น
กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นกำหนดใหค้ รทู ุกคนจัดทำแผนการจดั การเรยี นร้แู บบ Co-5Step มีกระบวนการ

ตรวจแผนการจดั การเรยี นรนู้ เิ ทศการสอนของครูทุกคนในโรงเรยี น ครูออกแบบการจดั การเรยี นรู้ตาม
ธรรมชาตขิ องวิชา เพ่ือพัฒนาความร้ทู ักษะและความสามารถด้านตา่ ง ๆ ของผเู้ รยี นดว้ ยกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย ใชส้ ื่อการสอนและแหล่งเรยี นรู้ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น มกี ระบวนการ
ประเมนิ ผลการเรยี นตามสภาพจริง เช่น การสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ภายในชั้นเรียน การตรวจใบ
งาน แบบฝึกหดั ผลงานตา่ งๆ การทดสอบความร้ดู ้วยแบบทดสอบ มีการกำหนดผูเ้ ช่ยี วชาญในกลมุ่
สาระการเรยี นรตู้ ่าง ๆ เพื่อตรวจสอบการออกข้อสอบกลางภาคและปลายภาคเรยี นใหส้ อดคล้องกบั
จุดประสงค์การเรยี นรู้ และมีรูปแบบทีเ่ หมาะสมเพอื่ ให้ผลการทดสอบสะทอ้ นความรคู้ วามสามารถ
ทางดา้ นการคดิ วเิ คราะห์ และการแกป้ ญั หาของผู้เรยี นได้อย่างแทจ้ รงิ สะทอ้ นผลการทดสอบไปยัง
ผู้เรียนเพื่อให้เกิดการพัฒนาความรคู้ วามสามารถใหเ้ ป็นตามมาตรฐานทแี่ ตล่ ะรายวชิ ากำหนด ครมู ี
การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพยิง่ ขน้ึ

ผลการพฒั นา
ผลการพฒั นาครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้อยา่ งน้อย 1 รายวิชา มกี ารวเิ คราะห์
หลักสูตรมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั ของหลักสูตรสถานศึกษา ทำให้เกิดการพัฒนาการสอนของครใู ห้
มีคณุ ภาพ มกี ารนิเทศการสอนเพอื่ พฒั นา ปรับปรงุ การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ การประเมนิ ผล
ผู้เรยี นใหเ้ หมาะสมในการจัดการเรียนรู้ โดยครทู ุกคนได้มีการแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นเกี่ยวกับการ
จดั การเรียนรู้ในชั้นเรียน สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการพัฒนาความรู้และทกั ษะการออกแบบการจดั การเรยี นรู้
ของครูทุกคน ครจู ัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ เช่น กิจกรรมการ
เรยี นรสู้ ู่โครงงาน (IS) ครมู อบหมายงานใหผ้ ูเ้ รียนเป็นระยะ ๆ มกี ารตรวจสอบความถกู ต้อง แจ้ง
ผเู้ รยี น และตรวจผลงานซ้ำจนเปน็ ผลงานทม่ี ีคุณภาพ ผเู้ รียนไดล้ งมือสืบคน้ ข้อมูล ทำงานเป็นกลมุ่
และเกิดช้ินงานหรือนวัตกรรม มีเวทใี หผ้ เู้ รียนไดแ้ สดงผลงานและนำเสนอผลงานของตนเองในระดบั
โรงเรยี น และผลงานบางส่วนได้เขา้ ร่วมการแข่งขันภายนอกโรงเรยี น ครูทกุ คนมกี ารประเมินผู้เรียน
ด้วยเครื่องมือและวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลที่หลากหลาย เหมาะสมกบั เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้
ของแต่ละรายวิชา โดยเครือ่ งมอื ในการวดั และประเมินผลมีการตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้
ประเมินคุณภาพผ้เู รียน เชน่ ข้อสอบ โดยข้อสอบทกุ ฉบบั ถูกตรวจสอบด้วยผเู้ ชย่ี วชาญในแต่ละกลมุ่
สาระการเรียนรู้ สามารถนำไปใช้ทดสอบความร้คู วามสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรยี น ผู้เรียนได้รับ
ขอ้ มลู ย้อนกลับท้ังผลการเรยี น การทำงาน และผลงานต่าง ๆ จากครผู ู้สอน ผู้เรียนสามารถพฒั นา
ปรบั ปรงุ ผลการเรยี นและผลการประเมนิ ผลงานตา่ ง ๆ ให้ไดร้ ะดบั คุณภาพท่ีครูกำหนด

39

มผี ลการพัฒนาโดยภาพรวมอยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม

3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้
กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนไดส้ ง่ เสริมให้ครูไดแ้ ลกเปลี่ยนเรียนร้ซู ึ่งกันและกันโดยผ่านโครงการหรอื กจิ กรรม

ตา่ ง ๆ อาทิ งานนิเทศการสอน กจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) โดยมีการทำ PLC
เพอ่ื นำข้อมลู ทไี่ ด้รบั มาแลกเปล่ียนเรยี นรู้และพัฒนางาน พัฒนาการจดั การเรียนการสอนอย่างเปน็
ระบบ และเปน็ รูปธรรม ดงั น้ี 1. จดั ประชมุ เพ่ือช้ีแจงแนวทางในการทำ PLC อย่างเป็นระบบ ตาม
ระบบการเรียนรู้ของโรงเรียน 2. ติดตามตรวจสอบการทำ PLC อย่างสมำ่ เสมอ และนำเสนอ
ตามลำดบั ขน้ั จนกว่าจะสามารถนำไปใช้ได้จริง โรงเรียนมกี ารสนับสนุนครูในการนำเสนอผลงานดเี ด่น
(Best practice) OBEC AWARD ด้านต่าง ๆ ทุกปี และมีการประเมินการจดั กิจกรรมการเรยี นการ
สอนของครูทุกคนโดยผ้เู รยี นในแตล่ ะรายวิชา

ผลการพฒั นา
ผลการพัฒนาครูทุกคนไดร้ ับการนเิ ทศการสอนจากครูในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ของตน สง่ ผล
ให้เกดิ การพฒั นาความรู้ ทกั ษะการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ร่วมกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วชิ าชพี (PLC) โดยรว่ มประชุมหารอื เพื่อพฒั นาการเรยี นการสอนในรายวิชาท่ีสอนร่วมกัน เกดิ การ
แลกเปล่ยี นปญั หาทีเ่ กดิ ขนึ้ ในการจดั การเรยี นการสอนของตนเอง รว่ มกันออกแบบการจัดการเรียนรู้
เพ่อื แก้ปัญหาหรือสร้างนวัตกรรมการเรยี นรูเ้ พื่อนำไปพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนในรายวิชานนั้
ต่อไป นอกจากท่ีครจู ะไดร้ ับประสบการณ์ใหม่ ได้รับความรู้ หรอื นวตั กรรมทีน่ ำไปใช้ในการสอนของ
ตนแลว้ ครยู ังเกิดทักษะการทำงานกล่มุ ไดร้ บั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่นื และร่วมแสดงความคิดเห็นของ
ตนเอง เกิดความสามัคคีในองค์กรและเป็นการพฒั นาองค์กรท่ีทกุ คนมสี ่วนร่วมอีกด้วย นำเสนอ
ผลงานดเี ด่น (Best practice) เป็นเวทที ี่ให้ครูแตล่ ะคนได้แสดงผลงานของตนเองและของผู้เรยี นทเ่ี กิด
จากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เกดิ ความรว่ มมือในการทำงาน และเกิดความคิดที่จะพฒั นา
ผลงานของตนเองและผู้เรียนต่อไป นอกจากน้ันยงั เป็นการเปดิ โอกาสให้โรงเรยี นได้เผยแพรผ่ ลงาน
ของครแู ละของโรงเรียนไปยังภายนอก สรา้ งชื่อเสยี งกับโรงเรียนไดอ้ ีกดว้ ย ครูทุกคนได้รับการประเมนิ
คณุ ภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยผ้เู รยี น เพื่อให้ครนู ำขอ้ มลู ไปพัฒนาการจดั กิจกรรมการ
เรียนการสอนของตนเองในปีการศกึ ษาต่อไป มผี ลการพัฒนาโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับคุณภาพ
ยอดเย่ียม

40

3.6 มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและสามารถนำไป
ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน

กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมกี ารจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการสวนพฤกศาสตรโ์ รงเรียน เพื่อใหส้ อดคล้อง
กับการทโี่ รงเรียนเขา้ ร่วมโครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชอันเนอื่ งมาจาก พระราชดำรฯิ ได้ดำเนนิ งาน
สนองพระราชดำริ จดั ตงั้ งาน "สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน" เพ่ือเปน็ สื่อในการสร้าง จติ สำนึกด้าน
อนุรักษ์พนั ธุกรรมพืช โดยใหน้ ักเรยี นได้ใกล้ชิดกบั พืชพรรณไม้ เหน็ คุณค่า ประโยชน์ ความ สวยงาม
อนั จะก่อใหเ้ กดิ ความคิดทีจ่ ะอนุรกั ษ์พชื พรรณต่อไป โดยครผู ู้สอนจะดำเนินการสอนสัปดาหล์ ะ 1
คาบ และต้องจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้บรู ณาการสวนพฤษศาสตรโ์ รงเรยี นอยา่ งนอ้ ยวิชาละ 1
แผน เพอื่ ให้ผ้เู รยี นเกดิ ความรัก หวงแหนและเกิดจติ อนุรักษ์และเห็นคุณค่าของสง่ิ แวดล้อม

ผลการพัฒนา
โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครูรอ้ ยละ 100
มีแผนการสอนบรู ณาการสวนพฤกษศาสตร์ และโรงเรียนมีแหล่งรวบรวมตวั อยา่ งพรรณไม้ ขอ้ มูล
พรรณไมแ้ ละการเกบ็ รกั ษาเพื่อประโยชน์ของการศกึ ษา และเผยแพรส่ ่ภู ายนอก ส่งผลให้นักเรียนเกดิ
ความรักหวงแหนและเห็นคุณคา่ ของของพืชพรรณไม้ ตามแนวพระราชดำริ ฯ รวมทัง้ มีจิตอนุรักษ์และ
เหน็ คณุ คา่ ของสิ่งแวดลอ้ ม มีผลการพัฒนาโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

3. จดุ เดน่
1. ครมู ีความต้ังใจ มงุ่ มั่นในการพัฒนาการสอนโดยจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นแสวงหาความรู้จาก

ส่ือเทคโนโลยีดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เนน้ ทักษะกระบวนการคิด ไดป้ ฏิบัตจิ รงิ มีแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อมทเี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้

2. ผลงานวิจัยของครทู ุกคนได้รับการตรวจประเมนิ จากคณะกรรมการวิจัยพร้อมทงั้ ให้
คำแนะนำท่คี รูสามารถพัฒนาต่อยอดได้เปน็ อยา่ งดี

3. โรงเรยี นดำเนินการโดยใช้ระบบการนิเทศ ผ่านครูพเี่ ลี้ยงอาวโุ ส จึงทำใหค้ รูผู้สอนพบ
ปญั หา และสามารถนำปญั หาตา่ งๆ ในการจดั การเรียนร้แู ละการบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวกมา
พฒั นาตนเอง เพ่ือการพฒั นาผู้เรยี นได้อย่างแทจ้ รงิ

4. ครูเห็นความสำคญั และเข้ารว่ มกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) สง่ ผลให้
เกดิ ความรว่ มมือระหวา่ งครผู ู้สอนในรายวิชาเดยี วกัน มกี ารแลกเปล่ยี นประสบการณก์ ารจัดกจิ กรรม

41

การสอน สง่ ผลให้เกดิ การพัฒนาความรคู้ วามสามารถ ทักษะการจดั กจิ กรรมและพฒั นานวตั กรรมเพื่อ
ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น

5. โรงเรียนสง่ เสรมิ ใหค้ รูศกึ ษาต่อในระดบั ท่สี ูงข้นึ เป็นการพฒั นาความรู้ความสามารถของ
ครูแล้วนำมาพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นต่อในอนาคต

4. จดุ ควรพฒั นา
1. สถานศกึ ษาควรส่งเสริมให้ครพู ฒั นากระบวนการเรียนรู้และการจัดกจิ กรรมการเรียนการ

สอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ใหม้ ีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น และส่งเสรมิ การสอนแบบโครงงานให้
ครบทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ครอบคลุมทุกชั้นเรียน

2. สถานศกึ ษาวางแผนส่งเสริมใหค้ รูมีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคุณวุฒิความร้คู วามสามารถ
ตรงกับงานที่รับผิดชอบมุง่ มน่ั พฒั นาตนเอง สง่ เสรมิ ครูเขา้ รับการอบรวมประชมุ สัมมนาผลงานทาง
วชิ าการใหเ้ ปน็ ท่ีประจักษ์ ศึกษาดูงานในวชิ าที่สอนเพอื่ เพ่ิมพนู ความรู้และมีเทคนิควธิ ีการใหม่ ๆ มา
ใช้ในการจดั การเรยี นการสอน

3. การบริหารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวก อาจจำเปน็ ต้องมีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ เพื่อให้
ผเู้ รียนเขา้ ถงึ มีความอยากรู้ อยากเรียนและมีความสุขในการเรยี นรู้มากย่ิงข้นึ เช่น การใชส้ มาร์ทโฟน
หรอื เทคโนโลยใี หมๆ่ เขา้ มาชว่ ยในการจดั การเรียนรู้ เป็นตน้

4. ควรจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การคิดคำนวณให้มากขนึ้ เพ่ือยกระดับผลการเรยี นดา้ นนี้

5. แผนพฒั นาเพ่อื ให้ได้มาตรฐานท่สี ูงข้นึ
1. จัดทำโครงการพฒั นาครวู ัดประเมินผลตามสภาพจริงทย่ี ่งั ยนื
2. จดั ทำโครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรียนใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด
3. การพัฒนาครูสู่การบริหารจัดการชัน้ เรียนเชงิ บวก

42

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา สรปุ ได้ ดงั นี้ คา่ ระดบั
เป้าหมาย คุณภาพ/
มาตรฐานท่ี 1 อยู่ในระดับคุณภาพ 4 ดเี ลศิ ปี 2562 รอ้ ยละ
มาตรฐานท่ี 2 อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ 5 ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 3 อยใู่ นระดบั คุณภาพ 5 ยอดเย่ียม ดี ดเี ลศิ

ท่ี ประเด็นพิจารณา ดี ดเี ลิศ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดี ยอดเยี่ยม
1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสือ่ สาร และ ดี ยอดเย่ียม
ยอดเยยี่ ม ยอดเยี่ยม
การคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมี ดี ดี
ดี ยอดเยี่ยม
วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และ
แก้ปัญหา ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม
4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม
สอ่ื สาร ยอดเย่ยี ม
5) มีผลสมั ฤทธิ์การทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ดี ยอดเย่ียม
6) มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชพี ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม
1.2 คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น ดเี ลศิ
1) มีคุณลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ีตามทสี่ ถานศึกษากำหนด
2) มคี วามภูมิใจในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย
3) ยอมรับทจี่ ะอย่รู ว่ มกันบนความแตกต่างและ
ความหลากหลาย
4) มีสขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
2.1 มเี ปา้ หมายวิสัยทศั น์และพนั ธกิจทสี่ ถานศึกษากำหนด
ชดั เจน

43

ที่ ประเด็นพจิ ารณา คา่ ระดับ
เปา้ หมาย คณุ ภาพ/
2.2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ปี 2562 ร้อยละ
2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคุณภาพของผ้เู รยี นรอบ ยอดเยย่ี ม
ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม
ดา้ นตาหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลมุ่ เปา้ หมาย ดีเลิศ
2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใช้มีความเชยี่ วชาญทาง ยอดเยยี่ ม
ดีเลิศ
วชิ าชีพ ยอดเยยี่ ม
2.5 จัดสภาพ แวดล้อม ทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการ ดีเลศิ
ยอดเยี่ยม
จัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ดเี ลิศ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ าร ยอดเยี่ยม
ดี
จดั การและการจดั การเรียนรู้ ยอดเยี่ยม
2.7 จดั ให้มีโครงการ/กจิ กรรมเพ่ือรองรับการพัฒนาเขต ดีเลิศ
ยอดเยีย่ ม
เศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) ดเี ลศิ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
ดี ยอดเย่ยี ม
ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม
3.1 จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจรงิ และ ดีเลิศ
ยอดเยี่ยม
สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวัน ยอดเย่ียม
3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทีเ่ อ้อื ตอ่

การเรียนรู้
3.3 มกี ารบริหารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผล

มาพัฒนาผเู้ รยี น
3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับ เพ่ือ

พฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

44

สว่ นที่ 3
สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความต้องการชว่ ยเหลอื

ในปีการศึกษา 2562 โรงเรยี นบ้านฉางกาญจนกลุ วทิ ยา ได้พัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาท่โี รงเรยี นกำหนด 3 มาตรฐาน โดยการดำเนินงานตามโครงการ กิจกรรมท่ี
กำหนดในแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ซึง่ มผี ลสำเร็จตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นรวมทงั้ โรงเรยี นมีการ
สนับสนุน การดำเนนิ งานประจำทั้งดา้ นการจดั การเรยี นการสอนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ การจัด
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของผ้เู รียนทัง้ ในเวลาและนอกเวลาเรียนด้วยรปู แบบตา่ ง ๆ และมี
การจัดระบบการบริหารจดั การทีส่ ่งเสริมสนับสนนุ คณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของ
โรงเรียน

จากการดำเนนิ งานดงั กลา่ ว ส่งผลใหโ้ รงเรียนมผี ลการประเมินคณุ ภาพภายในมาตรฐาน
ท่ี 1 อยู่ในระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 2 อยใู่ นระดับยอดเย่ยี ม และมาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับยอดเย่ยี ม
โดยมผี ้ทู รงคณุ วุฒิตามทต่ี น้ สงั กดั ประกาศแตง่ ตงั้ ร่วมประเมินดว้ ย ดงั มีรายละเอียดของผลการ

ประเมินตนเอง ดงั นี้

จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา

1. คุณภาพของผเู้ รยี น 1. คณุ ภาพของผูเ้ รยี น
1. ผูเ้ รยี นมีสุขนิสยั ในการดูแลสขุ ภาพและ 1. ผู้เรียนในระดับชั้น ม.1 – ม.3 ยังต้อง

ออกกำลังกาย สม่ำเสมอ มีน้ำหนกั ส่วนสูง เร่งพัฒนาด้านการนำเสนอ การอภิปราย และ
มีสมรรถภาพทางกายและออกกำลังกายตาม แลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างสมเหตสุ มผล และต้อง
เกณฑม์ าตรฐาน แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้
ของโรงเรียน ใช้คำพูดสุภาพ มีสัมมาคารวะ อย่างเหมาะสม
แสดงความเคารพพ่อแม่ ครแู ละผู้อื่นได้อย่าง
เหมาะสม ตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 2. ผู้เรียนในระดับชั้น ม.4 – ม.6 ยังต้อง
“ยิม้ ไหว้ ให้ปนั ร่วมกนั บำเพญ็ ประโยชน”์ ได้รับการส่งเสริมในด้านทัศนคติที่ดีต่อความ
เป็นไทย ไม่หลงใหลกับค่านิยมต่างชาติ จน
2. ผู้เรียนมีความซื่อสัตย์ ความกตัญญู เกิดการลอกเลียนแบบ ทำให้ลืมวัฒนธรรมอัน
รู้จักการช่วยเหลือ การเสียสละ ใช้ทรัพย์สิน ดีงามของไทย
ของตนเองและของโรงเรียนอย่างประหยัด
เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้า

45


Click to View FlipBook Version