1
รายงานผลการประเมนิ โครงการฉบบั สมบูรณ์
โครงการผกั บุ้งแปลงน้อยปลอดสารพษิ (ผกั สวนครวั )
ประจำปีการศกึ ษา 2564
ของ
นางสาวศิรมิ า ล่าสิงห์ 6216209001196
นางสาวณัฐมล รักษาจันทร์ 6216209001228
นางสาวศศิวมิ ล ถนนแกว้ 6216209001239
สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี
2
โครงการผักบุง้ แปลงน้อยปลอดสารพษิ (ผกั สวนครวั )
ของ
นางสาวศิรมิ า ล่าสิงห์ 6216209001196
นางสาวณฐั มล รกั ษาจันทร์ 6216209001228
นางสาวศศิวมิ ล ถนนแก้ว 6216209001239
สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี
ก
คำนำ
โครงการผกั บุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผกั สวนครัว) จัดทำข้ึนโดยมีวตั ถุประสงค์ เพ่ือศึกษา
กรรมวิธีปลูกพืชผักบุ้งจีน เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผัก
สวนครัว) ศึกษาการปลูกผักบุ้งจีนแบบปลอดสารพิษ เพ่ือให้ได้ผักบุ้งจีนท่ีมีคุณค่าทางอาหารที่ดีและ
ไม่อันตรายต่อร่างกาย ศึกษาการเจริญเติบโตของผักบุ้งจีน และศึกษาประโยชน์และสรรพคุณจาก
ผักบุ้งจีน โดยดำเนินโครงการอย่างเป็นระบบ นับตั้งแต่การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความ
ต้องการ การกำหนดจุดพัฒนา การวางแผน การปฏิบัติงานตามแผน การนิเทศติดตามผล และ
ประเมินโครงการ เพ่ือนำผลการประเมินโครงการไปใช้ในการพัฒนางานอย่างต่อเน่ือง และเป็นระบบ
ผลการดำเนินงานช่วยให้ผู้จัดทำได้พัฒนาการเรียนรู้ในการบริหารเวลา การใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์ในการทำโครงการผักบงุ้ แปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผกั สวนครัว) เกดิ เป็นความพอเพยี ง สง่ ผล
ให้นักศึกษามีคณุ ภาพตามจุดหมายของหลักสูตร
ขอขอบคุณ อาจารย์ อยับ ซาดัดคาน ท่ีให้คำปรึกษา แนะนำ และคอยให้แนวทางในการ
ปฏิบัติโครงการ ในการดำเนินโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว) และประเมิน
โครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว) ทำให้การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายท่ี
กำหนด
ศศวิ ิมล ถนนแกว้
(นางสาวศศวิ มิ ล ถนนแกว้ )
ตำแหนง่ หัวหนา้ กลมุ่ โครงการ
ข
สารบญั
หน้า
คำนำ...........................................................................................................................................ก
สารบญั ........................................................................................................................................ข
สารบัญตาราง..............................................................................................................................ง
สารบญั ภาพ.................................................................................................................................จ
บทคัดยอ่ ......................................................................................................................................ฉ
บทที่ 1 บทนำ……………………………………………………………………………………..….......………........…1
ความเป็นมาของโครงการ……………………………………………………………...……………………....…..1
วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ…………………………………………………………………...………….............……..2
ขอบเขตดำเนนิ เดินงานโครงการ……………………………………………...……..….…………….......……2
รายละเอียดของโครงการ…………..............…………………………………...….........…………………….2
รายละเอยี ดในการดำเนินงานโครงการ…………………………………...………….............……………..4
นิยามศัพท์……………………………………………………………………..................…………………………..5
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ………………………………………………………………….………………………5
บทท่ี 2 เอกสารและแนวคิดทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้อง………………………………..................…..........…………6
หลกั การและเหตผุ ลของโครงการ…………………………………………………………….…………………..6
แนวคดิ ทฤษฎที ่ีเก่ียวกับการดำเนนิ โครงการ……………………..............………………...............…7
แนวคดิ หลกั การของการประเมินโครงการ...........................................................................16
กรอบแนวคิดการประเมินผลของโครงการ...........................................................................31
บทที่ 3 วธิ ีการประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………..................…32
รปู แบบการประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………................……32
วธิ ีการการประเมินโครงการ…………………………………………………………………….................….33
ประชากรกล่มุ ตวั อยา่ ง………………………………………………………………………………....………….33
เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมนิ โครงการ……………………………………………………….............…….33
การเก็บรวบรวมข้อมูล……………………………............…………………………………..............………34
การวเิ คราะห์ผลการประเมนิ โครงการ..................................................................................34
บทท่ี 4 ผลการประเมินโครงการ………………………………………………….....…………….........…………36
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้ประเมนิ โครงการ........................................................................36
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินโครงการ.........................................................................................36
ส่วนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ โครงการ.......................................................................42
ค
บทท่ี 5 สรปุ ผลการประเมนิ และขอ้ เสนอแนะ………………………………….……………………………….43
สรปุ ผลการประเมินโครงการ................................................................................................43
ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………….....…….44
บรรณนกุ รม………………………………………………………………………………………………………...……….45
ภาคผนวกเครอื่ งมอื การประเมิน………………………………………………………………………………………46
ภาคผนวกรปู ภาพ……………………………………………………………………………………………….....……..54
ง
สารบัญตาราง
ตารางท่ี หน้า
ตารางท่ี 1.1 ข้ันตอน/วธิ ีการดำเนนิ งาน (ตามกระบวนการ PDCA).......................................3
ตารางที่ 1.2 ระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการ....................................................................5
ตารางท่ี 2.1 การประเมนิ ผลผลิตของโครงการโดยตรง (Output Evaluation)...................17
ตารางท่ี 4.1.1 ตารางแสดงผลขอ้ มลู ทว่ั ไป โดยจำแนกตามประเภทของผูป้ ระเมิน..............36
ตารางท่ี 4.2.1 หลักการ วัตถุประสงค์ของโครงการมีความเหมาะสมและสอดคล้องกันหรือไม่
.......................................................................................................................... .................................37
ตารางที่ 4.2.2 การกำหนดเป้าหมายของโครงการมคี วามเหมาะสมหรือไม่.........................37
ตารางที่ 4.2.3 บรรยากาศในการดำเนนิ งานเหมาะสมหรือไม่..............................................38
ตารางที่ 4.3.1 จำนวนบุคลากรท่รี ่วมดำเนินการโครงการ มีความเหมาะสมและเพยี งพอ
หรือไม่อยา่ งไร....................................................................................................................................38
ตารางท่ี 4.3.2 วัสดุอปุ กรณ์ต่างๆ เพยี งพอและเหมาะสมต่อการดำเนินโครงการหรือไม่
อยา่ งไร...............................................................................................................................................39
ตารางท่ี 4.3.3 อาคารสถานท่ีในการดำเนนิ โครงการมีความเหมาะสมและเพียงพอหรอื ไม่
อยา่ งไร...............................................................................................................................................39
ตารางท่ี 4.4.1 สภาพปัญหาและความต้องการในการพฒั นามีความเหมาะสมหรือไม่..........39
ตารางท่ี 4.4.2 กิจกรรมของโครงการมีความเหมาะสมหรือไม่..............................................40
ตารางท่ี 4.4.3 การประเมินผลการดำเนนิ โครงการมีความเหมาะสมหรือไม่........................40
ตารางท่ี 4.5.1 สามารถนำความรจู้ ากการปฏบิ ัติไปใช้ในชวี ิตประจำวันไดห้ รือไมอ่ ยา่ งไร
...........................................................................................................................................................41
ตารางที่ 4.5.2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการคดิ ว่า สามารถนำความรู้จากการที่ปฏิบตั ไิ ปต่อยอดใน
อนาคตได้อยา่ งไร................................................................................................................................ 41
ตารางท่ี 4.5.3 จากการทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ ผู้เข้ารว่ มโครงการสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้ไปปรับใช้
อยา่ งไร............................................................................................................................. ..................42
จ
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 2.1 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง.....................................................................................9
ภาพที่ 2.2 โมเดลการประเมินของไทเลอร์..........................................................................23
ภาพท่ี 2.3 โมเดลการประเมินของสเตก...............................................................................26
ภาพที่ 2.4 กรอบแนวคิดการประเมนิ ผลของโครงการ.........................................................31
ภาพที่ 3.1 รูปแบบการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL..............................................32
ฉ
บทคดั ยอ่
ช่อื เรื่อง การประเมินโครงการผกั บุง้ แปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผกั สวนครวั )
ผ้รู ับผิดชอบ นางสาวศริ มิ า ลา่ สงิ ห์
นางสาวณฐั มล รกั ษาจันทร์
นางสาวศศิวิมล ถนนแกว้
ระยะเวลาการประเมนิ โครงการ
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการและทำการประเมินโครงการ วันที่ 20 กันยายน 2564 ถึง
วนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2564
ระยะเวลาในการประเมินโครงการ วนั ท่ี 20 กนั ยายน 2564 ถึง วันท่ี 31 ตุลาคม 2564
วตั ถุประสงคโ์ ครงการ
1. ศึกษากรรมวิธีปลูกพืชผักบุ้งจีน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการผักบุ้งแปลงน้อย
ปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว)
2. ศึกษาการปลูกผักบุ้งจีนแบบปลอดสารพิษ เพื่อให้ได้ผักบุ้งจีนที่มีคุณค่าทางอาหารที่ดี
และไมอ่ นั ตรายต่อร่างกาย
3. เพอ่ื ศกึ ษาการเจรญิ เติบโตของผักบงุ้ จีน
4. เพอื่ ศกึ ษาประโยชน์และสรรพคณุ จากผักบงุ้ จีน
วิธีดำเนนิ โครงการ
การประเมินโครงการผักบ้งุ แปลงน้อยปลอดสารพษิ (ผกั สวนครัว) ดำเนินในระหวา่ ง.วนั ที่ 20
เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 ถึงวันท่ี 31 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 โดยใช้กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย
ประชากรในครอบครัวของสมาชิกในกลุ่ม ตำบลท่าเรือ อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน
5 คน
เครอ่ื งมอื ท่ีใชป้ ระเมนิ โครงการคอื
การประเมินโครงการผกั บุ้งแปลงน้อยปลอดสารพษิ (ผักสวนครัว) โดยใชร้ ูปแบบการประเมิน
โครงการแบบ CIPP MODEL ของ สตฟั เฟลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 )
ผลการประเมินโครงการ
ผลการประเมินโครงการในแตล่ ะดา้ นดงั น้ี
1. ด้านสภาวะแวดล้อม หลักการ สอดคล้องตรงตามวัตถุประสงค์ทไ่ี ด้คาดการณ์ไว้
2. ดา้ นปจั จัย สมาชิกในครอบครัวใหค้ วามร่วมมือต่อการดำเนินโครงการอย่างดี
3. ด้านกระบวนการ มีการแกป้ ญั หาทีต่ รงตามวัตถุประสงค์ ดำเนนิ โครงการสำเรจ็
4. ดา้ นผลผลิต นำความรูท้ ่ีได้ไปตอ่ ยอดต่อไปในอนาคตได้
1
บทที่ 1
บทนำ
1. ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ
พชื ผักสวนครัว เป็นสวนผักขนาดเล็กที่ปลูกในบริเวณบ้านหรอื โรงเรยี นในพื้นท่ีเลก็ น้อย เพ่ือ
ใช้รับประทานในครัวเรือน การทำสวนครัวนอกจากจะได้ผักท่ีปลอดสารพิษแล้ว ยังช่วยประหยัด
รายจ่าย เหมาะสำหรับงานอดิเรกใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ความสำคัญในด้านคุณค่าทางอาหาร
เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของมนุษย์ ให้ส่ิงต่างๆที่จำเป็นต่อร่างกายซ่ึงอาหารชนิดอ่ืนๆมีไม่เพียงพอ
หรือไม่มี ผักสวนครัวมีคุณสมบัติช่วยให้ระบบย่อยอาหารของร่างกายลดสภาพความเป็นกรดโดย
สาเหตุจากย่อยอาหารประเภทเนื้อสัตว์ เนย และอ่ืนๆ เย่ือใยของพืชผักสวนครัว ช่วยระบบขับถ่าย
เป็นไปอย่างปกติ ลดการเป็นโรคลำไส้ และมะเร็งในลำไส้ ลดปริมาณคลอเรสตอรอล ลดความอ้วน
ผักสวนครัวอุดมไปด้วยธาตุแคลเซียมและธาตุเหล็ก ผักสีเขียวและเหลืองให้ วิตามินเอ ซี สำหรับถั่ว
ต่างๆจะให้โปรตีน ประเภทหัว เช่น มันฝร่ัง มันเทศ ให้คาร์โบไฮเดรต และยังมีความสำคัญในด้าน
คุณค่าทางเศรษฐกิจ เพ่ือใช้ประโยชน์ในด้านการบริโภคการอุตสาหกรรมเกษตรและการผลิตเมล็ด
พันธุ์ ซ่ึงมีทั้งใช้บริโภคภายใน และส่งไปจำหน่าย จึงทำให้พืชผักสวนครัวมแี นวโน้มท่จี ะเป็นเศรษฐกิจ
ในอนาคต (Nongpaisirintra 2014: online)
ผักบุ้งจีน (Water Convolvulus) เป็นพืชผักใบเขียว เป็นพืชผักสมุนไพร อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง
เปน็ ไมล้ ม้ ลุก มีลำตน้ สเี ขยี วกลวง มใี บสีเขียว มกี า้ นใบสเี หลือง กา้ นดอกมีสีขาว ดอกมีสีขาว นำเขา้ มา
จากตา่ งประเทศ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนทวีปเอเชีย ในทวีปแอฟริกา และในทวีปออสเตรเลีย เป็นที่
นิยมปลูกกันท่ัวไปๆ ในหลายๆประเทศ มีประโยชน์และสรรพคุณทางยา ใช้นำมารักษาโรคต่างๆ ได้
หลายอย่าง ลำต้นและใบจะไม่เหนียว มีรสชาติกรอบหวาน ซ่ึงเป็นที่นิยมนำมารับประทาน และ
นำมาใช้ประกอบอาหารมากกว่าผักบุ้งไทย นิยมปลูกบนบก เพราะเจริญเติบโตได้ดีบนดิน ผักบุ้งจีน
เป็นผักที่กำลังเป็นท่ีนยิ มในช่วงนี้ เนื่องจากเปน็ ผักท่ีสามารถขายไดใ้ นราคาดี โตไว แลว้ ยังทนตอ่ แมลง
สภาพอากาศ แถมยังปลูกง่าย นอกจากนี้ยังเปน็ ผกั ทนี่ ิยมบริโภคในประเทศไทยอยูใ่ นอัตราค่อนขา้ งสูง
โดยนิยมทานกันในร้านสุกี้ ร้านหมูกระทะ นอกจากนี้บางจังหวัดในประเทศไทย ผักบุ้งจีนเป็นผักที่มี
ราคาแพง อย่างไรก็ตามผักบุ้งจีนเป็นผักที่อยู่ในตลาดอยู่เสมอ เน่ืองจากเป็นผักท่ีนิยมรับประทานกัน
อย่างแพร่หลาย ราคาของผักบุ้งจีนมีการข้ึนลงอยู่เป็นประจำตามราคาตลาด พบว่าเกษตรกรที่ปลูก
ผกั บุ้งจีนสามารถทำรายได้มากกว่าหลักหม่นื บาทตอ่ เดือน (JOM 2014: online)
2
จากประโยชน์ดังกล่าว จึงได้จัดโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว) ขึ้นมา
เพราะเนื่องจากในปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ต่างหันมาดูแลสุขภาพกันมากข้ึน ไม่ว่าจะเป็นการกินเพ่ือ
สขุ ภาพ ซ่ึงพืชผกั ให้สารอาหารท่ีสำคัญหลายชนิด เช่น วิตามิน , แร่ธาตุและใยอาหาร และให้สารอ่ืน
ท่ีไม่ใช่สารอาหาร เช่น ช่วยไม่ให้อนุมูลอิสระทำลายเน้ือเย่ือและผนังเซลล์ช่วยชะลอการเส่ือมสลาย
ของเซลล์แต่การกินผักก็อาจทำลายสุขภาพของเราเช่นกัน เพราะผักท่ีคุณซื้อไปบริโภคอาจมีความ
เสี่ยงต่อการได้รบั สารพิษจากการอุปโภคการปลูกผักกนิ เองจึงเป็นอีกทางเลือกหน่ึงท่ีมั่นใจได้ว่าเราได้
กนิ ผกั ปลอดสารพษิ และใชเ้ วลาไม่นานและยังสามารถเป็นการพฒั นาตนเอง
2. วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมนิ โครงการ
1. เพ่ือศึกษากรรมวิธีปลูกพืชผักบุ้งจีน เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการผักบุ้งแปลง
น้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว)
2. เพ่ือศึกษาการปลูกผักบงุ้ จีนแบบปลอดสารพิษ เพื่อให้ไดผ้ ักบุ้งจีนท่ีมคี ุณค่าทางอาหารท่ีดี
และไม่อันตรายตอ่ รา่ งกาย
3. เพ่ือศึกษาการเจริญเตบิ โตของผักบงุ้ จนี
4. เพื่อศึกษาประโยชนแ์ ละสรรพคณุ จากผกั บงุ้ จนี
3. ขอบเขตของโครงการ
3.1 สถานที่การดำเนินการ
หา้ งหุ้นส่วนจำกดั เอ อาร์ พี ซสิ เต็มส์ ตำบลทา่ เรอื อำเภอเมอื ง จังหวดั นครศรีธรรมราช
3.2 ระยะเวลาการประเมินโครงการ
วันที่ 20 เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2564 ถงึ วันท่ี 31 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564
4. รายละเอยี ดของโครงการ
4.1 กระบวนการการดำเนนิ โครงการ
รายงานผลการจัดทำโครงการ “ผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว)”ได้มีการนำ
หลักการคุณภาพของเดมมงิ่ “PDCA” มาใช้ในการดำเนินการ 4 ขั้นตอนดงั น้ี
ขน้ั ตอน รายละเอยี ดกิจกรรม
P=Plan ระยะที่ 1 (ต้นทาง) (20 ก.ย. 2564 -25 ก.ย. 2564)
การวางแผน -สมาชิกในกลุม่ คิดโครงการ ประชุมวางแผนข้นั ตอนการดำเนนิ โครงการ
-สมาชิกในกลุ่มศึกษาถงึ ปัจจยั สภาะแวดลอ้ มตา่ งๆ และขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั โครงการ
-สมาชิกในกลมุ่ ไดเ้ สนอโครงการตอ่ อาจารยท์ ี่ปรึกษา เพือ่ ขออนุมตั โิ ครงการและเพื่อดำเนินโครงการใน
ขน้ั ตอนตอ่ ไป
D=Do ระยะที่ 2 (กลางทาง ) (26 ก.ย. 2564 -1 ต.ค. 2564)
3
การปฏิบตั ิ -ทำการลงพื้นที่สำรวจสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกของพื้นท่ีที่จะดำเนินโครงการ เพื่อมา
จัดทำแผนปฏิบตั ิ
C=Check -นำแผนมาปฏิบัติ โดยการศึกษาข้อมูลในการปลูกผกั บุ้งจีน เพ่ือใช้ในการปลูกรับประทาน วัสดุอุปกรณ์
การตรวจสอบ สถานท่สี ำหรบั ปลกู ผักบงุ้ จีน
A=Action -ลงมอื ปฏบิ ัตปิ ลูกผักบงุ้ จนี
การปรับปรุงพัฒนา -นำผักบงุ้ ทไี่ ด้ผลผลติ เสรจ็ แลว้ นำมาใชท้ ำอาหาร
ระยะที่ 3 (กลางทาง) (2 ต.ค. 2564 -25 ต.ค. 2564)
-จัดทำแบบประเมินผลโครงการในเชิงคุณภาพด้านต่าง ๆ เพ่ือให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
โครงการเป้าหมายและผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ เพื่อใช้สำหรับการประเมินผลโครงการและ
วดั ผลการดำเนนิ โครงการ
ระยะท่ี 4 (ปลายทาง) (26 ต.ค.2564 – 31 ต.ค. 2564)
-ทำการติดตามผลการดำเนินโครงการ การแก้ไขปญั หา ในระหว่างการดำเนินโครงการ
-รวบรวมข้อมูลความสำเร็จของโครงการในด้านต่าง ๆ รวมถึงปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
ในระหวา่ งการดำเนนิ โครงการ มาสรุปผล
-พัฒนาต่อยอดเพื่อสร้างความเข้มแข็งของโครงการและสร้างความสำเร็จของโครงการ และเพ่ือ
ยกระดับในการดำเนินการโครงการในคร้ังต่อไป
ตารางที่ 1.1 ขน้ั ตอน/วธิ ีการดำเนินงาน (ตามกระบวนการ PDCA)
4.2 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ
1. เพื่อศึกษากรรมวิธีปลูกพืชผักบุ้งจีน เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการผักบุ้งแปลง
น้อยปลอดสารพษิ (ผกั สวนครวั )
2. เพื่อศึกษาการปลูกผักบุ้งจีนแบบปลอดสารพิษ เพ่ือให้ได้ผักบุ้งจีนท่ีมีคุณค่าทางอาหารที่ดี
และไมอ่ ันตรายตอ่ รา่ งกาย
3. เพ่อื ศึกษาการเจริญเตบิ โตของผักบุ้งจีน
4. เพือ่ ศึกษาประโยชนแ์ ละสรรพคณุ จากผักบุ้งจนี
4.3 เป้าหมายของโครงการ
ด้านปริมาณ ได้จำนวนการเจริญเติบโตของผกั บุง้ จีน
ดา้ นคณุ ภาพ ผกั บุ้งจนี ทไี่ ด้ปลูกปลอดสารพิษ
เมอ่ื สิ้นสุดการทำโครงการนส้ี มาชิกในกลุ่มสามารถเข้าใจวธิ กี ารปลูกผักบุ้งจนี
ร้อยละ 80 %
4
4.4 งบประมาณ
โครงการนี้ไมใ่ ชง้ บประมาณ
4.5 ปัจจยั ในการดำเนินโครงการ
วสั ดุอปุ กรณ์ จอบ บวั รดน้ำ
เคร่อื งมือ เครอื่ งใช้ เครอื่ งอำนวยความสะดวก จอบ บวั รดน้ำ
บุคคลที่ร่วมดำเนินโครงการ นางสาวศิริมา ลา่ สงิ ห์
นางสาวณฐั มล รักษาจนั ทร์
นางสาวศศิวมิ ล ถนนแกว้
เอกสาร แหล่งเรยี นรู้ สถานประกอบการ ศกึ ษาการปลูกจากตากับยาย
อาคารสถานท่ี บ้านพักสมาชิก ตำบลท่าเรือ อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัด
นครศรีธรรมราช
4.6 กจิ กรรมในการดำเนินงานโครงการ
กิจกรรมศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โตของผักบุ้งจีน
5. รายละเอียดกิจกรรมการดำเนินโครงการ
1. กิจกรรมศกึ ษาการเจริญเติบโตของผกั บุ้งจีน
1.1 วตั ถุประสงค์
1.1.1 เพอ่ื ดูการเจรญิ เติบโตของผักบุ้งจีน
1.2 การดำเนินโครงการ
1.2.1 เตรยี มดนิ และพรวนดิน รดนำ้
1.2.2 นำเมล็ดลงดนิ รดนำ้
1.2.3 รดนำ้ เชา้ รดนำ้ เย็น
1.2.4 เกบ็ เกยี่ วผลผลติ เมอ่ื ผักบงุ้ เต็มท่ี
1.3 เครือ่ งมือในการประเมินผล
1.3.1 ประเมนิ ผลจากการไดผ้ ลผลติ
1.4 ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั
1.4.1 ไดผ้ กั บุง้ จนี ท่ีมีการเจริญเติบโตเตม็ ที่
1.4.2 ได้ผักบงุ้ จนี ทีป่ ลอดสารพษิ
5.1 ระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการ
ระหวา่ งวันท่ี 1 เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2564 ถึงวนั ที่31 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564
โดยมีปฏทิ ินปฏิบตั งิ านตามโครงการดังน้ี
5
ระยะเวลา กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
วั น ที่ 2 0 กั น ย าย น เตรียมดนิ พรวนดนิ รดนำ้ สมาชิกในกล่มุ
2564
วั น ที่ 2 1 กั น ย าย น ใสเ่ มล็ดลงดนิ รดน้ำ เช้าเยน็ ทกุ วนั สมาชกิ ในกลุ่ม
2564
วั น ที่ 2 4 กั น ย าย น ต้นออ่ นผักบุ้งจีนเร่มิ งอกออกมาจากตวั สมาชกิ ในกลมุ่
2564 เมล็ด
วั น ท่ี 2 7 กั น ย าย น ตน้ อ่อนผักบุ้งงอกออกจากเมลด็ ทกุ เมลด็ สมาชิกในกลมุ่
2564
วั น ท่ี 3 0 กั น ย าย น ตน้ อ่อนเร่ิมเจรญิ เตบิ โตขนึ้ ตามลำดับ สมาชิกในกลมุ่
2564
วันที่ 4 ตลุ าคม 2564 ใส่ป๋ยุ สมาชกิ ในกลุม่
วนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2564 ใสป่ ุ๋ย สมาชิกในกลุ่ม
ตารางท่ี 1.2 ระยะเวลาดำเนินงานตามโครงการ
6. นยิ ามศพั ท์
ผักบุ้งจีน หมายถึง ผักบุ้งจีน เป็นพืชท่ีอยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) มีชื่อทาง
วทิ ยาศาสตร์ว่า Ipomoea aquatica Forsk. Var. reptan เป็นพืชที่พบท่ัวไปในเขตร้อน และเป็นผัก
ท่ีคนไทยนิยมนำมาประกอบอาหารเช่นเดียวกับผักบุ้งไทย ผักบุ้งจีนมีใบสีเขียว ก้านใบมีสีเหลืองหรือ
ขาว ก้านดอกและดอกมสี ีขาว โดยทั่วไปแล้วผักบุ้งจนี จะนยิ มนำมาประกอบอาหารมากกว่าผักบงุ้ ไทย
จึงมีการปลูกอย่างแพร่หลายในประเทศไทย สำหรับเกษตรกรปลูกเพื่อนำลำต้นไปขาย และบริษัท
ปลูกเพื่อพัฒนาและขายเมล็ดพันธ์ุ ตลาดท่ีสำคัญในการส่งออกผักบุ้งจีน คือ ฮ่องกง มาเลเซีย และ
สงิ คโปร์
ผักปลอดสารพิษ หมายถึง ผักที่มีกระบวนการผลิตมีการใช้สารเคมีสังเคราะห์ (เช่น ธาตุ
อาหาร ปุ๋ยเร่งการเจริญเติบโต ปุ๋ยอินทรีย์ต่าง ๆ) ผลผลิตของพืชผักท่ีไม่มีสารเคมีป้องกันและกำจัด
ศัตรูพืชตกคา้ งอยู่ หรือมตี กค้างอยแู่ ต่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
7. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ บั
1. รู้คุณประโยชน์ของการปลูกผกั บงุ้ จนี แบบปลอดสารพิษ
2. ลดคา่ ใช้จ่ายในการซื้อผักมาประกอบอาหารประจำวัน
3. ได้รับประทานผักแบบปลอดสารพิษในครัวเรือน
4. สามารถสร้างรายได้ใหแ้ ก่ครอบครัวได้
5. ใชพ้ ื้นท่สี ว่ นทีว่ ่างเปล่าให้เกิดประโยชน์
6
บทท่ี 2
เอกสารและแนวคิดทฤษฎที ่ีเก่ียวข้อง
1. หลักการและเหตผุ ลของโครงการ
ผกั สวนครัวคือผกั ท่ีปลูกไว้ในบริเวณบ้านหรือที่ว่างต่าง ๆ ในชุมชนต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อปลูกไว้สำหรับรับประทานเองภายในครอบครัวหรือชุมชน การปลูกผักสวนครัวไว้รับประทานจะ
ทำให้ผู้ปลูกได้รับประทานผักสดท่ีอุดมด้วยวิตามินและเกลือแร่ต่าง ๆ มีความมปลอดภัยจากสารเคมี
ลดรายจ่ายในครัวเรอื นและที่สำคัญทำให้สมาชิกในครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกันในการปลกู ผักเพื่อเกิด
สัมพันธ์ที่ดีภายในครอบครัวโดยทั่วไปคนต้องมีการบริโภคผักอย่างน้อย วันละ 200 กรัม เพ่ือให้ได้
สารอาหารครบถว้ นดงั น้ันเราจงึ เล็งเห็นประโยชนข์ องผักสวนครวั ซงึ่ ได้เลอื กมาคือผักบุง้ จนี
ผักบุ้งจีน (Water Convolvulus) เป็นพืชผักใบเขียว เป็นพืชผักสมุนไพร อยู่ในวงศ์ผักบุ้ง
เป็นไม้ล้มลุก มีลำตน้ สีเขียวกลวง มใี บสเี ขียว มกี า้ นใบสีเหลอื ง ก้านดอกมสี ขี าว ดอกมสี ีขาว นำเข้ามา
จากตา่ งประเทศ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อนทวีปเอเชยี ในทวีปแอฟริกา และในทวีปออสเตรเลีย เป็นท่ี
นิยมปลูกกันทั่วไปๆ ในหลายๆประเทศ มีประโยชน์และสรรพคุณทางยา ใช้นำมารักษาโรคต่างๆ ได้
หลายอย่าง ลำต้นและใบจะไม่เหนียว มีรสชาติกรอบหวาน ซ่ึงเป็นท่ีนิยมนำมารับประทาน และ
นำมาใช้ประกอบอาหารมากกว่าผักบุ้งไทย นิยมปลูกบนบก เพราะเจริญเติบโตไดด้ ีบนดนิ มีพลงั งาน มี
เสน้ ใยอาหาร มีคาร์โบไฮเดรต มีแคลเซียม มีฟอสฟอรัส มีเหล็ก มีวิตามินเอ มีวิตามนิ บีหน่ึง มีวิตามิน
บีสอง มไี นอาซนิ มีวิตามินซี มีสารต้านฮสี ตามีน มเี บตา้ แคโรทีน ใช้เล้ียงสัตว์ไดล้ ำต้นและใบ ชว่ ยขับ
ปัสสาวะ แก้ปัสสาวะเหลือง แก้ท้องผูก บรรเทาอาการริดสีดวง แก้ถ่ายเป็นมูกเลือด แก้เลือดกำเดา
ออก แก้ปวดจากแมลงกัดต่อย แก้บวม แก้ฟกช้ำ แก้โรคหนองใน ช่วยเจริญอาหาร ช่วยลดความดัน
โลหิต รากผักบุ้ง แก้อาการแผลปวดบวม แก้ไอเรื้อรัง แก้ตกขาวในสตรีซ่ึงการท่ีเลือกผักสวนครัวและ
เลือกที่จะศึกษาผักบุ้ งจีน เพราะเป็ นพื ชผักใบเขียวที่ห าได้ง่ายและมีประโยชน์ เ ยอะเป็น ผักที่นิ ยม
บรโิ ภคกนั มาก ปลกู ง่าย เจรญิ เติบโตเร็วและใช้เวลาในการรอผลผลิตไม่นาน
จากประโยชน์ดังกล่าว จึงได้จัดโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว) ข้ึนมา
เพราะผักบุ้งมีประโยชน์มากมาย ปลูกง่าย ละใช้เวลาไม่นานและยังสามารถเป็นการพัฒนาตนเองใน
เรอ่ื งการใช้เวลาว่างหลงั การเรยี นออนไลนใ์ ห้เป็นประโยชนด์ ว้ ย
7
2. แนวคิดทฤษฎีท่เี ก่ยี วกบั การดำเนินโครงการ
2.1 แนวคดิ เก่ยี วกับการเรยี นรู้
การเรียนรู้คือกระบวนการท่ีทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้
จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะ
เรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรียนรู้จะ
เกิดข้นึ จากประสบการณ์ท่ีผสู้ อนนำเสนอ โดยการปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างผสู้ อนและผเู้ รยี น ผ้สู อนจะเปน็ ผู้
ทสี่ ร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอ้ืออำนวยต่อการเรียนรู้ ที่จะให้เกิดขึ้นเป็นรูปแบบใดก็ได้เช่น ความ
เป็นกันเอง ความเข้มงวดกวดขัน หรือความไม่มีระเบียบวินัย สิ่งเหล่านี้ผู้สอนจะเป็นผู้สร้างเง่ือนไข
และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการ
สรา้ งปฏสิ มั พันธ์กบั ผเู้ รยี น (อนันต์ศักดิ์ สร้างคำ 2559: ออนไลน)์
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้
1. ทฤษฎีการเรียนรู้จาก การเก็บข้อมูล (Retention Theory) ทฤษฎีน้ีกล่าวว่า
ความสามารถในการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับ ความสามารถท่ีจะ เก็บข้อมูล และเรียกข้อมูลที่เก็บเอาไว้
กลับคืนมา ทั้งนี้รวมถึง รูปแบบของข้อมูล ความมากน้อยของข้อมูล จากการเรียนรู้ข้ันต้น แล้วนำไป
ปฏิบัติ
2. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยใช้การโยกย้ายปรับเปลี่ยนข้อมูล (Transfer Theory) ทฤษฎีน้ี
กล่าวว่า การเรียนรู้มาจาก การใช้ความเชื่อมโยง ระหว่าง ความเหมือน หรือความเกี่ยวข้องระหว่าง
ขอ้ มลู ใหมก่ บั ข้อมลู เก่า ทฤษฎนี ้ขี ้ึนอยู่กบั ข้อมูลขนั้ ต้นทีเ่ ก็บเอาไว้ด้วยเชน่ กนั
3. ทฤษฎีของความกระตือรือร้น (Motivation Theory) ทฤษฎีนี้กล่าวว่า ความสามารถ
ในการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับความตั้งใจท่ีจะเรียนรู้ ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับความสนใจ ความกังวล การประสบ
ความสำเร็จและผลท่ีจะได้รับด้วย เช่น ถ้าทำอะไรแล้วได้ผลดี เด็กจะรู้สึกว่า ตนเองประสบ
ความสำเรจ็ ก็จะมคี วามกระตอื รอื รน้
4. ทฤษฎีการเรียนร้แู บบมีส่วนรว่ มอย่างจรงิ จัง (Active Participation Theory) ทฤษฎี
น้ีกล่าวว่า ความสามารถ ในการเรียนรู้ ขึ้นอยู่กับ ความอยากจะเรียนรู้ และมีส่วนร่วม ถ้ามีความ
อยากเรยี นรู้ และอยากมสี ่วนร่วมมาก ความสามารถในการเรียนรู้กจ็ ะมมี ากข้ึน
5. ทฤษฎีการเรียนรู้จากการเก็บรวบรวมและการดำเนินการจัดการกับข้อมูล
(Information Processing Theory)ทฤษฎีน้ี ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื
8
ส่วนแรกพูดถึง ความสามารถในการจำระยะสั้นของสมอง ซ่ึงมีขีดจำกัด สามารถเก็บข้อมูล
เปน็ กลมุ่ ก้อน (Chunking) ได้ประมาณ 7 ขอ้ มลู หรือ 5-9 คือ 7 บวกลบ 2 ขอ้ มูลก้อนนี้เป็นขอ้ มูลทีม่ ี
ความหมาย ซ่งึ อาจเปน็ ตัวเลข หรอื คำพูด หรือตำแหนง่ ของตัวหมากรุก หรอื ใบหน้าคน เปน็ ตน้
ส่วนที่ 2 พูดถึง TOTE มาจาก Test-Operate-Test-Exit ทฤษฎีนี้นำเสนอโดย มิลเลอร์
(Miller) และคณะ กล่าวว่า ต้องมีการประเมินว่า ได้มีการกระทำท่ีบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ถ้าหาก
บอกว่าไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ก็จะต้องมีการกระทำ หรือปฏิบัติการใหม่เพ่ือ ให้บรรลุวัตถุประสงค์
ทฤษฎนี ้ีเป็นทฤษฎเี กี่ยวกับการแกไ้ ขปญั หา
6. ทฤษ ฎีการสร้างองค์ค วามรู้ด้วยตน เอง หรือ ท ฤษ ฎี ค อน สตรัค ชั่น นิ สซ่ึ ม
(Constructionism) เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ อีกทฤษฎีหนึ่ง ตามความเห็นของ อลัน ชอว์ (Alan
Shaw) กล่าวว่า เคยคิดว่า ทฤษฎีคอนสตรัคช่ันนิสซึ่ม เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับ การศึกษาเรียนรู้ แต่ความ
จริง มีมากกว่า การเรียนรู้ เพราะสามารถนำไปใช้ใน สภาวะการเรียนรู้ ในสังคม ได้ด้วย ชอว์
ทำการศึกษา เรื่องรูปแบบ และ ทฤษฎีการเรียนรู้ และพัฒนา เขาเช่ือว่า ในระบบการศึกษา มี
ความสำคัญต่อเน่ืองไป ถึง ระบบโครงสร้างของสังคม เดก็ ท่ีได้รับ การสอนด้วย วิธีให้อย่างเดียว หรือ
แบบเดียว จะเสียโอกาส ในการพัฒนาด้านอ่ืน เช่นเดียวกับสังคม ถ้าหากมีรูปแบบ แบบเดียว ก็จะ
เสียโอกาส ทจี่ ะมโี ครงสรา้ ง หรอื พัฒนา ไปในด้านอนื่ ๆ เช่นกนั
2.2 แนวคดิ เก่ยี วกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการนี้มีความสอดคลองกับปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงคือเนนการทำธรุ กิจทย่ี ึดหลกั การ
พฒั นาองค แบบย่ังยืนโดยนาํ หลกั เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในองคกรของกลุมแมบานบางสะแกโดยการ
พฒั นาน้ันตั้งอยูบนทางสายกลางสามหวงสองเงื่อนไขเป็นแนวทางปฏิบตั ิ (Krungsri Guru 2021:
online)
9
ภาพที่ 2.1 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ความพอประมาณ
• ใหสามารถพึ่งตนเองได้ การทกี่ ลมุ่ ของสมุนไพรทอดกรอบ จัดต้ังกลุมกนั ขนึ้ มาเพื่อหวงั จะ
สร้างอาชีพใหแก
ตนเองและสรงรายได้ใหแกครอบครวั โดยไม่จำเป็นตองแสวงหาแหล่งทส่ี ร้างรายได้จากท่ีอืน่ สามารถค
นพบจากสิ่งท่ีมีอยูใกลตวั น่นั คอื สมนุ ไพรไทยทเ่ี ป็นพชื พ้ืนบานของไทย นํามาผลิตเป็นสินคาเพ่ือ
จำหนา่ ยสรงเป็นอาชีพและเพ่ิมรายได้
• ความพอเหมาะกับสภาพของตน กลุมสมนุ ไพรทอดกรอบและเมยี่ งสมนุ ไพรโดยทไ่ี ม่ขยาย
สายผลติ ภัณฑเพม่ิ เน่ืองจากกลุมนกึ ถงึ กําลังการผลิตของทางกลุมแมบานเองทม่ี ีไมเ่ พียงพอหากขยาย
สายผลิตภณั ฑทางกลุมนน้ั
ยงั คงมีความพอใจในจดุ น้ี จึงมีเลอื กออกแบบบรรจุภณั ฑใหม่ใหทางกลุมเพื่อแสดงความมีเอกลักษณ
ของผลิตภัณฑหลงั จากท่ีทีมชอกาสะลองเขาไปพดู คุยและเสนอทางเลือกหลายๆทางในการเพอื่ สราง
ความยง่ั ยืนมาสู่อาชพี เสรมิ
ความมเี หตุผล
• ธุรกจิ สมนุ ไพรทอดกรอบเป็นธุรกิจเสรมิ ขนาดเล็กทจ่ี ดั ขนึ้ ภายในโครงการของกลุ่มสมนุ ไพร
ทอดกรอบเพ่ือ สรางรายได้เสรมิ ใหกับสมาชกิ ในกล่มุ และครอบครัวของสมาชกิ ในกล่มุ ให้มงี านทำกัน
สมนุ ไพรทอดกรอบ
นั้นไดร้ ับความนยิ มเป็นทสี่ มควรโดยกลุมลูกค้าเป้าหมายของผลิตภัณฑนนั้ เป็นกลุมทีร่ ับประทานเพอื่
สขุ ภาพมีอายุต้งั แต่ 30ปข้นึ ไปทางกลุม่ จงึ เลือกทำบรรจุภัณฑใหเหมาะกับผลติ ภณั ฑสมุนไพรทอด
กรอบ บรรจุ
10
ภณั ฑทีม่ ตี นทนุ ต่ำสามารถเก็บสมนุ ไพรใหคงความกรอบได้นาน เป็นบรรจภุ ัณฑในลกั ษณะแบบบรรจุ
แบบถงุ กระดาษเพ่ือท่จี ะสามารถทานได้สะดวกและเหมาะสำหรับทาน 1-2 คน
การสรางภมู คิ ุมกัน
• ในปจจุบนั พบวาผลติ ภณั ฑทางด้านสมนุ ไพรเพ่อื สุขภาพนั้นเพม่ิ มากขึ้นและมีการ
ลอกเลียนแบบกนั เร่ืองสมนุ ไพรจงึ ไมใ่ ชสงิ่ แปลกใหม่อีกตอไป และกลุมลกู คาโดยทวั่ ไปจะเป็นกลุ
มลูกคาทส่ี นใจในเร่ืองการรักสุขภาพ นอกจากน้ีสมนุ ไพรทอดกรอบไม่ใชสินคาจำเป็นสวนแบงทาง
การตลาดจงึ นอยมากเม่ือเทียบกับสินคาอืน่ การทำบรรจุภัณฑใหม่นเ้ี พื่อขยายตลาดเพ่ือใหลกู คาได้
พจิ ารณาในการเลือกสินคาเป็นแนวทางในการสรางภมู ิคมุ้ กันแกผลิตภณั ฑสมุนไพรทอดกรอบ
เง่อื นไขความรู
• ในการทำบรรจุภณั ฑรูปแบบใหม่ทางกลุม่ ได้พัฒนาและเรยี นรูจากการการเดินสาํ รวจแหล่ง
จำหนา่ ยสนิ ค้าขนาดใหญ่ เชน Big C ,โลตสั , รา้ นเบเกอร์และแหล่งอนื่ ๆ เพื่อพฒั นาการทำแบบบรรจุ
ภณั ฑทท่ี างกลุมในใชการบรรจุสมนุ ไพรทอดกรอบท่ีทางกลุมผลิตข้ึน
• เขาร่วมแสดงสินคา OTOP จากสถานท่ีตา่ งๆ เพ่ือสรางเครือขายทางธุรกจิ สรางโอกาสให
ผลิตภณั ฑเป็นท่ีรูจกั นาํ ไปสู่การพัฒนาผลติ ภณั ฑและรปู แบบการบรรจภุ ัณฑท่ีดี
เง่ือนไขคุณธรรม
• ทำผลิตภัณฑสมนุ ไพรทอดกรอบท่ีได้รบั มาตรฐานไม่มีสารเจอื ปนในสนิ คา
• ใชสมนุ ไพรที่เป็นวัตถุดิบทปี่ ลอดสารพิษ ไรการตกคางสารพิษ
• ขบวนการผลิตในข้ันตอนทอด นำ้ มนั ทใ่ี ชในการทอดจะผ่านการทอดคร้ังเดียวไม่มนี ำ้ มนั เกา่
มาทอดซ้ำในครัง้ ตอไป เสนอแตส่ ่งิ ดีๆแกลูกคาไม่มโี ฆษณาเกนิ ความเป็นจริงตอลุกคา
2.3 แนวคิดการพัฒนาเพ่ือพึ่งตนเองของเกษตรกรอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ (Self
Reliance)
แนวพระราชดำริเก่ียวกับการส่งเสริมชุมชนหรือการพัฒนาชนบทที่สำคญั ๆ คือ การท่ีทรงมุ่ง
ช่วยเหลือพัฒนา คือ การที่ทรงมุ่งช่วยเหลือพัฒนาให้เกิดการพึ่งตนเองได้ของคนในชนบทเป็นหลัก
กิจกรรมและโครงการตามแนวพระราชดำริที่ดำเนินการอยู่หลายพื้นที่ทั่วประเทศในปัจจุบันนั้นล้วน
แล้วแต่มีเป้าหมายสุดท้ายอย่ทู ่กี ารพึ่งตนเองได้ของราษฎรท้งั สนิ้ (มลู นธิ ิชัยพัฒนา 2560: ออนไลน์)
ในการพัฒนาท้ังด้านอาชีพและส่งเสริมการเกษตร ให้เกษตรกรสามารดำรงชีพอยู่ได้อย่าง
มั่นคงเป็นปึกแผ่นนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดำเนินการแนะนำสาธิตให้ประชาชนดำเนิน
รอยตามเบื้องพระยุคลบาทเป็นไปตามหลักการพัฒนาสังคมชุมชนอย่างแท้จริง กล่าวคือ ทรงมุ่ง
ช่วยเหลอื พัฒนาใหเ้ กิดการพ่งึ ตนเองได้ของคนในชนบทเป็นหลกั
ดังนน้ั การทรี่ าษฎรในชนบทสามารถพึง่ ตนเองได้มากยง่ิ ขึ้นนน้ั สืบเนอ่ื งจากแนวพระราชดำริ
ดา้ นการพัฒนาที่ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานแก่เกษตรกรทัง้ หลายประการ
11
วธิ กี ารพัฒนา
1. ทรงยึดหลักท่ีไม่ใช้วิธีการส่ังการให้เกษตรกรปฏบิ ัติตาม เพราะไม่อาจช่วยใหค้ นเหล่านั้น
พง่ึ ตนเองได้ เนื่องจากเปน็ การปฏิบัตงิ านโดยไม่ไดเ้ กิดจากความพงึ ใจ ดังพระราชดำรัสความตอนหนึ่ง
ว่า ..ดำริ คือ ความเห็นที่จะทำ ไม่ใช่คำสั่งแต่มันเป็นความเห็น มีทฤษฎีอะไรต้องบอกออกมา ฟังได้
ฟงั ชอบใจก็เอาไปได้ ใครไม่ชอบก็ไมเ่ ปน็ ไร...
2. ทรงเน้นให้พ่ึงตนเองและช่วยเหลือตนเองเป็นหลักสำคัญ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มักจะทรงทำหน้าที่กระตุ้นให้เกษตรกรท้ังหลายคิดหาลู่ทางที่จะช่วยตนเอง พ่ึงตนเองโดยไม่มีการ
บังคับการแสวงหาความร่วมมือจากภายนอกต้องกระทำเมื่อจำเป็นจริงๆ ดังพระราชดำรัสตอนหน่ึง
ทวี่ ่า ...คนทุกคน ไม่ว่าชาวกรุงหรอื ชาวชนบทไม่ว่ามกี ารศึกษามากหรือน้อยอย่างไร ย่อมมีจิตใจเป็น
อสิ ระ มีความคิดเห็น มีความพอใจ เป็นของตนเอง ไมช่ อบการบังคับ นอกจากน้นั ยังมีขนบธรรมเนยี ม
มแี บบแผนเฉพาะเหลา่ กันอกี ดว้ ย...
3. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน (People
Participation) เป็นจุดหลักสำคัญในการพัฒนาตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ด้วยการ
ดำเนินการเช่นน้ัน จักช่วยให้ประชาชนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในท่ีสุด ดังเคยมีพระราชดำรัสใน
อากาสวันขึ้นปีใหม่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2501 กับประชาชนชาวไทยทั้งหลายว่า ...ภาระในการบริหาร
นั้นจะประสบผลด้วยดีย่อมต้องอาศัยความรักชาติ ความซื่อสัตย์สุจริต ความสมัครสมานกลมเกลียว
กนั ประกอบกับการร่วมมือของประชาชนพลเมืองทั่วไป ขา้ พเจ้าจึงหวังว่าท่านทั้งหลายคงจะพยายาม
ปฏบิ ัตกิ รณียกิจในส่วนของแต่ละทา่ นดว้ ยใจบรสิ ุทธ์ิ โดยคำนึงถึงประโยชน์สว่ นรวม ทั้งน้ีเพ่อื ได้มาซึ่ง
ความรม่ เย็นเปน็ สุขของประชาชนทั่วไปอันเป็นยอดปรารถนาดว้ ยกันท้ังส้นิ ...
4. หลักสำคัญอีกประการหนึ่ง ในการแนะนำประชาชนเกี่ยวกับโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ คือ ทรงใช้หลักประชาธิปไตยในการดำเนินการ เห็นได้ชัดเจนในทุกคราท่ีเสด็จพระราช
ดำเนินไปทรงเย่ียมเยียนประชาชนและเกษตรกรร้องทุกข์เกี่ยวกับปัญหาท่ีเกิดข้ึน หากเจ้าหน้าท่ี
ทักท้วงส่ิงใดทางวิชาการ กราบบังคมทูลแล้วก็ทรงรับฟังข้อสรุปอย่างเป็นกลาง หากสิ่งใดท่ีเจ้าหน้าที่
กราบบังคมทูลว่าปฏิบัติได้ แต่ผลลัพธ์อาจไม่คุ้มค่ากับเงินที่ลงไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรง
ให้เปล่ียนแปลงโครงการได้เสมอ เห็นได้ชัดเจนจากพระราชดำรัสศูนย์ศึกาการพัฒนาอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริว่า ...เป็นสถานท่ีที่ผู้ทำงานในด้านพัฒนาจะไปทำอะไรอย่างที่เรียกว่า ทดลอง ก็ได้ และ
เมื่อทดลองแล้วจะทำให้ผู้อ่ืนท่ีไม่ใช่ผู้เช่ียวชาญในวิชาน้ันสามารถเข้าใจว่าเขาทำกั นอย่างไรเขาทำ
อะไรกนั ...
5. ทรงยึดหลักสภาพของท้องถนิ่ เป็นแนวทางในการดำเนนิ งานตามโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ท้ังด้านสภาพแวดล้อม ทางภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี ของแต่
12
ละทอ้ งถ่ินในแต่ละภมู ิภาคของประเทศ เพราะทรงตระหนักดีกว่าการเปลย่ี นแปลงใดทด่ี ำเนินการโดย
ฉับพลันอาจก่อผลกระทบต่อค่านิยม ความคุ้นเคย และการดำรงชีพในวิถีประชาเหล่านั้นเป็นอย่าง
มาก ดังนน้ั จึงพระราชทานแนวคิดเรอื่ งน้ีว่า ...การพัฒนาจะต้องเปน็ ไปตามภูมปิ ระเทศของภูมิศาสตร์
และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศของสังคมวิทยาคือ นิสัยใจคอของคนเรา
จะไปบังคับให้คนคิดอย่างอื่นไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้วเราเข้าไปดูว่า เขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็
อธบิ ายให้เขาเข้าใจหลักการของการพฒั นาน้ีกจ็ ะเกดิ ประโยชน์อย่างย่ิง...
6. พระราชดำริท่ีสำคัญประการหน่ึง คือ การสร้างความแข็งแรงให้ชุมชน ด้วยการสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานหลักที่จำเป็นต่อการผลิต อันจะเป็นรากฐานนำไปสู่การพึ่งตนเองได้ในระยะยาว
โครงสร้างพื้นฐานท่ีสำคัญ คือ แหล่งน้ำ เพราะเป็นปัจจัยสำคัญท่ีจะทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ที่ต้อง
พงึ่ พาอาศัยนำ้ ฝนจักได้มโี อกาสทจี่ ะมีผลิตผลได้ตลอดปี ซง่ึ เป็นเงอื่ นไขปจั จยั สำคัญย่ิงที่จะทำใหช้ มุ ชน
พ่ึงตนเองได้ในเร่ืองอาหารได้ระดับหนึ่ง และเม่ือชุมชนแข็งแรงพร้อมดีแล้ว ก็อาจจะมีการสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ที่จำเป็นต่อการยกระดับรายได้ของชุมชน เช่น เส้นทางคมนาคม ฯลฯ ซึ่งการ
พัฒนาในลักษณะท่ีเป็นการมุ่งเตรียมชุมชนให้พร้อมต่อการติดต่อสัมพันธ์กับโลกภายนอกอย่างเป็น
ขั้นตอนนี้ทรงเรียกว่า การระเบิดจากข้างใน ซ่ึงเรื่องน้ีพระองค์ทรงอธิบายว่า ...การพัฒนาประเทศ
จำเป็นต้องทำตามลำดับข้ันตอน ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชนส่วน
ใหญเ่ ป็นเบื้องตน้ ก่อนโดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ทป่ี ระหยัด แตถ่ ูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พ้ืนฐาน
ม่ันคงพร้อมพอควรและปฏิบตั ิได้แลว้ จงึ ค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจชนั้ ท่สี ูงขึ้น
โดยลำดบั ...
วิธีการพัฒนาเพื่อให้เกิดการพึ่งตนเองได้นี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงช้ีแนะว่าควร
จะต้องค่อยๆ กระทำตามลำดับข้ันตอนต่อไป ไม่ควรกระทำด้วยความเร่งรีบซึ่งอาจจะเกิดความ
เสียหายได้ ดังท่ีรับสั่งกับนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 ว่า ...ใน
การสร้างความเจริญก้าวหน้าน้ี ควรอย่างย่ิงท่ีจะค่อยสร้างค่อยเสริมทีละเล็กละน้อยให้เป็นลำดับ ให้
เป็นการทำไปพิจารณาไป และปรับปรุงไป ไม่ทำด้วยอาการเร่งรีบตามความกระหายท่ีจะสร้าง
ของใหมเ่ พื่อความแปลกใหม่ เพราะความจรงิ ส่ิงท่ีใหม่แท้ๆ น้ันไม่มี สิง่ ใหม่ทัง้ ปวงยอ่ มสืบเน่ืองมาจาก
สิ่งเกา่ และตอ่ ไปย่อมจะตอ้ งกลายเปน็ ส่งิ เกา่ ...
พร้อมกันน้ีในเร่ืองเดียวกัน ทรงมีรับส่ังกับบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในวันที่ 26
กรกฎาคม พ.ศ. 2527 วา่ ...เมอ่ื มีพ้ืนฐานหนาแนน่ บริบูรณ์พร้อมแล้ว กต็ ้ังตนพัฒนางานต่อไป ให้เป็น
การทำไปพัฒนาไปและปรบั ปรุงไป...
7. การส่งเสริมหรือสร้างเสริมสิ่งที่ชาวชนบทขาดแคลน และเป็นความต้องการอย่างสำคัญ
คือ ความรู้ ด้านต่างๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักว่า ชาวชนบทควรจะมีความรู้ใน
เรื่องของการทำมาหากนิ การทำการเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยทรงเน้นถึงความจำเป็นท่ี
13
จะต้องมี ตัวอย่างแห่งความสำเร็จ ในเร่ืองการพ่ึงตนเอง ซ่ึงทรงมีพระราชประสงค์ท่ีจะให้ราษฎรใน
ชนบทได้มีโอกาสได้รู้ได้เห็นถึงตัวอย่างของความสำเร็จนี้ และนำไปปฏิบัติได้เองซ่ึงทรงมีพระราช
ประสงค์ท่ีจะให้ตัวอย่างของความสำเร็จทั้งหลายได้กระจายไปสู่ท้องถิ่นต่างๆ ทั่งประเทศ วิธีการให้
ความรู้แก่ประชาชนนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริท่ีเก่ียวข้องกับการใช้เทคโนโลยีที่
ทันสมัยในกรพัฒนาว่า …การใช้เทคโนโลยีอันทันสมัยในงานต่างๆ นั้น ว่าโดยหลักการควรจะให้ผล
มาก ในเรื่องประสิทธาพ การประหยัดและการทุ่มแรงงาน แต่อย่างไรก็ตามก็คงยังจะต้องคำนึงถึงส่ิง
อื่นเปน็ พนื้ ฐานและส่วนประกอบของงานที่ทำด้วย อย่างในประเทศของเราประชาชนทำมาหาเลย้ี งตัว
ด้วยการกสิกรรมและการลงแรงทำงานเป็นพ้ืน การใชเ้ ทคโนโลยีอย่างใหญ่โตเต็มรูปหรอื เต็มขนาดใน
งานอาชีพหลักของประเทศย่อมจะมีปัญหา เช่นอาจทำให้ต้องลงทุนมากมายสิ้นเปลืองเกินกว่าเหตุ
หรืออาจก่อให้เกิดการว่างงานอย่างรุนแรงขึ้น เป็นต้น ผลที่เกิดก็จะพลาดเป้าหมายไปห่างไกลและ
กลับกลายเป็นผลเสีย ดังน้ัน จึงต้องมีความระมัดระวังมากในการใช้เทคโนโลยีท่ีปฏิบัติงานคือ ควร
พยายามใช้ให้พอเหมาะพอดีแก่สถาวะของบ้านเมืองและการทำกินของราษฎรเพื่อให้เกิดประสิทธิผล
ด้วย เกดิ ความประหยดั อย่างแทจ้ รงิ ดว้ ย...
8. ทรงนำความรู้ในด้านเทคโนโลยีการเกษตรท่ีเหมาะสมเข้าไปถึงมือชาวชนบทอย่างเป็น
ระบบและต่อเนื่อง โดยทรงมุ่งเน้นให้เป็นขบวนการเดียวกับที่เป็นเทคโนโลยีทางการผลิตท่ีชาวบ้าน
สามารถรับไปและสามารถไปปฏิบตั ิได้ผลจริง
2.4 แนวคิดพน้ื ฐานในการพฒั นาตน
บุคคลที่จะพัฒนาตนเองได้น้ันจะต้องเป็นผู้มุ่งม่ันที่จะเปล่ียนแปลงหรอื ปรับปรุงตัวเอง โดยมี
ความเช่อื หรือแนวคดิ พ้ืนฐานในการพัฒนาตนที่ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นส่งิ ที่ช่วยส่งเสรมิ ให้การพัฒนาตนเอง
ประสบความสำเร็จ แนวคิดที่สำคญั มดี งั น้ี (วนิ ยั เพชรชว่ ย. 2551 : 32)
1. มนุษย์ทุกคนมศี ักยภาพท่ีมีคุณค่าอยู่ในตัวเอง ทำให้สามารถฝึกหัดและพัฒนาตนเองได้ใน
เกือบทุกเรือ่ ง
2. ไมม่ บี คุ คลใดทมี่ คี วามสมบูรณพ์ ร้อมทุกต้าน จนไม่จำเป็นตอ้ งพัฒนาในเรอ่ื งใด ๆ อกี
3. แม้บุคคลจะเป็นผู้ที่รู้จักตนเองได้ดีที่สุด แต่ก็ไม่สามารถปรับเปล่ียนตนเองได้ในบางเร่ือง
ยังตอ้ งอาศยั ความช่วยเหลือจากผู้อน่ื ในการพัฒนาตน การควบคุมความคิด ความรู้สึก และการกระทำ
ของตนเองมีความสำคญั เทา่ กบั การควบคมุ สิ่งแวดล้อมภายนอก
4. อุปสรรคสำคัญของการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง คือ การที่บุคคลมีความคิดยึดติด และ
ไม่ยอมปรับเปลี่ยนวิธีคิดและการกระทำ จึงไม่ยอมสร้างนิสัยใหม่ หรือฝึกทักษะใหม่ ๆ ท่ีจำเป็นต่อ
ตนเอง
5. การปรับปรุงและพัฒนาตนเองสามารถดำเนินการได้ทุกเวลาและอย่างต่อเนื่อง เม่ือพบ
ปัญหาหรือข้อบกพรอ่ งเกี่ยวกบั ตนเอง
14
เอกสิทธ์ิ สนามทอง (2552 : 68) ได้กล่าวไว้ว่าคำว่า "ตัวตน" ในความหมายโดยทั่วไปแล้ว
คือ ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีประกอบข้ึนเป็นบุคคล ในทางพระพุทธศาสนา ตัวตนประกอบด้วย จิตและกาย
ท้ังสองส่วนทำงานประสานกันโดยจิตเป็นตัวรับส่ังการ กายเป็นส่วนของการปฏิบัติตามคำสั่งของจิต
ซ่ึงมีคำกล่าวไว้ว่า "จิตเป็นกายนายเป็นบ่าว" ดังน้ัน ตัวตนจึงเป็นเร่ืองของมโนกรรม วจีกรรมและ
กายกรรม หากพิจารณาตัวตนในแง่ของการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน ตัวตนปรากฏในหลายลักษณะ
คือ การพจิ ารณาตัวตนตามการรับรู้ของตนเอง ตามท่ีตนเองอยากให้เป็นตามการรับรขู้ องผอู้ ่ืน ตามท่ี
ผู้อื่นอยากให้เป็น และตามท่ีเป็นจริง น่ันคือโครงสร้างตัวตนน้ันเกิดความสัมพันธ์ที่เก่ียวข้องกันของ
บคุ คลกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเป็นผลมาจากการประเมินสมั พันธภาพกับผู้อื่น ดังคำกล่าวที่ว่า "เด็ก
เหน็ ตนเองตามท่ีผู้อื่นเห็นเขา" ถา้ เด็กได้รับคำชมบ่อย ๆ ว่า ต้ังใจเรียนและมคี วามขยันหม่ันเพียร เขา
กจ็ ะสรา้ งตนขึ้นมาว่าเป็นคนตั้งใจเรียน และขยันเรียน แลว้ รักษาเอาไวใ้ นตัวเขา โครงสร้างของตัวตน
นี้ คอื แบบของการรับรู้เก่ียวกับตนเอง
ทองทิพภา วิริยะพันธุ์ (2546 : 145) กล่าวว่า การพัฒนาตนเองโดยใช้แนวเชิงพุทธเป็นการ
บริหารจิตเพ่ือการรู้แจ้ง เห็นจริง เข้าใจโลก เข้าใจชีวิต มองโลกตามความเป็นจริง เห็นสัจธรรมแห่ง
ชีวิต หากบุคคลมีการพัฒนาจิตอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอตลอดเวลา จะเป็นการทำจิตให้สะอาด สงบ
สว่าง ซึ่งได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา ตามหลักของไตรสิกขาน่ันเอง ซ่ึงพระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า "ผู้ท่ีได้
พัฒนาตนมาแล้ว ท้ังทางพฤติกรรม ทางสภาพจิต และทางวุฒิปัญญา พร้อมท้ังมีความพยายามสูง
เท่าน้ัน จึงจะสามารถแก้ปัญหาได้" ฉะน้ันถ้าบุคคลยังไม่ได้พัฒนาตนเองให้เหมาะสม เม่ือเกิดปัญหา
การแกป้ ญั หาต่างๆ ย่อมจะไมม่ ปี ระสิทธภิ าพ
สรุปได้ว่า แนวความคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับพัฒนาตนเอง ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทางกาย
พัฒนาจิตใจ และพัฒนาปัญญา หรอื ตามหลักของไตรสิกขาในทางพระพุทธศาสนา เป็นการฝึกพัฒนา
ศีล สมาธิ ปัญญา เพราะมนุษย์มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง และในการอยู่ร่วมกันกับผู้อ่ืนในสังคม
มนุษย์ควรพัฒนาตนเองทั้งภายในและภายนอก ซึ่งบุคคลที่พัฒนาตนเองแล้วจะเป็นประชากรของ
ประเทศที่มีคุณภาพ การพัฒนาตนเองจึงนับเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญเพราะเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนา
สงั คมและประเทศชาติ
2.5 แนวคิดเกี่ยวกับการบรหิ ารเวลา
นกั วิชาการหลายทา่ นไดใ้ ห้คำจำกัดความของคำว่า "การบริหารเวลา" ไว้ดงั นี้
การบริหารเวลา คือ การรู้จักวางแผนและจัดสรรเวลาในการทำงานอย่างถูกต้อง เหมาะสม ซ่ึงไม่
จำเปน็ วา่ จะตอ้ งเป็นนกั บรหิ ารเท่าน้นั ท่ีจะสามารถบริหารเวลา ทุกคนก็สามารถทำไดเ้ พียงแตต่ ้องรู้จัก
ที่จะแบ่งเวลา โดยจัดสรรเวลาของตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสมตามวันเวลาท่ีกำหนด (NoveBizz
2021: online)
15
การบริหารเวลา หมายถึง "การกำหนดและการควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเวลา
และวตั ถุประสงคท์ ก่ี ำหนด เพ่ือก่อให้เกิดประสทิ ธิภาพในงานหน้าทที่ ีร่ ับผิดชอบ"
เวลา มีความสำคัญต่อทุกคน ทงั้ นีเ้ พราะธรรมชาตขิ องเวลามลี กั ษณะพเิ ศษคือ
1. เวลาเป็นทรพั ยากรทมี่ ีจำกดั ใชแ้ ลว้ หมดไป
2. เวลาไม่สามารถซือ้ เพิม่ ได้ ไม่ว่ารวยหรอื จน
3. เวลาไมส่ ามารถเก็บเอาไวใ้ ชไ้ ด้
4. เวลาผ่านไปเรือ่ ยๆ ไมห่ วนยอ้ นกลับมาอกี
ความจำเป็นในการบริหารเวลา
เวลาที่ทุกคนถือครองในแต่ละวันมีเท่ากัน จึงมีความจำเป็นท่ีต้องมีการบริหารเพ่ือการใช้
อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด จะเห็นได้ว่า บุคคลท่ีมีความก้าวหน้าในชีวิตส่วนใหญ่ไม่มีใครนั่งเฉยๆ
แต่ละคนต้องทำงานมากมายในแต่ละวัน และต้องรู้จักบริหารเวลา ความจำเป็นในการบริหารเวลามี
ดงั น้ี
1. เพื่อความสำเรจ็ ของงานและชวี ิต
2. เพอ่ื ทำใหม้ ีค่าเพ่มิ ขน้ึ เป็นเงิน เปน็ เกียรติ เป็นสขุ
3. การจดั เวลาเพื่อทำให้ work smart, not work hard
4. สามารถพัฒนางานและตนเองสเู่ ป้าหมาย
5. ทำงานอย่างมคี วามสุขโดยที่การบริหารเวลาท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ
6. ทำแผนและข้อมูลการใช้เวลา ให้เหมาะสมกบั งาน ชวี ิตการพัฒนางาน การพัฒนาตน อายุ
งาน อายุคน
หลักการเบอื้ งตน้ ในการบรหิ ารเวลา"
การบริหารเวลาที่ดี นอกจากสามารถทำงานของตนเองให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีแล้ว ยัง
สามารถทำงานเพอ่ื ผอู้ ื่นไดด้ ว้ ยและยงั ไดร้ บั ความสุขจากการมเี วลาว่างของตน โดยมีหลกั ดงั ต่อไปน้ี
1. การเร่ิมต้นท่ีดีมีความสำเร็จเกินกว่าครึ่ง ถ้าการเริ่มต้นของวันใหม่มีความสดชื่นแจ่มใสจึง
ควรค้นหาส่ิงท่ตี นเองชื่นชอบสกั อย่าง
2. พิจารณาให้แน่นอนว่าอะไรสำคัญที่สุด เพ่ือป้องกันไม่ให้คนอ่ืนปล้นเวลา หรือปลันสิ่ง
สำคญั ฯ ในชวี ิตไป และจงกล้าทจ่ี ะตอบปฏเิ สธ เพยี งกล่าววา่ "ไม"่ สัน้ ๆ และง่ายๆ
3. ต้ังเป้าหมาย การมีเป้าหมายอาจมีได้หลายเป้าหมายทั้งเรื่องส่วนตัวและเรื่องงาน การ
เขียนเป้าหมายเหล่านั้นออกมาจะช่วยให้จุดประสงค์ของมันชัดเจนขึ้น และช่วยกำหนดทิศทางการใช้
เวลาในแต่ละสปั ดาห์ เดอื น ปี ทศวรรษ และช่ัวชีวติ ได้
4. กำหนดเกณฑ์ในการใช้เวลาในการทำกิจกรรมแต่ละอย่างเช่น การโทรศัพท์ การคุยกับ
แขก การรับประทานอาหารตลอดจนเร่อื งใชจ้ า่ ยตา่ งๆ ควรกำหนดไว้ล่วงหนา้ ว่าจะใชเ้ วลาเท่าไร
16
5. วางแผนประจำวัน ควรเขียนกิจกรรมต่างๆ ออกมาอย่างชัดเจน แล้ววางแผนการจัดทำ
เพ่ือให้บรรลผุ ล โดยจดั ลำดับความสำคัญ
6. ใช้ชีวิตอย่างสมดุล ท้ังในการพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอมีเวลาหย่อนใจพอควร เวลา
ใหก้ ับตนเอง และ การพฒั นาจิตวญิ ญาณตลอดจนเร่ืองท่ีสนใจ
7. จัดลำดับความสำคัญของงานให้ชัดเจน โดยพิจารณาว่างานใดเร่งด่วน ที่ต้องดำเนินการ
โดยดว่ น งานใดท่ีสามารถทำภายหลงั ได้ ไม่ตอ้ งใชส้ มองและเวลามากนัก ก็ทำภายหลังได้
8. ลงมือทำงานที่ยากท่ีสุด เม่ือทำงานท่ียากสำเร็จจะช่วยให้เกิดความโล่งใจ และช่วยให้เกิด
ความสำเร็จในการทำงาน
9. มอบหมายงาน โดยพจิ ารณาว่าใครที่พอจะชว่ ยได้ เพือ่ ช่วยใหม้ เี วลาเพม่ิ ขน้ึ
10. ทำงานให้สำเร็จเปน็ ช้ินเปน็ อัน อยา่ ทำงานด้วยความยดื ยาด
11. ออกกำลังกาย เพ่อื ให้ร่างกายกระฉับกระเฉง กระปร้กี ระเปร่า การเดนิ เป็นการออกกำลัง
กายที่ประหยดั ที่สดุ และงา่ ยท่สี ุด
12. ตรวจสอบสิ่งท่ีทำ ว่ามีความสำคัญหรือจำเป็นเพียงใดหรือเป็นเพียงความเคยชิน สำรวจ
ดวู ่าถ้าตดั ออกจะชว่ ยให้มีเวลามากยง่ิ ข้นึ หรือไม่
13. วางแผนฉลองความสำเร็จ เช่น ถ้างานช้ินนี้เสร็จแล้วควรจะให้อะไรเป็นรางวัลให้สำหรับ
ตวั เอง ซงึ่ อาจเป็นสง่ิ เลก็ ๆ นอ้ ยๆก็ได้เพื่อใหเ้ ปน็ ขวัญและกำลงั ใจตัวเอง
14. ใชค้ วามจำชว่ ยประหยดั เวลาในการทำงานสูง จงควรฝกึ การจดจำส่ิงต่างๆ
3. แนวคิด หลักการของการประเมินโครงการ
3.1 หลกั การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการมีหลักการสำคัญอย่างไรบ้างนั้น จำเป็นต้องพิจารณาจากความหมาย
และความสำคัญของการประเมินเปน็ สำคัญ ดังน้ี
1.1 ความหมายของการประเมิน การประเมิน (Evaluation) การประเมิน หมายถึง
กระบวนการตดั สินคุณค่าของส่ิงใดส่งิ หน่ึงตามตวั ชี้วดั โดย การเปรียบเทียบกบั เกณฑ์หรือมาตรฐานท่ี
กำหนดไว้ ดังนั้น การประเมินโครงการ จงึ หมายถึง การตัดสินคุณค่าของโครงการ โดยเก็บขอ้ มูลจาก
ตัวชี้วัดที่กำหนดข้ึน และนำข้อมูลมาเปรียบเทียบ กับเกณฑ์หรือมาตรฐาน เพ่ือแสดงถึงความสำเร็จ
ของโครงการ
จากความหมายดังกล่าว จะเห็นได้ว่า การประเมินจะต้องเก่ียวข้องกับคำ 3 คำ คือ ตัวช้ีวัด
เกณฑ์ และมาตรฐาน ดังน้ัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน จึงขออธิบายความหมายของคำ ท้ัง 3 คำ
ดังนี้
ตัวชี้วัด (Indicator) หมายถึงตัวประกอบ ตัวแปร หรือค่าท่ีสังเกตได้ซึ่งใช้บ่งบอกถึง
สถานภาพหรอื สะทอ้ นลกั ษณะหรอื ผลของการดำเนินงาน
17
เกณฑ์ (Criteria) หมายถงึ ระดับที่แสดงถึงความสำเร็จของการดำเนินงานหรอื ผลท่ี ได้รบั
มาตรฐาน (Standard) หมายถึง ระดับการปฏิบัติท่ีแสดงถึงความสำเร็จอันเป็นท่ี ยอมรับ
โดยทวั่ ไป
ตัวอย่าง เช่น การประเมินผลผลิตของโครงการโดยตรง (Output Evaluation) ซึ่งเป็นผลที่
เกิดขึ้นโดยตรงทันทีจากโครงการ สามารถพิจารณาการบรรลุผลเบ้ืองต้น ได้จากตัวชี้วัดเร่ืองเวลา ใน
ดา้ น เวลา งบประมาณทีใ่ ช้และสดั สว่ นของงานทที่ ำเสรจ็ โดยเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ ดังนน้ี
ประเดน็ การประเมนิ ตัวชี้วัด เกณฑ์
การบรรลุผลเบื้องตน้ ของ 1. เวลาทีเ่ สร็จ งานเสร็จกอ่ นเวลาหรือทันเวลา
โครงการ ท่กี ำหนด
2. งบประมาณท่ใี ช้ งบประมาณท่ใี ช้จริงนอ้ ยกวา่
หรือเทา่ กบั งบประมาณท่ไี ด้รบั
3. สดั ส่วนของงานทที่ ำเสร็จ งานเสร็จ 100% ตามเปา้ หมาย
4. สดั ส่วนพื้นท่ที ไี่ ด้รับผล พ้ืนท่ีเป้าหมายได้รับผลกระทบ
อยา่ งน้อย 90%
ตารางที่ 2.1 การประเมินผลผลติ ของโครงการโดยตรง (Output Evaluation)
ดังน้ัน การกำหนดตัวช้ีวัดและเกณฑ์/มาตรฐานท่ีเหมาะสม จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผล
การประเมินเป็นท่ีน่าเชื่อถือ และยอมรับได้อย่างแท้จริง ซ่ึงวิธีการกำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์ท่ี
เหมาะสมจะได้กลา่ วในเนอ้ื หาของข้ันตอนการประเมนิ แต่ละขน้ั ต่อไป
1.2 ความสำคัญของการประเมิน ในการดำเนินงานโครงการ จำเป็นอย่างย่ิงที่ทุกฝ่ายท่ี
เกี่ยวข้องกบั โครงการจะต้องทราบถึง ความเป็นไปได้ ความพรอ้ ม ความกา้ วหนา้ และความสำเรจ็ ของ
โครงการ ดังนั้นข้อมูลท่ีได้จากการ ประเมิน จะช่วยตอบคำถามต่างๆ ได้ ถ้าการดำเนินงานปราศจาก
การประเมิน ผูป้ ฏิบตั ิจะไมท่ ราบ ถึงปัญหาและอปุ สรรคทีเ่ กิดขึ้น ความพรอ้ ม ความเหมาะสมของการ
ดำเนินงานและเม่ือสิ้นสุดการดำเนินงาน ก็จะไม่ทราบว่าผลการดำเนินงานเป็นอย่างไรบ้าง ควร
ยกเลิก หรือปรับหรือขยายโครงการหรือไม่ อย่างไร ท้ังนี้เพราะไม่มีสารสนเทศ จากการประเมินมา
ชว่ ยสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ น่นั เอง
ดังนั้นสารสนเทศที่ได้จากการประเมินจึงเป็นสารสนเทศที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจ ของ
ผู้บริหาร หรือผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ ผู้ประเมินจึงมีบทบาทสำคัญในการนำเสนอผลการ ประเมิน
ในลักษณะท่เี หมาะสมกบั ผ้ใู ชผ้ ลการประเมินแตล่ ะกลุ่ม
ผู้ทีท่ ำหน้าท่ีประเมนิ สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 กลุ่ม คอื
1) ผู้ประเมินภายใน (Internal Evaluator) ได้แก่ ผู้ประเมินท่ีเป็นบุคคลที่ปฏิบัติงานใน
โครงการนั้น ซ่ึงเป็นผทู้ ีร่ บั ผิดชอบตอ่ โครงการนนั้ โดยตรง
18
2) ผู้ประเมินภายนอก (External Evaluator) ได้แก่ ผู้ประเมินที่เป็นบุคคลภายนอกท่ีไม่ได้
ปฏิบัติงานในโครงการและไม่มีส่วนในการดำเนินการของโครงการนั้นโดยตรง ซึ่งอาจเป็นบุคคลจาก
หนว่ ยงานอ่นื ภายใต้สังกัดเดยี วกัน แตอ่ ยู่นอกโครงการ หรืออาจเปน็ บุคคลจากสังกดั อืน่ ภายนอกกไ็ ด้
กรณีที่ผู้ประเมินเป็นบุคคลภายนอก ผู้ประเมินจะต้องพยายามสร้างความเข้าใจแก่
ผู้ปฏิบัติงานในโครงการว่า การประเมินไม่ใช่การจับผิด แต่เป็นการนำเสนอข้อมูลเพ่ือให้เกิด
ประโยชน์ต่อการดำเนินงานของโครงการ โดยเฉพาะถ้านำเสนอต่อผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจในการ
ตัดสินใจ ข้อมูลดังกล่าวจะเป็นทางเลือกสำคัญเพื่อประกอบการตัดสินใจต่อการดำเนินการของ
โครงการว่าจะปรับขยาย เปลี่ยนแปลงโครงการในลกั ษณะใดจึงจะเหมาะสม ท้ังนี้เพื่อให้ ผ้ปู ฏิบัติงาน
ในโครงการเกิดความรู้สึกที่ดีต่อการประเมินและยอมรับการประเมินว่าเป็นกิจกรรม สร้างสรรค์ไม่ใช่
ทำภลาย ซึ่งจะสง่ ผลตอ่ การให้ความร่วมมอื ในการเก็บและรวบรวมข้อมูลของผปู้ ระเมิน
ดังนน้ั บคุ คลทีจ่ ะเป็นนกั ประเมนิ ทดี่ ี ควรจะตอ้ งมคี ุณลกั ษณะดงั นี้
1) เข้าใจในสิ่งท่ีต้องการประเมินอย่างชัดเจน เพื่อนำไปสู่การวางแผนและดำเนินการ
ประเมนิ อย่างมปี ระสิทธิภาพ
2) ควรเป็นนักวิจัยที่ดีด้วย เพราะข้อมูลที่ใช้ในการประเมินเกิดจากกระบวนการวิจัย ดังนั้น
การประเมินจะมีคุณภาพก็ต่อเมื่อเริ่มจากการได้ข้อมูลท่ีมีคุณภาพ ความแตกต่างของการ วิจัยและ
การประเมินอยทู่ ี่ การวจิ ัย เน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ สนใจความจริง (Fact) ของสงิ่ ต่างๆ แต่การ
ประเมิน เน้นการตัดสินคุณค่า มุ่งผลในทางปฏิบัติการนำไปใช้ประโยชน์ การประเมิน จึงมีลักษณะ
เฉพาะเจาะจงมากกว่า
3) ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเชิงปรัชญา กล่าวคือ นอกจากที่นักประเมินจะมีความรู้ใน
ทฤษฎีการประเมินและรูปแบบต่างๆ แล้ว นักประเมินจำเป็นต้องรู้จักพิจารณาเบ้ืองหลัง
แนวความคิดของการสร้างทฤษฎีการประเมนิ แต่ละทฤษฎดี ้วย เพราะนักประเมินจะต้องทำหน้าท่ีเป็น
ผตู้ ัดสินคุณค่า ดังน้ันจงึ ต้องมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกรูปแบบการประเมนิ ที่เหมาะสมกับแต่
ละสถานการณ์
4) ต้องรู้จักประนีประนอม เพราะนักประเมินจะต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ้าย ได้แก่
คณะผู้ประเมินเอง ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติการในโครงการ ผู้สนับสนุนด้านการเงิน ผู้รับผลจากโครงการ
ฯลฯ จึงตอ้ งรูจ้ ักการประสานประโยชน์บนพื้นฐานของความยุตธิ รรม ให้เกิดแกท่ ุกฝ่ายอยา่ งเหมาะสม
1.2 ประเภทของการประเมนิ
การประเมินมีอยู่ด้วยกันหลายลักษณะ ซึ่งถ้าพิจารณาจัดประเภทของการประเมินแล้ว
สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 กล่มุ ใหญ่ ดังน้ี
1.2.1 แบ่งตามวตั ถุประสงค์การประเมิน แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื
19
1) การประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation) เป็นการประเมินระหว่างการ
ดำเนินโครงการ เพื่อพิจารณาความก้าวหน้าของโครงการ ว่าจำเป็นต้องมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลง
สว่ นใด เพอื่ ให้เกิดความเหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพของการดำเนินงานมากขนึ้
2) การประเมนิ ผลสรปุ (Summative Evaluation) เป็นการประเมินเมอ่ื ส้ินสดุ โครงการ เพ่ือ
ตัดสินความสำเร็จของโครงการว่าบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใดหรอื บรรลุเปา้ หมายที่ควรจะเป็น
เพียงใด
1.2.2 แบ่งตามช่วงเวลาของการประเมิน แบ่งไดเ้ ป็น 5 ประเภท ดังนี้
1) การประเมินความต้องการจำเป็น (Needs Assessment) เป็นการประเมินความต้องการ
จำเป็นของโครงการในเบ้ืองต้น ก่อนท่ีจะจัดทำโครงการใดๆ เป็นการประเมินท่ีมีประโยชน์ต่อการวาง
นโยบายและการวางแผน เพ่ือให้ได้แนวคิดของการจัดโครงการที่สามารถสนองความต้องการของ
กลมุ่ เปา้ หมายได้
2) การประเมินความเป็นไปได้ (Feasibility Study) เป็นการประเมินเพื่อพิจารณาความ
เป็นไปได้ของโครงการท่ีจะดำเนินการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัย/เงื่อนไขท่ีจำเป็นต่อความสำเร็จของ
โครงการ มกั จะประเมินในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง และการบริหาร
3) การประเมนิ ปจั จัยนำเข้า (Input Evaluation) เป็นการประเมินสิ่งท่ีปอ้ นเข้าสโู่ ครงการว่า
มีความเหมาะสมเพียงใดก่อนที่จะเริ่มโครงการ สิ่งที่ป้อนเข้าเช่น คน วัตถุดิบ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ
งบประมาณ เปน็ ต้น
4) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการประเมินกระบวนการ
ดำเนินการตามท่ีกำหนด ทำการประเมินในขณะท่ีโครงการกำลงั ดำเนินการอยู่ เพ่ือใช้ผลการปรบั ปรุง
หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงาน ซ่ึงมีลักษณะครอบคลุม การประเมินความก้าวหน้า
(Formative Evaluation) ของโครงการ
5) การประเมินผลผลิต (Output / Product Evaluation) เป็นการประเมินผลท่ีได้จาก
โครงการโดยตรง และเป็นผลท่ีคาดหวังจากโครงการ วา่ ผลที่ไดเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์/ป้าหมายของ
โครงการมากน้อยเพียงใด
6) การประเมินผลกระทบ (Outcome / Impact Evaluation) เป็นการประเมินผลที่ได้จาก
ผลของโครงการท้ังที่คาดหวังและไม่ได้คาดหวัง ซึ่งเป็นผลทางบวกและทางลบ เพื่อน ำผลไป
ประกอบการตัดสินใจเกย่ี วกับโครงการ เช่น การยกเลิก หรือดำเนินโครงการดงั กลา่ วตอ่ ไป
7) การประเมินงานประเมิน (Meta Evaluation) เป็นการประเมินผลของการประเมินอีก
คร้ังหนึ่ง เพื่อศึกษาความถกู ต้องและความเหมาะสมของการประเมิน และผลการประเมิน วิธีการนี้ยัง
ไมแ่ พรห่ ลายมากนกั
20
1.3 ขนั้ ตอนการประเมิน
ในการประเมินแต่ละคร้งั ผู้ประเมินจำเป็นต้องดำเนินตามขั้นตอนของการประเมิน ดงั ต่อไปน้ี
1) การวิเคราะห์โครงการท่ีจะประเมิน
2) การศกึ ษารปู แบบการประเมิน (Model)
3) การกำหนดประเด็นของการประเมิน
4) การพัฒนาตัวชีว้ ัดและกำหนดเกณฑ์
5) การออกแบบการประเมนิ
6) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
7) เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
8) การวเิ คราะหข์ ้อมูล
9) การตดั สินผล สรุปผล และอภิปรายผลการประเมิน
10) การเขยี นรายงานการประเมิน
สำหรบั รายละเอียดแต่ละขนั้ ตอนมดี ังน้ี
1) การวิเคราะหโ์ ครงการทจ่ี ะประเมิน
เป็นการศึกษารายละเอียดต่างๆ ของโครงการและความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของ
โครงการท่จี ะประเมิน เพื่อให้ผู้ประเมินเกดิ ความรู้ความเข้าใจโครงการอย่างลึกซ้งึ ตั้งแตห่ ลักการและ
เหตุผลของโครงการ วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจนถึงผลของ
โครงการ การวเิ คราะหโ์ ครงการอยา่ งละเอียดรอบคอบ จะเป็นส่วนสำคญั ทท่ี ำให้ผ้ปู ระเมินเกิดแนวคิด
ต่างๆ ที่จะนำไปสู่การกำหนดประเดน็ การประเมินได้ ดังนนั้ การวิเคราะห์โครงการท่ีจะประเมินจึงเป็น
ขน้ั ตอนการประเมินที่สำคญั อยา่ งยงิ่ ขนั้ ตอนแรกของการประเมนิ
2) การกำหนดประเด็นของการประเมิน (Model)
ผู้ประเมินจำเป็นต้องมีความรู้เก่ียวกับรูปแบบของการประเมินแบบต่างๆ อย่างกว้างขวาง
รูปแบบของการประเมินแต่ละแบบ จะได้มาจากแนวความคิดที่แตกต่างกันไปของเจ้าของรูปแบบแต่
ละท่าน การศึกษารูปแบบของการประเมินหลายๆ แบบ จะทำให้ผู้ประเมินได้เห็นทางเลือกที่
หลากหลายท่ีจะนำไปสู่การเลือกใช้รปู แบบทเ่ี หมาะสมที่สดุ กบั โครงการที่จะประเมิน แต่โดยส่วนใหญ่
โครงการแต่ละโครงการไมส่ ามารถประเมินโดยใช้รปู แบบใดรูปแบบหน่ึงอย่างเดียวเสมอไป ผู้ประเมิน
จงึ ใช้การผสมผสานหลายๆ รูปแบบการประเมิน เพ่ือให้ผลการประเมนิ สมบรู ณ์ท่ีสุดเท่าทจี่ ะทำได้
3) การกำหนดประเด็นของการประเมนิ
ผู้ประเมินจำเป็นต้องกำหนดประเด็นของการประเมินอย่างเหมาะสม เพื่อจะนำไปสู่การ
กำหนดรายละเอียดในข้ันตอนตอ่ ๆ ไป อยา่ งสมบูรณต์ ามประเด็นที่กำหนด ผู้ประเมินสามารถกำหนด
ประเด็นของการประเมินได้จากการวิเคราะห์โครงการที่จะประเมิน ในข้ันตอนที่ 1) ผสมผสานกับ
21
การศึกษารูปแบบของการประเมินในข้ันตอนท่ี 2) ทั้งนี้ผู้ประเมินจะต้องคำนึงถึงความต้องการของ
ผู้ใช้ผลการประเมิน ซึ่งอาจจะเป็นผู้ให้ทุน ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจตัดสินใจ เจ้าหน้าท่ีระดับปฏิบัติการ
ฯลฯ เพอ่ื ให้ผลจากการประเมินเป็นประโยชน์ตอ่ บุคคลต่างๆ อยา่ งแทจ้ รงิ
4) การพฒั นาตัวช้ีวดั และกำหนดเกณฑ์
ในการประเมินใดๆ สิ่งสำคัญท่ีจะทำให้เกิดความเช่ือถือในผลการประเมินได้ ย่อมขึ้นอยู่กับ
คุณภาพของตัวชี้วัด (Indicctor) และเกณฑ์ (Criteria) ดังนั้น ขั้นตอนสำคัญของการประเมินอีก
ขั้นตอนหนึ่งก็คือ การพัฒนาตัวชี้วัด และการกำหนดเกณฑ์ท่ีเหมาะสม ตัวช้ีวัดแต่ละตัวจะได้มาจาก
ประเด็นของการประเมินที่ผปู้ ระเมินได้กำหนดไว้ในขัน้ ตอนท่ี 3) ผู้ประเมินต้องพยายามค้นหาตัวชี้วัด
ทส่ี ามารถแสดงประสิทธิภาพของแต่ละประเด็นได้ชัดเจนที่สุด ซึ่งสามารถสังเกตหรือวัดไดแ้ ละเม่ือได้
ตัวช้ีวัดที่เหมาะสมแล้ว ผู้ประเมินจำเป็นต้องกำหนดเกณฑ์ที่เหมาะสมให้กับตัวชี้วัดแต่ละตัวดังกล่าว
เพื่อเป็นเกณฑ์ตัดสินได้ว่าผลการดำเนินงานของโครงการท่ีพิจารณาจากตัวชี้วัดแต่ละตัวน้ัน ประสบ
ความสำเรจ็ เป็นไปตามเกณฑม์ ากนอ้ ยเพยี งใด
5) การออกแบบการประเมิน
หลังจากท่ีผู้ประเมินกำหนดประเด็นของการประเมิน และพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์ท่ี
เหมาะสมได้แล้ว ผู้ประเมินสามารถเร่ิมออกแบบการประเมินได้ เริ่มต้ังแต่การผสมผสานความคิด
ทั้งหมด เป็นรูปแบบการประเมินที่เลือกใช้ให้เหมาะสมกับโครงการท่ีจะประเมิน การกำหนดวิธีการ
ประเมิน การสุ่มตัวอย่าง ตัวช้ีวัดและเกณฑ์ท่ีจะใช้ แหล่งข้อมูลที่ต้องการ เครื่องมือที่ใช้ และการ
วเิ คราะหข์ ้อมูล การออกแบบการประเมินจงึ เป็นเสมอื นแนวทางการประเมนิ ที่ผูป้ ระเมนิ ไดเ้ ตรียมการ
ออกแบบไวส้ ำหรบั แต่ละโครงการ
6) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
หลังจากท่ีผู้ประเมินได้ออกแบบการประเมินไว้แล้ว ผู้ประเมินต้องลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ตามที่ต้องการ โดยอาจจะใช้วิธีการหลายๆ อย่าง เช่น การสอบ การสังเกต การสัมภาษณ์การ
สอบถาม ซึ่งการเลือกใช้วิธีการใดย่อมขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการประเมินและลักษณะข้อมูลท่ี
ต้องการเป็นสำคัญ
7) เครื่องมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ข้ันตอนน้ีจะสอดคล้องกับข้ันตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล กล่าวคือ ถ้าผู้ประเมินเลือกวิธีการ
เก็บรวบรวมข้อมูลวิธีใด เครื่องมือท่ีใช้ก็ต้องสอดคล้องกับวิธีการน้ัน เช่น ถ้าใช้วิธีการสอบเครื่องมือที่
ใช้ก็คือ แบบสอบ ถ้าใช้วิธีการสอบถาม เคร่ืองมือท่ีใช้ก็คือ แบ บสอบถาม น่ันเอง ผู้ประเมิน
จำเป็นต้องมีความรู้ในเรอ่ื งการสร้างเครื่องมือแต่ละชนิดให้มีคุณภาพ เพราะผลการประเมินจะเช่ือถือ
ได้มากนอ้ ยเพียงใด ย่อมข้ึนกับเคร่ืองมอื ที่มคี ุณภาพเปน็ สำคัญ
22
8) การวิเคราะห์ขอ้ มลู
เมือ่ ผ้ปู ระเมนิ เก็บรวบรวมขอ้ มูลทีต่ ้องการได้แล้ว ผปู้ ระเมนิ ต้องทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
วธิ ีการทางสถิตทิ ีเ่ หมาะสม เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลออกมาตามวตั ถุประสงค์ของการประเมิน
9) การตัดสินผล สรุปผล และอภิปรายผลการประเมิน
หลังจากได้ผลการวิเคราะห์ค่าสถิติ ผู้ประเมินจำเป็นต้องตัดสินผลว่า โครงการดังกล่าว
ดำเนินการอย่างมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด โดยพิจารณาทั้งผลผลิต (Output/Product) และผลลัพธ์
(Outcome / Impact) จากน้ันผู้ประเมินต้องสรุปผลการประเมินให้เห็นภาพรวมทั้งหมด และเพ่ือให้
เกิดแนวความคิดเชิงสร้างสรรค์ ผู้ประเมินจำเป็นต้องอภิปรายผลการประเมินด้วย เพ่ือจะได้ทราบ
เหตผุ ลต่างๆ ท่ีทำให้เกิดผลการประเมนิ ดงั เช่นท่ปี รากฏ
10) การเขียนรายงานการประเมนิ
เม่ือการประเมินได้เสร็จส้ิน ผู้ประเมินต้องเขียนรายงานการประเมินโดยเป็นการนำเสนอการ
ดำเนินการประเมินโครงการทุกข้ันตอน เพ่ือให้ผู้อ่ืนได้รับทราบและเข้าใจการประเมินในคร้ังน้ี
โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารและผู้มีอำนาจในการตัดสินใจ เทคนิคการเขียนรายงานการประเมินจึงมี
ความสำคญั เปน็ อยา่ งยิ่งในขนั้ ตอนนี้
จากขั้นตอนการประเมินท้ังหมด 10 ขั้นตอน จะทำให้ผ้ปู ระเมินเร่ิมเห็นแนวทางการทำงาน
ในลักษณะการประเมนิ อย่างเปน็ ระบบมากขน้ึ สำหรบั รายละเอยี ดในแตล่ ะขัน้ ตอนจะไดน้ ำเสนอใน
ลำดับตอ่ ไป
3.2 แนวคิดการประเมนิ โครงการ
3.2.1 แนวคิดหลักการและโมเดลการประเมินของไทเลอร์ (Tyler's Rationale and
Model of Evaluation)
แนวคิดทางการประเมินของไทเลอร (Tyler. 1959 : 110-125) จัดเป็นแนวคิดของการ
ประเมินในระดับช้ันเรียนโดยไทเลอร์มีความเห็นว่า การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
จ ะมี ส่ ว น ช่ ว ย อ ย่ างม าก ใน ก าร พั ฒ น ากร ะบ ว น ก าร เรี ย น ก าร ส อ น ไท เล อ ร์ได้ เริ่ ม ต้ น การน ำเ ส น อ
แนวความคิดทางการประเมินโดยยึดกระบวนการเรียนการสอนเป็นหลัก กล่าวคือ ไทเลอร์ได้นิยามว่า
กร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น เป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ มุ่ งจั ด ขึ้ น เพ่ื อ ก่ อ ให้ เกิ ด ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง
พฤติกรรมที่พึงปรารถนาในตัวของผู้เรียน ด้วยเหตุน้ีจุดเน้นขอการเรียนการสอน จึงขึ้นอยู่กับการที่
ผู้เรียนจะต้องมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมหลังการสอนดังน้ัน เพื่อให้การสอนเกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมในตัวผเู้ รยี นตามท่มี ่งุ หวงั กระบวนการดังกล่าวจงึ มีขน้ั ตอนในการดำเนินการ ดังน้ี
ข้ันที่ 1 ต้องมีการระบุหรือกำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนลงไปว่าเม่ือสิ้นสุดการจัดการเรียน
การสอนแล้ว ผู้เรียนควรเกิดพฤติกรรมใด หรือสามารถกระทำส่ิงใดได้บ้างหรือท่ีเรยี กว่าวตั ถุประสงค์
เชงิ พฤติกรรม
23
ข้ันที่ 2 ต้องระบุต่อไปว่าจากวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ดังกล่าวนั้นมีเน้ือหาใดบ้างท่ีผู้เรียน
จะต้องเรียนรู้หรือมีสาระใดบ้างที่เม่ือผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรม
ขั้นที่ 3 หารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับเน้ือหาและจุดประสงค์ที่
กำหนดไว้
ขั้นท่ี 4 ประเมินผล โครงการ โดยการตัดสินด้วยการวัดผลทางการศึกษา หรือการทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ในการเรยี น
แนวคิดดังกล่าวนี้เป็นแนวคิดในช่วงต้น ๆ ของไทเลอร์ ต่อมาไทเลอร์ได้สร้างวงจรของ
วัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลขึน้ ซึง่ เขยี นเป็นโมเคลพ้นื ฐานไดด้ ังนี้
วัตถุประสงค์
การจดั การเรียนการสอน การประเมินผลผู้เรยี น
ภาพท่ี 2.2 โมเดลการประเมินของไทเลอร์
จากโมเคลคังกลา่ วจะเห็นว่า หัวลูกศรจะชี้ไปยงั ทศิ ทางท้ังสองทศิ ทางของทกุ องค์ประกอบ มี
ความหมายว่า ในการจัดการเรียนการสอนน้ัน ตามทัศนะของไทเลอร์แล้วองค์ประกอบท้ัง 3 คือ 1.
วัตถปุ ระสงค์ 2. การจัดการเรียนการสอน และ 3. การประเมินผลผู้เรยี นจะต้องดำเนินการให้ประสาน
สมั พันธก์ ันไปเสมอ
จากแนวคิดของไทเลอร์เกี่ยวกับการประเมินผลโครงการเห็นได้ว่า การประเมินผลดังกล่าว
แล้ว ง่ายต่อการตรวจสอบความสำเร็จของโครงการ เพราะเป็นการวัดและประเมินผลเฉพาะแต่
จดุ มุง่ หมายที่ตั้งไวเ้ ทา่ นั้น แตว่ ่าการประเมนิ ผลดังกล่าวนี้ มีคณุ ค่าค่อนขา้ งจำกัด เน่ืองจากวา่ เป็นการ
ประเมินผลความก้าวหน้า และให้ความสำคัญของคุณค่าของจุดมุ่งหมายเพียงเล็กน้อยเท่านั้น และ
เกณฑใ์ นการตดั สินการบรรจวุ ัตถุประสงคย์ งั เป็นอตั นัยมาก
โดยสรุปก็คือการประเมินในความคิดเห็นของไทเลอร์ จึงหมายถึงการเปรยี บเทียบส่งิ ที่ผ้เู รียน
สามารถกระทำได้จริงหลงั จากได้จดั การเรียนการสอนแล้วกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมซ่ึงได้กำหนด
ขน้ึ ไวก้ ่อนท่ีจะจดั การเรียนการสอนนั้น ๆ
24
3.2.2 แนวคิดหลักการและโมเดลการประเมินของ ครอนบาค (Cronbach's Concepts
and Model)
ตามทัศนะของครอนบาค เช่ือว่าการประเมินเป็นการรวบรวมข้อมูลการ ใช้สารสนเทศ เพ่ือ
การตัดสินใจเก่ียวกับการจัดโปรแกรมทางการศึกษาในส่วนของการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการจัด
การศึกษานั้น ครอนบาคได้แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ
1. การตดั สินใจเพือ่ การปรับปรุงรายวชิ า
2. การตดั สนิ ใจที่เกยี่ วขอ้ งกบั ตัวนักเรยี นเปน็ รายบุคคล
3. การจดั การบริหารโรงเรยี น
ครอนบาศมีความเห็นว่า การประเมินน้ัน ไม่ครรกระทำโดยใช้แบบทคสอบแต่เพียงอย่าง
เดียว แต่ควรมีมาตรการอื่นประกอบด้วย ครอนบาค ได้เสนอแนวทางการประเมินเพิ่มเติมไว้อีก 4
แนวทาง คือ
1. การศึกษากระบวนการ (Process Studies) ได้แก่การศึกษาภาวะต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชั้น
เรยี น
2. การวัดศักยภาพของผู้เรียน (Proficiency Measurement) ครอนบาค ได้ให้ความสำคัญ
ต่อคะแนนรายข้อมากกว่าคะแนนจากแบบทดสอบท้ังฉบับ และให้ความสำคัญต่อการสอนเพ่ือวัด
สมรรถภาพของผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอนว่ามีความสำคัญมากกว่าการสอบประจำปลายภาค
เรียนหรอื การสอบปลายปี
3. การวดั ทัศนคติ (Attitude Measurement) ครอนบาคให้ทศั นะวา่ การวัดทัศนคตเิ ป็นผลที่
เกดิ จากการจัดการเรียนการสอนสว่ นหนึง่ ซึ่งมีความสำคัญเช่นกนั
4. การติดตาม (Follow - Up Studies) เป็นการติดตามผลการทำงาน หรือภาวะการเลือก
ศึกษาต่อในสาขาต่าง ๆ รวมทั้งการให้บุคคลท่ีเรียนในระดับข้ันพ้ืนฐานที่ผ่านมาแล้ว ได้ประเมินถึง
ข้อดีและข้อจำกัดของวิชาต่าง ๆ ว่าควรมีการปรับปรุงเพิ่มเติมอย่างไร เพ่ือช่วยในการพัฒนาหรือ
ปรับปรุงรายวิชาเหลา่ นนั้ ต่อไป
เม่ือสรุปแนวคิดของครอนบาคข้างต้นแล้ว จะเห็นว่าครอนบาคมีความเช่ือว่า การประเมินที่
เหมาะสมน้ันต้องพิจารณาหลาย ๆ ด้าน ดังท่ีกล่าวมาแล้วทั้ง 4 ประการ โดยเน้นว่า การประเมิน
โครงการด้านการเรยี นการสอนน้ันไม่ควรประเมินเฉพาะแต่จดุ มุ่งหมายที่ต้งั ไว้เท่านั้น แต่ควรประเมิน
หรือตรวจสอบผลข้างเคียงของโครงการด้วย ครอนบาคยังมีความเห็นเพิ่มเติมอีกว่าหน้าที่สำคัญ
ประการหน่ึงของการประเมิน โครงการด้านการเรียนการสอนก็คือ การค้นหาข้อบกพร่องของ
โครงการเพือ่ จะไดห้ าทางปรบั ปรุงแก้ไขกระบวนการเรียนการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพต่อไป
25
3.2.3 แนวคิด หลักการและโมเดลการประเมินของ สครีฟเวน (Scriven's Evaluation
Ideologies and Model)
สครีฟเวน ได้ให้นิยามการประเมินไว้ว่า "การประเมิน" เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการ
รวบรวมข้อมูลการตัดสินใจเลือกใช้เครื่องมือ เพื่อเก็บข้อมูลและการกำหนดเกณฑ์ประกอบในการ
ประเมินเป้าหมายสำคัญของการประเมินก็คือการตัดสินคุณค่าให้กับกิจกรรมใด ๆ ที่ต้องการจะ
ประเมนิ สครีฟเวน ได้จำแนกประเภทและบทบาทของการประเมินออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คือ
1. การประเมินระหว่างดำเนินการ (Formative Evaluation) เป็นบทบาทของการประเมิน
งาน กิจกรรมหรือโครงการใด ๆ ที่บ่งข้ีถึงข้อดี และข้อจำกัด ที่เกิดขึ้นในระหว่างการดำเนินงานนั้น ๆ
อาจเรยี กการประเมินประเภทน้วี ่า เปน็ การประเมินเพอื่ การปรับปรุง
2. การประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เป็นบทบาทของการประเมินเม่ือ
กิจกรรมหรือโครงการใด 1 ส้ินสุดลงเพื่อเป็นตัวบ่งช้ีถึงคุณค่าความสำเร็จของโครงการน้ัน ฯจึงอาจ
เรียกการประเมินประเภทนวี้ า่ เปน็ การประเมินสรุปรวม
นอกจากนี้ สครฟี เวน ยงั ไดเ้ สนอสง่ิ ที่ต้องประเมนิ ออกเปน็ ส่วนสำคัญอกี 2 สว่ น คอื
1. การประเมินเกณฑ์ภายใน (Intrinsic Evaluation) เป็นการประเมินในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับ
คุณภาพของเครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล รวมทั้งคุณภาพของคุณลักษณะต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการ
ดำเนินโครงการ
2. การประเมินความคุ้มค่า (Payoff Evaluation) เป็นการประเมินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
คุณภาพของโครงการ ทฤษฎีหรือส่ิงอื่น ๆ ของโครงการ เป็นการประเมินในส่วนซึ่งเป็นผลที่มีต่อ
ผูร้ บั บรกิ ารจากการดำเนิน โครงการ
สรุปได้ว่า สรีฟเวนให้ความสำกัญต่อการประเมินเกณฑ์ภายในมาก แต่ขณะเดียวกันจะต้อง
ตรวจสอบผลผลิตในเชงิ สัมพันธ์ของตวั แปรระหวา่ งกระบวนการกบั ผลผลิตอ่ืน ๆ ที่เกิดขึ้นด้วยแนวคิด
ทางการประเมินของสครีฟเวนได้พัฒนาไปจากแนวคิดเดิมของการประเมินที่ยึดตามวัตถุประสงค์แต่
เพียงอย่างเดียว มาเป็นการประเมินที่มุ่งเน้นถึงผลผลิตต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการทำกิจกรรมหรือ
โครงการใด ๆ ในทกุ ด้านโดยใหค้ วามสนใจตอ่ ผลผลติ ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึน้ ทัง้ ท่เี ป็นผลโดยตรง
จากโครงการและผลกระทบหรือผลพลอยได้ ซ่ึงแนวคิดของสครีฟเวน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
คือ การประเมินท่ียึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก (Goal - Based Evaluation) และการประเมินที่ไม่ยึด
วตั ถปุ ระสงค์เปน็ หลกั (Goal - Free Evaluation)
สำหรับการประเมินที่ ไม่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลัก มิได้หมายความว่า การประเมินจะไม่มี
วัตถุประสงค์แต่การประเมินนั้นนอกจากพิจารณาวัตถุประสงค์แล้ว ยังต้องมีการคัดเลือกข้อมูล
ข่าวสารที่จำเป็นอ่ืน ๆ ซึ่งเก่ียวข้องกับโครงการ โดยอาศัยพื้นฐานของการตัดสินคุณค่าอย่างมี
คณุ ธรรม รวมท้ังมกี ารเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ด้วย โดยนักประเมินต้องมีอิสระใน
26
การเลือกเกณฑ์มาตรฐานเอง ดงั น้ัน มโนทัศน์การประเมินที่ไม่ยึดวัตถปุ ระสงค์เป็นหลักจึงจำเป็นต้อง
มกี ารออกแบบการประเมนิ ใหส้ ามารถรวบรวมสารสนเทศ ท้งั ผลผลติ โดยตรง และผลกระทบอื่น ๆ ที่
เกิดขึน้ จากการดำเนนิ โครงการทัง้ หมดทีม่ คี ุณค่าต่อการตดั สินโครงการนัน้ ๆ
3.2.4 แนวคิดหลักการและโมเดลการประเมินของสเตก (Stake's Concepts and
Model of Evaluation)
การประเมินในทัศนะของสเตก เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง เพื่อนำมาจัด
ให้เป็นระบบระเบียบ และมีความหมายในการประเมิน โดยสเตกได้สร้างแบบจำลองทางความคิด
เกี่ยวกับการประเมินขึ้นเรียกว่า โมเดลเคาน์ ทิแนนซ์ (Stake's Countenance Model) ซึ่ง
ประกอบดว้ ย 2 ส่วนคอื
ความคาดหวัง สิ่งที่เกิดข้ึนจริง มาตรฐาน การตดั สนิ
(Intents) (Observations) (Standards)
(Judgement)
ส่ิงนำเขาหรือปจั จยั เบือ้ งต้น หลกั การ
การปฏบิ ัติ (Transactions) (Rationate)
ผลผลติ (Output)
เมตริกบรรยาย เมตริกตดั สินคุณคา่
(Description Matrix) (Judgements Matrix)
ภาพที่ 2.3 โมเดลการประเมินของสเตก
จากภาพประกอบจะเหน็ ได้วา่ สเตกไดเ้ นน้ วา่ การประเมินโครงการจะตอ้ งมี 2 ส่วน คอื
การบรรยาย และการตัดสินคุณค่าในภาคการบรรยายน้ัน ผู้ประเมินจะต้องหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
โครงการให้ไดม้ ากทีส่ ดุ ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื
27
1. เป้าหมายหรือความคาดหวงั (Goals or Internts) ประกอบดว้ ย 3 สว่ น คือ
1.1 สิ่งนำ (Antecedence) หมายถึง ภาวะสิ่งต่าง ๆ ท่ีเป็นอยู่ก่อน ก่อนที่จะมีกิจกรรมหรือ
การกระทำอย่างใดอย่างหน่ึงตามมา
1.2 การปฏิบัติ (Transactions) หมายถึง ภาวะของการกระทำการเคล่ือนไหว หรือการจัด
กจิ กรรมใด ๆ ตามวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของงานในโครงการนนั้ ๆ
1.3 ผลผลิต (Output) หมายถงึ ผลท่เี กดิ ขึน้ จากการที่มีภาวะของการกระทำในโครงการ
2. ส่ิงที่เป็นจริงหรือสังเกตได้ (Observations เป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นจริงในสภาพความเป็นจริงมี
สว่ นประกอบ 3 ส่วน คอื สิ่งนำ ปฏิบตั กิ าร และผลลพั ธ์
ความสอดคล้องระหว่างส่ิงท่ีคาดหวังกับส่ิงท่ีเป็นจริง มิได้เป็นตัวบ่งช้ีว่าข้อมูลท่ีได้มีความ
เท่ียง (Reliability) หรือความตรง (Validity) แต่เป็นเพียงส่ิงท่ีแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่ตั้งใจไว้ได้เกิดข้ึน
จรงิ เทา่ นน้ั
ในภาคการตัดสินคุณค่า เป็นส่วนท่ีจะตัดสินว่าโครงการประสบความสำเร็จหรือไม่เพียงใด
นักประเมินต้องพยายามศึกษาดูว่า มาตรฐานอะไรบ้างท่ีเหมาะสมในการที่จะนำมาเปรียบเทียบเพื่อ
ช่วยในการตดั สนิ ใจโดยทัว่ ๆ ไป เกณฑท์ ี่ใชม้ ี 2 ชนดิ คอื
1. เกณฑ์สมบูรณ์ (Absolute Criterion) เป็นเกณฑ์ที่ตั้งไว้อาจจะเกิดข้ึนก่อน โดยมีความ
เปน็ อิสระจากพฤติกรรมของกลุ่ม
2. เกณฑ์สัมพัทธ์ (Relative Criterion) เป็นเกณฑ์ที่ได้จากพฤติกรรมของกลุ่มถ้าผู้ประเมิน
ไม่สามารถหามาตรฐานที่นำมาเปรียบเทียบได้ ก็ต้องพยายามหาโครงการอ่ืนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
มาเปรียบเทียบ เพ่ือช่วยในการตัดสินใจ แบบจำลองน้ีมุ่งเน้นความสอดคล้อง และความสมเหตุสมผล
ของเมตรกิ บรรยาย และเมตรกิ ตัดสินคณุ คา่ สำหรับความสอดคลอ้ งนั้น มี 2 ลกั ษณะ คอื
1. ความสอดคล้องเชิงเหตุผล (Contingence) จะพิจารณาความสัมพันธ์ในแนวตั้งตาม
แบบจำลองของสเตก
2. ความสอดคล้องท่ีเกิดขึ้นจริง หรือเป็นความสอดคล้องในเชิงประจักษ์ (Congruence)
พิจารณาความสัมพันธ์ในแนวนอนตามแบบจำลองของสเตก
ข้อดีของแบบจำลองการประเมินของสเตก คือ เสนอวิธีการประเมินเป็นระบบเพื่อจัดเตรียม
ข้อมูลเชิงบรรยาย และตัดสินคุณค่ามีมาตรฐานในการประเมินปรากฎชัดเจน แต่มีข้อจำกัดก็คือ เซล
บางเซลของเมตริก มีความคาบเก่ียวกัน และความแตกต่างระหว่างเซลไม่ชัดเจน ซ่ึงอาจทำให้เกิด
ความขดั แยง้ ภายในโครงการได้
นอกจากนี้ สเตกยังได้เสนอแนะแนวทางการประเมินที่ไม่ยึดวัตถุประสงค์เป็นหลักว่า
ประกอบด้วยกระบวนการประเมนิ อยา่ งมีระบบ ดงั นี้
1. พูดคุยกบั บุคลากรและผู้รบั บรกิ ารที่เกย่ี วข้องกบั โครงการ
28
2. กำหนดขอบเขตของโครงการ
3. ศกึ ษาทบทวนกิจกรรมท้ังหมดของโครงการ
4. คน้ หาจุดมุ่งหมายและสงิ่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับโครงการ
5. รวบรวมประเดน็ และปญั หาตา่ ง ๆ ท่นี า่ จะประเมนิ
6. กำหนดขอ้ มูลท่ีจำเปน็ ตามประเดน็ ปญั หาทกี่ ำหนด
7. คัดเลอื กผู้สงั เกต ผตู้ ดั สิน และเคร่ืองมืออย่างเปน็ ระบบ
8. สังเกตข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งนำเข้าหรือปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการปฏิบัติรวมท้ังผลผลิตของ
โครงการ
9. เตรียมการพรรณนาและกรณีศกึ ษา
10. ชปี้ ระเด็นปญั หาของผเู้ กี่ยวขอ้ ง
11. เตรียมและนำเสนอรายงานการประเมินฉบบั สมบูรณอ์ ย่างเป็นทางการ
อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ต่าง ๆ ตามกระบวนการที่กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่จำเป็นต้อง
ดำเนินการตามลำดับเสมอไป ขนึ้ อยู่กับสภาพการณ์ท่ีเอือ้ อำนวยได้มากหรือน้อยตามควรแก่กรณี
จากแนวคิดการประเมินของสเตกเป็นการประเมินที่มีระบบมากขึ้น มุ่งเน้นการตัดสินคุณค่า
ของโครงการ โดยมีหลักเกณฑ์การประเมินเป็นมาตรฐาน และคำนึงถึงผู้เก่ียวข้องจากหลายฝ่าย
เพ่อื ใหไ้ ด้ข้อมูลท่ีหลากหลาย และได้แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงโครงการไดด้ ียงิ่ ขึน้
3.2.5 แนวคิด หลักการและโมเดลการประเมินของ อัลคิน (AIkin's Concepts
Evatuation)
อัลคิน เห็นว่า "การประเมิน" คือ กระบวนการของการคัดเลือก ประมวลข้อมูล และการ
จัดระบบสารสนเทศที่มีประโยชน์ เพ่ือนำเสนอผู้มีอำนาจในการตัดสินใจหรือเพื่อกำหนดทางเลือกใน
การทำกิจกรรมหรอื โครงการใด ๆ อลั คนิ ไดแ้ บ่งการประเมนิ ออกเปน็ 5 สว่ นคือ
1. การประเมินเพ่ือทำการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ การประเมินส่วนนี้เป็นการ
ประเมินท่ีเกิดข้ึนก่อนท่ีจะทำกิจกรรมหรือโครงการใด ๆ เป็นการประเมินเพ่ือกำหนดวัตถุประสงค์
ของโครงการ หรอื เพือ่ กำหนดเปา้ หมายของโครงการให้สอดคลอ้ งกบั ภาวะความตอ้ งการทเ่ี ป็นอยู่
2. การประเมินเพื่อการวางแผนโครงการ การประเมินส่วนน้ีเป็นการประเมินเพ่ือหาวิธกี ารท่ี
เหมาะสมในการทีจ่ ะวางแผนใหก้ ารดำเนนิ งานในโครงการนั้น ๆ ได้บรรลุวัตถุประสงคท์ ก่ี ำหนดไว้
3. การประเมินขณะกำลังดำเนินโครงการ การประเมินส่วนนี้จะเน้นถึงการพิจารณาขั้นตอน
การทำงานว่าเปน็ ไปตามแผนงานทว่ี า่ งไวห้ รือไมห่ รอื ได้ดำเนินการไปตามข้ันตอนท่ีควรจะเปน็ เพยี งใด
4. การประเมินเพ่ือการพัฒนางาน การประเมินส่วนนี้ เป็นการประเมินเพื่อค้นหารูปแบบ
แนวทางหรือขอ้ เสนอแนะในการทีจ่ ะทำใหง้ านท่ีกำลังคำเนนิ การอยู่น้ันมีประสทิ ธิภาพมากท่สี ดุ
29
5. การประเมินเพ่ือรับรองงาน และเพ่ือการยุบขยาย หรือปรับเปลี่ยน โครงการการประเมิน
ส่วนนี้เป็นการประเมินภายหลังการดำเนินงานตามโครงการ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือตรวจสอบผลที่ได้กับ
วตั ถุประสงค์ทีก่ ำหนดไว้รวมทัง้ การประมวลผล ข้อแนะนำ เพื่อนำไปใช้กบั โครงการตอ่ ไป และเพื่อให้
ขอ้ เสนอแนะในการทจี่ ะยุบ เลิก ขยาย หรือปรบั เปล่ยี นโครงการในช่วงระยะเวลาตอ่ ไปดว้ ย
จากแนวคดิ หลักตามรูปแบบการประเมินของอัลดินนน้ั จะเห็นว่าเป็นการประเมินเพื่อนำไปใช้
ในการตัดสินใจ โดยนักประเมินทำหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในการหาและการเตรียมข้อมูลรวมทั้งสรุป
และรายงานให้ผู้มีอำนาจในการตัดสนิ ใจได้ทราบเพ่ือหาทางเลือกท่ีเหมาะสมนับว่าเป็นการประเมินท่ี
มรี ะบบคอื มกี ารประเมนิ การวางแผนโครงการเพื่อชว่ ยให้ได้วิธีการที่บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของโครงการ มี
การประเมินการดำเนินโครงการเพื่อหาทางปรับปรุงจากการตรวจสอบ และสุดท้ายคือการประเมิน
เพ่ือรับรองโครงการ อย่างไรก็ตามแนวคิดดังกล่าวยังขาดแนวปฏิบัติที่ชัดเจน จึงยังไม่แพร่หลาย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำไปใช้ยังไม่กว้างขวางเท่าที่ควรแต่ก็ได้ให้แนวคิดพ้ืนฐานของการประเมิน
โครงการ ซ่ึงเป็นที่ยอมรับกันว่าควรจะมีการประเมินที่เป็นระบบเพ่ือให้การดำเนินโครงการเป็นไป
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป
3.2.6 หลกั วงจรคณุ ภาพเดมมิ่ง “PDCA”
วงจรการควบคุมคุณภาพ (PDCA Cycle) หรือ วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) คือ แนวคิด
การพัฒนาการทำงานเพ่ือควบคุมคุณภาพงานให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง พัฒนามาจากแนวคิดของ
วอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) นักสถิติในงานอุตสาหกรรม ต่อมาแนวคิดน้ีเริ่มเป็นที่รู้จัก
กันมากข้ึนเม่ือ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) นักจัดการบริหารคุณภาพ ได้นำเสนอและ
เผยแพร่ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการปรับปรุงกระบวนการทำงานของพนักงานภายในโรงงานให้ดีข้ึน
ซง่ึ จะใช้ในการค้นหาปัญหาอุปสรรคในขน้ั ตอนการทำงานโดยพนักงาน จนเป็นที่รจู้ กั กันในชื่อว่า วงจร
เดมมงิ่ หรือ วงจร PDCA
แนวคิดวงจร PDCA เป็นแนวคิดท่งี า่ ยไมซ่ บั ซอ้ น สามารถนำไปใช้ได้ในเกอื บจะทุกกจิ กรรม
จงึ ทำใหเ้ ป็นทร่ี ู้จกั กันอย่างแพรห่ ลายมากขนึ้ ทัว่ โลก PDCA เปน็ อกั ษรนำของภาษาอังกฤษ 4 คำคือ
1. การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนการดำเนินงาน เพื่อให้เกิด การทำงานที่ได้ผลงาน
การปรับปรุงเปลีย่ นแปลง การพฒั นาส่ิงใหม่ การแก้ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบัติงาน มสี ่วนท่ีสำคัญ
เช่น การกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ การจัดอันดับความสำคัญของเป้าหมาย กำหนดการ
ดำเนินงาน กำหนดระยะเวลาการดำเนนิ งาน กำหนดผู้รับผิดชอบดำเนนิ การ และกำหนดงบประมาณ
ท่ีจะใช้ การวางแผนท่ีดีควรต้องเกิดจากการศึกษาที่ดี มีการวางแผนไว้รัดกุมรอบคอบปรับเปล่ียนได้
ตามความเหมาะสมของงานและเหตกุ ารณ์ แผนที่ไดต้ ้องชว่ ยในการคาดการณส์ ่ิงที่เกิดข้นึ และสามารถ
ชว่ ยลดความสญู เสยี ทอี่ าจเกิดข้นึ ได้ การวางแผนควรมีการกำหนด
- การกำหนดเปา้ หมาย
30
- วัตถุประสงค์
- กำหนดผรู้ ับผดิ ชอบ
- ระยะเวลาดำเนินการ
- งบประมาณทก่ี ำหนด30
- มกี ารเสนอเพอื่ ขออนมุ ัติกอ่ นดำเนินการ เป็นตน้
2. ปฏิบัติตามแผน (Do) คือ การดำเนินการเพื่อให้ได้ตามแผนที่มีการกำหนดไว้ อาจมีการ
กำหนดโครงสร้างคณะทำงานรองรับการดำเนินการเช่น คณะกรรมการ ฯลฯ กำหนดวิธีในการ
ดำเนนิ งาน ขน้ั ตอน ผู้ดูแลรับผิดชอบ ผู้ตรวจสอบและทำการประเมนิ ผล การปฎิบัตกิ ารควรมี
- มีคณะทำงานคอยควบคมุ กำหนดนโยบาย ตดิ ตามตรวจสอบการทำงาน
- มกี ารกำหนดขั้นตอนทช่ี ดั เจน
- มีวิธกี ารดำเนินการทสี่ ามารถดำเนินการได้จริง ไม่ยากจนเกนิ ความสามารถของผ้ทู จ่ี ะทำ
- มีผูร้ บั ผดิ ชอบดำเนินการท่ีชัดเจน เพยี งพอ
- มรี ะยะเวลาที่กำหนดท่เี หมาะสม
- มีงบประมาณในการทำงาน เป็นต้น
3. ตรวจสอบการปฏิบัตติ ามแผน (Check) คือ ข้ันตอนที่เริม่ เมื่อมีการดำเนนิ โครงการตามข้อ
2 ควรจะต้องทำการประเมินผลการดำเนนิ งานวา่ เป็นไปตามแผนงานท่ีกำหนดไว้หรือไม่ อาจประเมิน
ในส่วนการประเมินผลงานการดำเนินการ การประเมินผลการดำเนินตามข้ันตอน และการประเมินผล
งานตามเป้าหมายของแผนงานที่ได้มีการกำหนดไว้ ในการประเมินนี้เราอาจสามารถทำได้เองโดยใช้
คณะกรรมการท่ีรับผิดชอบในแผนการดำเนินงานภายในเป็นการประเมินตนเอง แต่การใช้คนภายใน
อาจทำให้ขาดความน่าเช่ือถือหรือประเมินผลได้ไม่เต็มท่ี จะดีหากมีการตั้งคณะประเมินจากภายนอก
มาช่วย เพราะนา่ จะได้ผลการประเมินที่ดีกว่าทีมงานภายใน เพราะอาจมีปัญหาช่วยกันประเมินผลให้
ดีเกนิ จรงิ แนวทางทีจ่ ะใช้ในการประเมินเชน่
- กำหนดวธิ กี ารประเมินแยกใหช้ ดั เจนสามารถทำไดง้ า่ ย
- มีรูปแบบการประเมนิ ตรงกับเปา้ หมายในงานทีท่ ำ
- มีคณะผจู้ ะเขา้ ทำการประเมินท่มี ีความร้เู พยี งพอ
- แนวคำตอบผลของการประเมนิ ตอ้ งสามารถตอบโจทยแ์ ละตรงกับวัตถปุ ระสงคท์ ว่ี างไว้
- เน้นการประเมินปญั หา / จุดออ่ น / ข้อดี / จุดแข็ง ทม่ี ีในการดำเนนิ การ เปน็ ตน้
4. ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาต่อเนื่อง (Act) คือ การนำผลประเมินท่ีได้มาทำการวิเคราะห์ เพื่อ
พัฒนาแผนในการปรับปรุงต่อไป ในส่วนนี้ควรจะเสนอแนะปัญหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหา
หรอื การพฒั นาระบบทม่ี ีอยแู่ ลว้ ใหด้ ยี ง่ิ ข้ึนไปอีกไม่มที สี่ นิ้ สุด
31
- ทำการระดมสมอง เพ่ือหาทางแก้ไข ปัญหา / จุดออ่ น / ขอ้ ดี / จดุ แข็ง ที่พบ ปรับปรงุ ให้ดี
ยงิ่ ข้ึน
- นำผลที่ไดจ้ ากการระดมสมองเสนอผ้เู ก่ียวขอ้ งเพ่อื พิจารณาใช้วางแผนต่อไป
- กำหนดกลยทุ ธ์ในการจดั ทำแผนคร้งั ต่อไป
- กำหนดผู้รับผดิ ชอบดำเนินงานครงั้ ต่อไป
การพัฒนาระบบ PDCA เป็นการปรับปรุงพัฒนาระบบงานที่มีอยู่แล้วให้ดีย่ิงขึ้นไปอีก โดย
ควรจะมกี ารดำเนนิ การต่อเน่ืองไม่มีทีส่ ้ินสุด จงึ เปน็ ท่ีมาขอแนวคิดการควบคุมคุณภาพและการพัฒนา
อย่างตอ่ เน่อื ง ในการปรบั ปรงุ พฒั นาต่อเนื่องควรมีการดำเนินการ
วงจรคุณภาพ คือ กระบวนการทำงานที่เปรยี บกับวงล้อ ท่ีเต็มไปด้วยข้ันตอน 4 ข้ันตอน คือ
การวางแผน การดำเนินตามแผน การตรวจสอบ การปรับปรุง แก้ไข เม่ือวงล้อหมุนไป 1 รอบ จะทำ
ให้งานบรรลผุ ลตามเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ และหากการดำเนนิ งานนน้ั เกดิ สะดดุ แสดงวา่ มบี างขัน้ ตอน
หายไป โทชาวะ (2544 : 117-122)
4. กรอบแนวคิดการประเมินผลของโครงการ
ตัวแปรอิสระ ตวั แปลตาม
ขอ้ มูลส่วนบคุ คล ประเมนิ ผลโครงการตามวงจรเดมม่งิ
1. เพศ PDCA ตามแนวคดิ CIPP ของ
2. อายุ สตัฟเฟลบีม
1. การประเมินบริบทหรอื สภาวะ
แวดลอ้ ม
2. การประเมนิ ปจั จัยเบื้องตน้ ปจั จยั
ปอ้ น
3. การประเมินกระบวนการ
4. การประเมินผลผลิต
ภาพที่ 2.4 กรอบแนวคิดการประเมนิ ผลของโครงการ
32
บทที่ 3
วิธีการประเมินโครงการ
วิธีการประเมินของโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว) มีกระบวนการ
ขั้นตอนในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี
1. รูปแบบการประเมินโครงการ
2. วิธกี ารประเมินโครงการ
3. ประชากรกลมุ่ ตวั อยา่ ง
4. เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการประเมินโครงการ
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
6. การวเิ คราะห์ผลการประเมินงาน
1. รปู แบบการประเมนิ โครงการ
การประเมินโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว) ใช้รูปแบบการประเมิน
โครงการแบบ CIPP MODEL ของสตัฟเฟลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดังน้ี
ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม • หลักการ
( Context Evaluation ) • วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
• เป้าหมายของโครงการ
ประเมนิ การปัจจัยเบอ้ื งตน้ • การเตรยี มการภายในโครงการ
( Input Evaluation )
• บุคลากร
ประเมินกระบวนการ • วสั ดุอปุ กรณ์
( Process Evaluation ) • เครอ่ื งมอื เครื่องใช้
• งบประมาณ
• การดำเนนิ โครงการ
• กจิ กรรมการดำเนินงานตามโครงการ
• การนเิ ทศติตามกำกับ
• การประเมนิ ผล
33
การประเมนิ ผลผลติ • ผลการดำเนนิ โครงการ
( Product Evaluation ) • คุณภาพผเู้ รียน
ภาพที่ 3.1 รปู แบบการประเมินโครงการแบบ CIPP MODEL
2. วธิ กี ารประเมนิ โครงการ
วิธีการประเมินโครงการของโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว) มีวิธีการ
ประเมินผลโครงการเป็นแบบ การศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้หลักวงจรคุณภาพ เดมมิ่ง PDCA ตาม
แนวคิด CIPP ของของสตัฟเฟลบีม ในการตดิ ตามผลการดำเนนิ โครงการ
3. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ท่ีใช้ในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของโครงการผักบุ้ง
แปลงนอ้ ยปลอดสารพษิ (ผักสวนครวั ) มีรายละเอียด ดังนี้
ประชากร คือ สมาชิกในครอบครัว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการและคณะผู้จัดทำ
โครงการ จำนวน 10 คน
กลุ่มตัวอย่าง คือ สมาชิกในครอบครัว ผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการดำเนินโครงการและคณะผู้จัดทำ
โครงการ จำนวน 6 คน
โดยใช้วธิ สี ุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะเจาะจง
4. เครื่องมอื ที่ใช้ในการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการใช้กระบวนการศึกษาคุณภาพ จึงมีเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมิน
โครงการสมุนไพรทอดกรอบเพื่อจัดจำหน่าย ประกอบไปด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต การมีส่วน
ร่วมและการบันทึกภาพ
โดยแบบสัมภาษณ์มีจำนวน 6 ฉบับ ดังนี้ โดยจะมีเน้ือหารายละเอียดในแต่ละส่วนของแบบ
สมั ภาษณ์ ดังตอ่ ไปนี้
ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสัมภาษณ์ ไดแ้ ก่ อายุ เพศ ของผู้ถกู
สมั ภาษณ์ โดยเปน็ แบบปลายเปดิ ให้เลือกตอบในช่องที่กำหนด
ส่วนที่ 2 เป็นแบบสมั ภาษณ์ประเมินโครงการผกั บุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผักสวนครัว)
โดยใช้แบบประเมิน CIPP MODEL มี 4 ดา้ น จำนวน 12 ข้อ ดังน้ี
34
1.1 สภาวะด้านแวดล้อม ( Context ) จำนวน 3 ข้อ โดยผู้ตอบสามารถเขยี นรายละเอียด
การตอบได้อยา่ งอิสระ
1.2 ดา้ นปัจจยั ( Input ) จำนวน 3 ข้อ โดยผูต้ อบสามารถเขียนรายละเอียดการตอบได้อย่าง
อสิ ระ
1.3 ด้านกระบวนการ ( Process ) จำนวน 3 ข้อ โดยผตู้ อบสามารถเขยี นรายละเอียดการ
ตอบได้อยา่ งอสิ ระ
1.4 ดา้ นผลผลติ ( Product ) จำนวน 3 ข้อ โดยผู้ตอบสามารถเขียนรายละเอยี ดการตอบได้
อยา่ งอสิ ระ
สว่ นที่ 3 ปญั หาหรอื ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนนิ งานในการจัดทำโครงการ โดยเป็นแบบ
ปลายเปิดให้ตอบแบบบรรยาย
5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้จัดทำได้ทำหน้าท่ีในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยมี
รายละเอียดในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดังน้ี
1. จัดเตรยี มแบบสอบถามข้อมลู เพือ่ ให้ผู้ทำแบบสอบถามตอบแบบสัมภาษณ์
2. ใช้เวลาในการตอบแบบสอบถาม 5-10 นาทตี อ่ คนโดยประมาณ
3. ผูส้ มั ภาษณท์ ำการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณเ์ พ่ือนำไปใชใ้ นการเคราะห์ข้อมูลของ
โครงการต่อไป
6. การวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการ
วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการ โดยใช้การวเิ คราะห์เชงิ คุณภาพ
การวเิ คราะห์ข้อมลู เชงิ คุณภาพ
ขั้นตอนท่ี1 การทำให้ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มาอยู่ในสภาพที่สะดวกและง่ายต่อการนำไป
วเิ คราะห์
ข้ันตอนที่ 2 ทำดัชนีหรือกำหนดรหัสของข้อมูล ซ่ึงเป็นการจัดระเบียบของเน้ือหา คือ การ
จัดข้อมูล โดยการใช้คำหลักซึ่งอาจมีลักษณะเป็นวลีหรือข้อความหนึ่งมาแทนข้อมูลที่บันทึกไว้ใน
บนั ทึกภาคสนาม ส่วนท่ีเป็นการบันทกึ พรรณนา หรือบันทึกละเอียดสว่ นใดส่วนหนง่ึ เพ่ือแสดงให้เห็น
ขอ้ มูลในการบันทกึ พรรณนาสว่ นน้ันเปน็ เรื่องเกี่ยวกบั อะไร คำหลัก (วลีหรือขอ้ ความ) ที่กำหนดขึ้นน้ัน
จะมีลักษณะเป็นมโนทศั น์(concep) ซ่ึงมคี วามหมายแทนขอ้ มูลบันทึกละเอียดส่วนน้ัน การจัดทำดัชนี
หรือกำหนดรหัสของข้อมลู นั้น สามารถทำได้สองลกั ษณะคือ จัดทำไวล้ ่วงหนา้ กอ่ นเช้า สนามวิจยั และ
จัดทำตามข้อมูลที่ปรากฏในบันทึกภาคสนาม หรือบางคร้ังเรียกว่า การจัดทำดัชนีข้อมูลแบบนิรนัย
(deductive coding) และแบบอุปนัย (inductive coding)
35
ขน้ั ตอนท่ี 3 การกำจัดขอ้ มูลหรือสรา้ งขอ้ สรุปชวั่ คราว นคี้ ือการสรปุ เชื่อมโยงดชั นีคำหลกั เข้า
ด้วยกันภายหลังจากผ่านกระบวนการทำดัชนีหรือกำหนดรหัส ข้อมูลแล้ว การเชื่อมโยงคำหลักเข้า
ด้วยกันจะเขียนเป็นประโยคข้อความที่แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างคำหลัก และจากการเชื่อมโยงดัชนี
คำหลักในตัวอย่างเข้าด้วยกันจะเห็นว่าทำให้ข้อมูลในส่วนที่เป็น บันทึกละเอียดท่ีมีอยู่มากน้ันถูก
ลดทอนหรือตัดท้งิ ไปจนกระทงั่ เหลือเฉพาะประเด็นหลกั ๆ ทน่ี ำมาผกู โยงกันเทา่ น้ัน
ขั้นตอนที่ 4 สรา้ งบทสรุป คือ การเขียนเช่ือมโยงข้อสรปุ ชั่วคราวท่ีผ่านการตรวจสอบยืนยัน
แล้วเข้าด้วยกัน การเช่ือมข้อสรุปช่ัวคราวน้ันจะเชื่อมโยงตามลำดับข้อสรุปแต่ละข้อสรุปเป็นบทสรุป
ยอ่ ยและเชื่อมโยงบทสรปุ ย่อยแตล่ ะบทสรปุ เข้าด้วยกนั เป็นบทสรปุ สุดท้าย
ขั้นตอนท่ี 5 พิสูจน์ความน่าเชื่อถือของผลการวิเคราะห์เพื่อพิสูจน์ว่าบทสรุป นั้นสอดคล้อง
กันหรือไม่ซ่ึงโดยท่ัวไปแล้วการพิสูจน์บทสรุปก็มักจะเป็นการพิจารณาวิธีการเก็บข้อมูลน้ันว่า
ดำเนินการอย่างรอบคอบหรือไม่เพียงไร และข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้มานั้นเป็นข้อมูลที่มีคุณภาพ
น่าเช่ือถือหรอื ไม่
36
บทที่ 4
ผลการประเมนิ โครงการ
การนำเสนอผลการประเมินโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพษิ (ผกั สวนครัว)
ผู้รับผดิ ชอบโครงการไดน้ ำเสนอผลการประเมนิ โครงการ จำนวน 3 สว่ น ดงั นี้
สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของผปู้ ระเมินโครงการ (คนในครอบครัว) ไดแ้ ก่ เพศ อายุ
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพษิ (ผักสวนครัว)
ส่วนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ โครงการผลการประเมินโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอด
สารพษิ (ผักสวนครวั )
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผูป้ ระเมินโครงการ
จากทไ่ี ด้ทำการรวบรวมผลข้อมูลในการประเมนิ โครงการผกั บ้งุ แปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผัก
สวนครัว) โดยทำการเก็บข้อมูลท้งั หมดจำนวน 6 คน ซึ่งจำแนกรายละเอยี ดตา่ งๆของผู้ประเมนิ ดงั นี้
ตารางที่ 4.1.1 ตารางแสดงผลข้อมลู ทวั่ ไป โดยจำแนกตามประเภทของผ้ปู ระเมิน
ลำดับผปู้ ระเมนิ โครงการ เพศ อายุ
1 ชาย 11
2 หญงิ 21
3 ชาย 43
4 หญิง 46
5 หญงิ 62
6 ชาย 63
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ โครงการผกั บงุ้ แปลงนอ้ ยปลอดสารพิษ (ผักสวนครวั )
ผลการประเมินโครงการผักบุ้งแปลงน้อยปลอดสารพิษ (ผกั สวนครวั ) เปน็ การประเมินโดยใช้
รปู แบบ CIPP MODEL ผรู้ ับผิดชอบโครงการไดน้ ำเสนอผลการประเมนิ โครงการ 4 ตอน ดังน้ี
ตอนท่ี 1 ผลการประเมินโครงการด้านสภาวะแวดลอ้ ม
ตอนที่ 2 ผลการประเมินโครงการดา้ นปจั จัย
ตอนท่ี 3 ผลการประเมนิ โครงการดา้ นกระบวนการ
ตอนที่ 4 ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลิต
37
ตอนท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการด้านสภาวะแวดลอ้ ม หลงั การดำเนินโครงการ
ตารางที่ 4.2.1 หลักการ วัตถุประสงคข์ องโครงการมีความเหมาะสมและสอดคล้องกัน
หรอื ไม่
ลำดบั ผ้ปู ระเมิน รายละเอียดของการประเมนิ
1 มเี ปา้ หมาย หลักการ ตรงตามวตั ถุประสงคโ์ ครงการ
2 มคี วามสอดคล้องกันมาก เพราะตรงตามวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายทีค่ าดการณ์
ไว้
3 มีความเหมาะสม เพราะคนในครอบครัวสามารถนำไปต่อยอดไดแ้ ละสามารถ
สร้างอาชีพได้
4 มคี วามสอดคลอ้ งกับหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
5 มคี วามสอดคล้องกบั การเรยี นรู้ในการพึ่งพาตนเอง
6 มคี วามเหมาะสมตรงตามโครงการท่ีได้วางไว้
จากตารางที่ 4.2.1 ผลการประเมนิ โครงการโดยรวมสรุปได้ว่า หลกั การ มีความเหมาะสม
และสอดคลอ้ งตรงตามวตั ถุประสงค์และเป้าหมายท่ีได้คาดการณไ์ ว้
ตารางที่ 4.2.2 การกำหนดเปา้ หมายของโครงการมีความเหมาะสมหรือไม่
ลำดบั ผู้ประเมิน รายละเอียดของการประเมิน
1 เหมาะสม เพราะสามารถสรา้ งโอกาสใหก้ ับผูเ้ ขา้ รว่ มไดเ้ รียนรู้ในการเพาะปลูก
2 เหมาะสม เพราะใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3 เหมาะสม เพราะมพี ืชผกั เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรอื น
4 เหมาะสม เพราะเกิดความรักความสามคั คี โดยการทำกิจกรรมร่วมกนั ภายใน
ครอบครัว
5 เหมาะสม เพราะมอี าหารทผี่ ลิตขน้ึ มาเอง ทำให้ประหยดั ค่าใช้จ่าย
6 เหมาะสม เพราะมผี กั สวนครัวทป่ี ลอดสารพิษไวร้ บั ประทานในครอบครวั
จากตารางที่ 4.2.2 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรุปได้ว่า การกำหนดเปา้ หมายของ
โครงการสามารถสรา้ งโอกาสให้กบั ผ้เู ขา้ ร่วมได้เรยี นรู้ในการเพาะปลูก ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ใน
การปลูกผกั สวนครวั ขน้ึ มาเอง และปลอดสารพิษไวร้ บั ประทานในครอบครัว การกำหนดเปา้ หมายจงึ มี
ความเหมาะสมและสอดคล้องกบั เป้าหมายของโครงการท่ีได้กำหนดไว้
38
ตารางท่ี 4.2.3 บรรยากาศในการดำเนนิ งานเหมาะสมหรือไม่
ลำดบั ผู้ประเมนิ รายละเอียดของการประเมนิ
1 เหมาะสม เพราะสภาพอากาศไม่แหง้ แลง้ เกินไป
2 เหมาะสม เพราะพน้ื ที่ทีเ่ พาะปลกู ไม่มีแหลง่ นำ้ ขังทำให้ไมม่ ีศัตรูพืชมากนิ ผกั สวน
ครัวทป่ี ลกู
3 เหมาะสม เพราะบรรยากาศเหมาะแกก่ ารเพาะปลูก
4 เหมาะสม เพราะอากาศไม่อบอ้าว เหมาะสมกับการเพาะปลูกผักสวนครัว
5 เหมาะสม เพราะมีแสงแดดเพียงพอและมีสภาพดนิ อุดมสมบูรณไ์ ม่มสี ารเคมี
ตกคา้ งในดิน
6 เหมาะสม เพราะมอี ากาศทถี่ า่ ยเทดี ส่งผลใหพ้ ชื ผกั ทป่ี ลกู มีความสมบรู ณย์ ิ่งขึน้
จากตารางท่ี 4.2.3 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรุปได้ว่า บรรยากาศเหมาะแก่การ
เพาะปลูก สภาพดนิ อุดมสมบูรณ์ อากาศไมแ่ ห้งแล้งจนเกินไป มอี ากาศที่ถ่ายเทดี บรรยากาศจงึ
เหมาะสมในการดำเนินงาน
ตอนที่ 2 ผลการประเมินโครงการด้านปัจจัย หลังการดำเนินโครงการ
ตารางที่ 4.3.1 จำนวนบุคลากรทร่ี ่วมดำเนนิ การโครงการ มคี วามเหมาะสมและเพียงพอ
หรอื ไม่อยา่ งไร
ลำดบั ผปู้ ระเมิน รายละเอียดของการประเมิน
1 เหมาะสม เพราะสมาชิกในครอบครวั ใหค้ วามรว่ มมือต่อการดำเนนิ โครงการ
อย่างดี
2 เหมาะสม เพราะจำนวนบุคลากรที่รว่ มดำเนินการโครงการมีจำนวนเพียงพอและ
โครงการนจ้ี ดั ทำขึน้ กันภายในครอบครวั
3 เหมาะสม เพราะสมาชิกในครอบครวั มกี ารกลา้ แสดงออกและยอมรับความ
คิดเห็นของผู้อนื่
4 เหมาะสม เพราะสมาชิกในครอบครัวมีความเข้าใจไม่ขัดแย้งกนั เอง
5 เหมาะสม เพราะทำให้รู้ลำดับขั้นตอนในการทำงาน ว่าตอ้ งทำอย่างไรและมี
ข้นั ตอนใดบ้าง
6 เหมาะสม เพราะสมาชกิ ในครอบครัวทำงานร่วมกนั และมคี วามเปน็ หนง่ึ เดยี วกัน
จากตารางที่ 4.3.1 ผลการประเมนิ โครงการโดยรวมสรุปได้วา่ สมาชิกในครอบครัวใหค้ วาม
ร่วมมอื ต่อการดำเนนิ โครงการอย่างดี มีความเข้าใจไม่ขดั แย้งกนั เอง จงึ มีความเหมาะสมและเพียงพอ
ต่อการร่วมดำเนินการโครงการ
39
ตารางที่ 4.3.2 วสั ดุอุปกรณ์ต่างๆ เพยี งพอและเหมาะสมต่อการดำเนนิ โครงการหรือไม่
อยา่ งไร
ลำดับผูป้ ระเมนิ รายละเอียดของการประเมิน
1 เหมาะสม เพราะอุปกรณท์ ่ีใช้บางชิน้ เราสามารถทำขึ้นมาเองได้
2 เพยี งพอ เพราะในการปลกู ผักสวนครวั ไม่ไดใ้ ช้อุปกรณ์เยอะเกินความจำเป็น
3 เพยี งพอ เพราะอปุ กรณต์ า่ งๆทีใ่ ชใ้ นการเพาะปลูกมรี าคาท่ีสามารถจับตอ้ งได้
4 เหมาะสม เพราะมีความรู้พนื้ ฐานเกีย่ วกบั อุปกรณ์ท่ีใชป้ ลกู ผักสวนครวั
5 เหมาะสม เพราะคนในครอบครัวมีความรเู้ กยี่ วกับอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการเพาะปลกู
6 เหมาะสม เพราะอปุ กรณ์ท่ใี ชเ้ ป็นอปุ กรณท์ ่ีมีอยแู่ ลว้ ในครัวเรือน
จากตารางท่ี 4.3.2 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรุปได้วา่ อุปกรณ์ที่ใช้บางชิน้ สามารถทำ
ขึน้ มาเองได้และมีอยูแ่ ลว้ ในครัวเรอื น ไม่ได้ใชอ้ ุปกรณ์เยอะเกินความจำเปน็ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกบั
อุปกรณ์ท่ีใชป้ ลูกผกั สวนครวั วสั ดอุ ปุ กรณต์ า่ งๆทใี่ ชใ้ นการเพาะปลูก จึงมีความเหมาะสมและเพยี งพอ
ตอ่ การดำเนนิ โครงการ
ตารางท่ี 4.3.3 อาคารสถานที่ในการดำเนนิ โครงการมคี วามเหมาะสมและเพยี งพอหรือไม่
อยา่ งไร
ลำดบั ผู้ประเมิน รายละเอยี ดของการประเมิน
1 มคี วามเหมาะสม เพราะเป็นพ้นื ทว่ี ่างเปลา่ ท่ีไม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์อะไร
2 เพยี งพอ เพราะการปลูกผกั สวนครวั ไมไ่ ดใ้ ช้พ้นื ที่ฟุ่มเฟือย
3 เหมาะสม เพราะเปน็ พน้ื ท่ีของครอบครัวในการทำโครงการนี้
4 เหมาะสม เพราะพ้นื ที่ท่ีใชท้ ำโครงการนี้ไม่ได้มีการทำเกษตรมากอ่ น
5 เหมาะสม เพราะมีความสะดวกสบายในการดูแลผักทีป่ ลูก
6 เพยี งพอ เพราะสามารถขยายแปลงผักสวนครัวเพ่ิมได้
จากตารางที่ 4.3.3 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรุปได้วา่ พืน้ ทท่ี ใ่ี ชท้ ำโครงการเปน็ พ้ืนท่ีวา่ งเปล่า
มีความสะดวกสบายในการดแู ลผักทป่ี ลกู สามารถขยายแปลงผักสวนครัวเพิ่มได้ เพราะเปน็ พ้ืนที่ของ
ครอบครวั สถานที่จงึ มคี วามเหมาะสมในการดำเนนิ โครงการ
ตอนท่ี 3 ผลการประเมินโครงการดา้ นกระบวนการ หลงั การดำเนนิ โครงการ
ตารางท่ี 4.4.1 สภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนามคี วามเหมาะสมหรือไม่
ลำดับผู้ประเมิน รายละเอยี ดของการประเมิน
1 เหมาะสม เพราะมกี ารแก้ปญั หาทต่ี รงตามวตั ถุประสงค์
2 เหมาะสม เพราะมีการแกป้ ญั หาทเ่ี ข้าใจได้ง่าย
3 เหมาะสม เพราะความต้องการในการดำเนนิ โครงการสามารถนำไปพัฒนาต่อได้
40
4 เหมาะสม เพราะการดำเนนิ โครงการมปี ัญหาค่อนขา้ งน้อย สามารถแก้ไขไดท้ นั ที
5 เหมาะสม เพราะความต้องการในการดำเนนิ โครงการ สามารถช่วยให้โครงการ
บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ท่ีกำหนดไว้
6 เหมาะสม เพราะสภาพปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ มีผลตอ่ การดำเนนิ โครงการค่อนข้างนอ้ ย
จากตารางท่ี 4.4.1 ผลการประเมนิ โครงการโดยรวมสรุปได้วา่ สภาพปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้นและความ
ต้องการในการดำเนนิ โครงการ มกี ารแก้ปัญหาทตี่ รงตามวัตถุประสงค์ เขา้ ในง่าย สามารถนำไปพัฒนา
ตอ่ ได้ และมผี ลต่อการดำเนนิ โครงการค่อนขา้ งน้อย
ตารางที่ 4.4.2 กจิ กรรมของโครงการมีความเหมาะสมหรือไม่
ลำดับผู้ประเมนิ รายละเอียดของการประเมิน
1 มคี วามเหมาะสม เปน็ การใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์และได้เรยี นรู้การปลูกผัก
2 เหมาะสม เพราะได้เรยี นรู้การทำป๋ยุ อนิ ทรีย์
3 เหมาะสม เพราะสามารถนำไปต่อยอดเปน็ อาชีพได้
4 เหมาะสม เพราะ สามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการซ้อื ผักมารับประทาน
5 เหมาะสม เพราะ เราจะไดร้ บั ประทานผักทป่ี ลอดสารพษิ
6 เหมาะสม เพราะสามารถเป็นแหลง่ เรียนร้ใู นชุมชนได้
จากตารางที่ 4.4.2 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรปุ ได้วา่ เปน็ การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ได้
เรียนรกู้ ารปลูกผัก ได้เรียนรู้การทำปุ๋ยอินทรีย์ สามารถนำไปต่อยอดเป็นอาชีพ ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อ
ผักมารับประทานและปลอดสารพิษ กิจกรรมนจ้ี ึงมีความเหมาะสมในการดำเนินโครงการ
ตารางที่ 4.4.3 การประเมนิ ผลการดำเนนิ โครงการมคี วามเหมาะสมหรือไม่
ลำดบั ผ้ปู ระเมนิ รายละเอียดของการประเมนิ
1 มคี วามพึงพอใจในการจัดทำกิจกรรมครั้งน้ี
2 มคี วามสามัคคีภายในครอบครัวมากขึน้
3 เหมาะสม เพราะครอบครัวมีพืชผักเพียงพอต่อการบริโภค
4 เหมาะสม เพราะครอบครัวมีความรเู้ ร่ืองเศรษฐกจิ พอเพียงมากขนึ้
5 เหมาะสม เพราะโครงการสามารถบรรลตุ ามเปา้ หมายที่กำหนดไว้
6 เหมาะสม เพราะสภาพแวดลอ้ มท่ีดีขึ้นกว่าเดิม
จากตารางที่ 4.4.3 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรปุ ได้วา่ ครอบครวั มีพืชผักเพียงพอต่อการ
บริโภคและมคี วามรเู้ ร่ืองเศรษฐกจิ พอเพยี งมากข้ึน ทำให้มีความพงึ พอใจในการจดั ทำกจิ กรรมครั้งน้ี
การประเมินผลการจงึ มีความเหมาะสมในการดำเนินโครงการ
ตอนที่ 4 ผลการประเมินโครงการดา้ นผลผลติ หลงั การดำเนนิ โครงการ
41
ตารางที่ 4.5.1 สามารถนำความรูจ้ ากการปฏบิ ตั ิไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้หรือไมอ่ ย่างไร
ลำดบั ผู้ประเมิน รายละเอยี ดของการประเมนิ
1 สามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ เพราะนอกจากการบริโภคภายในครอบครัว
แล้วเรายงั สามารถนำไปขายเป็นการเพ่ิมรายได้ให้แก่ครอบครัวอกี ทางเลือกหนึง่
2 สามารถนำผลผลิตที่ปลูกมาขยายพนั ธุเ์ พ่มิ ได้โดยไม่ต้องซ้ือเมลด็ พนั ธ์เุ พ่ิม
3 สามารถแยกแยะได้ระหว่างผกั ท่ีใชส้ ารเคมีกบั ผกั ปลอดสารพิษ
4 สามารถให้ความรู้ในการปลูกผักสวนครัวแก่ผอู้ ่ืนได้
5 สามารถแนะนำการเลือกเมล็ดพนั ธุ์มาเพาะปลูก
6 สมาชิกท่ีเขา้ รว่ มโครงการน้ีมีพน้ื ฐานในการเพาะปลูกและสามารถนำความรู้ท่ไี ด้
ไปปลกู พชื ผักชนดิ อืน่ ๆได้
จากตารางท่ี 4.5.1 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรุปได้วา่ สมาชกิ ท่ีเขา้ ร่วมโครงการนม้ี ีพน้ื ฐานใน
การเพาะปลูกสามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปขยายพันธเุ์ พ่ิมไดโ้ ดยไม่ต้องซ้ือเมล็ดพนั ธุเ์ พม่ิ สามารถให้
ความรใู้ นการปลูกผกั สวนครัวแก่ผอู้ นื่ ได้ ยงั สามารถนำไปขายเปน็ การเพ่ิมรายไดใ้ ห้แกค่ รอบครวั อีก
ทางเลือกหนง่ึ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันในโอกาสอ่ืนๆได้
ตารางท่ี 4.5.2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการคิดวา่ สามารถนำความรู้จากการที่ปฏิบตั ิไปต่อยอดใน
อนาคตได้อย่างไร
ลำดบั ผู้ประเมิน รายละเอยี ดของการประเมนิ
1 ผเู้ ขา้ ร่วมในโครงการนสี้ ามารถนำไปต่อยอดต่อไปในอนาคตไดเ้ พราะผู้เข้าร่วม
โครงการน้ีมที ักษะและการดแู ลเอาใจใสใ่ นการปลกู ผักสวนครวั โดยไม่พง่ึ
สารเคมีในการปลูกผักแตใ่ ชป้ ุ๋ยอนิ ทรีย์แทน
2 ได้ เพราะสมาชกิ สามารถในกลมุ่ ทำปุ๋ยอินทรีย์ใชไ้ ด้
3 เพราะมคี วามรู้พ้นื ฐานในการปลกู ผักตา่ งๆเพิ่มมากขึ้น
4 สามารถทำให้ดนิ เหมาะสมต่อการเพาะปลกู ผักคร้ังต่อไปได้
5 สามารถดัดแปลงความรเู้ ดมิ ไปตอ่ ยอดเพื่อให้เกิดความรใู้ หมๆ่ ขนึ้
6 สามารถนำไปต่อยอดเป็นธรุ กิจทเ่ี ล้ียงชพี ได้
จากตารางที่ 4.5.2 ผลการประเมินโครงการโดยรวมสรปุ ได้ว่า ผ้เู ขา้ รว่ มในโครงการนส้ี ามารถนำไปต่อ
ยอดต่อไปในอนาคตได้ เพราะผู้เขา้ รว่ มโครงการนม้ี ีทกั ษะและการดูแลเอาใจใส่ในการปลูกผักสวน
ครวั โดยไม่พึ่งสารเคมใี นการปลูกผกั แตใ่ ช้ปุ๋ยอินทรยี แ์ ทน สามารถดัดแปลงความรู้เดิมไปตอ่ ยอดใน
อนาคตเพื่อใหเ้ กิดความรู้ใหม่ๆข้นึ
42
ตารางที่ 4.5.3 จากการที่เข้าร่วมโครงการ ผู้เขา้ ร่วมโครงการสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปปรบั
ใชอ้ ยา่ งไร
ลำดับผูป้ ระเมนิ รายละเอยี ดของการประเมิน
1 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปปรับดนิ ใหอ้ ุดมสมบูรณใ์ หเ้ หมาะสมต่อ
การเพาะปลูกพืชผกั สวนครัว
2 ปรบั สถานทก่ี ารเพาะปลกู ผักสวนครัว
3 สามารถชว่ ยประหยัดเวลาในการดแู ลผักให้ได้รับผลผลติ ได้เรว็ ข้นึ
4 สามารถดดั แปลงจากการปลกู ผักเปน็ การปลูกตน้ ไมส้ วยงามได้
5 สามารถเพ่ิมผลผลติ ในการปลูกผกั ได้เพ่มิ ขน้ึ
6 สามารถเปลย่ี นวธิ กี ารปลูกให้มคี วามสะดวกในการดแู ลมากขึ้น
จากตารางที่ 4.5.3 ผลการประเมนิ โครงการโดยรวมสรปุ ได้วา่ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการสามารถนำความร้ไู ป
ปรบั ใช้ในให้เหมาะสมตอ่ การเพาะปลูกพืชผกั สวนครวั โดยการเพ่ิมผลผลิตในการปลูกผักได้เพิ่มขน้ึ
และยังสามารถดดั แปลงจากการปลูกผกั เปน็ การปลูกตน้ ไม้สวยงามได้
ส่วนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ โครงการผลการประเมินโครงการผกั บงุ้ แปลงน้อยปลอดสารพิษ
(ผักสวนครัว)
1. อยากใหป้ ลกู ผักหลากหลายชนิด
2. อยากใหม้ โี รงเรือนในการปลูกผกั สวนครัว
3. อยากใหส้ มาชิกที่เข้ารว่ มโครงการนำผักทีไ่ ดเ้ พาะปลกู ไปขายเพ่ือเพ่มิ รายได้
4. อยากให้จัดพน้ื ท่ใี นการปลูกผกั สวนครวั ใหส้ วยงาม ดแู ล้วสบายตา