The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม_เอกสารประกอบการประชุมรายงานความก้าวหน้า 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hi2ura.pon, 2025-03-05 02:36:27

เล่ม_เอกสารประกอบการประชุมรายงานความก้าวหน้า 2566

เล่ม_เอกสารประกอบการประชุมรายงานความก้าวหน้า 2566

Keywords: ศวร.สุพรรณบุรี,รายงานความก้าวหน้า,งานวิจัยอ้อย และพืชอื่นๆ

สารบัญ ชื่อการทดลอง หน้า สถานการณ์อ้อยและน้ำตาล ปีการผลิต 2566/2567 1 การศึกษาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพที่เหมาะสมในการผลิตอ้อยระบบเกษตรอินทรีย์ 5 การศึกษาวิธีกำจัดวัชพืชที่เหมาะสมในการผลิตอ้อยในระบบเกษตรอินทรีย์ 12 ศึกษาอัตราปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศและปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ที่เหมาะสมต่อการผลิตเมล็ดพันธุ์งา อินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี 18 การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม 24 การผสมพันธุ์อ้อยชุดปี 2564-2566 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม 26 การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม 30 การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อย ชุดปี 2560 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม 34 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรโคลนอ้อย ชุดปี 2558 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม 37 การตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของอ้อยโคลนดีเด่นชุดปี 2558 สำหรับสภาพชลประทานและ น้ำเสริม 42 ศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงของโคลนอ้อยดีเด่นโคลนอ้อยชุดปี 2560 สำหรับสภาพ ชลประทานและน้ำเสริม 49 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร พันธุ์ข้าวโพดหวาน 51 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว 53 การการคัดเลือกพันธุ์อ้อยคั้นน้ำในเขตชลประทานชุดปี 2565 56 การรวบรวมพันธุ์และศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ข้าวฟ่าง 59 การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรพันธุ์ข้าวฟ่างหวานเพื่อผลผลิตและคุณภาพสูง 63 การศึกษาอายุเก็บเกี่ยวมี่เหมาะสมต่อการใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางรายที่มีผลต่อผลผลิตและ คุณภาพเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 65 ศึกษาการจำแนกเชื้อราสาเหตุโรคเหี่ยวเน่าแดง: ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิธีการเก็บรักษาเชื้อรา Colletotrichum falcatum และ Fusarium moniliforme สาเหตุของโรคเหี่ยวเน่าแดงในอ้อย 68 การศึกษาประชากรจักจั่นอ้อยและปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดในพื้นที่ปลูกอ้อยที่สำคัญ 72


กำหนดการ การประชุมรายงานความก้าวหน้างานวิจัยอ้อย และพืชอื่น ๆ ปี 2566 วันที่ 25 - 26 มิถุนายน 2567 ณ อาคารฝึกอบรม ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี และระบบ Zoom Cloud Meeting ............................................ วันที่ 25 มิถุนายน 2567 ภาคเช้า 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 – 09.30 น. พิธีเปิด ประธานในพิธีเปิดการประชุม โดย นายศรุต สุทธิอารมณ์ ผู้อำนวยการสถาบันพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กล่าวรายงาน โดย นายอนุวัฒน์ จันทรสุวรรณ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี สรุปภาพรวมการดำเนินงานวิจัย ปี 2566 โดย นางวาสนา วันดี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัย สถานการณ์อ้อย โดย นายสถาพร โชติช่วง นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ ประธาน : นางนงลักษ์ ปั้นลาย นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ เลขานุการ : นางสาวกนกวรรณ สุขกรม นักวิชาการเกษตร โครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยอินทรีย์ กิจกรรม 1. การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตอ้อยใน ระบบเกษตรอินทรีย์ 09.30 - 09.50 น. การศึกษาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพที่เหมาะสม ในการผลิตอ้อยระบบ เกษตรอินทรีย์ โดย นางสาวช่ออ้อย กาฬภักดีนักวิชาการเกษตรชำนาญการ 09.50 – 10.10 น. การศึกษาวิธีกำจัดวัชพืชที่เหมาะสมในการผลิตอ้อยระบบเกษตรอินทรีย์ โดย นางสาวช่ออ้อย กาฬภักดีนักวิชาการเกษตรชำนาญการ 10.10 – 10.40 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม


โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่บางชนิด ในระบบเกษตรอินทรีย์ กิจกรรม 2. เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์งา และข้าวโพดหวานอินทรีย์ 10.40 – 11.00 น. ศึกษาอัตราปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศและปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ที่เหมาะสมต่อการ ผลิตเมล็ดพันธุ์งาอินทรีย์ในพื้นที่ จ. ลพบุรี โดย นางสาวระพีพันธุ์ชั่งใจ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยเพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้ผลผลิต ในเขตดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียวด้วยเทคโนโลยีปรับปรุงพันธุ์ สมัยใหม่ กิจกรรม 1. การปรับปรุงพันธุ์อ้อยเพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้ผลผลิตที่ เหมาะสมกับดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียว 11.00 – 11.20 น. การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 ที่เหมาะสมกับเขตดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียว โดย นางสาวปิยธิดา อินทร์สุข นักวิชาการเกษตรชำนาญการ โครงการวิจัย การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานด้วยนวัตกรรมเพื่อการผลิต ในเขตชลประทานและน้ำเสริม กิจกรรม 1. การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานภายใต้สภาพชลประทานและ น้ำเสริม 11.20 – 11.40 น. การผสมพันธุ์อ้อยชุดปี 2564-2566 สำหรับสภาพชลประทานและ น้ำเสริม โดย นายอุดมศักดิ์ ดวนมีสุข ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการ เกษตรราชบุรี 11.40 – 12.00 น. การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 สำหรับสภาพชลประทาน และน้ำเสริม โดย นางสาวอัจฉราภรณ์ วงศ์สุขศรีนักวิชาการเกษตรชำนาญการ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน


ภาคบ่าย ประธาน : นางสาวระพีพันธุ์ ชั่งใจ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ เลขานุการ : นางสาววริศรา บุราคร นักวิชาการเกษตร 13.00 – 13.20 น. การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อย ชุดปี 2560 สำหรับสภาพ ชลประทานและน้ำเสริม โดย นายอุดมศักดิ์ ดวนมีสุข ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการ เกษตรราชบุรี 13.20 – 13.40 น. การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรโคลนอ้อย ชุดปี 2558 สำหรับสภาพ ชลประทานและน้ำเสริม โดย นายสุวัฒน์ พูลพาน นักวิชาการเกษตรชำนาญการ กิจกรรม 2. การศึกษาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยโคลน ดีเด่นที่เหมาะสมกับเขตชลประทานและน้ำเสริม 13.40 – 14.00 น. การตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของอ้อยโคลนอ้อยชุดปี 2558 สำหรับ สภาพชลประทานและน้ำเสริม โดย นางวาสนา วันดีนักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ 14.00 – 14.20 น. ศึกษาปฏิกิริยาต่อโรคเหี่ยวเน่าแดงของโคลนอ้อยดีเด่นโคลนอ้อย ชุดปี 2560 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม โดย นางสาวอุไรวรรณ พงษ์พยัคเลิศ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ 14.20 – 14.40 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม โครงการวิจัย วิจัยการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมเพื่อเพิ่ม ผลผลิตคุณภาพบริโภคและทนทานต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่ กิจกรรม 1. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวาน 14.40 – 15.00 น. การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรข้าวโพดหวาน โดย นายสมบูรณ์ วันดี นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ โครงการวิจัย วิจัยการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว กิจกรรม 2. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว 15.00 – 15.20 น. การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกรข้าวโพดข้าวเหนียว โดย นายสมบูรณ์ วันดี นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ


โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยคั้นน้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตและ คุณภาพ กิจกรรม 1. การพัฒนาและคัดเลือกพันธุ์อ้อยคั้นน้ำในโคลนดีเด่น 15.20 – 15.40 น. การคัดเลือกพันธุ์อ้อยคั้นน้ำในเขตชลประทานชุดปี 2565 โดย นางสาวปิยธิดา อินทร์สุข นักวิชาการเกษตรชำนาญการ กิจกรรม 2. วิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวฟ่างเพื่อผลผลิตและคุณภาพ 15.40 – 16.00 น. การรวบรวมพันธุ์และศึกษาลักษณะประจำพันธุ์ข้าวฟ่าง โดย นายสมบูรณ์ วันดี นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ 16.00 – 16.20 น. การเปรียบเทียบในไร่เกษตรกร: พันธุ์ข้าวฟ่างหวานเพื่อผลผลิตและ คุณภาพสูง โดย นายสุวัฒน์ พูลพาน นักวิชาการเกษตรชำนาญการ 16.20 – 16.30 น. ข้อเสนอแนะ / ข้อคิดเห็น วันที่ 26 มิถุนายน 2567 ภาคเช้า ประธาน : นางสาวช่ออ้อย กาฬภักดี นักวิชาการเกษตรชำนาญการ เลขานุการ : นางสาวเมสินี เกษสกุล นักวิชาการเกษตร โครงการวิจัย วิจัยการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่โดยการประยุกต์ใช้ เครื่องจักรกลการเกษตร กิจกรรม 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์งาด้วยเครื่องจักรกล การเกษตร 09.00 – 09.20 น. ศึกษาอัตราเมล็ดพันธุ์และวิธีปลูกงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 เพื่อผลิต เมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับการใช้เครื่องเกี่ยวแบบวางรายที่ในพื้นที่ จังหวัดลพบุรี โดย นางสาวระพีพันธุ์ชั่งใจ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ


โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชอ้อยอย่างมี ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับพื้นที่เฉพาะ กิจกรรม 1. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อยที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 09.20 – 09.40 น. ผลของการจัดการเศษซากอ้อยต่อการย่อยสลายและการให้ผลผลิตอ้อย โดย นางสาวสุมาลี โพธิ์ทอง นักวิชาการเกษตรชำนาญการ 09.40 – 10.00 น. ผลของการขาดน้ำต่อการเจริญเติบโตและการสูญเสียผลผลิตของอ้อย โดย นางสาวสุมาลี โพธิ์ทอง นักวิชาการเกษตรชำนาญการ โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการป้องกันกำจัดโรคและแมลง ศัตรูอ้อย กิจกรรม 2. การป้องกันกำจัดโรคเหี่ยวเน่าแดงในอ้อย 10.00 – 10.20 น. ศึกษาการจำแนกเชื้อราสาเหตุเหี่ยวเน่าแดง ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิธีการ เก็บรักษาเชื้อรา C. falcatum และ F. moniliforme สาเหตุของโรคเหี่ยว เน่าแดงในอ้อย โดย นางสาวอุไรวรรณ พงษ์พยัคเลิศ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ 10.20 – 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรม 3. การป้องกันกำจัดด้วงหนวดยาวและจักจั่นในอ้อย 11.00 – 11.20 น. การศึกษาประชากรจักจั่นอ้อยและปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดในพื้นที่ปลูกอ้อย ที่สำคัญ โดย นายสุวัฒน์ พูลพาน นักวิชาการเกษตรชำนาญการ 11.20 – 11.30 น. สรุปผล / แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดย นางวาสนา วันดี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัย 11.30 – 12.00 น. พิธีปิดการประชุม โดย นายอนุวัฒน์ จันทรสุวรรณ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี หมายเหตุ: กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม


1 สถานการณ์อ้อยและน้ำตาล ปีการผลิต 2566/67 สถานการณ์ของโลก ▪ ด้านการผลิต ปีการผลิต 2566/67 ผลิตน้ำตาลได้ 183.5 ล้านตัน โดยเพิ่มจากปีก่อน 0.35 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 1.89 โดยมีประเทศที่ผลิตน้ำตาลรายใหญ่ของโลก ได้แก่ บราซิล อินเดีย จีน สหรัฐฯ และไทย ในขณะที่ การบริโภคน้ำตาลของโลกปี 2566/67 อยู่ที่ 178.2 ล้านตัน มีการขยายตัว 1.02 % จากปีการผลิต 2565/66 (Tabasoom Watak, 2023) สำหรับการส่งออก พบว่า ในปี 2566/67 มีปริมาณการส่งออกน้ำตาล 68.20 ล้านตัน ปรับตัวลดลงจากปีก่อน 1.51 % การนำเข้า พบว่า ในปี 2566/67 มีปริมาณการนำเข้าน้ำตาล 56.9 ล้านตัน ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน 0.85 % (United States Department of AgricultureSugar, 2024) ดังนั้น เมื่อรวมกับสมดุลน้ำตาลของทั้งสองปีที่ผ่านมาจะเห็นว่า น้ำตาลในตลาดโลกสมดุลอยู่ประมาณ 11.30 ล้านตัน (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 ผลผลิต การบริโภค การส่งออก และการนำเข้าน้ำตาลของโลกปีการผลิต 2558/59 - 2566/67 หน่วย : ล้านตัน ปีการผลิต ผลผลิต บริโภค ส่งออก นำเข้า สมดุล 2558/59 164.74 169.25 53.87 54.64 -4.51 2559/60 174.05 170.59 59.01 54.41 3.46 2560/61 194.26 173.27 64.33 54.14 20.99 2561/62 179.66 172.62 56.01 51.53 7.04 2562/63 166.18 171.58 54.12 50.71 -5.40 2563/64 169.03 171.33 62.75 62.79 -2.30 2564/65 171.91 172.44 58.26 58.05 -0.53 2565/66 183.15 176.37 69.25 57.39 6.78 2566/67 183.50 1 178.202 68.201 56.901 11.301 ที่มา : 1 United States Department of AgricultureSugar (2024) 2 Tabasoom Watak (2023) ▪ ด้านการตลาด ราคาน้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์คช่วงวันที่ (27 – 31 พฤษภาคม 2567) ซึ่งเป็นสัปดาห์ที่ 22 ของปี 2567 เคลื่อนไหวผันผวน และปิดตลาดครั้งสุดท้ายด้วยราคาที่ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา (20 – 24 พฤษภาคม 2567) ในช่วงต้นสัปดาห์ที่ 22 ราคาเริ่มมีความเคลื่อนไหวที่เพิ่มขึ้น โดยที่ตลาดนิวยอร์คมีราคาสูงสุดในรอบ 10 วันที่ผ่านมา ราคาน้ำตาลเคลื่อนไหวสูงขึ้นกว่าเดิม โดยก่อนหน้านี้ราคาน้ำตาลปรับตัวลดลงจากปัจจัยต่างๆ กระตุ้นให้ความต้องการน้ำตาลเพิ่มขึ้นด้าน Green Pool Commodity Specialists รายงานว่า ประเทศ


2 ผู้บริโภคน้ำตาลรายใหญ่ รวมถึงจีน ซึ่งเป็นผู้นำเข้าน้ำตาลที่ใหญ่ที่สุดของโลก มีการเพิ่มการนำเข้าน้ำตาลช่วงที่ ราคาลดลงถึงระดับต่ำสุดในรอบ 1 ปีครึ่ง ต่อมาในช่วงกลางสัปดาห์ของเดือนพฤษภาคมราคาน้ำตาลเริ่ม เคลื่อนไหวลดลง ภายใต้แรงกดดันจากการอ่อนค่าของเงินเรียลบราซิล โดยค่าเงินเรียลบราซิลอ่อนสุดในรอบ 5 สัปดาห์ เมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ สนับสนุนให้มีการขายน้ำตาลเพื่อการส่งออกของผู้ผลิตน้ำตาลใน บราซิล จากนั้นในช่วงท้ายสัปดาห์ราคาน้ำตาลได้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้นจากจุดต่ำสุด เนื่องจากมีการเข้ามาซื้อ น้ำตาลคืนจากตลาดเพื่อชำระบัญชีตั๋วขาย (Short – Covering) และราคาน้ำตาลในวันที่ 31 พฤษภาคม 2567 ได้รับปัจจัยด้านลบจากข่าวปริมาณผลผลิตน้ำตาลของบราซิลที่เพิ่มสูงขึ้น ราคาน้ำตาลตามสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้าเดือนกรกฎาคม 2567 เคลื่อนไหวอยู่ระหว่าง 18.03 – 18.80 เซนต์ต่อปอนด์ และปิดตลาดครั้ง สุดท้ายที่ 18.30 เซนต์ต่อปอนด์ ลดลงจากสัปดาห์ก่อน -0.11 เซนต์ต่อปอนด์ หรือ -0.60 % และราคาน้ำตาล ตามสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเดือนตุลาคม 2567 เคลื่อนไหวอยู่ระหว่าง 18.03 – 18.76 เซนต์ต่อปอนด์ และปิด ตลาดครั้งสุดท้ายที่ 18.29 เซนต์ต่อปอนด์ ลดลงจากสัปดาห์ก่อน -0.10 เซนต์ต่อปอนด์ หรือ -0.54 % (สำนักงานอ้อยคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, 2567ก) สถานการณ์ในประเทศ ▪ ด้านการผลิต ปีการผลิต 2566/67 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกอ้อย 11,125,480 ไร่ พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 4,960,255 ไร่ รองลงมา คือ ภาคกลาง 2,916,324 ไร่ ภาคเหนือและภาคตะวันออก 2,607,594 และ 641,307 ไร่ ตามลำดับ โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกอ้อยมากสุด 10 จังหวัด ได้แก่ กำแพงเพชร นครสวรรค์อุดรธานีกาญจนบุรี นครราชสีมา ลพบุรีขอนแก่น สุพรรณบุรีชัยภูมิและเพชรบูรณ์ปีการผลิต 2566/2567 มีโรงงานน้ำตาลเปิดหีบอ้อยทั้งสิ้น 57 โรงงาน มีปริมาณอ้อยเข้าโรงงาน 82.16 ล้านตัน แยกเป็น อ้อยสด จำนวน 57.81 ล้านตัน และอ้อยไฟไหม้จำนวน 24.35 ล้านตัน โดยเมื่อเปรียบเทียบปริมาณอ้อย เข้าโรงงานกับปีการผลิต 2565/2566 พบว่า ลดลง 11.72 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 12.48 ด้านคุณภาพ ความหวานเฉลี่ย 12.35 ซีซีเอส เปรียบเทียบกับปีการผลิต 2565/2566 พบว่า ลดลง 0.97 ซีซีเอส คิดเป็น ร้อยละ 7.27 ผลิตน้ำตาลทรายต่อตันอ้อยได้ 107.20 กิโลกรัม เปรียบเทียบกับปีการผลิต 2565/2566 พบว่า ลดลง 10.59 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 8.99 และผลิตน้ำตาลทรายได้8.80 ล้านตัน เปรียบเทียบกับปีการผลิต 2565/2566 พบว่า ลดลง 2.25 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 20.36 (ตารางที่ 2) (สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและ น้ำตาลทราย, 2567ข)


3 ตารางที่ 2 การผลิตอ้อยและน้ำตาลของประเทศไทย ปีการผลิต 2557/58 – 2566/67 ปีการผลิต พื้นที่ปลูก (ล้านไร่) ปริมาณอ้อย (ล้านตัน) คุณภาพความหวาน (ซีซีเอส) ผลผลิตน้ำตาล ต่อตันอ้อย (กก.) ปริมาณน้ำตาลทราย (ล้านตัน) 2557/58 10.53 105.96 12.23 106.66 11.34 2558/59 11.01 94.05 11.95 104.05 9.78 2559/60 10.99 92.95 12.28 107.81 10.02 2560/61 11.54 134.93 12.48 109.03 14.71 2561/62 12.24 130.97 12.64 111.33 14.58 2562/63 11.96 74.89 12.68 110.75 8.29 2563/64 10.86 66.66 12.91 113.81 7.58 2564/65 11.02 92.07 12.70 110.07 10.13 2565/66 11.39 93.88 13.32 117.79 11.05 2566/67 11.12 82.16 12.35 107.20 8.80 ที่มา : สำนักงานอ้อยคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย, (2567ก) ▪ การบริโภคและการส่งออก การบริโภคน้ำตาลในประเทศ คิดเป็นสัดส่วน 39 % ของปริมาณจำหน่ายน้ำตาลไทย โดยแบ่งเป็น ความต้องการของผู้บริโภคโดยตรง 57.7 % และที่เหลืออีก 42.3 % เป็นความต้องการใช้ในอุตสาหกรรม ต่อเนื่องในประเทศ (ทางอ้อม) เช่น เครื่องดื่มคิดเป็นสัดส่วน 41.5 % ของปริมาณการใช้น้ำตาลทรายทางอ้อม ทั้งหมด) รองลงมาเป็นอาหาร 28.1 % ผลิตภัณฑ์นม 18.8 % และอื่นๆ 11.6 % (ธนาคารกรุงศรี, 2566) SCB EIC คาดว่าราคาส่งออกน้ำตาลโดยเฉลี่ยในปี 2567 จะปรับตัวเพิ่มขึ้น 21.6 % จากการ เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้วมาอยู่ที่ 620.5 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน สอดคล้องกับราคา น้ำตาลในตลาดโลกที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากในปีนี้ และคาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องใน ปีหน้า เนื่องจากคาดว่าตลาดน้ำตาลโลกจะเผชิญภาวะขาดดุล เนื่องจากอินเดียมีแนวโน้มที่จะลดโควตาการ ส่งออกน้ำตาลลงอีกในฤดูกาลผลิตหน้า ซึ่งจะส่งผลให้ราคาน้ำตาลโลกในปี 2567 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 26.1 เซนต์ต่อปอนด์ สำหรับมูลค่าการส่งออกน้ำตาลปี 2567 คาดว่าจะทรงตัวอยู่ที่ 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่มูลค่าตลาดน้ำตาลในประเทศจะอยู่ที่ 5.5 หมื่นล้านบาท ขยายตัว 12.0 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว จากปริมาณการบริโภคในประเทศที่มีแนวโน้มขยายตัวตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและราคา น้ำตาลในประเทศที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากนโยบายภาครัฐ สำหรับในระยะกลางอุตสาหกรรมน้ำตาลยังมีแนวโน้ม ขยายตัวต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยหนุนจากปริมาณผลผลิตน้ำตาลของไทยและความต้องการบริโภคน้ำตาล ทั้งในและต่างประเทศคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ธนาคารไทยพาณิชย์, 2567)


4 ▪ แนวโน้มการผลิตในอนาคต อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2567/2568 ยังมีแนวโน้มขยายตัว แม้จะต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่ เปลี่ยนแปลง โดยได้รับปัจจัยหนุนจากราคาที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี ยังต้องจับตาความเสี่ยงจาก เศรษฐกิจโลกที่เปราะบางและนโยบายควบคุมการส่งออกน้ำตาลของอินเดีย โดยประเด็นสำคัญที่จะส่งผลต่อ ทิศทางอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2567/2568 คือ 1) การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก แม้ว่าภาพรวมเศรษฐกิจ โลกในปี 2567 จะยังมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลให้ความต้องการบริโภคสินค้าน้ำตาลในตลาดโลก ยังคงมีแนวโน้มเติบโต อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในปีหน้ายังคงมีความเปราะบางสูง จากผลของ การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยและเศรษฐกิจของจีนที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงมาก 2) นโยบายควบคุมการส่งออก น้ำตาลของอินเดีย ซึ่งจะส่งผลให้ราคาน้ำตาลโลกปรับตัวเพิ่มขึ้นในปีหน้า เนื่องจากอินเดียเป็นผู้ส่งออกน้ำตาล ที่สำคัญของโลก ทั้งนี้การดำเนินนโยบายควบคุมการส่งออกของอินเดียยังมีความไม่แน่นอนสูง จากกรอบเวลา และความเข้มงวดในการดำเนินนโยบายที่ไม่ชัดเจน และ 3) ปัญหาภัยแล้ง ปริมาณฝนที่น้อยกว่าค่าปกติ ในหลายพื้นที่ของไทยในปีนี้จากปรากฎการณ์เอลนีโญ สร้างความเสียหายให้กับผลผลิตอ้อยในปีการผลิต 2566/67 เนื่องจากอ้อยเป็นพืชที่ต้องการน้ำมากและพื้นที่เพาะปลูกอ้อยส่วนใหญ่ของไทยพึ่งพาน้ำฝนเป็นหลัก (ธนาคารไทยพาณิชย์, 2567) เอกสารอ้างอิง ธนาคารกรุงศรี. 2566. แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2566-2568: อุตสาหกรรมน้ำตาล. เผยแพร่เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2566. https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/ agriculture/sugar/io/sugar-2023-2025. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2567. ธนาคารไทยพาณิชย์. 2567. อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง. เผยแพร่เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2566. https://www.scbeic.com/th/detail/product/9353. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2567. สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย. 2567ก. รายงานสถานการณ์การปลูกอ้อย ปีการผลิต 2566/67. 78 หน้า. https://www.ocsb.go.th/wp-content/uploads/2024/06/รายงาน สถานการณ์การปลูกอ้อยปีการผลิต-2566-67.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2567. สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย. 2567ข. สรุปสถานการณ์ตลาดน้ำตาลโลกประจำสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 27 พฤษภาคม – 31 พฤษภาคม 2567. https://www.ocsb.go.th/2024/ domestic_situation/27437/ สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2567. Tabasoom Watak.2023.Sugar Statshot: A Global Sugar Production Surplus in 2023/24?!.https://www.czapp.com/analyst-insights/sugar-statshot-a-global-sugarproduction-surplus-in-2023-24/ Accessed June. 4, 2024. United States Department of AgricultureSugar. 2024. Sugar: World Markets and Trade. https://apps.fas.usda.gov/psdonline/circulars/sugar.pdf. Accessed June. 4, 2024.


5 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2566 66/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่ในระบบอินทรีย์ 2. ชื่อโครงการวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยอินทรีย์ 3. ชื่อกิจกรรม การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตอ้อยในระบบเกษตรอินทรีย์ 4. ชื่อการทดลอง การศึกษาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพที่เหมาะสมในการผลิตอ้อยระบบ เกษตรอินทรีย์ 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า ช่ออ้อย กาฬภักดี ผู้ร่วมงาน ปิยธิดา อินทร์สุข สุวัฒน์ พูลพาน อุไรวรรณ พงษ์พยัคเลิศ สมบูรณ์ วันดี กาญจนา หนูแก้ว ระพีพร ต้องใจ 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การศึกษาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพที่เหมาะสมในการผลิตอ้อยระบบเกษตรอินทรีย์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอัตราปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพที่เหมาะสมเพื่อการผลิตอ้อยในระบบอินทรีย์ ดำเนินการทดลอง ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ระหว่างปี พ.ศ. 2565 - 2567 ในอ้อยพันธุ์กวก. อู่ทอง 17 วางแผนการทดลอง แบบ RCB จำนวน 3 ซ้ำ 7 กรรมวิธี คือ 1) ไม่ใส่ปุ๋ย 2) ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน อัตรา 828 กิโลกรัมต่อไร่ 3) ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1.5 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน อัตรา 1,242 กิโลกรัมต่อไร่ 4) ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 2 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน อัตรา 1,656 กิโลกรัมต่อไร่ 5) ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติม อากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน อัตรา 828 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 6) ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติม อากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน อัตรา 828 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์น้ำ และ 7) ใส่ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 ร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซม เก็บเกี่ยวอ้อยเมื่ออายุ10 เดือน ผลการทดลองในอ้อยปลูก พบว่า ปุ๋ยที่เหมาะสม คือ การใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน อัตรา 828 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ อัตรา 1 ลิตรต่อน้ำ 100 ลิตร ให้ผลผลิตอ้อย 17.7 ตันต่อไร่ ด้านรายได้สุทธิพบว่า ทุกวิธีการใส่ปุ๋ยคุ้มค่าต่อการ ลงทุน ให้รายได้สุทธิระหว่าง 2,070 - 5,534 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนต่อการลงทุน (BCR) ของทุกวิธีการ ใส่ปุ๋ยอยู่ระหว่าง 1.08 - 1.42 ในอ้อยตอ 1 เก็บเกี่ยวอ้อยเมื่ออายุ 11 เดือน พบว่า การใส่ปุ๋ยหมักแบบ เติมอากาศอัตรา 2 เท่าของค่าวิเคราะห์ดินอัตรา 1,656 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตอ้อย 19.1 ตันต่อไร่ ด้านรายได้สุทธิพบว่า ทุกวิธีการใส่ปุ๋ยคุ้มค่าต่อการลงทุน ให้รายได้สุทธิระหว่าง 5,393 - 11,407 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนต่อการลงทุน (BCR) ของทุกวิธีการใส่ปุ๋ยอยู่ระหว่าง 1.35 - 2.30 ค่าเฉลี่ยผลผลิต 2 ปี ของอ้อยปลูกและอ้อยตอ 1 พบว่า การใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน อัตรา 828 กิโลกรัมต่อไร่


6 ร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ อัตรา 1 ลิตรต่อน้ำ 100 ลิตร ให้ผลผลิตอ้อย 18.3 ตันต่อไร่ รายได้สุทธิเฉลี่ย ทุกวิธีการใส่ปุ๋ยอยู่ระหว่าง 3,732 - 8,470 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนต่อการลงทุน (BCR) ของทุกวิธีการใส่ปุ๋ย เฉลี่ย 2 ปี อยู่ระหว่าง 1.24-1.86 8. คำหลัก : อ้อยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 122,913 บาท


7 ตารางที่1 คุณสมบัติทางเคมีของดินที่ความลึก 0 - 30 ซม. หลังการเก็บเกี่ยวอ้อยปลูกจากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ต่างๆ ในการผลิตอ้อยระบบอินทรีย์ ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ปี 2566 กรรมวิธี ความเป็น กรด-ด่าง ค่าการนำไฟฟ้า (เดซิซีเมนส์ต่อเมตร) อินทรียวัตถุ (เปอร์เซ็นต์) ฟอสฟอรัสที่ เป็นประโยชน์ โพแทสเซียมที่ แลกเปลี่ยนได้ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) 1. ไม่ใส่ปุ๋ย 7.0 0.08 1.31 71 84 2. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ตามค่าวิเคราะห์ดิน 6.9 0.28 1.43 104 103 3. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1.5 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน 7.1 0.11 1.33 83 111 4. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 2 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน 7.2 0.09 1.45 100 193 5. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับ ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 7.4 0.10 1.38 84 114 6. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับ ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ 7.3 0.12 1.38 89 92 7. ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 ร่วมกับ ปลูกถั่วเขียวแซม 7.3 0.12 1.46 99 85


ตารางที่2 ความสูง เส้นผ่านศูนย์กลางลำ จำนวนปล้อง จากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ต่างๆ ในกกรรมวิธี ความสูง (ซม.) เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 1 ไม่ใส่ปุ๋ย 308 241 d 275 c 2 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน 303 267 bcd 285 abc3 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1.5 เท่า ของค่าวิเคราะห์ดิน 290 256 cd 273 c 4 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 2 เท่า ของค่าวิเคราะห์ดิน 298 305 a 302 a 5 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 306 285 abc 296 ab 6 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์น้ำ 313 296 ab 305 a 7 ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 ร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซม 288 269 bcd 279 bc F-test ns ** * CV (%) 4.59 6.31 5.45 หมายเหตุ ในสดมภ์เดียวกันค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับคns = ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ** = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


8 ารผลิตอ้อยระบบอินทรีย์ ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีปี 2565-2567 เส้นผ่านศูนย์กลางลำ (ซม.) เฉลี่ย จำนวนปล้อง (ปล้อง/ลำ) เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 2.62 2.92 2.77 25.5 26.9 26.2 c 2.78 2.96 2.87 26.2 27.4 26.8 2.76 3.08 2.92 26.3 27.5 26.9 2.70 2.93 2.82 27.0 28.1 27.6 2.72 3.05 2.89 25.8 28.6 27.2 2.72 2.88 2.80 26.8 28.9 27.9 2.83 2.99 2.91 25.6 28.1 26.9 ns ns ns ns ns ns 3.16 4.42 3.90 3.72 4.59 4.17 ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 8


ตารางที่3 น้ำหนักลำ จำนวนลำ ผลผลิต จากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ต่างๆ ในการผลิตอ้อยระกรรมวิธี น้ำหนักลำ (กิโลกรัม) เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 1 ไม่ใส่ปุ๋ย 1.63 ab 1.51 b 1.57 2 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน 1.45 bc 1.51 ab 1.483 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1.5 เท่า ของ ค่าวิเคราะห์ดิน 1.51 bc 1.71 ab 1.61 4 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 2 เท่าของค่า วิเคราะห์ดิน 1.44 bc 1.97 a 1.71 5 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 1.42 c 1.91 a 1.67 6 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์น้ำ 1.45 bc 1.90 a 1.68 7 ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 ร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซม 1.73 a 1.76 ab 1.75F-test * * ns CV (%) 6.91 8.05 7.61 หมายเหตุ ในสดมภ์เดียวกันค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับคns = ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%


9 บบอินทรีย์ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีปี 2565-2567 จำนวนลำต่อไร่ เฉลี่ย ผลผลิต (ตันต่อไร่) เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 10,563 11,021 10,792 17.2 13.2 15.2 9,917 11,563 10,740 14.4 15.0 14.7 10,208 10,146 10,177 15.4 14.4 14.9 11,563 13,042 12,303 16.6 19.1 17.9 12,000 12,188 12,094 17.0 16.9 17.0 12,208 13,479 12,844 17.7 18.8 18.3 9,688 10,000 9,844 16.6 13.3 15.0 ns ns ns ns ns ns 11.7 15.3 9.54 11.6 18.3 15.2 ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 9


ตารางที่4 ซีซีเอส ผลผลิตน้ำตาล จากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ต่างๆ ในการผลิตอ้อยระบบอินทกรรมวิธี ซีซีเอส อ้อยปลูก อ้อย1 ไม่ใส่ปุ๋ย 14.4 12 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดิน 14.0 13 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1.5 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน 14.3 14 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 2 เท่าของค่าวิเคราะห์ดิน 12.9 15 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ย ชีวภาพ PGPR-3 13.6 16 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ย อินทรีย์น้ำ 14.1 17 ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 ร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซม 14.5 1F-test ns CV (%) 4.97 4หมายเหตุ ในสดมภ์เดียวกันค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับคns = ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ** = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


10 ทรีย์ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีปี 2565 - 2567 เฉลี่ย ผลผลิตน้ำตาล (ตันซีซีเอสต่อไร่) เฉลี่ย ยตอ 1 อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 14.6 14.5 a 2.48 1.92 2.20 14.2 14.1 ab 2.02 2.14 2.08 13.6 13.9 ab 2.20 1.95 2.07 12.6 12.8 c 2.12 2.36 2.24 13.3 13.4 bc 2.31 2.23 2.27 13.2 13.7 ab 2.46 2.48 2.47 14.4 14.5 a 2.41 1.91 2.16 ns ** ns ns ns 4.01 4.54 9.76 16.7 13.1 ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 10


ตารางที่5 ต้นทุน รายได้ รายได้สุทธิ และผลตอบแทนต่อการลงทุน (BCR) จากการใส่ปุ๋ปี 2565 - 2567 กรรมวิธี ต้นทุน (บาทต่อไร่) เฉลี่ย รายได้(บาทต่อไร่)อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 อ้อยปลูก อ้อยตอ1 ไม่ใส่ปุ๋ย 13,327 8,764 11,045 18,861 20,172 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ตามค่าวิเคราะห์ดิน 14,685 14,089 14,387 15,811 22,493 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ อัตรา 1.5 เท่าของค่า วิเคราะห์ดิน 14,841 15,576 15,209 16,911 20,964 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ อัตรา 2 เท่าของค่า วิเคราะห์ดิน 15,566 18,907 17,236 18,116 26,445 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับ ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 15,799 14,767 15,283 18,593 24,246 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับ ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ 15,911 15,759 15,835 19,382 26,837 ปุ๋ยชีวภาพ PGPR-3 ร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซม 14,562 11,756 13,159 18,220 20,13รายได้ = ผลผลิต (ตัน/ไร่) x ราคาอ้อยขั้นต้นปี 2566/67 (1,197.53 บาท/ตัน) ที่ค่าซีซีเอส = 10 และ


11 ปุยอินทรีย์ต่างๆ ในการผลิตอ้อยระบบอินทรีย์ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ) เฉลี่ย รายได้สุทธิ(บาทต่อไร่) เฉลี่ย BCR เฉลี่ย อ 1 อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 70 19,516 5,534 11,407 8,470 1.42 2.30 1.86 90 19,150 1,126 8,401 4,763 1.08 1.60 1.34 69 18,940 2,070 5,393 3,732 1.14 1.35 1.24 41 22,278 2,550 7,534 5,042 1.16 1.40 1.28 45 21,419 2,794 9,479 6,136 1.18 1.64 1.41 36 23,109 3,471 11,078 7,274 1.22 1.70 1.46 32 19,176 3,658 8,376 6,017 1.25 1.71 1.48 ะบวกราคาที่เพิ่มขึ้น 71.85 บาท/ตัน เมื่อค่าซีซีเอสเพิ่มขึ้น 1 หน่วย 11


12 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2566 66/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่ในระบบอินทรีย์ 2. ชื่อโครงการวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตอ้อยอินทรีย์ 3. ชื่อกิจกรรม การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับการผลิตอ้อยในระบบเกษตร อินทรีย์ 4. ชื่อการทดลอง การศึกษาวิธีกำจัดวัชพืชที่เหมาะสมในการผลิตอ้อยในระบบเกษตรอินทรีย์ 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า ช่ออ้อย กาฬภักดี ผู้ร่วมงาน ปิยธิดา อินทร์สุข สุวัฒน์ พูลพาน อุไรวรรณ พงษ์พยัคเลิศ สมบูรณ์ วันดี กาญจนา หนูแก้ว ระพีพร ต้องใจ 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การศึกษาวิธีกำจัดวัชพืชที่เหมาะสมในการผลิตอ้อยระบบเกษตรอินทรีย์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธี กำจัดวัชพืชที่เหมาะสมเพื่อการผลิตอ้อยในระบบอินทรีย์ ดำเนินการทดลอง ณ วิจัยศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ระหว่างปี พ.ศ. 2565 – 2567 วางแผนการทดลองแบบ RCB จำนวน 5 ซ้ำ 4 กรรมวิธีคือ 1) ไม่กำจัดวัชพืช 2) ใช้เครื่องจักรกลการเกษตร 3) ใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับการปลูกถั่วเขียวแซม 4) ใช้แรงงานคน ผลการทดลองในอ้อยปลูก เก็บเกี่ยวอ้อยเมื่ออายุ 10 เดือน พบว่า วิธีการกำจัดวัชพืชโดยใช้แรงงานคน ให้ผลผลิตอ้อยสูงสุด 13.1 ตันต่อไร่ รองลงมาคือการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับการปลูกถั่วเขียวแซม ให้ผลผลิต 10.8 ตันต่อไร่ และการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับการปลูกถั่วเขียวแซมทำให้มีรายได้สุทธิ สูงสุด 48 บาทต่อไร่ และผลตอบแทนต่อการลงทุน (Benefit cost ratio : BCR) เท่ากับ 1 ในอ้อยตอ 1 เก็บเกี่ยวอ้อยเมื่ออายุ 11 เดือน พบว่า การใช้แรงงานคนกำจัดวัชพืช ให้ผลผลิตสูงสุด 14.3 ตันต่อไร่ แต่ไม่ แตกต่างทางสถิติกับการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร และใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซมใน การกำจัดวัชพืช ให้ผลผลิต 11.3 และ 10.8 ตันต่อไร่ตามลำดับ ด้านผลตอบแทน พบว่า การใช้เครื่องจักรกล การเกษตรกำจัดวัชพืชคุ้มค่าต่อการลงทุน มีรายได้สุทธิ3,991 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนต่อการลงทุน (BCR) เท่ากับ 1.28 ค่าเฉลี่ยผลผลิต 2 ปี (อ้อยปลูกและอ้อยตอ 1) พบว่า การใช้แรงงานคนกำจัดวัชพืช ให้ผลผลิต สูงสุด 13.7ตันต่อไร่ แตกต่างทางสถิติกับการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร และใช้เครื่องจักรกลการเกษตร ร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซมในการกำจัดวัชพืช ที่ให้ผลผลิต 10.1 และ 10.8 ตันต่อไร่ตามลำดับ ด้านผลตอบแทน เฉลี่ย 2 ปี พบว่า วิธีการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร และวิธีการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับการปลูก


13 ถั่วเขียวแซม ให้รายได้สุทธิเฉลี่ยใกล้เคียงกันที่ 1,217 และ 1,202 บาทต่อไร่ ตามลำดับ ผลตอบแทนต่อการ ลงทุน (BCR) เฉลี่ย เท่ากับ 1.07 และ 1.08 ตามลำดับ 8. คำหลัก : อ้อยอินทรีย์, กำจัดวัชพืช 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 118,320 บาท


ตารางที่1 ความสูง เส้นผ่านศูนย์กลางลำ จำนวนปล้อง จากวิธีกำจัดวัชพืชในการผลิตอ้กรรมวิธี ความสูง (ซม.) เฉลี่ย เส้อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 1 ไม่กำจัดวัชพืช 176 b 182 b 179 c 2 ใช้เครื่องจักรกลการเกษตร 212 a 208 a 210 b 3 ใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับ ปลูกถั่วเขียวแซม 221 a 202 a 212 ab 4 ใช้แรงงานคน 231 a 227 a 229 a F-test ** ** * CV (%) 9.24 5.86 7.80 หมายเหตุ ในสดมภ์เดียวกันค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับคns = ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ** = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


14 ้อยระบบอินทรีย์ ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีปี 2565 - 2567 ส้นผ่านศูนย์กลางลำ (ซม.) เฉลี่ย จำนวนปล้องต่อลำ เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 2.93 2.75 b 2.84 21.2 24.5 b 22.9 2.80 2.93 a 2.87 22.5 26.7 a 24.6 2.86 2.96 a 2.91 22.7 25.2 ab 24.0 2.79 3.01 a 2.90 22.1 25.2 a 23.7 ns ** ns ns * ns 5.79 2.50 4.50 4.81 4.60 5.77 ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 14


ตารางที่2 น้ำหนักลำ จำนวนลำ ผลผลิต จากวิธีกำจัดวัชพืชในการผลิตอ้อยระบบอินทรีกรรมวิธี น้ำหนักลำ (กิโลกรัม) อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 เฉลี่ย อ้อ1 ไม่กำจัดวัชพืช 0.77 b 1.12 b 0.95 b 62 ใช้เครื่องจักรกลการเกษตร 1.14 a 1.34 a 1.24 a 7,3 ใช้เครื่องจักรกลการเกษตร ร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซม 1.23 a 1.33 a 1.28 a 84 ใช้แรงงานคน 1.13 a 1.53 a 1.33 a 11F-test * ** ** CV (%) 21.2 7.3 14.6 หมายเหตุ ในสดมภ์เดียวกันค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับค* = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ** = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


15 รีย์ ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีปี 2565-2567 จำนวนลำต่อไร่ ผลผลิต (ตันต่อไร่) อยปลูก อ้อยตอ 1 เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 เฉลี่ย 6,225 b 7,913 b 7,069 c 4.70 c 7.60 b 6.20 c ,675 ab 10,900 a 9,288 b 8.83 b 11.3 a 10.1 b ,725 a 10,438 a 9,582 b 10.8 ab 10.8 a 10.8 b 1,488 a 13,713 a 12,601 a 13.1 a 14.3 a 13.7 a ** ** ** ** ** ** 15.8 14.2 15.0 28.8 11.0 19.9 ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 15


ตารางที่3 ซีซีเอส ผลผลิตน้ำตาล จากวิธีกำจัดวัชพืชในการผลิตอ้อยระบบอินทรีย์ ณ ศูนกรรมวิธี ซีซีเอส อ้อยปลูก อ้อยต1 ไม่กำจัดวัชพืช 17.7 15.52 ใช้เครื่องจักรกลการเกษตร 17.7 16.03 ใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับปลูกถั่วเขียวแซม 17.8 15.44 ใช้แรงงานคน 17.9 15.2F-test ns nsCV (%) 2.20 3.0หมายเหตุ ในสดมภ์เดียวกันค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับคns = ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ** = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


16 นย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีปี 2565 - 2567 ผลผลิตน้ำตาล(ตันซีซีเอสต่อไร่) ตอ 1 เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 เฉลี่ย 52 16.6 0.84 c 1.18 b 1.01 c 08 16.9 1.58 b 1.82 a 1.70 b 42 16.6 1.92 ab 1.66 a 1.79 b 25 16.6 2.35 a 1.66 a 2.01 a s ns ** ** ** 05 2.61 29.7 10.4 22.0 ความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 16


ตารางที่4 ต้นทุน รายได้ รายได้สุทธิ และค่า BCR จากวิธีกำจัดวัชพืชในการผลิตอ้อยระกรรมวิธี ต้นทุน (บาทต่อไร่) รายได้(บาทต่อไร่) อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 1 ไม่กำจัดวัชพืช 10,784 10,435 10,609 5,575 12,115 2 ใช้เครื่องจักรกล การเกษตร 11,559 14,478 13,018 10,003 18,468 3 ใช้เครื่องจักรกล การเกษตรร่วมกับปลูก ถั่วเขียวแซม 12,121 14,783 13,452 12,169 17,139 4 ใช้แรงงานคน 25,155 26,807 25,981 14,660 22,519 รายได้ = ผลผลิต (ตัน/ไร่) x ราคาอ้อยขั้นต้นปี 2566/67 (1,197.53 บาท/ตัน) ที่ค่าซีซีเอส = 10 และ


17 ะบบอินทรีย์ ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ปี 2565-2567 รายได้สุทธิ(บาทต่อไร่) BCR เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 เฉลี่ย อ้อยปลูก อ้อยตอ 1 เฉลี่ย 8,845 -5,209 1,681 -1,764 0.52 1.16 0.84 14,236 -1,556 3,991 1,217 0.87 1.28 1.07 14,654 48 2,356 1,202 1.00 1.16 1.08 18,589 -10,495 -4,288 -7,392 0.58 0.84 0.71 ะบวกราคาที่เพิ่มขึ้น 71.85 บาท/ตัน เมื่อค่าซีซีเอสเพิ่มขึ้น 1 หน่วย 17


18 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2566 66/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. แผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชผักและพืชไร่ในระบบเกษตรอินทรีย์ 2. โครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่บางชนิดในระบบเกษตรอินทรีย์ 3. ชื่อกิจกรรม เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์งา และข้าวโพดหวานอินทรีย์ 4. ชื่อการทดลอง การศึกษาอัตราปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศและชนิดของปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ที่เหมาะสม ต่อการผลิตเมล็ดพันธุ์งาอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี 5. คณะผู้ดำเนินงาน หัวหน้า ระพีพันธุ์ ชั่งใจ ผู้ร่วมงาน เฌอรัชด์พัชร เขียววิชัย นงลักษ์ ปั้นลาย 6. ระยะเวลา เริ่มต้นปี2565 สิ้นสุดปี2566 7. บทคัดย่อ การศึกษาอัตราปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศและชนิดปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ที่เหมาะสมต่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ งาอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรีดำเนินการในไร่เกษตรกรที่ได้รับรองแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษา อัตราปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศที่เหมาะสมสำหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์งาอินทรีย์ โดยใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศใน อัตรา 500 1,000 1,500 และ 2,000 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนปลูกงา 15 วัน เปรียบเทียบกับไม่ใส่ปุ๋ยหมักแบบ เติมอากาศ ในดินที่มีความเป็นกรด-ด่าง เป็นกลาง อินทรียวัตถุสูง ไนโตรเจนต่ำ ฟอสฟอรัสต่ำ และ โพแทสเซียมสูง การใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ อัตรา 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตเมล็ดพันธุ์เมล็ดพันธุ์งา สูงสุด เมล็ดพันธุ์งาอินทรีย์มีคุณภาพตามมาตรฐานชั้นพันธุ์จำหน่าย ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาชนิดปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ ที่เหมาะสมสำหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์งาอินทรีย์ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ ตามผล การทดลองขั้นที่ 1 และฉีดพ่นด้วยปุ๋ยน้ำสกัดมูลสุกร มูลไก่ มูลโคเนื้อ ทุก 15 วัน จำนวน 4 ครั้ง เปรียบเทียบ กับใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ และไม่ใส่ปุ๋ยหมัก พบว่าการใส่ปุ๋ยหมักแบบเติม อากาศ 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ และฉีดพ่นด้วยปุ๋ยน้ำสกัดมูลไก่ ให้ผลผลิตเมล็ดพันธุ์งาสูงสุด และเมล็ดพันธุ์มี คุณภาพตามมาตรฐานชั้นพันธุ์จำหน่าย และมีรายได้สุทธิ 2,315 บาทต่อไร่ จากผลการทดลองสามารถใช้เป็น คำแนะนำแก่เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์งาอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี และพื้นที่ปลูกงาทั่วประเทศได้ โดย แนะนำให้ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศอัตรา 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ก่อนปลูก 15 วัน เมื่อต้นงาอายุแล้ว 15 30 45 และ 60 วัน ให้ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำสกัดมูลไก่ จะช่วยให้ต้นงามีการเจริญเติบโตดี ผลผลิตเมล็ดพันธุ์สูง และเมล็ด พันธุ์งาอินทรีย์มีคุณภาพ 8. คำหลัก : เมล็ดพันธุ์งาอินทรีย์ คุณภาพเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ 9. ประเภทผลวิจัย : สิ้นสุด 10. คำแนะนำผลวิจัย : ถ่ายทอดได้ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 19,306 บาท


19 ตารางที่ 1 ผลวิเคราะห์คุณสมบัติของดินและปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ในพื้นที่เกษตรกร ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ปี 2565 คุณสมบัติ ผลวิเคราะห์ดิน เกณฑ์การประเมิน ผลวิเคราะห์ปุ๋ยหมักฯ pH (1:1) 6.7 กลาง 7.6 EC (1:5) (dS m-1 ) 0.1 ไม่เค็ม 4.5 OM (%) 2.4 สูง 28.1 Tatal N (g/kg) 0.2 ต่ำ 1.7 Avail. P (mg/kg) 8.0 ต่ำ 1.5 Exch. K (mg/kg) 176.0 สูง 1.8 ตารางที่ 2 ผลวิเคราะห์คุณสมบัติของดินหลังใส่ปุ๋ยหมักในอัตราที่แตกต่างกัน ในพื้นที่เกษตรกร ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ปี 2565 กรรมวิธี pH OM (%) Total N (g/kg) Avail. P (mg/kg) Exch. K (mg/kg) 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 6.7 4.1 0.2 8.0 176 2. ใส่ปุ๋ยหมัก 500 กก./ไร่ 7.2 17.9 3.2 12.1 215 3. ใส่ปุ๋ยหมัก 1,000 กก./ไร่ 7.3 20.3 4.8 35.4 237 4. ใส่ปุ๋ยหมัก 1,500 กก./ไร่ 7.3 35.3 5.3 43.2 264 5. ใส่ปุ๋ยหมัก 2,000 กก./ไร่ 7.4 41.9 5.6 54.7 291 ตารางที่ 3 องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิตเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 หลังใส่ปุ๋ยหมักแบบเติม อากาศในอัตราที่แตกต่างกัน ในพื้นที่เกษตรกร ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ปี 2565 กรรมวิธี ความสูงต้น (ซม.) จำนวน ข้อต่อต้น จำนวน กิ่งต่อต้น จำนวน ฝักต่อต้น ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ (กิโลกรัมต่อไร่) น้ำหนัก 1,000 เมล็ด (กรัม) 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 125.9 b 23.1 ab 5.6 57.4 b 46.3 b 3.95 b 2. ใส่ปุ๋ยหมัก 500 กก./ไร่ 144.5 ab 22.7 b 6.7 73.7 ab 51.5 ab 4.25 b 3. ใส่ปุ๋ยหมัก 1,000 กก./ไร่ 157.9 a 23.7 ab 5.7 79.1 ab 53.6 ab 4.27 b 4. ใส่ปุ๋ยหมัก 1,500 กก./ไร่ 162.4 a 27.4 a 6.9 85.2 ab 62.0 a 5.02 a 5. ใส่ปุ๋ยหมัก 2,000 กก./ไร่ 159.9 a 25.2 ab 6.9 95.9 a 61.3 a 4.75 a F-test * * ns * * ** CV (%) 11.08 10.62 22.10 28.70 5.35 5.86 ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ** = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% 1/ตัวอักษรต่างกันในสดมภ์เดียวกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ


20 ตารางที่ 4 คุณภาพเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 ปี 2565 กรรมวิธี %ความชื้น %ความงอก %ความบริสุทธิ์ 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 6.6 81.5 99.5 2. ใส่ปุ๋ยหมัก 500 กก./ไร่ 6.6 80.3 99.5 3. ใส่ปุ๋ยหมัก 1,000 กก./ไร่ 6.6 82.0 99.7 4. ใส่ปุ๋ยหมัก 1,500 กก./ไร่ 6.4 82.3 99.5 5. ใส่ปุ๋ยหมัก 2,000 กก./ไร่ 6.5 82.3 99.6 F-test ns ns ns CV (%) 4.73 3.90 0.29 ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ภาพที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างปุ๋ยหมัก และผลผลิตเมล็ดพันธุ์งา เป็นไปในทิศทางเดียวกันและสัมพันธ์กันสูง 81 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิต ตารางที่ 5 ผลวิเคราะห์คุณสมบัติของดินและปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ในพื้นที่เกษตรกร ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีปี 2566 คุณสมบัติ ผลวิเคราะห์ดิน เกณฑ์การประเมิน ผลวิเคราะห์ปุ๋ยหมักฯ pH (1:1) 6.30 กลาง 7.1 EC (1:5) (dS m-1 ) 0.15 ไม่เค็ม 3.3 OM (%) 2.40 สูง 29.3 Tatal N (g/kg) 0.12 ต่ำ 1.8 Avail. P (mg/kg) 17.00 ต่ำ 1.4 Exch. K (mg/kg) 261.00 สูง 1.9 y = 46.957e0.0002x R² = 0.7974 0 20 40 60 80 0 200 400 600 800 1000 1200 1400 1600 1800 2000 Seed yield (Kg/rai)


21 ตารางที่ 6 ผลวิเคราะห์คุณสมบัติของดินหลังใส่ปุ๋ยหมักอัตรา 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ และพ่นปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ เมื่อต้นงา อายุ 45 วัน ในพื้นที่ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีปี 2566 กรรมวิธี pH OM (%) Total N (g/kg) Avail.P (mg/kg) Exch.K (mg/kg) 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 6.3 2.4 0.09 15.0 239 2. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ 6.8 22.8 0.10 27.0 475 3. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลสุกร 7.7 24.2 1.10 27.3 457 4. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลไก่ 7.7 24.1 1.10 31.8 451 5. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลโคเนื้อ 7.7 24.2 1.10 29.1 436 ตารางที่ 7 ความสูงต้นงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศในอัตรา 1,500 กิโลกรัม/ไร่ และ พ่นปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ ในพื้นที่เกษตรกร ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีปี 2566 กรรมวิธี ความสูงต้น (ซม.) 15 วัน 30 วัน 45 วัน 60 วัน 75 วัน 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 9.2 23.8 b 83.4 b 106.7 c 107.2 c 2. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ 10.8 29.2 ab 91.3 ab 109.4 bc 110.2 bc 3. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลสุกร 10.4 29.6 a 93.3 ab 112.9 ab 113.3 bc 4. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลไก่ 10.6 27.0 ab 96.8 a 121.7 a 122.5 a 5. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลโคเนื้อ 11.2 29.5 a 95.6 a 117.8 ab 118.7 ab F-test ns * * * * CV (%) 15.73 12.42 7.77 5.32 5.84 ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% 1/ตัวอักษรต่างกันในสดมภ์เดียวกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ ตารางที่ 8 องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิตเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ ในอัตรา 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ และพ่นปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ ในพื้นที่เกษตรกร ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ปี 2566 กรรมวิธี ความสูง (ซม.) จำนวน ข้อ/ต้น จำนวน กิ่ง/ต้น จำนวน ฝัก/ต้น ผลผลิต (กก./ไร่) น้ำหนัก 1,000 เมล็ด (กรัม) 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 107.2 c 14.0 3 43.5 b 74.9 c 3.3 2. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ 110.2 bc 14.3 3 46.0 b 106.0 b 3.4 3. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลสุกร 113.3 abc 14.6 3 51.2 a 126.7 a 3.3 4. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลไก่ 122.5 a 14.9 3 74.3 a 131.2 a 3.5 5. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลโคเนื้อ 118.7 ab 14.7 3 68.2 a 130.6 a 3.4 F-test * ns ns ** * ns CV (%) 5.84 10.48 14.54 9.51 5.11 4.30 ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ** = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% 1/ตัวอักษรต่างกันในสดมภ์เดียวกันมีความแตกต่างกันทางสถิติ


22 ตารางที่ 9 คุณภาพเมล็ดพันธุ์งาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 หลังปรับปรุงสภาพ ปี 2566 กรรมวิธี %ความชื้น %ความงอก %ความบริสุทธิ์ 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 5.9 76.0 b 99.6 2. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ 5.6 79.2 b 99.8 3. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลสุกร 5.9 84.0 a 99.7 4. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลไก่ 5.7 82.0 a 99.9 5. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลโคเนื้อ 5.7 85.2 a 99.9 F-test ns * ns CV (%) 3.97 4.70 0.19 ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ตารางที่ 10 ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจการผลิตเมล็ดพันธุ์งาแดงอินทรีย์พันธุ์อุบลราชธานี 2 กรรมวิธี ผลผลิต เมล็ดพันธุ์ (กก./ไร่) ราคา ผลผลิต (บาท/กก.) ต้นทุน (บาท/ไร่) รายได้ (บาท/ไร่) รายได้ สุทธิ (บาท/ไร่) BCR 1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมัก 69.4 50 2,110 3,470 1,360 1.64 2. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ 106.0 50 3,110 5,300 2,190 1.70 3. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลสุกร 130.6 50 3,745 6,530 2,785 1.74 4. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลไก่ 131.2 50 3,745 6,560 2,815 1.75 5. ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ+ปุ๋ยน้ำสกัดมูลโคเนื้อ 126.7 50 3,745 6,335 2,590 1.69 ภาพที่ 2 งาแดงอินทรีย์พันธุ์อุบลราชธานี 2 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศในอัตราที่แตกต่างกัน ปี 2565


23 ภาพที่ 3 เมล็ดพันธุ์งาแดงอินทรีย์พันธุ์อุบลราชธานี 2 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศในอัตราที่แตกต่างกัน ปี 2565 ภาพที่ 4 ปุ๋ยน้ำสกัดมูลสุกร มูลไก่ มูลโคเนื้อ และการพ่นปุ๋ยน้ำสกัดเมื่อต้นงา อายุ 15 วัน ภาพที่ 5 ลักษณะต้นงาแดงพันธุ์อุบลราชธานี 2 ใส่ปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ และพ่นปุ๋ยน้ำสกัดมูลสัตว์ที่ แตกต่างกัน


24 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2566 66/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยเพื่ออุตสาหกรรมน้ำตาลและอุตสาหกรรมชีวภาพ 2. ชื่อโครงการวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยเพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้ผลผลิตในเขตดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียวด้วยเทคโนโลยีปรับปรุงพันธุ์สมัยใหม่ 3. ชื่อกิจกรรม การปรับปรุงพันธุ์อ้อยเพื่อเพิ่มสมรรถนะการให้ผลผลิตที่เหมาะสมกับดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียว 4. ชื่อการทดลอง การเปรียบเทียบมาตรฐาน: โคลนอ้อยชุดปี 2559 ที่เหมาะสมกับเขตดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียว 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า ปิยธิดา อินทร์สุข ผู้ร่วมงาน นัฐภัทร์ คำหล้า กาญจนา หนูแก้ว ศรัณย์รัตน์ สุวรรณพงษ์ 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 ที่เหมาะสมกับเขตดินร่วน ร่วนเหนียว และดินเหนียว มีวัตถุประสงค์เพื่อหาพันธุ์อ้อยที่ให้ผลผลิตน้ำตาลสูงกว่าพันธุ์ กวก. ขอนแก่น 3 กวก. นครสวรรค์ 1 หรือ LK92-11 ร้อยละ 5 ในสภาพการปลูกแบบอาศัยน้ำฝน วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block จำนวน 4 ซ้ำ 13 กรรมวิธี ดำเนินการทดลองที่ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี มีอ้อยโคลนดีเด่นชุดปี2559 จำนวน 10 โคลน และพันธุ์เปรียบเทียบ 3 พันธุ์ได้แก่ พันธุ์กวก. ขอนแก่น 3 กวก. นครสวรรค์ 1 และ LK92-11 ปลูกอ้อยเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2566 และเก็บเกี่ยวอ้อยปลูกเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2567 จากการประเมิน มาตรฐานพันธุ์อ้อยทั้ง 13 โคลน พบว่า เส้นผ่านศูนย์กลางลำ จำนวนปล้อง ค่าซีซีเอส และผลผลิตน้ำตาลมี ความแตกต่างทางสถิติ จากการวิเคราะห์ค่าซีซีเอส พบว่า พันธุ์ กวก. นครสวรรค์ 1 ให้ค่าซีซีเอสสูงสุด ไม่แตกต่างจากพันธุ์ กวก. ขอนแก่น 3 LK92-11 NSUT16-088 NSUT16-058 และ NSUT16-007 ส่วนผลผลิต น้ำตาล พบว่า พันธุ์ กวก. ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตน้ำตาลสูงสุด ซึ่งไม่แตกต่างจากโคลน NSUT16-058 NSUT16-097 NSUT16-088 และ LK92-11 ในอ้อยปลูก พบโคลนดีเด่น 2 โคลน ได้แก่ NSUT16-058 และ NSUT16-088 ที่ให้ผลผลิตน้ำตาลสูงกว่าพันธุ์กวก. นครสวรรค์ 1 และ LK92-11 8. คำหลัก : อ้อย เปรียบเทียบมาตรฐาน ผลผลิต 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 110,003 บาท


25 ตารางที่1 องค์ประกอบผลผลิต ผลผลิตอ้อย ค่าซีซีเอส และผลผลิตน้ำตาล ของแปลงเปรียบเทียบมาตรฐาน โคลนอ้อยชุดปี 2559 : อ้อยปลูก ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ลำดับ ที่ โคลน/พันธุ์ ความสูง (ซม.) เส้นผ่านศูนย์กลางลำ (ซม.) จำนวน ปล้อง จำนวนลำ ต่อไร่ ผลผลิต (ตันต่อไร่) ซีซีเอส ผลผลิตน้ำตาล (ตันซีซีเอสต่อไร่) 1 NSUT16-007 213 3.33 cd 18.5 c 10,017 14.75 10.65 a-d 1.66 bc 2 NSUT16-032 220 3.80 a 19.5 c 9,750 14.59 9.01 d 1.42 bc 3 NSUT16-055 204 2.90 ef 19.7 bc 9,350 9.94 8.60 d 0.97 c 4 NSUT16-058 274 3.73 ab 24.3 abc 9,100 19.09 10.69 a-d 2.01 ab 5 NSUT16-064 272 3.05 def 25.0 abc 10,800 17.27 5.47 e 0.95 c 6 NSUT16-075 237 3.17 de 23.7 abc 12,267 16.67 10.08 cd 1.66 bc 7 NSUT16-087 280 3.28 cd 26.3 ab 8,200 16.51 9.81 bc 1.63 bc 8 NSUT16-088 251 3.53 bc 22.9 abc 10,067 17.35 10.47 abc 1.84 abc 9 NSUT16-097 253 3.08 de 23.4 abc 12,917 18.04 9.91 cd 1.80 abc 10 NSUT16-115 237 2.78 f 22.1 abc 10,350 14.84 6.46 e 1.04 c 11 กวก. ขอนแก่น 3 279 3.05 def 26.8 a 11,350 21.33 12.34 ab 2.62 a 12 LK92-11 223 2.90 ef 25.2 abc 12,183 15.26 11.64 abc 1.80 abc 13 กวก. นครสวรรค์ 1 233 3.08 de 19.0 c 10,333 13.22 12.65 a 1.69 bc F-test ns ** * ns ns ** * CV (%) 16.59 5.51 17.86 19.54 29.72 12.86 34.32 หมายเหตุ ในสดมภ์เดียวกันค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT ns = ไม่ความแตกต่างกันทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ** = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


26 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2566 66/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยเพื่ออุตสาหกรรมน้ำตาลและอุตสาหกรรมชีวภาพ 2. ชื่อโครงการวิจัย การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานด้วยนวัตกรรมเพื่อการผลิตในเขต ชลประทานและน้ำเสริม 3. ชื่อกิจกรรม การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานภายใต้สภาพชลประทานและน้ำเสริม 4. ชื่อการทดลอง การผสมพันธุ์อ้อยชุดปี2564 – 2566 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม 5. คณะผู้ดำเนินงาน หัวหน้า อุดมศักดิ์ ดวนมีสุข ผู้ร่วมงาน สถาพร โชติช่วง มานิตย์ สุขนิมิตร ณรงค์ชัย มินศิริ วริศรา บุราคร 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การผสมพันธุ์อ้อยชุดปี 2564 - 2566 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ คู่ผสมพันธุ์อ้อยระหว่างอ้อยลำใหญ่กับอ้อยที่มีการแตกกอมาก และมีความหวานสูง ดำเนินการทดลองที่ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี วิธีการผสมแบบ Selfing Open cross Bi-parental cross และ Polycross โดยตัด ต้นพ่อแม่พันธุ์ที่มีดอกบานประมาณร้อยละ 50 มาเลี้ยงในน้ำยาเลี้ยงต้นอ้อย (Hawaiian Solution) เริ่มผสม พันธุ์อ้อยชุดปี 2565 เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2565 ผสมพันธุ์อ้อยได้จำนวน 161 ช่อ โดยใช้พันธุ์แม่จำนวน 60 พันธุ์ และใช้พันธุ์พ่อจำนวน 58 พันธุ์ย้ายต้นกล้าอ้อยลงแปลงได้ทั้งหมด 5,610 ต้น (ตารางที่ 1) ขณะนี้ อยู่ในระหว่างดูแลรักษาต้นกล้าอ้อยในแปลงการคัดเลือกขั้นที่ 1 8. คำหลัก : อ้อย ประเมินผลผลิต 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 129,492 บาท


27 ตารางที่ 1 จำนวนต้นกล้าอ้อยในแปลงการคัดเลือกขั้นที่ 1 อ้อยชุดปี 2565 ลำดับที่ คู่ผสม จำนวนต้นกล้า (ต้น) 1 04-2-1475 x Nakhonsawan 1 4 2 12-3 x UT5 627 3 12-3 x CP29-291 381 4 12-3 x KK08-189 184 5 85-2-352 x Nakhonsawan 1 21 6 85-2-352 x TPJ04-768 16 7 85-2-352 x Suphanburi 50 15 8 85-2-352 x UT4 14 9 85-2-352 open 5 10 Co285 x 482A057 5 11 CP110 x TPJ04-768 62 12 CP36-110 x 647-8 37 13 CP36-13 x UT11-341 92 14 CP36-13 x TPJ04-768 17 15 CP36-31 x TPJ04-768 77 16 CP45-150 x Suphanburi 50 9 17 CP63-306 x 85-2-207 41 18 CP66-376 x TBY30-058 x K90-54 240 19 CP66-376 x TPJ04-768 48 20 CP66-376 x 482A057 x K08-091 x K88-92 4 21 CP72-2085 x K88-92 x UT9 8 22 CP73-1547 x UT13-369 422 23 CP73-1547 x UT10-3 22 24 CP77-418 x TPJ04-768 55 25 CP77-418 x ThongPhum 3 16 26 CP85-1308 x UT1 x UT10-175 4 27 CP85-1382 x UT8 x UT10-623 x UT10-3 7 28 CP85-1432 x KK08-091 4 29 E-haew Self 14 30 F172 x TPJ04-768 1 31 K84-200 x E-haew 11 32 K84-200 Self 8 33 K88-92 x UT5 86 34 K88-92 x UT10-3 x UT10-586 19 35 K88-92 x 482A057 11 36 KK08-091 x 85-2-352 2 37 NCO 382 x 85-2-352 2 38 Q47 x 920 19 39 Q47 x 85-2-352 6 40 Q47 x F03-362 (F1) 3


28 ตารางที่ 1 (ต่อ) ลำดับที่ คู่ผสม จำนวนต้นกล้า (ต้น) 41 Q70 x UT10-586 13 42 Q85 x UT12-237 5 43 Q86 x UT13-369 12 44 Q86 x TPJ04-768 6 45 Q87 x UT5 478 46 RT2007-091 x UT8 1 47 TPJ04-768 x 85-2-352 408 48 TPJ04-768 x TBY30-0666 38 49 TPJ04-768 x 85-2-352 4 50 UT1 Open 20 51 UT10-044 x K88-92 61 52 UT10-044 x KK08-091 3 53 UT10-044 x K88-92 2 54 UT10-044 Self 16 55 UT10-175 x K88-92 8 56 UT10-586 x 85-2-207 6 57 UT10-586 x UT1 3 58 UT10-615 x UT8 x UT16 35 59 UT11 x K88-92 80 60 UT84-11 x Khon Kaen 3 17 61 UT84-11 x DOA.Nakhonsawan 1 7 62 UT11-341 x CP77-414 186 63 UT11-341 x Suphanburi 50 123 64 UT11-341 x CP36-105 46 65 UT11-341 x UT63-348 11 66 UT12-237 x 85-2-352 28 67 UT12-237 x UT16 16 68 UT12-237 x CSB12-23 14 69 UT12-237 x UT1 8 70 UT13 x 85-2-352 50 71 UT13 x K90-77 22 72 UT13-369 x TPJ04-768 538 73 UT13-369 x 85-2-352 59 74 UT13-369 x CP73-1547 8 75 UT13-369 x CP75-308 1 76 UT2 x TBY30-0666 17 77 UT2 x 482A057 7 78 UT2 x UT4 3 79 UT2 x TBY30-0666 1 80 UT5 x 12-3 408


29 ตารางที่ 1 (ต่อ) ลำดับที่ คู่ผสม จำนวนต้นกล้า (ต้น) 81 UT5 x UT11-341 79 82 UT5 x UT13-369 63 83 UT6 x K90-77 10 84 UT6 x K88-92 8 85 UT9 x K88-92 7 86 Mauritius open 28 87 K95-84 x UT12-237 6 88 K90-54 x K88-92 19 89 K90-54 x K90-77 x UT1 2 รวม 5,610


30 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2566 66/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยเพื่ออุตสาหกรรมน้ำตาลและอุตสาหกรรมชีวภาพ 2. ชื่อโครงการวิจัย การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานด้วยนวัตกรรมเพื่อการผลิตในเขตชลประทาน และน้ำเสริม 3. ชื่อกิจกรรม การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานภายใต้สภาพชลประทานและน้ำเสริม 4. ชื่อการทดลอง การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 สำหรับสภาพชลประทาน และน้ำเสริม 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า อัจฉราภรณ์ วงศ์สุขศรี ผู้ร่วมงาน อุดมศักดิ์ ดวนมีสุข วัลลีย์ อมรพล ณัฐวดี ฉิมพาลี เสมอนาถ บัวแจ่ม มานิตย์ สุขนิมิตร ชลธิชา แก้วเรือง 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การเปรียบเทียบมาตรฐานพันธุ์อ้อยชุดปี 2559 ดำเนินการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ศูนย์วิจัยพืชไร่ ระยอง และศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท ระหว่างเดือนตุลาคม 2564 - กันยายน 2567 โดยคัดเลือกพันธุ์อ้อยที่ได้จาก แปลงเปรียบเทียบเบื้องต้น จำนวน 10 โคลน มีพันธุ์เปรียบเทียบ 2 พันธุ์ ได้แก่ LK92-11 และ กวก. ขอนแก่น 3 วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 4 ซ้ำ จากการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ปี (อ้อยปลูกและอ้อยตอ 1) ของทั้ง 3 สถานที่ พบว่า อ้อยโคลน UT16-063 มีผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ยสูงสุด 13.1 ตันต่อไร่ รองลงมา คือ UT10-044 มีผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 12.9 ตันต่อไร่ ซึ่งอยู่ในระดับเดียวกับพันธุ์เปรียบเทียบ กวก. ขอนแก่น 3 ที่มีผลผลิต น้ำหนักเฉลี่ย 12.8 ตันต่อไร่ ส่วนค่าซีซีเอส พบว่า พันธุ์เปรียบเทียบ กวก. ขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอสเฉลี่ยสูงสุด คือ 14.8 สำหรับอ้อยโคลน UT16-145 และ UT16-185 มีค่าซีซีเอสเฉลี่ย 13.4 และ 13.2 ตามลำดับ ซึ่งสูงกว่า พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 ที่ให้ค่าซีซีเอสเฉลี่ย 11.3 สำหรับผลผลิตน้ำตาล พบว่า พันธุ์เปรียบเทียบ กวก. ขอนแก่น 3 มีผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ยสูงสุด คือ 1.92 ตันซีซีเอสต่อไร่ รองลงมา คือ อ้อยโคลน UT16-063 มีผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 1.71 ตันซีซีเอสต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 ที่ให้ผลผลิตน้ำตาล 1.16 ตันซีซีเอสต่อไร่ (ตารางที่ 1) อ้อยตอ 2 ที่อายุ 8 เดือน จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมของทั้ง 3 สถานที่ พบว่า ความสูงไม่มี ความแตกต่างทางสถิติมีค่าอยู่ระหว่าง 103 - 192 เซนติเมตร จำนวนกอต่อไร่ จำนวนลำต่อไร่ และจำนวนลำ ต่อกอ มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง พันธุ์เปรียบเทียบ กวก. ขอนแก่น 3 และอ้อยโคลน UT16-145 มีจำนวนกอต่อไร่สูงที่สุด คือ 1,748 กอต่อไร่ และอ้อยโคลน UT16-002 UT16-063 UT16-138 UT16-143 UT16-233 และ UT10-044 มีจำนวนกอต่อไร่อยู่ในระดับเดียวกับพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และ กวก.


31 ขอนแก่น 3 จำนวนลำต่อไร่ พบว่า UT16-145 มีจำนวนลำต่อไร่สูงที่สุดที่ 12,926 ลำต่อไร่ และอยู่ในระดับ เดียวกับพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และ กวก. ขอนแก่น 3 คือ 9,452 และ 10,407 ลำต่อไร่ ตามลำดับ จำนวนลำต่อกอ พบว่า UT16-145 มีจำนวนลำต่อกอสูงที่สุดที่ 7.50 ลำ รองลงมา คือ UT16-185 มีจำนวนลำ ต่อกอ 7.08 ลำ ตามลำดับ ขณะที่พันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และ กวก. ขอนแก่น 3 มีจำนวนลำต่อกอ 5.58 และ 6.00 ลำ ตามลำดับ (ตารางที่ 2) 8. คำหลัก : อ้อย พันธุ์อ้อย การเปรียบเทียบมาตรฐาน 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 119,940 บาท


32 ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม ผลผลิตน้ำหนัก ค่าซีซีเอส และผลผลิตน้ำตาล จากการ เปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม : อ้อยปลูก และอ้อยตอ 1 ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรีศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง และศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท หมายเหตุ ตัวเลขในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกันไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยวิธีDMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ** = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ลำดับ โคลน/พันธุ์ ผลผลิตน้ำหนัก (ตันต่อไร่) ซีซีเอส ผลผลิตน้ำตาล (ตันซีซีเอสต่อไร่) 1 UT16-002 11.1 cde 12.8 bc 1.46 cd 2 UT16-063 13.1 a 12.7 c 1.71 b 3 UT16-083 10.9 c-f 12.8 bc 1.43 cde 4 UT16-138 12.0 a-d 12.6 c 1.52 bcd 5 UT16-143 11.5 bcd 11.9 d 1.36 de 6 UT16-145 10.7 def 13.4 b 1.40 cde 7 UT16-149 9.5 f 11.7 d 1.22 ef 8 UT16-185 11.7 a-d 13.2 bc 1.59 bc 9 UT16-233 12.3 abc 13.0 bc 1.60 bc 10 UT10-044 12.9 ab 11.6 d 1.58 bcd 10 LK92-11 10.0 ef 11.3 d 1.16 f 11 กวก. ขอนแก่น 3 12.8 ab 14.8 a 1.92 a F-test ** ** ** CV (%) 19.61 8.98 22.53


33 ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม ความสูง จำนวนกอต่อไร่ จำนวนลำต่อไร่ และจำนวนลำต่อกอ จากการเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2559 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม อ้อยตอ 2 อายุ 8 เดือน ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง และศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท หมายเหตุ ตัวเลขในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกันไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยวิธีDMRT ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ** = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ลำดับ โคลน/พันธุ์ ความสูง (เซนติเมตร) จำนวนกอ ต่อไร่ จำนวนลำ ต่อไร่ จำนวนลำ ต่อกอ 1 UT16-002 127 112 116 192 110 131 105 179 151 153 103 107 1,585 abc 1,578 abc 1,400 c 1,570 abc 1,526 abc 1,748 a 1,454 bc 1,366 c 1,615 abc 1,684 ab 1,593 abc 1,748 a 11,319 ab 8,820 ab 7,797 b 8,919 ab 8,408 ab 12,926 a 8,437 ab 8,614 ab 8,410 ab 10,289 ab 9,452 ab 10,407 ab 6.67 abc 2 UT16-063 5.42 cd 3 UT16-083 4.83 d 4 UT16-138 5.25 d 5 UT16-143 5.58 cd 6 UT16-145 7.50 a 7 UT16-149 5.91 bcd 8 UT16-185 7.08 ab 9 UT16-233 4.91 d 10 UT10-044 5.83 cd 11 LK92-11 5.58 cd 12 กวก. ขอนแก่น 3 6.00 bcd F-test ns ** ** ** CV (%) 63.22 17.34 24.04 23.58


34 รายงานผลการปฏิบัติงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร ประจำปี 2566 66/สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน/ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี 1. ชื่อแผนงานวิจัย วิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยเพื่ออุตสาหกรรมน้ำตาลและอุตสาหกรรมชีวภาพ 2. ชื่อโครงการวิจัย การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานด้วยนวัตกรรมเพื่อการผลิตในเขตชลประทาน และน้ำเสริม 3. ชื่อกิจกรรม การปรับปรุงพันธุ์อ้อยโรงงานภายใต้สภาพชลประทานและน้ำเสริม 4. ชื่อการทดลอง การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2560 สำหรับสภาพชลประทาน และน้ำเสริม 5. ผู้ดำเนินงาน หัวหน้า อุดมศักดิ์ ดวนมีสุข ผู้ร่วมงาน อัจฉราภรณ์ วงศ์สุขศรี ณัฐภัทร์ คำหล้า ทิพย์ดรุณี สิทธินาม เสมอนาถ บัวแจ่ม มานิตย์ สุขนิมิตร ชลธิชา แก้วเรือง 6. ระยะเวลา เริ่มต้น ตุลาคม 2564 สิ้นสุด กันยายน 2567 7. รายงานความก้าวหน้า การเปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2560 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการประเมินผลผลิตและคัดเลือกโคลนอ้อยที่ให้ผลผลิตอ้อยสูง ผลผลิตน้ำตาลสูง และสามารถ ไว้ตอได้ดีในสภาพชลประทานและมีน้ำเสริม วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 4 ซ้ำ มีโคลนอ้อยดีเด่นชุดปี 2560 (UT17) จำนวน 8 โคลน และมีพันธุ์เปรียบเทียบ 2 พันธุ์ ได้แก่ กวก. ขอนแก่น 3 และ LK92-11 ดำเนินการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร กาญจนบุรี ผลการทดลองในอ้อยปลูก จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม พบว่า ผลผลิตน้ำหนักของอ้อย ไม่แตกต่างทางสถิติมีผลผลิตน้ำหนักอยู่ระหว่าง 17.8 - 21.6 ตันต่อไร่ ค่าซีซีเอสและผลผลิตน้ำตาลมีความ แตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง โดยอ้อยโคลน UT17-246 มีค่าซีซีเอสและผลผลิตน้ำตาลสูงที่สุด คือ 15.5 และ 3.32 ตันซีซีเอสต่อไร่ และอยู่ในระดับเดียวกับพันธุ์เปรียบเทียบ LK92-11 และ กวก. ขอนแก่น 3 โดยพันธุ์ LK92-11 มีค่าซีซีเอส 14.7 ให้ผลผลิตน้ำตาล 2.61 ตันซีซีเอสต่อไร่ และพันธุ์กวก. ขอนแก่น 3 มีค่าซีซีเอส 14.5 ให้ผลผลิตน้ำตาล 3.06 ตันซีซีเอสต่อไร่ (ตารางที่ 1) และในอ้อยตอ 1 ที่อายุ8 เดือน จากการวิเคราะห์ ความแปรปรวนรวมของทั้ง 3 แปลงทดลอง พบว่า ความสูงมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญ โดยอ้อย โคลน UT17-246 มีความสูงสูงที่สุด คือ 286 รองลง UT17-2742 80 เซนติเมตร ตามลำดับ ซึ่งอยู่ในระดับ เดียวกับพันธุ์เปรียบเทียบ กวก. ขอนแก่น 3 ที่มีความสูง 271 เซนติเมตร จำนวนกอต่อไร่และจำนวนลำต่อไร่ไม่มี ความแตกต่างทางสถิติ โดยมีจำนวนกอต่อไร่อยู่ระหว่าง 1,730 - 2,074 กอต่อไร่ มีจำนวนลำต่อไร่ อยู่ระหว่าง 12,289 - 14,650 ลำต่อไร่ และจำนวนลำต่อกอ พบว่า ไม่มีความแตกต่างทางสถิติเช่นกัน โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 4.39 - 6.35 ลำต่อกอ (ตารางที่ 2)


35 8. คำหลัก : อ้อย พันธุ์อ้อย การเปรียบเทียบมาตรฐาน 9. ประเภทผลวิจัย : ก้าวหน้า 10. คำแนะนำผลวิจัย : พัฒนาต่อ 11. งบประมาณที่ได้รับทั้งหมด (งบ ตชว.) : 119,940 บาท ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมของผลผลิตน้ำหนัก ค่าซีซีเอส และผลผลิตน้ำตาล จากการ เปรียบเทียบมาตรฐานโคลนอ้อยชุดปี 2560 สำหรับสภาพชลประทานและน้ำเสริม อ้อยปลูก ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ และศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร กาญจนบุรี ลำดับ โคลน/พันธุ์ ผลผลิตน้ำหนัก (ตันต่อไร่) ค่าซีซีเอส ผลผลิตน้ำตาล (ตันซีซีเอสต่อไร่) 1 UT17-011 19.8 12.8 bcd 2.72 abc 2 UT17-097 20.3 13.2 bcd 2.66 abc 3 UT17-133 20.4 13.7 abc 2.80 abc 4 UT17-211 20.6 12.3 cd 2.50 bc 5 UT17-237 20.0 11.2 d 2.22 c 6 UT17-246 21.6 15.5 a 3.32 a 7 UT17-274 20.1 13.5 abc 2.70 abc 8 UT17-291 20.0 12.8 bcd 2.52 bc 9 LK92-11 17.8 14.7 ab 2.61 abc 10 กวก. ขอนแก่น 3 21.4 14.5 abc 3.06 ab F-test ns ** ** CV. (%) 12.95 10.63 16.55 หมายเหตุ ตัวเลขในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกันไม่แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธีDMRT ns = ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ** = แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99%


Click to View FlipBook Version